Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore T01_eldery

T01_eldery

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-14 22:20:34

Description: T01_eldery

Search

Read the Text Version

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3. แนวคดิ และการบรกิ ารสขุ ภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านสองแควใต้ และรพ.สต.จอมปิง มีการจัดบริการสุขภาพ แบบบรู ณาการ ครอบคลมุ ทงั้ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การรกั ษาโรค และการฟนื้ ฟสู มรรถภาพ สำหรบั การฟนื้ ฟูสมรรถภาพเปน็ การบรกิ ารทผ่ี สม ผสานการแพทยแ์ ผนไทยรว่ มในการบรกิ ารประชาชนดว้ ย สำหรับการบรกิ าร สุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต. ทั้ง 2 แห่งมีบริการส่งเสริมการดูแลร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ มีเป้าหมายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีและ เป็นต้นแบบในชุมชน ภายใต้วิถีชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชน มีการบริการ ผสู้ ูงอายแุ บบช่องทางพเิ ศษ มบี รกิ ารการเยี่ยมบ้านผู้สงู อายุเพื่อตรวจสุขภาพ และเพ่ิมความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้สูงอายุที่สำคัญ คือ การส่งเสรมิ และสนบั สนุน “ชมรมผสู้ งู อายุ ตำบลนาแก้ว” ทง้ั นี้โดยเป็นการ รว่ มมอื กนั ทำงานขบั เคลอื่ นงานผสู้ งู อายรุ ะหวา่ งหนว่ ยงานสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ (เทศบาลตำบลนาแกว้ ) โรงเรยี นภาคแี ละเครอื ขา่ ย ในชมุ ชน คมู่ อื 151 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุด้วยภมู ิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4. แนวคิดและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลนาแก้ว ร่วมมอื กบั รพ.สต.บา้ นสองแควใต้ และรพ.สต. จอมปิง สนับสนุนและส่งเสริมการขับเคล่ือนงานผู้สูงอายุ เป้าหมายคือ ผ้สู งู อายุสขุ ภาพดี และมีวถิ ีชวี ิตสอดคล้องกบั วฒั นธรรมและใช้ประโยชน์จาก ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สามารถเปน็ ต้นแบบของการดูแลสุขภาพสำหรับประชาชน ในชมุ ชนได้ เทศบาลตำบลนาแกว้ มกี ารสง่ เสรมิ การจดั สวสั ดกิ ารสำหรบั ผสู้ งู อายุ และการสง่ เสรมิ อาชพี และรายได้ และมกี ารสนบั สนนุ ดา้ นสขุ ภาพผา่ นกองทนุ หลักประกันสุขภาพตำบล (สปสช.) และได้รับการสนับสนุนด้านภูมิปัญญา ท้องถิ่น/หมอเมือง จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.) ด้วย สำหรับกลไกการขับเคล่ือนงานผู้สูงอายุของภาคประชาชนมีการ ทำงานผา่ น “ชมรมผสู้ งู อายตุ ำบลนาแกว้ ” ชมรมผสู้ งู อายตุ ำบลนาแกว้ มสี มาชกิ จำนวน 1,825 คน บรกิ ารและดำเนนิ งานโดย “คณะกรรมการชมรมผสู้ งู อาย”ุ และในแตล่ ะหมบู่ า้ น (หมทู่ ่ี 1 – หมทู่ ่ี 9) มปี ระธานและคณะกรรมการผสู้ งู อายุ ประจำหมู่บ้าน ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานด้านสังคมและด้านประเพณี วฒั นธรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในปี พ.ศ.2555 – 2556 มปี ฏทิ นิ กจิ กรรมของชมรมฯ 10 กจิ กรรมสำคญั คอื พธิ บี ญุ ปใี หม่ ประเพณเี ดอื นสเ่ี ปง็ ประเพณเี ดอื นหา้ เปง็ งานขว่ งผญา๋ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเดือนแปดเปง็ ประเพณีสรงน้ำธาตุ วดั ดอยเงนิ งานธรรมะสบายใจ งานกน๋ิ สลาก และงานธรรมะสญั จร งานเหลา่ น้ี บางงานเป็นงานประเพณีสำคัญ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ชวนลูกหลานเตรียมงาน และรว่ มงานหมบู่ า้ น ตวั อยา่ งเชน่ “งานประเพณเี ดอื นสเี่ ปง็ ” ประเพณสี งกรานต์ งานประเพณเี ดือนแปดเป็ง เป็นต้น นอกจากน้ี เทศบาลตำบลนาแกว้ ร่วมกับ หน่วยงานภาครัฐในท้องถ่ิน ยังมีการสนับสนุนกิจกรรมเก่ียวกับผู้สูงอายุ หลายด้าน ประกอบด้วย การจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในชุมชนหลาย กิจกรรม การจัดสวัสดิการออมบุญวันละบาท การส่งเสริมอาชีพและรายได้ (เช่นการบรกิ ารสขุ ภาพของหมอเมือง งานจักสาน งานหัตถกรรม 152 ค่มู ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผ้สู งู อายุดว้ ยภมู ปิ ญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 5. บทเรียนการจัดการความรู้และส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์ พนื้ บ้าน (การแพทย์ลา้ นนา) ตำบลนาแกว้ เปน็ พน้ื ทท่ี ม่ี คี วามสนใจและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทย์ พ้ืนบ้านในทอ้ งถิน่ มาหลายปี เนื่องจากในพ้นื ทม่ี ีหมอพน้ื บา้ น (หมอเมือง) มี ประสบการณ์และภูมิปัญญาด้านสุขภาพ และมุ่งหมายจะใช้ประโยชน์จาก ภูมิปัญญาดูแลสุขภาพประชาชนในท้องถ่ิน ประกอบกับหน่วยงานภาครัฐ สนใจและสนับสนุนกิจกรรมของหมอเมืองอย่างต่อเนื่อง และยังมีหน่วยงาน ภายนอกให้การสนับสนุนอีกด้วย ทำให้ตำบลเป็นพื้นท่ีท่ีมีการศึกษาและ การใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านในการดูแลรักษาสุขภาพ ของประชาชนในท้องถ่ิน ระยะเรม่ิ ตน้ กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ม่ี คี วามรดู้ า้ นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในดา้ นอบรม สมุนไพร จำนวน 5 คน รวมตัวกันและเปิดบริการอบสมุนไพรเพื่อบำบัด อาการปวดเมอ่ื ย ปวดหวั ใหก้ บั ชาวบา้ นในชมุ ชน โดยสรา้ งเปน็ หอ้ งอบสมนุ ไพร 1 ห้อง ภายในบรเิ วณวดั พระธาตจุ อมปงิ อย่างไรกอ้ ตาม คนในชุมชนเห็นวา่ คมู่ อื 153 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพ้นื บา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถานทีไ่ มเ่ หมาะสมเพราะผู้หญงิ นุ่งผา้ ถุงแบบกระโจมอกภายในวดั จงึ ปรึกษา กันเพ่ือปรับย้ายสถานท่ีใหม่ นอกจากน้ี หมอพื้นบ้านหรือหมอเมือง มักมีการรวมกลมุ่ กนั และยงั มหี น่วยงานภายในและภายนอกเข้ามาสนบั สนนุ การทำงานเพอ่ื สง่ เสรมิ การแพทยพ์ นื้ บา้ น ประกอบดว้ ย เทศบาลตำบลนาแกว้ รพ.สต.บ้านจอมปิง รพ.สต.บ้านสองแควใต้ กศน.อำเภอเกาะคา และมูลนิธิ สขุ ภาพไทย (ภายใตก้ ารสนบั สนนุ งบประมาณของ สสส.) การทำงานของกลุ่ม หมอพื้นบ้านจึงมีความเข้มแข็งและบริหารจัดการงานการแพทย์พ้ืนบ้านใน รปู แบบ “ศูนยด์ ูแลสขุ ภาพพ้ืนบ้านพระธาตุจอมปิง” ศนู ยด์ แู ลสขุ ภาพพนื้ บา้ นพระธาตจุ อมปงิ (www.comse./pru.ac.th//) เปดิ ทำการอยา่ งเปน็ ทางการ ในปี พ.ศ. 2550 ยา้ ยมาจากในวดั พระธาตจุ อมปงิ มาตง้ั อยบู่ ริเวณทีท่ ำงานเก่าของ อบต.นาแกว้ ซึ่งอยู่บริเวณด้านข้างของวดั พระธาตจุ อมปงิ เปน็ ศนู ยด์ แู ลสขุ ภาพพนื้ บา้ นของชมุ ชน และเปน็ ทพ่ี ง่ึ พายาม เจบ็ ปว่ ยของชมุ ชน มกี ารบรกิ ารแบบอบอนุ่ ใกลช้ ดิ และสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี มุ ชน ศูนย์ฯ ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลตำบลนาแก้ว (กองทุนหลักประกัน สุขภาพเทศบาลตำบลนาแก้ว) สถาบันผญาสุขภาพล้านนา จังหวัดลำปาง และมูลนิธิสุขภาพไทย ศูนย์ฯ มีการเปิดบริการอย่างต่อเนื่อง แต่มิได้เปิด บริการทุกวัน โดยเฉพาะในช่วงทำงานเกษตร (เก่ียวข้าว, ทำสวน) หรือช่วง งานบุญประเพณจี ะหยดุ บรกิ ารเนือ่ งจากหมอพ้นื บา้ นมีภารกิจอ่ืน และศนู ย์ฯ ได้รับรางวัลชุมชนภูมิปัญญา 1 ใน 4 ชุมชนของจังหวัดลำปาง ในงานการ แพทย์พน้ื บา้ นนานาชาติ จังหวัดเชยี งใหม่ ปจั จุบัน หมอเมอื งรุ่นเกา่ และรุ่นใหม่มีการรวมตัวและกำหนดแนวทาง การทำงานการแพทยพ์ ้ืนบ้านรว่ มกัน มีการประชุมปรกึ ษาหารอื และเปล่ียน ความรู้ พัฒนางานและแก้ไขปัญหาร่วมกัน ทำให้เกิดการพัฒนางานและ ทำงานเป็นทีม มีความเข้มแข็งและสามารถบริการสุขภาพในชุมชนหลายด้าน 154 คูม่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุดว้ ยภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กิจกรรมการบริการด้านการแพทย์พื้นบ้านที่ศูนย์ฯ ในปัจจุบัน มีหมอ พนื้ บ้าน 16 คน ประกอบด้วย หมอนวดแผนไทย 5 คน หมอยาสมนุ ไพร (ยาเมอื ง) 5 คน และหมอเป่า 6 คน มกี ารบริการ 5 ด้าน คอื (1) การบรกิ าร การนวดและการประคบสมุนไพร มที ้ังการนวดเพอื่ สุขภาพ (นวดคลายเส้น) และการนวดบำบัดอัมพฤกษ์ อัมพาต สำหรับการนวดเพื่อสุขภาพเป็นการ นวดเพื่อบรรเทาอาการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ และประคบสมุนไพรร่วมด้วย ใช้เวลาประมาณ 1 ช่ัวโมง ส่วนการนวดเพ่ือบำบัดอัมพฤกษ์ อัมพาต มี 2 ลกั ษณะ คือ แบบท่กี ลา้ มเน้ืออ่อนแรง (ไม่มีแรง) และแบบกลา้ มเนือ้ แข็งเกรง็ จะมีเทคนคิ การนวดท่แี ตกต่างกัน และยังมกี ารออกหนว่ ยให้บรกิ าร การนวดในงานประเพณี หรืองานนทิ รรศการในทอ้ งถ่ินใหก้ ับประชาชน และ นักท่องเที่ยวที่มาเท่ียวพระธาตุจอมปิงด้วย (2) การบริการดูแลสุขภาพ แมก่ ๋ำเดอื น (หญงิ หลงั คลอด เป็นการดแู ลหญงิ หลงั คลอดดว้ ยการอบสมนุ ไพร การอบ การอาบ การประคบสมุนไพร การใช้สมุนไพรของท้องถ่ิน กลุ่มหมอ เมืองมีการจัดองค์ความรู้ โดยมีการรวบรวมและจัดทำเป็น “ชุดองค์ความรู้ การดูแลสุขภาพแม่ก๋ำเดือน” เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มหมอเมือง และบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพของ รพ.สต. เพ่อื รวบรวมและพฒั นาเปน็ องค์ความรู้ ร่วมกนั ระหว่างภูมิปัญญาแม่กำ๋ เดือนของหมอเมือง และการแพทยแ์ ผนใหม่ ค่มู ือ 155 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภมู ิปญั ญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และส่งเสริมการดูแลสุขภาพแม่หลังคลอดร่วมกัน เป็นการปรับประยุกต์ใช้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ใหเ้ หมาะสมกบั ยคุ สมยั และหลกี เลย่ี งความรทู้ ม่ี คี วามขดั แยง้ กับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเป็นการขยายองค์ความรู้สาธารณะวงกว้าง ชุดองค์ความรู้น้ีถูกพัฒนากลายเป็นคู่มือส่งเสริมสุขภาพแม่หลังคลอดร่วมกัน ตอ่ ไป (3) การแชเ่ ทา้ ดว้ ยสมนุ ไพร เปน็ การแชเ่ ทา้ เพอ่ื บรรเทาอาการเมอ่ื ยลา้ ของเท้า หลงั จากเดินหรือทำงานทั้งวนั โดยวิธแี ชเ่ ทา้ ดว้ ยน้ำสมุนไพรอุ่น (4) การดแู ลรกั ษาจติ ใจ การดแู ลสขุ ภาพจิตใจด้วยการเปา่ และคาถา บางครัง้ ก็ใช้ สมนุ ไพรทสี่ บื ทอดจากบรรพบรุ ษุ รว่ มดว้ ย เพอ่ื การรกั ษาแผลเรอ้ื รงั แผลไฟไหม้ ผดคันจากแมลงกัดต่อย เคลด็ ยอกตามร่างกาย (5) การจำหน่ายยาสมนุ ไพร พ้ืนบ้าน มีทั้งสมุนไพรแห้ง และผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบ ยาตม้ สมนุ ไพร (ยาผงเหลือง ยาต้มแก้เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยาดำ แก้ปวดทอ้ ง ยาขผ้ี ง้ึ คลายเส้น ยาน้ำมนั นวด ยาชูรสสมนุ ไพร แหล่งวตั ถุดบิ ทนี่ ำมาปรงุ ยาสมนุ ไพรเหลา่ นม้ี าจากในทอ้ งถนิ่ ทงั้ ในปา่ บรเิ วณภายในชมุ ชน และในบ้านหมอเมือง ยาสมนุ ไพรท่ีไดจ้ ากปา้ มี ยานมแม่มา่ ย ไมฝ้ าง มะตูม ปงั กี เดาหลวง ฮ่อสะปายควาย ส่วนยาสมนุ ไพรทปี่ ลูกไว้ใช้ในบรเิ วณบา้ นมี ตะไคร้ มะกรูด ข่า ขมิ้น ฟ้าทะลายโจร มะรุม ผักขม กระชาย ไพล เป็นต้น นอกจากน้ี กลุ่มหมอเมืองยังมีการเดินป่าสำรวจสมุนไพร เพื่อเก็บ ตัวยาสมุนไพรและแลกเปล่ียนความรู้สมุนไพรระหว่างกันกับผู้ที่สนใจ และมี การสืบทอดองค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้าน มีการแปลและคัดลอกความรู้ การแพทยพ์ น้ื บา้ นจาก ตำราพบั สาเพอ่ื ถา่ ยทอดไปสคู่ นในชมุ ชนและผทู้ ส่ี นใจ เพ่อื ใหเ้ กดิ การตระหนกั ถึงคุณคา่ ภมู ปิ ญั ญา และนำไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป นอกจากการจัดการความรู้และส่งเสริมการใช้การแพทย์พื้นบ้านแล้ว รพ.สต.ยงั ไดร้ ว่ มกบั ชมรมผูส้ ูงอายุ ศึกษาและคัดเลอื กผสู้ งู อายุตน้ แบบ ได้รับ การดแู ลโดยลกู หลานและชมุ ชน มกี ารปลกู ผกั รบั ประทานเอง บา้ นเรอื นสะอาด 156 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภูมิปญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และเปน็ ระเบยี บ อาหารทร่ี บั ประทานเปน็ ประจำ คอื ผกั และทานกลว้ ยนำ้ วา้ เป็นประจำ ไม่รับประทานของมัน มีการออกกำลังกายด้วยการยืดเหยียด กล้ามเนอื้ การปลกู ผกั และบางคร้งั มกี ารเขา้ ป่าหาสมนุ ไพรกบั เพอ่ื นในชมรม ผสู้ งู อายุ ดแู ลจติ ใจดว้ ยการไหวพ้ ระและสวดมนตท์ กุ วนั บางครงั้ ยงั มกี ารฟงั ธรรม ฝึกสมาธิ และเป็นผู้ที่อารมณ์ดี ไม่ทุกข์ร้อนหรือเคลียดกับเรื่องครอบครัว ชีวิตมีเงินออมและเงินเพ่ือใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และมีสิทธิด้านสุขภาพ สำหรบั ผ้สู งู อายุ จากสถานการณท์ ง้ั หมดเหน็ ไดว้ า่ ตำบลนาแก้ว เป็นชุมชนด้ังเดิมที่มี ความตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญา ท้องถิ่น และมีบทเรียนการทำงานทั้ง ดา้ นผสู้ งู อายแุ ละการสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญา การแพทยพ์ น้ื บา้ น เปน็ ชมุ ชนทส่ี ามารถ เสริมพลังทั้งภายในและภายนอกเข้า มาร่วมมือกันในการจัดการความรู้และ ส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์จาก ภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นตอ่ สขุ ภาพ ของคนในและนอกชมุ ชน ทำให้ชมุ ชน มีความเข็มแข็งและสามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ชุมชนได้อีกทางหน่ึง ก่อให้ เกิดเป็นตัวอย่างที่น่าสนใจสำหรับการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาร่วมกัน ระหวา่ งภาครัฐและภาคประชาชน คมู่ ือ 157 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตวั อยา่ งที่ 7 ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณโุ ลก 1. บรบิ ททางสังคม บา้ นสระโคล่ (หมทู่ ่ี 7 และหมทู่ ี่ 10) ตง้ั อยใู่ นตำบลหวั รอ (ตำบลหวั รอมี 12 หมู่บ้าน) และอยู่ในเขตรับผิดชอบของ “โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบา้ นสระโคล”่ (รพ.สต.บา้ นสระโคล)่ เขตรบั ผดิ ชอบมที ง้ั หมด 6 หมบู่ า้ น มีจำนวนประชากรทั้งหมด 9,874 คน 3,115 หลังคาเรือน และมีประชากร สูงอายรุ วมทง้ั หมด 1,170 คน (ร้อยละ 11.84) อาจกลา่ วได้วา่ ตำบลหวั รอ เร่ิมเขา้ สสู่ งั คมผู้สูงอายุ ตำบลหัวรอเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่ม ริมฝ่ังแม่น้ำน่าน และอยู่ห่างจากอำเภอ เมอื งพิษณุโลกประมาณ 5 กิโลเมตร พ้ืนท่ีเหมาะกับเกษตรกรรม โดยเฉพาะ การทำนาและการทำประมง แตก่ ป็ ระสบปญั หาภยั แลง้ และนำ้ ทว่ มเปน็ ประจำ 158 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุด้วยภมู ิปญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประชากรส่วนใหญ่ภายในตำบลหัวรอ เป็นคนท้องถิ่น มีอาชีพเกษตรกรรม (ร้อยละ 50) ข้าราชการ/รัฐวสิ าหกิจ (รอ้ ยละ 25) พนักงานภาคเอกชน รับจา้ ง ทั่วไป และธุรกิจส่วนตัว (ร้อยละ 25) อาจกล่าวได้ว่าตำบลหัวรอเป็นสังคม กึ่งเกษตรกรรมกึ่งอุตสาหกรรม กึ่งเมืองกึ่งชนบท แบ่งการปกครองเป็น 12 หมบู่ า้ น มี “เทศบาลตำบลหวั รอ” เปน็ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถน่ิ เปน็ หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบ ภายใต้ตำบลหัวรอมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2 แหง่ คือ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลหวั รอ และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพบ้าน สระโคล่ 2. สถานการณด์ า้ นสุขภาพของผ้สู งู อายุ ภายในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ 6 หมบู่ า้ น รพ.สต.บา้ นสระโคล่ มขี อ้ มลู รายงานวา่ พ้ืนท่ีมผี ู้สูงอายุ 1,170 คน จำแนกเป็นเพศชาย 560 คน เพศหญงิ 610 คน ภาวะสขุ ภาพของผสู้ งู อายจุ ำแนกเปน็ 3 กลมุ่ คอื (1) กลมุ่ ผสู้ งู อายตุ ดิ สงั คม จำนวน 1,154 คน (2) กลุ่มผสู้ ูงอายตุ ดิ บา้ น จำนวน 14 คน และ (3) ผ้สู งู อายุตดิ เตยี ง 2 คน สำหรบั ผสู้ ูงอายตุ ิดบา้ นและตดิ เตยี ง จำนวน 16 คน มีภาวะอัมพาต ความพิการ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และขอ้ เข่าเสอื่ ม นอกจากน้ี จากสถติ ิการปว่ ยพบว่า โรคความดันโลหติ สูง 221 คน โรคเบาหวาน 181 คน และโรคมะเร็ง 15 คน โรคถงุ ลมโปง่ พอง 16 คน และอน่ื ๆ จากการเยย่ี มบา้ นของทีมสหวิชาชพี พบวา่ ผสู้ ูงอายุบางคนมีคณุ ภาพ ชีวิตแย่ลง เนื่องจากผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยและเป็นกลุ่มติดเตียง ช่วยเหลือ ตนเองไมไ่ ด้ และถูกละเลยจากครอบครวั และบตุ รหลาน เนื่องจากครอบครวั ตอ้ งดน้ิ รนทำมาหากนิ ทำใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ไมไ่ ดร้ บั การฟน้ื ฟู สภาพรา่ งกาย สง่ ผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง คู่มือ 159 “แนวทางการดูแลสุขภาพผ้สู งู อายุด้วยภมู ปิ ัญญาพน้ื บา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3. แนวคิดและการบรกิ ารสขุ ภาพผู้สงู อายุ จากการที่ รพ.สต.บา้ นสระโคล่ จำแนกผู้สูงอายเุ ป็น 3 กลมุ่ การบรกิ าร จงึ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพและบรกิ ารการดแู ลรกั ษาโรค ตามภาวะสุขภาพของกล่มุ ผสู้ ูงอายุ กลมุ่ ผสู้ งู อายตุ ดิ สงั คม หมายถงึ ผสู้ งู อายทุ ม่ี สี ขุ ภาพดี สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ได้ ผสู้ งู อายบุ างคนอาจมโี รคประจำตัว แตส่ ามารถ ควบคุมโรคและดูแลสุขภาพตนเองได้ดี มีศักยภาพและสามารถเข้าร่วมกับ กิจกรรมของสังคมและของชุมชนได้ หัวใจสำคัญของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม คือ การบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตลอดจนการดูแลรักษา และการควบคุมโรคเร้ือรัง เน่ืองจากผู้สูงอายุบางส่วนจะมีโรคเร้ือรัง จึงเป็น การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมและติดตามเฝา้ ระวังตนเอง ตลอดจนการเสรมิ พลงั การดแู ลตนเองเพือ่ ให้ผู้สงู อายมุ ีความสุข สนุก และมีสขุ ภาพสมบรู ณ์แข็งแรง พรอ้ มไปกบั การเสรมิ พลงั ครอบครวั ของผสู้ งู อายแุ ละชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ถงึ คณุ คา่ 160 คูม่ อื “แนวทางการดูแลสุขภาพผ้สู งู อายดุ ้วยภูมปิ ัญญาพ้นื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทบาท และสิทธิของผู้สูงอายุในชุมชน ทีมงานสหวิชาชีพของ รพ.สต. บา้ นสระโคล่ จะรว่ มมอื กบั ชมรมจติ อาสา ชมรมผสู้ งู อายุ และหนว่ ยงานภาครฐั ได้แก่ เทศบาลตำบลหัวรอ การศึกษานอกโรงเรียน โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เป็นต้น จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเป็นประจำทุกเดือน กจิ กรรมมหี ลายลกั ษณะ คอื กจิ กรรมการเตรยี มตนเองสวู่ ยั ผสู้ งู อายุ การบรกิ าร ในศนู ย์พัฒนาการสวสั ดิการสังคมผู้สูงอายุ การบรกิ ารในศูนย์บรกิ ารผสู้ งู อายุ การเสรมิ สรา้ งโอกาสใชค้ วามรแู้ ละประสบการณข์ องผสู้ งู อายเุ พอ่ื ทำประโยชน์ ต่อชุมชนและสร้างรายได้การส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมพัฒนาที่อยู่อาศัย สำหรบั ผสู้ ูงอายุ กลมุ่ ผู้สงู อายตุ ิดบา้ น (Home Bound Elder) สุขภาพผู้สูงอายุกลมุ่ นี้ มภี าวะสขุ ภาพกายและจติ ใจท่ี เสอื่ มถอยตามวยั และสว่ นใหญผ่ สู้ งู อายจุ ะมโี รค หน่งึ หรอื หลายโรค อาจจะพิการหรือทุพพลภาพบางสว่ น ตอ้ งการความช่วย เหลือในชวี ิตประจำวนั หรอื ช่วยเหลือตนเองไดบ้ า้ ง โรคประจำตัวทสี่ ำคญั คือ กลุ่มอาการเมตาบอลิก (Metobolie Syndrome) ตัวอยา่ งเช่น โรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดสูง ความจำเสื่อม อัมพาต เปน็ ต้น การบริการสขุ ภาพกลมุ่ ผูส้ งู อายตุ ดิ บา้ น มนี โยบายการบรกิ าร สขุ ภาพเชงิ รกุ และผสมผสานทง้ั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค การบำบดั รักษา และการฟนื้ ฟู ภายใตก้ ารทำงานของสหวิชาชีพ (พยาบาล นกั กายภาพ บำบัด แพทย์แผนไทย ทันตาภิบาล จิตอาสา และเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบล) และเช่ือมโยงกับหลายภาคี (ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน) ในชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ ได้แก่ เทศบาลหัวรอ กศน.หวั รอ บรษิ ทั ไทยแอโรว์ หมูบ่ า้ นจดั สรร ชมรมจิตอาสา ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม อสม. และเช่ือมโยงกับโรงพยาบาล แมข่ ่าย คอื โรงพยาบาลศูนย์พุทธชนิ ราชพิษณโุ ลก คู่มือ 161 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายุด้วยภูมปิ ัญญาพ้นื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำหรับการบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การบริการ สขุ ภาพเชงิ รบั และการบริการเชงิ รุก (การเย่ยี มบ้านและสง่ เสรมิ ดแู ลสุขภาพ ที่บา้ น) การบรกิ ารสขุ ภาพที่ รพ.สต.บ้านสระโคล่ มกี ารจัดบรกิ ารในรูปแบบ คลินิคผู้สูงอายุ คลินิคโรคเรื้อรัง และคลินิคโรคทั่วไป นอกจากน้ี ยังมีการ พฒั นาบรกิ ารการฟนื้ ฟสู มรรถภาพรา่ งกายของผสู้ งู อายใุ นลกั ษณะ “ศนู ยฟ์ นื้ ฟู สมรรถภาพผูส้ ูงอายแุ ละผูพ้ กิ าร รพ.สต.บ้านสระโคล”่ อนั เปน็ การบริการของ สหวิชาชีพ โดยร่วมมือกับโรงพยาบาลศูนย์พุทธชินราชพิษณุโลก และภาค กล่มุ ในทอ้ งถ่ิน และในปี พ.ศ. 2557 รพ.สต.บา้ นสระโคล่ พัฒนาและกอ่ สรา้ ง อาคารเปน็ “ศนู ยส์ ง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายเุ พอ่ื การดแู ลผสู้ งู อายใุ นชว่ งกลางวนั (Day Care Center)” โดยได้รบั การสนับสนุนการกอ่ สร้างอาคารจากเทศบาล ตำบลหัวรอ โดยจะทำให้บริการสุขภาพของผู้สูงอายุมีคุณภาพมากข้ึน ส่งผล ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน “ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ” พัฒนาเพ่ือ บริการการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิดและมีคุณภาพ มากข้ึน โดยดำเนินการในรปู แบบบริการชว่ งกลางวนั (Day Care) ภายใต้ ความรว่ มมือของภาคสว่ นในชุมชนท้องถน่ิ 162 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยภมู ิปัญญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง (Bed Bound Elder) ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมีภาวะ เจ็บป่วยและต้องการการดูแลอย่างสูง ทั้งการดูแลในชีวิตประจำวันและการ ดูแลสขุ ภาพอย่างใกล้ชดิ รพ.สต.บ้านสระโคล่ มีแนวคดิ การดแู ลสขุ ภาพแบบ บูรณาการเช่นเดียวกับผู้สูงอายุกลุ่มอ่ืน ภายใต้ความร่วมมือของครอบครัว และภาคสังคม ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงมีความจำเป็นต้องเฝ้าระวังและป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ให้การบำบัดฟ้ืนฟูสภาพและป้องกันการเสียชีวิตก่อนวัย อันควร เป้าหมาย คือ ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและเสียชีวิตอย่างสงบ สนับสนุนช่วยเหลือครอบครัวให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่บ้านได้ หากผู้สูงอายุ ไม่มีผู้ดูแลหรือครอบครัวประสบความยากลำบาก รพ.สต.บ้านสระโคล่ จะ ประสานความรว่ มมอื และรว่ มทำงานกบั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในพน้ื ที่ ผ้ดู แู ลหลัก คอื ทมี สุขภาพของ รพ.สต.บ้านสระโคล่ อสม.และชมรม จิตอาสา และประสานงานกบั หน่วยงานในพ้ืนที่ 4. แนวคดิ กลไก และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผสู้ งู อายุ 4.1 แนวคดิ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ เปา้ หมายของการพฒั นา คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คือ การสร้างความม่ันคงทางสังคมแก่ผู้สูงอายุ ผูส้ ูงอายมุ ีสทิ ธิไดร้ บั การคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนนุ ดา้ นสวสั ดกิ าร ได้แก่ ด้านเบ้ียยังชีพ ด้านฌาปนกิจสงเคราะห์ ด้านบริการสุขภาพ และการ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเกย่ี วกบั ผสู้ ูงอายุ เปน็ ตน้ 4.2 กลไกการขบั เคลอ่ื นงานผสู้ งู อายุ จากการที่ รพ.สต.บา้ นสระโคล่ ใหค้ วามสำคญั กบั การดูแลสขุ ภาพและคุณภาพชีวติ ของผู้สูงอายุอย่างตอ่ เนือ่ ง โดยการเสริมสร้างความเข้มแข็งและการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ เครือข่ายภาคีในท้องถ่ินมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในปี พ.ศ. 2549 ผู้สูงอายุซ่ึงรวมตัวและจัดตั้งเป็น “ชมรมผู้สูงอายุของ คมู่ อื 163 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ้วยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รพ.สต.บ้านสระโคล่” เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุให้ดำรงชีวิตอย่างมี ความสุข ท้ังทางร่างกายและจิตใจ มีการช่วยเหลือและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม มีการกำหนดวัตถุประสงค์ คุณสมบัติของสมาชิก และคณะกรรมการ นอกจากน้ี รพ.สต.บ้านสระโคล่ ยังมแี นวทางการทำงาน แบบมสี ว่ นรว่ มกบั ภาคสว่ นราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในทอ้ งถนิ่ เพื่อร่วมกันดแู ลทุกขแ์ ละสุขของผสู้ ูงอายุ 4.3 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผู้สูงอายุ ระยะท่ผี ่านมา รพ.สต. บ้านสระโคล่ มีการจัดกิจกรรมหลากหลาย ลักษณะเพ่ือสร้างความสุข ความสนุก และสขุ ภาพทีด่ ีใหก้ บั ผูส้ ูงอายุอย่างตอ่ เน่อื ง กจิ กรรมสำคญั คอื การตรวจสขุ ภาพผสู้ งู อายุ การปฏบิ ตั สิ มาธิ การสวดมนตแ์ ละการสนทนาธรรม การออกกำลงั กาย (ด้วยเทคนคิ การยดื เหยียดกล้ามเนอื้ การฝึกดว้ ยไม้พลอง การฝกึ ทา่ ฤ ษดี ดั ตนเอง การฝกึ ทา่ นกกระยาง) กจิ กรรมนนั ทนาการ นอกจากนี้ ภาคีเครือข่ายในท้องถ่ินยังมีการส่งเสริมและสนับสนุนงานผู้สูงอายุอย่าง ต่อเน่อื ง ตัวอย่างเชน่ เทศบาลตำบลหวั รอ สนบั สนุนเบี้ยยงั ชีพและกิจกรรม ชมรมผ้สู งู อายุ กศน.หัวรอ ส่งอาจารยม์ าเป็นวิทยากรให้ความรู้และสง่ เสรมิ ประเพณวี ฒั นธรรมชมุ ชนรว่ มกบั ผสู้ งู อายุ อบจ.พษิ ณโุ ลกสนบั สนนุ งบประมาณ การจดั งานประเพณขี องผสู้ งู อายุ ภาคเอกชนและภาคประชาชน (ชมรมจติ อาสา ชมรม อสม. และผู้นำท้องถิ่น) สนับสนุนส่งเสริมและช่วยเหลือการทำงาน เกย่ี วกบั ผสู้ งู อายหุ ลายดา้ น เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามเขม้ แขง็ มพี ลงั และมคี วามสขุ 5. บทเรยี นการจดั การและสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สำหรบั ผสู้ งู อายุ 5.1 บทเรียนการสง่ เสริมภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ระยะท่ผี า่ นมา รพ.สต. บา้ นสระโคล่ ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ และในชุมชนมหี มอ พ้ืนบ้านและปราชญ์ท่ีมีความรู้และประสบการณ์ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน 164 ค่มู อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลายด้าน รพ.สต.จึงมีแนวคิดสนับสนุนให้หมอพื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน มีกิจกรรมการรวมกลุ่มแลกเปล่ียนเรียนรู้และถ่ายทอดภูมิปัญญาท่ีตนเอง มีประสบการณ์ให้กับสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีการ ถา่ ยทอดสสู่ มาชิกชมรมผสู้ งู อายุ ประกอบดว้ ย (1) การนวด ผสู้ ูงอายุมีรา่ งกายเส่อื มถอยและมกั มีปญั หาปวดเมื่อย กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเป็นประจำ รพ.สต.บ้านสระโคล่ จึงส่งเสริมให้หมอ พนื้ บ้าน/ปราชญ์ชาวบา้ น ถา่ ยทอดการนวดเพ่อื การดูแลตนเองให้กบั สมาชกิ ชมรมผู้สูงอายุ อันจะช่วยให้ผสู้ ูงอายุดูแลสขุ ภาพตนเองและลดการใช้ยาแผน ปัจจบุ นั ทีไ่ ม่จำเป็นได้ (2) ยาสมุนไพร ในท้องถิน่ มสี มุนไพรท่หี าง่าย รพ.สต.บ้านสระโคล่ จึงสง่ เสรมิ และสนับสนุนหมอพ้ืนบ้าน/ปราชญ์ชาวบา้ น เป็นวิทยากรถ่ายทอด ความรดู้ า้ นสมนุ ไพรสู่ผูส้ งู อายุ ทำให้ภมู ิปัญญาดา้ นสมนุ ไพรไมส่ ูญหายไปจาก ชุมชน (3) เพลงพื้นบ้าน ในชุมชนหมอพื้นบ้าน/ปราชญ์ชาวบ้าน มีการ รอ้ งเพลงพน้ื บา้ น เชน่ เพลงฉอ่ ย เพลงอแี ซว เพลงแหลท่ ำขวญั นาคฯ การสง่ เสรมิ ใหป้ ราชญช์ าวบา้ นถา่ ยทอดเพลงพน้ื บา้ นสผู่ สู้ งู อายุ จะทำใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามสขุ สนกุ สนานและมสี ขุ ภาพจติ ทด่ี ี ทงั้ ยงั เปน็ การคงคณุ คา่ ของเพลงพนื้ บา้ นใหอ้ ยู่ ในชุมชนดว้ ย (4) ภูมิปัญญาด้านหัตถกรรมพ้ืนบ้าน ปราชญ์ชาวบ้านบางท่าน มีความรู้และและประสบการณ์ด้านการทำดอกไม้จัน การจักสาน กระบุง/ ตะกร้า/ข้องจากไม้ไผ่ ในชมรมผู้สูงอายุมีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ผสู้ ูงอายใุ นการใชภ้ มู ิปัญญาสรา้ งอาชีพและรายได้ มีการรวมตวั ของผูส้ งู อายุ ในหม่บู ้าน การถา่ ยทอดความรูแ้ ละจัดจำหน่ายผลติ ภณั ฑพ์ น้ื บ้าน ทำให้ผสู้ ูง อายมุ รี ายได้และสบื ทอดภูมิปัญญาดา้ นจักสานใหอ้ ยู่ในชมุ ชนต่อไป คมู่ อื 165 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายุด้วยภมู ิปัญญาพืน้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นอกจากน้ียังมีการประสานความร่วมมือกับองค์กรในท้องถิ่นให้การ สนับสนุนการรวมกลุ่มของหมอพ้ืนบ้าน/ปราชญ์พ้ืนบ้าน เพ่ือแลกเปลี่ยน เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นระหว่างกัน อันเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดองค์ ความรูใ้ ห้อย่ใู นชุมชนตอ่ ไป 5.2 การศึกษาและจัดการความรู้ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2556 รพ.สต.บา้ นสระโคล่ ไดร้ ว่ มมอื กบั สำนกั การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ดำเนินงานศึกษา ข้อมูลของหมอพื้นบ้าน จำนวน 13 คน ผู้สูงอายุต้นแบบและบุคคลที่มี ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ จำนวน 24 คน จากการศกึ ษาหมอพ้นื บ้านทั้งหมด 24 คน จำแนกเป็น หมอพน่ 13 คน หมอนวด 4 คน หมอยาสมนุ ไพร 2 คน หมอดู 2 คน หมอพิธกี รรม (พิธตี งั้ ศาลพระภูมิ/พิธขี นั หมาก/พธิ เี รยี กขวัญนาค) 2 คน และหมอกระดูก 1 คน สำหรับหมอพ่น 13 คน พบวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย อายมุ าก (60 – 80 ปขี นึ้ ไป) และมอี าชพี เกษตรกร เรยี นวชิ ามาจากบรรพบรุ ษุ ญาตแิ ละพระสงฆ์ มศี ักยภาพและความสามารถในการรกั ษาอาการปว่ ย ไดแ้ ก่ ปราบ/ปราบเส้น (อาการปวด ชา เสียว บริเวณกล้ามเนื้อท่ี แขน ขา เข่า หรือข้อมีลักษณะ งอไม่เข้า เหยียดไม่ออก) (ผี)ปลวก (มีเหตุมาจากผีปลวก อาการปวดบวม ร้อนที่บริเวณขา แขน หรือหัวเข่า มีลักษณะขาแข็ง ยกไม่ขึ้น) งูสวัส ไฟลามท่งุ ขยุ้มตีนหมา ฝคี างทมู /ฝีหวั ขาด ลมพษิ บาดทะยัก ระดูทบั ไข้/ ไข้ทับระดู ตะปตู ำ ปลาดุก/ตะขาบ/ปลา/แมงปอ่ ง ตอ่ ยหรือตำ ดบั พิษไฟ รำมะนาด อีสุกอีใส โรคท้องมาน โรคเดก็ -ชัก ลมกำเนดิ ตาแดง นอกจากน้ี หมอพื้นบ้านบางคนเป็นส่วนน้อย ยังมีความสามารถในการต้ังศาลพระภูมิ การตงั้ เสาเอก/เสาโท การดูสายมือ การดดู วง การอาบน้ำมนต์ และการ สะเดาะเคราะห/์ ตอ่ ชะตา หมอพน่ ใชว้ ธิ พี น่ ผสมผสานกบั การใชค้ าถา นำ้ มนต์ 166 คมู่ อื “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยภูมิปัญญาพนื้ บ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หรือน้ำมันสมุนไพรในการดูแลรักษาผู้ป่วย และหมอพ้ืนบ้านจะมีแบบแผน การปฏิบัติตนเองหรือข้อห้าม และการบูชาครูเมื่อผู้ป่วยหายจากความ เจ็บป่วยแล้ว มีการส่งขันธ์ข้าวให้หมอพ้ืนบ้าน และมีหมอพื้นบ้าน 1 คน เลกิ รักษาผ้ปู ว่ ยแลว้ ส่วนหมอนวดจำนวน 4 คน พบวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ หญงิ อายคุ ่อนขา้ งมาก เรียนการนวดมาจากบรรพบุรษุ ญาติ และเข้ารับการฝกึ อบรมจากหนว่ ยงานสาธารณสขุ และหน่วยงานรัฐในท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม มีหมอพ้ืนบ้านคนหน่ึง (นางสุรัตน์ คำเขียน) เริ่มเรียนนวดมาจากพี่สาว ซึ่งเรียนมาจากบรรพบุรุษที่เป็นย่าชาวขอม อาจมีเทคนิคหรือวิชาท่ีแตกต่าง จากการนวดไทย หมอนวดพื้นบ้านบางคนอาศัยการนวดเป็นแหล่งรายได้ และมกี ารรับนวดที่บ้านเปน็ ประจำ หมอนวดพื้นบา้ น ดูแลรกั ษาอาการปวด เม่ือยกล้ามเน้ือ ปวดตึงบริเวณบ่า ต้นคอ ขา เข่า หลัง ข้อเท้าแพลง อัมพฤกษ์-อัมพาต และมีหมอพ้ืนบ้านบางคนสอนและถ่ายทอดวิชาวิชาการ นวดให้ลูกตนเอง สำหรับการศึกษาผู้สูงอายุต้นแบบ รพ.สต.บ้านสระโคล่ มีการศึกษาผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีหรือบางคนมีโรคแต่ดูแลควบคุมได้ จำนวน 6 คน ทั้งหมดเปน็ เพศหญงิ อายุอยู่ในชว่ ย 70 – 80 ปี บางคนยังมอี าชพี ปลูกผกั สวนครัว และอาชพี แปรรูปอาหาร (ผักดอง แป้งขา้ วหมาก) ผ้สู ูงอายุ กลุ่มนี้มีแบบแผนการดูแลสุขภาพที่ดี และการดูแลตนเองในวิถีประจำวัน หลายด้านประกอบกัน คือ ด้านอาหาร ส่วนใหญ่จะทานผัก น้ำพริก และปลาเป็นหลัก ผักจะเป็นผักในท้องถิ่นที่ปลูกเอง ละเว้นหรือทานสัตว์ ใหญจ่ ำนวนนอ้ ย (ไก่ เนอ้ื หม)ู บางคนชอบทานกลว้ ยนำ้ วา้ หรอื มกี ารดมื่ นำ้ 2 แก้วหลังต่ืนนอนมากกว่าดื่มชา/กาแฟทุกวัน ด้านการออกกำลังกาย มีการเคล่ือนไหวร่างกายประจำ ประกอบด้วยการทำงานบ้าน การเดิน การขจ่ี กั รยาน การทำกายบรหิ าร (แกวง่ แขน ยดื เหยยี ดเดนิ ) และเลยี้ งหลาน ผู้สูงอายุทุกคนนอนเร็วและตื่นเช้า และบางคนมีการรับประทานยาสมุนไพร คูม่ อื 167 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภมู ิปัญญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นยาบำรุงรา่ งกาย ยาน้ำมะกรดู ยาหอมราชรด ส่วนสวัสดิการดา้ นสขุ ภาพ ผู้สูงอายุจะมีสิทธิการรักษาพยาบาลของตนเอง หรืออาจเป็นสิทธิการรักษา พยาบาลของ รพ.สต. เช่น สิทธิการประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง) สทิ ธกิ ารประกนั ชวี ติ (ภาคเอกชน) เปน็ ตน้ สำหรบั ผสู้ งู อายขุ องเทศบาลหวั รอ ได้รับการสนับสนนุ และช่วยเหลือด้านค่าใช้จ่ายทจี่ ำเป็นดว้ ย จากการวิเคราะหก์ ารศึกษาเกย่ี วกับหมอพ้ืนบา้ น และผูส้ งู อายุต้นแบบ ของ รพ.สต.บา้ นสระโคล่ พบว่า ขอ้ มูลท้ังหมดเปน็ การศกึ ษาลักษณะบุคคล และมีความละเอียด เห็นได้ถึงศักยภาพของหมอพ้ืนบ้านและผู้สูงอายุ อยา่ งไรกต็ าม ยงั คงขาดการประมวลและจดั ระบบเปน็ “ชดุ ความร”ู้ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื และเป็นประโยชน์ต่อการใช้งานในอนาคต แต่ รพ.สต.บ้านสะโคล่ มีศักยภาพและบทเรียนการทำงานผู้สูงอายุที่มีความเข้มแข็ง และมีลักษณะ 168 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เครือข่าย ทำให้เห็นถึงโอกาสท่ีจะทำภูมิปัญญาพ้ืนบ้านสุขภาพไปใช้ในงาน ผู้สูงอายุ ตัวอย่างเช่น การนำทักษะเรื่องนวดของหมอพื้นบ้านผสมผสานกับ การบริการใน “ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพ่ือการดูแลผู้สูงอายุในช่วง กลางวัน” หรือการถ่ายทอดภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพบางด้าน เช่น ด้านสมุนไพร ด้านนวด พิธีกรรม เป็นต้น ให้กับคนรุ่นใหม่ท่ีสนใจในท้องถ่ิน เพอ่ื เป็นการอนุรักษแ์ ละสบื ทอดภูมปิ ญั ญาสคู่ นร่นุ หลงั ตอ่ ไป คู่มอื 169 “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตวั อยา่ งที่ 8 ตำบลนำ้ ไคร้ อำเภอน้ำปาด จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ 1. บริบททางสังคม บา้ นหว้ ยแมง (หมทู่ ่ี 3) เปน็ หม่บู ้านหนงึ่ ทต่ี ง้ั อยู่ในตำบลน้ำไคร้ ตำบล แห่งน้ีมหี ้วยชื่อ “ลำนำ้ ไคร้” ไหลผ่านหมู่บ้านหลายหมู่บ้าน บริเวณริมหว้ ยมี ตน้ ไครเ้ ปน็ จำนวนมาก ชาวบา้ นอาศยั ลำนำ้ ในการทำการเกษตร ตำบลนำ้ ไครม้ ี 7 หมูบ่ ้าน สภาพภูมปิ ระเทศเปน็ พน้ื ทีภ่ เู ขา และมีพน้ื ที่สว่ นหนงึ่ เปน็ ปา่ สงวน ในเขตอุทยานแหง่ ชาติ ตำบลน้ำไคร้มีประชากรทั้งหมด 5,036 คน และมีการ ตงั้ บา้ นเรอื น 1,240 หลงั คาเรอื น สว่ นใหญ่มอี าชีพทำนา ทำสวน ทำไร่ (ข้าวโพด มันสำปะหลัง) เลย้ี งสตั ว์ และรบั จ้าง/เกบ็ ของป่าในปา่ หว้ ยแมง ในการศึกษาและจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นครั้งนี้ โรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตำบลห้วยแมง (รพ.สต.หว้ ยแมง) ไดเ้ ลือก “บ้านหว้ ยแมง” (หมู่ที่ 3) เปน็ พ้ืนท่ีเป้าหมาย 2. แนวคิดและแนวทางการบริการสขุ ภาพผูส้ งู อายุ หมบู่ า้ นหว้ ยแมงมีจำนวนประชากรทง้ั หมด 795 คน จำนวน 190 หลงั คาเรอื น สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผ้สู งู อายุมจี ำนวน 133 คน จำแนกเป็น ชาย 60 คน หญงิ 73 คน ประกอบดว้ ยผ้สู ูงอายุท่ีมีสุขภาพดี จำนวน 118 คน (ร้อยละ 88.7) ผ้สู งู อายทุ ่ีมโี รคเรือ้ รัง จำนวน 15 คน (ร้อยละ 11.2) และผู้สงู อายตุ ดิ เตยี ง จำนวน 2 คน 170 คู่มอื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รพ.สต.หว้ ยแมง มนี โยบายสง่ เสรมิ ดแู ลผสู้ งู อายุ รว่ มกบั องคก์ รปกครอง สว่ นท้องถิ่น (อบต.ห้วยแมง) มีการสนบั สนุนและสง่ เสริมการตรวจคัดกรอง สขุ ภาพผสู้ งู อายุ การบรกิ ารสขุ ภาพดา้ นแพทยแ์ ผนไทยสำหรบั ผสู้ งู อายุ การจดั ศนู ยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพสำหรบั ผสู้ งู อายุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ผสู้ งู อายภุ ายในหมบู่ า้ น ห้วยแมง มี “ชมรมผูส้ งู อายุบ้านห้วยแมง” เปน็ ชมรมผสู้ งู อายรุ ะดับหมบู่ ้าน สมาชกิ ชมรมคือผสู้ งู อายุในหม่ทู ี่ 3 และหมู่ที่ 9 ผู้สงู อายุไดร้ บั การดแู ลและ พัฒนาคุณภาพชีวิต มีการจัดสวัสดิการการส่งเสริมอาชีพและรายได้ และ ด้านประเพณีวัฒนธรรม ชมรมผู้สูงอายุบ้านห้วยแมงมีการทำงานรับ การสนับสนนุ กิจกรรมจากองคก์ รทั้งภายในและภายนอกชมุ ชน ตัวอยา่ งเช่น ชมรมฯ ร่วมกับองค์กรภายนอกชุมชนส่งเสริมการทำบายศรี สุ่มไก่ และ กระด้งให้ผู้สูงอายุ ชมรมฯมีการระดมทุนทำบุญผ้าป่า และจัดเป็น “ต้นทาน ชมรมผู้สูงอายุ” ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และชมรมฯร่วมกับ รพ.สต. บ้านหว้ ยแมงจดั เยี่ยมบ้านสมาชกิ ชมรมผู้สูงอายุ เป็นต้น คู่มอื 171 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ้วยภูมิปญั ญาพ้นื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รพ.สต.ห้วยแมง มีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ สาธารณสุข ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ผู้ให้บริการคือแพทย์แผนไทยและผู้ช่วย แพทย์แผนไทย รพ.สต.ห้วยแมง ได้นำแนวคิดและแนวทางการดูแลสุขภาพ ของนายใจเพชร มีทรัพย์ (หมอเขียว) นักวิชาการสาธารณสุข/นักบำบัด สขุ ภาพทางเลอื ก/ครฝู กึ แพทยแ์ ผนไทย จงั หวดั มกุ ดาหาร/จงั หวดั อำนาจเจรญิ มาใช้ในงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอันเป็นการดูแลสุขภาพแบบสมดุลด้วย การใชเ้ ทคนคิ การดแู ลสขุ ภาพ 9 ดา้ น คอื (1) การดน่ื นำ้ คลอโรฟลิ ล/์ นำ้ สมนุ ไพร ปรับสมดุล (2) การรับประทานอาหารแบบสมดุล (3) การถอนพิษจาก รา่ งกายดว้ ยวธิ กี วั ซา/ดดู พษิ /ขดู ลม (4) การสวนลา้ งลำไส้ (5) การแชม่ อื /เทา้ ด้วยสมนุ ไพร (6) การประคบ-อบ-อาบสมนุ ไพร (7) การออกกำลังกาย (8) การใช้ธรรมะดแู ลจิตใจ (9) ร้เู พียรรูพ้ ักให้พอดี โดยมีการอบรมและฝึกการ ดูแลสุขภาพตนเองเดือนละ 1 ครั้ง นอกจากน้ียังมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุท่ีจัดเป็นประจำ คือ การออกกำลังกาย (การรำไม้พลอง การฝึกโยคะ และการรำวงย้อนยุค) การน่ังสมาธิ และการทำบุญใส่บาตร โดยไดร้ ับการสนบั สนุนจาก อบต.หว้ ยแมง 172 คู่มือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพื้นบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3. การจัดการความรู้และประสบการณ์ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในงานผู้สูงอายุ รพ.สต.หว้ ยแมง มกี ารจัดการความรู้การแพทย์พื้นบ้าน ดว้ ยการศกึ ษา หมอพ้นื บ้านท่ีเป็นผสู้ ูงอายุ 6 คน เปน็ เพศชาย 5 คน เพศหญิง 1 คน อายรุ ะหวา่ ง 58 – 91 ปี จำแนกเปน็ หมอเป่า 3 คน หมอเสี่ยงทาย 1 คน หมอสู่ขวัญ 1 คน และหมอกะดูก 1 คน และมีการรวบรวมความรู้และ ประสบการณ์ การรักษาโรคของหมอพื้นบ้านแบบสังเขป พบว่า หมอเป่า เรม่ิ การรักษาด้วยการเตรียมดอกไมแ้ ละธูปเทยี นเพอ่ื บชู าครู จากนั้นหมอเปา่ จะใช้วิธีเป่าพร้อมท่องคาถาเพื่อรักษากลุ่มอาการตาแดง งูสวัด ไฟลามทุ่ง สุนัขกัด งูกัด คางทูม มะเร็ง หมอกระดูก เริ่มการรักษาด้วยการท่ีผู้ป่วย เตรียมขันธ์ 5 เพ่ือทำพิธีไหว้ครู และมีการตรวจกระดูกหัก และรักษาด้วย การใชน้ ้ำมัน คาถา และใชไ้ ม้ไผด่ ามกระดกู ทหี่ ัก สว่ นหมอเสย่ี งทาย มีการ ไหวค้ รดู ว้ ยดอกไม้และธปู เทยี น และเสย่ี งทายดว้ ยไมไ้ ผท่ ่ีทำเป็นตอกเสน้ ยาว จากนั้นเสี่ยงทายและพับตอกไม้ไผ่พร้อมท่องคาถา และจึงทำนายผล คูม่ ือ 173 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพืน้ บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กล่าวได้ว่า ชุมชนบ้านห้วยแมงเป็นชุมชนท่ีมีลักษณะเครือญาติพ่ึงตนเอง และมีความเช่ือถือศรัทธาในหมอพื้นบ้าน อย่างไรก็ตาม หมอพื้นบ้านไม่มี การถ่ายทอดองคค์ วามรู้ อาจทำให้ความรู้หายไปในอนาคต สำหรับการสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินในงานผสู้ ูงอายุ รพ.สต.หว้ ยแมง มีการใช้แนวคดิ การดูแลสขุ ภาพแบบสมดลุ (หมอเขยี ว) มาใช้ประโยชนใ์ นกจิ กรรมของชมรมผู้สูงอายุ และยังใช้แนวคิดการพัฒนาสุขภาพชุมชน โดยมี กิจกรรมวเิ คราะหช์ ุมชน การสืบคน้ ใหช้ ุมชน สร้างข้อตกลงของชมุ ชน และ ดำเนนิ กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาพในชมรมผสู้ งู อายุ รปู แบบการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุ ด้วยภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ประกอบด้วย 6 กจิ กรรม คอื การปลกู ผกั พนื้ บ้าน เพ่ือบริโภคในครัวเรือน การเรียนรู้และส่งเสริมการบริโภคอาหารพ้ืนบ้าน ในครอบครวั และในงานประเพณี การออกกำลงั กาย (ฝกึ โยคะ การรำไมพ้ ลอง การรำวงย้อนยุค) รว่ มกัน 3 วนั /อาทติ ย์ การทำบญุ ตกั บาตรวนั พระ การเยี่ยม บ้านของผสู้ ูงอายุ การฝกึ สมาธิและสวดมนต์ ก่อให้เกดิ เครอื ข่ายของผูส้ ูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพท้ังกายและจิตใจของผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตาม องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่นิ ยังขาดการสนับสนนุ อยา่ งจริงจงั 174 คู่มือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ัญญาพ้ืนบา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผ้สู งู อายุตน้ แบบการดูแลสขุ ภาพดว้ ยภมู ปิ ัญญา การแพทย์พ้นื บ้าน นางนวล จนั ธมิ า อายุ 94 ปี ตำบลนาแกว้ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง คณุ ยายนวล จนั ทมิ า หญงิ ชรารา่ งเลก็ ผวิ ขาวเหลอื ง มว้ นผมเปน็ มวยแบบ คนเมอื งเหนอื อาศยั กบั ลกู สาวในบา้ นไมใ้ ตถ้ นุ ยกสงู ใตถ้ นุ บา้ นตอ่ เตมิ เปน็ หอ้ ง ครัวและห้องเก็บของเล็กๆ แม้ว่าปีน้ีคุณยายนวลมีอายุ 94 ปีแล้ว ผิวหนัง เหี่ยวย่นไปตามวัย ฟันหลุดร่วงเหลือเพียงซี่เดียว สายตาฝ้าฟางไปบ้าง แต่ยังสามารถเย็บผ้าหรือกระสอบด้วยเข็มเล่มโตได้ หูยังได้ยินชัดเจน สีผมมี สีขาวแซมดำ น่าแปลกใจว่าอายุขนาดน้ีผมยังไม่ขาวทั้งศรีษะ ทั้งท่ียายนวล บอกว่าไมเ่ คยใชย้ าย้อมผมเลยแมส้ ักครง้ั เดียว หลงั จากคณุ ตาคชู่ วี ติ จากคณุ ยายนวลไปเมอ่ื สป่ี กี อ่ น กไ็ ดล้ กู สาวสองคน ดแู ล สว่ นลกู ชายคนโตแตง่ งานแลว้ ยา้ ยถน่ิ ฐานไปอยทู่ ม่ี หาชยั มาเยย่ี มยายนวล แคป่ ลี ะครง้ั ชว่ งสงกรานต์ แตล่ ะวนั ยายนวลจะตน่ื เชา้ พรอ้ มลกู สาวคนโตทต่ี อ้ งตน่ื เพอื่ ไปซอื้ ของในตลาดสำหรบั เปดิ รา้ นกว๋ ยเตยี๋ วในหมบู่ า้ น สว่ นยายเมอ่ื ตน่ื แลว้ กล็ า้ งหนา้ ปว้ นปาก แกวง่ แขนแกวง่ ขา ตามทห่ี มออนามยั สอนใหอ้ อกกำลงั กาย ก่อนไปลูกจะหุงข้าวเตรียมกับข้าวกับปลาไว้ให้ หลังจากลูกสาวคนโตไปเปิด ร้าน และลูกสาวคนรองไปทำงานเป็นพี่เล้ียงเด็กในโรงเรียนแล้ว กลางวัน คู่มือ 175 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายุด้วยภมู ิปัญญาพ้นื บา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ยายมักจะอยู่บ้านเพียงคนเดียว น่ังบ้าง เดินไปเดินมาในบริเวณบ้านบ้าง ยายไม่ชอบนอนกลางวัน ไม่ชอบดูทีวีหรือฟังวิทยุ บางวันจะมีเพื่อนบ้าน ใกล้เคียงเดินมาพูดคุยถามสารทุกข์สุกดิบพอให้คลายเหงา เม่ือหิวก็ไปทาน อาหารท่ีลูกเตรียมไว้ให้ ยายไม่ชอบทานอาหารรสเผ็ด หากอาหารที่ลูกทำไว้ เผ็ดก็จะไม่ทาน ชอบอาหารรสเค็มและหวาน ชอบทานปลาและผักทุกชนิด และชอบทานข้าวเหนียวกับกล้วยน้ำว้าเป็นประจำ ปริมาณอาหารที่ทานใน แต่ละวันกไ็ มก่ ีค่ ำแค่พออ่มิ ในระหวา่ งวันยายจะดืม่ น้ำหลายแก้ว ยายสามารถ ดแู ลตวั เอง ทำกจิ วตั รประจำวนั ไดท้ กุ อยา่ ง อาบนำ้ ซกั ผา้ ตดั เลบ็ เอง โดยไมเ่ ปน็ ภาระของลกู หลาน แม้จะชอบรับประทานอาหารรสเค็มและหวาน แต่ยายนวลก็ไม่มีโรค ประจำตัว ไม่เคยไปพบหมอที่โรงพยาบาล สุขภาพแข็งแรง มีเพียงอาการ ปวดเขา่ บา้ งตามวัย ไม่พกยาตดิ ตวั ยกเวน้ ยาดมแกว้ ิงเวยี นเป็นบางคร้งั เมื่อไม่ นานมาน้ียายนวลหันมาต้มยาสมุนไพรด่ืม เพื่อหวังว่าจะทำให้หายปวดเข่า และสุขภาพดี ตามคำบอกของเพ่ือนบ้าน ท่ีเก็บสมุนไพรปอกะบิดจาก ชายป่ามาให้ลองตม้ ดม่ื ช่วงสองปีก่อนน้ี ยายนวลยังไปวัดฟังธรรมทุกวันพระ ต้ังแต่ปีที่แล้ว ยายนวลเรม่ิ ไปวดั ไม่ไหว เพราะความชรามอี าการปวดเขา่ ทำให้ลุกน่งั ลำบาก แมไ้ มไ่ ด้ไปวดั ยายก็ยังชอบฟังธรรมะ สวดมนต์ไว้พระก่อนนอนเป็นประจำไม่ ไดข้ าด ยายเปน็ คนอารมณด์ ี ไม่เครียด ลกู สาวไปรับเบย้ี ผสู้ ูงอายุให้ทกุ เดือน เดือนละ 1,000 บาท ยายนวลใช้ เป็นค่าใช้จ่ายจิปาถะ เช่น ค่ายาเส้นสำหรับมวนบุหรี่สูบ ยายสูบบุหร่ีตั้งแต่ ตอนสาวๆ ตอนไปเลี้ยงควายตามท้องทุ่ง ทุกวันนี้ยังสูบสองสามมวนต่อวัน ซื้อเมี่ยงมาเค้ียว หรือฝากลูกซื้ออาหารที่ตนเองอยากรับประทานเป็นพิเศษ หากเดอื นไหนไมพ่ อใช้ กจ็ ะขอเพิ่มจากลกู ครง้ั ละร้อยสองร้อยบาท เคลด็ ลบั อายยุ นื ของคณุ ยายนวลคอื การรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ และเป็นคนอารมณ์ดนี ่ันเอง 176 ค่มู ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สงู อายดุ ้วยภมู ิปญั ญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นางเหลอ่ื ม สังแกว้ อายุ 101 ปี ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมือง จังหวดั ตรงั คุณยายเหล่ือม อดีตหมอบีบเอ็น (หมอนวดพ้ืนบ้าน) อาศัยอยู่ในบ้าน ปูนชัน้ เดยี ว มสี มาชกิ ในบา้ นทง้ั หมด 4 คน ปจั จุบนั ทา่ นไม่ไดป้ ระกอบอาชพี รายได้ส่วนใหญ่มาจากเงินยังชีพผู้สูงอายุ 1,000 บาท/เดือน แม้จะมีภาวะ ไขมันในเลือดและความดันโลหิตสูง แต่ท่านยังแข็งแรงมาก สามารถทำ กจิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ดว้ ยตวั เองไดท้ กุ อยา่ ง สายตายงั เหน็ ชดั เจน แตห่ อู าจ ได้ยนิ ไม่ชัดบ้าง คู่สนทนาตอ้ งพดู เสยี งดัง กจิ วัตรประจำวันต้ังแตเ่ ชา้ ต่นื นอนเวลา แปดโมงเช้า ล้างหน้า แปรงฟนั ลา้ งจาน หงุ ขา้ ว เมนอู าหารทร่ี บั ประทานเปน็ ประจำคอื ตม้ จดื คณุ ยายเหลอ่ื ม ชอบรบั ประทานอาหารรสจดื ลกู สาวเปน็ ผู้ทำกับข้าวให้ หลงั จากรบั ประทาน อาหารเช้า ชอบนง่ั พูดคยุ สนทนากับเพ่อื นบา้ น ถอนหญา้ รอบบา้ น กวาดขยะ ในแต่ละวันคุณยายจะนอนพักกลางวัน วันละ 2 ชั่วโมง ช่วงบ่ายโมงถึง บ่ายสามโมง และจะเขา้ นอนเวลา 2 ทมุ่ คุณยายมักเข้าวัดทำบุญเป็นประจำ สัปดาห์ละสองครั้งและสวดมนต์ ไหว้พระก่อนเข้านอน เคล็ดลับที่ทำให้คุณยายสุขภาพแข็งแรงอายุยืนยาว คือ หลีกเล่ียงอาหารรสจัด รสเค็ม บริโภคอาหารและเคร่ืองดื่มที่บรรจุใน ค่มู อื 177 “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุด้วยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภาชนะทีส่ ะอาด อาหารตอ้ งสด อาหารจำพวกเน้อื ผักและผลไม้ จะต้องลา้ ง ทำความสะอาดก่อนนำแช่ในตู้เย็นทุกคร้ัง หลีกเลี่ยงอาหารหมักดองและ อาหารที่แต่งสีฉูดฉาด พักผ่อนให้เพียงพอ คุณยายเป็นคนอารมณ์ดี ร่าเริง แจ่มใส ไม่เครียด ท่านชอบรำหน้ากลองยาวและชอบดูการแสดงพื้นบ้าน ทกุ ชนิด ไม่สบู บุหรีแ่ ละดมื่ สรุ า รบั ประทานพืชผกั และผลไม้เปน็ ประจำ คณุ ยายใช้ยาสมนุ ไพรในการดแู ลสุขภาพ ที่มสี รรพคณุ ช่วยลดความดนั โลหิตสูง ส่วนประกอบด้วย ฟ้าทะลายโจรทั้งต้น หญ้าหนวดแมว ลูกใต้ใบ ตม้ ด่มื 178 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพืน้ บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นางคำมี ขดั สี อายุ 79 ปี ตำบลนำ้ ไคร้ อำเภอนำ้ ปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ คุณยายคำมี หญิงสูงอายุรูปร่างเล็ก เป็นคนอารมณ์ดี มีรอยย้ิม เป้ือนหน้า พร้อมเสียงหัวเราะตลอดการสัมภาษณ์ คุณยายคำมีเป็นลูกคนโต ของพน่ี อ้ งทงั้ หมด 12 คน อาชพี ดง้ั เดมิ ทำนา ทำไรข่ ้าวโพด หลงั จากแต่งงาน กบั คุณตาแจ่ม มลี กู ท้ังหมด 7 คน ผู้หญิง 4 คน ผ้ชู าย 3 คน เม่ือ 4 ปที แ่ี ล้ว คณุ ตาแจม่ ผเู้ ปน็ สามเี สยี ชวี ติ ดว้ ยโรคเกาตท์ ม่ี อี าการมากวา่ 2 ปี ทง้ิ ใหย้ ายคำมี อยู่คนเดียวในบ้านหลังใหญ่ ท่ีลูกๆ แยกครอบครัวออกไปหมดแล้ว ลูกชาย 2 คน ไปทำงานรบั จ้างไกลถงึ สมทุ รปราการและกรงุ เทพฯ ลูกสาวสองคนอยู่ ในตำบลเดียวกันไม่ได้ทอดท้ิงแม่ ยังคงผลัดเวียนกันดูแลเรื่องอาหารการกิน นำอาหารมื้อเช้าและเย็นมาส่งให้ไม่ได้ขาด แต่ด้วยความที่สูงอายุ กับข้าว กบั ปลาที่ลูกทำมาใหร้ สชาตไิ มถ่ กู ปาก บ้างกเ็ ผ็ดไป หวานไป จงึ มักทำอาหาร ทานเองอยู่บ่อยครั้ง อาหารท่ีโปรดปรานของยายคำมีคือปลาต้ม ผักนึ่ง ไม่ชอบอาหารทอดหรือผัดน้ำมัน ไม่ทานหมูและไก่ เนื่องจากกลัวปวดแข้ง ปวดเขา่ ยายชอบอาหารรสจดื ผกั ทน่ี ำมาปรงุ อาหารยายคำมปี ลกู เองรอบบา้ น บางครัง้ เกบ็ ตามท้องนา หรือไม่นอ้ งสาวท่ปี ลูกผกั ขายจะแบ่งมาใหเ้ ปน็ ประจำ ชอบทานผลไม้ และดมื่ น้ำในปริมาณมากในแตล่ ะวนั ในแตล่ ะวนั ยายคำมตี น่ื ตง้ั แตต่ ี 4 หลงั จากลกุ ขน้ึ จะยดื เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื ตามท่ีหมออนามัยสอน เข้าห้องน้ำขับถ่าย ยายไม่เคยมีปัญหาเรื่องขับถ่าย สวดมนต์ หุงข้าว ทำกับข้าวหากลูกไม่ได้นำมาให้ รดน้ำผักสวนครัวรอบบ้าน รับประทานอาหารเช้า หลังจากรับประทานอาหารจะปัดกวาดเช็ดถูบ้าน หรือเดินไปเที่ยวเล่นบ้านลูกหลาน ตอนเย็นมักดูทีวีเพ่ือให้รู้ข่าวสารบ้านเมือง ดลู ะครเปน็ บางคร้ัง เขา้ นอน 2-3 ทมุ่ และสวดมนต์ไหว้พระกอ่ นนอน คมู่ ือ 179 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ญั ญาพืน้ บ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คุณยายมีไมม่ โี รคประจำตัว สุขภาพแขง็ แรง ตาและหยู งั เห็นและไดย้ ิน ชดั เจน ฟันเรมิ่ หลุด ไมก่ ินหมากพลู สามารถทำกจิ กรรมในชีวิตประจำวนั ทุก อย่างด้วยตนเอง ในระยะหลังยายหันมาดื่มน้ำต้มสมุนไพรปอบิดกับหัวยา ข้าวเย็น ด่ืมเช้า-เย็น คร้ังละ 2 แก้ว เพราะเชื่อว่าจะทำให้สุขภาพดี ตามความเชื่อที่บอกต่อๆ กันมา รับประทานผักคาวตองเป็นผักเคียง ซ่ึงยาย ปลูกไว้เองรอบบ้าน ส่วนยาสมุนไพรไทยอื่นๆ พกเพียงยาดมและยาหม่อง เพ่ือแก้อาการวิงเวียน เป็นลมแดดเป็นบางคร้ัง ใช้วิธีการนวดขมับร่วมด้วย ตามคำแนะนำของหมออนามัย ชอบอ่านหนังสือธรรมะ และฟังธรรมะวิทยุ ไมเ่ ครยี ดไมโ่ กรธใครงา่ ยๆ ชอบรำวงเตน้ รำตามงานประเพณตี า่ งๆ และเขา้ รว่ ม กจิ กรรมชมรมผูส้ งู อายุของตำบลเปน็ ประจำ รายได้ที่ใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน บุตรชายที่จังหวัดสมุทรปราการส่งมา ใหใ้ ชจ้ า่ ยทกุ เดอื น เดือนละ 1,000 - 2,000 บาท บวกกับเบี้ยยงั ชพี ผสู้ ูงอายุ เดอื นละ 700 บาท เงินทไี่ ด้รับ ยายจะแบ่งเปน็ เงนิ ทำบุญทกุ วนั พระ คร้ังละ 20 บาท ชว่ ยบญุ งานศพ เดอื นละ 100 -120 บาท ซอื้ กบั ขา้ วทกุ วนั เสาร์ ครงั้ ละ 50 -100 บาท ยายไม่ได้ไปซื้อเองแต่ฝากลูกหลานซ้ือให้เพราะตลาดนัดอยู่ ค่อนข้างไกล อาหารท่ีฝากซ้ือมักเป็นปลากับผัก และถ่านหุงข้าวเป็นบางคร้ัง กระสอบละ 150 บาท ยายคำมี เป็นผู้สูงอายุสุภาพดีเพราะทานอาหารปลาและผักเป็นหลัก ออกกำลงั กายเปน็ ประจำ และจติ ใจร่าเริง สวดมนต์ไหวพ้ ระเปน็ ประจำ 180 คู่มือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายุดว้ ยภมู ิปัญญาพนื้ บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นางชมุ เกินทา อายุ 79 ปี และ นางต่ำ คำยะอนุ่ อายุ 69 ปี ตำบลนำ้ ไคร้ อำเภอน้ำปาด จังหวดั อตุ รดติ ถ์ “ผูส้ งู อายดุ ูแลตวั เองอย่างไร ใหส้ ขุ ภาพแข็งแรง” เปน็ เร่ืองราวของ ผสู้ งู อายสุ องพน่ี อ้ ง ทอ่ี าศยั ในชนบท มชี วี ติ ทเี่ รยี บงา่ ย แมม้ คี วามตา่ งกนั ในบางมมุ แตแ่ ฝงไปดว้ ยความรกั และความหว่ งใยกนั และกนั ในการประคบั ประคองวยั น้ี ให้มคี วามสขุ สงู วยั อยา่ งมคี า่ แกช่ ราอยา่ งมคี วามสขุ คงเปน็ คำกลา่ วสำหรบั สองพน่ี อ้ ง ที่อยูก่ นั อย่างมีความสุขในวัยชรา นางตำ่ คำยะอนุ่ ในวยั 70 ปี และนางชมุ เกนิ ทา ในวัย 76 ปี สองพ่ีน้องทยี่ ังความสดใส ร่าเริง สมวยั ปา้ ชมุ เพิ่งสญู เสีย คชู่ วี ิตไปเมอ่ื ปี 2556 จงึ พกั อาศยั อยูก่ ับหลานชายเพยี ง 2 คน เนอ่ื งจากลูกๆ ไปทำงานต่างจังหวัด ส่วนป้าต่ำอาศัยอยู่กับลุงไว ผู้เป็นสามีที่อยู่ในวัยชรา เช่นเดียวกัน (74 ปี) ลูกๆ แต่งงานและแยกครอบครัวออกไปแต่ก็ยังอยู่ใน ละแวกใกล้เคียงและคอยแวะเวียนพาหลานมาเย่ียมเยียนอยู่เป็นประจำ ในวัยสาวป้าท้ังสองมีอาชีพทำไร ทำนา ตามประสาชาวชนบท พอวัยย่างเข้า 60 ปี ก็เลกิ ทำ แต่ก็ยังสรา้ งคุณคา่ ให้ตวั เองดว้ ยการปลกู ผกั สร้างรายได้เล็กๆ นอ้ ยๆ ด้วยตนเอง เดมิ บ้านปา้ ชุมเป็นบ้านไม้ใตถ้ ุนสูง แต่หลังจากสามีจากไป จงึ ยา้ ยมาอยบู่ า้ นปนู ชนั้ เดยี วกบั หลานซง่ึ อยตู่ ดิ กนั หลงั บา้ นทแี่ มเ้ หลอื ทไี่ มม่ าก แต่กม็ กี ารทำแปลงผักสวนครวั ผลไมพ้ นื้ บา้ น อาทิ มะละกอ มะม่วง ละมุด นอ้ ยหนา่ สำหรับรับประทานในครวั เรือน หากเหลอื ก็จะเก็บไปขายเพอื่ นบ้าน ในละแวกใกล้เคียง ส่วนป้าต่ำซ่ึงบ้านอยู่ติดกันอาศัยในบ้านครึ่งปูนครึ่งไม้ ฝั่งตรงข้ามทำแปลงผักสวนครัวหลายชนิด อาทิ ต้นหอม ผักชี ผกั กาด ดอกแค คู่มือ 181 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ไวส้ ำหรบั ขายและรับประทานเองในครอบครวั ส่วนในช่วงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ – เมษายน ยงั มกี ารเพิ่มรายไดจ้ ากการแกะมะขามเปยี กขายอกี ด้วย ในแต่ละวนั ป้าทง้ั สองมกี จิ วัตรท่คี ลา้ ยคลงึ กัน คือ ต่นื เช้าประมาณตหี ้า ลา้ งหนา้ แปรงฟัน ดม่ื นำ้ 1 แกว้ แลว้ เขา้ ครวั ปรงุ อาหารจากผกั สวนครวั ตามฤดกู าลทม่ี ี ปราศจาก ผงชูรส ต่อด้วยการออกกำลังกายท่ายืดเหยียดง่ายๆ ท่ีได้รับการฝึกจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยแมง เป็นเวลา 10 นาที แล้วจึงกวาด ถูบ้าน รดน้ำผักสวนครัว เก็บผักไว้ขาย ตักบาตรพระที่หน้าบ้านถ้าเป็น วันพระก็ไปตักบาตรท่ีวัด รับประทานอาหารเช้าเวลาประมาณ 8 โมงเช้า แล้วจึงเร่ิมภาระกิจการเดินขายผักสวนครัวในชุมชน หรือแกะมะขาม ถ้าวัน ไหนไม่มีผักก็เดินไปเล่นบ้านเพ่ือนฝูงท่ีอยู่ในละแวกใกล้เคียง ในช่วงบ่ายก็มี นอนพักหลังรับประทานอาหารบ้าง ช่วงเย็นรดน้ำผักสวนครัว ถอนหญ้า ยามเย็นหลังรับประทานอาหารในแต่ละวันก็มีการรับประทานผลไม้อย่างสม่ำ เสมอ อาทิ มะละกอ กลว้ ย ส้ม มะมว่ ง ละมดุ แล้วแตจ่ ะหาได้ ซึ่งเป็นตัวช่วย ให้ระบบขบั ถ่ายของป้าทง้ั สองเปน็ ปกติอยู่เสมอ แตใ่ นความคล้ายคลงึ กนั ของ ปา้ ทง้ั สองพบวา่ ปา้ ตำ่ ไมม่ โี รคประจำตวั ใดๆเลยแตป่ า้ ชมุ มโี รคความดนั โลหติ สงู ซึง่ รบั ประทานยาอยเู่ ปน็ ประจำทกุ วนั จะเหน็ วา่ มหี ลายปจั จยั ทท่ี ำใหป้ า้ ทง้ั สอง ยงั คงมสี ขุ ภาพโดยรวมแขง็ แรงดี ในวัยน้ี ไม่วา่ จะเป็นเร่อื งอาหารการกนิ ท่เี น้นพืชผกั สวนครัวทปี่ ลกู เอง หรอื หา ได้ในชุมชน การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อารมณ์ท่ีแจ่มใสเบิกบาน รวมถงึ การดแู ลตนเองไปใหม้ ภี าวะอว้ นจนเกนิ ไปอกี ดว้ ย (ปา้ ทงั้ สองนำ้ หนกั 52 กโิ ลกรัม) 182 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแก้วมูล สินจกั ร อายุ 78 ปี ตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จงั หวดั ลำปาง คุณตาแก้วมูลไม่ได้ทำงานแล้วแต่ช่วยลูกสาวดูแลร้านขายของชำท่ีอยู่ ตรงขา้ มบา้ นบา้ ง ทพ่ี กั เปน็ บา้ นใตถ้ นุ สงู ไมร่ สู้ กึ วา่ ขนึ้ -ลงลำบากเพราะลงตอนเชา้ 1 ครั้ง ข้ึนตอนเย็น 1 คร้ังเท่าน้ัน มีโรคประจำตัวคือ ความดัน เบาหวาน ทานยาแผนปัจจุบันและพกติกตัวเสมอ คิดว่าดูแลตนเองดีแล้วเพราะกินยา สมำ่ เสมอ ไมช่ อบออกกำลงั กายแตค่ ดิ วา่ การใชจ้ กั รยานกเ็ ปน็ การออกกำลงั กาย อยู่แล้ว ทราบจากเจ้าหน้าท่ีว่าใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพได้ เช่น กระเพรา ใช้แกไ้ ข้ แก้กลาก ใบแหง้ ต้มดืม่ บำรุงร่างกายได้ ฟา้ ทะลายโจรเป็นยาแก้หวดั แต่ไม่เคยใช้ยาสมุนไพรรักษาโรคหรือบำรุงร่างกาย เข้าร่วมกิจกรรมของทาง รพ.สต. เกษตร พัฒนาชมุ ชน เสมอเพราะได้ความรูด้ ี การทานอาหารเลอื กไม่ ทานอาหารรสจดั ทานพรอ้ มกบั ภรรยา มักชว่ ยภรรยาทำงานบา้ ง เช่นหยิบผ้า จากเครือ่ งซกั ผ้า คมู่ อื 183 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู งู อายดุ ้วยภมู ิปญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายทอง ธยิ า อายุ 68 ปี “อยกู่ บั โรค อยา่ งมีความสุข ในวัยสูงอายุ” กลา่ วไดว้ ่าน้อยคนนักทจ่ี ะเลี่ยง โรคภยั ไข้เจ็บไดใ้ นวยั สงู อายุ ลงุ ทอง ธิยา หนึ่งในผูส้ ูงอายุทสี่ ามารถปรบั ตัวอยู่ รว่ มกับโรคไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ลุงทอง ธยิ า วัย 68 ปี ท่ยี ังมีรอยยิ้มสดใส ในวัยหนุ่มยดึ อาชพี ทำไรอ่ ้อย และทำนา ปัจจบุ ันดูแลสวนสกั 6 ไร่ ส่วนไร่นาใหผ้ อู้ ืน่ เชา่ อาศยั อยกู่ ับภรรยา วัย 64 ปี ลูกสาวที่เปิดร้านขายของชำอยู่ที่บ้าน และหลานชายวัย 10 ขวบ ลุงทองเล่าว่า ในแต่ละวันหลังจากต่ืนนอนประมาณตีห้า ล้างหน้าแปรงฟัน ก็ช่วยภรรยาหุงข้าวทำกับข้าวบ้าง ช่วยลูกสาวขายของบ้าง หากพอมีเวลาก็ จะออกไปป่นั จกั รยานเพอื่ ออกกำลงั กายในหมู่บา้ น บางวนั กอ็ อกไปรดนำ้ ผัก ใส่ปุ๋ยแปลงผักสวนครัวที่อยู่หน้าบ้าน ผักสวนครัวท่ีปลูกไว้มีหลายชนิด อาทิ กะหลำ่ ปลี คะนา้ ผักกาดกวางตงุ้ หอม ผกั ชี ทำให้ครอบครัวไมต่ อ้ งไปซือ้ ผัก ตามตลาดมาปรุงอาหาร ซอ้ื บา้ งเพียงหมู ไก่ ปลา เทา่ น้นั อาหารในแตล่ ะวัน โดยมากจะเน้นผักเปน็ หลกั ไม่ว่าจะเปน็ เมนู แกงผัก ผกั น่ึง ปลา หมนุ เวยี นกัน ไปซึ่งโดยปกตแิ ล้วเปน็ คนไม่ชอบอาหารรสเผด็ และรสเค็ม ไม่ดื่มกาแฟ และมี เครื่องกรองน้ำฝนไว้ดื่มเองท่ีบ้าน หลังจากรับประทานอาหารเช้าราว 8 โมง แลว้ กจ็ ะออกไปดแู ลสวนสกั จำนวน 6 ไร ใกลๆ้ บา้ น ดา้ นสขุ ภาพรา่ งกายลงุ ทอง เล่าว่า เคยเป็นถึง 4 โรค คือ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมนั ในเลอื ดสงู แตป่ จั จบุ นั เหลอื เพยี ง 2 โรค คอื โรคหวั ใจและโรคความดนั โลหติ สงู ซง่ึ ยงั รบั ประทานยาจากโรงพยาบาลเกาะคาอยา่ งสมำ่ เสมอ สว่ น 2 โรค ที่หายดีแล้วคาดว่าเกิดจากการดูแลสุขภาพตัวเองที่ดีข้ึน คือ ออกกำลังกาย เพิ่มขึ้น ลดหวาน มัน เค็ม เม่ือกอ่ นลกู ชายมกั ซอ้ื น้ำมงั คดุ มาให้ดืม่ เพราะวา่ ดี 184 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ต่อสุขภาพแต่ปรากฏว่า ดื่มแล้วเบาหวานข้ึนจึงเลิกดื่ม และยังมียาอีกชนิดที่ ลุงทองบอกขาดไม่ได้ต้องพกติดตัวตลอดเวลาคือ ยาหอม ท่ีกินแล้วช่ืนใจ ส่วนสขุ ภาพด้านอ่ืนๆ หู ตา ระบบขบั ถ่ายเปน็ ปกติดี สขุ ภาพจติ ดี ไม่มีเรอื่ งใด มาทำใหก้ งั วลใจ และอยกู่ บั โรคหวั ใจและโรคความดนั โลหติ สงู ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สง่ิ ทท่ี ำใหผ้ สู้ งู อายุ สามารถปรบั ตวั อยกู่ บั โรคไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ นอกจาก ฐานะทางการเงนิ ทม่ี น่ั คงแลว้ ยงั ประกอบดว้ ยการไดอ้ ยรู่ ว่ มกบั คชู่ วี ติ ลกู หลาน ทค่ี อยเปน็ กำลงั ใจใหก้ นั อยตู่ ลอดเวลา รวมถงึ การมกี จิ กรรมทท่ี ำแลว้ ยงั รสู้ กึ วา่ ตนเองยังมีคณุ ค่าอยเู่ สมออกี ด้วย คูม่ อื 185 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นางหวนั แก้วเข้ม อายุ 76 ปี ตำบลน้ำไคร้ อำเภอนำ้ ปาด จงั หวัดอุตรดิตถ์ นางหวนั แกว้ เขม้ อาศยั อยกู่ บั ลกู สาว แตเ่ ดมิ ทานรสเผด็ ไดแ้ ตพ่ อรสู้ กึ วา่ อายุมากขึ้นทานเผ็ดแล้วแสบร้อนจึงไม่ทานแล้ว โดยปรุงทานเฉพาะแยกจาก ครอบครัวลูกสาว ทานคนเดียวเม่ือหิว ที่พักเป็นบ้านช้ันเดียวบ้านเดียวกับ ลูกสาวแต่แยกส่วนชัดเจน ไม่เคยตรวจสุขภาพแต่เช่ือว่าไม่มีโรคประจำตัว ไม่มียาท่ีทานเป็นประจำแต่มียาหม่องพกติดตัวเสมอ เป็นหมอทรงเจ้าปู่ตา ทำหน้าที่ตรวจสอบสาเหตุของการเจ็บป่วยว่าเกิดการกระทำของผีหรือไม่ โดยใช้วิธีนั่งทางในหลังจากทราบสาเหตุของการเจ็บป่วยแล้ว ชาวบ้านจึงไป รบั การรกั ษาตามสาเหตุการเจ็บป่วยน้นั ๆ อำเภอน้ำปาด การพูดคุยใช้ภาษาแบบภาษาอีสาน ไม่ใช้ภาษาแบบ ทางเหนือ เนอ่ื งจากตดิ กับประเทศลาว การทำอาหารประเภทแกงจะไม่นิยม ใสก่ ะทิ อาหารหาตามทอ้ งถนิ่ ท่มี อี ยเู่ พราะง่ายสำหรับนำมาปรงุ อาหารในแต่ ละม้ือ หรอื บางส่วนกห็ าซ้ือจากรา้ นค้าบ้าง เชน่ เอาะไก่ เอาะกบ อ่อมบอน ออ่ มขี้เหล็ก แจ่วเหด็ แจว่ ปลา แจ่วกบ แจว่ เนื้อ 186 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู ูงอายดุ ้วยภูมิปัญญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”

5บทท่ี แนวคดิ กระบวนการและบทเรยี น การทำงานด้านดูแลผู้สูงอายุ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ



สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทท่ี 5 แนวคิด กระบวนการและบทเรียนการทำงานด้านดูแล ผูส้ งู อายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพื้นบ้านดา้ นสขุ ภาพ จากระยะเวลาหา้ ทศวรรษทผี่ า่ นมา สงั คมไทยมจี ำนวนผสู้ งู อายเุ พมิ่ ขนึ้ อย่างตอ่ เนือ่ ง และในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยได้กา้ วสู่ “สังคมผสู้ ูงอายุ (Aging Society)” และมีการคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะเข้าสู่ สังคมสูงวยั ระดบั สดุ ยอด หมายถงึ อตั ราสว่ นของผสู้ ูงอายุจะเปน็ รอ้ ยละ 25 ของประชากรทง้ั หมด ผสู้ งู อายมุ ภี าวะรา่ งกายทเ่ี สอ่ื มลง และตอ้ งการการพง่ึ พา หรอื การดแู ลเมื่ออายุมากข้นึ และยังพบว่าผสู้ งู อายปุ ระสบกับภาวะโรคเรือ้ รัง หลายโรค และผสู้ ูงอายุยังประสบกับปัญหาการอยูบ่ า้ นเพียงคนเดียว และขาด ผดู้ แู ลมจี ำนวนมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2555 – 2558 กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก โดย สำนกั การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย ไดร้ เิ รม่ิ และดำเนนิ งาน “โครงการ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพ ผสู้ งู อาย”ุ มวี ตั ถปุ ระสงค์ 3 ดา้ น คอื (1) เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การศกึ ษาภมู ปิ ญั ญา พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในท้องถ่ิน (2) รณรงค์และส่งเสริมให้ ผู้สูงอายนุ ำภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นมาใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง และ (3) เพอื่ อนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาดา้ นการแพทยพ์ น้ื บา้ นเพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพ เปน็ โครงการ 3 ปี ที่มุ่งหมายจะศึกษาและส่งเสริมภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพเพ่ือการดูแล ผสู้ งู อายุ โดยมขี น้ั ตอนการจดั การความรู้ การวเิ คราะห/์ สงั เคราะหส์ ถานการณ์ ในพน้ื ท่ี และการขยายผล/รปู แบบการทำงานไปยงั พน้ื ทอ่ี น่ื ปจั จบุ นั โครงการฯ คู่มือ 189 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภมู ิปญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อยู่ในข้ันตอนที่สอง ซึ่งมีความจำเป็นในการสรุปวิเคราะห์และสังเคราะห์ ภาพรวมเพอื่ เปน็ แนวคดิ และแนวทางการทำงานพฒั นาภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ น สขุ ภาพเพอื่ การดแู ลสุขภาพของผู้สงู อายุ มรี ายละเอียด ดงั นี้ สถานการณข์ องผู้สูงอายไุ ทย จากการสำรวจของสำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2555 รายงานวา่ สังคมไทยมีผู้สูงอายุท้ังหมดจำนวน 8.63 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 12.7 ของ จำนวนประชากรท้ังหมด และผู้สูงอายุสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลัก คือ กลมุ่ แรกเปน็ กลุ่มที่ดูแลตนเองได้ ประมาณร้อยละ 85.3 กลุม่ ท่ีสอง เป็นกลมุ่ ที่เร่ิมมีภาวะพ่ึงพาและต้องการผู้ดูแลบางส่วน ประมาณร้อยละ 13.8 และ กลุ่มที่สาม เป็นกลุ่มที่ต้องพ่ึงพาผู้อ่ืน ประมาณร้อยละ 0.9 และแนวโน้ม ผู้สูงอายุไทยเพ่ิมข้ึนทั้งจำนวนและสัดส่วน โดยที่ผู้สูงอายุวัยปลายหรือที่มี อายุ 80 ปีข้นึ ไปเพ่ิมขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว และยังพบว่า ผสู้ ูงอายทุ ี่อยคู่ นเดยี วและ ผสู้ ูงอายุท่อี ยู่เพยี งลำพงั กบั ค่สู มรสมีแนวโนม้ เพิ่มขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สถานการณส์ ขุ ภาพ นโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นผสู้ งู อายุ ผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นตามอายุของผู้สูงอายุที่เพิ่มข้ึน ผู้สูงอายุมีปัญหาโรค 6 อันดับแรก คือ ความดันโลหิตสูง ความผิดปกติของ ตอ่ มไรท้ อ่ /ภาวะโภชนาการ โรคเบาหวาน โรคโลหติ จาง โรคไตวาย และอ่นื ๆ นอกจากนีย้ งั มคี วามเจบ็ ป่วย/โรคทีพ่ บบ่อยในกลุ่มผสู้ ูงอายไุ ทย คอื การกล้ัน ปัสสาวะไม่ได้ อุบัติเหตุ โรคข้อเข่าเส่ือม/ปวดเข่า โรคกระดูกพรุน อาการ สมองเสื่อม กลุม่ อาการอมั พฤกษ์ – อัมพาต ภาวะซมึ เศรา้ อาการท้องผกู โรคต้อกระจก อาการหูหนวก – หตู งึ 190 ค่มู ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สังคมไทยมีนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้สูงอายุแบบ บรู ณาการ ต้ังแตแ่ ผนงานพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และต่อเน่ืองจนถึงแผนงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) แนวคดิ สำคัญคือ การพฒั นาคนและระบบคุม้ ครองทาง สังคมที่เน้นทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมสวัสดิการ และมีกรอบ ทิศทางการพัฒนาผ้สู งู อายุ 4 ดา้ น คอื การสร้างหลกั ประกนั ความมน่ั คงทาง รายได้ การพัฒนาระบบสังคมสวสั ดิการ การพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม กบั ผสู้ งู อายุ และการพฒั นากลไกบรหิ ารจดั การผสู้ งู อายุ และยงั มแี ผนผสู้ งู อายุ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดา้ นปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ และมาตรการ 5 ดา้ น เพือ่ เปน็ แนวทางขบั เคลื่อน งานผู้สูงอายุ นอกจากนี้ ยังมีโครงสร้างและกลไกขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุทั้ง ระดับส่วนกลางและระดับพ้ืนที่ ตลอดจนองค์กรสนับสนุนและส่งเสริมงาน ผู้สงู อายุ ทั้งองคก์ รภาครัฐและองคก์ รเอกชนสาธารณประโยชนอ์ ีกด้วย ผลสรุปภาพรวม : พ้ืนที่ตัวอย่างด้านจัดการความรู้และ ประสบการณก์ ารส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาพ้นื บ้านด้านสุขภาพ จากการสรุปวิเคราะห์ผลงานของพ้ืนที่ตัวอย่างท่ีมีการดำเนินงาน จัดการความรู้ และบางพ้ืนท่ีมีประสบการณ์ส่งเสริมภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้าน สขุ ภาพ จำแนกเปน็ 2 กลุ่ม คอื กลุม่ ที่ 1 พน้ื ท่ตี ัวอยา่ งด้านจัดการความรภู้ มู ิปัญญาพื้นบา้ นด้าน สขุ ภาพ พ้นื ทตี่ ัวอยา่ งด้านจดั การความรู้ มี 5 กรณศี ึกษา คอื พนื้ ท่ี 4 ตำบลใน 4 จงั หวดั (จงั หวดั กาฬสินธ์ุ จังหวดั อดุ รธานี จงั หวดั เพชรบรุ ี และ จังหวัดตรัง) และพ้ืนท่ีศึกษา โครงการศึกษาภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้าน คมู่ อื 191 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ้วยภูมิปัญญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพ่อื การดแู ลสุขภาพในผสู้ งู อายุ โดย ศ.(พิเศษ) พญ.สมบูรณ์ เกียรตนิ ันทน์ และคณะ กล่าวไว้ว่า ทกุ พน้ื ท่ีเป็นชุมชนผูส้ งู อายุ มีผสู้ งู อายุประมาณมากกวา่ รอ้ ยละ 10 ของประชากรทง้ั หมด ภายในพน้ื ท่ี 4 ตำบลใน 4 จงั หวดั มหี นว่ ยงาน ที่รบั ผิดชอบงานสขุ ภาพผู้สูงอายุท่สี ำคญั คอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ และ รพ.สต. ในพื้นท่ี และยังมีกลุ่ม กศน.ในพื้นที่ องค์กรภาคเอกชน ผู้นำชุมชน และผนู้ ำกลมุ่ /ชมรมในพน้ื ท่ีรว่ มงานดว้ ย ทุกพื้นท่มี ี “ชมรมผูส้ ูงอายุ” เป็น กลไกการรวมกลมุ่ ของผสู้ งู อายใุ นพน้ื ท่ี และนบั เปน็ กลไกภาคประชาชนทส่ี ำคญั ทข่ี บั เคลือ่ นงานผู้สูงอายรุ ว่ มกบั ภาครัฐ ทส่ี ำคญั มี 3 ดา้ น คือ การจัดสวัสดกิ าร ผ้สู ูงอายุ การส่งเสริมอาชพี และรายได้ และการเพ่มิ ศกั ยภาพของผูส้ ูงอายุ การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุมีแนวคิดการดูแลสุขภาพและ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายแุ บบครบวงจร ประกอบดว้ ย การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพ การปอ้ งกันโรค การรักษาโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยจำแนกผ้สู งู อายุ เปน็ 3 กลมุ่ คอื กลมุ่ ตดิ สงั คม (กลมุ่ สขุ ภาพดแี ละพง่ึ พาตนเองได)้ กลมุ่ ตดิ บา้ น (กลุ่มทพี่ งึ่ พาตนเองบางส่วน อาจเป็นกลมุ่ เส่ยี งหรือมีโรค) และกลุ่มตดิ เตยี ง (กลมุ่ ทต่ี อ้ งการผดู้ แู ลใกลช้ ดิ ) หนว่ ยงานรฐั มกี ารจดั บรกิ ารการดแู ลและบรกิ าร สขุ ภาพใหผ้ สู้ งู อายทุ ุกกลุ่ม และเตรยี มความพร้อมเพื่อใหผ้ ู้สูงอายมุ สี ุขภาพดี ทัง้ มติ ทิ างกาย ทางจติ ใจ และทางสังคม สำหรับการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ รพ.สต. ในพ้นื ทม่ี กี ารเก็บข้อมลู 2 ดา้ น คือ (1) ข้อมูลการดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ว้ ย ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน แหลง่ ขอ้ มูล คอื ผสู้ ูงอายตุ ้นแบบที่มสี ุขภาพดี และ (2) ขอ้ มลู ภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ นื้ บา้ น แหลง่ ขอ้ มลู คอื หมอพน้ื บา้ น นอกจากนี้ มพี นื้ ที่ของจงั หวัดอุดรธานี มกี ารสรุปบทเรียนการส่งเสรมิ การแพทยพ์ ้นื บา้ น ในพน้ื ที่ ซึง่ ข้อมลู ส่วนน้จี ะนำไปวเิ คราะหร์ วมกับกลุม่ ท่ี 2 จากการจดั การ ความรู้ภมู ิปญั ญาพื้นบา้ นดา้ นสขุ ภาพ พบวา่ 192 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุด้วยภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (1) การดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นสขุ ภาพ พบว่า ผู้สูงอายุต้นแบบมีการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม มีท้ังสุขภาพกาย สุขภาพจติ ใจ/อารมณ์ สุขภาพสงั คม และสุขภาพจิตวญิ ญาณ ผูส้ งู อายสุ ว่ น ใหญท่ ม่ี อี ายรุ ะหวา่ ง 80 – 90 ปี มีสุขภาพแข็งแรง พ่ึงตนเองได้ มีวิถชี ีวติ เรียบง่ายและพออยู่พอกิน อาหารจะเน้นรับประทานผักและปลา บางคนงด เนอ้ื สัตว์ใหญ่ รบั ประทานอาหารรสออ่ นและรสจดื หรือรสไมจ่ ดั แหลง่ ผกั มา จากสวนในบา้ นและตลาดใกลบ้ า้ น ผู้สงู อายุบางคนมีการใช้สมนุ ไพรเพ่ือดูแล และบำรุงร่างกาย เชน่ ขมิ้น ฟา้ ทะลายโจร ขอ่ ย กวาวเครือแดง – ขาว กระชายดำ เหงอื กปลาหมอ เสลดพงั พอน หญา้ หนวดแมว เป็นตน้ ไม่ดม่ื สรุ า หรือสบู บุหร่ี มีการออกกำลงั กายและเคลอื่ นไหวรา่ งกายสม่ำเสมอ ดแู ลจติ ใจ ตนเองให้อารมณ์ดี และจัดการกับความเครียดได้ มีการสวดมนต์ฟังธรรม เป็นประจำ และยังเข้าร่วมประเพณีทางศาสนาเป็นประจำด้วย นอกจากนี้ ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการดูแลจากครอบครัวและจากชุมชน ผู้สูงอายุบางส่วน เข้ารว่ มชมรมผ้สู งู อายใุ นพน้ื ที่ และไดร้ ับการชว่ ยเหลอื /ดแู ลจากหนว่ ยงานรัฐ ในทอ้ งถิน่ อย่างต่อเน่ือง (2) ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านในพื้นท่ี แต่ละพื้นท่ีมีการ รวบรวมภมู ิปัญญาการแพทย์พืน้ บ้านในพน้ื ที่ มกี ารรวบรวมจำนวน ประวตั ิ ลกั ษณะ และประสบการณก์ ารดแู ลรกั ษาโรคแบบพน้ื บา้ น พบวา่ หมอพน้ื บา้ น สว่ นใหญม่ อี ายมุ าก มหี ลายประเภท ทง้ั หมอยาสมนุ ไพร หมอเปา่ หมอกระดกู หมอนวด หมอตำแย มีการรักษาโรคหลายโรค มีวิธีการรักษาหลายวิธี คือ การเป่า/คาถา การนวด การใช้ยาสมนุ ไพร การใชน้ ้ำมนต์ สำหรบั การเก็บ ข้อมูลหมอพื้นบ้านของตำบลนาไหม อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี มีการ จำแนกกลุ่มหมอพื้นบ้านเป็น กลุ่มหมอยาสมุนไพร และกลุ่มหมอยาน้อย กลุ่มหมอยาน้อยจะเป็นหมอพ้ืนบ้านท่ีอยู่ในวัยกลางคนเป็นผู้ที่มีบรรพบุรุษ คูม่ ือ 193 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมิปญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นหมอพนื้ บ้านหรือเปน็ ผ้สู นใจศึกษาจากหมอพื้นบ้าน มกี ารศกึ ษาและรว่ ม กิจกรรมกับชมรมหมอพื้นบ้านในพื้นท่ี นับเป็นการสะท้อนถึงการสืบทอด ภมู ิปัญญาหมอพ้ืนบา้ นท่ีนา่ สนใจพืน้ ทห่ี นง่ึ กลุ่มที่ 2 พ้ืนที่ตัวอย่างด้านจัดการความรู้และประสบการณ์ การสง่ เสริมภูมปิ ญั ญาด้านสุขภาพ พ้ืนท่ีตัวอย่างด้านจัดการความรู้และประสบการณ์การส่งเสริม ภูมิปัญญาด้านสุขภาพ มี 4 กรณีศึกษา คือพ้ืนที่ 4 ตำบล ใน 4 จังหวัด (จังหวัดลำปาง จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอุดรธานี) กรณีศึกษาทุกพนื้ ทมี่ ผี ู้สงู อายุจำนวนมาก บางพื้นทีม่ มี ากกวา่ ร้อยละ 10 ของ ประชากรทั้งหมด รพ.สต. ในพื้นที่มีนโยบายการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ ครบวงจร ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ และยังจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง การดูแลบริการสุขภาพผู้สูงอายุเป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานของ กระทรวงสาธารณสุข อย่างไรก็ตาม รพ.สต. ห้วยแมง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีการบริการการแพทย์แผนไทยสำหรับผู้สูงอายุ และมีการนำแนวคิด และแนวทางการดแู ลสขุ ภาพแบบสมดลุ ของ นายใจเพชร มที รพั ย์ (หมอเขยี ว) การใช้ประโยชน์ในงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ในทุกพื้นท่ีมีกลไก “ชมรมผู้สูงอายุ” เป็นศูนย์รวมกลุ่มของ ผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามสิทธิของผู้สูงอายุ และเสริมสร้างความม่ันคงทางสังคมผู้สูงอายุที่รับผิดชอบโดยองค์กรปกครอง ในพน้ื ท่ี และจากการทพ่ี น้ื ท่ี 4 ตำบลมกี ารจดั การความรแู้ ละสรปุ ประสบการณ์ การสง่ เสริมภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ด้านสขุ ภาพ ผลสรปุ จำแนกได้ 3 ด้าน ดงั นี้ 194 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (1) ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านในพื้นที่ รพ.สต. ในพ้ืนที่มี การสัมภาษณ์หมอพื้นบ้านในพื้นท่ี พบว่า มีจำนวนหมอพ้ืนบ้านระหว่าง 6 – 24 คน ประกอบดว้ ยหมอหลายประเภท คอื หมอเปา่ /พน่ หมอสมนุ ไพร หมอนวด หมอดู/พิธีกรรม หมอกระดกู ส่วนใหญอ่ ายุมากกวา่ 60 ปขี นึ้ ไป เรยี นวชิ ามาจากบรรพบรุ ษุ ญาติและพระสงฆ์ รักษาโรคหลายโรค และมีวธิ ี การรักษาโรคหลายวิธีผสมผสานกัน สำหรับวิธีการรักษาโรคมีการเก็บข้อมูล ทีม่ ีรายละเอียดแตกต่างกนั ในแต่ละพ้นื ท่ี บางพ้นื ทเี่ ก็บรายละเอยี ดทีอ่ าจนำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ แตบ่ างพน้ื ทเ่ี กบ็ รายละเอยี ดนอ้ ยมาก หมอพน้ื บา้ นสว่ นใหญ่ ไม่มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้าน และมีข้อสังเกตุ คือ หมอนวดพน้ื บ้าน จังหวัดพิษณุโลก มีการบริการการนวดพน้ื บา้ นทบ่ี ้านของ ตนเองเป็นประจำและเปน็ แหลง่ รายได้ อกี ทงั้ มีการถ่ายทอดวิชานวดให้กบั ลูก ของตนเองดว้ ย (2) การดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นสขุ ภาพ รพ.สต. ในพน้ื ท่มี กี ารสัมภาษณผ์ ูส้ ูงอายุตน้ แบบ 1 – 6 คน (บางพื้นท่ไี มม่ ี ข้อมูลส่วนน้ี) พบว่า ผู้สูงอายุต้นแบบมีสุขภาพดี บางคนมีโรคแต่ควบคุมได้ มแี บบแผนการดูแลสุขภาพตนเองทีด่ ี ดแู ลตนเองดา้ นอาหาร รับประทานผัก น้ำพริก และปลาเป็นหลัก ผักจะปลูกเองหรือซื้อในตลาดท้องถ่ิน มีการ เคล่ือนไหวร่างกายเป็นประจำ บางคนมีการใช้ยาสมุนไพรเพื่อบำรุงร่างกาย และได้รับการดูแลจากครอบครัวและชุมชน (3) ประสบการณ์การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ พ้ืนท่ีกรณีศึกษาจำนวน 4 ตำบล ใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดลำปาง จังหวัด อุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอุดรธานี มีประสบการณ์เรียนรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ จากข้อมูล สามารถวเิ คราะห์เปน็ 2 รูปแบบ คือ คู่มอื 195 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สงู อายุดว้ ยภมู ิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รปู แบบท่ี 1 การสง่ เสรมิ และใชป้ ระโยชน์ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ดา้ นสขุ ภาพสำหรบั ชมรมผสู้ งู อายุ รปู แบบนเี้ ปน็ ประสบการณข์ อง 2 พนื้ ท่ี คอื ตำบลหวั รอ จังหวัดพิษณุโลก และ ตำบลนำ้ ไคร้ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ เป็นแนวคดิ สนับสนุนหมอพ้ืนบ้าน/ปราช์ญชาวบ้านท่ีมีศักยภาพและประสบการณ์ด้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้มีการรวมกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการถ่ายทอด ภูมิปัญญาสู่สมาชิกของชมรมผู้สูงอายุ หรืออาจเป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น จากแหล่งอื่น (การดูแลสุขภาพแบบสมดุลของหมอเขียว) มาใช้ประโยชน์ใน ชมรมผสู้ ูงอายุ ประเดน็ ภมู ปิ ัญญา คอื การนวด ยาสมนุ ไพร อาหารพ้นื บ้าน การออกกำลงั กาย เพลงพน้ื บา้ น ประเพณ/ี พธิ กี รรมทางศาสนา และหตั ถกรรม พน้ื บ้าน อย่างไรกต็ าม รูปแบบนยี้ งั ขาดข้อมลู เกยี่ วกบั จำนวนผสู้ อน/ผเู้ รยี น กระบวนการและประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนกับกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ในอนาคต จำเป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบและกระบวนการให้ชัดเจนเพื่อขยายผลสู่ วงกว้างตอ่ ไป รปู แบบท่ี 2 การส่งเสรมิ และใช้ประโยชน์ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ดา้ นสขุ ภาพสำหรบั ชมุ ชนรปู แบบนม้ี กี ารดำเนนิ งาน 2 แหง่ คอื ตำบลนาแกว้ จงั หวัดลำปาง และ ตำบลนาไหม จังหวัดอุดรธานี มีแนวคิดการอนรุ กั ษ์ การเรียนรู้ การใช้ประโยชน์ และการสืบทอดภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ภายใตก้ ารทำงานแบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งชมุ ชน ภาครฐั (ทง้ั ในและนอกชมุ ชน) และภาคเอกชนสาธารณประโยชน์ กระบวนการทำงานเร่ิมต้ังแต่การสำรวจ และรวมกลุ่มหมอพื้นบ้านในพ้ืนท่ี การศึกษาและสำรวจสมุนไพรท้องถิ่น การรวบรวมและเรียนรู้ภูมิปัญญาหมอพ้ืนบ้านในพื้นที่การแลกเปล่ียน/ศึกษา ดูงานหมอพื้นบา้ น การฟืน้ ฟแู หล่งสมุนไพรในชุมชน การสรา้ งกระแสความ สนใจการแพทย์พ้ืนบ้านและคืนความรู้ (การเรียนรู้) ภูมิปัญญาสู่ชุมชน (กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กนักเรียนและผทู้ ีส่ นใจในชมุ ชน) การบรกิ ารและพัฒนา 196 ค่มู ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายดุ ้วยภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บริการของหมอพ้ืนบ้านในชุมชน การทำงานลักษณะน้ีได้รับการสนับสนุน ดา้ นทรพั ยากรและดา้ นแนวคดิ จากบคุ คล/องคก์ รทงั้ ภายในและภายนอกชมุ ชน อยา่ งไรกต็ าม ในประเดน็ การสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น มกี ารทำงาน ในพนื้ ที่ แตย่ งั ไมม่ ีความชดั เจนด้านกระบวนการและผลลพั ธต์ อ่ กล่มุ เป้าหมาย ยงั คงจำเปน็ ต้องมกี ารออกแบบปฏิบตั ิการทต่ี อ่ เนื่องและประเมนิ ผลต่อไป แนวคิดและกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญา พนื้ บ้านสำหรบั ผู้สงู อายุ 1. แนวคดิ และหลักการการดแู ลสขุ ภาพของผ้สู งู อายุระยะยาว สำหรับแนวคิดการดูแลสุขภาวะผู้สูงอาย คือ การดูแลให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาวะท่ีดีทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ/จิตวิญญาณ และด้านสังคม อยู่ใน สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมตามวยั สงู อายุ ไดร้ บั สวสั ดกิ ารและการบรกิ ารทางสงั คม อยา่ งเหมาะสม โดยมคี รอบครวั ชมุ ชนและสงั คมเกอ้ื หนนุ ผสู้ งู อายุ โดยมรี ฐั บาล หนว่ ยงานของรฐั ในทอ้ งถน่ิ และชมุ ชนมศี กั ยภาพและสามารถจดั บรกิ ารสำหรบั ผู้สงู อายุได้อย่างทว่ั ถงึ และเป็นธรรม หลักการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวโดยชุมชน ประกอบด้วย 5 ดา้ นสำคญั คือ (1) การส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพของ ผสู้ งู อายใุ นการดำรงชวี ติ ในชมุ ชนอยา่ งมศี กั ดศ์ิ รแี ละมสี ว่ นรว่ ม (2) การสง่ เสรมิ ผดู้ แู ลในครอบครัวเป็นแกนหลักในการดูแลผู้สูงอายุ (3) การบรกิ ารสุขภาวะ ผู้สูงอายุในชุมชนให้มีความครอบคลุมและบูรณาการร่วมกัน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถนิ่ องค์กรภาครฐั ในทอ้ งถิน่ และชมรมผูส้ ูงอายุร่วมกันวางแผนและ บริหารจัดการการบริการสุขภาวะของผู้สูงอายุในชุมชน (4) ระบบบริการ สุขภาวะของผู้สูงอายุสามารถบริการจัดการ พัฒนาและดำเนินงานได้อย่าง ค่มู อื 197 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู งู อายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพ้นื บา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตอ่ เนอ่ื งและยง่ั ยนื ภายใตแ้ นวคดิ และหลกั การดงั กลา่ ว ผสู้ งู อายุทุกกลมุ่ ทั้ง กลุ่มที่มีสุขภาพดี กลุ่มผู้สูงอายุท่ีมีโรค และผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ/ ภาวะพึง่ พา ควรมบี ริการดแู ลอยา่ งเหมาะสมในทุกมิติ อยา่ งมคี ณุ ภาพและมี บูรณาการและมีการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ และด้านสังคมที่สอดคล้องกับ ศักยภาพผูส้ งู อายุ และสอดคลอ้ งกับภาวะสงั คมวัฒนธรรมของทอ้ งถ่นิ ด้วย 2. แนวคิดภมู ปิ ัญญาพืน้ บา้ นด้านสขุ ภาพสำหรับผสู้ ูงอายุ ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของภูมิปัญญาไทยหรือ ภูมปิ ัญญาพน้ื บ้าน/ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น หมายถงึ ระบบคดิ ความเชอ่ื และระบบ แผนปฏบิ ัตเิ พ่อื ดูแลรกั ษาสขุ ภาพของท้องถ่ิน หรอื อาจเรียกได้วา่ วัฒนธรรม การดแู ลรักษาสุขภาพแบบพน้ื บ้าน ซึง่ มกี ารกอ่ รปู การใช้ประโยชน์ การปรับ เปลย่ี นและการถา่ ยทอด ภายใตบ้ รบิ ททางสงั คมนเิ วศนอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ภมู ปิ ญั ญา พ้นื บา้ นด้านสขุ ภาพ จำแนกเป็น 2 ดา้ น คอื ภูมิปญั ญาพน้ื บา้ นเพอื่ การดแู ล สขุ ภาพ (Indigenous Health) และภูมิปญั ญาพนื้ บา้ นเพ่ือการรักษาโรค และฟน้ื ฟูสมรรถภาพร่างกายแบบพื้นบ้าน (Indigenous Medicine) สำหรับการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพจำเป็น ต้องเข้าใจธรรมชาติของภูมิปัญญาที่มีความเฉพาะของท้องถ่ิน มีระบบคิดท่ี อยู่บนฐานความเชื่อและอิงประสบการณ์เฉพาะถ่ิน และมีแนวทางการดูแล รกั ษาสขุ ภาพทผ่ี สมผสานหลายวธิ กี ารเพอ่ื เยยี วยาทงั้ รา่ งกายและจติ ใจ ดงั นน้ั การทบ่ี คุ ลากรสขุ ภาพ/นกั พฒั นาชมุ ชนตอ้ งการเรยี นรแู้ ละนำภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น มาใชป้ ระโยชนใ์ นวงกวา้ ง ควรวางเปา้ หมายทช่ี ดั เจน และทส่ี ำคญั คอื ใหเ้ จา้ ของ ความรหู้ รอื ประสบการณ์ คอื ชมุ ชนหรอื หมอพน้ื บา้ นมสี ว่ นรว่ มในการกำหนด เป้าหมายในอนาคต เป้าหมายของการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ด้านสุขภาพ อาจจำแนกเปน็ 3 ด้าน คอื (1) เพอ่ื ใหช้ มุ ชนเรยี นรแู้ ละนำมา 198 คมู่ อื “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน (2) เพ่ือสร้างแนวคิดและองค์ความรู้ให้เป็น ระบบและพัฒนาต่อยอดเป็นบริการ/นวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ของชุมชนต่อไป และ (3) เพื่อสร้างและพัฒนามาตรฐานความรู้และบริการสุขภาพ และใช้ ประโยชนใ์ นวงกว้างตอ่ ไป 3. แนวทางและกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ด้านสุขภาพสำหรบั ผูส้ ูงอายุ จำแนกเปน็ 3 ด้าน ดังนี้ 3.1 การจดั การความรภู้ มู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพเพอ่ื ผสู้ งู อายุ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นแนวปฏบิ ตั ิ ที่องค์กร / ชุมชนปฏิบัติการ นำไปใช้ประโยชนอย่างกว้างขวาง เพ่ือให้เกิด เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทำให้เกิดการพัฒนาคน และพัฒนางานต่อไป หากนำการจัดการความรู้มาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ และพฒั นาภมู ปิ ัญญาพ้นื บา้ นด้านสขุ ภาพสำหรบั ผู้สงู อายุ มีกระบวนการ 5 ขน้ั ตอน คอื (1) การกำหนดประเด็นและขอบเขตความรู้ บุคคล/องค์กรที่ เกี่ยวข้องกับเปา้ หมาย ควรร่วมกนั กำหนดประเด็นหลกั /ประเดน็ รอง ขอบเขต และแหล่งของความรู้ในโครงการนี้ มีการกำหนดประเด็นความรู้ 2 เรื่อง เร่ืองแรก คือ “ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ” ขอบเขตคือ การดูแลสุขภาพด้านกาย ด้านจิตใจ ด้านจิตวิญญาณ และด้านสังคม “ภูมิปญั ญาของหมอพน้ื บา้ น” ขอบเขต คือ ประวัตทิ ัว่ ไป ประวัติความเป็นมา หมอพ้ืนบ้าน ความเชี่ยวชาญ การวินิจฉัยและรักษาโรค การติดตามผล การบูชาครู การสืบทอดและการยอมรับของชมุ ชน การกำหนดประเด็นและ ขอบเขตความรู้จะช่วยให้การเรียนรู้มีความชัดเจนและสามารถนำมาใช้ ประโยชนไ์ ด้ตอ่ เนอื่ ง คู่มือ 199 “แนวทางการดูแลสุขภาพผ้สู ูงอายดุ ้วยภมู ิปญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2) การเสาะหาและแสวงหาความรู้ที่ต้องการ กระบวนการนี้ จำเป็นตอ้ งกำหนดแหลง่ ความรู้ ผ้เู รียนรู้ และกระบวนการหาความรทู้ ี่ชัดเจน โครงการนกี้ ำหนดแหลง่ ความรู้ คอื ผสู้ งู อายตุ น้ แบบและหมอพน้ื บา้ น ผเู้ รยี นรู้ คอื เจา้ หน้าที่สาธารณสุขของ รพ.สต.ในพื้นที่ และกระบวนการเรยี นรู้ คือ การสัมภาษณ์และการประชุมกลุ่ม พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ใช้กระบวนการสัมภาษณ์ ตามแบบสอบถามท่ีทาง สำนกั การแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จัดทำเพ่ือเป็นแนวทางการเรียนรู้ จากนนั้ พ้ืนที่จึงบันทึกและเรียนรู้เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ต้นแบบและหมอพื้นบ้านเป็นรายบุคคล รายละเอียดมีความแตกต่างกัน (ความยาวประมาณ 1 – 3 หนา้ กระดาษ/บคุ คล) และอาจมคี วามจำกดั ทจ่ี ะถอด ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ หรือหมอพ้ืนบ้านท่ีมีประสบการณ์ 10 – 20 ปี ออกมาเป็นตัวอักษร ผู้เรียนรู้ภูมิปัญญาควรต้ังเป้าหมายให้ชัดเจน เพ่ือจะได้ เลอื กประเดน็ และวิธีการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างสอดคล้องกบั เป้าหมาย (3) การสร้างและประมวลองค์ความรู้เพื่อให้ได้ “ชุดความรู้” ที่เป็นระบบและใช้งานได้จริง กระบวนการนี้จำเป็นต้องอาศัยการทำงานเป็น กลุ่ม และใช้ทักษะการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ประกอบกัน วิธีการทำได้โดยการจัดเวทีหรือการประชุมหลายครั้ง เพื่อนำเอาความรู้ที่ได้ จากกระบวนการที่ 2 มาจัดระบบ ตีความและประเมินคุณค่าอย่างจริงจัง ตัวอยา่ งเชน่ “ความรู้และการบริโภคผกั พน้ื บา้ นของผ้สู งู อายุตน้ แบบ” ตอ้ งมี การสมั ภาษณแ์ ละสำรวจผกั พน้ื บา้ นและตำราอาหารพน้ื บา้ นทผ่ี สู้ งู อายบุ รโิ ภค ในแต่ละฤดูกาล เพ่ือให้รู้ว่าแต่ละฤดูกาลมีความรู้และใช้ความรู้ในชีวิตจริง อยา่ งไร ? ระยะเวลาการเรียนรู้ควรเป็น 1 ปี และอาจจำเป็นตอ้ งเก็บขอ้ มูล ประสบการณ์ และเทคนิคการปรุงอาหารพ้ืนบ้านที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ หากมีการเรียนรู้องค์ความรู้ที่ชัดเจน จะสามารถนำไปถ่ายทอดและขยายผล 200 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านดา้ นสุขภาพ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook