สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แนวคิดและกระบวนการพัฒนาภูมิปญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพ (1) การจดั การความร้ภู ูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสุขภาพ ปัจจุบันการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นแนว ปฏิบัติท่ีองค์กรร่วมสมัยนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เน่ืองจากสถานะ ความรู้ในโลกปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา และยังมีความรู้ที่ยังแฝง ในคนและในระบบงานปกติอยู่จำนวนมาก ดังน้ัน การจัดการความรู้จึงเป็น เครอ่ื งมอื เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาคนและการพฒั นางาน อนั นำไปสอู่ งคก์ ร แหง่ การเรยี นรสู้ ำหรบั การจัดการความร้ภู ูมปิ ัญญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพ อาจมี กระบวนการทำงาน 5 ข้นั ตอน ดงั น้ี การกำหนด “ประเด็นความรู้” ท่ีเป็นหลักหรือสำคัญ กำหนด ขอบเขตอาจทำโดย “สรา้ งแผนท่คี วามร”ู้ (Knowledge Mapping) ทำใหเ้ หน็ ประเด็นหลักและประเด็นย่อยทั้งหมด ทบทวนว่าความรู้นั้นประกอบด้วย อะไรบา้ ง ? และจะหาความรไู้ ดจ้ ากแหลง่ ใด ? ประเดน็ สำหรบั องคก์ ร / กลมุ่ ท่ี กำลังทำงานอยู่ การเสาะหาและแสวงหาความรูท้ ีต่ อ้ งการ คือ กระบวนการศึกษา และเรียนรู้ความรู้น้ันจะได้จากใคร ? (กำหนดบุคคล/จำนวนของผู้รู้ หรือ หมอพื้นบ้าน หรือผู้ท่ีมีประสบการณ์ใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาน้ัน) และ กระบวนการหาความรจู้ ะทำอย่างไรบา้ ง ? อาจเปน็ การวจิ ยั การสนทนากลุ่ม การเล่าเรื่อง หรอื หลายวธิ ีการผสมผสานกนั การสร้าง ประมวล กลนั่ กรอง และตีความองคค์ วามรู้อยา่ งเป็น ระบบ กระบวนการนีจ้ ำเป็นต้องทำงานเปน็ กลมุ่ และเปน็ หมูค่ ณะที่เกยี่ วขอ้ ง กบั เรอ่ื งนน้ั เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ ปน็ “ชดุ ความร”ู้ ทเ่ี ปน็ ระบบ นา่ เชอ่ื ถอื และมปี ระโยชน์ ค่มู ือ 51 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายุดว้ ยภูมิปญั ญาพืน้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในการใช้งานจริง สามารถจัดเวทีตามประเด็นความรู้ท่ีต้องการให้มีการแลก เปลี่ยน ตีความและประเมินคุณค่าความรู้นั้นจากภาคีท่ีเกี่ยวข้องอย่าง กวา้ งขวางจริงจงั การประยกุ ต์ใช้ความรแู้ ละถ่ายทอดความรูส้ ่กู ลมุ่ คน หรือองค์กร ทต่ี อ้ งการใชค้ วามรนู้ น้ั ในงานตอ่ ไป อาจจำเปน็ ตอ้ งวเิ คราะหถ์ งึ ขอบเขตความรู้ กระบวนการถ่ายทอด / เผยแพร่สู่การใช้ประโยชน์วงกว้าง กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการแลกเปลี่ยนเพอ่ื การเรยี นรตู้ อ่ เนอ่ื ง การประเมินและถอดเป็นบทเรยี น หรือบนั ทึกเปน็ “แก่นความร”ู้ เพ่ือให้ได้ชุดความรู้ที่ตกผลึกครบถ้วนและลุ่มลึก อันผ่านจากการปฏิบัติงาน และเหมาะสมกบั การใชง้ านมากยง่ิ ข้นึ สำหรบั โครงการฯน้ี เปน็ การให้ความสำคัญกับภมู ปิ ญั ญาพนื้ บา้ นดา้ น สขุ ภาพเพอ่ื สขุ ภาพผสู้ งู อายุ ดงั นัน้ ประเดน็ หลกั คือ “ภมู ปิ ัญญาดา้ นสุขภาพ ผูส้ งู อาย”ุ และสามารถดำเนนิ งานตามขนั้ ตอนท้งั 5 ขั้นตอน ซึ่งแนวคดิ และ บทเรียนการจัดการความรู้ภูมิปัญญาด้านสุขภาพจะมีตัวอย่างในเน้ือหา บทที่ 4 (2) การส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านด้าน สุขภาพ ปัจจุบัน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดย สำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย มีการศึกษาและพัฒนาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้าน สขุ ภาพอยา่ งต่อเนอื่ ง ประกอบด้วยประเด็น ผกั พนื้ บ้าน สมนุ ไพรพืน้ บ้าน การแพทย์พื้นบ้าน ทั้งน้ีโดยร่วมมือกับองค์กรและเครือข่ายด้านสุขภาพใน ภมู ภิ าคทว่ั ประเทศ นอกจากน้ี ยงั มแี นวคดิ และรปู แบบการพฒั นาและใชป้ ระโยชน์ จากภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ 2 แบบแผน คือ การใช้ประโยชน์จาก 52 ค่มู ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภมู ปิ ัญญาพืน้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภมู ปิ ัญญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพในชุมชน และ การใช้ประโยชนจ์ ากภมู ิปัญญา พื้นบ้านด้านสุขภาพในระบบสุขภาพ โดยเฉพาะระบบสุขภาพปฐมภูมิ ระหว่างปี พ.ศ. 2551 – 2556 สำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย มีการส่งเสริม และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านในการดูแลแม่ และเด็ก สมุนไพรและอาหารพ้ืนบ้าน การรักษาผู้ป่วยกระดูกหัก การรักษา สตั วพ์ ษิ กดั และงกู ดั การรกั ษาโรคมะเรง็ และการรกั ษากลมุ่ อาการอมั พฤกษ์ – อมั พาต ค่มู อื 53 “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุดว้ ยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระบวนการส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากการแพทย์พ้ืนบ้าน เป็นการทำงานร่วมกัน 4 ภาคีองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ (มูลนิธิ สุขภาพไทย) คอื ภาคีภาคชุมชน ภาคีภาครฐั (องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล) และภาคภี าครฐั ส่วนกลาง มีรูปแบบการทำงานและพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย ข้ันตอนหลัก 3 ข้ันตอน คือ (1) ศึกษาและเรียนรู้กับหมอพ้ืนบ้านและ การแพทย์พื้นบ้านเฉพาะประเด็น พร้อมกับสร้างความสัมพันธ์และก่อรูป การทำงานร่วมกันระหว่างหมอพ้ืนบ้านและบุคลากรทางการแพทย์และ สขุ ภาพในพน้ื ท่ี (2) พฒั นากระบวนการทำงานรว่ มกนั ระหวา่ งหมอพน้ื บา้ น / ผรู้ ดู้ ้านภูมิปัญญาดา้ นสุขภาพ โดยการสง่ เสรมิ การรกั ษาโรคในสถานพยาบาล ของรฐั หรอื ในชุมชน และเก็บข้อมลู ผู้ปว่ ยเพื่อประเมินและปรบั ปรงุ กระบวน การรักษาโรคดว้ ยภูมิปญั ญาการแพทย์พนื้ บ้าน (3) ประเมนิ ผลและสรปุ บท เรยี นการจดั การความรแู้ ละพฒั นากระบวนการรกั ษาโรคดว้ ยการแพทยพ์ น้ื บา้ น (3) การสืบทอดภูมิปญั ญาพื้นบ้านดา้ นสขุ ภาพ จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา่ การสบื ทอดภูมปิ ญั ญาพน้ื บ้านดา้ น สุขภาพไปสู่คนรุ่นใหม่ยังมีความจำกัด อย่างไรก็ตาม หมอพื้นบ้านที่มีความ ชำนาญและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในและนอกชุมชน มักมีลูกศิษย์มาเรียนวิชา อยู่บา้ ง แตจ่ ำนวนไม่มากนัก และขณะนม้ี ีแพทย์แผนไทยรุ่นใหม่มีความตั้งใจ และได้เรียนวิชาจากหมอพ้ืนบ้านบางพ้ืนท่ี ซึ่งสำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย มีความสนใจปรากฎการณ์ดังกล่าว และกำลังพัฒนาเป็นโครงการเฉพาะใน อนาคต 54 คู่มือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภูมิปญั ญาพน้ื บ้านเพอ่ื การดูแลสขุ ภาพกายของผู้สูงอายุ ผกั พื้นบ้านและอาหารพืน้ บ้าน ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุท้ังชายและหญิง มีปัญหาทุพโภชนาการ สาเหตุสำคัญมาจากได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน และรับประทานผักและ ผลไมน้ ้อยกวา่ มาตรฐานท่ีแนะนำ นนั่ คอื ประมาณวนั ละ 400 – 500 กรัม/ คน/วนั ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั การสำรวจการบรโิ ภคอาหารของคนไทย ปี พ.ศ. 2548 รายงานวา่ คนไทยอายรุ ะหวา่ ง 15 – 75 ปี บรโิ ภคผกั และผลไมเ้ ฉลยี่ จำนวน 276 กรมั /คน/วนั นอกจากน้ี ผสู้ งู อายยุ งั มภี าวะเสอ่ื มของรา่ งกายและมปี ญั หา โรคเร้ือรัง เช่น ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง เป็นต้น ดังน้ัน การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุบริโภคผักพ้ืนบ้านและผลไม้ท้องถ่ินจึงเป็นส่ิงที่เป็น ประโยชนแ์ ละสอดคลอ้ งกับภาวะสขุ ภาพของผู้สูงอายุ ผกั พ้ืนบา้ น หมายถึง พรรณพชื หรือพรรณไมท้ เี่ จริญเติบโตในธรรมชาติ เป็นภูมิปัญญาท่ีชาวบ้านรู้จัก เก็บหาและนำมาปรุงเป็นอาหารพ้ืนบ้านตาม วัฒนธรรมบริโภคของท้องถิ่น ผักพื้นบ้านมักเกิดตามแหล่งธรรมชาติและ หลายพันธุ์เป็นท่ีนิยม ก็จะพบว่ามีการปลูกและจำหน่ายในตลาดท้องถ่ิน จากการศึกษาพบว่า ผักพืน้ บ้านไทยมจี ำนวน 200 – 300 ชนิด คนทอ้ งถ่ิน จะนิยมบริโภคผักพ้ืนบ้านตามฤดูกาลและตามภาวะสุขภาพ ผักพ้ืนบ้านเป็น แหล่งท่ีอุดมด้วยสารอาหารท่ีจำเป็นต่อร่างกาย ร่างกายจะเจริญเติบโตและ ทำงานได้อย่างสมดุลเมื่อร่างกายได้รับสารอาหาร ท้ัง “มหธาตุอาหาร (Macronutrients)” และ “จลุ ธาตุอาหาร (Micronutrients) นอกจากนี้ ในผกั พน้ื บา้ นยงั มเี สน้ ใย และ “สารผกั หรอื สารพฤกษเคม”ี (Phytonutrients หรือ Bioactive Phytonutrients) ทถี่ กู ค้นพบมากกวา่ 10,000 ชนดิ สารเหล่านี้มีคุณสมบัติป้องกนั และลดความเสีย่ งโรคเร้ือรงั เชน่ โรคมะเรง็ คู่มือ 55 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ้วยภูมปิ ัญญาพนื้ บา้ นด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เปน็ ตน้ นอกจากนผ้ี กั พน้ื บา้ น หลายชนิดยงั มคี ณุ สมบัติตา้ นอนุมูลอสิ ระ ช่วยชลอความชรา เพ่มิ ภมู ิคมุ้ กัน และปกปอ้ งร่างกายไมใ่ หเ้ ป็นโรคเรอ้ื รังดว้ ย ตวั อยา่ ง ผักพนื้ บา้ นที่มสี รรพคณุ ป้องกนั โรคและบำรงุ รา่ งกาย ผักพื้นบ้านที่ช่วยบำรุงกระดูก ผู้สูงอายุมีการสูญเสียแคลเซียมใน กระดกู ทำใหค้ วามแขง็ แรงของกระดกู ลดลง โดยเฉพาะผู้สูงอายเุ พศหญิงเกิด ปัญหากระดูกเปราะบางและแตกหักง่าย ผักพ้ืนบ้านเป็นแหล่งของแคลเซียม ราคาถูกท่ีสำคัญ ผักพ้ืนบ้านบางชนิดแม้จะมีปริมาณแคลเซียมสูง แต่พบว่ามี ปริมาณสารออกซาเลตสูงเช่นกัน สารออกซาเลตท่ีมากเกินไปจะตกผลึกเป็น นว่ิ ในไตหรอื กระเพาะปสั สาวะ เพราะฉะนน้ั ผสู้ งู อายคุ วรรบั ประทานผกั พน้ื บา้ น ทม่ี ปี รมิ าณแคลเซยี มสงู แตม่ ปี รมิ าณสารออกซาเลตตำ่ เชน่ ถวั่ พู ตำลงึ ขเ้ี หลก็ บัวบก คะนา้ และ กวางตงุ้ เปน็ ต้น 56 คูม่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุด้วยภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ถ่ัวพู ตำลึง บัวบก ขเี้ หล็ก กวางตุ้ง คะนา้ คู่มือ 57 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพนื้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผกั พนื้ บา้ นทชี่ ว่ ยใหน้ อนหลบั ดี ผสู้ งู อายมุ กั มอี าการนอนหลบั ยาก หลบั ๆ ตน่ื ๆ หรอื ตนื่ ขน้ึ มากลางดกึ แลว้ หลบั ตอ่ ไมไ่ ด้ ซง่ึ เกดิ ไดจ้ ากหลายปจั จยั เช่น เสียงดัง บรรยากาศการนอนไม่ดี ความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะจากโรคประจำตัว เป็นต้น ผักพื้นบ้านท่ีมีฤทธิ์ในการช่วยให้นอนหลับดี เช่น ขี้เหล็ก ชุมเหด็ ไทย แมงลัก กลว้ ยนำ้ ว้า เปน็ ต้น กลว้ ยน้ำว้า แมงลกั กลว้ ยน้ำว้า...เคล็ดลบั อายยุ นื นางนวล จันธิมา อายุ 94 ปี ผู้สูงอายุต้นแบบตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ยายนวลมีสุขภาพดี แข็งแรง ไม่มีโรค ประจำตัว เคล็ดลับอายุยืนของท่านคือ รบั ประทานกลว้ ยนำ้ ว้ากบั ข้าวเหนียวทกุ วนั 58 คู่มอื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพ้นื บ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผักพ้นื บ้านที่ช่วยให้เจริญอาหาร บำรุงรา่ งกาย สูงอายุมักมีปัญหาการเบ่ืออาหาร เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น มีปัญหาสุขภาพปากและฟัน การรับประทานยาบางชนิดทำให้การรับรู้กลิ่น และรสอาหารผิดเพี้ยนไป หรือปัญหาด้านจิตใจจนทำให้ไม่อยากรับประทาน อาหาร ผกั พ้นื บา้ นทชี่ ว่ ยเจรญิ อาหารมักจะมรี สขมและรสเผ็ดรอ้ น ซงึ่ จะช่วย กระตนุ้ ให้มกี ารหลัง่ ของนำ้ ลายและนำ้ ย่อยออกมามาก ทำใหอ้ าหารไม่ค้างอยู่ ในระบบทางเดินอาหารนานจนเกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ผักพ้ืนบ้านที่มี รสร้อนยังสามารถรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ซ่ึงพบได้บ่อยให้ผู้สูงอายุ อีกดว้ ย ตัวอย่างผกั พน้ื บ้านทชี่ ว่ ยให้เจริญอาหาร ได้แก่ สะเดา มะระขน้ี ก ขิง ตะไคร้ กระชาย ขมนิ้ ชัน พริกไทย เป็นต้น มะระข้ีนก กระชาย ขมน้ิ ชนั ขงิ คมู่ ือ 59 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ยภูมิปญั ญาพน้ื บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผักพน้ื บ้านที่ชว่ ยแกอ้ าการทอ้ งผกู ผู้สูงอายุมักมีอาการท้องผูก คือ มีการขับถ่ายยากต้องใช้เวลานาน กวา่ ปกติ ลกั ษณะถา่ ยเปน็ กอ้ นแขง็ และตอ้ งออกแรงเบง่ มาก การใชพ้ ชื สมนุ ไพร ที่มีปริมาณเส้นใยในปริมาณสูง จะช่วยกระตุ้นการเคล่ือนไหวของลำไส้ให้มี การขบั ถา่ ยอจุ จาระอยา่ งสมำ่ เสมอ หรอื การรบั ประทานผกั พน้ื บา้ นทม่ี ฤี ทธเ์ิ ปน็ ยาระบาย จะช่วยการขับถ่ายง่ายข้ึน ผักพื้นบ้านท่ีมีปริมาณเส้นใยสูงได้แก่ ดอกสะเดา ผกั เหลียง ขนุนอ่อน มะขาม มะขามแขก ใบชุมเหด็ เทศ ข้ีเหล็ก และมะละกอสุก เป็นตน้ ผกั เหลียง ขนุนออ่ น ขเ้ี หล็ก ชุมเห็ดเทศ ข้อควรระวงั ไม่ควรรับประทานผักหรือสมุนไพรที่ช่วยในการขับถ่ายติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะชุมเห็ดเทศเพราะลำไส้จะเกิดความเคยชินกับการใช้ยาสมุนไพร หากใช้ไปต่อเน่ืองเป็นเวลานานๆ เม่ือหยุดยาสมุนไพรลำไส้จะไม่บีบตัว ส่งผล ให้เกดิ อาการทอ้ งผกู ได้ 60 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุด้วยภมู ปิ ัญญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผักพ้ืนบ้านท่ีมีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระสูง สารอนุมูลอิสระท่ีสำคัญ และพบได้ในผักพื้นบ้าน ได้แก่ วิตามินซี วิตามินอี และเบต้า-แคโรทีน ซงึ่ ชว่ ยปอ้ งกนั ความชรา เพม่ิ ภมู ติ า้ นทานและปอ้ งกนั โรคเรอื้ รงั คอื กระโดนบก ผกั เมก็ หอมแย้ กระถิน ผกั กระเฉด ใบชะอม ใบยอ ใบขี้เหล็ก ยอดสะเดา ใบย่านาง ใบช้าพลู ยอดมันปู ยอดจิก กระชาย ข่า ยอดมะม่วงหิมพานต์ ยอดมะกอก ผกั เชยี งดา ผกั ฮว้ น ดอกฟกั ทอง มะระขน้ี ก ผกั หวานบา้ น ผกั ตวิ้ ขม้นิ และยอดหมุย เปน็ ตน้ ถว่ั พู ตำลึง บัวบก ข้เี หล็ก กวางตงุ้ คะน้า คู่มอื 61 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุด้วยภมู ิปญั ญาพืน้ บ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผักพ้ืนบ้านที่มีฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ ป้องกันโรคมะเร็งและ เนอื้ งอก คอื ยอดมนั ปู ทำมงั ผกั ไผ่ ยอดมะมว่ ง ยอดหมยุ กระโดน กระชาย ขา่ ฟกั ทอง ผักโขม ใบมะม่วง ฝกั เพกา ยอดมะระ ตะไคร้ ใบชะมวง ใบโหระพา ใบแมงลัก ผักแว่น ใบชะพลู ใบยอ ใบบัวบก ผักชีฝรง่ั มะกรูด ผักแขยง ดีปลี กะเพรา หอมแดง หอมใหญ่ กระเทียม ถ่ัวหลายชนดิ ทำมงั หมยุ ใบชะมวง ผกั ชฝี รัง่ ผกั ถแั่วขพยู ง ใบชา้ พลู 62 คู่มอื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูส้ ูงอายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผกั พน้ื บา้ นทม่ี ฤี ทธลิ์ ดนำ้ ตาลในเลอื ด คอื กระเพรา ชา้ พลู ตำลงึ ใบมะตูม มะระข้ีนก และนอกจากน้ียังพบว่าการรับประทานข้าวกล้อง / ขา้ วซ้อมมอื จะช่วยลดนำ้ ตาลในเลอื ดได้ อาหารพนื้ บา้ นหรอื อาหารท้องถน่ิ มคี วามหลากหลายตามวฒั นธรรม ของท้องถิน่ มีท้ังอาหารคาว อาหารหวาน อาหารถนอมและแปรรปู และ อาหารว่าง มีการศึกษาพบว่า อาหารพื้นบ้านภาคเหนือมี 649 ชนิด อาหารพื้นบ้านภาคใต้มี 509 ชนดิ และน้ำพรกิ ทั่วประเทศมีหลายรอ้ ยชนิด อาหารพนื้ บ้านเหล่านี้ ประกอบด้วย ผกั พ้นื บา้ น เครือ่ งเทศ และเนื้อสตั ว์ จากการศึกษาอาหารพื้นบ้านไทยของสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่า อาหารพื้นบ้านมีฤทธิ์ต้านสาร อนุมูลอิสระ ช่วยชลอความชราและป้องกันโรคเร้ือรังได้ นอกจากน้ียังมี การศึกษาน้ำพรกิ แกง 5 ชนดิ คอื นำ้ พรกิ แกงป่า แกงเลียง แกงส้ม และ น้ำต้มยำ พบว่า มีฤทธิ์ทำลายเซลมะเร็งได้ ซึ่งเป็นสรรพคุณของเคร่ืองเทศ และสมุนไพรทอ่ี ยูใ่ นพรกิ แกงเหล่านัน้ ค่มู อื 63 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายุดว้ ยภูมิปญั ญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 64 คู่มอื “แนวทางการดูแลสุขภาพผ้สู งู อายดุ ้วยภูมปิ ญั ญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การออกกำลังกายแบบพื้นบ้าน การออกกำลงั กายเปน็ สงิ่ จำเปน็ สำหรับผสู้ ูงอายุ ช่วยให้ระบบไหลเวยี น ของเลือด ระบบภูมิต้านทานและป้องกันโรค ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก การทรงตัวและทำให้เคล่ือนไหวคล่องแคลว่ ชว่ ยระบบขับถ่าย ชว่ ยลดความ เครียดและทำให้นอนหลับพักผ่อนได้ดีข้ึน การออกกำลังควรประเมินตนเอง ตามความเหมาะสม ควรทำอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง เป็นไปตามภาวะ ร่ า ง ก า ย ใ น แ ต่ ล ะ ช่ ว ง วั ย แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ภ า ว ะ ปั ญ ห า ข อ ง ร่ า ง ก า ย จากหลกั ฐานทางการแพทย์ รายงานวา่ การออกกำลงั กายเพิ่มความทนของ ระบบหัวใจและหลอดเลือด การออกกำลังกายช่วยเพ่ิมความแข็งแกร่งของ กลา้ มเนอ้ื เพิ่มความยดื หยนุ่ และการเคล่อื นไหวของข้อ และสง่ เสริมศักยภาพ การดแู ลรักษาตนเอง โดยปกติ การออกกำลังกายควรเร่ิมจากการเตรียมร่างกายให้อบอุ่น และออกกำลังกาย จนจบด้วยการผ่อนคลายในช่วงท้าย ควรออกกำลังกาย อยา่ งสมำ่ เสมอ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3-5 วนั ระยะเวลาออกกำลงั กายประมาณ 30-40 นาที และในกรณผี ปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู โรคปวดเขา่ โรคเขา่ อกั เสบ โรคขอ้ เขา่ เสอื่ ม เปน็ ตน้ ไมค่ วรออกกำลงั กายทร่ี นุ แรง จะเป็นผลเสียกับร่างกาย และควรทำตามคำแนะนำจากแพทย์และบุคลากร สาธารณสุข คู่มอื 65 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำหรับการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ สามารถเลือกได้ตาม ความสนใจ ความถนัด และความชอบของแต่ละบุคคล มีตั้งแต่ การเดิน การแกว่งแขน โยคะ การรำมวยจีน การรำไม้พลอง การว่ายน้ำ การรำวงมาตรฐาน ลลี าศ และการยดื เหยียดกล้ามเน้อื ในพนื้ ที่หลายภมู ิภาค มีการนำภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินมาประยกุ ต์ใช้กับการออกกำลงั กายในกล่มุ ผสู้ ูงอายุ ตวั อย่างเช่น ภาคเหนือ มพี ้ืนท่ใี นจังหวัดเชยี งใหม่ พษิ ณโุ ลกและน่าน นำเอา “รำวงยอ้ นยคุ ” หรือ “รำวงพ้นื บา้ น” มาใชใ้ นการออกกำลังกายของผ้สู งู อายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีการประสานงานและเชิญครูนาฏศิลป์มาช่วยสอน เลือกเพลงทช่ี อบและคุน้ เคยกับชาวบา้ น และมีการจัดประกวดรำวงระหวา่ ง หมู่บ้าน เพราะการออกกำลังกายแบบแอโรบิกไม่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ การรำวง ทำใหส้ ขุ ภาพของผสู้ ูงอายุและผูป้ ่วยโรคเรือ้ รังดีขึ้น มรี อบเอวลดลง นำ้ ตาลในเลอื ดลดลง การรำวงเหมาะกบั ผสู้ งู อายุ เหน็ คณุ คา่ และความสามคั คี ภายในกลุ่ม ทำให้ผู้รำวงสุขภาพดี มีความสุข มีอารมณ์และรู้สึกแจ่มใส กิจกรรมการรำวงเป็นท่ีชื่นชอบและบางชุมชนมีการออกกำลังกายแบบรำวง ยาวนานและต่อเนื่อง หากเปรียบเทียบกับการออกกำลังกายแบบอ่ืน นอกจากนี้ การรำไม้พลองก็เป็นการออกกำลังในกลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นที่นิยม หลายพน้ื ท่ี มกี ลมุ่ รำไมพ้ ลองเพอื่ สขุ ภาพในจงั หวดั จนั ทบรุ ี และจงั หวดั เชยี งราย และในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สตลู มกี ารนำภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการออก กำลงั กายของผสู้ ูงอายุ เป็นตน้ อาจกลา่ วไดว้ า่ การนำภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ มา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกกำลงั กายเพอ่ื ผสู้ งู อายุ ทำใหผ้ สู้ งู อายมุ สี ขุ ภาพกายและ สุขภาพจติ ใจท่ีดี ทง้ั ยงั เปน็ การอนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดภูมิปญั ญาให้อยู่ในท้องถนิ่ อย่างไรก็ตาม บทเรียนและกระบวนการทำงานลกั ษณะนี้ ยงั ขาดการรวบรวม และจัดระบบให้เปน็ องคค์ วามรู้เพอ่ื เผยแพรส่ ่สู งั คมวงกวา้ งต่อไป 66 คู่มือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แทงปลาไหล ท่าออกกำลังกายอายุยนื ผู้คดิ คน้ นายฝอย อิ่มสะอาด ผสู้ งู อายอุ ำเภอคำม่วง จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ท่าที่ 1 ทา่ ยืดเอว เป็นการยืดเหยยี ดกล้ามเน้อื เอว สะโพก ลดอาการปวดเอว ปวดสะโพก โดยการน่ังสมาธิ กำหนดลมหายใจเข้าลึกๆ และกำหนดลมหายใจออกช้าๆ ยกแขนกางออกระดับตัว และบิดเอวไปข้างซายสลับด้านขวา ทำ 5-10 ครง้ั ท่าที่ 2 ทา่ ผายปอด ยืนตรงยกแขนแนบหู สูดลมหายใจลึกๆ และผ่อนลมหายใจออกช้าๆ แลว้ กม้ ลงมอื แตะปลายเทา้ ขาตงึ นบั 1-10 ในใจแลว้ กลบั มาทา่ เดมิ ทำ 5-10 ครง้ั คมู่ อื 67 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุด้วยภูมปิ ัญญาพืน้ บ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท่าที่ 3 ท่าคลำตุ่มหม่อง ยืนตรงแล้วกางมอื ออกกม้ ลงมือแตะสลับขอ้ เท้า ทำ 5-10 คร้งั ท่าท่ี 4 ท่าแทงเอยี น ยืนตรงมือเท้าสะเอว หายใจเข้าลึกๆ ยกมือเหยียดไปข้างหน้ามือ ประกบกันน้ิวชี้ทั้งสองช้ีไปช้างหน้า และชี้ก้มลงแตะพื้นพร้อมกับหายใจออก ช้าๆ ทำ 5-10 ครั้ง ท่าท่ี 5 ท่ายิงธนู ยืนตรงกำมือทั้งสองข้าง ยกข้ึนระหว่างอก กำหนดลมหายใจเข้าลึกๆ ขกแขนดงึ แยกออกจากกนั แขนตงึ พร้อมกับหายใจออกช้าๆ ทำ 5-10 ครง้ั 68 คู่มอื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพืน้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รปู แบบการออกกำลังกายที่เหมาะสำหรบั ผ้สู ูงอายุ การยืดเหยียดท่าประกอบเพลง คู่มอื 69 “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รำไมพ้ ลอง 70 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูส้ งู อายดุ ้วยภูมิปญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ออกกำลังกายดว้ ยยางยดื รำมวยจนี คู่มอื 71 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพนื้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ฤาษีดดั ตน 72 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ้วยภมู ิปัญญาพน้ื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ยาบำรงุ ร่างกาย ร่างกายของผ้สู งู อายุเป็นการเส่ือมโทรมตามธรรมชาติ ภมู ิปญั ญาโดยมี การใช้อาหารบางชนิด หรือยาสมุนไพรตำรับบำรุงและส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุ ตัวอย่างเช่น การรับประทานกล้วยน้ำว้า หรือกล้วยน้ำว้าดองน้ำผ้ึง เปน็ ยาอายุวฒั นะ การรับประทานยาสมนุ ไพรตำรับอายวุ ฒั นะ เช่น ตำรบั ยา บำรงุ ธาตุ ประกอบดว้ ย บอระเพด็ ทง้ิ ถ่อน ตะโกนา หรือตำรับยาตรีผลา ประกอบดว้ ย สมอไทย สมอพเิ ภก และมะขามปอ้ ม เปน็ ประจำ เพ่ือบำรุงธาตุ ในรา่ งกาย เปน็ ต้น คู่มอื 73 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายุด้วยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตวั อยา่ งตำรบั ยาพน้ื บา้ น : ยาอายวุ ฒั นะ ตำรบั ท่ี 1 ตำรบั ยาลูกมะกรูด 9 ลูก ภมู ิปัญญาหมอพ้ืนบา้ นภาคใต้ นายจิต คงสม จงั หวัดสงขลา ส่วนประกอบ บาท 1. น้ำผ้ึงป่า บาท 2. กระเทียมโทน หนัก 1 บาท 3. รากเจตมลู เพลงิ หนัก 1 ชอ้ นโต๊ะ 4. ยาดำ เล็กนอ้ ย บาท 5. พรกิ ไทยดำ หนัก 1 บาท 6. เกลือ จำนวน 1 บาท 7. ขมน้ิ อ้อย หนกั 1 ลกู 8. ดอกช้าพล ู หนัก 1 9. ดีปล ี หนกั 1 10. ลูกมะกรดู จำนวน 9 สรรพคณุ เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ สภุ าพสตรรี บั ประทานแกป้ ระจำเดอื นมาไมป่ รกติ สตรหี ลงั คลอดอยไู่ ฟ ขบั นำ้ คาวปลา สภุ าพบรุ ษุ รบั ประทานแกอ้ าการปวดเมอ่ื ย วิธีทำ นำลูกมะกรูดล้างสะอาดแล้วปาดหัวออกใส่ส่วนประกอบทั้งหมด ยัดเข้าในลกู แล้วเอาไปนง่ึ ประมาณ 1 ช่วั โมง จนสกุ แลว้ นำมาตำใหล้ ะเอยี ด ผสมนำ้ ผง้ึ ปา่ ปน้ั ใหเ้ ปน็ ลกู กลอนเมด็ เลก็ ๆใสข่ วดฝาปดิ มดิ ชดิ รบั ประทานครงั้ ละ 1-3 เมด็ ก่อนอาหาร 3 เวลา รบั ประทานได้ตลอดปี 74 คูม่ อื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรบั ที่ 2 ตำรบั ยาอายุวัฒนะ เหงือกปลาหมอ ภูมิปัญญาผสู้ งู อายุ นายจิตร-นางเผื่อน สมทพิ ย์ หมอพนื้ บ้านตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมือง จงั หวดั ตรงั ส่วนประกอบ 1. พริกไทยดำ 2. เหงือกปลาหมอ วธิ ีปรงุ ยา 1. นำเหงอื กปลาหมอทง้ั 5 มา ลา้ งใหส้ ะอาด แล้วสับบางๆ 2. นำไปตากแดดจนแห้งเกรียม แล้วตำใหล้ ะเอยี ด 3. นำมาใส่ในกระชอนร่อนเอาส่วนที่ละเอียดท่ีสุด ร่อนประมาณ 3 ครงั้ 4. ตำพริกไทยให้ละเอียด เอาใส่กระชอนร่อนเอาส่วนที่ละเอียดที่สุด ร่อนประมาณ 3 ครั้ง 5. นำผงเหงือกปลาหมอ 2 ส่วน ผสมกบั พริกไทยป่น 1 ส่วน คลกุ เคา้ กับน้ำผึ้งจำนวนตามความเหมาะสม ป้ันเป็นลูกกลอน ขนาดเท่า ปลายนว้ิ กอ้ ย ค่มู ือ 75 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ยภมู ิปัญญาพื้นบ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับท่ี 3 ตำรบั ยาอายวุ ัฒนะ สูตร 3-5-7 ชว่ ยให้เจริญอาหาร ภมู ปิ ัญญาผู้สงู อายุ หมอประกอบ อุบลขาว ผู้ทรงคณุ วฒุ ิดา้ นภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ส่วนประกอบ 3 ถว้ ย 1. เกลอื แกง 5 ถว้ ย 2. บอระเพด็ สดหนั่ 7 ถว้ ย 3. ใบมะขาม วิธีปรุงยา นำสมุนไพรท้งั สามใสห่ ม้อต้ม ใสน่ ้ำทว่ มยา ตม้ ให้เดอื ด วธิ ีการรบั ประทาน รับประทานครัง้ ละ 1 ถว้ ยกาแฟ ก่อนอาหาร เชา้ -เยน็ ขอ้ ควรระวงั ผสู้ งู อายุทมี่ ปี ัญหาโรคตับ ไมค่ วรรับประทาน และไม่ควรรบั ประทานติดตอ่ กันนานต่อเน่ือง มากกว่า 7 วัน 76 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุดว้ ยภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับท่ี 4 ตำรับกลว้ ยนำ้ ว้าดองน้ำผ้ึง สว่ นประกอบ 1. กลว้ ยน้ำวา้ สุก โบราณท่านว่าให้ใช้จำนวนเทา่ อายผุ ้กู ิน แต่บางสตู ร ให้ใช้กล้วยน้ำว้า หวที ม่ี ี 15 ผล (กล้วยที่มี 15 ผลต่อหวี จะเปน็ หวีกลางเครือ ผลกล้วยเจรญิ เตม็ ทไี่ ดร้ ับสารอาหารมากท่สี ดุ ) 2. นำ้ ผง้ึ 1 ขวดกลม วิธีการ 1. ปลอกกล้วยน้ำวา้ สกุ ใส่ขวดโหล 2. เติมน้ำผงึ้ ใหท้ ว่ ม ปดิ ฝาหรือใชผ้ ้าขาวปิด เก็บไวน้ าน 1 เดอื น 3. รับประทานวนั ละ 1 ลกู คู่มอื 77 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับที่ 5 ตำรับบอระเพ็ดดองน้ำผงึ้ วิธกี าร 1. ห่ันบอระเพ็ดเป็นช้ินบางๆ แล้วนำไปล้าง 1 คร้ัง ด้วยน้ำซาวข้าว ผสมเกลือ 2. ต้มในน้ำเดือด ประมาณ 15 นาที แล้วช้อนบอระเพ็ดข้ึนมาผึ่งให้ สะเดด็ นำ้ แลว้ นำมาเทลงในขวดโหล 3. นำน้ำผ้ึงเค่ียวไฟอ่อนๆ ใช้เวลา 15-30 นาที เค่ียวจนน้ำผ้ึงหนืด แลว้ รอจนนำ้ ผง้ึ เยน็ คอ่ ยนำมาเทในขวดโหลทใ่ี สบ่ อระเพด็ ทเ่ี ตรยี มไว้ 4. เทน้ำผง้ึ ให้ท่วมบอระเพด็ ดองไว้ 3 เดอื น วิธกี ารรับประทาน นำนำ้ ยา 1 ชอ้ นโตะ๊ ผสมนำ้ 1 แกว้ ดม่ื วนั ละ 2-3 ครง้ั กอ่ นหรอื หลงั อาหาร หรอื ผสมน้ำแข็งก็ได้ 78 คูม่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายุด้วยภมู ิปญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรบั ที่ 6 ตำรบั ยาดองมะกรดู ส่วนประกอบ กำแพงเจด็ ชน้ั เถาวัลย์เปรียง โคลาน แห้วหมู เปราะหอม กระชาย อยา่ งละ 20 กรมั ดอกคำฝอย 45 กรัม เกลือ 100 กรัม มะกรดู 33 ลูก วธิ ที ำ 1. นำสมุนไพรทงั้ หมดหอ่ ผ้าขาวบาง ตม้ นำ้ 3 เอา 1 เตมิ เกลอื 2. นำมะกรดู ผา่ ซีก วางในโหลแกว้ เทน้ำสมนุ ไพรกำลงั เดอื ดลงในโหล ปดิ ฝาให้สนทิ วางไว้กลางแจง้ 3 วนั 3. ดองทง้ิ ไว้จนมะกรูดเป่อื ย จงึ รับประทานคร้งั ละ 1 ช้อนโตะ๊ วันละ 2 คร้ัง เช้า-เยน็ คูม่ ือ 79 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายุด้วยภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับที่ 7 กระเทียมโทนดองน้ำผึง้ ภูมปิ ญั ญาผสู้ งู อายุ นางศรแี ก้ว แกว้ นารี ผสู้ งู อายุตำบลนาแกว้ อำเภอเกาะคา จงั หวดั ลำปาง ส่วนประกอบ ½ กโิ ลกรัม 1. กระเทยี มโทน 100 กรัม 2. น้ำผง้ึ 3 เม็ดพรกิ ไทย วธิ กี าร 1. น้ำกระเทยี มโทนปอกเปลอื กล้างในสะอาด 2. ใสใ่ นขวดแกว้ สะอาด ใส่พรกิ ไทย เทนำ้ ผงึ้ ใหพ้ อท่วม 3. ดองไว้ 1 เดอื น วิธกี ารรบั ประทาน รบั ประทานกระเทยี มโทน ครง้ั ละ 1 หวั โดยตกั ใหต้ ดิ นำ้ ผง้ึ และพรกิ ไทย รับประทานวนั ละ 1 คร้ัง กอ่ นนอน 80 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภมู ิปัญญาพืน้ บา้ นเพื่อการดูแลสขุ ภาพใจและอารมณ์ของผ้สู งู อายุ ผู้สงู อายุ ควรใส่ใจดา้ นสุขภาพจติ และฝกึ ฝนจิตใจใหม้ ีสขุ ภาพใจท่ดี ี พงึ พอใจตนเอง ปรับตนเองและแก้ปัญหาของตนเองได้ อกี ท้งั มคี วามสขุ และ ความสมั พันธ์ทดี่ กี บั ครอบครัว ญาตแิ ละเพ่ือนสนิท อย่างไรก็ตาม ผู้สงู อายุ มกั มปี ัญหาสขุ ภาพทพี่ บบอ่ ย คอื ความรสู้ กึ วิตกกังวล (ทั้งเร่อื งกังวลเก่ียวกบั ตนเองหรือผ้อู ื่น และเรื่องทีไ่ ม่น่ากงั วล) ความรสู้ กึ เหงา หวาดระแวง ซึมเศรา้ นอ้ ยใจ เบอ่ื โลก และบางครง้ั อาจมอี าการทางกาย เชน่ นอนไมห่ ลบั เบอื่ อาหาร เปน็ ต้น แนวทางการดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ คือ การสร้างความเข้าใจ และการยอมรบั ความจริงของชีวิต ฝกึ ฝนและการควบคุมสติและอารมณข์ อง ตนเอง มองโลกแง่ดี และทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน สำหรับภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาพื้นบ้านที่มีประโยชน์ และถกู นำมาประยกุ ตใ์ ชก้ บั สขุ ภาพจติ ใจ และอารมณข์ องผสู้ งู อายุ คอื ธรรมะ หรือ คำสอนของศาสนา ในชุมชนของสงั คมไทย ชมรมผสู้ งู อายหุ ลายแหง่ มี การจัดทำโครงการส่งเสริมและนำพุทธธรรมมาพัฒนาจิตใจและคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุโดยการจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุไปไหว้พระ ฟังธรรม และยังมี หลายพน้ื ทที่ จ่ี ัดประเพณสี งกรานต์ อันถือเปน็ วันผู้สูงอายุของไทย มกี ารจดั กจิ กรรมการรดนำ้ ดำหวั ผสู้ งู อายุ ขอพรจากผสู้ งู อายุ และสง่ เสรมิ ใหค้ รอบครวั ดูแล และรดนำ้ ใหผ้ ู้สงู อายุ อันเปน็ การแสดงความกตัญญูต่อผสู้ ูงอายุ คู่มอื 81 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ว้ ยภมู ิปัญญาพ้ืนบ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การฟงั ธรรม ฝึกสมาธิ 82 คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพและฟื้นฟูภาวะโรคของ ผู้สงู อายุ 1 การดูแลรักษาโรคกระดูก ขอ้ และอาการปวดเม่ือยกล้ามเน้อื ปัญหากระดูกบาง เปราะ พรุน หกั ง่าย สาเหตุจากการสลายตัวของแคลเซยี ม ออกจากกระดูกมากขนึ้ มอี าการปวด เจบ็ กระดูกบอ่ ย และหมอนรองกระดกู หลงั จะ กรอ่ นและแบนลงมาก ส่งผลให้หลงั โก่งงอ หัวเข่าและสะโพกงอเล็กนอ้ ย ทำใหส้ ่วน สูงลดลง บรเิ วณข้อมนี ำ้ ไขขอ้ ลดลง เกดิ อาการปวด ข้อยดึ ตดิ การเคล่ือนไหวลำบาก เกดิ ภาวะขอ้ เส่ือม ส่วนของกลา้ มเนือ้ มีความเส่ือมสมรรถภาพเกิดขึน้ มกี ารใช้งาน นอ้ ยลง กล้ามเนือ้ ของผ้สู งู อายุ ขาดโปรแตสเซียมร่วมกบั ความเส่ือมของโปรตนี ใน กลา้ มเนอ้ื และการขาดนำ้ กำลงั การหดหวั สงู สดุ ของกลา้ มเนอ้ื ลดลง ออ่ นกำลงั ทำงาน ออกแรงมาก สมุนไพรเด่ยี ว สำหรบั รบั ประทาน เถาวัลยเ์ ปรียง รับประทานในรูปชาชง หรือแบบแคปซูล ครัง้ 2-4 แคปซูล/มื้อ วันละ 3 คร้ัง เช้า-กลางวัน-เย็น หลังอาหารทันที ใช้สำหรับ ผปู้ ว่ ยข้ออักเสบ บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ย ปวดกล้ามเนอ้ื ลดการอกั เสบของ กล้ามเน้ือ ข้อควรระวงั อาจทำให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดนิ อาหาร คมู่ อื 83 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำหรบั ใชภ้ ายนอก ไพล ใชภ้ ายนอกในรปู แบบนำ้ มนั ไพล หรอื ครมี ไพล ทาและถเู บาๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 คร้ัง ใช้บรรเทาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยก และอกั เสบ ขอ้ ควรระวงั หา้ มทาบรเิ วณขอบตาและเนอ้ื เยอ่ื ออ่ น หรอื บรเิ วณผวิ หนงั ทีม่ ีบาดแผลหรือมแี ผลเปดิ ตำรับยาสมุนไพรพ้ืนบ้าน แก้อาการปวดเข่า ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ตำรบั ยาหมอประกอบ อุบลขาว จงั หวัดสงขลา ตำรับที่ 1 ขิงแกส่ ด และพรกิ ไทยดำ ส่วนเทา่ กนั ตำให้แหลก ห่อผา้ ทำเป็นลูกประคบ นำมาจุ่มน้ำส้มสายชู ประคบตรงที่ปวด เมื่อรู้สึกว่าร้อน ใหเ้ อาเหลา้ นวดทาทแี่ ผลปวดเข่า ประคบเชา้ - เยน็ ตำรบั ที่ 2 ขิงแกส่ ด มากนอ้ ยตามตอ้ งการ ห่นั เป็นชิน้ โขลกพอแหลก ผสมกบั เหลา้ โรงพอเปยี ก ผสมดว้ ยขา้ วทหี่ งุ สกุ 2 สว่ น ขงิ 1 สว่ น คลกุ ใหเ้ ขา้ กนั ดี ห่อผา้ ทำเปน็ ลูกประคบ หรอื พอกไวต้ รงท่ีขัดยอก เอาผา้ ห่อพันไว้ ถา้ มอี าการ ปวด หรือร้อน แกะออกจมุ่ เหลา้ โรง ใชป้ ระคบปวดเม่ือย ชามอื ชาเทา้ ตำรับที่ 3 ขิงแก่สด หน่ั เป็นชิน้ บางๆ ผสมกับนำ้ ตาลทราย อัตราสว่ น ขิง 4 ส่วน น้ำตาลทราย 1 ส่วน ตำเข้ากันให้แหลก ใช้พอกตรงที่ปวด เอาผา้ พนั ไวจ้ ะหายปวด ตำรับท่ี 4 ใบข่าสด (กลางแก่กลางอ่อน) มากน้อยตามต้องการ หั่นเป็นฝอย ตำให้แหลก ผสมเหล้าโรงคลุกเข้ากันพอเปียก พอกตรงท่ีปวด เอาผ้าพนั ไว้เปลย่ี นยาวันละ 1 คร้ัง ทำตดิ ตอ่ กนั จะหายเปน็ ปกติ 84 คู่มือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับที่ 5 เหง้าข่าแก่ ห่ันเป็นช้ินบางๆ มากน้อยตามต้องการตำ ให้แหลก เอาน้ำมันมะพร้าวทาตรงที่ปวดให้ท่ัว (ป้องกันผิวหนังไหม้) เอาข่า ท่ีตำแหลกพอกเอาผ้าพันไว้ เปล่ียนยาวันละ 1 คร้ัง ติดต่อกัน 2-3 ครั้ง จะหายเปน็ ปกติ ทกุ ครั้งที่เปล่ยี นยา ควรทานำ้ มนั มะพร้าวทุกครงั้ จะหายเรว็ ตำรบั ที่ 6 โหระพาทั้งต้น สับใส่หม้อต้มกินน้ำครั้งละ 1 ถ้วยกาแฟ วนั ละ 3 เวลากอ่ นอาหาร แก้อาการปวดเข่า ยาตำรับผสมโคคลาน สมุนไพรในตำรับประกอบด้วย โคคลาน โด่ไม่รู้ล้ม ทองพันชั่ง และมะตูมรูปแบบยาชงและยาต้ม ชนิดชงรับประทาน ครั้งละ 1/2 ช้อนชา ชงน้ำร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ส่วนชนิดต้ม มีสรรพคุณรักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ มีฤทธ์ิ ตา้ นอนุมูลอสิ ระ ค่มู อื 85 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ้วยภูมิปญั ญาพ้นื บ้านด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรบั ยาพื้นบ้าน ยาพอกเข่า (ตำรบั หมอเบญจมาศ อยุ ยาหาญ จังหวดั สมุทรสาคร) สรรพคณุ 1. แก้อาการปวดเขา่ ขาพลิกแพลง รักษาอาการปวดเขา่ ปวดกระดูกหลงั จาก ประสบอบุ ตั ิเหตุ 2. ลดการอักเสบ บวมชำ้ ดดู เลือด ช้ำค่งั ทีเ่ ขา่ หรอื บริเวณทีเ่ ข่าปวดบวม ส่วนประกอบของตำรับยา 1. ลกู พุด (แห้ง) 1 ส่วน 2. แป้งหม/่ี แป้งมี่ (แปง้ สำหรบั ทำขนมปัง) 3 ส่วน 3. สุราขาว 4. ผ้าก๊อซ (Gauze) พันแผล 86 คมู่ อื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูส้ ูงอายุด้วยภูมปิ ัญญาพ้นื บา้ นดา้ นสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก วธิ กี ารเตรยี มยา 1. ตำลกู พดุ ใหล้ ะเอยี ด 2. ใส่แป้งหม่ีลงไปผสม แล้วค่อยๆ เติมสุราขาวลงไปเป็นระยะๆ แล้วตำจนยาเข้ากันดี เป็นเนื้อเหนียวๆ จนยกสากไมข่ ึ้นจึงจะถือวา่ ใชไ้ ด้ วิธีการพอกเขา่ นำมาพอกเขา่ บริเวณทีป่ วด แลว้ พันดว้ ยผ้ากอ๊ ซ ควรทำวันละ 1 คร้งั กอ่ นนอน พอกทิ้งไว้ขา้ มคนื ตน่ื เชา้ คอ่ ยเอายาออก ทำแบบนี้ 3 วัน ตดิ ต่อกัน ควรเกบ็ รักษายาไวใ้ นตู้เยน็ คมู่ อื 87 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภมู ิปัญญาพืน้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรบั ยาพื้นบ้าน ยาพอกเขา่ (ตำรับ หมอสงา่ พันธส์ุ ายศรี จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา) สรรพคุณ แก้อาการปวดเขา่ ในผ้สู งู อายุ ส่วนประกอบ 1. แป้งข้าวเจา้ 1 ถุง (ครง่ึ กโิ ล) 2. ลูกแป้งข้าวหมาก 1 กอ้ น 3. หัวดองดงึ 1 ขีด 4. ขงิ หรือ ข่า 2 ขีด (สัดส่วนอาจมีการเปลย่ี นแปลงไดต้ ามความ เหมาะสม) 88 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุดว้ ยภมู ิปัญญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก วิธกี ารเตรียมยา 1. นำหัวดองดึงมาโขลกให้ละเอียด ใช้ได้ทั้งหัวสดและแห้ง (หากเป็น หวั ดองดึงสดยง่ิ ดี) หรอื นำหัวดองดงึ มาแชน่ ำ้ อุ่นแลว้ คัน้ น้ำ 2. นำขิงมาค้ันน้ำเอามาผสมกับหัวดองดึงที่โขลกละเอียดหรือค้ันน้ำ ไวแ้ ลว้ 3. บดลูกแปง้ ข้าวหมากใหเ้ ปน็ ผงละเอียด 4. นำส่วนผสมท้ังหมดมานวดกับแป้งข้าวจ้าว ผสมน้ำอุ่นลงไปเพื่อให้ แป้งเหลวและเหนียวพอท่ีจะพอกได้ นวดให้ส่วนผสมทั้งหมด เขา้ กนั ดี หากทา่ นใดทม่ี อี าการปวดและรอ้ นอาจนำพมิ เสนแทรก วธิ กี ารพอกเข่า พอกที่บรเิ วณเขา่ ท่มี ีอาการปวด ครั้งละ 15-20 นาที เช้า-เย็น ข้อควรระวงั หากมีอาการแพ้ คัน ให้เอาแป้งท่ีพอกออกทันที (เน่ืองจากบางท่าน อาจแพห้ ัวดองดงึ ) โดยใหท้ ดลองพอกกบั เข่าข้างใดข้างหนึง่ ก่อน เพอ่ื ทดสอบ อาการแพ้ ผู้สูงอายุท่ีมีอาการปวดเข่า ห้ามรับประทานข้าวเหนียว หน่อไม้ เครือ่ งในสัตว์ และแอลกอฮอล์ทุกชนดิ ค่มู ือ 89 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูส้ งู อายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพนื้ บา้ นด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การฝึกบริหารขอ้ เขา่ บรรเทาอาการเข่าเส่ือมในผูส้ งู อายุ หมอพ้ืนบ้าน นางทองเลื่อน วิเศษสิงห์ จังหวดั กาญจนบรุ ี การฝึกให้ผู้สูงอายุยดื เหยียดข้อเข่าเพอ่ื บรรเทาอาการเข่าเส่ือม วธิ ีการ 1) ให้ผสู้ งู อายุนอนหงาน 2) ยกขาซา้ ยข้ึนทำมุม 45 องศา ขาใหเ้ หยยี ดตรง ท่าที่ 1 ท่าท่ี 2 90 คมู่ อื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู ูงอายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3) พับเข่าลงให้สน้ เทา้ ชดิ ขาด้านใน ลกั ษณะเข่าตงั้ ตรง 4) ยกเขา่ ข้นึ แนบชิดหนา้ อก ค้างไว้ นับ 1-2-3 5) ลดเข่าลงมาท่าท่ี 2 แล้วเหยียดเขา่ กลบั ทำมุม 45 องศา เหมือน ทา่ ท่ี 1 ท่าที่ 3 ทา่ ที่ 4 ผู้สูงอายุสามารถยืดเหยียดเข่าเพ่ือป้องกันรักษาอาการเข่าเสื่อมได้ ปฏิบัติตามท่าดงั กล่าวในตอนเชา้ หลังต่ืนนอน ก่อนลกุ ขึ้นจากท่ีนอน ดงั นี้ 1) นอนหงายขาเหยยี ดตรง ดึงเขา่ ซา้ ยข้นึ เข้าหาตวั ลักษณะเขา่ พับ 2) ค่อยๆ ยกปลายเทา้ ขนึ้ ทา่ ที่ 1 ทา่ ที่ 2 คู่มอื 91 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สงู อายุดว้ ยภูมปิ ญั ญาพืน้ บ้านด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3) ยกขาขน้ึ ในอากาศ 4) ขาตง้ั ตรง 90 องศา ปลายเท้าช้มี าทางดา้ นหนา้ นบั 1-2-3 5) เอาขาลง พบั เข่า 6) เอามือโนม้ เขา่ เขา้ หาตวั เหยยี ดกลับในท่าปกติ ทำซำ้ 10 ครั้ง แลว้ สลับยกเข่า ท่าที่ 3 ทา่ ท่ี 4 ท่าที่ 5 ท่าที่ 6 92 ค่มู อื “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บ้านด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2 การดแู ลรกั ษาโรคลม วิงเวยี นและอ่อนเพลยี ผูส้ งู อายมุ กั มอี าการวงิ เวียน ออ่ นเพลีย หนา้ มืด อาจเกิดเส้นเลือดสมอง มีภาวะไม่คลอ่ งตัว หรือตันบางสว่ น คนโบราณมักใช้ ยาหอม บรรเทาอาการ เหล่าน้ี ยาหอมของไทยมีหลายชนิด เช่น ยาหอมนวโกฐ ยาหอมเจดีย์ ยาหอมอินทจักร์ หรือในท้องถ่ินก็มียาหอมที่เป็นที่นิยม เช่น ยาผงแดงพม่า (จังหวัดเชียงใหม่) ยาหอมราชรถ (จังหวัดพิจิตร) เป็นต้น สรรพคุณของ ยาหอมระบวุ ่า แก้ลมวิงเวยี น ใจสั่นคล่นื เหียน อาเจยี น (ลมจุกแนน่ ในอก) บำรุงหัวใจในผู้สูงอายุ และแก้ลมปลายไข้ จากการวิเคราะห์ส่วนประกอบ สมุนไพร พบวา่ ยาหอมมสี มุนไพรจำนวน 40-50 ชนิด เปน็ เคร่อื งยาท่ีมี ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหารและระบบประสาท ส่วนกลาง จากการศึกษาฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาของยาหอม 3 ตำรับ พบว่า ยาหอมช่วยเพมิ่ ความดันโลหติ เพิ่มการทำงานของหัวใจและ หลอดเลือด และเพิ่มการไหลเวียนเลือด นอกจากนี้ยังช่วยลดการหลั่งกรด ในกระเพาะอาหาร และช่วยให้นอนหลับได้ยาวนานข้ึน ไม่พบความเป็นพิษ เฉยี บพลนั คู่มอื 93 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายุดว้ ยภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำรับยาพื้นบ้าน แก้อาการวิงเวียน (ตำรับ หมอประกอบ อุบลขาว จังหวัดสงขลา) ตำรบั ท่ี 1 ขิงท้ังเหง้า ต้มเอาน้ำยาด่ืมแทนน้ำ อาการวิงเวียนศีรษะ คอ่ ยๆ หายไป เวลาด่ืมนำ้ ขิงแทรกน้ำตาลทรายพอหวาน ตำรับท่ี 2 ลกู มะตมู ออ่ นแหง้ ปง้ิ ไฟพอหอม 1 ชนิ้ ชงกบั นำ้ รอ้ น 1 แกว้ เตมิ เกลอื เลก็ นอ้ ย กินครั้งละ ½ ถ้วยกาแฟ เวลามอี าการ ยาหอมนวโกฐ ประกอบดว้ ยตวั ยา 58 ชนิด มยี ารสสุขมุ เชน่ โกฐท้ัง 9 เทียนท้ัง 9 กฤษณา กระลำพัก ขอนดอก ตัวยารสร้อนเช่น ลูกจันทน์ ดอกจันทร์ ลูกกระวาน กานพลู แก่นสน เกสรทง้ั 5 ยารสขม ไดแ้ ก่ ลกู ราชดัด จันทน์แดง จันทร์เทศ บอระเพ็ด ลูกกระดอม ยาหอมนวโกศแก้ลมวิงเวียน คล่ืนเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ ขอ้ แนะนำสำหรบั การใช้ยาหอม การใช้ยาหอมให้ได้ผล แม้จะเป็นชนิดเม็ด ควรนำมาละลายน้ำ กระสายยา หรือน้ำอุ่น รับประทานขณะกำลังอุ่น เหมือนกับวิธีการเดิม เพราะการออกฤทธิ์ของน้ำมันหอมระเหยที่มีในยาหอมจะช่วยทำให้ ยาออกฤทธิ์ได้เร็วขึ้น และออกฤทธิ์ผ่านประสาทรับกลิ่น และการดูดซึม ผ่าน 94 คมู่ ือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 3 การดแู ลรกั ษากลุม่ อาการวัยทอง วัยสูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงด้านฮอร์โมนเพศ ในสตรีสูงอายุอาจมี อาการในชว่ งหมดประจำเดือน เชน่ อาการรอ้ นวบู วาบและคนั อักเสบตาม ผิวหนัง ผิวหนังแห้งเหี่ยวย่น ช่องคลอดแห้ง เป็นต้น และอาจส่งผลต่อ ภาวะกระดูกพรุน และความเส่ียงต่อมะเร็งเต้านม ส่วนผู้สูงอายุเพศชาย ก็มีอาการเช่นกัน อาจมีความหงุดหงิด และมีความเส่ียงต่อการเกิดต่อม ลูกหมากโตและมะเร็งต่อมลูกหมาก อาการเหล่านี้สามารถบรรเทาได้โดย การด่ืมนมถ่ัวเหลือง หรือใช้สมุนไพร เช่น กวาวเครือขาว ว่านชักมดลูก เปน็ ต้น และยังมสี มนุ ไพรกลมุ่ ขงิ ข่า ตะไคร้ ไพล กะทือ ขม้ิน ดีปลี พริกไทย เจตมูลเพลิง สมนุ ไพรเหลา่ นีม้ กี ลุ่มสาร Phytoestrogen ชว่ ยรกั ษา และบรรเทาอาการวยั ทองเหลา่ นี้ได้ 4 การดูแลรกั ษาโรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เป็นปัญหาสุขภาพสำคัญของผู้สูงอายุ และคนไทยมี แนวโน้มเป็นโรคเบาหวานเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วย เบาหวานจะไดร้ บั การดแู ลโดยทมี สหวชิ าชพี ทง้ั ระบบการแพทย์แผนปัจจุบนั และการแพทยแ์ ผนไทย โดยทว่ั ไปผปู้ ว่ ยจะไดร้ บั ยาแผนปจั จบุ นั และคำแนะนำ เพอื่ เปลย่ี นพฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง 4 ดา้ น คอื พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร พฤติกรรมการใช้ยาและติดตามการรักษาโรคด้วยตนเอง และพฤติกรรม การป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อน อย่างไรกต็ าม พบวา่ ผู้ป่วยที่สามารถ ควบคุมโรคเบาหวานได้ดีมีประมาณ ร้อยละ 12 และจากการทบทวน วรรณกรรม พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานประมาณร้อยละ 40 มีการใช้สมุนไพร คู่มอื 95 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท้ังยาสมุนไพรเด่ียวและยาสมุนไพรแบบตำรับ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารยาจีน และการแพทย์ทางเลือกแบบอื่น ควบคู่ไปกับการรักษาโรคด้วยการแพทย์ แผนปัจจบุ นั การใช้ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์พื้นบา้ นเพือ่ ดูแลรักษาโรคเบาหวานมี 3 รปู แบบ คอื รูปแบบท่ี 1 การใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน / พ้ืนบ้านเพ่ือการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยเบาหวาน คือ การนำสมุนไพรตัวเด่ียวและการใช้ยาสมุนไพรตำรับ รกั ษาเบาหวานดว้ ยตนเอง จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา่ ยาสมนุ ไพรเดย่ี ว ท่ีมีสรรพคุณรักษาภาวะเบาหวานมีหลายชนิด สำหรับสมุนไพรท่ีมีสรรพคุณ ชดั เจน คอื กะเพรา ชา้ พลู ตำลงึ บอระเพด็ มะตมู มะระข้นี ก อนิ ทนิลน้ำ อบเชย แฮ่ม และมะเขือพวง นอกจากนี้ยังมียาสมุนไพรตำรับหลายตำรับ ของหมอพน้ื บา้ น และหมอยาแผนไทยทม่ี ปี ระสบการณก์ ารรกั ษาโรคเบาหวาน อกี ดว้ ย สำหรบั การใชย้ าสมนุ ไพรดแู ลรกั ษาโรคเบาหวานดว้ ยตนเอง จำเปน็ ตอ้ ง มีการติดตามและตรวจระดับน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือไม่ให้ระดับ นำ้ ตาลสูงหรอื ตำ่ เกินไปจนเปน็ ผลเสยี ต่อสุขภาพ และไมค่ วรใช้สมุนไพรเพยี ง ชนิดเดียวเป็นเวลานานเกินไป อาจใช้สมุนไพรท่ีเป็นพืชผัก เช่น มะระข้ีนก ตำลงึ มะเขือพวง เป็นตน้ ในลกั ษณะสลับสบั เปลยี่ นกัน หรอื รับประทานใน รูปแบบอาหารจะมีความปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ นอกจากนี้ ผู้ป่วยควร ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารดว้ ยการรบั ประทานขา้ วกลอ้ ง ซง่ึ เปน็ ขา้ วทมี่ เี สน้ ใยสงู และชว่ ยปอ้ งกนั โรคเบาหวาน เชน่ ขา้ วสนิ เหลก็ ขา้ วสงั ขห์ ยด (ใต้) ขา้ วกำ่ (เหนอื ) เป็นตน้ และบรโิ ภคผัก/ผลไมท้ ่ีมเี สน้ ใยสูงและไมห่ วาน 500 – 600 กรัม/วัน พร้อมทั้งดูแลจิตใจและออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไปพรอ้ มกนั 96 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภมู ปิ ัญญาพนื้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รูปแบบท่ี 2 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน/ พื้นบ้านในระบบสุขภาพปฐมภูมิ เครือข่ายการบริการสุขภาพปฐมภูมิ อันประกอบด้วยโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน มีบทบาทการคัดกรองและบำบัดเบาหวานระดับพื้นฐาน โดยทีมสหวิชาชีพ และสถานอี นามยั มบี ทบาทคดั กรองการปอ้ งกนั และการเยยี่ มบา้ น นอกจากน้ี ยงั มกี ารประสานงาน การรว่ มงาน และสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยระหวา่ งโรงพยาบาลชมุ ชน และสถานีอนามยั เพอ่ื ให้งานต่อเนื่องและมคี ณุ ภาพ การดแู ลผู้ป่วยเบาหวาน ใช้แนวทางเวชปฏิบัตขิ องการแพทย์แผนปจั จบุ ันเปน็ หลัก อย่างไรก็ตาม ยงั มี ความแตกต่างที่ขึ้นกับความพร้อมและศักยภาพของโรงพยาบาล ศักยภาพ ของทีมสหวิชาชีพ และแนวทาง / นโยบายเฉพาะของแต่ละพื้นท่ี จากการ สำรวจพบว่า สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐจำนวน 30 – 60 แหง่ มีการใช้ ยาสมุนไพรเด่ียวและตำรับรักษาเบาหวาน และจากการสำรวจภาคสนาม พบว่า โรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง (โรงพยาบาลเทิง จังหวัดเชียงราย โรงพยาบาลวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร และโรงพยาบาลห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา) มีการผสมผสานภูมิปัญญา ท้องถ่ิน (การแพทย์แผนไทย / การแพทย์พ้ืนบ้าน / การแพทย์แบบอ่ืน) ในการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยเบาหวาน 2 ลกั ษณะ คือ (1) การดแู ลรกั ษาผูป้ ่วย ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ การแนะนำความรู้และทักษะของภูมิปัญญา ทอ้ งถน่ิ เพอื่ การดแู ลตนเองของผปู้ ว่ ยเบาหวาน (อาหารพนื้ บา้ น อาหารตามธาตุ การทำสมาธิ การสวดมนต์ โยคะ ชี่กง ดนตรีพื้นเมือง) การใช้สมุนไพร แบบเดี่ยวและแบบตำรับเพ่ือเสริมการรักษา และรักษาภาวะแทรกซ้อนของ ผปู้ ว่ ยเบาหวาน การใชส้ มนุ ไพรและการนวดในการดแู ลเทา้ และ (2) การสง่ เสรมิ สุขภาพของกลุ่มเส่ียงต่อเบาหวาน มีการแนะนำและฝึกอบรมความรู้และ ทกั ษะในการปรบั สมดลุ ของชวี ติ มเี นอื้ หาเกย่ี วกบั ขา้ วกลอ้ ง อาหารสมนุ ไพร คู่มือ 97 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ัญญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาหารตามธาตุ ผักพื้นบ้าน สมาธิ โยคะ การออกกำลังกาย สำหรับวิธีการ รักษาโรคแบบเสริมในผู้ป่วยเบาหวานยังไม่มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ จึงยงั ไมส่ ามารถยืนยันผลไดอ้ ย่างชัดเจน อย่างไรกต็ าม การดแู ลรักษาผ้ปู ่วย เบาหวานด้วยการใชแ้ พทยแ์ ผนไทยและการแพทย์พื้นบา้ น ทำใหผ้ ู้ปว่ ยมที าง เลือกในการรักษาเบาหวาน ทำให้ผู้ป่วยมีความพึงพอใจส่งผลดีต่อร่างกาย และจิตใจ และส่งเสรมิ การดแู ลตนเองของผู้ปว่ ย รูปแบบท่ี 3 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยหมอพื้นบ้าน จากการ สำรวจของกรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปี พ.ศ. 2549 พบวา่ หมอยาพน้ื บา้ นทร่ี กั ษาโรคเบาหวานมจี ำนวน 52 คน กระจายตวั อยใู่ น ภาคเหนือ 27 คน ภาคอีสาน 24 คน และภาคกลาง 1 คน จากการทบทวน วรรณกรรมและศึกษาภาคสนาม พบว่า หมอพ้ืนบ้านส่วนใหญ่ท่ีรักษาผู้ป่วย เบาหวานเป็นหมอสมุนไพร เป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์การรักษาโรคเบาหวาน จากบรรพบุรุษหรือจากตำราใบลานของครูหมอพื้นบ้าน หมอพื้นบ้านจะมี การเตรียมยาสมุนไพรไว้ท่ีบ้านเพ่ือพร้อมให้บริการหรือจำหน่ายให้กับผู้ป่วย เบาหวาน หมอพ้ืนบ้านไม่มีการอธิบายโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย สว่ นใหญ่จะเรยี กชือ่ โรคเบาหวาน และรกั ษาผู้ป่วยเบาหวานทผ่ี า่ นการวนิ ิจฉัย โรคและรักษาโรคโดยแพทย์แผนปัจจุบันมาแล้ว หมอพ้ืนบ้านแต่ละคนมีการ อธบิ ายสาเหตขุ องเบาหวานแตกตา่ งกนั อนั เปน็ คำอธบิ ายทม่ี มี าจากบรรพบรุ ษุ การเรียนรู้ด้วยตนเอง และผสมผสานกับความรู้การแพทย์แผนปัจจุบัน หมอพื้นบ้านใช้พืชสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน และประกอบเป็นตำรับยา สมนุ ไพรรักษาเบาหวาน แต่ละตำรับยาสมนุ ไพรมีสมนุ ไพรหลายชนดิ และมี 2 ลักษณะ คือ ตำรับยารักษาเบาหวาน และตำรับยารักษาแผลเบาหวาน รปู แบบยามี ยาตม้ ยาผง ยาฝน ยาแคปซลู และยาลกู กลอน และยงั มขี อ้ หา้ ม ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยเบาหวานด้วย หมอพ้ืนบ้านมีการติดตามแบบไม่เป็น 98 คู่มือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ทางการ โดยอาจสอบถามจากผู้ปว่ ยหรือญาติ ผปู้ ่วยเบาหวานท่ีมารักษากับ หมอพน้ื บา้ นเปน็ ผปู้ ว่ ยทร่ี กั ษาดว้ ยยาแผนปจั จบุ นั แลว้ แตร่ ะดบั นำ้ ตาลในเลอื ด ยังไม่สามารถควบคุมไดใ้ นระดับปกติ 5 การดแู ลรกั ษาโรคอัมพฤกษ์ อมั พาต ภาวะโรคอมั พฤกษ์ อมั พาต มเี หตทุ อ่ี นมุ านไดว้ า่ มาจากภาวะหลอดเลอื ด สมองตีบตันหรือแตก อันเป็นผลสืบเน่ืองมาจากโรคความดันโลหิตสูง เมื่อผู้ป่วยเป็นภาวะอัมพาต หมายถึง เกิดอาการอ่อนแรงของแขนขา หรือ อวยั วะของรา่ งกาย ทำใหร้ า่ งกายสว่ นนนั้ เคลอื่ นไหวไมไ่ ด้ หรอื ไดน้ อ้ ยกวา่ ปกติ อาจมีอาการชาร่วมด้วย ส่วนอัมพฤกษ์ เป็นภาวะท่ีไม่สามารถควบคุมการ เคลอ่ื นไหวของรา่ งกายไดบ้ างสว่ น ทำใหเ้ คลอ่ื นไหวไดไ้ มต่ รงตามความตอ้ งการ ในระหวา่ ง พ.ศ. 2546 – 2548 สำนกั การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพฒั นา การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พบว่า ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต สามารถเขา้ ถงึ และเขา้ รบั การดแู ลรกั ษาอมั พฤถษ์ อมั พาต จากแพทยแ์ ผนไทย และหมอพน้ื บา้ นในทอ้ งถน่ิ หลายแหง่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ แนวคดิ และวธิ กี ารรกั ษา ด้วยการแพทย์พ้ืนบ้านมีศักยภาพและช่วยดูแลฟ้ืนฟูสุขภาพของผู้ป่วย ทำให้ ผู้ป่วยสุขภาพกายดีขึ้น ได้อย่างประหยัดและสอดคล้องกับสังคมวัฒนธรรม ท้องถิ่น สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย มีการศึกษาและ สรุปประสบการณ์ การดแู ลรกั ษาอมั พฤษ์ อมั พาต 4 แหง่ คอื วดั หนองหญา้ นาง จงั หวดั อทุ ยั ธาน,ี หมอสงา่ พนั ธสุ์ ายศรี จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา, หมอพน้ื บา้ น 4 คน ในตำบล วังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น และหมอพ้ืนบ้าน 2 คน จังหวัด นครศรีธรรมราช พบว่า ภาพรวมหมอพน้ื บา้ นมบี ทบาทการดูแลรักษาผ้ปู ่วย อัมพฤกษ์ อัมพาต อย่างต่อเนื่อง มีวิธีการรักษาแบบหลายวิธีผสมผสาน คมู่ อื 99 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ งู อายุดว้ ยภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ”
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประกอบดว้ ย ตำรบั ยาสมนุ ไพร การนวดและประคบสมนุ ไพร การอบสมนุ ไพร การเหยยี บเหลก็ แดง การจดั กระดกู การใชน้ ำ้ มนตแ์ ละคาถา พธิ กี รรมเฉพาะ และการบรหิ าร / ฟ้นื ฟูสภาพรา่ งกาย กระบวนการรักษาโรคจะมอี ัตลกั ษณ์ ของแต่ละบุคคลข้ึนอยู่กับพ้ืนฐานประสบการณ์และการเรียนรู้จากบรรพบุรุษ และของตนเองเป็นระยะเวลานาน นอกจากน้ี ยงั ใหค้ วามสำคัญกบั ของแสลง และการปฏบิ ตั ติ นเองของผปู้ ว่ ย และยงั มกี ารฝกึ ฝนใหญ้ าตหิ รอื คนในครอบครวั สามารถดแู ลและชว่ ยเหลือผ้ปู ่วยด้วย 6 การดูแลรกั ษาโรคความดนั โลหติ สูง โรคความดันโลหิตสูง เป็นภาวะที่บุคคลมีความดันโลหิตมากกว่า 160 / 95 mmHg สาเหตมุ าจากความสูงอายุ การบริโภคอาหาร ความอ้วน การเกดิ จากโรคเรอื้ รงั พฤตกิ รรมการสบู บหุ รแ่ี ละความเครยี ด ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ / พ้นื บ้าน ทใ่ี ช้ประโยชนก์ ับโรคความดันโลหิตสูง คอื การบริโภคผักพื้นบา้ นและ สมนุ ไพรทมี่ สี รรพคณุ ลดไขมนั ในเสน้ เลอื ด ชว่ ยลดความดนั โลหติ สงู ชว่ ยขยาย หลอดเลือด หลอดเลอื ดไมต่ ีบตัน ตวั อยา่ งเช่น ค่นื ฉา่ ย กระเจีย๊ บ กระเทียม บวั บก ยา่ นาง ผักเหมียง คำฝอย หอมแดง มะขามป้อม เปน็ ต้น 100 ค่มู ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู งู อายดุ ว้ ยภมู ิปัญญาพนื้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270