Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore T01_eldery

T01_eldery

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-14 22:20:34

Description: T01_eldery

Search

Read the Text Version

คู่มอื แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ โดย สำนกั การแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

คมู่ อื “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ” ISBN : 978 - 616 - 11 - 0872 - 4 ทปี่ รึกษา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.นพ.ธวัชชยั กมลธรรม นพ.ปภัสสร เจยี มบญุ ศรี นายประสาท ตราดธารทิพย์ ผู้เขียน รุจินาถ อรรถสิษฐ กมลทิพย์ สวุ รรณเดช บรรณาธกิ ารบรหิ าร เสาวณยี ์ กุลสมบรู ณ์ บรรณาธิการ เสาวณยี ์ กลุ สมบูรณ์ กมลทพิ ย์ สุวรรณเดช กฤษณะ คตสขุ วราภรณ์ ดอ่ นแก้ว จดั พิมพ์โดย สำนกั การแพทย์พ้ืนบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข อำเภอเมือง จงั หวัดนนทบุรี โทรศัพท์/โทรสาร 0 2591 7808, 0 2149 5693 เว็บไซด ์ http://www.dtam.moph.go.th พมิ พค์ รั้งท่ี 1 กนั ยายน 2558 พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2 กรกฎาคม 2559 จำนวน 500 เลม่ พมิ พ์ท ่ี โรงพิมพ์ชุมนนุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คำนำ จากขอ้ มลู สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ระบวุ ่า ประเทศไทยได้ถูกจัดให้ เปน็ ประเทศท่ีอย่ใู นสงั คมผู้สงู อายุตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2548 และมกี ารคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573 สงั คมไทยจะเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั ระดบั สดุ ยอด หมายถงึ อตั ราสว่ น ผู้สูงอายุจะเป็นร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด สังคมไทยกำลังเผชิญ สถานการณ์ความท้าทาย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สูงอายุในทุกด้าน โดยเฉพาะดา้ นสขุ ภาพ เนื่องจากภาวะรา่ งกายเส่ือมถอยตามธรรมชาติ และ เขา้ สภู่ าวะพึง่ พาและตอ้ งการการดแู ลด้านสุขภาพ สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกได้จัดทำ คู่มือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วย ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ” เกดิ จากการสงั เคราะหค์ วามรแู้ ละวเิ คราะหพ์ น้ื ท่ี ตัวอยา่ ง 9 กรณี โดย อาจารยร์ จุ นิ าถ อรรถสิษฐ ผเู้ ชี่ยวชาญ ดำเนินงาน ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านเพื่อการ ดแู ลสขุ ภาพในผสู้ งู อายุ ประเดน็ สำคญั ประกอบดว้ ย ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นสำหรบั ดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุ ดา้ นการสง่ เสริมสขุ ภาพและป้องกนั โรค (Indigenous Health) ดา้ นการรกั ษาและฟน้ื ฟสู มรรถภาพรา่ งกาย (Indigenous Medicine) และแนวคดิ กระบวนการเรียนรแู้ ละพฒั นาภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นสำหรับผสู้ งู อายุ เพื่อเป็นแนวทางส่งเสริมการใช้ประโยชน์ ให้เกิดการบูรณาการการแพทย์ พน้ื บ้านในระบบบริการสขุ ภาพในการดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุต่อไป ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.นพ.ธวชั ชยั กมลธรรม อธิบดกี รมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทคดั ยอ่ สำหรบั ผู้บริหาร สังคมไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพมิ่ ขึน้ อยา่ งต่อเน่อื ง และในปี พ.ศ. 2548 ประเทศไทยไดก้ า้ วสู่ “สงั คมผสู้ งู อายุ (Aging Society) และมกี ารคาดการณว์ า่ ในปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด อันหมายถึง อตั ราส่วนของผสู้ ูงอายุจะเป็นร้อยละ 25 ของประชากรท้ังหมด ผสู้ ูงอายุเป็น วัยท่ีมีภาวะร่างกายเสื่อมถอยตามธรรมชาติและเข้าสู่ภาวะพ่ึงพาและ ต้องการการดูแลเมื่ออายุมากข้ึน ผู้สูงอายุมักประสบกับปัญหาโรคเรื้อรัง ท่ีสำคัญคือ โรคความดันโลหิตสูง ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ โรคเบาหวาน โรคโลหติ จาง โรคขอ้ เขา่ เส่ือม/อักเสบ โรคกระดูกพรนุ กลุ่มอาการอมั พฤกษ-์ อมั พาต และอาการป่วยทเี่ กิดจากความเส่อื มของร่างกาย ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพทส่ี ามารถใชป้ ระโยชนก์ บั การดแู ลสขุ ภาพ ผู้สูงอายุมี 2 ด้าน คือ (1) ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพ่ือการส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค (Indigenous Health) และ (2) ภูมิปญั ญาพ้นื บา้ นเพ่อื การดแู ล รกั ษาโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย (Indigenous Medicine) จากการ วเิ คราะหพ์ น้ื ทต่ี วั อยา่ ง 8 กรณี พบวา่ ในทกุ พน้ื ทม่ี ผี สู้ งู อายมุ ากกวา่ รอ้ ยละ 10 ของประชากรทั้งหมด และมกี ารรวมตวั เป็น ชมรมผสู้ ูงอายุ ผูส้ งู อายุสามารถ จำแนกเปน็ 3 กลมุ่ คอื กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ส่ี ขุ ภาพดี กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ เ่ี ปน็ โรคเรอ้ื รงั และกลุ่มผู้สูงอายุท่ีทุพพลภาพและต้องพึ่งพาผู้อื่น พ้ืนที่ตัวอย่าง 5 กรณี มีการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ โดยการศึกษาและเก็บ ขอ้ มลู จากผสู้ งู อายตุ น้ แบบและหมอพนื้ บา้ นในพน้ื ท่ี สว่ นพนื้ ทตี่ วั อยา่ ง 3 กรณี มีทั้งการจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพและมีบทเรียนการใช้ ประโยชนจ์ ากภูมปิ ญั ญาหมอพ้ืนบ้าน

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สำหรับแนวคิดและกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน สำหรับผู้สูงอายุ ควรใช้แนวคิดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้ การทำงานแบบบูรณาการและแบบมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ องค์กรภาครฐั ในท้องถิ่นและชมรม / กลุ่มผ้สู งู อายใุ นชุมชน สำหรับ กระบวนการเรยี นรู้ พฒั นาภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นสำหรบั สขุ ภาพผสู้ งู อายุ มรี ปู แบบ/ กระบวนการทำงาน 3 ลกั ษณะ คอื (1) การจดั การความรภู้ มู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ด้านสุขภาพเพ่ือผู้สูงอายุ (2) การส่งเสริมและการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา การแพทย์พ้นื บ้านในการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุ และ (3) การสืบทอดภูมปิ ญั ญา พ้ืนบ้านด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตามแนวคิดและกระบวนการดังกล่าวยังต้อง ศึกษาและพัฒนารปู แบบการทำงานให้มคี วามชดั เจนมากกว่าปัจจบุ นั เพอ่ื ให้ มีบทเรยี นและเน้นถึงผลตอ่ สุขภาพผ้สู งู อายทุ ่ีชดั เจน

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สารบัญ หนา้ คำนำ ก บทคัดย่อสำหรับผบู้ ริหาร ข บทที่ 1 ความหมายและสถานการณ์ของผสู้ งู อายไุ ทย 1 บทท่ี 2 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้สงู อายแุ บบบูรณาการ 3 สถานการณด์ ้านคณุ ภาพชีวิตของผสู้ งู อายไุ ทย 3 สถานการณ์ดา้ นสุขภาพของผสู้ งู อายุไทย 5 แนวคิด นโยบาย และยุทธศาสตร์ของแผนผูส้ ูงอายแุ หง่ ชาต ิ 8 สถานการณก์ ารเคลื่อนไหวและการสนับสนุน 15 การทำงานดา้ นผ้สู ูงอายุไทย บทท่ี 3 ภมู ิปญั ญาพนื้ บา้ นดา้ นสขุ ภาพเพ่อื สขุ ภาวะของผ้สู งู อายุ 17 แนวคิดการเรียนร้แู ละพฒั นาศักยภาพดา้ นภูมิปญั ญา 17 พน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพเพ่ือผู้สูงอายุ ภูมปิ ญั ญาพ้นื บ้านเพอื่ การดแู ลสุขภาพกายของผ้สู งู อายุ 22 ภูมปิ ัญญาพื้นบ้านเพอื่ การดูแลสุขภาพใจ 43 และอารมณข์ องผูส้ งู อาย ุ ภูมิปัญญาพน้ื บ้านเพอ่ื การดแู ลและฟื้นฟภู าวะ 44 โรคของผู้สูงอายุ

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สารบัญ หนา้ บทที่ 4 การเคล่อื นไหวและพ้นื ท่ตี ัวอย่างดา้ นการดแู ลสขุ ภาพ 56 ผู้สูงอายุด้วยภมู ปิ ญั ญาการแพทย์พน้ื บ้าน (1) แนวคิดและรูปแบบการจัดการความรู้ดา้ นภูมปิ ัญญา 56 พ้ืนบา้ นด้านสขุ ภาพเพื่อการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อาย ุ ตวั อยา่ งท่ี 1 ตำบลนาไหม อำเภอบ้านดุง 56 จงั หวดั อดุ รธานี ตวั อยา่ งท่ี 2 ตำบลทุ่งคลอง อำเภอคำม่วง 64 จงั หวดั กาฬสินธ ์ุ ตัวอยา่ งท่ี 3 ตำบลสมอพลอื อำเภอบา้ นลาด 67 จงั หวดั เพชรบรุ ี ตวั อย่างที่ 4 ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมอื ง 72 จงั หวัดตรงั ตัวอยา่ งท่ี 5 การจดั การองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญา 78 การแพทยพ์ นื้ บ้านเพ่ือการดูแลผสู้ งู อายุ โดย ศ. (พเิ ศษ) พญ.สมบรู ณ์ เกยี รตนิ ันทน์ และคณะ คณะแพทยศ์ าสตร์ (สาขาแพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สารบญั หนา้ (2) แนวคดิ และรปู แบบการส่งเสรมิ สุขภาพผสู้ ูงอายุ 80 ด้วยภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ 85 ตัวอย่างที่ 6 ตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา 91 จังหวัดลำปาง 94 ตวั อย่างที่ 7 ตำบลหวั รอ อำเภอเมอื ง จังหวดั พิษณุโลก ตวั อยา่ งที่ 8 ตำบลน้ำไคร้ อำเภอน้ำปาด จังหวดั อตุ รดิตถ์ (3) ผู้สงู อายตุ น้ แบบการดแู ลสุขภาพด้วยภูมปิ ัญญา การแพทยพ์ ้นื บา้ น บทท่ี 5 แนวคดิ กระบวนการและบทเรียนการทำงาน 100 ด้านดูแลผสู้ งู อายดุ ้วยภูมปิ ัญญาพนื้ บา้ นด้านสขุ ภาพ บรรณานุกรม 108

1บทท่ี ความหมายและสถานการณ์ของ ผสู้ งู อายุไทย



สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทท่ี 1 ความหมายและสถานการณ์ของผสู้ ูงอายุไทย ความหมายของผ้สู ูงอายุไทย สงั คมไทยเรยี กขานผทู้ ม่ี อี ายมุ ากกวา่ วา่ “คนแก”่ หรอื อาจเปน็ “ผเู้ ฒา่ ” “คนชรา” “ผสู้ ูงอาย”ุ “ผู้สงู วัย” หรอื อาจเรยี กเป็นภาพรวมวา่ เปน็ “กลุ่มวยั ไม้ใกล้ฝั่ง” หรือ “กลุ่มวัยทอง” อันเป็นคำสะท้อนถึงบุคคลที่อยู่ในวงจรชีวิต ช่วงปลาย ที่หมายถึง ความชราความเส่ือมทรุดทางร่างกายและจิตใจ ก่อใหเ้ กดิ การพึง่ พาผ้อู น่ื หรอื เปน็ ชว่ งชวี ติ ท่ีตอ้ งมผี ู้ดูแล สำหรับคำเรียกและ นยิ ามที่เปน็ ทางการตามพระราชบญั ญตั ิผสู้ งู อายุ พ.ศ. 2546 คอื “ผู้สงู อายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย” และในปี พ.ศ. 2525 สมชั ชาโลกว่าด้วยผู้สูงอายุ มกี ารกำหนดเป็นมาตรฐาน ทั่วโลกว่า “ผู้สูงอายุ เป็นผู้ท่ีมีอายุต้ังแต่ 60 ปีข้ึนไป” นอกจากน้ียังแบ่ง ผู้สงู อายเุ ป็นผู้สงู อายุวัยต้นอายุ 60 - 69 ปี และผสู้ ูงอายวุ ัยปลาย มอี ายตุ งั้ แต่ 70 ปขี น้ึ ไป ผสู้ งู อายนุ บั เปน็ ทรพั ยากรมนษุ ยท์ ม่ี คี ณุ คา่ ของชาติ มวี ยั วฒุ ิ คณุ วฒุ ิ คมู่ อื 11 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผ้สู ูงอายุดว้ ยภูมิปญั ญาพืน้ บ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และศักด์ิศรี สามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ และยังเป็นผู้ทำ ประโยชน์ต่อสังคม หากผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี จะเป็นม่ิงขวัญของครอบครัวและเป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมให้ คนรุน่ หลงั สถานการณ์ของผูส้ งู อายุไทย ปี พ.ศ. 2548 เป็นปีที่สังคมไทยถูกกลา่ วขานจากนักประชากรศาสตร์ ว่าเป็น “สังคมสูงวัย” (Aging Society) เพราะมีประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปี ขน้ึ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ของประชากรทง้ั ประเทศ (ปี พ.ศ. 2548 ผู้สูงอายมุ ี อัตราส่วนร้อยละ 10.17 ของประชากรท้ังหมด) ในช่วงห้าทศวรรษที่ผ่านมา ผู้สูงอายุของสังคมไทยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองและจะเพิ่มข้ึนต่อไปใน อนาคต จากการสำรวจของสำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2555 รายงานว่า สังคมไทยมีผู้สูงอายุจำนวนท้ังหมด 8.63 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 12.7 ของจำนวนประชากรทัง้ หมด โดยแตล่ ะปีประเทศไทยจะมผี ู้ที่เขา้ สูว่ ยั สงู อายุ ประมาณห้าแสนคน และมีการคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2573 สังคมไทยจะ เข้าสสู่ ังคมสงู วยั ระดับสุดยอด หมายถึง อตั ราสว่ นผ้สู ูงอายุจะเปน็ ร้อยละ 25 ของประชากรทั้งหมด 12 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ความชราของชวี ติ เปน็ กระบวนการเสอ่ื มถอยตามธรรมชาติ ความเสอ่ื ม ถอยของรา่ งกายจะเริ่มตั้งแต่อายุมากกว่า 20 ปีข้ึนไป และเกดิ อย่างตอ่ เน่ือง เป็นลำดับจนกระทั่งอายุราว 75 - 80 ปี สมรรถนะของร่างกายจะถดถอย เข้าสู่ภาวะพ่ึงพา โรคและอุบัติเหตุจะนำเข้าสู่ภาวะพึ่งพาเร็วข้ึน ในขณะที่ การส่งเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตที่ดีต่อสุขภาพจะช่วยให้ชีวิตเข้าสู่ภาวะพึ่งพา ชา้ ลง ขณะนผ้ี สู้ งู อายไุ ทยสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ หลกั คอื กลมุ่ แรกเปน็ กลมุ่ ที่ดแู ลตนเองได้ ประมาณรอ้ ยละ 85.3 กล่มุ ทส่ี องเป็นกลุ่มทเี่ ริม่ มภี าวะพึง่ พา และตอ้ งการผ้ดู ูแลบางสว่ น ประมาณรอ้ ยละ 13.8 และกล่มุ ที่สามเป็นกลมุ่ ท่ี ตอ้ งพง่ึ พาผอู้ น่ื ประมาณรอ้ ยละ 0.9 ขอ้ มลู จากการสำรวจ ผสู้ งู อายไุ ทยเพม่ิ ขน้ึ ทั้งจำนวนและสัดส่วน ผู้สูงอายุวัยปลายหรือผู้ท่ีมีอายุ 80 ปีข้ึนไปยังเพ่ิมข้ึน อย่างรวดเร็วด้วย อันหมายถึง ผู้สูงอายุวัยปลายที่อาจต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งด้าน เศรษฐกิจ ด้านสงั คม และการทำกจิ วัตรประจำวันมีแนวโนม้ เพ่ิมมากขน้ึ ดว้ ย จากการศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงรปู แบบทพ่ี กั อาศยั ของผสู้ งู อายตุ ง้ั แตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบัน พบว่า ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวและผู้สูงอายุท่ีอยู่เพียงลำพังกับ คู่สมรสเท่านั้นมีแนวโน้มที่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง อันส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ของการดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว นอกจากน้ีการย้ายถ่ินของบุตรส่งผลให้มี บตุ รทใี่ หก้ ารดแู ลผสู้ งู อายลุ ดลงแลว้ ยงั เกดิ ปรากฏการณ์ “ครวั เรอื นขา้ มรนุ่ ” ของผูส้ งู อายุ หมายถึง ครัวเรอื นทปี่ ระกอบดว้ ยผู้สงู อายุและหลานอย่างนอ้ ย 1 คน โดยไมม่ ีบุตร / บตุ รเขย / บตุ รสะใภ้ ของผสู้ งู อายุพกั อาศัยอยูด่ ว้ ยกัน สถานการณน์ ้ีกลายเปน็ การเพิ่มภาระการดูแลหลานใหผ้ ู้สูงอายุ ส่งผลให้เกดิ ความเปราะบาง และภาวะเส่ียงหรือบั่นทอนคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดย ท่ัวไป จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น กล่าวได้ว่า สังคมไทยกำลังเผชิญ สถานการณ์ทท่ี ้าทาย เพอ่ื เตรียมความพร้อมให้กับผสู้ งู อายุ และใหก้ บั สงั คม ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน ที่จะร่วมดูแลคุณภาพชีวิตและ สขุ ภาวะของผสู้ งู อายใุ นหลายมติ แิ ละตอ่ เนื่องระยะยาว คมู่ ือ 13 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายุดว้ ยภมู ิปัญญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”



2บทท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ การพฒั นาผูส้ งู อายุแบบบูรณาการ



สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทที่ 2 นโยบาย และยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาผ้สู งู อายแุ บบบูรณาการ สถานการณด์ ้านคุณภาพชวี ิตของผสู้ งู อายไุ ทย ความเข้าใจต่อสถานการณ์ผู้สูงอายุอย่างรอบด้านจะก่อให้เกิดนโยบาย และยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนงานผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับความต้องการ ผู้สูงอายุ และยังเหมาะสมกับลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค อกี ดว้ ย ในปจั จบุ นั ประเทศไทยมผี สู้ งู อายทุ ง้ั หมด 8.63 ลา้ นคน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.7 ของประชากรทั้งหมด และคาดการณ์ว่า ภายในระยะเวลา 15 - 20 ปี ข้างหน้า ผู้สงู อายุไทยจะเพ่ิมกว่าเท่าตัวของจำนวนผสู้ ูงอายุ ในปัจจุบนั และ สัดส่วนของผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นร้อยละ 25 ของประชากรท้ังหมด ดังนั้น สังคมไทยจำเป็นต้องพิจารณาสถานะปัจจุบันของผู้สูงอายุ เพื่อให้เข้าใจถึง ภาวะคุณภาพชีวิต ความต้องการ ศักยภาพและปัญหาที่มีความเฉพาะ จำแนกเปน็ รายละเอยี ดดงั นี้ ข้อมลู ทั่วไปและการศึกษา จากการศึกษาพบว่า จำนวนผู้สูงอายุไทยเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง และผสู้ งู อายุวัยปลาย (อายุต้ังแต่ 80 ปขี ้ึนไป) เพ่มิ ขึ้นมากกวา่ ผู้สงู อายวุ ยั ตน้ (อายุ 60 - 69 ปี) และผสู้ ูงอายุวัยกลาง (อายุ 70 - 79 ปี) อยา่ งชดั เจน และ จำนวนผู้สูงอายุหญิงมากกว่าผู้สูงอายุชายอย่างชัดเจน จึงมีการกล่าวว่า “เรือ่ งของผสู้ งู อายเุ ปน็ เร่ืองของผ้หู ญงิ ” (Feminization of Elderly) คมู่ ือ 17 “แนวทางการดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภูมปิ ญั ญาพ้นื บา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สว่ นระดบั การศึกษา ในปี พ.ศ. 2550 ผ้สู งู อายุสว่ นใหญ่มีการศึกษา ค่อนข้างน้อย (ระดบั ประถมศึกษา) ผ้สู ูงอายุมีการศกึ ษานอ้ ยกวา่ ประชากร กลมุ่ อายุอืน่ อยา่ งชัดเจน และพบวา่ รอ้ ยละ 25 ของผู้สูงอายุไมร่ ู้หนงั สือ และ หญงิ สงู อายมุ สี ดั สว่ นทไ่ี มร่ หู้ นงั สอื สงู กวา่ ชายสงู อายอุ ยา่ งชดั เจน อยา่ งไรกต็ าม ในอนาคตผู้สูงอายุจะมีสัดส่วนท่ีมีระดับการศึกษาเพิ่มมากกว่าผู้สูงอายุใน ปัจจุบัน อันเป็นแนวโน้มที่อาจคาดการณ์ถึง การปรับตัว ทัศนคติ และ ความตอ้ งการด้านคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปลี่ยนแปลงไป ด้านครอบครวั ในสังคมไทยแบบประเพณี บุตรจะให้การดแู ลชว่ ยเหลอื และเก้ือกูลพอ่ แมย่ ามสงู อายุ นบั เปน็ หลกั ประกนั ของผสู้ งู อายยุ ามชราภาพ ในปี พ.ศ. 2544 ผู้สงู อายุไทยมจี ำนวนบตุ รโดยเฉลย่ี 5 คน ในอนาคตผู้สูงอายุไทยจะมจี ำนวน บุตรโดยเฉล่ีย 2 คน และจำนวนผู้สูงอายุที่เป็นคนโสด หย่าและแยกจะเพิ่ม มากข้นึ จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2550 พบวา่ ผสู้ ูงอายุร้อยละ 87 ไดร้ ับความ ช่วยเหลอื ด้านการเงนิ จากบตุ ร และร้อยละ 55 มีบตุ รเปน็ แหล่งรายไดห้ ลัก อยา่ งไรกต็ าม การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ ทรี่ วดเรว็ ความเปน็ เมอื งขยายตวั ครอบครัวมีขนาดเล็กลง และบุตรย้ายไปทำงานต่างถ่ิน ทำให้ผู้สูงอายุใน ชนบททพี่ กั อาศยั อยใู่ นบา้ นเดยี วกบั บตุ รลดลง นอกจากนี้ ยงั เกดิ ปรากฏการณ์ “ครวั เรอื นข้ามรุ่น” (Skip Generation Household) หมายถงึ ครวั เรอื นที่ ประกอบดว้ ยผสู้ ูงอายแุ ละหลานอย่างน้อยหนง่ึ คน แต่ไมม่ บี ุตร / บุตรเขย / บตุ รสะใภ้ พักอาศยั อย่ดู ว้ ยกันในครวั เรอื น แนวโนม้ ทผ่ี ู้สงู อายตุ ้องอาศัยอยู่ และเลย้ี งหลานทลี่ กู มาฝากดแู ลมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ โดยจากปี พ.ศ. 2537 มรี อ้ ยละ 10.5 เพิม่ เป็นรอ้ ยละ 14.3 ในปี พ.ศ. 2550 โดยผ้สู ูงอายจุ ะมบี ทบาทชว่ ย ดแู ลหลาน อันเป็นการเพิม่ ภาระด้านเศรษฐกจิ การดูแลดา้ นกายภาพ และ มีผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ สำหรับในกรณีท่ีผู้สูงอายุอยู่ร่วม 18 คูม่ ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บ้านกับครอบครัวของลูก ผู้สูงอายุต้องการจะช่วยเหลือกิจกรรมในบ้านอย่าง เตม็ ใจ เพื่อแบง่ เบาภาระของครอบครวั เช่น เลีย้ งหลาน ประกอบอาหาร ซักผา้ กวาดบา้ น ถบู ้าน และเฝ้าบา้ น เปน็ ตน้ สำหรบั ทศั นะของผสู้ งู อายตุ อ่ บทบาททเ่ี หมาะสมของตนเองในครอบครวั คอื การอบรมสง่ั สอนเพอ่ื ใหล้ กู หลานเปน็ คนดี ขยนั ศกึ ษาเลา่ เรยี น ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ปฏบิ ตั ติ นในสง่ิ ดงี ามเพอ่ื เปน็ คนดใี นอนาคต สว่ นบทบาทรอง คอื การชว่ ยเหลอื งานในบา้ น แตใ่ นความเปน็ จรงิ พบวา่ บทบาทการเปน็ ทป่ี รกึ ษาแกบ่ ตุ รหลาน ในครอบครวั ลดลงมาก ลกู หลานไม่เคยนำเรื่องใดมาปรกึ ษา เปน็ เพราะสงั คม มีการเปลย่ี นแปลง บุตรมีการศึกษาสูงข้นึ มรี ายได้สูงขน้ึ อีกทัง้ ทัศนคตติ อ่ ผู้ สงู อายแุ ละตอ่ ชวี ติ เปลยี่ นแปลงไป แตกตา่ งจากคนรนุ่ พอ่ แม่ จากการศกึ ษาพบวา่ คนไทยทมี่ ีอายุระหว่าง 18 - 59 ปี ประมาณหนึ่งในสามมที ศั นคติเชงิ ลบต่อ ผู้สูงอายุ เห็นว่าผู้สูงอายุตามโลกไม่ทัน เป็นภาระบุตรหลาน น่าเบื่อ ขี้บ่น และเปน็ ประโยชนน์ อ้ ย อยา่ งไรกต็ าม ผสู้ งู อายจุ ำนวนไมน่ อ้ ยยงั มบี ทบาทสำคญั ในการเป็นที่ปรึกษา และเก้ือกูลทางความคิด และทางจิตใจแก่บุคคลใน ครอบครัวและในชมุ ชน ด้านเศรษฐกจิ จากการสำรวจขอ้ มลู ในปี พ.ศ. 2550 ผสู้ งู อายรุ อ้ ยละ 35 ของผสู้ งู อายุ ทั้งหมด ยังคงทำงานเชิงเศรษฐกิจ และตลอดทศวรรษที่ผ่านมา อัตราส่วน การทำงานเชิงเศรษฐกิจของผู้สูงอายุเปล่ียนแปลงไม่มากนัก และสัดส่วน ผู้สูงอายุท่ีทำงานลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุในเขตชนบทมีสัดส่วนการ ทำงานสูงกว่า ผู้สูงอายุในเขตเมือง อาชีพท่ีทำงานมีทั้งในภาคเกษตรกรรม และนอกภาคเกษตกรรม เชน่ ธุรกจิ สว่ นตวั ธรุ กจิ ครอบครัว ลูกจา้ ง เป็นต้น ผู้สงู อายปุ ระมาณ หนงึ่ ในสามของผู้สงู อายุทง้ั หมด มีรายได้ตำ่ กว่า 20,000 บาทตอ่ ปี และผสู้ งู อายจุ ำนวนประมาณหนง่ึ ในหา้ ทร่ี ะบวุ า่ มรี ายไดไ้ มเ่ พยี งพอ คูม่ อื 19 “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายุดว้ ยภมู ปิ ญั ญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงาน และมีรายได้หลักจากบุตร ขาดหลักประกันในรูปเงินบำนาญหรือเงินออม อย่างไรก็ตามผู้สูงอายุ ประมาณร้อยละ 69 มีการออมหรือสะสมทรัพย์ท้ังในรูปสังหาริมทรัพย์ และอสงั หาริมทรัพย์ อนั เป็นหลักประกนั รายได้ และชว่ ยบรรเทาปัญหาทาง เศรษฐกิจได้ ดา้ นทีอ่ ยูอ่ าศัย และส่ิงแวดลอ้ ม ระยะทผ่ี า่ นมา สถานทอ่ี ยอู่ าศยั และสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกบั ผสู้ งู อายุ ไม่ได้รับความสนใจมากนัก ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ท่ีอยู่อาศัยของ ผู้สูงอายุได้รับความสนใจมากข้ึน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในบ้านหรือท่ีอยู่อาศัย ทแ่ี ตกตา่ งกนั ตามสภาวะเศรษฐกจิ นบั ตงั้ แต่ เพงิ พกั กระทอ่ ม บา้ นไมย้ กพนื้ สงู เรือนไมแ้ ถว ทาวเฮ้าส์ และบ้านเดย่ี ว สำหรับผ้สู งู อายใุ นชนบทสว่ นใหญม่ ที ี่ พักอาศัยในลักษณะยกพ้ืนสูง รูปแบบห้องส้วมแบบนั่งยอง ห้องนอน และส่ิงแวดล้อมในชีวิตประจำวัน ยังมีความเสี่ยง และไม่เหมาะสมสำหรับ 20 คูม่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพืน้ บา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ อาจเกิดอุบัติเหตุ และนำไปสู่การบาดเจ็บหรือ พกิ ารได้ นอกจากนี้ยังมสี ภาวะแวดล้อมนอกบ้าน เช่น ถนน เส้นทางเดินเท้า ทางข้ามถนน หรือพาหนะสัญจรสำหรับผู้สูงอายุ สวนหรือสถานที่พักผ่อน เป็นต้น เหล่านี้ยังมีความจำกัดและไม่เอ้ือต่อการใช้ชีวิตอย่างอิสระของ ผู้สงู อายุ สำหรับผู้สูงอายุในเมืองยังมีการสะท้อนถึงบ้านท่ีอยู่อาศัยที่แออัดและ มีเสียงดัง มีการทะเลาะกันกับเพื่อนบ้านหรือคนในบ้าน หรือมีเสียงทะเลาะ ของเพื่อนบ้าน อันแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทางสังคมในเขตเมืองที่ ไมเ่ หมาะสมกบั การอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ สถานการณด์ า้ นสุขภาพของผ้สู งู อายไุ ทย ภาวะสุขภาพ และปัญหาสขุ ภาพของผู้สงู อายจุ ะมีปรากฏการณ์เพม่ิ ขน้ึ ตามอายุของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น หากพิจารณาภาวะสุขภาพหรือสุขภาวะของ ผสู้ งู อายุ ภาวะสขุ ภาพดขี องผสู้ งู อายุ หมายถงึ ภาวะทม่ี สี ขุ ภาพดที งั้ กายและใจ มีชีวิตท่ีพ่ึงพาตนเองได้ สามารถใช้ชีวิตอย่างอิสระและพ่ึงพาตนเองในชีวิต ประจำวันได้ สามารถทำงานและให้การเกื้อกูลบุตรหลานหรือครอบครัวได้ และอยู่ภายใต้ครอบครัว สังคมและส่ิงแวดล้อมที่เอ้ืออำนวยต่อคุณภาพชีวิต สถานการณ์ดา้ นสุขภาพของผสู้ ูงอายไุ ทยจำแนกเป็น 3 ดา้ น คอื ภาวะสุขภาพของผสู้ ูงอายุ ในปี พ.ศ. 2551 สถาบนั เวชศาสตรผ์ สู้ งู อายุ กรมการแพทย์ มกี ารสำรวจ ภาวะสุขภาพผู้สูงอายุและจากการประเมินสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ พบว่า ภาวะสขุ ภาพของผ้สู งู อายุแบ่งเป็น 3 กลุม่ ประกอบด้วย กลุ่มท่ีหนึง่ เป็นกลมุ่ ท่ีดูแลตนเองได้ สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เองไม่ต้องมีคนช่วย และมี คู่มือ 21 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ งู อายุด้วยภมู ปิ ัญญาพ้นื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สุขภาพดมี ีสัดส่วนประมาณร้อยละ 85.3 กลุ่มที่สอง เป็นกลุ่มท่ีเร่ิมมีภาวะ พึ่งพาและต้องการผู้ดูแลบางส่วน มีสัดส่วนร้อยละ 13.8 และกลุ่มท่ีสาม เป็นกลมุ่ ทตี่ ้องพึ่งพาผ้อู ืน่ มสี ัดสว่ นร้อยละ 0.9 และจากการศกึ ษาในประเดน็ นี้ พบวา่ สดั สว่ นผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะสขุ ภาพดมี คี วามแตกตา่ งกนั บา้ ง อยา่ งไรกต็ าม ภาพรวมอาจกล่าวได้ว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประเมินว่า ตนเองมีสุขภาพดี รองลงมาคอื ปานกลาง ไมด่ ีและไม่ดีมาก ๆ เปน็ ลำดบั นอกจากน้ี ยังพบว่า ผู้สูงอายจุ ำนวน 1 ใน 5 มปี ัญหาการกลั้นปสั สาวะ / อจุ จาระ ไดบ้ างคร้งั และกลั้นไม่ได้เลย และจากการสำรวจสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน พบวา่ ผ้สู ูงอายทุ ้งั ชายและหญิง มีปัญหาโภชนาการ และมแี นวโน้มมากขนึ้ เมอื่ อายุมากข้นึ ทั้งน้อี าจสัมพนั ธก์ บั พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร เช่น การรับประทานอาหารคนเดียวเป็นประจำ การรับประทานอาหารไม่ครบม้อื และการรบั ประทานผกั ผลไมใ้ นปรมิ าณนอ้ ยกวา่ มาตรฐาน เปน็ ตน้ นอกจากน้ี 22 ค่มู อื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพืน้ บ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถาบนั เวชศาสตรผ์ สู้ งู อายยุ งั พบวา่ ผสู้ งู อายมุ ากกวา่ รอ้ ยละ 10 ยงั คงสบู บหุ รี่ และผทู้ สี่ บู บหุ รท่ี กุ วนั ลดลงตามอายทุ มี่ ากขนึ้ สว่ นพฤตกิ รรมการดมื่ สรุ า พบวา่ ผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 ยังดื่มสุรา และผู้สูงอายุที่ด่ืมสุราทุกวันลดลง ตามอายทุ ม่ี ากข้ึน ในปี พ.ศ.2551 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ กรมสุขภาพจิต และสถาบันวจิ ัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลยั มหิดล ไดส้ ำรวจสขุ ภาพจิต ของคนไทยและผ้สู งู อายุ พบวา่ ผู้สงู อายปุ ระมาณหน่ึงในสี่มีคะแนนสุขภาพ จิตสงู กว่าคนทว่ั ไป และผสู้ งู อายุประมาณครึ่งหนึ่งมคี ะแนนสุขภาพจิตเทา่ กบั คนท่ัวไป และผู้สูงอายุประมาณหน่ึงในห้ามีคะแนนสุขภาพจิตต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน ผ้สู ูงอายุชายมคี ะแนนสขุ ภาพจติ สงู กว่าผ้สู งู อายุหญิง และผสู้ งู อายุ ในเขตเมอื งมคี ะแนนสขุ ภาพจติ ดกี วา่ ในเขตชนบท แสดงถงึ ผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญ่ มีสุขภาพจิตดี สุขภาพจิตของผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับ ระดับการศึกษา และยังมีผู้สูงอายุร้อยละ 32.8 ดูแลสุขภาพจิตและปฏิบัติ ตามหลักคำสอนของศาสนา โดยนำหลักคำสอนศาสนามาแก้ปัญหาชีวิต และการงาน ทำใหส้ ุขภาพจติ ดขี ึ้น ปัญหาสขุ ภาพของผู้สงู อายุ จากรายงานการสำรวจสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย ครง้ั ที่ 1 (พ.ศ. 2534 – 2535) พบวา่ ปญั หาปวดข้อและปวดหลงั เรอ้ื รังเปน็ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง และจากฐานข้อมูลของ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่เป็นสาเหตุให้ผู้สูงอายุเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล 6 อันดับแรก คือ (1) ความดันโลหิตสูง (2) ความผิดปกติของ ต่อมไร้ท่อ ภาวะโภชนาการและการเมตาบอลิซึ่ม (3) โรคเบาหวาน (4) โรคโลหิตจาง (5) โรคเจบ็ ป่วยอ่ืน ๆ และ (6) ไตวาย นอกจากน้ยี งั มี คมู่ ือ 23 “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพื้นบา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรคและความเจ็บป่วยท่ีพบบ่อยของผู้สูงอายุไทย คือ การกลั้นปัสสาวะไม่ได้ อุบัตเิ หตแุ ละการบาดเจบ็ โรคข้อเขา่ เส่อื ม / ปวดเขา่ โรคกระดกู พรนุ อาการ สมองเสื่อม กลุ่มอาการอัมพฤกษ์ – อัมพาต ภาวะซึมเศร้า อาการท้องผูก โรคตอ้ กระจกและตอ้ หนิ อาการหหู นวก – หตู งึ และอาการติดเชื้อซฟิ ลิ ิส ภาวะพกิ ารของผ้สู ูงอายุ ในภาพรวม ผู้สูงอายุไทยมีอายุยืนยาวข้ึน แต่มิได้หมายความว่า ผู้สูงอายุท้ังหมดจะมีสุขภาพดี และไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น ระยะท่ีผ่านมา จำนวน ผู้สูงอายุวัยปลายที่อายุ 80 ปีขึ้นไป และมีชีวิตอยู่อย่างพ่ึงพาผู้อ่ืนมีจำนวน เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และยงั มปี ญั หาสขุ ภาพทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความพกิ าร หรอื ภาวะ ทุพพลภาพ หรือภาวะติดเตียง กลายเป็นผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพิการ “ผู้สูงอายุ ที่พิการ” คอื ผูท้ ี่มีอายุต้ังแต่ 60 ปีข้ึนไป ท่ีมีความลำบากหรอื ปญั หาสุขภาพ ต่อเนอ่ื ง ต้งั แต่ 6 เดอื นขึ้นไป และผูส้ ูงอายทุ ม่ี คี วามลำบากในการดูแลตนเอง รวมท้ัง ผู้ที่มีลักษณะความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจหรือสติปัญญา ในปี พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ มีการสำรวจความพิการ พบว่า 24 คู่มือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายดุ ว้ ยภูมิปัญญาพืน้ บา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จำนวนของผู้สูงอายุท่ีพิการมีประมาณ 1.06 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 15.3 ของผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวนผู้สูงอายุที่พิการจะเพิ่มขึ้นตามอายุท่ีเพิ่มขึ้น น่ันหมายถึง ความพิการมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับอายุของผู้สูงอายุ กลมุ่ ผูส้ งู อายทุ ่มี คี วามพกิ ารมากท่ีสุด คอื กลมุ่ อายุตั้งแต่ 75 ปขี ้ึนไป ผสู้ ูงอายุ นอกเขตเทศบาลมีสัดส่วนของผู้สูงอายุพิการมากกว่าในเขตเทศบาลเกือบ เท่าตัว และภาคเหนือมีจำนวนผู้สูงอายุที่พิการ สูงกว่าภาคอ่ืน ผู้สูงอายุท่ี พกิ ารจะมีความลำบากในการดูแลตนเองในกิจวัตรประจำวนั และมีลักษณะ ความบกพร่องหรือปญั หาสุขภาพ 1 ลักษณะ ผู้สูงอายุที่พิการจำเป็นต้องมี “ผู้ดูแล (Caretaker)” ผู้ดูแลอาจเป็น สมาชิกภายในครอบครัวท่ีอยู่ร่วมกับผู้สูงอายุ โดยดูแลครอบคลุมทุกด้าน ท้ังด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ และด้านที่อยู่อาศัย ปัจจุบันครอบครัวไทย ส่วนใหญ่ยังคงมีบุตรหรือคนในครอบครัวดูแลผู้สูงอายุ หรืออาจเป็นผู้ดูแล ท่ีมาจากสถาบันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์กรสาธารณประโยชน์ โดยเป็นการดูแลและให้บริการช่วยเหลือตามท่ีกำหนด ผู้สูงอายุจะได้รับการ ดูแลโดยเสียค่าบริการบางส่วน หรือเป็นไปแบบสงเคราะห์ ปี พ.ศ. 2551 สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนษุ ย์ มนี โยบายสง่ เสรมิ และพฒั นาอาสาสมคั รดแู ลผสู้ งู อายุ (อผส.) มจี ำนวน 6,800 คน ใน 75 จงั หวัดท่ัวประเทศ สามารถให้การดแู ลผ้สู งู อายุได้จำนวน 75,597 คน แต่หากเทียบเคียงกับความต้องการการดูแลผู้สูงอายุท่ีพิการ จะเหน็ ไดว้ า่ สถานการณย์ งั ขาดแคลนทง้ั จำนวน และคณุ ภาพอกี มาก ขณะน้ี ผู้สูงอายุท่ีพิการเกือบทั้งหมดได้รับสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลจากสวัสดิการ ภาครัฐ ได้แก่ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการข้าราชการ / ขา้ ราชการบำนาญ / รัฐวสิ าหกจิ และกองทุนประกนั สงั คม และยงั คงตอ้ งการ ความช่วยเหลือ ผู้ดูแลจากภาครัฐ อีกหลายด้าน ได้แก่ ความต้องการ ค่มู ือ 25 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพน้ื บา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เงินสนับสนุน ความต้องการพยาบาลเย่ียมบ้านเป็นครั้งคราวหรือยามจำเป็น ความต้องการรายได้ ความต้องการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่าง สะดวก การบริการรถรับส่ง การฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้สูงอายุที่บ้าน หรือ ชุมชน ผู้ดูแลและช่วยเหลือการทำกิจวัตรประจำวันท่ีมีมาตรฐานและถูกต้อง และการดัดแปลงทีพ่ กั ให้เหมาะสมต่อการดแู ลผสู้ ูงอายุ เป็นต้น แนวคดิ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของแผนผู้สงู อายแุ หง่ ชาติ ประเทศไทยกา้ วสู่ “สงั คมสงู วยั (Aging Society)” นบั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2548 สงั คมไทยและรฐั บาลไทยมภี ารกจิ คมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื ผสู้ งู อายอุ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เรม่ิ จากปี พ.ศ. 2540 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 ไดร้ ะบถุ งึ สิทธิของผู้สูงอายุที่ได้รับการช่วยเหลือและสงเคราะห์จากภาครัฐอย่างชัดเจน 26 ค่มู ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผ้สู ูงอายุดว้ ยภมู ปิ ญั ญาพื้นบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้ขยายสิทธิด้าน สงเคราะห์ ด้านสวัสดกิ าร และการออมเพอื่ ดำรงชพี ยามชราของผ้สู ูงอายุที่ ชดั เจนมากขน้ึ จากนน้ั ในปี พ.ศ. 2542 รฐั บาลไดจ้ ดั ทำและประกาศ “ปฏญิ ญา ผสู้ งู อายไุ ทย” ณ ตกึ สนั ตไิ มตรี ทำเนยี บรฐั บาล มจี ำนวน 9 ขอ้ ระบถุ งึ คณุ คา่ ศักด์ิศรี และสิทธิของผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการพิทักษ์และคุ้มครอง ตลอดจน ควรได้รับโอกาสจากสงั คมในการเรยี นรู้ พฒั นาศกั ยภาพตนเอง ควรได้ทำงาน ตามความสมคั รใจ และไดถ้ า่ ยทอดความรแู้ ละประสบการณใ์ หส้ งั คม นอกจากน้ี ยังให้ภาครัฐและองค์กรทางสังคม กำหนดนโยบาย แผนหลัก และกฎหมาย วา่ ดว้ ยผ้สู งู อายุ ตลอดจนรณรงค์ปลกู ฝงั คา่ นิยมใหต้ ระหนักถึงคุณคา่ ผ้สู ูงอายุ ตามวฒั นธรรมไทย คมู่ อื 27 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 รัฐบาลไทย โดยกระทรวงพฒั นาสงั คมและความ มน่ั คงของมนษุ ย์ จงึ มกี ารตราและประกาศใช้ “พระราชบญั ญัติผสู้ งู อายุ พ.ศ. 2546” ขนึ้ สาระสำคญั คอื การกำหนดใหม้ ี “คณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาต”ิ ขึน้ ภารกิจ คอื การกำหนดนโยบาย แผนหลัก และจดั สวัสดกิ ารใหผ้ สู้ ูงอายุ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีสำนักงานส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ สำนกั งานสง่ เสรมิ สวสั ดภิ าพและพทิ กั ษเ์ ดก็ เยาวชน ผดู้ อ้ ยโอกาส และผสู้ งู อายุ เป็นเลขานุการ นอกจากนี้ ภายใน พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ ยังกำหนดสิทธิผู้สูงอายุ ท่ไี ด้รบั คุม้ ครอง สง่ เสริมและสนับสนนุ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน ครอบคลมุ ดา้ นบรกิ าร ทางการแพทย์ การศึกษา การประกอบอาชีพ การพัฒนาตนเอง การอำนวย ความสะดวกดา้ นคมนาคม และสถานที่ การชว่ ยเหลือ การสงเคราะหแ์ ละ สนับสนุนเบ้ียยังชีพ และยังมกี ารจัดตั้ง “กองทุนผู้สูงอายุ” เพอื่ เป็นทนุ ใช้จ่าย ในงานตามพระราชบัญญตินี้ สำหรบั แผนงานและยทุ ธศาสตรด์ า้ นผสู้ งู อายปุ รากฎอยใู่ น 2 แผนงานหลกั คอื แผนงานพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) และแผนผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545-2564) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) นับเป็นแผนงานฉบับแรกท่ีมีการบูรณาการประเด็นผู้สูงอายุเข้าสู่ แผนพัฒนาประเทศ มกี ารให้ความสำคัญและเตรยี มความพร้อมสู่สังคมสูงวยั และพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ มีสาระเกี่ยวกับผู้สูงอายุบูรณาการใน ยทุ ธศาสตร์ 3 ดา้ น คือ ยทุ ธศาสตรก์ ารปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ใหส้ มดลุ และยง่ั ยนื เปน็ การเตรียมความพรอ้ มเพ่ือสังคมสงู วยั ดว้ ยการสง่ เสรมิ การออม เพ่อื สรา้ ง หลกั ประกนั ในชีวติ ให้ประชาชน การพฒั นาระบบการออม เชน่ พฒั นากองทนุ 28 คูม่ อื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายุดว้ ยภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การออมให้เป็นระบบการออมเพื่อยามชราภาพ สำหรับแรงงานนอกระบบ เพ่ือให้ครอบคลุมแรงงานทั้งภาคในระบบและนอกระบบ นอกจากน้ียังให้ ความสำคัญกับการขยายโครงสร้างพื้นฐานและโครงข่ายการให้บริการด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชน โดยเฉพาะ ผู้สูงอายุสามารถเรียนรแู้ ละเข้าถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารได้มากขึ้น ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคม ภมู ปิ ญั ญาและการเรยี นรู้ อาทเิ ชน่ การสง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายถุ า่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา ให้กับคนรุ่นหลัง โดยผ่านศูนย์เรียนรู้ในชุมชน การส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผู้สงู อายดุ ้วยการขยายโอกาสให้ผสู้ งู อายุสามารถเข้าถงึ บรกิ ารทางสงั คมต่าง ๆ ได้อย่างท่ัวถึง ไม่ว่าจะเป็นด้านการพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ต่อเนื่อง ตลอดชวี ิต การทำงานการส่งเสรมิ สขุ ภาพ ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเขม้ แข็งของชมุ ชนและสังคมให้เป็น รากฐานที่มนั่ คงของประเทศไทย การส่งเสรมิ ศกั ยภาพของชมุ ชนและองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มคี วามสามารถในการจดั บรกิ ารทางคมนาคมขน้ั พน้ื ฐาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับประชากรแต่ละช่วงวัย เช่น การจัด บริการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชน การดูแลด้านสิทธิมนุษยชน และการให้ การคมุ้ ครองและช่วยเหลอื ผูส้ ูงอายทุ ่ถี ูกกระทำ ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ได้จัดทำแนวทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนา ผู้สูงอายุอย่างบูรณาการ เพื่อให้เกิดการทำงานเชิงรุก โดยมีแนวคิดท่ีให้ ความสำคัญกับการพฒั นาคน และระบบคมุ้ ครองทางสังคมทีเ่ นน้ ทุกภาคสว่ น มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมสวัสดิการ เพ่ือให้ประชากรไทยทุกกลุ่มวัยมี หลกั ประกนั ยามชราภาพอย่างทวั่ ถึงและมั่นคง รวมทงั้ ได้เสนอกรอบทิศทาง ในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาผ้สู งู อายุ 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย (1) การสรา้ ง คู่มือ 29 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายุดว้ ยภูมปิ ัญญาพ้นื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลกั ประกนั ความมน่ั คงทางรายไดด้ ว้ ยการสง่ เสรมิ การออมของประชากรทกุ วนั ส่งเสริมการทำงานในกลุ่มผู้สูงอายุท้ังภาคในระบบและนอกระบบ ส่งเสริม ศักยภาพผู้สูงอายุในฐานะภูมิปัญญาทางสังคม (2) การพัฒนาระบบสังคม สวัสดิการท่ีเน้นทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมช่วยกันเพื่อให้ทั่วถึงและยั่งยืน เช่น การพฒั นาระบบการดแู ลระยะยาว การพฒั นาบคุ ลากรทเ่ี ชย่ี วชาญดา้ นการดแู ล ผู้สงู อายุ (3) การพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมและเอ้อื ต่อการดำเนินชวี ิต ผู้สูงอายุ (4) พัฒนากลไกการบริหารจัดการผู้สูงอายุในระดับภูมิภาคและ ทอ้ งถน่ิ รวมทง้ั การพฒั นาและเชอ่ื มโยงฐานขอ้ มลู และองคก์ รความรเู้ พอ่ื พฒั นา ศักยภาพผู้สูงอายุ แผนผู้สูงอายแุ ห่งชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ปรชั ญา ผสู้ งู อายไุ มใ่ ชบ่ คุ คลดอ้ ยโอกาสหรอื เปน็ ภาระตอ่ สงั คม ผสู้ งู อายสุ ามารถ มีสว่ นร่วมและเป็นพลงั พฒั นาสังคม จึงควรได้รบั การสง่ เสรมิ และเกอ้ื กลู จาก 30 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายุด้วยภมู ิปัญญาพืน้ บ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ครอบครัว ชุมชน และภาครัฐให้ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า มีศักด์ิศรี และ คงไวซ้ ง่ึ ภาวะสขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ด่ี ใี หน้ านทส่ี ดุ การสรา้ งหลกั ประกนั ของ วัยสูงอายุเป็นกระบวนการสร้างความม่ันคงของสังคม ภายใต้การมีส่วนร่วม ของภาครฐั ภาคสังคม และภาคประชาชน สำหรบั ผู้สงู อายุที่ประสบความ ทกุ ขย์ าก ตอ้ งได้รับการเกื้อกูลจากครอบครวั ชมุ ชน สังคมและภาครฐั อย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม วิสัยทศั น์ “ผสู้ งู อายุเปน็ หลกั ชัยของสงั คม” 1. ผสู้ งู อายุที่มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี คอื - มีสขุ ภาพที่ดีทั้งกายและจติ - ครอบครัวมีสุข สังคมเอ้ืออาทร อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสม ปลอดภัย - มหี ลกั ประกนั ทม่ี น่ั คง ไดร้ บั สวสั ดกิ ารและการบรกิ ารทเ่ี หมาะสม - อย่อู ยา่ งมคี ุณค่า มศี ักดิ์ศรี พงึ่ ตนเองได้ เปน็ ทยี่ ึดเหนย่ี วทางจติ ใจ และมีสว่ นร่วมในครอบครัว ชมุ ชน และสังคม - มโี อกาสเขา้ ถึงข้อมลู และข่าวสารอยา่ งต่อเนอื่ ง 2. ครอบครวั และชมุ ชนเป็นสถาบันหลกั ทีม่ คี วามเขม้ แข็ง สามารถให้ การเก้ือหนุนแก่ผูส้ ูงอายุไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ 3. ระบบสวสั ดกิ ารและบรกิ ารจะตอ้ งสามารถรองรบั ผสู้ งู อายใุ หส้ ามารถ ดำรงอยู่กับครอบครัวและชมุ ชนไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพและมีมาตรฐาน 4. ทุกภาคส่วนจะต้องมีส่วนร่วมในระบบสวัสดิการและบริการให้แก่ ผู้สูงอายุ โดยมกี ารกำกบั ดูแลเพอื่ การคมุ้ ครองผ้สู งู อายุในฐานะผูบ้ ริโภค 5. ต้องการดำเนินการเหมาะสมเพ่ือช่วยให้ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและ ตอ้ งการการเกอื้ กลู ใหด้ ำรงชวี ิตอยูใ่ นชุมชนไดอ้ ยา่ งดแี ละต่อเน่อื ง คมู่ ือ 31 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการดำรงชีวิตอย่าง มคี ุณค่า มีศักดศิ์ รี พ่ึงตนเองได้ และมหี ลักประกันท่ีมนั่ คง 2. เพือ่ สร้างจิตสำนึกให้สังคมไทยตระหนกั ถงึ ผู้สูงอายใุ นฐานะบคุ คลที่ มีประโยชนต์ ่อส่วนรวม และสง่ เสริมให้คงคณุ ค่าไวใ้ หน้ านทส่ี ดุ 3. เพื่อให้ประชากรทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมการ และมกี ารเตรียมความพรอ้ มเพ่อื การเปน็ ผู้สูงอายทุ ่มี ีคณุ ภาพ 4. เพื่อให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน ท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ตระหนกั และมีสว่ นร่วมในภารกิจด้านผสู้ ูงอายุ 5. เพือ่ ใหม้ กี รอบและแนวทางการปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกบั ผ้สู งู อายสุ ำหรับ ทุกภาคสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ ง อันจะนำไปสกู่ ารบรู ณาการงานด้านผ้สู งู อายุ ยทุ ธศาสตรแ์ ละมาตรการ ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการเตรยี มความพรอ้ มของประชากรเพื่อวยั สงู อายุ ที่มคี ณุ ภาพ มาตรการ 1 หลกั ประกันดา้ นรายได้เพอ่ื วยั สูงอายุ (1) ขยายหลกั ประกนั ชราภาพใหค้ รอบคลุมถ้วนหนา้ (2) ส่งเสรมิ และสร้างวินยั การออมทุกชว่ งวัย มาตรการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ (1) สง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ และพฒั นาการจดั บรกิ ารการศกึ ษา และการเรยี นรู้ ตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ ทง้ั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพื่อความเข้าใจชีวิตและพัฒนาการในแต่ละวัย และเพ่ือเตรียมตัวเข้าสู่วัย สูงอายุที่เหมาะสม 32 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผูส้ ูงอายดุ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาพื้นบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2) รณรงค์ให้สังคมตระหนักถึงความจำเป็นของการเตรียมการเข้าสู่ การเป็นผู้สูงอายุ มาตรการ 3 การปลกู จติ สำนกึ ใหค้ นในสงั คมตระหนกั ถงึ คณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รี ของผู้สูงอายุ (1) สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนทกุ วยั เรยี นรแู้ ละมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลรบั ผดิ ชอบ ผสู้ ูงอายุในครอบครัวและชุมชน (2) ส่งเสรมิ ใหม้ ีกิจกรรมสมั พนั ธ์ระหว่างผูส้ งู อายุกับคนทกุ วัย โดยเป็น สว่ นหนึง่ ของกิจกรรมการศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม และการกีฬา (3) รณรงค์ให้สังคมมีจิตสำนึกและตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของ ผูส้ งู อายุ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ยุทธศาสตร์ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาผ้สู ูงอายุ มาตรการ 1 สง่ เสริมสุขภาพ ปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ย และดูแลตนเองเบอ้ื งต้น (1) จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบที่หลากหลายและเหมาะสม แก่ผสู้ งู อายุและครอบครวั มาตรการ 2 สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ และสรา้ งความเขม้ แขง็ ขององคก์ รผสู้ งู อายุ (1) สง่ เสริมการจัดตง้ั และดำเนนิ งานชมรมผสู้ งู อายแุ ละเครือขา่ ย (2) สนับสนนุ กจิ กรรมขององคก์ รเครอื ขา่ ยผสู้ ูงอายุ มาตรการ 3 สง่ เสริมด้านการทำงานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ (1) ส่งเสริมการทำงานทั้งเต็มเวลาและไม่เต็มเวลา ท้ังในระบบและ นอกระบบ (2) ส่งเสริมการฝึกอาชีพและจัดหางานให้เหมาะสมกับวัย และ ความสามารถ คมู่ อื 33 “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมปิ ญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (3) ส่งเสริมการรวมกลุ่มในชุมชนเพื่อจัดกิจกรรมเสริมรายได้ โดยให้ ผู้สูงอายุสามารถมสี ว่ นรว่ ม มาตรการ 4 สนับสนนุ ผู้สูงอายุทมี่ ศี ักยภาพ (1) ประกาศเกยี รติคุณผูส้ งู อายุท่เี ป็นตัวอย่างทด่ี ขี องสงั คม (2) สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ คลงั ปญั ญากลางของผสู้ งู อายุ เพอ่ื รวบรวมภมู ปิ ญั ญา ในสังคม (3) สง่ เสริมและเปดิ โอกาสใหม้ ีเผยแพร่ภมู ปิ ัญญาของผู้สูงอายุ และให้ มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมดา้ นต่าง ๆ ในสังคม มาตรการ 5 สง่ เสริมสนับสนนุ สอื่ ทกุ ประเภทให้มรี ายการเพื่อผู้สงู อายแุ ละ สนับสนุนให้ผสู้ ูงอายไุ ด้รบั ความรู้และสามารถเขา้ ถงึ ข่าวสารและส่ือ (1) สง่ เสริมสนับสนุนสอื่ ทุกประเภทใหม้ รี ายการเก่ียวกบั ผูส้ งู อายุ (2) ส่งเสริมการผลิต การเข้าถึงส่ือ และการเผยแพร่ข่าวสารสำหรับ ผูส้ ูงอายุ (3) ดำเนินการให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ ได้อย่างต่อเน่อื ง มาตรการ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพ แวดลอ้ มที่เหมาะสม (1) สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหค้ วามรแู้ กค่ รอบครวั และผสู้ งู อายใุ นการปรบั ปรงุ ท่ีอยู่อาศัยเพอ่ื รองรบั ความตอ้ งการในวัยสูงอายุ (2) กำหนดมาตรการแหลง่ เงนิ กดู้ อกเบยี้ ตำ่ เพอื่ สรา้ ง/ปรบั ปรงุ ทอ่ี ยอู่ าศยั และระบบสาธารณปู โภคสำหรบั ผ้สู ูงอายุ (3) มีการออกกฎหมายให้สิทธิพิเศษแก่ภาคเอกชนท่ีจัดบริการด้านที่ พักอาศยั ที่ไดม้ าตรฐานสำหรบั ผ้สู งู อายุ 34 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู ูงอายุด้วยภมู ิปัญญาพืน้ บา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นระบบค้มุ ครองทางสังคมสำหรับผสู้ งู อายุ มาตรการ 1 คุม้ ครองดา้ นรายได้ (1) สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายทุ กุ คนไดร้ บั สวสั ดกิ ารดา้ นรายไดพ้ น้ื ฐานทร่ี ฐั จดั ให้ (2) สง่ เสรมิ การจดั ต้ังกองทนุ ในชมุ ชนสำหรับผสู้ งู อายุ มาตรการ 2 หลกั ประกันดา้ นสขุ ภาพ (1) พัฒนาและส่งเสริมระบบประกันสุขภาพท่ีมีคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ ทุกคน (2) สง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพ และการตรวจสขุ ภาพประจำปี อยา่ งท่วั ถงึ (3) ใหว้ ัคซนี ทจ่ี ำเปน็ ตามมาตรฐานการปอ้ งกัน และสง่ เสริมสุขภาพแก่ ผูส้ ูงอายุ (4) รฐั ต้องใหอ้ ุปกรณ์ช่วยในการดำรงชวี ิตประจำวันตามทีจ่ ำเป็น เชน่ แวน่ ตา ไมเ้ ทา้ รถเข็น ฟันเทียม แก่ผ้สู งู อายุ มาตรการ 3 ด้านครอบครวั ผู้ดแู ล และการคุ้มครอง (1) สง่ เสริมให้ผ้สู ูงอายไุ ด้อยูก่ ับครอบครัวใหน้ านท่สี ดุ โดยการส่งเสรมิ ค่านิยมในการอยู่ร่วมกับผสู้ งู อายุ (2) ส่งเสริมสมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลให้มีศักยภาพในการดูแล ผสู้ งู อายุ โดยการใหค้ วามรแู้ ละขอ้ มลู แกส่ มาชกิ ในครอบครวั และผดู้ แู ลเกย่ี วกบั การบรกิ ารต่าง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ มาตรการ 4 ระบบบริการและเครอื ข่ายการเก้ือหนุน 4.1 ปรบั ปรงุ บรกิ ารสาธารณะทกุ ระบบใหส้ ามารถอำนวยความสะดวก แก่ผสู้ งู อายใุ นการดำรงชีวิตและติดตอ่ สัมพันธก์ บั สงั คม กลมุ่ และบคุ คล ค่มู อื 35 “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (1) ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุทราบถึงอัตราค่าโดยสารของ ระบบขนสง่ สาธารณะ และระบบขนสง่ มวลชนตา่ งๆ ทล่ี ดหยอ่ นใหแ้ กผ่ สู้ งู อายุ (2) ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงบริการระบบขนส่งสาธารณะทุกประเภท ใหผ้ สู้ งู อายเุ ขา้ ถงึ และใชไ้ ดอ้ ยา่ งสะดวก เหมาะสมกบั ผสู้ งู อายตุ ลอดระยะเวลา ใหบ้ รกิ าร โดยมีการประกาศเกียรตคิ ุณแก่หนว่ ยงานบรกิ ารที่มผี ลงานดีเดน่ (3) ส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนที่รับผิดชอบสถานท่ีสาธารณะปฏิบัติ ตามมาตรฐานสถานที่สาธารณะสำหรบั ผ้สู งู อายุ (4) จดั สง่ิ อำนวยความสะดวกทใ่ี ชไ้ ดจ้ รงิ ในสถานทส่ี าธารณะแกผ่ สู้ งู อายุ เช่น ถนน ทางเดินสาธารณะในเขตชุมชน สะดวก เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ และผู้พกิ าร (5) จัดให้มีสวนสาธารณะและพื้นที่ออกกำลังกายที่เพียงพอและ เหมาะสมปลอดภัยสำหรบั ผ้สู งู อายุ 4.2 จัดต้ังและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคม รวมทั้งระบบ การดแู ลผู้สูงอายใุ นระยะยาวในชุมชนทีส่ ามารถเข้าถงึ ผ้สู ูงอายุมากที่สดุ โดย เน้นบริการถึงบ้านและมีสอดประสานกันระหว่างบริการทางสุขภาพและทาง สังคม โดยควรครอบคลมุ บรกิ าร ดังต่อไปน้ี (1) สนับสนุนการดูแลระยะยาว (2) ระบบประคบั ประคอง (3) ดูแลโรคเรื้อรังท่ีสำคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ โรคหลอดเลือดในสมอง (4) อาสาสมคั รในชุมชน (5) สนับสนนุ ใหผ้ ู้ดแู ลมีความรคู้ วามสามารถในการดูแลผสู้ ูงอายุ 4.3 ส่งเสรมิ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น องคก์ รทางศาสนา องคก์ ร เอกชน และองค์กรสาธารณประโยชน์มีสว่ นรว่ มในการดแู ลจัดสวัสดกิ ารเพื่อ ผู้สงู อายุ โดยกระบวนการประชาคม 36 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู ูงอายุด้วยภมู ิปญั ญาพ้ืนบ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4.4 เก้อื หนนุ ใหเ้ อกชน และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ จัดบริการด้าน สุขภาพและสังคมให้แก่ผู้สูงอายุท่ีสามารถซ้ือบริการได้ โดยมีการดูแลและ กำกบั มาตรฐานและคา่ บรกิ ารท่ีเปน็ ธรรมร่วมด้วย 4.5 รัฐมีระบบและแผนเพ่ือการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุเมื่อเกิด ภัยพบิ ัติ 4.6 สง่ เสรมิ ใหโ้ รงพยาบาลของรัฐ และเอกชนมบี รกิ ารแพทยท์ างเลอื ก 4.7 จดั ตงั้ คลนิ คิ ผสู้ งู อายใุ นโรงพยาบาลของรฐั ทม่ี จี ำนวนเตยี งตง้ั แต่ 120 เตยี งขึ้นไป ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตรด์ า้ นการบรหิ ารจดั การเพอ่ื การพัฒนางานดา้ นผสู้ งู อายุ อยา่ งบรู ณาการระดบั ชาติ และการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นผสู้ งู อายุ มาตรการ 1 การบรหิ ารจดั การเพอ่ื การพฒั นางานดา้ นผสู้ งู อายอุ ยา่ งบรู ณาการ ระดบั ชาติ (1) เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ คณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาติ ใหส้ ามารถ ผลักดนั นโยบายและภารกจิ ทส่ี ำคัญด้านผู้สูงอายสุ กู่ ารปฏบิ ัติ (2) ให้คณะอนุกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุ จงั หวัด ในคณะกรรมการสง่ เสริมการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมจังหวดั เป็นเครอื ขา่ ย การบรหิ ารและพัฒนาผ้สู งู อายใุ นระดบั จังหวดั และทอ้ งถนิ่ (3) พัฒนาศักยภาพของเครอื ข่ายในระดบั จังหวดั และทอ้ งถิ่น (4) คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ วางแผนและดำเนินการให้มีการ ติดตามประเมินผล แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ปรับแผนและแปลงแผนไปสู่การ ปฏิบัติท่ที นั กำหนดเวลา คมู่ ือ 37 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ว้ ยภมู ิปัญญาพน้ื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มาตรการ 2 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นผู้สูงอายุ (1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมบุคลากรด้าน ผสู้ งู อายุในระดับวชิ าชพี อยา่ งเพยี งพอและมีมาตรฐาน (2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ อย่างเพยี งพอ และมีมาตรฐาน (3) กำหนดแผนการผลติ บคุ ลากรดา้ นผสู้ งู อายใุ หเ้ หมาะสมและเพยี งพอ ต่อความตอ้ งการของประเทศ และดำเนินการตดิ ตามอย่างต่อเน่ือง ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตรด์ ้านการประมวล พฒั นา และเผยแพร่องคค์ วามรดู้ า้ นผสู้ งู อายุ และการตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนินการตามแผนผูส้ งู อายแุ หง่ ชาติ มาตรการ 1 สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาองคค์ วามรดู้ า้ นผสู้ งู อายุ สำหรับการกำหนดนโยบาย และการพัฒนาการบริการหรือการดำเนินการ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์แกผ่ ้สู งู อายุ มาตรการ 2 ดำเนินการให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผน ผูส้ ูงอายุแหง่ ชาติที่มมี าตรฐานอย่างตอ่ เนือ่ ง มาตรการ 3 พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุให้ถูกต้องและทันสมัย โดยมรี ะบบฐานข้อมลู ท่ีสำคัญด้านผู้สงู อายุที่งา่ ยต่อการเขา้ ถงึ และสืบค้น 38 คมู่ อื “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ ูงอายุด้วยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สถานการณ์การเคลื่อนไหวและการสนับสนุนการทำงานด้าน ผู้สงู อายไุ ทย โครงสร้างและกลไกการเคลือ่ นไหวเก่ยี วกบั ผสู้ ูงอายุ การเคลื่อนไหวและการทำงานผู้สูงอายุมีพัฒนาการอย่างต่อเน่ือง โครงสร้างและกลไกการเคล่อื นไหวเกย่ี วกบั ผสู้ งู อายุ แบ่งเป็นระดบั ส่วนกลาง และระดบั พืน้ ท่ี ระดับส่วนกลาง หน่วยงานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ ประกอบด้วย สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความ ม่ันคงของมนุษย์ และสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข เปน็ หนว่ ยงานหลกั โดยทำงานภายใตก้ ลไก “คณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาต”ิ และเชื่อมโยงไปยังกลไกจังหวัด คอื “สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคง ของมนษุ ยจ์ งั หวดั ” (พมจ.) ระยะทผ่ี า่ นมา การใหค้ วามสำคญั จากฝา่ ยการเมอื ง และคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติค่อนข้างน้อย ส่งผลต่อความสำเร็จ คู่มอื 39 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภูมปิ ัญญาพนื้ บ้านด้านสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ของงานผู้สูงอายุในภาพรวม และยังขาดการบูรณาการ ขาดความต่อเน่ือง และขาดประสิทธิภาพงานผู้สูงอายุในภาพรวม นอกจากน้ี หน่วยงาน ส่วนราชการหลายแห่งยังมีบทบาทสนับสนุนสวัสดิการและสุขภาพผู้สูงอายุ ตัวอยา่ งเชน่ กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่ กระทรวงมหาดไทย (ดา้ นจา่ ย เบ้ียยังชีพให้ผู้สูงอายุ และบริการสถานสงเคราะห์คนชรา), กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ (ด้านสง่ เสริมสุขภาพและคณุ ภาพชีวติ และส่งเสริม / สนับสนุนชมรมผู้สูงอายุ), สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ (ด้านเวชศาสตร์ผสู้ งู อาย)ุ กรุงเทพมหานคร (ดา้ นสง่ เสรมิ และบรกิ ารทางสังคม สำหรับผูส้ ูงอาย)ุ , สถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (สนับสนุนกองทุนสวสั ดิการ ชุมชนสำหรับผสู้ ูงอายุ) และยังมี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม ฯลฯ (ด้านบรกิ ารสาธารณะและนนั ทนาการ) ด้วย ระดับพื้นที่ ผู้สูงอายุในทุกพ้ืนที่ท่ัวประเทศไทย มีการรวมตัวและ พฒั นางานผูส้ ูงอายใุ นรูปแบบเครอื ข่ายและชมรมผูส้ งู อายุ บางแห่งจดั เปน็ รูป แบบองค์กรสาธารณประโยชน์ (สมาคมหรือมลู นธิ ิ) ในปี พ.ศ. 2554 สมาคม สภาผู้สงู อายุแหง่ ประเทศไทย รายงานว่า ทัว่ ประเทศมชี มรมผู้สูงอายุจำนวน ท้งั หมด 23,040 ชมรม เป็นการรวมตวั และศนู ยก์ ลางของผสู้ ูงอายุ และมีการ พัฒนาตนเองและสังคมร่วมกัน ชมรมผู้สูงอายุมีคณะกรรมการบริหารงาน ชมรม มีการจัดกิจกรรมสำหรับสมาชิกหลายด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ดา้ นอาชพี ดา้ นเยย่ี มสมาชกิ ดา้ นประเพณวี ฒั นธรรม งานชมรมผสู้ งู อายยุ งั มี ปญั หาหลายดา้ น มดี า้ นบริหาร ดา้ นบุคลากรทม่ี ีความร้คู วามสามารถเกยี่ วกบั งานผู้สงู อายุ ด้านสถานทีแ่ ละวัสดุอปุ กรณ์ และยงั มีความจำกัดด้านนโยบาย และการประสานงานระหวา่ งกลไกสว่ นกลาง (คณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาต)ิ และชมรมผูส้ งู อายดุ ้วย นอกจากน้ี ระดบั พน้ื ทที่ กุ ตำบล / เทศบาลยังมีกลไก ขององค์กรปกครองท้องถ่ิน ซ่ึงมีบทบาทใกลช้ ิดประชาชน และมีภารกิจดแู ล 40 คู่มือ “แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สงู อายดุ ว้ ยภมู ิปัญญาพืน้ บา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายุในทกุ พืน้ ที่ อยา่ งไรกต็ าม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อบต. / เทศบาล) ยังให้ความสนใจต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุค่อนข้างน้อย ประเด็นทีท่ ำงานตอ่ เนอื่ ง คอื การจัดสวสั ดิการดา้ นเบ้ียยังชพี และ อบต./ เทศบาล ยังขาดข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับผู้สูงอายุ เช่น รายได้ การพ่ึงพา การดูแลและภาระสุขภาพ เป็นต้น และยังคงขาดบุคลากรที่มีความรู้ความ สามารถดา้ นผู้สูงอายทุ จ่ี ะทำงานไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง การสนบั สนนุ การทำงานด้านผู้สูงอายุ ปัจจุบัน การสนับสนุนและส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสุขภาพผู้สูงอายุ มีหลายมิติ ท้ังจากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ ท่ีสำคญั คอื (1) กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ มหี นว่ ยงาน รับผิดชอบ คือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ สนับสนุนและมีภารกิจ สนับสนนุ งานผสู้ งู อายุ ภายใต้ พ.ร.บ. ผสู้ ูงอายุ พ.ศ. 2546 ประกอบด้วย ส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ผูส้ ูงอายุ สนบั สนุนให้มอี าสาสมัครดูแลผูส้ งู อายุ (อผส.) การจดั สวัสดิการสงั คม และการดแู ลช่วยเหลอื ผ้สู งู อายุท่ีด้อยโอกาส (2) กระทรวงสาธารณสุข รับผิดชอบโดย กรมอนามัย, สถาบัน เวชศาสตร์ผูส้ ูงอายุ กรมการแพทย์ และกรมสขุ ภาพจิต มีการสนบั สนุนการ ดูแลและบริการด้านสขุ ภาพผู้สงู อายุ ส่งเสรมิ สุขภาพผสู้ งู อายุ และสนับสนุน ชมรมผูส้ ูงอายุ การสนับสนนุ การดแู ลสุขภาพจิต (3) กระทรวงมหาดไทย รบั ผดิ ชอบโดย กรมสง่ เสรมิ การปกครอง ท้องถิ่น มีการสนับสนุนเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ สถานสงเคราะห์ / สถานบริการดแู ลผู้สงู อายุ และบริการสาธารณะ นอกจากน้ี ยังมีหน่วยงานรัฐอื่น คือ กระทรวงคมนาคม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา คมู่ ือ 41 “แนวทางการดูแลสุขภาพผูส้ งู อายดุ ้วยภมู ิปัญญาพืน้ บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร่วมกันมีบริการสาธารณะและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ และยังมีองค์กร สาธารณประโยชน์ ได้แก่ สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย, สถาบัน พฒั นาองค์กรชมุ ชน และมูลนธิ ิสถาบันวิจยั และพัฒนาผู้สงู อายุ โดย (มส.ผส.) มีการสนับสนุนด้านนโยบายผู้สงู อายุ และสง่ เสรมิ งานผสู้ งู อายุ 42 คู่มอื “แนวทางการดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอายดุ ว้ ยภมู ิปญั ญาพื้นบ้านด้านสขุ ภาพ”

3บทที่ ภูมิปญั ญาพน้ื บา้ น ดา้ นสุขภาพเพ่อื สขุ ภาวะผสู้ งู อายุ



สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทท่ี 3 ภูมปิ ญั ญาพ้นื บ้านด้านสุขภาพเพ่อื สุขภาวะผู้สงู อายุ แนวคิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ดา้ นสุขภาพเพ่อื ผูส้ งู อายุ ภมู ปิ ัญญาไทยกบั ผสู้ งู อายุ เมือ่ กล่าวถงึ คุณค่าของผสู้ ูงอายุทั้งเขตเมืองและเขตชนบท คณุ ค่าและ ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ ในดา้ นภูมปิ ญั ญาไทยมคี วามโดดเดน่ หลากหลาย และมีความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ความรู้ ความเช่ือ และความสามารถของมนุษย์ที่มีการเรียนรู้ กล่ันกรอง ปรุงแต่ง สะสมและสืบทอดในสังคมมนุษย์มาเป็นเวลายาวนาน อันเป็นการสร้าง ปฏสิ มั พนั ธ์และสร้างความสมดุลระหว่างมนษุ ยก์ ับมนษุ ย์ มนษุ ยก์ ับธรรมชาติ และมนษุ ยก์ บั สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ ในสงั คมไทยอาจมชี อ่ื เรยี ก ทงั้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปัญญาพื้นบ้านหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ประกอบด้วยหลายด้าน เช่น ดา้ นประเพณี ดา้ นความเชอื่ และพธิ กี รรม ดา้ นศลิ ปะพนื้ บา้ น ดา้ นอาหารพน้ื บา้ น ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน ด้านเกษตรพ้ืนบ้าน เป็นต้น ภูมิปัญญาไทยเหล่าน้ี มักจะสะสมอยู่ในบุคคลที่เป็นผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้าน ส่วนใหญ่มักเป็น ผู้สูงอายุท่ีมีประสบการณ์ใช้ภูมิปัญญาเหล่าน้ี เป็นประโยชน์อยู่ในชุมชนน้ัน มายาวนาน หนว่ ยงานภาครฐั ทม่ี ภี ารกจิ และมกี ารเคลอ่ื นไหวเกย่ี วกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย ในผู้สูงอายุ มี 2 หน่วยงาน คือ คู่มอื 45 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผ้สู งู อายุดว้ ยภูมิปญั ญาพนื้ บ้านด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (1) สำนักสง่ เสรมิ และพิทกั ษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสงั คมและ ความม่ันคงของมนุษย์ มีภารกิจคุ้มครองและส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุ และมคี วามตระหนกั วา่ ภาคชนบทมผี สู้ งู อายทุ ม่ี ภี มู ปิ ญั ญาไทยอยเู่ ปน็ จำนวนมาก จึงดำเนินงาน “โครงการคลังปัญญาผสู้ งู อายุ” เร่มิ งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 มี วัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการนำศักยภาพด้านความรู้ ทักษะ ความชำนาญ และภมู ปิ ญั ญาของผสู้ งู อายมุ ากอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสงั คม ดว้ ยการ ถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาใหแ้ กผ่ สู้ นใจ อนั สง่ ผลตอ่ การสบื สานของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในคุณค่าตนเองของผู้สูงอายุ อีกทั้งยังส่งเสริม การพัฒนาตนเองและการมสี ว่ นรว่ มทางสงั คมของผสู้ งู อายดุ ้วย โดยมีการรวบ รวมภมู ิปัญญาผสู้ งู อายุ 23 สาขา เช่น ด้านพัฒนาสงั คม ดา้ นสาธารณสขุ / การแพทย์ ด้านเกษตรกรรม ด้านอาชีพ ด้านศิลปหัตถกรรม ด้านศาสนา ด้านวัฒนธรรม ด้านภูมิศาสตร์/ประวัติศาสตร์ เป็นต้น และจัดระบบขึ้น ทะเบียนกลางของพื้นที่ อันจะนำไปสู่การถ่ายทอด อนุรักษ์ และฟื้นฟูความ ชำนาญสูค่ นรุ่นต่อไป (2) กระทรวงวฒั นธรรม มกี ารรวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั วฒั นธรรมไทย จากแต่ละภูมิภาค โดยผ่านสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด และจัดทำเป็น “ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม” เป็นเว็บไซต์ชุมชน สำหรับรวบรวมข้อมูล ทางวัฒนธรรมของชาติ มีรายละเอียดข้อมูลบุคคลหรือองค์กรท่ีมีภูมิปัญญา ในจำนวนนี้มีด้านท่ีเก่ียวข้องกับสุขภาพ เช่น หมอรักษางูกัด / เริม ด้วยยา สมนุ ไพรพน้ื บา้ น ลกู ประคบสมนุ ไพร พธิ กี รรมผฟี า้ รกั ษาโรค เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยังมี กรมส่งเสริมวัฒนธรรม มีกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า อนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ และพัฒนาวัฒนธรรม ในปี พ.ศ. 2548–2552 กรมส่งเสริม วัฒนธรรมมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล และจัดทำฐานข้อมูลมรดกภูมิปัญญา ทางวฒั นธรรมจำนวนหลายรอ้ ยเรอ่ื ง และในอนาคตจะมีการปกปอ้ งคมุ้ ครอง มรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมต่อไป 46 ค่มู ือ “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายุด้วยภมู ปิ ญั ญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กล่าวโดยสรุปไดว้ ่า ผ้สู งู อายุนับเปน็ บุคคลทีม่ ีคุณคา่ และศักยภาพดา้ น ภูมิปญั ญาไทย เปน็ บคุ คลท่ีสะสม ใช้ประโยชน์ และถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาอยา่ ง ตอ่ เน่อื ง โดยเฉพาะในชนบท และมหี น่วยงานภาครฐั 2 หน่วยงานที่ให้ความ สำคญั คอื กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ และกระทรวง วัฒนธรรม มีการศึกษาและรวบรวมข้ึนทะเบียนภูมิปัญญาไทย และเผยแพร่ สู่สาธารณะ อย่างไรก็ตามบทบาทอ่ืน เช่น การพัฒนา การต่อยอด หรือ การสบื ทอดอยา่ งเปน็ ระบบยังไม่มีความชดั เจนมากนกั ภมู ปิ ัญญาพนื้ บ้านดา้ นสุขภาพเพื่อสขุ ภาพผสู้ งู อายุ ความหมายและลักษณะของภูมิปญั ญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ สังคมไทยมีแนวคิดเรียนรู้และประยุกต์ให้วัฒนธรรมที่เป็นรากฐานเดิม ของชุมชนมาราวสามทศวรรษ เรียกกันท่ัวไปว่า “ภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน” หรือ “ภมู ิปัญญาชาวบา้ น” ภูมปิ ญั ญาพืน้ บา้ น เป็นศาสตร์และศลิ ป์ ทีต่ กผลึกจาก การสงั เกต ทดลองใช้ คดั เลอื ก ดดั แปลง กล่นั กรอง สะสม และสบื ทอดจาก คนรนุ่ กอ่ นสูค่ นรนุ่ หลงั ภายใตบ้ ริบททางสงั คม วัฒนธรรม และระบบนิเวศน์ มีการเปลีย่ นแปลงใหเ้ ขา้ กับยคุ สมัย กลายเป็นส่ิงสะทอ้ นระบบคิด ความเชอ่ื และแบบแผนปฏิบัติที่เรียบง่าย ใช้ประโยชน์พ่ึงตนเองได้ และเหมาะสมกับ ทอ้ งถน่ิ น้นั สำหรบั ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพ นบั เปน็ สว่ นยอ่ ยของภมู ปิ ญั ญาไทย หรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน เป็นวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพของประชาชน เป็นระบบคิด ความเชื่อและแบบแผนปฏิบัติ เพื่อดูแลชีวิตและสุขภาพ ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพมีการก่อรูป ใช้ประโยชน์ ปรับเปลี่ยน และ ถา่ ยทอด ภายใตบ้ รบิ ทวฒั นธรรมและระบบนเิ วศน์ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ น สขุ ภาพ อาจจำแนกลกั ษณะภมู ิปญั ญาพืน้ บ้านด้านสขุ ภาพ เป็น 2 ดา้ น คอื คมู่ อื 47 “แนวทางการดูแลสขุ ภาพผสู้ งู อายดุ ว้ ยภูมิปญั ญาพน้ื บ้านดา้ นสขุ ภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (1) ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นเพอ่ื การสรา้ งเสรมิ และดแู ลสขุ ภาพ (Indigenous Health) เปน็ ระบบคดิ ความรู้ และแนวทางปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และดูแลสุขภาพให้ดำเนินได้อย่างปกติ และสมดุล ความรู้เหล่านี้มีขอบเขต กวา้ งขวางและมกี ารศกึ ษาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งในภาคประชาชน นอกจากน้ี ยังมีการนำความรู้และเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์มาศึกษาต่อยอด เพื่อให้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินมีความชัดเจน และใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางมากข้ึน ตัวอย่างเช่น ภูมิปัญญาด้านผักพ้ืนบ้าน อาหารพ้ืนบ้าน การบำรุงร่างกาย การดูแลจิตใจด้วยหลักศาสนา พิธีกรรมของท้องถ่ิน การนวด ยาสมุนไพร พื้นบา้ น เป็นต้น (2) ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรคและฟ้ืนฟูสมรรถภาพร่างกาย แบบพื้นบ้าน หรือการแพทย์พื้นบ้าน (Indigenous Medicine หรือ Folk Medicine) เป็นองค์ความรู้และวิถีปฏิบัติเพื่อการดูแลรักษาโรค และฟ้ืนฟู สขุ ภาพของทอ้ งถนิ่ เป็นภูมิปัญญาทส่ี ะสม เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ และสืบทอด ในชมุ ชน มปี ฏสิ ัมพันธ์กบั สังคมวัฒนธรรมและระบบนเิ วศน์แวดล้อม อีกท้งั มี การผสมผสานกับการแพทย์อ่ืนอยู่ตลอดเวลา เช่น การแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทยแ์ ผนไทย เปน็ ต้น “หมอพน้ื บา้ น (Folk Healer)” เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารสำคญั ของการแพทย์ พน้ื บา้ น การเรยี นรกู้ ารแพทยพ์ น้ื บา้ น สามารถทำไดโ้ ดยการศกึ ษาหมอพน้ื บา้ น ภายใต้บริบทการรักษาโรคและบริบทของชุมชน การแพทย์พ้ืนบ้านสามารถ จำแนกได้ 2 ประเภทย่อย คือ (1) การแพทย์พื้นบ้านแบบประสบการณ์ (Secular Subsector) เป็นภมู ิปัญญาการแพทยพ์ ืน้ บ้านที่สะสมและสบื ทอด ผา่ นประสบการณต์ รง เชน่ การนวด การใชส้ มนุ ไพร การรกั ษากระดกู แบบพน้ื บา้ น เป็นต้น (2) การแพทยพ์ นื้ บา้ นแบบพิธีกรรม และศาสนธรรม เป็น ภมู ปิ ญั ญา การแพทย์พื้นบ้านที่เรียนรู้และปฏิบัติอยู่บนฐานระบบคิดของศาสนธรรมและ 48 คมู่ ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายดุ ้วยภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ นด้านสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ความเชื่อเฉพาะบรรพชนหรือชาติพันธ์ุ เช่น การรักษาโรคด้วยพิธีกรรมผีฟ้า การรักษาโรคผ่านคนทรงหรือวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ การใช้คาถาหรือเวทมนต์ ในการรักษาโรค เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในหลายกรณีหมอพ้ืนบ้านอาจมีการ ผสมผสานวิธีการรักษาโรคประกอบกัน เพ่ือให้ผู้ป่วยบรรเทาหรือได้รับการ ดูแลรกั ษาโรคทงั้ ด้านรา่ งกายและจิตใจ ธรรมชาติและการเรียนรูภ้ มู ิปัญญาพ้นื บ้านด้านสขุ ภาพ การศึกษาและฟื้นฟูภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ สำหรับบุคลากร สาธารณสุข หรือนักพัฒนาชุมชน ท่ีต้องการนำเอาภูมิปัญญามาใช้ประโยชน์ ต่อเนื่อง จำเป็นต้องเรียนรู้จากผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือ หมอพื้นบ้านท่ีมี ความรเู้ ฉพาะในเรอ่ื งนน้ั การทำความรจู้ กั และเรยี นรจู้ ากปราชญช์ าวบา้ น หรอื หมอพน้ื บา้ นควรเปน็ ไปดว้ ยความเคารพผทู้ ม่ี ภี มู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ไมค่ วรมลี กั ษณะ หลอกลวงหรือฉกฉวยผลประโยชน์จากภูมิปัญญาเหล่าน้ัน เนื่องจากสังคม ทนุ นยิ มความคดิ ทมี่ กี ารเอาเปรยี บและมกี ารเรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาดง้ั เดมิ ของชมุ ชน และนำมาใช้ประโยชน์เสมือนเป็นของตนเองอยู่ตลอดเวลา ดังนัน้ ในเบื้องต้น คู่มอื 49 “แนวทางการดแู ลสุขภาพผูส้ ูงอายดุ ้วยภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านดา้ นสุขภาพ”

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผเู้ รยี นควรตงั้ คำถามกบั ตนเองวา่ “การศกึ ษาและเรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาเปน็ ไปเพอื่ ใคร ? และเพื่ออะไร ? เพอ่ื วางเป้าหมายของการเรียนรู้ให้ชัดเจน และให้ เจา้ ของความรู้ คอื ปราชญช์ าวบา้ น หรอื หมอพน้ื บา้ น มสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ เพ่ือการให้ข้อมูล ท่ีชัดเจน และการนำข้อมูลภูมิปัญญาไปใช้ประโยชน์หรือ ต่อยอดให้สมบูรณ์ในอนาคต สำหรับเป้าหมายของการเรียนรู้และพัฒนา ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านสุขภาพ อาจจำแนกได้ 3 ด้าน คือ (1) เพื่อให้ชุมชน เรยี นรู้ เชอ่ื มโยงและแลกเปลยี่ นความรขู้ องตนเอง และนำมาแกไ้ ขปญั หาดา้ น สขุ ภาพชมุ ชน (2) เพอื่ สรา้ งแนวคิดและองคค์ วามรูข้ องภูมปิ ัญญาดา้ นสขุ ภาพ ให้เป็นระบบและอาจต่อยอดเป็นการสร้างนวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตอ่ ไป และ (3) เพอ่ื สรา้ งและพฒั นามาตรฐานความรู้ แนวปฏบิ ตั ิ และสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาพ้นื บ้านด้านสขุ ภาพเพือ่ ประยุกตใ์ ช้ประโยชนใ์ นวงกวา้ งตอ่ ไป นอกจากนี้ ผู้เรียนรู้ควรเข้าใจว่า ความรู้ท่ีเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านด้าน สขุ ภาพ เปน็ “องคค์ วามรใู้ นบรบิ ทสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม” ซง่ึ ไดร้ บั การสง่ ผา่ น ความรู้ ทักษะ และความเช่ียวชาญมาเป็นเวลายาวนาน ความรู้มีความเป็น พลวัต คือเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ผู้เรียนรู้ต้องเข้าใจถึงธรรมชาติความรู้ที่ ฝังลึกหรือซ่อนเร้นอยู่ในตัวหมอพ้ืนบ้าน / ผู้รู้ (Tacit Knowledge) ดังนั้น การศึกษาหรือเรียนร้ภู ูมิปัญญาพ้นื บ้านด้านสุขภาพ ควรมีกระบวนการเรียนรู้ แบบปฏสิ มั พันธ์ และเรยี นรูอ้ ยา่ งไม่เปน็ ทางการ วธิ ีการอาจเป็นแบบเล่าเร่อื ง การสนทนา การสาธิตหรือการปฏิบัติจากของจริง / เร่ืองจริง ผสมผสานกนั อาจใช้ศาสตร์ของมานุษยวิทยาการแพทย์ หรือ มานุษยวิทยาสุขภาพ (Medicine Anthropology หรอื Health Anthropology) จะมคี วามเหมาะสม ซง่ึ การเรยี นรลู้ กั ษณะนจ้ี ำเปน็ ตอ้ งอาศยั ความสมั พนั ธท์ ด่ี ี และอาศยั ระยะเวลา นานช่วงหน่ึง 50 ค่มู ือ “แนวทางการดแู ลสขุ ภาพผู้สูงอายุดว้ ยภมู ปิ ัญญาพน้ื บา้ นดา้ นสุขภาพ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook