Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01-Position-ฉบับเต็ม

01-Position-ฉบับเต็ม

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-20 04:25:49

Description: 01-Position-ฉบับเต็ม

Search

Read the Text Version

สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย สาระการประชมุ วิชาการประจ�ำปีการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้นื บ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครงั้ ที่ 16 กลมุ่ งานวิชาการและคลงั ความรู้ กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข Position-5.indd 1 9/13/19 16:05

(2) สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย สาระการประชุมวชิ าการประจำ� ปกี ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บา้ น และการแพทยท์ างเลือกแหง่ ชาติ ครั้งที่ 16 วันท่ี 6-8 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชมุ ฟนี ิกซ์ 1-6 ศูนยแ์ สดงสินคา้ และการประชุม อมิ แพ็ค เมืองทองธานี นนทบุรี ที่ปรึกษา แพทย์หญงิ วิลาวณั ย์ จงึ ประเสรฐิ นายแพทยล์ ือชา วนรตั น ์ นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถยี รรตั น์ นายแพทย์มรตุ จิรเศรษฐสริ ิ บรรณาธิการบริหาร นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธริ กั ษา ดร.เภสชั กรหญงิ อญั ชลี จฑู ะพุทธิ บรรณาธิการ นายแพทยส์ ุริยะ วงศ์คงคาเทพ ดร.เภสัชกรหญิงดวงแกว้ ปัญญาภู ดร.รัชนี จันทร์เกษ กองบรรณาธกิ าร วัชราภรณ์ นิลเพ็ชร์ ศรัณยา คงยง่ิ สุภาพร ยอดโต ประดิษฐา ดวงเดช ศตพร สมเลศ สนุ สิ า หลีหมดุ บุญใจ ล่มิ ศิลา ขวัญเรือน สมพมิ าย กุลธนิต วนรัตน์ วทิ ูรย์ ยวงสะอาด ณัฐวฒุ ิ ปราบภัย เมธาวุธ ธนพัฒน์ศิร ิ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ� นกั หอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย สาระการประชมุ วชิ าการประจำ� ปกี ารแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ นื้ บา้ น และการแพทยท์ างเลอื กแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 16. -- นนทบรุ :ี กลมุ่ งานวชิ าการและคลงั ความรู้ กองวชิ าการและแผนงาน กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ , 2562. 156 หนา้ 1. สมุนไพร. 2. การนวด. 3. การแพทยแ์ ผนไทย. I. ช่อื เรื่อง. 615.321 ISBN : 978-616-11-4069-4 ออกแบบ ชนิสรา นาถนอม ประสานงาน จินตนา ศรสี วุ รรณ์ ชลทวิ า ทองรัตน์ รสรนิ ทร์ ไพฑรู ย์ พิมพค์ รง้ั ที่ 1 กันยายน 2562 พมิ พท์ ี ่ บริษทั แกรนด์พ้อยท์ จำ� กัด จัดพิมพ์โดย กลมุ่ งานวิชาการและคลังความรู้ กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ Position-5.indd 2 9/13/19 16:05

(3) สารจากอธบิ ดี หนังสือเล่มน้ีจัดท�ำข้ึน เพ่ือรวบรวมสาระส�ำคัญของประเด็นวิชาการที่มีการอภิปรายและเสวนา ในการประชุมวิชาการประจ�ำปีการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ คร้ังที่ 16 ซึ่งปีน้ีชูประเด็นการนวดไทยและสมุนไพรไทยเป็นประเด็นหลัก เน่ืองด้วยการนวดไทยถือว่าเป็น ภูมิปัญญาที่ควรอนุรักษ์ และเป็นศาสตร์ในการดูแลสุขภาพท่ีส�ำคัญของคนไทยมากว่า 600 ปี และในปีนี้ เป็นโอกาสอันดีที่กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม ได้มีโอกาสเสนอ ให้การนวดไทยเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมต่อองค์การยูเนสโก้ด้วย ดังนั้น เพื่อให้มรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมอันทรงคุณค่าได้สืบทอดไปถึงลูกหลาน ตลอดจนสามารถสร้างงาน และสร้างเศรษฐกิจของชาติได้ จึงเป็นที่มาของการเสวนา เร่ือง มาตรฐานของการนวดไทย การพัฒนามาตรฐานผู้ให้บริการด้านการ นวดไทย รวมทั้งมีประเด็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนการนวดไทยในหลักสูตรการแพทย์แผนไทย ในการประชมุ คร้ังนดี้ ว้ ย ส�ำหรับสมุนไพรไทย การประชุมวิชาการในครั้งน้ี ได้มีการเสวนาในหลายประเด็น อาทิ สถานการณ์ การค้า รสนิยมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย และการพัฒนาสมุนไพรในตลาดจีน อินเดีย เมียนมาร์ และเวียดนาม การพฒั นาเมืองสมนุ ไพร ผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรต้นแบบ การจัดการทรัพยส์ นิ ทางปัญญาฯ ซ่งึ เปน็ การถา่ ยทอดมุมมอง จากผู้ที่มีประสบการณ์ในเร่ืองน้ัน ๆ นอกจากนี้ ยังมีการเสวนาเก่ียวกับสมุนไพรท่ีอยู่ในกระแสความสนใจ ของประชาชนทั่วไป เชน่ กญั ชา และเหด็ ท่ีเป็นยาและอาหาร ในนามของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขอขอบคุณคณะอนุกรรมการวิชาการ และคณะท�ำงาน ที่ได้ก�ำหนดแนวทาง ประเด็นหลัก รูปแบบ รวมถึงการติดตาม ก�ำกับ จัดประชุมวิชาการ จนส�ำเร็จลุล่วง ขอขอบคุณนักวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ท่ีได้กรุณาสละเวลาในการศึกษาประเด็นหลัก แต่ละหัวข้อจนได้ผลการศึกษาที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ และขอขอบคุณทุกภาคส่วนท่ีท�ำให้การจัดงานประชุม วิชาการฯ ในครั้งน้ีส�ำเร็จไปด้วยดี หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบ้าน การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร และเปน็ แหล่งอา้ งอิงทางวชิ าการในระดบั ชาติตอ่ ไป นายแพทยม์ รุต จิรเศรษฐสิริ อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก Position-5.indd 3 9/13/19 16:05

(4) บรรณาธกิ ารแถลง การประชุมวิชาการประจ�ำปี การแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ในปนี ี้ จัดข้นึ พร้อมกับงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาตฯิ ครงั้ ที่ 16 ภายใต้ธีมงาน “สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย” โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เปน็ เวทสี อ่ื สารใหป้ ระชาชนไดร้ จู้ กั ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของสมนุ ไพรและการนวดไทย สามารถ น�ำความรไู้ ปประยุกต์ใช้อยา่ งเหมาะสมและกอ่ ใหเ้ กิดการกระตนุ้ เศรษฐกจิ ของประเทศได้ ดังนัน้ ประเดน็ วิชาการที่ นำ� เสนอในงานประชมุ วชิ าการฯ ครง้ั นี้ จงึ เปน็ หวั ขอ้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาและการตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาดา้ นสมนุ ไพร และการนวดไทย จำ� นวน 14 หวั ข้อ การจดั ท�ำหนงั สอื เล่มนี้เปน็ การรวบรวมเนื้อหาวชิ าการของการเสวนาทัง้ หมด 14 หวั ข้อ โดยมีการจดั เปน็ หมวดหมไู่ ด้ 4 กลมุ่ ดังนี้ กลุ่มท่ี 1 ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ คือ เน้นการขับเคล่ือนเศรษฐกิจชาติด้วยผลิตภัณฑ์ สมุนไพรและการนวดไทย ซ่ึงประเด็นที่มีการเสวนา ได้แก่ สถานการณ์การค้า รสนิยมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย และการพัฒนาสมุนไพรในตลาดจีน อินเดีย เมียนมาร์ และเวียดนาม อุตสาหกรรมสารสกัดสมุนไพรสู่ตลาดโลก เมอื งสมุนไพร และผลติ ภัณฑส์ มุนไพรตน้ แบบ กลุ่มท่ี 2 ประเด็นการพัฒนาเพื่อยกระดับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยหัวข้อ ของการเสวนามีความสอดคล้องกับภารกิจการส่งเสริมและพัฒนาวิชาการด้านสมุนไพร การแพทย์แผนไทย และ การแพทยพ์ นื้ บา้ น ไดแ้ ก่ การพฒั นามาตรฐานผใู้ หบ้ รกิ ารการนวดไทย การรบั รองและกำ� หนดสถานะของหมอพน้ื บา้ น ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาแพทยแ์ ผนไทย การคมุ้ ครองและการใชป้ ระโยชนจ์ ากภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย และ การวิจัยต�ำรบั ยาแผนไทย กลุ่มที่ 3 ประเด็นการจัดการเพื่อน�ำการแพทย์แผนไทยไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ กลไกการเฝ้าระวัง ความปลอดภยั ในการใชส้ มนุ ไพรโดยมปี ระชาชนเปน็ สว่ นรว่ ม การบรู ณาการแพทยแ์ ผนไทยเขา้ สรู่ ะบบบรกิ ารสขุ ภาพ และการบรู ณาการคลังข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ กลมุ่ ท่ี 4 ประเด็นวชิ าการรว่ มสมยั ซง่ึ ไดแ้ ก่ กญั ชา: โอกาสและความทา้ ทาย และเหด็ เปน็ อาหารและยา ซ่ึงแต่ละประเด็นดังกล่าวได้รับความสนใจจากนักวิชาการและประชาชนเป็นอย่างดี โดยเฉพาะหัวข้อเรื่องกัญชาท่ี พบว่ามีผู้เข้ารับฟังจากหลากหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งกลุ่มเกษตรกร ผู้ป่วย นักวิชาการ นักวิจัย และบุคลากรทาง การแพทย์ หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทั้งบุคลากรทางการแพทย์ นักวิชาการ นักวิจัย ผู้ประกอบการ และผ้มู ีหน้าท่ีปฏิบัติงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง อนง่ึ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดทีป่ รากฏในหนงั สอื เล่มน้ี ขอน้อมรบั ค�ำชแ้ี นะ ที่เป็นประโยชนต์ อ่ การแก้ไขให้ถกู ต้องต่อไป Position-5.indd 4 9/13/19 16:05

(5) รายนามผูจ้ ัดท�ำเฉพาะบท กลุม่ ที่ 1 ประเด็นการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 1.1 สถานการณ์การค้า รสนิยมผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย และการพัฒนาสมุนไพรในตลาดจีน อินเดีย เมียนมาร์ และเวยี ดนาม รศ.ดร.อัทธ์ พศิ าลวานชิ ศูนยศ์ กึ ษาการค้าระหวา่ งประเทศ มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย 1.2 อุตสาหกรรมสารสกัดสมุนไพรสูต่ ลาดโลก ดร.บงั อร เกยี รติธนากร บรษิ ัท อุตสาหกรรมเครือ่ งหอมไทย-จีน จ�ำกดั (TCFF) 1.3 เมืองสมนุ ไพร: โอกาสและการพัฒนา ดร.ภญ.มณฑกา ธีรชยั สกุล, ภก.ณัฐวฒุ ิ ปราบภยั , อปั สร บตุ รดา กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ วฒั นศกั ด์ิ ศรรุง่ ส�ำนักปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข นพ.สรรพงศ์ ฤทธริ ักษา กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ 1.4 ผลติ ภณั ฑ์ต้นแบบ: โอกาสและการพัฒนา รศ.ดร.ภญ.นพมาศ สนุ ทรเจริญนนท ์ สำ� นกั งานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล กลุ่มที่ 2 ประเด็นการพัฒนาเพื่อยกระดับการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2.1 การพัฒนามาตรฐานผ้ใู ห้บริการดา้ นการนวดไทยของประเทศไทย ดร.ภก.ยงศักด์ิ ตนั ติปฎิ ก หน่วยวิจัยระบบภมู ิปัญญาสุขภาพ 2.2 หมอพ้ืนบ้านกับอนาคตสุขภาพชุมชนไทย ภราดร สามสูงเนิน, สมคั ร สมแวง, องั คณา บุญทวี, อิศรา พงพานชิ ย์ กองคุ้มครองและส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ เสาวณยี ์ กุลสมบรู ณ ์ ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ 2.3 อนาคตการวิจยั ตำ� รบั ยาแผนไทย กองสมุนไพรเพ่อื เศรษฐกิจ ดร.ภญ.มณฑกา ธีรชยั สกลุ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ผศ.ดร.นพ.กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห ์ 2.4 ทศิ ทางการศกึ ษาเพื่อพัฒนาการแพทย์แผนไทยอย่างยง่ั ยืน (ในระดบั อดุ มศกึ ษา) ดร.ปราวรี ภูนีรบั , สมเดจ็ กาติ๊บ, ผศ.ดร.รววิ รรณ์ เจริญทรพั ย์ สาขาวชิ าการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ส�ำนกั วิชาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ มหาวทิ ยาลัยแมฟ่ า้ หลวง Position-5.indd 5 9/13/19 16:05

(6) 2.5 ผลกระทบของกรอบการเจรจาระหว่างประเทศว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาท่ีเก่ียวกับทรัพยากร พันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการแสดงออกทางวัฒนธรรมดั้งเดิม ต่อกฎหมายคุ้มครองและ ส่งเสรมิ ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย ดร.ปวริศร เลศิ ธรรมเทวี คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ� แหง กลุม่ ท่ี 3 ประเดน็ การจัดการเพื่อนำ� การแพทย์แผนไทยไปใชป้ ระโยชน์ 3.1 กลไกการเฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ในการใช้สมนุ ไพรโดยมปี ระชาชนเป็นสว่ นร่วม ภญ.ผกากรอง ขวัญขา้ ว โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร จังหวัดปราจนี บรุ ี นส.ภ.พงศธร วายโสกา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย นศ.ภ.ภาวนา วฒั นกูล คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 3.2 การบรู ณาการแพทย์แผนไทยเข้าสูร่ ะบบบริการสขุ ภาพในอนาคต เกษม เผยี ดสงู เนนิ สาธารณสุขอำ� เภอล�ำสนธิ จงั หวัดลพบุรี 3.3 บูรณาการคลังข้อมูลความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศ ชัชชยั ศลิ ปสุนทร สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม กลมุ่ ที่ 4 ประเดน็ วิชาการรว่ มสมัย 4.1 กัญชา: แนวทางการใชป้ ระโยชนท์ างการแพทย์และการควบคุมการน�ำไปใชป้ ระโยชน์ ส�ำนกั งานข้อมลู สมนุ ไพร คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4.2 เหด็ เปน็ ยาและอาหาร ศ.ดร.สายสมร ลำ� ยอง, ดร.นครนิ ทร์ สุวรรณราช คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ธิตยิ า บญุ ประเทือง ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติ Position-5.indd 6 9/13/19 16:05

(7) สารบัญ สารจากอธบิ ดี (3) บรรณาธกิ ารแถลง (4) รายนามผจู้ ัดทำ� เฉพาะบท (5) กลมุ่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคล่ือนยุทธศาสตรช์ าติ 1.1 สถานการณก์ ารคา้ รสนิยมผลติ ภัณฑส์ มุนไพรไทยและการพฒั นาสมุนไพรในตลาดจนี 2 อนิ เดยี เมยี นมาร์ และเวียดนาม 13 19 1.2 อตุ สาหกรรมสารสกัดสมนุ ไพรสู่ตลาดโลก 30 1.3 เมืองสมุนไพร: โอกาสและการพัฒนา 1.4 ผลติ ภัณฑต์ น้ แบบ: โอกาสและการพฒั นา กลุม่ ท่ี 2 ประเด็นการพฒั นาเพอ่ื ยกระดับการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 2.1 การพัฒนามาตรฐานผูใ้ หบ้ รกิ ารดา้ นการนวดไทยของประเทศไทย 42 2.2 หมอพน้ื บา้ นกับอนาคตสุขภาพชมุ ชนไทย 48 2.3 อนาคตการวจิ ยั ตำ� รบั ยาแผนไทย 61 2.4 ทิศทางการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาการแพทย์แผนไทยอย่างย่ังยืน (ในระดบั อุดมศกึ ษา) 72 2.5 ผลกระทบของกรอบการเจรจาระหวา่ งประเทศว่าด้วยทรัพยส์ ินทางปญั ญาท่ีเก่ียวกับ 81 ทรัพยากรพนั ธกุ รรม ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ และการแสดงออกทางวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ตอ่ กฎหมายคมุ้ ครองและส่งเสริมภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทย กลมุ่ ท่ี 3 ประเด็นการจดั การเพอื่ น�ำการแพทย์แผนไทยไปใชป้ ระโยชน์ 3.1 กลไกการเฝา้ ระวงั ความปลอดภัยในการใชส้ มนุ ไพรโดยมปี ระชาชนเป็นสว่ นร่วม 103 3.2 การบูรณาการการแพทย์แผนไทยเขา้ สู่ระบบสุขภาพในอนาคต 110 3.3 บูรณาการคลังข้อมูลความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศ 116 กล่มุ ที่ 4 ประเด็นวชิ าการร่วมสมัย 4.1 กัญชา: แนวทางการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และการควบคมุ การน�ำไปใช้ประโยชน ์ 125 4.2 เหด็ เป็นยาและอาหาร 136 Position-5.indd 7 9/13/19 16:05

(8) สารบญั ตาราง 3 3 ตารางที ่ 1.1 มูลคา่ การส่งออกขมน้ิ ชนั ของจีนไปตลาดสำ� คญั 7 ตารางที่ 1.2 มลู คา่ การนำ� เขา้ ขมิน้ ชันของจีนจากตลาดส�ำคัญ 23 ตารางที่ 1.3 ข้อมูลเศรษฐกจิ มหภาคของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม ต้ังแต่ปี 2555-2559 46 ตารางที่ 1.4 ตวั ชี้วดั ในการประเมินผลลพั ธ์ตามปงี บประมาณ 65 ตารางท่ี 2.1 สรุปการควบคุมก�ำกบั การนวดไทยในระดับต่าง ๆ 66 ตารางท่ ี 2.2 เปรียบเทยี บลำ� ดบั การตั้งคำ� ถามทางการวิจยั ของการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั และการแพทยด์ ัง้ เดิม 105 ตารางท ี่ 2.3 เสนอลำ� ดับขั้นตอนการวจิ ัยทางคลนิ ิกของการแพทยด์ ้งั เดมิ 125 ตารางท่ ี 3.1 ระบบการรายงานอาการอนั ไม่พงึ ประสงคจ์ ากการใชย้ าของผปู้ ่วยโดยตรง 130 ตารางที ่ 4.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และถน่ิ ที่พบของกัญชาชนดิ ต่าง ๆ 131 ตารางท ่ี 4.2 การกำ� กบั ดแู ลการใช้กญั ชาในทางการแพทย์เพือ่ การศึกษาวิจยั และอตุ สาหกรรม หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องกบั การควบคุมการใช้กัญชาในการศึกษาวจิ ยั และการใช้ในทางการแพทย์ ตารางที่ 4.3 ตำ� รับยานำ� ร่อง 16 ตำ� รบั ทมี่ กี ญั ชาเปน็ องคป์ ระกอบ สารบัญภาพ ภาพที่ 1.1 สัดสว่ นมลู ค่าการสง่ ออกขมน้ิ ชันของจนี ไปยงั ประเทศสำ� คญั ปี 2559 3 ภาพที่ 1.2 สามอันดับแรกของประเทศท่นี �ำเขา้ สมุนไพรในปรมิ าณมากระดับโลก, กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม 14 ภาพที่ 1.3 ข้อมูลมูลคา่ การน�ำเข้าและส่งออกจากพกิ ดั ศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (Harmonized System) 15 ภาพท่ี 1.4 การพฒั นาอุตสาหกรรมสมุนไพรในอนาคต และสมุนไพรเป้าหมาย 16 ภาพท่ี 1.5 กลไกการขับเคล่ือนเมืองสมุนไพร 20 ภาพท่ี 1.6 แนวโนม้ มูลค่าผลติ ภัณฑส์ มุนไพร 4 กลุม่ 25 ภาพที่ 1.7 แสดงมลู ค่าการจา่ ยยาสมนุ ไพรเปรียบเทยี บระหวา่ งของ (ก) เมืองสมนุ ไพรท้งั 13 จังหวัด และ (ข) ภาพรวมของประเทศ 26 ภาพที่ 2.1 งานศึกษาระบบการแพทยพ์ หลุ กั ษณข์ อง Kleinman, 1980 49 ภาพที่ 2.2 การขบั เคลอ่ื นงานการแพทย์พ้ืนบา้ นที่ผา่ นมาได้ ก�ำหนดการท�ำงาน ดว้ ยกระบวนการการจดั การความรู้ แนวคิดเชิงปฏบิ ตั ิ 3 ประเดน็ หลกั และ 10 ประเดน็ ย่อย 50 ภาพท่ี 2.3 แนวทางการประเมนิ และรับรองสถานภาพ หมอพน้ื บา้ นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาในระบบ 52 ภาพที่ 2.4 จ�ำนวนหมอพื้นบา้ นทไ่ี ดก้ ารรับรองในระดบั วชิ าชพี และระดบั จงั หวดั 56 ภาพที่ 2.5 สถานการณ์แนวทางการประเมินและรับรองหมอพ้ืนบา้ นเพ่อื สง่ เสริมและพัฒนาในระบบ 56 ภาพท่ี 2.6 การนำ� การวนิ ิจฉัยทางการแพทย์แคมโป (ยกตัวอยา่ ง ภาวะหมดประจ�ำเดอื น) เป็นเกณฑก์ ารวนิ จิ ฉัย เพอ่ื คัดอาสาสมัครเข้าสกู่ ารทดลอง จากนนั้ จึงคอ่ ยสมุ่ แบง่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ และกลุ่มทดลอง 64 ภาพท่ี 2.7 ขนั้ ตอนกระบวนการวิจัยส�ำหรับยาจากสมนุ ไพรทั้งรูปแบบสมนุ ไพรเดย่ี วและสมนุ ไพรต�ำรบั 66 ภาพที่ 2.8 แสดงขอ้ เสนอกรอบขั้นตอนการวจิ ยั การแพทย์แผนไทย 68 ภาพที่ 2.9 ห่วงโซก่ ารวจิ ยั การแพทยแ์ ผนไทยและการวจิ ยั ยาจากสมุนไพร (กฤษณแ์ ละมณฑกา, 2559) 69 ภาพที่ 3.1 แผนด�ำเนินงานบูรณาการข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพในเบื้องต้น ระยะ 5 ปี 123 Position-5.indd 8 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเดน็ การขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรช์ าติ 1 กลุ่มท่ี 1 ประเด็นการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ 1.1 สถานการณก์ ารคา้ รสนยิ มผลติ ภณั ฑ์สมุนไพรไทย และการพฒั นาสมุนไพรในตลาดจนี อนิ เดีย เมียนมาร์ และเวียดนาม 1.2 อตุ สาหกรรมสารสกัดสมุนไพรสู่ตลาดโลก 1.3 เมืองสมนุ ไพร: โอกาสและการพัฒนา 1.4 ผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ: โอกาสและการพัฒนา Position-5.indd 1 9/13/19 16:05

2 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย สถานการณก์ ารคา้ รสนิยมผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรไทย และการพัฒนาสมนุ ไพรในตลาดจีน อนิ เดีย เมียนมาร์ และเวียดนาม รศ.ดร.อทั ธ์ พิศาลวานิช ศนู ยศ์ ึกษาการคา้ ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย 1. ความเป็นมา หลักการ และเหตผุ ล รายงานฉบับนี้ เปน็ การน�ำเสนอ “สถานการณก์ ารค้าและรสนิยมผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรไทยในตลาดจนี และ เวียดนาม” ใน 4 ชนิด คือ ขมิ้นชัน ไพล บัวบก และกระชายด�ำ โดยเน้นไปที่ตลาดจีนและเวียดนามเป็นหลัก ซ่ึงเป็น 2 ตลาดที่มีศักยภาพทั้งการผลิตและก�ำลังซื้อ แต่ส�ำหรับเวียดนามนั้นเป็นการน�ำเสนอเฉพาะรสนิยมของ ผบู้ รโิ ภค ในบวั บกและกระชายดำ� เทา่ นนั้ เปน็ เพราะขอ้ มลู ทมี่ อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ขอ้ มลู สว่ นใหญท่ นี่ ำ� เสนอในรายงานฉบบั นี้ ได้มาจากโครงการวิจัย เร่ือง “โครงการจัดท�ำยุทธศาสตร์และฐานข้อมูลสมุนไพร ภายใต้โครงการเพ่ิมศักยภาพ การตลาดสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรแปรรูปสู่สากล (2560)” โดยส�ำนักงานยุทธศาสตร์และนโยบายการค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ ที่ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเป็น ผวู้ ิจัย นอกจากจะนำ� เสนอสถานการณแ์ ละรสนยิ มแลว้ ส่วนสุดทา้ ยจะเปน็ การน�ำเสนอขอ้ เสนอแนะสำ� หรบั การท�ำ ตลาดสมุนไพรในประเทศจีน โดยรายละเอียดเป็นดังตอ่ ไปนี้ 2. นโยบายและมาตรการทดี่ �ำเนนิ การในปจั จบุ นั 2.1 ผลติ ภณั ฑข์ มนิ้ ชัน สถานการณ์การค้า ประเทศจีนเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคขม้ินชันที่ส�ำคัญอีกประเทศหนึ่ง โดยในปี 2559 ส่งออกขมน้ิ ชันแห้ง เปน็ มูลคา่ 96,407,654,002 บาท ซ่งึ ส่งออกไปประเทศญ่ปี ุ่นมากท่สี ดุ คิดเป็นสดั ส่วน ร้อยละ 65.6 ของการส่งออกขมิ้นชันแห้งของจีนท้ังหมด รองลงมาเป็นการส่งออกไปฮ่องกง มาเลเซีย และ สหรฐั อเมริกา คดิ เปน็ สดั สว่ น ร้อยละ 11.0, 10.7 และ 3.8 ตามล�ำดบั (ตารางที่ 1) เมื่อพิจารณาในด้านการน�ำเข้าขม้ินชันแห้งเข้ามาในประเทศจีน พบว่า มีการน�ำเข้าจากประเทศอินเดีย เป็นสว่ นใหญ่นับตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นมา โดยในปี 2559 มีปริมาณการนำ� เข้าขมิ้นชนั ทั้งหมด 20,494,807 บาท ซึ่งเปน็ การน�ำเขา้ มาจากอินเดยี เกอื บท้ังหมดคิดเปน็ สัดส่วน ร้อยละ 99.61 ของมลู ค่าการน�ำเขา้ ทงั้ หมด Position-5.indd 2 9/13/19 16:05

สหรัฐอเมริกา เนเธอรแ ลนด อื่นๆ กล่มุ ที่ 1 ประเด็นการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรช์ าติ 3 3.8% 2.4% 6.4% ญ่ปี นุ 65.6% มาเลเซยี 10.7% ฮองกง 11.1% ภาพที่ 1.1 สัดส่วนมลู ค่าการสง่ ออกขม้ินชันของจีนไปยงั ประเทศสำ� คัญปี 2559 ท่มี า: The Global Trade Atlas (GTA) 2017 ตารางท่ี 1.1 มลู คา่ การส่งออกขมิน้ ชนั ของจีนไปตลาดส�ำคัญ มลู คา่ การสง่ ออกขม้นิ ชัน (บาท) สดั สว่ น ประเทศ 2553 การส่งออก 2554 2555 2556 2557 2558 2559 ปี 2559 ญี่ปุ่น 58,767,219 101,805,656 47,281,762 43,474,420 74,500,650 46,350,025 63,271,993 65.6 ฮอ่ งกง 1,454,569 13,005,875 11,377,944 8,625,560 22,048,334 4,683,229 10,671,616 11.0 มาเลเซีย 9,656,015 23,358,881 15,633,017 15,205,539 9,316,695 11,897,827 10,294,227 10.7 สหรฐั อเมริกา 1,511,307 338,134 71,234 235,835 1,732,323 1,951,960 3,683,863 3.8 เนเธอรแ์ ลนด์ 1,815,265 NA NA NA NA 1,612,027 2,303,169 2.4 อื่น ๆ 123,433,197 23,835,607 1,324,268 698,064 6,437,440 17,293,149 6,182,786 6.4 โลก 196,637,572 162,344,153 75,688,225 68,239,418 114,035,442 83,788,217 96,407,654 100.0 ท่ีมา: The Global Trade Atlas (GTA) 2017 หมายเหตุ: NA หมายถงึ ไมพ่ บข้อมลู ตารางที่ 1.2 มูลค่าการนำ� เข้าขม้ินชนั ของจนี จากตลาดสำ� คัญ ประเทศ มลู ค่าการนำ� เข้าขมิน้ ชัน (บาท) สัดส่วน การน�ำเขา้ 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 ปี 2559 อินเดีย 672,496 6,259,873 25,963,755 32,311,780 64,365 6,579,672 20,415,065 99.61 ไทย 0 0 0 0 0 0 76,057 0.37 สหรัฐอเมริกา 0000 3,809 321 3,685 0.02 อื่น ๆ 3,394,915 5,318,492 765,627 3,326,257 0 โลก 4,067,411 11,578,365 26,729,382 35,638,037 2,196,783 0 0.00 68,174 8,776,776 20,494,807 100.0 ท่ีมา: The Global Trade Atlas (GTA) 2017 หมายเหต:ุ นำ� เสนอเฉพาะตัวเลขมลู ค่าเนื่องจากปริมาณการนำ� เข้ามีน้อย, NA หมายถึง ไม่พบข้อมูล Position-5.indd 3 9/13/19 16:05

4 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย ส�ำหรับคู่แข่งที่ส�ำคัญของไทยในตลาดจีน ในส่วนของวัตถุดิบ คือ อินเดีย เน่ืองจากมีการน�ำเข้า ขม้ินชันจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งไทยมีมูลค่าการส่งออกไปจีนเพียง ร้อยละ 0.37 ซึ่งน้อยมากเม่ือเทียบกับ อินเดีย ประกอบกับอินเดียเป็นผู้ผลิตขมิ้นชันรายใหญ่ของโลกอีกด้วย ส�ำหรับคู่แข่งด้านผลิตภัณฑ์จากขม้ินชันนั้น ส่วนใหญ่เป็นคู่แข่งภายในจีนเอง ท้ังผลิตภัณฑ์ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร รวมไปถึงเคร่ืองส�ำอาง เน่ืองจากจีน เป็นประเทศท่ีอยู่คู่กับสมุนไพรมาเป็นเวลาหลายพันปี มีสมุนไพรมากมายหลายชนิด และมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก สมุนไพรหลากหลายเช่นกัน ประกอบกับชาวจีนเองก็ให้ความเชื่อม่ันในสมุนไพรของจีนเองมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ถือเป็นอุปสรรคส�ำคัญท่ีสินค้าสมุนไพรของไทยจะเข้าไปยึดตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรในจีน รวมไปถึงกฎระเบียบท่ี ค่อนข้างเขม้ งวดของจนี ที่กีดกันการนำ� เข้าสินค้าจากต่างประเทศ รสนยิ มและแนวโนม้ ของผบู้ รโิ ภคในจนี ขมนิ้ ชนั เปน็ สมนุ ไพรอกี ชนดิ ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มในจนี เนอ่ื งจากจนี เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคขม้ินชันที่ส�ำคัญ ซ่ึงผู้บริโภคจีนรู้จักขม้ินชันเป็นอย่างดีมาช้านานและที่ส�ำคัญคือ ใช้รักษาโรคต่าง ๆ ตามแพทย์แผนโบราณมาอย่างยาวนานจนเป็นที่ยอมรับและจัดอยู่ในต�ำรายาหลายขนาน โดย ในจีนในต�ำรายาจีน เรียกขม้ินชันว่า เจียวหวง (ภาษาจีนกลาง) หรือเกียอึ้ง (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) นิยมใช้ขม้ินชัน เพ่ือรักษาอาการปวดท้อง ท้องมาน และดีซ่าน ส่วนผลิตภัณฑ์แปรรูปจากขมิ้นชันท่ีเป็นที่นิยมของชาวจีน ได้แก่ ผลติ ภณั ฑ์สปา และผลิตภณั ฑ์ ท่ใี ช้ในชีวิตประจ�ำวนั ทว่ั ไป (Home Use Product) เชน่ สบู่ แชมพู ครมี บำ� รุงหนา้ และผิวกาย เป็นต้น ส�ำหรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากขมิ้นชันถือว่าเป็นสินค้าค่อนข้างใหม่ส�ำหรับผู้บริโภค ชาวจีน เน่ืองจากผู้ประกอบการจะรู้จักขมิ้นชันว่าเป็นยาที่น�ำมาเข้าต�ำรับยาสมุนไพร อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ เสรมิ อาหารทกุ ชนดิ ทจี่ ำ� หนา่ ยในจนี จะตอ้ งผา่ นการตรวจสอบจาก State Food and Drug Administration (SFDA)  ก่อนจึงจะสามารถจำ� หน่ายไดใ้ นประเทศจีน 2.2 ไพล สถานการณ์การค้าในจีน ไพลและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลของไทย มีโอกาสขยายตัวได้มากในจีน และญ่ีปุ่น โดยส�ำหรับจีนน้ัน พบว่าเป็นท่ีนิยมมากเนื่องจากผู้บริโภคชาวจีนมีความนิยมในธุรกิจสปา ส่งผลให้ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเป็นท่ีนิยมตามไปด้วย โดยส�ำหรับตลาดจีนแล้ว ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นท่ีนิยมมาก คือ น้�ำมันเหลืองไพลและยาหม่องไพล เน่ืองจากเป็นสินค้าท่ีมีราคาไม่แพงมากนัก สามารถบรรเทาอาการปวดเมื่อย ได้ดี อย่างไรก็ตาม การส่งออกสินค้าดงั กลา่ วไปในจนี ยังพบอปุ สรรคดา้ นการข้นึ ทะเบียน อย. ในจนี ท่ีมีกระบวนการ ข้ันตอน และระยะเวลาในการขอขนึ้ ทะเบียนนาน กระทบต่อต้นทุนของผ้สู ง่ ออกที่สูงข้นึ ผปู้ ระกอบการจ�ำเปน็ ต้อง ร่วมมือกับบริษัทผู้น�ำเข้าชาวจีน เพื่อร่วมมือกันย่ืนขอข้ึนทะเบียน อย. ท่ีจะท�ำให้การส่งออกสินค้าไปจีนสะดวก มากขน้ึ แตเ่ นอ่ื งจากการแสวงหาบรษิ ทั รว่ มทนุ ชาวจนี ทมี่ คี วามซอื่ ตรงและเชอื่ ถอื ไดเ้ ปน็ เรอื่ งยาก ผสู้ ง่ ออกหลายราย จึงส่งออกผ่านระบบ E-Commerce ที่ยังไม่มีการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าและปริมาณจ�ำหน่ายไม่มากนัก รวมถงึ การขายในรปู ของฝากใหแ้ กน่ กั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ขา้ มาเทย่ี วในไทย สำ� หรบั คแู่ ขง่ ของไพลและผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู จาก ไพลในตลาดจนี มคี ่แู ขง่ จากประเทศอื่น ๆ ไมม่ ากนกั หากแตค่ ูแ่ ขง่ หลกั คือ ผลิตภณั ฑข์ องจีนเอง เนอ่ื งจากจีนเป็น ตลาดที่มีความนิยมสินค้าสมุนไพรเป็นอย่างมาก มีโรงงานและบริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรหลากหลายรูปแบบ และราคาไมแ่ พง สง่ ผลใหผ้ ลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรของจนี เปน็ ทน่ี ยิ มของตลาด อยา่ งไรกต็ าม ผลติ ภณั ฑข์ องจนี ยงั มจี ดุ ออ่ น ในดา้ นความนา่ เชอื่ ถอื ของสรรพคณุ ทรี่ ะบไุ วท้ ผ่ี ลติ ภณั ฑ์ เนอ่ื งจากสนิ คา้ ของจนี หลากหลายยหี่ อ้ ไมม่ มี าตรฐาน ทำ� ให้ ความนิยมบริโภคสินคา้ จีนมีแนวโน้มหันไปบริโภคสินคา้ จากตา่ งประเทศ โดยเฉพาะสินค้าสมุนไพรไทย นอกจากนี้ ผลิตภณั ฑ์ทว่ี างขายอย่ใู นตลาดจนี มีความเส่ียงในการถูกลอกเลียนแบบอีกดว้ ย Position-5.indd 4 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเด็นการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ 5 ส�ำหรับการส่งออกไพลของไทยนั้น ส่วนใหญ่เป็นการส่งออกในรูปของผลิตภัณฑ์ท่ีแปรรูปแล้ว อาทิ น้�ำมันหอมระเหย โดยมีการส่งออกประมาณร้อยละ 20 ของท่ีผลิตได้ในประเทศ ส่วนใหญ่ส่งออกไปจีนมากท่ีสุด รองลงมา คือ อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา และญ่ีปุ่น ซ่ึงในตลาดส่งออกเหล่าน้ียังคงมีแนวโน้มต้องการสินค้าจาก ไทยเพม่ิ ขนึ้ เนอื่ งจากยงั ไมเ่ พยี งพอและความตอ้ งการบรโิ ภคยงั ขยายตวั นอกเหนอื จากการสง่ ออกในรปู ของวตั ถดุ บิ ขั้นกลาง ในข้างต้นแล้วยังมีการส่งออกในรูปของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลอื่น ๆ อาทิ น้�ำมันเหลืองและยาหม่อง มีการส่งออก ร้อยละ 30 ของปริมาณที่ผลิตได้ทั้งหมด ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญยังคงเป็นจีน รองลงมา คือ สหภาพรวมถึงยุโรป ญ่ีปุ่น สหรัฐอเมริกา และตะวันออกกลาง ส่วนลูกประคบก็เป็นสินค้าอีกชนิดหน่ึงที่ได้รับ ความนิยมมากจากตลาดตา่ งประเทศ พบวา่ มีสดั ส่วนการส่งออกประมาณ รอ้ ยละ 60 โดยส่งออกไปญ่ีปุน่ มากทส่ี ดุ รองลงมา คอื สหรฐั อเมรกิ า สหภาพยโุ รป (เยอรมนั ฝรงั่ เศส อติ าลี) และประเทศอื่น ๆ เชน่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ออสเตรเลยี บาหเ์ รน และสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ เป็นตน้ รสนิยมและแนวโน้มของผู้บริโภคในจีน ตลาดหลักของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรของไทยน้ัน ได้แก่ จีน ด้วยขนาดของตลาดที่มีขนาดใหญ่ ประกอบกับเป็นประเทศท่ีให้ความส�ำคัญกับสมุนไพร รวมทั้งยัง เป็นสิ่งท่ีผู้บริโภคชาวจีนมีความคุ้นเคย และบริโภคอย่างแพร่หลาย โดยผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไพลที่เป็นท่ีนิยมของ ชาวจนี และเป็นตลาดหลกั ได้แก่ น�้ำมนั เหลอื งไพล/น้�ำมนั ไพล รวมทัง้ ยาหมอ่ งไพล โดยชาวจนี จะนิยมน้�ำมนั เหลือง ไพล/น้�ำมนั ไพล และยาหมอ่ งไพล ทคี่ อ่ นขา้ งร้อน เพ่อื ชว่ ยบรรเทาอาการปวดเมอ่ื ย และฟกช้ำ� เป็นต้น ผา่ นการ นวดตามรา้ นนวดแผนโบราณ รา้ นนวดโดยทวั่  ๆ ไป หรอื แม้แตก่ ารซอ้ื กลับไปใชน้ วดดว้ ยตนเอง นอกจากนป้ี ัจจบุ ัน ยังมีกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เข้ามาเท่ียวในไทย นิยมซ้ือน�้ำมันเหลืองไพล/น้�ำมันไพล และยาหม่องไพลเป็น ของฝาก ของที่ระลึก จึงถือเป็นอีกช่องทางหน่ึงในการขยายตลาดผลิตภัณฑ์ไพลในตลาดจีน นอกจากนี้ ปัจจุบัน ผู้บริโภคชาวจีนมีฐานะดีขึ้น จึงมีแนวโน้มการบริโภคสินค้าท่ีมีคุณภาพมากข้ึน โดยเฉพาะสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร จากไทยก็เป็นท่ีนิยม แต่เนื่องจากประเทศจีน มีการผลิตสินค้าปลอมเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งเป็นท่ีหวาดระแวงของ ผ้บู รโิ ภคชาวจีนเองด้วย ท�ำใหผ้ ู้บริโภคตอ้ งซอ้ื สินค้าจากช่องทางทน่ี า่ เช่ือถอื จีนเป็นประเทศท่ีมีการผลิตสินค้าปลอมจ�ำนวนมาก เป็นที่หวาดระแวงของผู้บริโภคทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเฉพาะสินค้าผลติ ภณั ฑ์แปรรูปสมุนไพร ดังน้นั การเลือกซื้อสินคา้ จงึ จำ� เป็นตอ้ งพิจารณาย่หี อ้ และ แหลง่ จ�ำหน่ายเพอื่ ทำ� ให้เกิดความแนใ่ จในตัวผลิตภัณฑ์ว่าเปน็ ของแท้ มใิ ชข่ องปลอม อย่างไรก็ตาม การประกาศ 18 โครงการส�ำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ “Made in China 2025 (พ.ศ. 2568)” ประจ�ำปี 2559 อาจเป็นอุปสรรคของสมุนไพรไทย คือ กระทรวงอุตสาหกรรมและสารสนเทศจีน ประกาศ 18 โครงการส�ำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ “Made in China 2025 (พ.ศ. 2568) ประจ�ำปี 2559  โดยโครงการที่สอดคล้องกับนโยบาย “Made in China 2025” ท่ีได้รับการคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนจ�ำนวน ร้อยละ 30-50 ของการลงทุนท้ังหมด ซึ่งมีโครงการท่ีเกี่ยวกับสมุนไพร คือ การสร้างฐานผลิตยาสมุนไพรจีน และยกระดับคุณภาพยาสมุนไพรจีน โดยจีนจะสร้างฐานผลิตยาสมุนไพรจีนที่คุณภาพดีและยาสามัญประจ�ำบ้าน รวมทงั้ สรา้ งฐานผลติ ยาสมนุ ไพรจนี ทข่ี าดแคลนและใกลส้ ญู หายไป ตลอดจนสรา้ งแพลตฟอรม์ การตรวจสอบคณุ ภาพ ยาสมุนไพรที่สามารถให้บริการแก่บริษัทยาสมุนไพรจีน 100 แห่งขึ้นไป แต่ทั้งนี้ด้วยคุณภาพและสรรพคุณของ ไพลจากประเทศไทยที่เป็นท่ียอมรับในสายตาผู้บริโภคชาวจีน ท�ำให้ยังคงมีโอกาสในการจ�ำหน่ายสมุนไพรชนิดน้ีใน ตลาดจีน Position-5.indd 5 9/13/19 16:05

6 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย 2.3 บวั บก รสนิยมและแนวโน้มของผู้บริโภคในจีน ถือเป็นตลาดขนาดใหญ่และมีความคุ้นเคยกับบัวบกและรู้ ถึงสรรพคุณของบัวบกดีอยู่แล้ว แต่ด้วยปริมาณความต้องการที่มีมากของจีน ท�ำให้ด้านการผลิตบัวบกออกมา ตอบสนองตลาดน้ันยังไม่เพียงพอ จึงเป็นโอกาสที่ส�ำคัญท่ีจะน�ำบัวบกของไทยที่มีสรรพคุณทางยาและการบ�ำรุง สขุ ภาพไปทำ� ตลาดยงั ประเทศจนี และดว้ ยการสบื คน้ ขอ้ มลู เชงิ ลกึ จากกลมุ่ เกษตรกรผปู้ ลกู ใบบวั บก พบวา่ นกั ธรุ กจิ จีนได้เข้ามาติดตอ่ ขอซื้อใบบัวบกเป็นจ�ำนวนมาก ทำ� ให้บวั บกเป็นสมุนไพรที่มีแนวโน้มเติบโตได้ในตลาดจีน นอกจากนี้ จากการสบื ค้นผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ของบวั บก พบว่า มีการน�ำบวั บกไปผลิตเป็นชาเพอ่ื ชงดมื่ บำ� รงุ รา่ งกาย ขณะเดยี วกนั ประเทศจนี เองเปน็ ประเทศทนี่ ยิ มการบรโิ ภคชาเปน็ อยา่ งมาก หรอื นบั ไดว้ า่ เปน็ เครอ่ื งดม่ื หลกั ของคนจีนก็ว่าได้ โดยในแต่ละปีจีนต้องน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ชาจากต่างประเทศเป็นจ�ำนวนมาก จากการสืบค้นพบว่า ตัง้ แต่ปี 2555-2559 ผลติ ภณั ฑ์ชาเฉลยี่ 100 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ ขยายตวั เฉล่ีย รอ้ ยละ 13.59 ทำ� ให้ประเทศจนี มีแนวโน้มทน่ี า่ สนใจท่ีจะน�ำมาเป็นตลาดหลกั ของการจดั ทำ� ยุทธศาสตร์บวั บกในครัง้ น้ี ในด้านรูปแบบการบริโภคเคร่ืองด่ืมของชาวจีนน้ัน มีความแตกต่างจากผู้บริโภคชาวไทยเล็กน้อย โดยชา หรือชาสมนุ ไพรเปน็ เครือ่ งด่ืมท่ีคูก่ ับประเทศจีนมาอย่างยาวนาน เพราะชาวจนี เชื่อว่าชาหรือชาสมนุ ไพรชว่ ยในเรอื่ ง ของการย่อยอาหารและคลายร้อน ทำ� ให้ผบู้ ริโภคในทกุ กลมุ่ ของจีน ไม่ว่าจะเปน็ กลุ่มวยั รนุ่ วัยท�ำงาน หรอื วัยชรา ยังคงนยิ มและมนี สิ ยั ชอบดม่ื ชาโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในชว่ งเทศกาลส�ำคัญ ๆ ทมี่ กี ารรวมญาติ หรอื แม้กระท่ังการซอื้ ชา เปน็ ของขวญั ของท่ีระลึก ทั้งนี้ ในปัจจุบนั มีชาหลากหลายประเภทและหลากหลายรสชาติ เพอ่ื ตอบสนองต่อความต้องการของคน ทกุ วัย ถงึ อยา่ งไรผบู้ ริโภคชาวจีนยังคงชอบบริโภคชาทีไ่ ม่มีรสชาติหวานและเย็นจนเกินไป เพราะด้วยธรรมชาติของ ภมู อิ ากาศของประเทศที่มอี าการเยน็ เกือบทัง้ ปี อีกทงั้ คนจีนยังนิยมรบั ประทานอาหารทมี่ นั  ๆ ทำ� ให้ตอ้ งดมื่ ชารอ้ น ที่มีรสชาติอ่อน เพื่อลดความมันในอาหารท่ีรับประทานเข้าไป และส�ำหรับวัยรุ่นหรือผู้บริโภคยุคใหม่จะเน้น การใสใ่ จในเร่ืองของสุขภาพมากขึน้ และมีนิสัยนยิ มบริโภคชาสมุนไพรที่มกี ารปรงุ แต่งกลิน่ หรือท�ำจากผลไม้ นอกจากนี้ จีนประสบกับปัญหาเรื่องคุณภาพของสินค้าประเภทอาหารและเคร่ืองดื่ม ท�ำให้ผู้บริโภค ชาวจนี หนั มาใหค้ วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ กบั คณุ ภาพของสนิ คา้ ประกอบกบั รายไดเ้ ฉลยี่ ของคนจนี ปรบั ตวั สงู ขนึ้ อยา่ งกา้ ว กระโดดในช่วงหลายปีท่ีผ่านมา ท�ำให้ผู้บริโภคชาวจีนเต็มใจและพร้อมท่ีจะจ่ายเงินเพื่อแลกกับคุณภาพของสินค้า รวมถึงหันมาสนใจสนิ ค้าน�ำเข้ามากยิง่ ข้นึ โดยมกั จะเลือกสนิ ค้านำ� เขา้ ท่มี กี ารระบุฉลากเป็นภาษาจนี ดังนัน้ สงิ่ ทนี่ า่ จับตามองเกีย่ วกบั พฤติกรรมของผู้บริโภคชาวจีนในปจั จบุ นั คอื ความกังวลและใสใ่ จในเรือ่ งสุขภาพมากข้ึน ท�ำให้ ความต้องการเครือ่ งดืม่ ประเภทไมม่ ีแอลกอฮอล์ไดร้ บั ความนยิ มมากขึ้น รสนิยมและแนวโน้มของผู้บริโภคในเวียดนาม ตลาดเวียดนามมีวิถีชีวิตใส่ใจสุขภาพ โดยเฉพาะสินค้า เคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพ ตลาดเคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพ พบว่า เวียดนามเป็นตลาดขนาดใหญ่ด้วยจ�ำนวนประชากร มากถึง 88.78 ลา้ นคน และในชว่ งที่ผ่านมาเศรษฐกิจเวยี ดนามมีการขยายตวั ในทิศทางทด่ี ขี น้ึ เพอ่ื กำ� หนดกลยทุ ธ์ ด้านการตลาดในการเข้าสู่ตลาดเครื่องด่ืมเพ่ือสุขภาพในเวียดนาม โดยควรมุ่งเน้นการน�ำผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นนวัตกรรม ใหม่ ๆ ท่ีไมเ่ คยมีจำ� หน่ายในเวียดนาม (Product Differentiate) เพอื่ สร้างความแตกตา่ ง อาทิ ชาพรอ้ มดม่ื บรรจุ กระป๋องระดับพรีเมี่ยม เพื่อเพิ่มคุณค่าให้ผลิตภัณฑ์ ทั้งน้ี กลุ่มผู้บริโภคสมุนไพรในเวียดนามส่วนใหญ่ คือ ผู้ใหญ่ วยั กลางคน และผู้สงู อายุ ดังน้ันตลาดเวียดนามมีความเหมาะสมท่ีจะน�ำผลิตภัณฑ์จากบัวบกที่เป็นผลิตภัณฑ์ชาไปท�ำตลาด ณ ประเทศเวยี ดนาม เนอื่ งจากเมอื่ ทำ� การสบื คน้ ขอ้ มลู พบวา่ พฤตกิ รรมของคนเวยี ดนามนน้ั ยงั มคี วามนยิ มในการดม่ื ชา Position-5.indd 6 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเด็นการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรช์ าติ 7 ตารางท่ี 1.3 ขอ้ มลู เศรษฐกจิ มหภาคของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม ตงั้ แต่ปี 2555-2559 ขอ้ มูล 2555 2556 2557 2558 2559 มลู ค่า GDP (ล้านดอลลาร์สหรฐั ฯ) 155,820 171,222 186,204 193,241 202,615 GDP Growth rate (%) จำ� นวนประชากร (คน) 14.96 9.88 8.75 3.78 4.85 รายไดต้ ่อคน (ดอลลารส์ หรัฐฯ/คน) 88,809,200 89,759,500 90,728,900 91,713,300 92,701,100 มูลค่านำ� เข้าชาจากไทย (ดอลลารส์ หรัฐฯ) อัตราการเปล่ียนแปลงการนำ� เขา้ ชาไทย (%) 1,754.55 1,907.56 2,052.32 2,107.01 2,185.69 15,609 811,242 2,226,870 447,703 931,511 ทมี่ า: The World Bank, สืบคน้ เมอื่ 1 มถิ ุนายน 2560 - 5097.27 108.06 174.50 -79.90 โดยเฉพาะชาสมุนไพรท่ีมีสรรพคุณบ�ำรุงร่างกาย และเม่ือสืบค้นข้อมูลการส่งออกชาจากไทยไปเวียดนาม พบว่า เวียดนามเป็นคู่ค้าอันดบั หน่งึ ในการสง่ ออกชาของไทย ดงั ข้อมูลการสง่ ออกชาของไทย ดังแสดงในตารางท่ี 1.3 นอกจากนี้ ตลาดเวียดนามยังมีลักษณะการบริโภคคล้ายคลึงกับตลาดจีนและมีความคุ้นเคยกับสินค้า ของไทย โดยคนเวยี ดนามมพี ฤตกิ รรมนยิ มดม่ื ชาเหมอื นกบั ชาวจนี ซง่ึ ถอื เปน็ โอกาสทผี่ ลติ ภณั ฑบ์ วั บกทน่ี ำ� มาแปรรปู เปน็ ชาและเป็นผลติ ภัณฑเ์ ปา้ หมายในคร้งั น้ี และเมือ่ พิจารณาจากการส่งออกชาของไทย พบว่า เวยี ดนามเป็นตลาด สง่ ออกหลกั ของไทย ในปี 2559 ไทยสง่ ออกชาไปยงั เวยี ดนามคิดเปน็ มูลค่า 931,511 ดอลลารส์ หรัฐฯ และขยายตวั เฉลย่ี ตงั้ แตป่ ี 2555-2559 รอ้ ยละ 1,324.99 ซงึ่ ถอื เปน็ อตั ราการขยายตวั ทสี่ งู ทส่ี ดุ ในบรรดาคคู่ า้ ชาของไทย เวยี ดนาม 2.4 กระชายด�ำ สถานการณ์การคา้ ในจีน สถานการณ์การค้าในประเทศเป้าหมายของกระชายด�ำ จ�ำแนกตามตลาดหลกั คือ จนี และตลาดรอง คือ เวยี ดนาม พบวา่ จนี มีการน�ำเขา้ กระชายดำ� จากประเทศไทยบา้ งแตเ่ ป็นสว่ นน้อยมาก กระชายด�ำทีจ่ ีนต้องการ คือ มีสีด�ำสนทิ โดยนำ� เขา้ ในรูปของสารสกัดและอบแห้ง เพื่อน�ำไปเป็นส่วนประกอบของ การผลติ สมนุ ไพร ส�ำหรับเวียดนามก็เชน่ กนั อาจมกี ารนำ� เขา้ บ้างแตย่ ่ิงมีสดั ส่วนท่ีนอ้ ยมาก และไมไ่ ดม้ ีสมำ�่ เสมอ สำ� หรบั คแู่ ขง่ ของผลติ ภณั ฑก์ ระชายดำ� ไทยในจนี ไมใ่ ชค่ แู่ ขง่ ทส่ี ง่ ออกผลติ ภณั ฑก์ ระชายดำ� โดยตรง แตเ่ ปน็ คแู่ ขง่ โดยออ้ มจากสมนุ ไพรนำ� เขา้ ประเภทอน่ื รวมไปถงึ การแขง่ ขนั จากการผลติ ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรภายในประเทศของ จนี เองดว้ ย เนอื่ งจากจนี เปน็ ประเทศทมี่ กี ารปลกู พชื สมนุ ไพรหลากหลายชนดิ และมกี ารพฒั นาศกั ยภาพสนิ คา้ สมนุ ไพร ทข่ี นึ้ ชอ่ื ในโลก อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ พิจารณาจากมลู ค่าการนำ� เข้าสมนุ ไพรของจีน ในปี 2559 จีนนำ� เข้าสมุนไพรจาก ไทยเป็นอนั ดับท่ี 9 ใกลเ้ คยี งกับเกาหลที ีอ่ ยู่ในอนั ดบั ท่ี 8 แตก่ ระนน้ั ยงั มีมูลคา่ ห่างไกลมากกับสหรฐั อเมริกาท่อี ยู่ใน ลำ� ดบั ท่ี 1 เมอ่ื กลา่ วเฉพาะคแู่ ขง่ ในกลมุ่ อาเซยี นดว้ ยกนั พบวา่ ยงั มมี ลู คา่ สงู กวา่ อนิ โดนเี ซยี และเวยี ดนามอยพู่ อสมควร เช่นเดียวกันกับคู่แข่งของผลิตภัณฑ์กระชายดำ� ไทยในเวียดนาม ซ่ึงไม่ใช่คู่แข่งโดยตรง แต่เป็นผลิตภัณฑ์ สมนุ ไพรนำ� เขา้ ประเภทอนื่ เมอื่ พจิ ารณาจากมลู คา่ การนำ� เขา้ สมนุ ไพรของเวยี ดนามในปี 2559 มกี ารนำ� เขา้ สมนุ ไพร จากไทยเป็นอันดับที่ 5 และยังมีมูลค่าห่างไกลมากกับจีนท่ีอยู่ในล�ำดับท่ี 1 และอินเดียท่ีอยู่ในล�ำดับท่ี 2 กล่าว เฉพาะคแู่ ข่งในกลุ่มอาเซยี นด้วยกัน พบว่ามีคู่แขง่ คือสิงคโปรท์ ี่อยใู่ นล�ำหับท่ี 6 และอินโดนีเซยี ทอ่ี ยู่ในล�ำดับที่ 7 รสนิยมและแนวโน้มของผู้บริโภคในจีน ด้วยสมญานามของกระชายด�ำ คือ ไวอากร้าธรรมชาติ และ กระชายด�ำไทยมีช่ือเสียงโดดเด่นระดับโลก ยากจะหากระชายด�ำจากประเทศอ่ืนเสมอเสมือน คุณสมบัตินี้ของ กระชายด�ำ จึงค่อนข้างดึงดูดใจผู้บริโภคในประเทศจีน ซึ่งมีรสนิยมและแนวโน้มในการบริโภคอาหารท่ีให้พลัง Position-5.indd 7 9/13/19 16:05

8 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ทางเพศสูง อย่างไรก็ตาม ชาวจีนมีพฤติกรรมในการซื้อสินค้าสมุนไพรจากความคุ้นเคย ซ่ึงสามารถเกิดข้ึนได้จาก การให้ทดลองชิมรส โดยแท้จริงแล้ว เคร่ืองด่ืมสมุนไพรบ�ำรุงสุขภาพเป็นสินค้าไทยอีกชนิดหน่ึงท่ีชาวจีนนิยม อย่างไรก็ตาม ผลตอบรับที่ดีต้องมาจากการได้ชิมรสชาติ เช่น ในกรณีของกาแฟกระชายด�ำ มีรสชาติที่ดี หากมีโอกาสในการ เข้าร่วมงานแสดงสินค้าต่าง ๆ ต้องเน้นการให้ชิมฟรีโดยไม่เสียดาย เพราะผู้บริโภคชาวจีนนั้นเม่ือชิมแล้วถูกใจก็ จะเหมาซื้อกันไปคนละหลาย ๆ กล่อง หรือกรณีของรสชาติเครื่องด่ืมที่เป็น functional drink ของกระชายด�ำ ควรตอบโจทยด์ า้ นรสชาตขิ องผบู้ รโิ ภคในประเทศจนี ไดอ้ ยา่ งลงตวั คนจนี ไมช่ อบเครอื่ งดมื่ ทม่ี รี สหวาน ในขณะทก่ี าร ดบั ความฝาดของสมนุ ไพรกระชายดำ� นน้ั ตอ้ งอาศยั การใสน่ ำ้� ตาลไมว่ า่ จะเปน็ กลโู คสหรอื ฟรกุ โตสกต็ าม หากมรี สชาติ ทีห่ วานเกินไปชาวจนี จะไม่นยิ ม เมอื่ ได้มีการทดลองชมิ สนิ คา้ แล้วไมถ่ กู ใจอันมาจากความไมค่ ุ้นเคย และจะไม่เรยี ก หาสนิ ค้านั้น ๆ อีก ซึง่ ก็อาจหมดโอกาสทางการตลาดตอ่ ไป โดยสรปุ แลว้ ผลติ ภัณฑเ์ ครอ่ื งด่มื กระชายดำ� ต้องไมเ่ ผด็ และไม่หวานจัดจึงจะถูกจริตผู้บริโภคชาวจีน แต่ถ้ารสชาติพอดี คือ ไม่หวานและไม่เผ็ดเกินไปจะท�ำให้ดื่มง่าย คล่องคอ อีกท้ังราคาถูกลงได้เพราะไม่ต้องใส่น้�ำตาล ลูกค้าเองก็ตัดสินใจซื้อได้ง่ายในราคาท่ีไม่สูงนัก ประกอบกับ การท�ำบรรจุภัณฑ์ให้ดูดี น่าซ้ือและมีความสะดวกต่อการบริโภคในชีวิตประจ�ำวันท่ีเร่งรีบ หรือสามารถซื้อเพ่ือเป็น ของฝากญาตมิ ติ รได้ดี ก็จะตอบโจทยร์ สนยิ มและแนวโนม้ ของผบู้ ริโภคในประเทศจนี ได้ ส�ำหรับเคร่ืองด่ืมกระชายด�ำท่ีมีแอลกอฮอล์ เช่น ไวน์กระชายด�ำ มีรสชาติที่ตรงตามรสนิยมการบริโภค ของคนจีน เพราะเปน็ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลท์ ่ีมีรสชาติไมแ่ รง คือ มีรสไม่เข้มมากเกินไป โดยคนจนี มีนิสยั น่งั คยุ ไปดม่ื เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไป อย่างไรก็ตามรสชาติท่ีแตกต่างสามารถสร้างจุดขายได้ แต่ก็ต้องกลมกลืนกับรสนิยมคอ นักดม่ื ชาวจนี ดว้ ย รสนิยมและแนวโน้มของผู้บริโภคในเวียดนาม พฤติกรรมในการตัดสินใจซ้ือสินค้าของชาวเวียดนาม มคี วามแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะพนื้ ทข่ี องประเทศ เชน่ เวยี ดนามตอนใตพ้ จิ ารณาราคาสนิ คา้ เปน็ สำ� คญั ขณะทเ่ี วยี ดนาม ตอนกลางให้ความส�ำคัญกับคุณภาพสินค้า ส่วนเวียดนามตอนเหนือค่อนข้างระวังเร่ืองค่าใช้จ่ายโดยพิจารณาถึง ประโยชนใ์ ช้สอยและความคงทนเป็นส�ำคญั ปัจจบุ ัน ผบู้ รโิ ภคชาวเวยี ดนามมรี สนิยมการบรโิ ภคที่เปลยี่ นไป แนวโน้มการบรโิ ภค คือ มีความต้องการ สินค้าระดับกลางถึงบนมากขึ้น นอกจากน้ี กลุ่มวัยแรงงานของเวียดนามค่อนข้างอ่อนไหวต่อกระแสความนิยมใน ตลาดโลก ในกรณีของอาหารเพื่อสุขภาพดังเชน่ สมุนไพรนั้น ผู้บริโภคเพศชาย สนใจมองหาผลิตภัณฑท์ ่ดี ่มื แล้วช่วย ให้ร่างกายแข็งแรง ลดอาการร้อนใน ให้พลังงาน และผลิตภัณฑ์ที่สร้างภาพลักษณะความเป็นชาย ซ่ึงผลิตภัณฑ์ สมุนไพรกระชายด�ำจากไทยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคเพศชายในเวียดนามได้ด้วยคุณลักษณะ ดงั ทก่ี ลา่ ว สำ� หรบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ เพอื่ สขุ ภาพของเวยี ดนาม ยงั นยิ มบรโิ ภคผลติ ภณั ฑภ์ ายในประเทศทมี่ ี ราคาถกู และมคี ณุ ภาพทางสรรพคณุ ทค่ี อ่ นขา้ งตำ�่ หากผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑก์ ระชายดำ� ไทยทมี่ รี าคาไมส่ งู นกั แตม่ สี รรพคณุ ที่ โดดเดน่ ดงั เชน่ เครอ่ื งดม่ื ทเี่ ปน็ functional drink จะมองเหน็ โอกาสตรงน้ี กน็ า่ สนใจหาทางเจาะตลาดซงึ่ อาจเปน็ ในรปู ส่งออกหรือการเขา้ สตู่ ลาดดว้ ยวธิ ีการอ่ืน เช่นสร้างการรบั ร้วู า่ เป็นสินคา้ ทีต่ อ้ งซื้อจากเมอื งไทย จากการท่ีเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีน่ารับประทานและมีคุณภาพดีกว่า และสามารถตอบโจทย์ด้านรสนิยมคน เวียดนาม ผลิตภัณฑ์ชากระชายด�ำจัดได้ว่าเป็นสินค้าท่ีมีศักยภาพในตลาดเวียดนาม เน่ืองจากมีลักษณะตรงตาม รสนิยมของคนเวียดนามท่ีนิยมดื่มน�้ำชากับน�้ำแข็ง ประกอบกับการเร่งสร้างการยอมรับและเพิ่มคุณค่าในเร่ืองการ บ�ำรุงสุขภาพและพละก�ำลังให้ประจักษ์ ส�ำหรับตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสมุนไพรของเวียดนามน้ัน ผลิตภัณฑ์ ท่ีมีส่วนแบ่งตลาดมากท่ีสุดประมาณ ร้อยละ 30 คือ โสมเกาหลี ดังนั้นถ้าคนเวียดนามได้ตระหนักว่ากระชายด�ำ ของไทยมคี ณุ ภาพเทยี บเทา่ โสมเกาหลี ผ่านการประชาสมั พันธ์ในเรื่องน้ี กม็ ีแนวโนม้ ในการเข้าสตู่ ลาดเวียดนามได้ Position-5.indd 8 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเด็นการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรช์ าติ 9 2.5 ข้อเสนอแนะในการน�ำผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรส่ตู ลาดจีน (1) ผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรไทยควรมีพื้นทีว่ างขายให้ทอ่ งเทย่ี วจีนท่เี ขา้ มาเทย่ี วเมอื งไทยไดเ้ ห็นและได้ทดลอง ใช้ตามร้านค้าต่าง ๆ ในเมอื งไทย (2) ไทยควรมีตลาดนัด แผ่นเหด็ สมุนไพรและผลิตภณั ฑ์สมุนไพรเพือ่ ใหเ้ กิดการพบกนั ระหวา่ งผ้ซู ื้อและ ผู้ขายทุกระดับ แต่ท้ังนี้ ทั้งน้ัน ต้องสร้างความม่ันใจให้เกิดกับผู้ใช้คนไทยก่อนว่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยใช้แล้ว ดีจรงิ (3) ไทยควรมีการเจรจากับจีนเร่ืองการเปดิ ตลาดผลติ ภัณฑ์สมุนไพรไทยในตลาดจีน เพราะปัจจุบันยาจนี เข้ามาขายในไทยเยอะมาก แต่ในขณะที่ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของไทยไม่สามารถเข้าไปขายในประเทศจีนได้เนื่องจาก ติดปญั หาเรือ่ งกฎระเบียบท่เี ข้มงวดมากของจนี (4) หากไทยต้องการยกระดับอุตสาหกรรมสมุนไพรเพ่ือสร้างมูลค่าให้เพ่ิมข้ึนน้ันต้องปรับโครงสร้าง การผลิตท้ังระบบ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ช่องทางการเข้าถงึ ผ้บู ริโภค โดยแบง่ ออกเป็น 5 ระดบั คอื ระดบั ตลาดสมุนไพร ทม่ี กี ารซอื้ ขายกนั ทกุ วนั เชน่ ตลาดสมนุ ไพร Qingping ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ในกวา่ งโจว ระดบั รา้ นคา้ ตามทอ้ งถนนทผ่ี บู้ รโิ ภค สามารถหาซื้อและดื่มกินบ�ำรุงสุขภาพได้เลย เช่น กรณีร้านขายช่ือว่า “Liang Cha” ในกว่างโจว ระดับร้าน ยาสมุนไพรไทยท่ีขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรหลากหลายมาก ระดับห้างสรรพสินค้าท่ีสามารถสู้กับแบรนด์ดัง ร้านขาย เคร่ืองด่มื สมนุ ไพร (5) ในโรงพยาบาลต้องสนับสนุนให้มีการใช้ยาสมุนไพรให้มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เหมือนกับที่จีน ท�ำในขณะนี้ที่มโี รงพยาบาลรกั ษาดว้ ยยาสมนุ ไพร และโรงพยาบาลทมี่ กี ารรักษาทงั้ แผนปัจจุบนั และสมุนไพร (6) ตงั้ มหาวทิ ยาลยั แพทยแ์ ผนไทยเพอ่ื ผลติ บคุ คลกรทเ่ี ชย่ี วชาญเกย่ี วกบั สมนุ ไพรไทยเหมอื นมหาวทิ ยาลยั “Guangzhou University of Chinese Medicine” ของจีน (7) ตดิ ตอ่ เวบ็ ไซตจ์ นี ทข่ี ายสนิ คา้ เฉพาะ เชน่ เวบ็ ไซตอ์ าหาร ไดแ้ ก่ www.yhd.com และ www.jmall.com ส่วนเคร่ืองส�ำอางและเสอ้ื ผา้ คอื www.vip.com, www.lefeng.com, www.jumei.com และ www.jd.com (8) เอาร้านสปาไทยในจีนเป็นตัวน�ำเพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคจีนมีโอกาสได้เห็นและทดสอบใช้ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรไทย ตั้งศนู ยห์ รอื สถาบันฝึกอบรมเทอราปิส (Therapist: หมอนวดแผนโบราณ) ในประเทศจีน (9) เจรจาจนี ใหอ้ นุญาตเทอราปสิ เข้ามาทำ� งานในจนี (ปัจจุบนั ไม่อนุญาตใหท้ ำ� ) (10) ตัง้ ศนู ยห์ รอื สถาบันฝกึ อบรมเทอราปสิ (Therapist: หมอนวดแผนโบราณ) ในจนี (11) การน�ำเข้าสมุนไพรในจีน ต้องเนน้ สินค้าที่มคี วามแตกต่าง แปลกใหม่ จะมีโอกาสสงู (12) สนิ คา้ ประเภทเคร่อื งส�ำอางทจ่ี ะน�ำเข้ามาขายในจีน หา้ มโฆษณาสรรพคุณเกนิ จรงิ (13) จะระบุว่าขาวขึ้น แก้สิว แกฝ้ ้าไม่ได้ แต่ระบุสว่ นประกอบ ระบสุ ง่ิ ท่ีไดร้ ับได้ เช่น วิตามนิ A B C Position-5.indd 9 9/13/19 16:05

10 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย 3. ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรเมียนมาร์ 3.1 การพฒั นาสมนุ ไพรเมียนมาร์ รัฐบาลเมียนมาร์ก�ำลังผลักดันสมุนไพรเพ่ือสร้างรายได้จากต่างประเทศที่น่าสนใจมาก การแพทย์ แผนโบราณของเมยี นมาร์ มมี าตง้ั แตย่ คุ สมยั อาณานคิ ม (1885) โดยมพี นื้ ฐานมาจาก 2 ความคดิ คอื พทุ ธศาสนากบั อายุรเวดะ (Ayurvedic Concept) แบ่งเป็น 4 ระบบ คือ The Desana system อาศัยหลักพุทธศาสนาใน การอบรมสั่งสอน ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ ความร้อนและความเย็น The Bhesijja system ใช้หลักการ แพทยอ์ ายุรเวทของอนิ เดยี The Netkhatta system เปน็ การแพทย์แบบโหราศาสตร์ ระบบจักรวาล เวลาของ การเกิดและอายุและ The Vijjadhara system เป็นระบบการแพทย์เกี่ยวกับภาวะทางจิตบ�ำบัด และฝึกสมาธิ ส่วนประเทศไทยมีการแพทย์พืน้ บ้านและการแพทยแ์ ผนจนี ในขณะท่ีระบบการแพทย์โบราณของอินเดียมี 5 ระบบ อายุรเวท (Ayurveda มาจากภาษาสันสกฤต ayur คือ ชีวิต veda คือ ความรู้) สิทธา ยูนานิ โยคะ และ โฮมีโอพาธีย์ และท่ีส�ำคัญอินเดียเป็นประเทศที่ มีพืชสมุนไพรท่ีข้ึนทะเบียนมากท่ีสุดในโลกถึง 250,000 ชนิด โดยมีการใช้สมุนไพรในอายุรเวท 2,000 ชนิด สทิ ธา 1,300 ชนิด ยูนานิ 1,000 ชนิดและ โฮมีโอพาธยี ์ 800 ชนดิ (ข้อมลู บางแหลง่ บอกวา่ อายรุ เวทอนิ เดยี เกดิ เม่ือ 2,200 ปมี าแล้ว ตั้งแต่ 2nd Century B.C. แตข่ ้อมลู University of Cambodia 2014 บอกว่าเกิดมา 5,000 ปี แล้ว) อนิ เดยี มีการใชส้ ูตรต�ำรบั ยาเพ่อื รกั ษาโรคมากถงึ 25,000 สูตร (ท่ีมา: Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine Volume 2013) จีนใช้แพทยแ์ ผนโบราณวา่ “Traditional Chinese Medicine: TCM สมัย Huang Di Nei Jing หมอโบราณของจีน ในปี 475 B.C. หรือ 2,491 ปีมาแล้ว ต่อมาเรียกว่า Yin-Yang สปป.ลาวเรียกการแพทย์แผนโบราณว่า “ยาภูมิเมืองลาว (Ya Phurn Meuang Lao)” มีพื้นฐานมา จากพทุ ธศาสนาและอนิ เดีย ในขณะทกี่ ารแพทยโ์ บราณของกมั พชู าเรมิ่ มาตง้ั แตส่ มนั ยคุ องั กอร์ (Angkor Era, 800-1431 A.D.) 1,200 ปี เรียกวา่ “Kru Khmer” มีอิทธิพลมาจากจีนและอนิ เดีย ประเทศไทยมีพืชสมนุ ไพร 800-1,500 ชนดิ ในขณะทพ่ี ชื สมนุ ไพรของเมยี นมารท์ ร่ี วบรวมโดย กระทรวงสาธารณสขุ มี 59 ชนิด ได้แก่ ส้มป่อย หอมหวั ใหญ่ ว่านหางจระเข้ ขา่ ขม้ินชนั ฟา้ ทะลายโจร นอ้ ยหนา่ หมาก มะเฟือง และสะเดา เป็นต้น 3.2 การคา้ สมุนไพรเมียนมาร์ ตั้งแต่ปี 2553-2559 ส่งออกเพิ่มขึ้นทุกปีจนไปถึง 400 ล้านบาทสูงกว่าการส่งออกขม้ินชันของไทยอยู่ ท่ี 13 ล้านบาท ปี 2559 บริษัท “Shinihonseiyaku” ท่ผี ลติ เครือ่ งสำ� อาง อาหารสุขภาพและยาของญี่ปุ่นได้มา เชา่ พนื้ ทีป่ ลูกสมุนไพรทเ่ี มืองผาอัน (Hpa-An) เมอื งเอกของรฐั กะเหร่ยี ง (Kayin State) และเมือง Pin O Lwin เพื่อลดการน�ำเข้าสมุนไพรจากจีนรวม 30 ชนิด ได้แก่ ขิง และอบเชย เป็นต้น คาดว่าจะส่งออกไปญ่ีปุ่นปีละ 2,000 ตนั นอกจากสมนุ ไพรเมยี นมาร์ ถูกผลักดันจากรัฐบาลแล้ว ปกตเิ ราจะรสู้ กึ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของเมียนมาร์ คือ “Tanaka” แต่แรงผลักส�ำคัญท่ีท�ำให้อุตสาหกรรมสมุนไพรเมียนมาร์ไปสู่ตลาดโลก คือ บริษัท FAME Pharmaceuticals Industry ตงั้ โดย Dr.Khin Maung Lwin ตัง้ มา 23 ปีทแ่ี ล้ว เป็นบรษิ ทั ผลิตภัณฑ์สมนุ ไพร แห่งแรกและแห่งเดียวของเมียนมาร์ที่ได้มาตรฐานต้ังแต่การปลูกและผลิตภัณฑ์ ในระดับการปลูกนั้นผ่าน FAME Organic Pham ท่ตี ัง้ อยู่ท่ีเมอื ง Pin O Lwin เขตมณั ฑะเลย์ ซงึ่ ไดม้ าตรฐาน USDA Organic, IFOAM, Organic Myanmar และ Australia Certificate Organic Position-5.indd 10 9/13/19 16:05

กลุม่ ท่ี 1 ประเด็นการขบั เคล่อื นยุทธศาสตรช์ าติ 11 นอกจากนี้ยังมีพืชสมุนไพรท่ีไม่เป็นออร์แกนิกอีกด้วย ส่วนระดับการแปรรูปเป็นโรงงานที่ผลิตภัณฑ์ก็ได้ มาตรฐานมากมาย เช่น ISO, GMP, Solar Cell Award เป็นต้น ต้งั ท่เี ขตอตุ สาหกรรม “Hlaing Tha Yar” เป็น อตุ สาหกรรมทใ่ี หญแ่ ละเกา่ แกท่ สี่ ดุ ของเมยี นมาร์ เพราะมพี น้ื ทมี่ ากทสี่ ดุ จำ� นวน 4,000 ไร่ โดยเปน็ พนื้ ทอ่ี ตุ สาหกรรม 2,717 ไร่ และยงั เปน็ เขตอตุ สาหกรรมใหย้ คุ แรกทไ่ี ดก้ อ่ สรา้ งขนึ้ เมอื่ ปี 1995 ปจั จบุ นั มโี รงงาน 600 โรงงาน สว่ นใหญ่ เปน็ โรงงานเสอ้ื ผา้ อาหาร และสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค มจี า้ งคนงานทง้ั หมด 60,000 คน และหา่ งจากตวั ใจกลางสนามบนิ ยา่ งกงุ้ 15 กิโลเมตร บริษัท FAME ส่งออก สงิ คโปร์ มาเลเซีย ไทย เกาหลใี ต้ ญ่ีปุ่น และก�ำลงั สง่ ออกไปสหรัฐฯ เพราะผา่ นมาตรฐาน FDA ของสหรฐั ฯ แล้ว นอกจากนยี้ ังมี FAME Clinic คลินิกรักษาผสมผสานระหวา่ งสมยั ใหม่ กับแผนแพทย์โบราณ และมี Organic Tour Program เพื่อพาไปชมการจดั การสวน พชื สมุนไพร คา่ เข้าชมคนละ 5,000 จัต หรอื 120 บาท สำ� หรบั ผลติ ภณั ฑม์ หี ลากหลายและมากมายและ บอกสรรพคุณชัดเจนวา่ แก้อะไร เชน่ ตอ่ ต้านโรคมะเรง็ เบาหวาน ความดัน บ�ำรงุ กระดูก สมอง ตา ช่วยยอ่ ยอาหาร และครีมรกั ษาผิว เป็นตน้ 3.3 นโยบายและการพฒั นาสมนุ ไพรเมียนมาร์ ปัจจุบันรัฐบาลเมียนมาร์ได้ท�ำ (1) โรงพยาบาลแพทยแ์ ผนโบราณ 14 แหง่ ส่วนใหญ่ตั้งในยา่ งกงุ้ 43 คลนิ กิ แพทย์โบราณระดบั อำ� เภอ 194 คลนิ ิกระดบั เมอื ง (2) มีการต้ังหน่วยงานส่งเสริมแพทย์ทางเลือก (Traditional Medicine Promotion Office) ในปี 1953 สังกัด ก.สาธารณสขุ (3) ตง้ั ระดบั หนว่ ยงานบริหารแพทย์โบราณระดบั ประเทศ เขต อำ� เภอ และเมอื ง (4) หน่วยงานพัฒนาบุคคลกรด้านแพทย์ทางเลือก ต้ังสถาบันแพทย์ทางเลือก ผลิตปีละ 100 คน และตง้ั มหาวทิ ยาลยั แพทย์แผนโบราณท่ี มณั ฑะเลย์ เมอื่ 19 ธ.ค. 2544 ผลติ บณั ฑติ ปีละ 250 คน ดีกรี Bachelor of Myanmar Traditional Medicine (BMTM) 4. อตุ สาหกรรมสมุนไพรอินเดยี 4.1 อินเดยี ตน้ ตำ� รบั สมนุ ไพร อินเดียก็เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพรท่ีหลากหลายและยาวนานพอ ๆ กับจีน เลยทีเดียว และอินเดียก็เป็นประเทศท่ีมีการใช้แพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) ในการรักษาโรคอย่าง กว้างขวาง ซึ่งก็มีมานานหลายพันปี ได้แก่ การแพทย์อายุรเวท (Ayurveda Medicine) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ อินเดีย การแพทย์สิทธา (Siddha Medicine) อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ รวมทั้งการแพทย์ท่ีได้รับมาจาก ต่างประเทศ เช่น Unani medicine ที่เป็นของชาวมุสลิม และโฮมีโอพาธีย์ (Homeopathy) ที่ก�ำเนิดมาจาก ประเทศเยอรมัน และโยคะ เป็นต้น และท่ีส�ำคัญอินเดียเป็นประเทศท่ีมีพืชสมุนไพรท่ีขึ้นทะเบียนมากท่ีสุดในโลก ถงึ 250,000 ชนดิ โดยมีการใช้สมุนไพรในอายรุ เวท 2,000 ชนิด สิทธา 1,300 ชนดิ อนู านิ 1,000 ชนดิ และ โฮมโี อพาธยี ์ 800 ชนดิ และอนิ เดยี มกี ารใชส้ ตู รตำ� รบั ยาเพอื่ รกั ษาโรคมากถงึ 25,000 สตู ร (ทมี่ า: Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine Volume 2013) เหตุผลดังกล่าวท�ำให้อุตสาหกรรมสมุนไพรอินเดีย จึงได้รับความนิยมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ อินเดียปลูกสมุนไพรมากบรเิ วณเทอื กเขาหิมาลัย (Himalayas) โดยเฉพาะรัฐอตุ ตราขณั ฑ์ (Uttaranchal) ทถี่ ูกวาง ให้เป็น “รัฐสมุนไพรของอนิ เดีย (Herb State)” เพราะมีสถาบนั พัฒนาและวจิ ัยสมนุ ไพร (The Herbal Research Position-5.indd 11 9/13/19 16:05

12 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย and Development Institute; HRDI) ซ่ึงเปน็ หนว่ ยงานของรัฐบาล ท่มี เี กษตรกรเป็นสมาชิก 20,000 คน และ สนบั สนุนดา้ นตน้ ทนุ การผลิต 50% รวมทัง้ ปจั จยั การผลิต นอกจากน้ียงั ปลูกในรฐั ตา่ ง ๆ เช่น Gujarat, Rajasthan, Maharashtra, Madhya Pradesh และ Assam และ Tamil Nadu ซ่งึ มีสมนุ ไพรส�ำคญั ได้แก่ กะเพรา (Holy Basil) ขม้นิ ชัน (Turmeric) ใบกระวาน (Bay Leaf) ผกั ชี (Coriander) ลูกซดั (Methi) กระเทียม (garlic) พชื จ�ำพวกสะระแหน่ (Mint) ขงิ (Ginger) ตน้ สมยุ หมุย หรือใบแกง (Curry Leaf Tree) ซินนามอน (Cinnamon) นอกจากนย้ี งั ปลกู ในรัฐอรณุ าจัลประเทศ (Arunachal Pradesh) ได้แก่ สมนุ ไพร โกฐ (Picrorhiza Kurroa) และ ระย่อมน้อย (Rauvalfia Serpentina) รัฐหิมาจลั ประเทศ (Himachal Pradesh) ได้แก่สมนุ ไพร ว่านนำ้� (Acorus Calamus) และตังกุย (Angelica Glauca) และรฐั เมฆกัลยา (Meghalaya) ไดแ้ ก่ สมุนไพรควนิ ิน (Cinchona Ledgeriana) และ มะแวง้ นก (Solanum Khasianum) 4.2 การค้าสมุนไพรอินเดยี ในปี 2559 อินเดียน�ำเข้าสมุนไพรจากออสเตรเลียสัดส่วน ร้อยละ 23.7 เนเธอร์แลนด์ ร้อยละ 10.5 และอฟั กานิสถาน ร้อยละ 9.1 ตามลำ� ดบั นำ� เข้าจากไทย 45,000 เหรยี ญสหรัฐฯ หรอื รอ้ ยละ 0.06 ส่วนสารสกัด จากสมุนไพร ปี 2559 อินเดยี น�ำเข้าจากจนี คิดเปน็ สดั ส่วน รอ้ ยละ 25.3 สหรฐั อเมริกา ร้อยละ 22.5 และบราซิล ร้อยละ 12.5 ตามล�ำดับ ส่วนไทยน�ำเข้าเพยี ง 66,000 เหรยี ญสหรัฐฯ หรอื คิดเป็น ร้อยละ 0.09 ของมูลคา่ การ น�ำเข้าสารสกัดของอินเดียจากท่ัวโลก ส่วนการส่งออกน้ันอินเดียส่งออกสมุนไพรมูลค่า 270.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน็ สัดสว่ น รอ้ ยละ 9.1 (เพ่ิมขนึ้ จากปี 2012 รอ้ ยละ 37.1) โดยสง่ ออกไปยงั ประเทศ สหรฐั อเมริกา เยอรมนั และปากสี ถาน ตามล�ำดับ ส่วนไทยสัดส่วนรอ้ ยละ 0.9 ในขณะท่สี ารสกัดจากสมุนไพรอนิ เดียส่งออกไปทัว่ โลกเปน็ อันดบั ท่ี 2 รองจากจนี เช่นกัน โดยสง่ ออกไป สหรัฐอเมริกามากท่ีสุดคิดเป็น ร้อยละ 47.7 จีน ร้อยละ 9.5 และเยอรมันนี ร้อยละ 4.8 ตามล�ำดับ ส่วนไทย อยู่ล�ำดับที่ 21 คิดเป็น ร้อยละ 0.5 ของมูลค่าการส่งออกสารสกัดของอินเดียไปท่ัวโลก บริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ สมนุ ไพรมี 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุม่ ที่ 1 กลุ่มยอดขายเกิน 80 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐฯ ตอ่ ปี ได้แก่ บรษิ ทั Biotique, บริษัท Himalaya Drug Company, บริษัท Shahnaz Hussain, และบริษัท VLCC กลุ่มที่ 2 มียอดขายอยู่ ระหวา่ ง 10-80 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ ตอ่ ปี โดยผลติ และจำ� หนา่ ยสนิ คา้ เครอื่ งสำ� อางธรรมชาตริ ะดบั กลางถงึ ระดบั สงู จ�ำหน่ายผ่านสปาและร้านเสริมสวย ได้แก่ บริษัท Lotus, บริษัท Blossom Kochhar, บริษัท Fab India, บรษิ ทั Forest Essentials, บรษิ ทั The Body Shop เป็นต้น และกลุ่มท่ี 3 เป็นกลุ่มบริษทั ขนาดเลก็ มยี อดขาย ต�่ำกว่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี เป็นผู้ผลิตรายเล็กแต่ส่วนใหญ่จะเป็นผู้น�ำเข้า มีอยู่ 40 บริษัท ตลาด สหภาพยุโรปได้กลายเป็นตลาดส่งออกส�ำคัญของอินเดีย เพราะเป็นตลาดที่ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญกับผลิตภัณฑ์ จากธรรมชาติมากที่สุด โดยบริษัท Shanaz กับบริษัท Himalaya เป็น 2 บริษัทที่มีส่วนแบ่งตลาดมากที่สุด ในการส่งออกจากอินเดีย ส่วนสินค้าเคร่ืองส�ำอางธรรมชาติของอินเดียท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุด คือ เคร่ืองส�ำอางท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผิวพรรณหรือที่เราเรียกว่า “Skin Care” ท้ังน้ี ในด้านการจัดจ�ำหน่าย ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 80 เป็นการจัดจ�ำหน่ายโดยผ่านช่องทางค้าปลีก ส่วนที่เหลือเป็นการจัดจ�ำหน่ายในระบบ ขายตรงถงึ ผบู้ รโิ ภค Position-5.indd 12 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเด็นการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ 13 อุตสาหกรรมสารสกดั สมนุ ไพรสูต่ ลาดโลก ดร.บังอร เกียรตธิ นากร บริษทั อตุ สาหกรรมเครื่องหอมไทย-จีน จ�ำกัด (TCFF) 1. ความเปน็ มา หลักการและเหตผุ ล ประเทศไทยได้รับการจดั อนั ดบั ใหอ้ ยใู่ นพืน้ ทที่ ีม่ คี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูงสุด 8 อนั ดับแรกของโลก รองจากประเทศเอกวาดอร์และอินโดนีเซีย ประเทศไทยมีพืชสมุนไพรที่นามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ประมาณ 1,800 ชนดิ (species) หรอื ประมาณ 10% ของโลก แนวโน้มการตลาดของผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร สภาพการณป์ ัจจุบนั • มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปลักษณ์ ผลติ ภณั ฑใ์ หท้ นั สมัย • มีการพฒั นาผลิตภัณฑด์ ้วยการรักษาคุณสมบัติและคุณลกั ษณะเฉพาะของสมุนไพรไว้ • ปรบั ปรุงรูปแบบใหม้ คี วามหลากหลายและเหมาะสมกบั การบริโภคสมัยใหมม่ ากขึ้น • มูลค่าอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพิ่มข้ึน 13% ในปี 2559 โดยมียอดขายเพ่ิมขึ้นเป็นมูลค่า 39.2 พนั ล้านบาท การคาดการณแ์ นวโน้ม • ตระหนักรูถ้ ึงประโยชนเ์ พม่ิ ขึ้น • ใช้อยา่ งแพรห่ ลายในประเทศ • ให้ความสนใจผลติ ภัณฑท์ ี่มีสว่ นผสมจากธรรมชาตมิ ากขน้ึ • มูลค่าทางการตลาดเพิ่มข้ึน 8% ตอ่ ปี กระแสเสรมิ สุขภาพ • กระแสสขุ ภาพ (Health Conscious) • โครงสร้างประชากรโลกเข้าสู่สงั คมผ้สู งู อายุ • พฤตกิ รรมการบริโภคท่ีมากเกินต้องการและอาหารทอี่ ร่อยมักไมด่ ีต่อสุขภาพ • วิถชี วี ติ ที่เป็นไปด้วยความเร่งรีบทำ� ให้ตอ้ งการความสะดวกในการบริโภคและอุปโภค • มลภาวะจากส่ิงแวดล้อมสง่ ผลใหร้ ่างกายมนษุ ยไ์ ด้รับสารพษิ มากขึน้ • ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ท�ำให้ค้นพบวา่ อาหารเคร่อื งส�ำอางสามารถป้องกนั โรค ชะลอวัยหรอื ลด ความเสีย่ งจากการเกิดโรคได้ Position-5.indd 13 9/13/19 16:05

14 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย อตุ สาหกรรมสมนุ ไพรในปจั จบุ นั 5. ยา 1. วัตถุดิบ 6. การเกษตร 2. สารสกดั 7. ผลิตภณั ฑส์ ตั ว์ 3. เคร่ืองสำ� อาง 8. สปา 4. อาหารและอาหารเสรมิ การแปรรปู สมุนไพร 1. นำ้� มันหอมระเหย ไดแ้ ก่ อตุ สาหกรรมเครื่องส�ำอางและสปา 2. สมนุ ไพรบดผง ไดแ้ ก่ อตุ สาหกรรมอาหารส�ำเรจ็ รูปและยา 3. สารสกดั ได้แก่ อตุ สาหกรรมเสริมอาหารและเคร่ืองส�ำอาง การสร้างมูลค่าเพิ่มสามารถท�ำได้ในหลายอุตสาหกรรม โดยประเทศไทยมีเกษตรกร 12,028 ราย พบว่ามโี รงงานแปรรปู เบอ้ื งต้น 158 โรงงาน และโรงงานระดบั อตุ สาหกรรม 9 โรงงาน มลู ค่าทางการตลาด ของตลาดเครื่องส�ำอางมมี ูลคา่ 2,000 ล้านบาท โดยมีผู้ผลติ 303 ราย วิสาหกิจ ชมุ ชน 522 ราย และไมเ่ ข้าขา่ ย จำ� นวน 1,000 ราย ตลาดผลิตภณั ฑเ์ สริมอาหาร 80,000 ล้านบาท ซงึ่ มีผู้ผลติ 21 ราย และยาสมนุ ไพร 4,731 ล้านบาท ผผู้ ลติ 21 ราย การน�ำเขา้ สมนุ ไพรท่ัวโลก พบว่า มหี ลาย ๆ ประเทศน�ำเข้าสมุนไพรจากนอก อาทิ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า น�ำเข้าสมุนไพรจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ อินเดียและเม็กซิโกตามล�ำดับ โดย ประเทศไทยส่งออกใหก้ บั สหรฐั อเมริกาเป็นอบั ดบั ท่ี 51 ประเทศญปี่ ุ่น นำ� เข้าสมนุ ไพรจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เปน็ อันดับหน่ึง รองมาเปน็ สหรฐั อเมรกิ า และอนิ เดีย ตามล�ำดบั ดงั จะเห็นไดว้ า่ สหรัฐอเมรกิ า นำ� เขา้ สมนุ ไพรเปน็ อนั หนงึ่ ของโลก แตก่ ็ส่งออกสมุนไพรให้กบั ประเทศต่าง ๆ ติดหนึง่ ในสามอนั ดบั แรกของประเทศท่นี ำ� เขา้ สมนุ ไพรใน ปริมาณมากทัง้ สิ้น ข้อมูลการน�ำเข้าสมุนไพรของโลก ภาพที่ 1.2 สามอนั ดบั แรกของประเทศทน่ี ำ� เขา้ สมุนไพรในปรมิ าณมากระดบั โลก, กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม Position-5.indd 14 9/13/19 16:05

กลมุ่ ท่ี 1 ประเดน็ การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ 15 ในขณะที่ประเทศที่สามารถส่งออกสมุนไพรเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน สหรัฐอเมรกิ า อนิ เดีย เยอรมนั และฝร่ังเศส ตามล�ำดบั ประเทศไทยน�ำเข้าสมุนไพรจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นอันดับหน่ึง รองลงมาคือ บราซิล อินเดีย สหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส ตามล�ำดับ ในขณะท่ีส่งออกสมุนไพรให้กับประเทศญ่ีปุ่นเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ สาธารณรฐั ประชาชนจนี ฮอ่ งกง เวยี ดนาม และเกาหลีใต้ ตามลำ� ดบั ตลาดอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวกับสมุนไพรของประเทศไทยส่วนมากจะเป็นการส่งออกวัตถุดิบ ซ่ึงมีมูลค่า ทางเศรษฐกิจต�่ำ ในขณะที่ประเทศท่ีน�ำเข้าสมุนไพรจากประเทศไทยได้น�ำสมุนไพรไปแปรรูป เป็นสารสกัดเพ่ิม มูลค่าแล้วส่งกลับมาขายให้กับประเทศไทย ตัวอย่างสมุนไพรท่ีต่างประเทศรับซ้ือ เช่น บุก ประเทศไทยส่งบุกให้ กบั ประเทศญี่ป่นุ ปีละหลายลา้ นบาท ในขณะท่ีประเทศญป่ี ุ่นส่งสารสกดั Glucomannan ทสี่ กัดไดจ้ ากบกุ กลับมา ขายใหก้ บั ประเทศไทยมีมลู คา่ หลายรอ้ ยลา้ นบาท ส่วนหน่ึงเนอื่ งจากประเทศไทย ยงั ขาดเทคโนโลยกี ารสกดั ซ่ึงยัง ตามประเทศอ่นื  ๆ อยู่มาก ภาพท่ี 1.3 ขอ้ มูลมูลค่าการน�ำเข้าและสง่ ออกจากพกิ ดั ศุลกากรระบบฮารโ์ มไนซ์ (Harmonized System) Position-5.indd 15 9/13/19 16:05

16 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย 2. นโยบายและมาตรการทีด่ �ำเนินการปัจจบุ ัน ขอ้ สงั่ การของนายกรฐั มนตรี ในแผนแมบ่ ทสมนุ ไพร ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2560-2564) “ใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ ร่วมกบั หน่วยงานทเี่ ก่ยี งข้อง เชน่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ พัฒนาพชื สมนุ ไพรให้สามารถใช้ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่อื ให้เปน็ ทีย่ อมรับและสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ ให้แก่ผลิตภัณฑแ์ ปรรูปจากสมนุ ไพรไทย” รัฐบาลสง่ เสริมการพัฒนาพืชสมุนไพร สนบั สนุนใหเ้ ข้าสูร่ ะบบสขุ ภาพและระบบเศรษฐกิจ แบบครบวงจร ในระดบั จังหวดั มาตรการสำ� คัญ 1. พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบให้ได้คุณภาพมาตรฐาน Good Agricultural Practice (GAP)/Good Agricultural and Collection Practices (GACP)/Organic 2. พฒั นาคณุ ภาพโรงงานผลิตยา/ผลิตภณั ฑส์ ู่มาตรฐาน GMP 3. สนบั สนนุ งานวิจยั ดา้ นสมุนไพร 4. ขยายช่องทางการตลาด 5. สรา้ งความเข้มแขง็ กำ� ลงั คน/เครอื ข่าย 6. พัฒนาระบบฐานข้อมลู สมนุ ไพร 7. ผลักดนั กฎหมายที่เกีย่ วขอ้ ง การพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพรในอนาคต ต้องวางแผนการพัฒนาให้ครอบคลุมกับผลิตภัณฑ์แต่ละ ประเภท โดยอาจสามารถจัดได้เปน็ 5 กลมุ่ คือ นำ้� หอม เภสัชภัณฑ์ อาหารเพอื่ สขุ ภาพ สารชีวภณั ฑก์ �ำจดั แมลง และอาหารสตั ว์ ภาพที่ 1.4 การพฒั นาอุตสาหกรรมสมุนไพรในอนาคต และสมนุ ไพรเปา้ หมาย Position-5.indd 16 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรช์ าติ 17 3. การด�ำเนินการมาตรฐานสารสกดั ในประเทศไทย แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2560-2564) ก�ำหนดให้มีการ สง่ เสรมิ การใชส้ มนุ ไพรเพอื่ การรกั ษาโรคและการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และเสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานการพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย และสมุนไพรไทยให้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบสขุ ภาพของประเทศในระยะยาว รฐั บาลไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ของการพฒั นา สมุนไพรไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาและทรัพยากรที่ส�ำคัญของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพ่ือการส่งเสริม และอนุรักษ์ ภูมปิ ัญญาและเพ่ือพัฒนาการผลิตและการใชส้ มุนไพรอย่างมีคุณภาพเต็มประสทิ ธิภาพและครบวงจร กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้ท�ำความร่วมมือกับส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) จดั ทำ� ร่างมาตรฐานสารสกดั สมนุ ไพรและนำ้� มนั หอมระเหยให้เปน็ มาตรฐานกลาง เพอื่ สง่ เสริม ให้เกิดการน�ำไปใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมต่อไป โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมผลิตผลของสมุนไพรไทยให้มี ศกั ยภาพและไดม้ าตรฐานตามความตอ้ งการของตลาดทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ การกำ� หนดมาตรฐานสมนุ ไพร จึงเป็นส่ิงส�ำคัญที่ต้องเร่งด�ำเนินการเพ่ือพัฒนาสมุนไพรให้มีประสิทธิภาพ สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก สมนุ ไพรไทย โดยได้ด�ำเนนิ การจำ� นวน 10 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. มาตรฐานสารสกดั ขมนิ้ ชันผง ที่มสี ารเคอร์คมู ินอยดร์ วมไม่น้อยกว่า 80% โดยมวล 2. มาตรฐานสารสกดั โอลีโอเรซินของขม้ินชนั ทมี่ ีสารเคอร์คูมนิ อยดร์ วมไมน่ ้อยกวา่ 20% โดยมวล 3. มาตรฐานสารสกัดฟา้ ทะลายโจร 4. มาตรฐานนำ้� มนั ตะไครบ้ ้าน 5. มาตรฐานนำ้� มนั ตะไครห้ อม 6. มาตรฐานนำ้� มนั ผวิ มะกรูด 7. มาตรฐานน้�ำมันใบมะกรูด 8. มาตรฐานนำ้� มนั ดอกกานพลู 9. มาตรฐานน�ำ้ มนั ไพล 10. มาตรฐานน้ำ� มันโหระพา 4. สภาพปัญหา/ขอ้ จำ� กดั และโอกาสในการพัฒนา 4.1 สถานภาพปญั หา & ทางแก:้ การผลติ สมุนไพรในประเทศ ปัญหาด้านตน้ น้ำ� • ขาดแคลนพนั ธดุ์ ี (ผลผลติ สูง/สารส�ำคัญมาก) • ขาดแคลนหัวพันธ/ุ์ สว่ นขยายพนั ธุ์ • ราคาหวั พนั ธ์ุ/สว่ นขยายพนั ธ์ุ มรี าคาสงู • ผลผลิตต่ำ� • คณุ ภาพผลผลิตไม่สมำ่� เสมอ • ปรมิ าณสารออกฤทธต์ิ �่ำ • การปนเป้ือนจุลินทรีย/์ โลหะหนกั Position-5.indd 17 9/13/19 16:05

18 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ปัญหาด้านกลางน้�ำ • การสญู เสยี ในกระบวนการ เก็บเกีย่ ว • ปรมิ าณสารส�ำคญั ไมส่ มำ�่ เสมอ/ต่�ำกว่ามาตรฐาน • ขาดเทคโนโลยี องคค์ วามรู้ในการแปรรูป พัฒนากระบวนการผลิตใหเ้ ป็นผลติ ภณั ฑท์ แ่ี ขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั โลก ปัญหาดา้ นปลายน้�ำ • ขาดขอ้ มลู วทิ ยาศาสตร์สนับสนุน การตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของสมนุ ไพร แต่ละชนดิ • ขาดการพัฒนานวัตกรรมผลิตภณั ฑร์ ปู แบบใหม่ ๆ • ผลติ ภัณฑไ์ มไ่ ดม้ าตรฐาน การแกป้ ัญหาดา้ นตน้ น�้ำ • การปรับปรงุ พนั ธ์ดุ ี • ขยายพนั ธุด์ ีดว้ ย tissue Culture • ก�ำหนดเขตสง่ เสริมการปลูก ท่ีเหมาะสม (G X E) • ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยกี ารผลิตสมยั ใหม่ • สง่ เสริมการปลกู ดว้ ยระบบ GAP/โรงเรอื น/Plant Factory การแก้ปญั หาดา้ นกลางน้ำ� • การเกบ็ เกยี่ วในระยะทีเ่ หมาะสม • วธิ ีการเกบ็ รกั ษาที่เหมาะสมเพอ่ื ควบคมุ คุณภาพให้สม�ำ่ เสมอ การแก้ปัญหาดา้ นปลายน้�ำ • จัดใหม้ ขี อ้ มูลวทิ ยาศาสตร์ รองรบั สรรพคุณของสมุนไพร • สง่ เสรมิ การพฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑ์ • สรา้ งโรงงานกลาง เพ่อื รบั จ้างพฒั นานวตั กรรม/ผลติ ผลิตภณั ฑใ์ ห้ได้มาตรฐาน บรรณานุกรม คณะกรรมาธกิ ารการเกษตรและสหกรณ์ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาต.ิ ปญั หาของพชื สมนุ ไพร. [อนิ เตอรเ์ นต็ ]. 2554 [5 มกราคม 62]; ทม่ี า: http://www.senate.go.th/ w3c/senate/pictures/comm/55/ปญั หาของพืชสมนุ ไพร.PDF. Formula Botanica. Natural and Organic Beauty Market to reach $22bn by 2024. [อนิ เตอร์เนต็ ]. 2560 [10 มกราคม 62]; ท่มี า: https://formulabotanica.com/ global-organic-beauty-market-22bn-2024/ Position-5.indd 18 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ 19 เมอื งสมุนไพร: โอกาสและการพฒั นา ดร.ภญ.มณฑกา ธรี ชัยสกุล และคณะ กองสมุนไพรเพือ่ เศรษฐกิจ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ 1. ความเป็นมาและความส�ำคญั รัฐบาลให้ความส�ำคัญและก�ำหนดให้การพัฒนาสมุนไพรเป็นวาระแห่งชาติโดยเห็นชอบให้มีการพัฒนา สมุนไพรอย่างครบวงจรตามแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย พ.ศ. 2560-2564 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์หลักซ่ึงในยุทธศาสตร์ท่ี 4 ของแผนแม่บทฯ กล่าวถึง การสร้าง ความเข้มแข็งของการบริหารและนโยบายของภาครัฐเพ่ือการขับเคล่ือนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน ได้ก�ำหนดให้การ พัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) เป็น 1 ใน 6 มาตรการส�ำคัญและเปนการถ่ายทอดมาตรการและแผนงาน จากแผนแม่บทแหงชาติฯ ลงไปสู่การพัฒนาในระดับภูมิภาค โดยมุ่งเนนใหเกิดการพัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจร ตั้งแต่ตนทาง กลางทาง และปลายทาง ทั้งการปลูกสมุนไพร การแปรรูป และการท�ำเปนผลิตภัณฑท่ีสามารถ นำ� ไปใชป ระโยชนได้หลากหลาย สรา้ งมลู คา ทางเศรษฐกิจ และสรา้ งการเติบโตของชุมชนอยา่ งย่งั ยืนโดยอาศยั กลไก ประชารัฐและความร่วมมือจากทุกภาคสวนอันเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคล่ือนงานพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ในพ้ืนที่จังหวัด โดยคัดเลือกจังหวัดที่มีความพรอมเพ่ือพัฒนาให้เป็นเมืองสมุนไพร (Herbal City) และ สงเสริมการพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ใหเป็นบริบทของประเทศ ซ่ึงในมาตรการตามแผนแม่บทฯ เน้นการพัฒนาของจังหวัดท่ี/กลุ่มจังหวัดท่ีมีความพรอม ใหเป็นเมืองสมุนไพร (Herbal City) โดยเริ่มจากการ พฒั นาระยะที่ 1 (ปี 2560) คือ การพัฒนา 4 จังหวดั น�ำร่องเปน็ ต้นแบบเมืองสมุนไพรท้ัง 4 ภูมภิ าค (จงั หวัด เชียงราย จังหวัดสกลนคร จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสุราษฎร์ธานี) ต่อมาจึงเป็นการพัฒนาระยะที่ 2 (ปี 2561) คือ การพฒั นาจงั หวดั และกลุม่ จงั หวดั ท่ีมีความพรอ้ มอีก 9 จังหวัดสว่ นขยาย (จังหวดั พษิ ณุโลก จงั หวัด อุทยั ธานี จังหวัดสระบรุ ี จังหวดั นครปฐม จงั หวัดจันทบรุ ี จงั หวัดมหาสารคาม จังหวัดสุรนิ ทร์ จงั หวัดอาํ นาจเจริญ และจังหวดั สงขลา) และสดุ ท้าย การพฒั นาในระยะท่ี 3 (ปี 2562) คอื การพฒั นาจงั หวัดสว่ นขยายเพ่มิ ขึ้นอกี 1 จังหวดั (จงั หวัดอดุ รธาน)ี 2. กลไกการด�ำเนนิ งานและการประเมนิ ผลลพั ธ์ โดยภาพรวมการพัฒนาเมืองสมุนไพรจะมีองค์ประกอบหลักท้ังสิ้น 5 องค์ประกอบ (ภูมิปัญญา ส่อู ัตลกั ษณ์ ประชารฐั สามัคคี ลดความเหล่ือมลำ้� เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม และผลกระทบทางธุรกิจ) และมลี ำ� ดบั ข้นั ตอนของความสำ� เรจ็ ในการพฒั นาทงั้ หมด 4 ข้ันตอน (รจู้ ักตนเอง, รว่ มวางแผนดำ� เนนิ การ, เร่งรบี สรา้ งโอกาส และรุ่งเรืองยั่งยืน) มีกลไกการขับเคล่ือนในรูปของคณะอนุกรรมการ/คณะท�ำงานดังแสดงในแผนภาพที่ 1 กล่าว คือ ภายใต้คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานด�ำเนินการตามข้อสั่งการด้วย คณะอนุกรรมการท้ังส้ิน 6 คณะ โดย 1 ใน 6 คณะน้ัน มีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรซึ่งมี ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธานและปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานร่วม จากนั้นจึงมีค�ำสั่งแต่งต้ัง Position-5.indd 19 9/13/19 16:05

20 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย กลไกการขบั เคลื่อนเมอื งสมนุ ไพร คณะกรรมการนโยบายสมนุ ไพรแหงชาติ คณะอนุกรรมการขับเคล่อื นเมอื งสมนุ ไพร คณะทาํ งานขบั เคลื่อนโครงการพัฒนา เมอื งสมนุ ไพร คณะกรรมการโครงการพัฒนาเมอื งสมุนไพร ระดบั จงั หวดั ภาพที่ 1.5 กลไกการขบั เคลอื่ นเมอื งสมนุ ไพร คณะท�ำงานขับเคล่ือนโครงการเมืองสมุนไพรโดยให้อธิบดีกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน และ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานร่วม และให้จังหวัดเมือง สมุนไพรมีค�ำส่ังคณะกรรมการโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรระดับจังหวัดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวดั เปน็ เลขานุการ กลไกดังกล่าวเป็นการด�ำเนินงานตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ เม่ือวันท่ี 30 มิถนุ ายน 2560 ณ ตกึ สนั ติไมตรี ทาํ เนยี บรฐั บาล โดยพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เปน็ ประธาน การประชุม เห็นชอบโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) และให้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน เมืองสมุนไพร มีขอบเขตการดําเนินงาน การพัฒนาสมุนไพรท่ีครบวงจรต้ังแต่ระดับนโยบายถ่ายทอดมาเป็นการ ดาํ เนินงานในระดับจังหวัด ภารกจิ การดำ� เนนิ งานเพอ่ื การขบั เคลอ่ื นเมอื งสมนุ ไพรสามารถแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นหลกั คอื การดำ� เนนิ งาน โดยหน่วยงานส่วนกลางและการด�ำเนินงานโดยหน่วยงานส่วนภูมิภาค มีล�ำดับข้ันตอนและหน้าท่ีในการด�ำเนินงาน ดงั น้ี 2.1 หน่วยงานสว่ นกลาง 1) ศึกษา ทบทวน และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทําโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรเสนอผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุขเห็นชอบ 2) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเมืองสมุนไพร โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน และ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานร่วม และมรี องอธบิ ดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือกทีไ่ ด้รับ มอบหมาย เป็นเลขานุการ มีองค์ประกอบจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน คณะอนกุ รรมการ และคณะทาํ งานท่เี กีย่ วข้อง โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ ดังน้ี (1) ขับเคลื่อนเมอื งสมนุ ไพร (Herbal City) ใหเ้ ปน็ เมอื งแห่งการพฒั นาสมนุ ไพรไทยอย่างครบวงจร (2) ดำ� เนินโครงการพฒั นาเมอื งสมนุ ไพรสกู่ ารปฏบิ ัติทีม่ ปี ระสิทธิภาพ Position-5.indd 20 9/13/19 16:05

กลมุ่ ท่ี 1 ประเดน็ การขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ 21 (3) กำ� กบั ติดตาม และประเมนิ ผลโครงการพฒั นาเมืองสมุนไพร (4) นำ� เสนอความกา้ วหน้าโครงการพัฒนาเมอื งสมนุ ไพรต่อคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแหง่ ชาติ (5) แต่งตงั้ คณะทำ� งานท่เี กย่ี วข้องตามความเหมาะสม (6) งานอน่ื  ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติมอบหมาย 3) แตง่ ตง้ั คณะทาํ งานขบั เคลอ่ื นโครงการพฒั นาสมนุ ไพร โดยมอี ธบิ ดกี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน และอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานร่วม และมีผู้แทนจากกระทรวงทเี่ ก่ียวขอ้ ง เป็นองค์ประกอบ อาทิ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า มหาวิทยาลัย และมีกรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกเป็นเลขานกุ าร 4) สนบั สนุนคณะอนุกรรมการและคณะท�ำงานทเ่ี กยี่ วข้องเพื่อใหจ้ ดั ทําแนวทางการพฒั นาเมืองสมนุ ไพร ในระยะเรมิ่ ต้นตามประเด็น ดังนี้ (1) กําหนดรูปแบบการรว่ มทุนแบบผสมระหว่างงบประมาณจากส่วนกลางกบั งบประมาณของพ้นื ท่ี (2) กาํ หนดรูปแบบการบรรจุแผนงาน/โครงการเขา้ เป็นแผนพฒั นาจงั หวัด (3) กาํ หนดรูปแบบของการมสี ว่ นร่วมของสถาบนั การศกึ ษาในพน้ื ที่ (4) กําหนดรูปแบบการดาํ เนินงานร่วมกับโครงการประชารัฐและระบบสหกรณ์ (5) กาํ หนดรปู แบบการประสานงานกบั สภาหอการคา้ ไทยและสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยเพอื่ ผลักดันใหเ้ ป็น Demand–Supply Model (6) กาํ หนดกลไกการกลน่ั กรองความเหมาะสมและคุ้มคา่ ของการใช้งบประมาณ (7) พิจารณากล่ันกรองความเหมาะสมความคุมคาของแผนงาน/โครงการและกรอบคําขอ งบประมาณ (8) กําหนดชนิดและปริมาณผลผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่มีคุณภาพ เช่ือมโยงกับวิสาหกิจชุมชนและ ภาคเอกชน (9) กาํ หนดเปาหมายการผลติ ในระดบั โรงงานสารสกัด (10) กาํ หนดเปาหมายการพฒั นาสินคา OTOP สมุนไพร (11) กาํ หนดแผนการบูรณาการงบประมาณการทองเที่ยวกบั แผนพฒั นาจังหวดั (12) กาํ หนดแผนการบริหารจดั การโครงการพฒั นาเมืองสมนุ ไพร (13) กําหนดภารกิจ บทบาทหนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของกระทรวงและหนวยงานท่ีเกย่ี วของ (14) การกําหนดรปู แบบของการขยายผลการพัฒนาเมืองสมนุ ไพรไปส่จู งั หวดั อืน่  ๆ 5) สนบั สนุนงบประมาณและองคค วามรูที่เก่ียวของกับการพัฒนาเมืองสมนุ ไพร 6) จดั กิจกรรมประชาสมั พนั ธและเปดตัวโครงการพฒั นาเมืองสมุนไพร (Herbal City) 7) ประชมุ สมั มนาแลกเปล่ยี นประสบการณการทํางานของเครอื ขายการพฒั นาเมอื งสมนุ ไพร 8) ตดิ ตาม ประเมินผลการดําเนนิ งาน และสรุปเสนอตอคณะกรรมการ/อนุกรรมการทีเ่ กีย่ วขอ้ ง Position-5.indd 21 9/13/19 16:05

22 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย 2.2 หน่วยงานสวนภูมภิ าค 1) แตงตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรระดับจังหวัดมีองคประกอบจาก หน่วยงานท่ีเกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน นายแพทยส าธารณสขุ จงั หวดั หรอื บุคคลทผ่ี ูวาราชการจังหวดั มอบหมายเปน เลขานุการ 2) จดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตรพ ฒั นาเมอื งสมนุ ไพรระดบั จงั หวดั แผนงบลงทนุ และแผนปฏบิ ตั กิ ารตามแนวทาง เป้าหมาย ผลลัพธท่ีสําคัญของโครงการท่ีสอดคลองกับบริบทของพื้นที่ และผลักดันเพ่ือบรรจุเขาเปนแผนพัฒนา จงั หวดั 3) จดั ทาํ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพวตั ถดุ บิ สมุนไพร (1) กําหนดชนิดวัตถุดิบสมุนไพรที่มีคุณภาพ ซ่ึงสามารถเชื่อมโยงกับวิสาหกิจชุมชน (SMEs) เครือข่ายหมอพนื้ บาน ถิ่นกําเนดิ สมุนไพร และภาคเอกชนได (2) สงเสริมสนับสนุนกลุมผูเพาะปลูกและผูแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร จัดการฝกอบรมการเพาะปลูก สมุนไพรใหไดตามเกณฑมาตรฐาน GAP (Good Agricultural Practice) (3) จัดต้ังศนู ยเ พาะชาํ และพฒั นาตนกลาพันธสุ มนุ ไพร (4) จัดตง้ั ตลาดกลางวัตถดุ บิ สมุนไพรเพือ่ ประสานขอมลู การผลติ วัตถุดิบสมนุ ไพร (5) จดั ต้ังศนู ย์แปรรปู วตั ถุดบิ สมุนไพร (6) สงเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู การอนุรักษ คุมครองภูมิปญญา การผลิตและพัฒนา บคุ ลากรดา้ นตา่ ง ๆ 4) จดั ทาํ กิจกรรมขยายชองทางการใชป ระโยชน เพ่ิมมูลคา และนาํ สมนุ ไพรไปใชทุกภาคสว น (1) สงเสริม สนับสนุนกลุมวิสาหกิจชุมชนในการผลิต แปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร เปนผลิตภัณฑ สมนุ ไพรชุมชน (OTOP สมุนไพร) (2) สง เสรมิ สนบั สนนุ กลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนในการผลติ แปรรปู วตั ถดุ บิ สมนุ ไพร เปน ผลติ ภณั ฑอ าหาร สัตวห รือยาสัตว หรือเปน วตั ถดุ บิ สมุนไพรเขาสรู ะบบหวงโซอุปทานในอุตสาหกรรมอื่น ๆ (3) จดั ต้งั ศนู ยสาธิตจําหนายและกระจายสนิ คาผลิตภัณฑส มุนไพรชุมชน 5) สง เสรมิ การใชส มุนไพรในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (1) เพม่ิ มลู คา การใชย าสมนุ ไพรในโรงพยาบาลและหนว ยบรกิ าร สาธารณสขุ ใหม คี วามสอดคลอ้ งกบั แผนการพัฒนาบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน (Service Plan สาขาการแพทยแผนไทยฯ ของจงั หวดั ) (2) พัฒนาปรับปรุงระบบการผลิตและกระจายยาสมุนไพรใหมีประสิทธิภาพ มีราคาต้นทุน ตอ่ หนว่ ย (Unit Cost) ทเี่ หมาะสม โดยการผลติ ยาสมนุ ไพรแบบรวมศนู ยเ พอื่ ใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ เชงิ ปรมิ าณ (Economy of Scale) 6) สงเสริมการวิจัย และพัฒนาบุคลากร โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาทํา การศึกษาวจิ ยั เพือ่ (1) พฒั นาผลิตภณั ฑเ พิม่ มูลคา พฒั นารูปแบบผลติ ภณั ฑ บรรจภุ ัณฑ Position-5.indd 22 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ 23 (2) การรับรองสรรพคุณ การใชประโยชนข องสมนุ ไพรในดา นตาง ๆ ใหม้ ากขึน้ (3) พัฒนาชองทางการตลาดท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ (4) ประเมนิ ความคมุ คาของการลงทนุ (5) เพ่ือพิสูจนความปลอดภัยและสรรพคุณของยาสมุนไพร เพ่ือสรางความเช่ือมั่น และเพ่ิมการใช้ ยาสมนุ ไพรในกลุมบคุ ลากรทางการแพทยแ ละสาธารณสุขสาขาอนื่  ๆ (6) บรู ณาการงานวจิ ยั ในระดับภูมิภาค 7) ประชมุ คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นโครงการพฒั นาเมอื งสมนุ ไพรระดบั จงั หวดั เพอื่ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การด�ำเนนิ งาน 8) สรปุ และรายงานผลการดำ� เนนิ งานตอ คณะอนุกรรมการพฒั นาเมืองสมุนไพร ตามรายละเอียด เป้าหมายผลลพั ธท์ ่ีสำ� คญั แนวทางการดําเนนิ งานและหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ โดยรปู แบบการประเมนิ ผล ในชว่ ง 2 ปีของการด�ำเนนิ งานที่ผ่านมาจะอยใู่ นรปู ของตวั ชี้วัดซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ระยะคือ ปี 2560-2561 และปี 2562 ดงั แสดงในตารางท่ี 1.4 ตารางที่ 1.4 ตวั ช้วี ดั ในการประเมนิ ผลลพั ธต์ ามปีงบประมาณ ตวั ชี้วัดผลลัพธ์ ปีงบประมาณ 2560-2561 ปงี บประมาณ 2562 ต้นทาง 1. มกี ลุม่ แกนนำ� ด้านสมุนไพร อยา่ งน้อย 1 กลุ่ม 1. มีฐานข้อมูลผปู้ ลกู พนื้ ทป่ี ลกู สมนุ ไพร (นำ� รอ่ งและส่วนขยาย) 2. มีฐานข้อมลู ผปู้ ลกู /ผูจ้ ำ� หน่าย/พ้ืนทปี่ ลูก/แปรรูป/ 2. มีแหล่งรวบรวมและขยายสมนุ ไพรพันธ์ุดี ปริมาณวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรท่ไี ด้มาตรฐานของจังหวัด (นำ� รอ่ งและส่วนขยาย) 3. จ�ำนวนของเกษตรกรรายใหม่ที่ได้รับการถ่ายทอด ความรู้ เรอื่ ง GAP/Organic สมนุ ไพร ปลี ะ 30 ราย 3. มพี นื้ ท่ีเพาะปลกู สมุนไพรทไี่ ด้มาตรฐานจากแปลง 4. การส่งเสรมิ การปลูกพชื สมุนไพรในพืน้ ท่ีทไ่ี ด้รับ ปลกู มาตรฐาน GAP/ GACP/Organic จำ� นวนรวม การรับรอง Organic อย่างนอ้ ย 1 แหลง่ 1,000 ไร/่ ปี (นำ� ร่อง) 4. มีขอ้ มูลความตอ้ งการวตั ถุดิบสมนุ ไพร/ผลติ ภณั ฑ์ 5. มีแผนข้อมลู ความต้องการวตั ถุดบิ สมุนไพร/ สมนุ ไพรของจังหวัดเมอื งสมุนไพร (Demand & ผลติ ภัณฑส์ มุนไพรของจงั หวัดเมอื งสมุนไพร Supply Matching) (น�ำรอ่ งและสว่ นขยาย) (Demand & Supply Matching) กลางทาง 5. มีการพัฒนาผลิตภัณฑส์ มุนไพรเพ่มิ ขึ้น (น�ำร่อง) 6. มกี ารพัฒนาผลิตภณั ฑส์ มุนไพรเด่นในจงั หวัด 5.1 ผลิตภณั ฑ์สมุนไพร Product Champion เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งนอ้ ย 2 ผลติ ภัณฑ์ (ไพล กระชายด�ำ ขมนิ้ ชนั บวั บก) อยา่ งน้อย 1 ผลิตภณั ฑ์ 5.2 ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรเด่นในจังหวัด อย่างนอ้ ย 2 ผลิตภณั ฑ์ 6. มี/เตรียมการเข้าสู่ โรงงานแปรรูปและผลติ ผลิตภณั ฑส์ มุนไพรผา่ นการรบั รองมารฐาน GMP อยา่ งนอ้ ย 1 แหง่ (ทั้งภาครฐั และเอกชน) (นำ� ร่อง และส่วนขยาย) Position-5.indd 23 9/13/19 16:05

24 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ตารางที่ 1.4 ตัวช้ีวดั ในการประเมนิ ผลลพั ธต์ ามปงี บประมาณ (ต่อ) ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ ปีงบประมาณ 2560-2561 ปงี บประมาณ 2562 7. มีแผนการตลาดและการประชาสัมพนั ธ์ และ ปลายทาง 7. เพ่ิม/จัดต้ัง จ�ำนวน Shop/ Outlet อย่างน้อย ปีละ 1 แหง่ (นำ� ร่องและส่วนขยาย) ขับเคลอ่ื นใหบ้ รรลุเป้าหมายตามแผน 8. รอ้ ยละของผู้ป่วยนอกท้ังหมดท่ีได้รับบรกิ าร 8. บุคลากรทเ่ี กย่ี วข้องดา้ นการจัดการสมนุ ไพรได้รบั การอบรมดา้ นแผนธุรกิจ (Business Plan) ตรวจ วินจิ ฉัย รกั ษาโรค และฟนื้ ฟูสภาพ (น�ำรอ่ งและส่วนขยาย) ดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก รอ้ ยละ 18.5 9. รอ้ ยละผปู้ ว่ ยนอกไดร้ บั บรกิ ารดา้ นการแพทย์ 9. รอ้ ยละมลู คา่ การใชย้ าสมนุ ไพรตอ่ ยาแผนปัจจบุ ัน แผนไทยและการแพทยท์ างเลือกที่ได้มาตรฐาน เพิม่ ขึน้ รอ้ ยละ 20 (นำ� รอ่ งและส่วนขยาย) - 10. มีข้อมูลมูลคา่ การตลาดของผลติ ภัณฑ์สมุนไพร รวมในจงั หวดั มากกวา่ คา่ เฉล่ยี 3. นโยบายและมาตรการที่ด�ำเนนิ การปัจจุบัน จากผลการประเมินแนวโน้มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรในประเทศไทยเปรียบเทียบตั้งแต่ปี 2559 ถึง ปี 2564 (รายละเอียดดังแสดงในภาพที่ 1.6 แสดงแนวโน้มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพร 4 กลุ่ม) พบว่า มูลค่า ของผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มท่ีจะสูงข้ึนทุกปีโดยอาหารเสริมจะมีอัตราการเติบโตมากที่สุดคือร้อยละ 11.5 ขณะที่ เคร่ืองส�ำอางจะเป็นกลุ่มท่ีมีอัตราโตน้อยท่ีสุดคือ ร้อยละ 7 ซ่ึงสะท้อนให้เห็นโอกาสในการพัฒนาสมุนไพร ท้ังในระดับประเทศและระดับท้องถ่ินเป็นอย่างมาก เน่ืองจากสมุนไพรเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ท่ียังมีโอกาสขยายตัวทาง เศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง ภาพที่ 1.7 แสดงให้เห็นมูลค่าการจ่ายยาสมุนไพรเปรียบเทียบระหว่างของ (ก) เมืองสมุนไพรท้ัง 13 จังหวัด และ (ข) ภาพรวมของประเทศ โดยมูลค่าการจ่ายยาสมุนไพรใน 13 จังหวัดเมืองสมุนไพรเปรียบเทียบ ระหวา่ งปงี บประมาณ 2560 และปงี บประมาณ 2561 ของภาพรวมเมอื งสมนุ ไพร 13 จงั หวดั และแบบเปรยี บเทยี บ ข้อมลู ระหวา่ ง 4 จังหวดั เมืองสมนุ ไพรนำ� รอ่ ง และ 9 จงั หวดั ส่วนขยาย สะท้อนใหเ้ หน็ ว่าภาพรวมของการสัง่ จา่ ย สมุนไพรใน 13 จงั หวัดนน้ั มีมูลค่าเพิ่มขน้ึ คิดเป็นร้อยละ 3.94 (จาก 249.50 ล้านบาทในปีงบประมาณ 2560 เป็น 259.74 ลา้ นบาท ในปีงบประมาณ 2561) โดยมูลค่าการสง่ั จ่ายยาสมุนไพรเพิม่ ข้ึนอยา่ งชัดเจน ในกลมุ่ 9 จงั หวดั สว่ นขยาย กลา่ วคอื เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 13.68 (จาก 151.27 ลา้ นบาทในปี 2560 ปรบั สูงขนึ้ เป็น 171.97 ลา้ นบาท ในปี 2561) ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับร้อยละของมูลค่าการส่ังจ่ายยาสมุนไพรที่เพ่ิมข้ึนในภาพรวมของประเทศ คือ ร้อยละ 1.79 (จาก 1,221.53 ล้านบาทในปี 2560 ปรบั สูงขนึ้ เปน็ 1,243.77 ล้านบาทในปี 2561) จะเห็นได้ว่า มลู คา่ การสง่ั จา่ ยยาสมนุ ไพรในจงั หวดั ทถี่ กู กำ� หนดเปน็ เมอื งสมนุ ไพรมอี ตั ราเพม่ิ ของมลู คา่ การสง่ั จา่ ยยาสมนุ ไพรอยา่ ง ชัดเจน ปญั หาด้านปลายทาง 1. มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุขลดลง เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมามีปัญหาในระบบ การสนบั สนุนยาสมนุ ไพรให้แก่หน่วยบริการทำ� ให้การด�ำเนินงานไม่ตอ่ เนือ่ งกนั Position-5.indd 24 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเด็นการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ 25 ภาพท่ี 1.6 แนวโน้มมลู คา่ ผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร 4 กล่มุ 2. สหกรณส์ มุนไพรขาดการด�ำเนนิ งานตอ่ เนื่องและการบริหารวตั ถุดิบสมุนไพรทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 3. ไมม่ ีข้อมูลมลู คา่ การตลาดของผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรรวมของจังหวัดพษิ ณโุ ลก ของปงี บประมาณ 2560 ในการนำ� มาเปรยี บเทยี บผลงานกับปงี บประมาณ 2561 และไมไ่ ดเ้ ขยี นโครงการของบประมาณจากงบภาคเหนอื ใน ปีงบประมาณ 2561 ให้สถาบันอดุ มศกึ ษาในจงั หวัดพิษณโุ ลก ส�ำรวจขอ้ มลู ทางการตลาดและพฤติกรรมการบริโภค ผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรเพ่ือใช้วางแผนในการพฒั นาการผลติ 4. นโยบายด้านการพัฒนางานแพทย์แผนไทยจากหน่วยงานผู้ก�ำหนดนโยบายยังขาดความชัดเจน และต่อเนื่อง รวมถึงการจัดสรรงบประมาณที่เร่งรัดและทยอยจัดสรรหาให้วางแผนการปฏิบัติงานได้ประสิทธิภาพ ค่อนขา้ งน้อย 5. การสื่อสารด้านแผนธุรกิจ (Business Plan) จากกรมการแพทย์แผนไทยฯ ล่าช้า และขาดความ ชดั เจนจากกรมฯ ในเรื่องฐานมูลค่าการตลาดของผลิตภณั ฑ์สมุนไพร ปัญหาอื่นๆ 1. ผู้ปฏิบัติของแต่ละเขตสุขภาพขาดประสบการณ์ ขาดความรู้ความเข้าใจในนโยบายหรือกิจกรรม ดงั กลา่ ว เนอ่ื งจากไม่ใชภ่ ารกิจหลักของหนว่ ยงาน 2. การด�ำเนินงานในระดับพ้ืนที่ด้านการประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการด�ำเนินงานเมือง สมนุ ไพร Herbal City มีความสำ� เร็จแตกต่างกันเนอื่ งจากบรบิ ท หรือความสนใจในงานมีความแตกตา่ งกัน 3. หนว่ ยงานท่ปี ฏบิ ัติขาดบคุ ลกรในการด�ำเนินงานกจิ กรรมดงั กลา่ ว เน่อื งจากเปน็ ภาระงานทีน่ อกเหนือ จากงานประจำ� 4. ขาดการบูรณาการของหนว่ ยงานในการขับเคลื่อนโครงการเมืองสมนุ ไพร 5. หนว่ ยงานอ่นื  ๆ ยังไมไ่ ด้รบั การถา่ ยทอดโครงการเมอื งสมุนไพรจากหน่วยงานตน้ สังกัด สง่ ผลให้ 5.1 บางหนว่ ยงานไมม่ แี ผนงาน/โครงการ ไม่ได้ของบประมาณ 5.2 บางหน่วยงานมีการท�ำแผนงาน/โครงการ แต่ต้นสังกัดไม่ทราบเก่ียวกับโครงการพัฒนาเมือง สมนุ ไพร ไม่มียทุ ธศาสตรร์ องรับ ท�ำให้ไม่ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนุน Position-5.indd 25 9/13/19 16:05

26 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย (ก) มูลค่าการสั่งจ่ายยาสมนุ ไพรของเปรยี บเทยี บของเมืองสมนุ ไพรท้งั 13 จังหวัด (ข) ภาพมลู คา่ การสัง่ จ่ายยาสมุนไพรของประเทศเปรียบเทยี บระหว่างปีงบประมาณ 2559, 2560 และ 2561 ภาพที่ 1.7 แสดงมลู คา่ การจา่ ยยาสมนุ ไพรเปรียบเทยี บระหว่างของ (ก) เมืองสมนุ ไพรทัง้ 13 จังหวดั และ (ข) ภาพรวมของประเทศ Position-5.indd 26 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 27 5.3 ตวั ชวี้ ดั ถ้าแจ้งหนว่ ยงานอืน่ โดยสาธารณสขุ หน่วยงานอ่ืนไมเ่ หน็ ความส�ำคญั ไม่ไดด้ ำ� เนนิ การ ตามตวั ชว้ี ดั 5.4 การเชญิ หนว่ ยงานอนื่ รว่ มประชมุ ถา้ เชญิ โดยสาธารณสขุ หนว่ ยงานอนื่ ไมเ่ หน็ ความสำ� คญั ไมเ่ ขา้ รว่ มประชมุ 5.5 การเชิญประชุม ถ้าให้เบิกค่าใช้จ่ายจากต้นสังกัด บางหน่วยงานไม่มีงบประมาณในเร่ืองนี้ จะไม่ได้รบั อนมุ ตั ใิ ห้เขา้ รว่ มประชุม บรรณานุกรม กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก. รายงานการใช้สมนุ ไพรในสถานบรกิ ารสาธารณสุข. เอกสารประกอบการ ประชมุ คณะอนุกรรมการการใช้ยาสมนุ ไพรในประเทศ เมื่อวนั ที่ 12 ตุลาคม 2561. นนทบุรี. กระทรวงสาธารณสุข. แบบรายงานการตรวจราชการระดบั จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. [สบื ค้น 25 ตุลาคม 2561]. ท่ีมา http://bie.moph.go.th/cockpit/ กระทรวงสาธารณสุข. มูลค่าการจ่ายยาสมุนไพร รายปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561. [สืบค้น 30 ตุลาคม 61]; ท่ีมา https://hdcservice.moph.go.th. กระทรวงสาธารณสุข. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. [สบื คน้ 30 ตุลาคม 61]; ท่ีมา https://hdcservice.moph.go.th. ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. โครงการจัดท�ำยุทธศาสตร์และฐานข้อมูลสมุนไพรภาย ใต้โครงการเพิ่มศักยภาพการตลาดสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สมุนไพรแปรรูปสู่สากลผลการส�ำรวจ. กรุงเทพฯ: ศนู ย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ; 2561. ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองสมุนไพร. พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: พ่มุ ทอง; 2559. Position-5.indd 27 9/13/19 16:05

28 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ภาคผนวก: Roadmap ในการทำ� งาน Chain Stage 1 (2560) Stage 2 (2561) Stage 3 (2562–2564) Demand 1. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการขับเคลอื่ น 1. พฒั นาฐานขอมูลในรปู เวบ็ ไซต 1. การรวมกลุม่ ของวสิ าหกจิ ทีต่ ัง้ อยู Raw materials เมืองสมุนไพรในพนื้ ที่ พรอ มเผยแพร ในทองถ่ินหรือพ้นื ท่ีใกลเ คียง 2. จดั ท�ำแผนยทุ ธศาสตรและแผน 2. บรู ณาการของขอ มูลในภาคสว น กัน (Cluster) ในระดบั ภาคเพอื่ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนา เมืองสมนุ ไพร ต่าง ๆ ท่ีมสี วนในการพฒั นา พฒั นาศักยภาพทกุ ดา้ นใหใ หญข่ ้ึน จังหวัด… เกษตรกรรม (การตลาดมูลคา 3. การพฒั นาระบบฐานขอ มลู กลาง คุณสมบตั ทิ างยา ขอ มลู การเกบ็ ของขอ มลู สมุนไพร (Demand เก่ียวทเี่ หมาะสม) supply) สาระส�ำคัญ Zoning 3. การพฒั นารปู แบบกลไกการ by agri map ขับเคลอ่ื นเมืองสมุนไพรด้วยกลไก 4. ศึกษา วจิ ัย ขอมลู ทางการตลาด ประชารฐั (รัฐภาคประชาชน ทม่ี ีความตองการทางสมนุ ไพร ภาคเอกชน) อยา่ งเปน็ รูปธรรม ทง้ั ในและตา่ งประเทศ (วตั ถดุ บิ , ผลติ ภัณฑส์ มุนไพร, อาหารเสรมิ ฯลฯ) 5. ส�ำรวจ วเิ คราะหศ์ ักยภาพ พน้ื ท่/ี 4. สงเสรมิ เกษตรกรปลกู สมนุ ไพร 2. มวี ัตถุดิบสมุนไพรทมี่ คี ณุ ภาพได้ กลมุ่ ผปู้ ลกู /ขอมูลเกษตร (GAP/ อินทรยี  (Smart Farmer การนำ� มาตรฐาน เพียงพอตอ่ ความ เกษตรอินทรยี )/เกษตรชวี วิถี/ เทคโนโลยมี าชว่ ยเกษตรกร, ตองการ องคค วามร/ู หมอพ้นื บ้าน/ สายพันธสุ มนุ ไพรทม่ี คี ณุ ภาพ) 3. มีผลตภิ ัณฑส์ มุนไพรจ�ำหน่ายใน จำ� นวนปา /ทรัพยากร (หาจดุ เดน วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ อัตลักษณ เพือ่ จำ� นวนในการน�ำ ไปทำ� การตลาด แผนการตลาด) 6. สร้างภาคเี ครอื ขา่ ย หาแนวรว่ ม กลมุ่ ผู้ปลูก เกษตรกร และความ ร่วมมอื ระหว่างหน่วยงาน พรอม ทัง้ อบรมให้ความรู มาตรฐานการ ปลกู การแปรรูป ลดการใช สารเคมี และสง เสริมการปลูก ทดแทน สู่การพฒั นาการเกษตร มาตรฐาน GAP ในพ้นื ที่ 7. คัดเลอื กสมนุ ไพรเดน ในจังหวัด และประมาณการ ความตองการ การใชส มุนไพร 8. จัดทำ� เกษตรพันธะสัญญา (Contract farming) Position-5.indd 28 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเด็นการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ชาติ 29 Chain Stage 1 (2560) Stage 2 (2561) Stage 3 (2562–2564) Research & 9. รว่ มทำ� ขอ ตกลง (MOU) งานวิจัย 5. สนับสนนุ การจดั ตั้งศูนยวิจัยทีไ่ ด้ 4. นำ� งานวจิ ยั มาพฒั นาเป็น Development สมนุ ไพรรว่ มกันระหว่างจงั หวัด มาตรฐานมี เครือ่ งมอื วเิ คราะห์ที่ นวัตกรรมใหมเ่ พ่ิมขน้ึ and และมหาวทิ ยาลัยใกลเคยี ง มีประสิทธภิ าพพฒั นา ขยาย Technology 10. พฒั นาต่อยอดภูมปิ ัญญา/พฒั นา หองปฏิบตั กิ ารทีไ่ ดร้ บั มาตรฐาน สมนุ ไพรเดนในพ้นื ท/่ี พฒั นา เพ่อื รองรับ ผลติ ภัณฑ์ภาพ ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ/ผลิต (การตรวจและควบคมุ คุณภาพ) อาหารสัตวจ์ ากสมนุ ไพร 6. บูรณาการระหวา่ งหนว่ ยงาน/ 11. พัฒนางานวิจัยใหม่ และทบทวน ผูเ้ ช่ยี วชาญ สำ� หรบั ถายทอด งานวจิ ยั ท่ีไมส่ มบูรณ องคความรู ใหค ำ� แนะน�ำ ท�ำวจิ ัย 12. พฒั นาและขยายหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และ เผยแพรผ่ ลงานวิจยั ใหกบั ทไ่ี ด้รับมาตรฐาน เพือ่ รองรับ ผู้ประกอบการน�ำไปตอ ยอดสร้าง ผลติ ภัณฑค์ ณุ ภาพ และพัฒนาผลผลติ 7. วจิ ัยและพัฒนารูปแบบยา เพื่อ สะดวกตอ่ การใชประโยชนและ ผลขางเคียง Manufac-turing 13. มมี าตรฐานการผลิต แปรรปู 8. พัฒนาโรงตาก/นวัตกรรมการ 5. พฒั นาสารสกดั เพ่ิมมูลคา่ ศกั ยภาพผูป ลกู ผผู ลติ GMP แปรรปู สมนุ ไพรเบ้ืองตน (On ผลิตภัณฑ์ (ยา อาหารเสริม site) เพ่อื เพมิ่ มลคู า และเข้าสู่ เครื่องส�ำอาง) การผลติ ภาคอตุ สาหกรรม 6. ยกระดับมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ 9. สทิ ธปิ ระโยชนท างภาษีและ เขา สู่มาตรฐานสากล การยกเวน อากรขาเขา สำ� หรับ เครือ่ งจักร (BOI) Regulation 14. พฒั นาสถานประกอบการดา น 10. ปรบั ปรุง/แกไ ขการ 7. การคมุ ครองสิทธิทางปัญญาของ สุขภาพท้งั ภาครฐั และเอกชน ประกาศใชผ ังเมืองโดยเพ่มิ ผลิตภณั ฑแ์ ละรปู แบบบริการ ใหไดม าตรฐาน กระบวนการสกดั และแปรรูป สมนุ ไพร 8. พฒั นาระบบการจัดการความ เสี่ยงตลอด value chain Marketability Marketability 15. สรา้ งการรบั รแู้ ละประชาสมั พนั ธ์ 11. มีมาตรการสง เสริมการใชใ น 9. มีกองทุนการใชยาสมนุ ไพรระดับ การน�ำสมนุ ไพรไปใชประโยชน ชุมชน เชน ตลาด กลมุ เขต/จงั หวัด เพ่ือสง เสริมการใช 16. พัฒนาแหลง่ ทอ งเท่ียวเชิง เขมแขง็ มรี ายไดเ ขา กลุม ทดแทนยาแผนปจ จุบนั ไดใ น สขุ ภาพ/spa/ศูนยเรยี นรู มเี ครือข่ายเกษตรกร และอน่ื  ๆ ราคาถูก บอกเลาเรอ่ื งราวที่เปน็ พืน้ ถิน่ ทงั้ ประเทศ 10. มรี า้ นจำ� หน่ายผลิตภณั ฑ์ Herb Health Heritage 12. สร้างตราสนิ คา้ จดสิทธิบัตร สมนุ ไพรสขุ ภาพ เพม่ิ 17. สงเสริมและสนับสนนุ การให เพม่ิ มลู คา/พฒั นา ยกระดบั ผลติ ภัณฑอาหารเสรมิ เวชสาํ อาง บริการแพทยแ ผนไทย ใน ผลติ ภณั ฑ์และบรรจภุ ัณฑ เชอ่ื มโยง ผผู ลิตและผขู าย สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 13. จัดต้ังศูนยใหความรู ผูประกอบการใหม Position-5.indd 29 9/13/19 16:05

30 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ผลิตภัณฑต์ ้นแบบ: โอกาสและการพฒั นา รศ.ดร.ภญ.นพมาศ สุนทรเจรญิ นนท์ ส�ำนักงานขอ้ มลู สมนุ ไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 1. ความเป็นมา หลกั การและเหตผุ ล จากกระแสความนิยมผลิตภัณฑ์ที่มาจากธรรมชาติมากข้ึน ท�ำให้คนจ�ำนวนไม่น้อยท่ีเจ็บป่วยได้หันมา นิยมใช้ยาจากธรรมชาติหรือสมุนไพรทดแทนยาแผนตะวันตกท่ีมาจากการสังเคราะห์ทางเคมีซ่ึงมีราคาแพง และมี ผลข้างเคียงมากกว่ายาจากสมุนไพร ดังนั้นจึงเป็นเร่ืองท่ีดีท่ีคนไทยจะหันมาใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจาก สมุนไพรกันมากขึ้น แทนการพึ่งพายาแผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียว เพราะจะช่วยลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ และลดการเสยี ดลุ การคา้ ของประเทศ นอกจากนต้ี ลาดโลกมคี วามตอ้ งการผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพจากสมนุ ไพรในปรมิ าณ มาก จึงเปน็ โอกาสอันดที ่ปี ระเทศไทยซ่งึ มที รพั ยากรสมุนไพรทีม่ ีคุณภาพดีอย่เู ปน็ จำ� นวนมาก จะไดว้ จิ ยั และพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรของไทยให้มีคุณภาพทัดเทียมกับของต่างประเทศ เพ่ือให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก แทนการส่งออกแตว่ ัตถดุ ิบสมุนไพรซ่งึ มมี ูลคา่ การตลาดต�่ำ เพือ่ ช่วยน�ำรายไดเ้ ขา้ ประเทศอีกทางหนึง่ ดว้ ย[1] ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากโดยเฉพาะพืช จากข้อมูลของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบวา่ พนั ธ์พุ ืชในประเทศไทยทท่ี ราบชอ่ื วิทยาศาสตร์แล้วกว่า 2 หมืน่ ชนิด ในจ�ำนวน นี้ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์เป็นสมุนไพรเพียงแค่ 1,800 ชนิด ท่ีกระจายอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศ เพราะฉะนั้น ประเทศไทยยังมีโอกาสอีกมากที่จะน�ำพืชสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยารักษาโรคหรือส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เช่น เวชส�ำอาง หรือผสมในเครอ่ื งดม่ื ใหเ้ ป็นเครอ่ื งดม่ื ดูแลสขุ ภาพ เปน็ ต้น[2] จากงานวิจัยของ “โครงการยุทธศาสตร์การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมสมุนไพรไทยเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” ในปี 2552 ได้มีข้อสรุปว่า ผลิตภณั ฑส์ มุนไพรทีม่ ีศักยภาพท่ีจะรุกสตู่ ลาดส่งออก ได้แก่ เครือ่ งส�ำอางสมุนไพร ผลิตภณั ฑส์ ปาฯ และผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารจากสมุนไพร ซึ่งเป็นสาขาท่ีมีศักยภาพค่อนข้างสูง ผู้ประกอบการมีความเข้มแข็งพอสมควร และ เป็นผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับจากตลาดต่างประเทศ ปัจจุบันแนวโน้มของผลิตภัณฑ์สมุนไพรก็ยังเป็นแนวทาง เดยี วกัน ทางศนู ย์วจิ ยั กสิกรไทยประเมนิ ว่า ตลาดเคร่ืองส�ำอางในประเทศไทยยังมีแนวโนม้ ขยายตวั ได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากแรงหนุนท้ังฝั่งอุปสงค์และอุปทาน หลังจากท่ีในปี 2560 ตลาดเคร่ืองส�ำอางไทยมีมูลค่าประมาณ 2.51 แสนล้านบาท แยกเป็นตลาดในประเทศ 1.68 แสนล้านบาท เติบโตร้อยละ 7.8 (YoY) โดยมีผลิตภัณฑ์ดูแลผิว (Skincare) ครองส่วนแบ่งตลาดเครื่องส�ำอางมากท่ีสุดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46.8 ขณะเดียวกันการส่งออก เคร่ืองส�ำอางไทยไปยังตลาดโลกมีมูลค่าประมาณ 0.83 แสนล้านบาท โดยมีตลาดส่งออกหลักท่ีส�ำคัญ ได้แก่ อาเซียน ญ่ีปุ่น และจีน ตลาดเคร่ืองส�ำอางที่มีแนวโน้มเติบโตในระยะต่อไป จะมีความหลากหลายและซับซ้อน มากข้ึน ซ่ึงน่าจะเป็นโอกาสทางธุรกิจส�ำหรับผู้ประกอบการท่ีมีศักยภาพ อาทิ ตลาดเคร่ืองส�ำอางที่เจาะกลุ่ม เป้าหมายโดยเฉพาะ เช่น กลุ่มเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเพศชาย หรือเครื่องส�ำอางที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ หรือออร์แกนิก และยังมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางของไทยได้รับความนิยมใน ต่างประเทศ เนื่องจากความเช่อื ม่นั ในคณุ ภาพมาตรฐานการผลติ และความปลอดภยั ประกอบกบั การมีวตั ถดุ บิ ผลติ Position-5.indd 30 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเด็นการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติ 31 เครอ่ื งสำ� อางโดยเฉพาะวตั ถดุ บิ ทม่ี าจากธรรมชาติ รวมถงึ ความหลากหลายของประเภทเครอื่ งสำ� อาง ซงึ่ มเี อกลกั ษณ์ และนวัตกรรมการผลิตทต่ี อบสนองความต้องการผ้บู รโิ ภคหลากหลาย[3] จากแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าดว้ ยการพฒั นาสมนุ ไพร ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์สร้างความเข้มแข็งของการบริหารและนโยบายของภาครัฐ เพ่ือการขับเคล่ือนสมุนไพรอย่างย่ังยืน ใน มาตรการที่ 5 ไดก้ ล่าวถึงการสง่ เสรมิ และพัฒนาสมุนไพรโดยไดก้ ำ� หนด Champion Products เพอื่ ให้เป็นสมุนไพร ทมี่ ศี กั ยภาพของประเทศและเพอื่ ใหเ้ กดิ ทศิ ทางทชี่ ดั เจนในการวางแผนพฒั นาสมนุ ไพรใหค้ รบวงจรและสามารถพฒั นา เป็นผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดและสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศได้ ซ่ึงการพิจารณาคัดเลือก Champion Products แบ่งออกเป็น 3 มิติ คือ มิติด้านศักยภาพ มิติด้านความต้องการ และมิติความน่าสนใจในอนาคต ซ่ึงที่ผ่านมามี การพจิ ารณาคัดเลือกสมุนไพรกวา่ 10 ชนดิ ไดแ้ ก่ กระชายด�ำ ไพล บวั บก ขมนิ้ ชนั กวาวเครือขาว มะขามปอ้ ม กระชาย พริก ฟ้าทะลายโจร กระเจ๊ียบแดง หญ้าหวาน และว่านหางจระเข้ ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวง สาธารณสขุ รว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การขบั เคลอ่ื นโครงการตามแผนบรู ณาการขบั เคลอ่ื นสมนุ ไพรเพอื่ เศรษฐกจิ ได้คดั เลือกสมนุ ไพร 4 ชนดิ คือ กระชายด�ำ ไพล บัวบก ขมิ้นชัน เปน็ Champion Products น�ำรอ่ ง[4] ในปี 2562 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้เตรียมวางแผนการพัฒนาสมุนไพร Champion Products ชนิดต่อไป เพื่อส่งเสริมเป็นสมุนไพรต้นแบบต่อไป โดยจะพิจารณาสมุนไพรท่ีได้รับการ คัดเลือกมากอ่ นแล้ว ได้แก่ กวาวเครือขาว มะขามป้อม กระชาย พรกิ ฟ้าทะลายโจร กระเจย๊ี บแดง หญ้าหวาน และวา่ นหางจระเข้ ซง่ึ จะเห็นไดว้ ่าสมนุ ไพรดังกลา่ วแต่ละชนิดจะมศี ักยภาพทัง้ 3 มิติทน่ี ่าสนใจ 2. นโยบายและมาตรการท่ีด�ำเนินการปัจจบุ นั วันท่ี 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ท่ีประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ลงมติเห็นชอบร่าง พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ.... ใช้เป็นกฎหมาย ด้วยเสียงเอกฉันท์ และให้ร่างกฎหมาย มีผลใช้บังคับ หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 60 วัน โดยเน้ือหามีสาระส�ำคัญคือ การก�ำหนดให้ผู้ผลิต จ�ำหน่าย หรือ น�ำเข้า ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งรวมถึงยาแผนไทย ยาพัฒนาจากสมุนไพร ยาแผนโบราณ เพ่ือ บ�ำบัด รักษาและบรรเทาอาการเจ็บป่วยของมนุษย์ ต้องขอใบอนุญาตผลิต จ�ำหน่าย และน�ำเข้า จากหน่วยงาน ราชการทีเ่ กยี่ วข้องตามเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรกี �ำหนด ทั้งน้ยี ังก�ำหนดใหม้ ีคณะกรรมการกำ� กบั จำ� นวน 2 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ (เพ่ือก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรแห่งชาติ) และคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร ซึ่งเมื่อ พ.ร.บ.นี้มีผลบังคับใช้จะเกิดประโยชน์กับการส่งเสริมอนุรักษ์ สมุนไพรไทย ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาแผนไทยและผลิตภัณฑ์สมุนไพรอย่างกว้างขวาง และผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ทงั้ ทเี่ ปน็ ยาแผนไทย ยาพฒั นาจากสมนุ ไพร ผลติ ภณั ฑ์เสรมิ สขุ ภาพ จะมคี ุณภาพ มาตรฐานเป็นท่ยี อมรับในระดบั ประเทศและระดบั สากล เพอ่ื ความมน่ั คงและการพงึ่ พาตนเอง และเกดิ การสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ของประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ตามแนวนโยบายของรัฐบาลและแผนยุทธศาสตรช์ าต[ิ 5] รัฐบาลปัจจุบันมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร โดยได้มีข้อสั่งการให้กระทรวง สาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องพัฒนาพืชสมุนไพรไทยให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็น ทย่ี อมรบั และสรา้ งมลู คา่ เพิ่มใหแ้ ก่ผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากสมุนไพร จึงเปน็ ที่มาของแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการ พัฒนาสมุนไพรไทย ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ประกอบวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย สถานการณ์ ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแผนงานต่าง ๆ ท่ีครอบคลุมการพัฒนาสมุนไพรไทยต้ังแต่ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพ่ือ Position-5.indd 31 9/13/19 16:05

32 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย ให้ 5 ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบสมุนไพรคุณภาพและผลิตภัณฑ์สมุนไพรช้ันน�ำของ ภูมิภาคอาเซียน และมูลค่าของวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรภายในประเทศเพ่ิมขึ้นอย่างน้อย 1 เท่าตัว อันจะน�ำมาสู่ความมั่นทางสุขภาพและความยั่งยืนทางเศรษฐกิจไทยต่อไป และเพ่ือให้เกิดทิศทางที่ชัดเจนในการ วางแผนพฒั นาสมนุ ไพรใหค้ รบวงจรเปน็ รายชนิด จงึ ได้กำ� หนดสมุนไพร Champion Products ให้เป็นผลิตภณั ฑท์ ี่ สรา้ งรายได้ทางเศรษฐกจิ ให้กับประเทศ ซง่ึ แนวทางการด�ำเนนิ งานประกอบดว้ ย การส�ำรวจขอ้ มูลสมนุ ไพร ก�ำหนด เกณฑ์การพิจารณาสมุนไพร Champion Products ตามสภาพการณ์ปัจจุบันและอนาคต และมีการทบทวนทุก 3 ปี หรือที่เหมาะสม ซึ่งท่ีผ่านมามีการพิจารณาคัดเลือกสมุนไพรกว่า 10 ชนิด ได้แก่ กระชายด�ำ ไพล บัวบก ขม้นิ ชนั กวาวเครือขาว มะขามปอ้ ม กระชาย พรกิ ฟ้าทะลายโจร กระเจย๊ี บแดง หญา้ หวาน และว่านหางจระเข้ และในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการขับเคล่ือนโครงการ ตามแผนบูรณาการขับเคลื่อนสมุนไพรเพ่ือเศรษฐกิจ ได้คัดเลือกสมุนไพร 4 ชนิด คือ กระชายด�ำ ไพล บัวบก ขมิ้นชัน เป็น Champion Products น�ำร่อง[4] จากแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ทุกหน่วยงานได้ร่วมมือกันพัฒนาและส่งเสริมสมุนไพรให้มีการใช้และสามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนและ ประเทศชาติ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จัดงานมหกรรมสมุนไพร ทุกปี เพ่ือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักสมุนไพรและใช้สมุนไพรอย่างถูกต้อง และยังจัดในแต่ละภาคของ ประเทศ ซง่ึ จะเปน็ การสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาและนวตั กรรมดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย ทดี่ ำ� เนนิ การ มาอย่างต่อเน่ือง และยังเป็นการกระต้นุ เศรษฐกจิ ของจงั หวัดและชุมชนต่าง ๆ รวมทงั้ ตอบสนองการดำ� เนนิ งานตาม แนวทางประชารฐั ของรัฐบาล กระทรวงพาณิชย์ได้ท�ำแผนผลักดันการส่งออกสินค้าสมุนไพรไทยตามนโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน ท่ี ต้องการช่วยเหลือเกษตรกรให้มีรายได้อย่างยั่งยืน และพัฒนาสินค้าส่งออกรายการใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดโลก เพราะ เล็งเห็นว่าสมุนไพรก�ำลังเป็นที่ต้องการของตลาดโลก เพราะผู้บริโภคเร่ิมให้ความส�ำคัญกับการบ�ำรุงสุขภาพหรือ รักษาสุขภาพด้วยวิถีธรรมชาติมากขึ้น และหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี จึงเป็นโอกาสในการส่งออกสมุนไพรไทยได้ เพ่ิมข้ึน ท้ังสมุนไพรสด และผลิตภัณฑ์ กระทรวงฯ ก�ำลังจัดท�ำแผนผลักดันการส่งออกสมุนไพรไทย เพราะ ไม่เพียงแต่ช่วยเพ่ิมมูลค่าส่งออก แต่ยังช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เน่ืองจากแทนท่ีเกษตรกรจะเพาะปลูกพืช อย่างเดียว แต่สามารถปลูกสมุนไพรแซมในไร่นา เพื่อหารายได้เสริมได้ด้วย และอาจเป็นรายได้หลักในอนาคต หลังจากท่ีตลาดต้องการมากขึ้น โดยในส่วนของกระทรวงพาณิชย์ท�ำหน้าท่ีเป็นสื่อกลางด้านข้อมูลตลาด ส่งเสริม การค้า พัฒนาบรรจุภัณฑ์ สร้างแบรนด์ระดับโลก และธุรกิจบริการที่เก่ียวเน่ือง รวมทั้งสร้างช่องทางจ�ำหน่ายทั้ง offline และ online[6] นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2542 กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศรายการ “ยาสามัญประจ�ำบ้านแผน โบราณ” 27 รายการ ซงึ่ จะครอบคลมุ โรคพนื้ ฐานได้ และปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการแหง่ ชาติด้านยาไดย้ กร่าง บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2549 [บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม)] ซ่ึงได้บรรจุต�ำรับยา แผนไทย 11 ต�ำรับ ยาสมุนไพรเดีย่ ว 9 ตำ� รับ และในปี 2555 คณะกรรมการแห่งชาตดิ ้านยาได้ยกร่างบญั ชยี า จากสมุนไพร พ.ศ. 2558 ซึ่งมีต�ำรับยาที่เพิ่มข้ึนเป็น 74 ต�ำรับ และส�ำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติได้ยกร่าง กลุ่มอาการที่สามารถใช้บริการการแพทย์แผนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และการสั่งใช้ยาสมุนไพร ซึ่งต้องเป็นไปตามรายการในบัญชียาหลักแห่งชาติและบัญชียาสามัญประจ�ำบ้าน จะเห็นได้ว่ารัฐมีนโยบายให้ การสนับสนุนการใชย้ าสมนุ ไพรอย่างเด่นชัด[7] Position-5.indd 32 9/13/19 16:05

กลุม่ ที่ 1 ประเดน็ การขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ชาติ 33 จากนโยบายและมาตรการที่ด�ำเนินการปัจจุบันข้างต้น จะเป็นการส่งเสริมสมุนไพรไทยให้เป็นที่รู้จักของ คนในประเทศและตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงคอื สมนุ ไพร Champion Products ท้งั ทไี่ ดน้ ำ� รอ่ งไปแลว้ คอื สมุนไพร 4 ชนดิ กระชายดำ� ไพล บวั บก และขมิน้ และสมุนไพรที่จะกำ� หนดต่อไปทจี่ ะเป็น Next Champion Products ได้แก่ กระเจี๊ยบแดง หญา้ หวาน วา่ นหางจระเข้ กระชาย ฟา้ ทะลายโจร มะขามป้อม กวาวเครือขาว และพรกิ ซงึ่ สมนุ ไพรแตล่ ะชนดิ จะมคี ณุ สมบตั แิ ละคณุ คา่ ทจี่ ะพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ กนั ไมว่ า่ จะเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ เครื่องส�ำอางสมุนไพร ผลิตภัณฑเ์ สรมิ อาหาร เคร่ืองด่มื สมนุ ไพร หรอื ยารักษาโรค 3. สภาพปญั หา/ขอ้ จำ� กดั และโอกาสในการพฒั นา กระเจ๊ยี บแดง Rosella, sour tea, Jamaican sorel, roselle, sorrel, red sorrel ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Hibiscus sabdariffa L. วงศ์ MALVACEAE ส่วนที่ใช้ กลบี เลย้ี งของดอกหรอื กลบี ทเี่ หลอื ท่ผี ล ใบ สรรพคณุ ใชเ้ ป็นยาลดไขมันในเส้นเลือดและช่วยลดน้�ำหนกั ลดความดนั โลหิต ขับปสั สาวะ สารประกอบ 15%-30% ประกอบด้วยกรดต่าง ๆ ได้แก่ กรด citric, malic, tartaric และ allo- hydroxycitric acid lactone สารอนื่  ๆ ไดแ้ ก่ alkaloids, L-ascorbic acid, anthocyanins (delphinidin-3- sambubioside, cyaniding-3-sambubioside), beta-carotene, beta-sitosterol, polysaccharides (arabins และ arabinogalactans), quercetin, gossypetin และน�้ำตาล galactose, arabinose, glucose, xylose, mannose และ rhamnose[8-9] มิติการพัฒนา กระเจี๊ยบมีศักยภาพในการพัฒนาเป็นเคร่ืองด่ืม ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เครื่องส�ำอาง สมุนไพร และเป็นยารักษาโรค มติ กิ ารพฒั นาเปน็ เครอ่ื งดมื่ กระเจยี๊ บทกุ สว่ น ไมว่ า่ เปน็ กลบี เลย้ี ง ใบ ผล หรอื ราก มสี ารทเี่ ปน็ ประโยชน์ กับร่างกายมากมาย เชน่ กรดต่าง ๆ วติ ามนิ เกลือแร่ และสารที่มฤี ทธต์ิ า้ นอนมุ ูลอิสระ นอกจากนี้การรบั ประทาน เครอ่ื งดืม่ กระเจยี๊ บมคี วามปลอดภัย[9] มติ กิ ารพฒั นาเปน็ เครอื่ งสำ� อางสมนุ ไพร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ไดพ้ ฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เคร่ืองสำ� อางของกระเจย๊ี บ (กลบี เลย้ี ง) ในรปู แบบของ เจลอาบนำ้� ครีม โลชน่ั [10] นักวิจยั ประเทศญป่ี ุน่ ได้ศกึ ษาพบ ว่า สารสกัดจากใบกระเจีย๊ บมฤี ทธย์ิ บั ย้ังเอนไซม์ tyrosinase ซงึ่ จะนำ� ไปพัฒนาเปน็ เคร่ืองส�ำอางแก้ฝา้ ได้[11] มติ กิ ารพัฒนาเปน็ ยารกั ษาโรค จากงานวิจยั ในคนพบว่าชาชงกระเจยี๊ บมผี ลในการลดความดันโลหิตได้ดี กวา่ ชาดำ� แตม่ ีฤทธ์ิน้อยกวา่ ยากลุม่ ACE-inhibitors[8,12] นอกจากนก้ี ระเจี๊ยบยังมีฤทธิล์ ดไขมนั และนำ�้ ตาลในเลอื ด ขับพยาธิและตา้ นจลุ ชีพ[9,13] หญา้ หวาน Stevia, candyleaf, sweet leaf, sugarleaf ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Stevia rebaudiana วงศ์ ASTERACEAE ส่วนทใ่ี ช้ ใบ สรรพคุณ สารให้ความหวานที่ไม่ก่อให้เกิดพลังงาน ใบหญ้าหวานนั้นมีความหวานมากกว่าน�้ำตาลถึง 10-15 เทา่ สาร Stevioside ให้ความหวานมากกว่าน้ำ� ตาลถงึ 200-300 เทา่ สามารถนำ� ไปใชใ้ นด้านอุตสาหกรรม ต่าง ๆ เช่น เครอ่ื งดมื่ ยาสมุนไพร และผลติ ภัณฑ์เสรมิ สุขภาพ Position-5.indd 33 9/13/19 16:05

34 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย สารประกอบ สารกลุ่ม diterpene glycosides (0.3% dulcoside, 0.6% rebaudioside C, 3.8% rebaudioside A และ 9.1% stevioside)[14] มิติการพัฒนา มีศักยภาพสูงในการพัฒนาเป็นเครื่องด่ืมสมุนไพร ยาสมุนไพรส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวาน และเดก็ และผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพส�ำหรับผ้ทู ี่ตอ้ งการลดน้�ำหนัก มิติการพัฒนาเป็นเครื่องดื่ม เน่ืองจากหญ้าหวานเป็นพืชที่ให้ความหวานมากกว่าน�้ำตาลทราย และไม่ ก่อเกิดพลังงานมากในวงการธุรกิจเคร่ืองด่ืมจะใช้หญ้าหวานทดแทนนำ้� ตาล ซึ่งธุรกิจเครื่องด่ืมมีมูลค่าที่สูงมาก ใน ตลาดตา่ งประเทศจะมีผลิตภัณฑห์ ญ้าหวานในรปู แบบต่าง ๆ กัน เชน่ crytals stevia, stevia extract powder, stevioside, stevia liquid extract, stevia dark liquid concentrate, stevia pure powder extract และ stevia tablet[14] มติ กิ ารพฒั นาเป็นยารกั ษาโรค มงี านวิจยั พบว่า การดมื่ น�้ำสกดั หญา้ หวาน จะชว่ ยลด plasma glucose concentrations และสาร steviol และ stevioside มีผลต่อ beta cells ในตับอ่อนในการกระตุ้นการหล่ัง insulin จะเห็นได้ว่าหญ้าหวานมีศักยภาพในการน�ำมาใช้กับผู้ป่วยเบาหวานชนิด type 2 diabetes และผู้ป่วย phenylketonuria นอกจากนี้สารสกัดหญ้าหวานยังมีฤทธ์ิลดระดับ cholesterol, triglyceride, low-density lipoproteincholesterol และเพ่ิมระดบั high-density lipoprotein-cholesterol[14] ว่านหางจระเข้ Aloe, Aloe vera, Aloin ช่ือวิทยาศาสตร์ Aloe vera วงศ์ ASPHODELACEAE ส่วนท่ใี ช้ ยาง และว้นุ สรรพคุณ วา่ นหางจระเข้เปน็ พืชทีม่ ีการใชม้ านานหลายศตวรรษ ในหลายประเทศ เชน่ จีน ญป่ี ุ่น กรีซ อียิปต์ เม็กซิโก ในการรักษาแผลไฟไหม้ น้�ำร้อนลวก แผลสด ช่วยบรรเทาอาการปวดแสบปวดร้อน ช่วยบ�ำรุง ผิวพรรณ ช่วยท�ำให้ผิวพรรณเนียนนุ่ม ดูชุ่มชื้น ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ช่วยควบคุมความดันโลหิตและ เพ่ิมการไหลเวยี นของโลหิต ปอ้ งกนั โรคเบาหวาน ชว่ ยรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร หรือใชเ้ ป็นยาระบาย[15] สารประกอบ สว่ นวุ้นประกอบด้วยสารกลุ่ม polysaccharides (glucomannan และ acemannan) ส่วนยางประกอบดว้ ยสารกลมุ่ anthraquinones มติ กิ ารพฒั นา วา่ นหางจระเขม้ ศี กั ยภาพในการพฒั นาเปน็ เครอื่ งสำ� อางสมนุ ไพร ยารกั ษาโรค (โดยเฉพาะ ทำ� ให้แผลหายเรว็ ขึ้น หรอื เปน็ ยาระบาย) เครอ่ื งด่ืม มิติการพัฒนาเป็นเคร่ืองส�ำอางสมุนไพร วุ้นว่านหางจระเข้มีการน�ำมาใช้ในเครื่องส�ำอาง ผลิตภัณฑ์ให้ ความชุ่มช้นื กับผวิ หนัง ปอ้ งกนั ผวิ หนงั ถูกท�ำลายด้วยรงั สจี ากแสงแดด หรือใชใ้ นผลิตภัณฑส์ �ำหรับเส้นผม ท�ำใหผ้ ม ดกด�ำขนึ้ มติ กิ ารพฒั นาเปน็ ยารกั ษาโรค วนุ้ วา่ นหางจระเขซ้ ง่ึ ประกอบดว้ ยสาร polysaccharides (glucomannan และ acemannan) สาร glucomannan มฤี ทธิใ์ นการสมานแผลไดด้ ี โดยมกี ลไกสร้าง collagen กระตุ้นการเจรญิ ของ fibroblast ลดการอกั เสบ สาร acemannan ช่วยกระตุ้นการเจริญของ periodontal ligament cell วุน้ วา่ นจระเขย้ งั มฤี ทธร์ิ กั ษาผวิ หนงั และเนอื้ เยอื่ ทผี่ ดิ ปกตเิ นอื่ งจากสมั ผสั กบั รงั สหี รอื จากยาคโี ม แผลไฟไหมน้ ำ�้ รอ้ นลวก รักษาโรคกระเพาะและล�ำไส้ (Irritable bowel syndrome, IBS) ลดระดับน�ำ้ ตาลในเลือด และต้านเชอื้ จุลชีพ[16-17] Position-5.indd 34 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเด็นการขบั เคลื่อนยุทธศาสตรช์ าติ 35 กระชาย Fingerroot, Chinese ginger, Chinese keys, Galingale ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia rotunda วงศ์ ZINGIBERACEAE สว่ นที่ใช้ เหง้า สรรพคุณ บ�ำรุงก�ำลังและเสริมสมรรถภาพทางเพศ วงการแพทย์แผนไทยว่าเป็น “โสมไทย” ซึ่งน่าจะ พัฒนาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์เสริมอาหาร นอกจากน้ีในตา่ งประเทศกม็ กี ารใชเ้ ป็นยารกั ษา rheumatism, muscle pain, febrifuge, gout, gastrointestinal (ขบั ลม ปวดทอ้ ง และอาหารไม่ย่อย) เหงา้ สดใชร้ ักษาฟันผุ ผวิ หนังอกั เสบ แกห้ วดั แก้ไอ ทอ้ งเสีย และใชเ้ ปน็ ยาขบั ปัสสาวะ[18] สารประกอบ สารกลมุ่ flavonoid derivatives, chalcone derivatives, esters, kawains, terpenes และ terpenoids นำ�้ มนั หอมระเหย (ประกอบดว้ ย camphor, linalool, camphene, a-pinene, a-terpineol, a-phellandrene, g-terpinene, methyl 3-phenylpropionate)[18] มติ ิการพฒั นา ซ่งึ น่าจะพฒั นาเป็นผลติ ภัณฑเ์ สรมิ อาหาร และยารกั ษาโรค มิติการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดความอ้วน มีงานวิจัยพบว่าสาร panduratin A, เป็นสาร novel natural AMP-activated protein kinase (AMPK) activator ซงึ่ มกี ลไกช่วย ลดไขมนั ในเลอื ด ไขมนั พอกตบั และสามารถพฒั นาใชก้ บั อาการผดิ ปกตขิ องระบบเมแทบอลซิ มึ พฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ บ�ำรงุ รา่ งกาย ท�ำให้มีสขุ ภาพทด่ี ขี น้ึ [18] มิติการพัฒนาเป็นยารักษาโรค น้�ำมันหอมระเหย สารสกัดแอลกอฮอล์ สารกลุ่ม flavonoids จาก กระชายมีฤทธิ์ต้านเชื้อ Helicobacter pylori ท่ีท�ำให้กระเพาะอาหารอักเสบ และเป็นมะเร็งได้ มีฤทธ์ิต้านเชื้อ ปรสิตในผู้ป่วย HIV เช้ือก่อโรคปริทันตท�ำให้ฟันผุ หรือเช้ือท่ีท�ำให้ตกขาว กระชายยังมีฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็ง ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญกลุ่ม flavonoids มีฤทธ์ิลดน้�ำตาลในเลือด (การศึกษาในหลอดทดลอง) ซึ่งมีศักยภาพ ในการพฒั นาเป็นยารกั ษาโรคเบาหวานในอนาคต[19] ฟ้าทะลายโจร Kariyat, king of bitters ช่ือวิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata Nees วงศ์ ACANTHACEAE ส่วนทีใ่ ช้ ใบ สารประกอบ สารกลมุ่ diterpene lactones ไดแ้ ก่ andrographolide, deoxyandrographolide, 11, 12-didehydro-14-deoxyandrographolide, neoandrographolide, andrographiside, deoxyandrographiside และ andropanoside[20] มิติการพัฒนา ฟา้ ทะลายโจรเปน็ สมนุ ไพรทมี่ กี ารใชม้ านานในประเทศทางตะวนั ออก เชน่ ประเทศเกาหลี จีน ไทย อินเดีย แพทย์อายุรเวทใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาโรคทางเดินอาหาร โรคตับ และหวัด ประเทศจีนถือว่า ฟ้าทะลายโจรเป็นยาเย็นใช้ลดไข้ และหวัด ปัจจุบันประเทศทางตะวันตกเริ่มใช้เป็นยาแก้หวัด (common cold) แก้ท้องเสีย จึงน่าจะพัฒนาเป็นยาต้านหวัดได้ ทั้งน้ียังมีฤทธ์ิต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย ช่วยกระตุ้นการสร้าง ภูมิคุม้ กนั ในร่างกาย ต่อต้านสิง่ แปลกปลอมทีเ่ ข้ามาในร่างกาย รวมไปถึงชว่ ยกระตนุ้ การสร้างเม็ดเลือดขาวให้จบั กนิ เชื้อโรคได้ดีย่ิงขึ้นอีกด้วย จะเห็นได้ว่าในตลาดจะมีผลิตภัณฑ์ฟ้าทะลายโจรเป็นยาแก้หวัด เช่น Cold Combat(R) ของบริษทั Blackmore[21] Kalmcold® ของบรษิ ทั Nutrisan[22] มิติการพัฒนาเป็นยารักษาโรค มีงานวิจัยในคนหลายฉบับท่ีพบว่า ฟ้าทะลายโจรใช้รักษาโรคทางเดิน หายใจส่วนบนได้ และมีความปลอดภัย การศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่า สารสกัดแอลกอฮอล์ของฟ้าทะลายโจรมี ฤทธ์ิปกป้องตับ[20,23] Position-5.indd 35 9/13/19 16:05

36 สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย มะขามป้อม Indian gooseberry, Emblica, Amla ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Phyllanthus emblica L. วงศ์ EUPHORBIACEAE สว่ นท่ใี ช้ ผล สารประกอบ สารกลุ่ม phenolic ได้แก่ ellagic acid, gallic acid, quercetin, kaempferol, corilagin, geraniin, furosin, gallotanins, emblicanins, flavonoids, glycosides, และ proanthocyanidins นอกจากนยี้ งั มี vitamin C สูง มิติการพัฒนา มะขามป้อมมีศักยภาพในการจะพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เคร่ืองส�ำอาง เครื่องดื่ม และยา รกั ษาโรค ทั้งน้ี เพราะว่ามะขามปอ้ มมีการใช้ในคมั ภีร์อายรุ เวท อาหรบั ธเิ บต อยี ปิ ต์ และมงี านวจิ ยั คอ่ นข้างมาก เกี่ยวกบั ฤทธ์ิ immunomodulatory, anti-inflammatory, antiulcer, hepatoprotective, และ anticancer มติ กิ ารพฒั นาเปน็ ยารกั ษาโรค สารสกดั นำ้� และสารสกดั แอลกอฮอลลข์ องมะขามปอ้ มมฤี ทธติ์ า้ นการอกั เสบ ต้านจุลชพี ต้านเซลลม์ ะเร็ง ฤทธิป์ กปอ้ งตับและไต ลดไขมนั และน�ำ้ ตาลในเลือด[25-26] มติ กิ ารพัฒนาเป็นเครอ่ื งสำ� อางสมนุ ไพร มะขามป้อมมฤี ทธิก์ ระตนุ้ การสรา้ งเซลล์ใหม่ สร้าง collagen มฤี ทธ์สิ มานผิวที่ถูกทำ� ลายเนือ่ งจากแสง UVB และมฤี ทธิต์ ้านอนุมลู อสิ ระสงู [24-25] กวาวเครอื ขาว ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Pueraria candollei var. mirifica (Airy Shaw & Suvat.) Niyomdham วงศ์ FABACEAE สว่ นทใ่ี ช้ ราก สารประกอบ สารกลุ่ม isoflavone aglycones (miroestrol, deoxymiroestrol, daidzein, genistein, และ kwakfurin), สารกลมุ่ isoflavone glycosides (daidzin, genistin, และ puerarin), และ สารกล่มุ coumestans (coumestrol, mirificoumestan, mirificoumestan hydrate, และ mirificoumestan glycol) และน�้ำมนั หอมระเหย[26-28] มติ กิ ารพฒั นา กวาวเครอื ขาวมศี กั ยภาพในการจะพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งสำ� อาง และยารกั ษาโรค ทง้ั น้ี เนอ่ื งจากกวาวเครอื ขาวมสี ารสำ� คญั ทมี่ ฤี ทธคิ์ ลา้ ยฮอรโ์ มนเพศหญงิ จงึ มผี ลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อางทใี่ สส่ ารสกดั กวาวเครอื ขาวเพือ่ ท�ำให้ผวิ พรรณเต่งตึง หนา้ อกเตง่ ตึง หรอื การใช้เป็นยาอายวุ ัฒนะทง้ั ผชู้ ายและผหู้ ญิง มิติการพฒั นาเป็นเคร่ืองสำ� อางสมนุ ไพร ครีมสารสกดั แอลกอฮอลก์ วาวเครือขาวมผี ลลดรอยเหี่ยวยน่ ใน ผู้หญิงวัยหมดประจ�ำเดือนหลังจากการทา 1-2 สัปดาห์[29] การศึกษาในหลอดทดลองพบว่า สารสกัดแอลกอฮอล์ กวาวเครือขาวมีฤทธ์ิ anti-elastase, anti-collagenase และ antioxidant[30-31] สนับสนุนการพัฒนาเป็น เคร่ืองส�ำอางตา้ นรอยเหย่ี วย่น มติ กิ ารพฒั นาเปน็ ยารกั ษาโรค มกี ารศกึ ษาในผหู้ ญงิ วยั หมดประจำ� เดอื นทม่ี อี าการรอ้ นวบู วาบ เหงอ่ื ออก กลางคืน พบวา่ การรบั ประทานผงกวาวเครอื 50, 100 มิลลกิ รัม มีสว่ นชว่ ยให้อาการดังกล่าวดขี ้นึ และไม่ก่อเกดิ พษิ [27] การปอ้ นสารสกัดแอลกอฮอลข์ องกวาวเครือขาวขนาด 50 and 500 มิลลิกรัม/กิโลกรมั น�้ำหนกั ตัว ในหนู ที่ตัดรังไข่พบว่า มีฤทธ์ิคล้าย estrogen ในการช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรงข้ึน[32] การศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลัน พบวา่ มีคา่ LD50 มีค่ามากกว่า 16 กรัม/กโิ ลกรัมนำ�้ หนกั ตวั และการศึกษาความเป็นพากึ่งเรือ้ รังพบวา่ ขนาดของ กวาวเครือ 100 และ 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน�้ำหนักตัว/วัน มีผลท�ำให้หนูมีอัตราการเจริญเติบโตและการกิน อาหารลดลง สว่ นขนาดทป่ี อ้ นให้หนู 10 และ 100 มลิ ลิกรัม/กโิ ลกรมั น้�ำหนักตัว ไม่มผี ลตอ่ ระบบเลือดหรือค่าทาง Position-5.indd 36 9/13/19 16:05

กลุ่มที่ 1 ประเด็นการขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ 37 ชีวเคมี ส่วนการศึกษาความปลอดภัยในอาสาสมัครผู้หญิงในวัยที่ยังมีประจ�ำเดือนการรับประทานผงกวาวเครือขาว ขนาด 100-600 มลิ ลกิ รัม เปน็ เวลา 7 วนั หลงั จากมีประจำ� เดอื นแลว้ 2 อาทิตย์ ไมพ่ บความผดิ ปกตขิ องระดบั ฮอร์โมน การท�ำงานของไต ค่าเคมีของเลือด เม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดง นอกจากนี้ยังพบว่าการรับประทาน ผงกวาวเครอื ขาวขนาด 100-600 มิลลิกรัม มผี ลทำ� ใหห้ นา้ อกมขี นาดใหญข่ ้ึน[28] จากการศึกษาในอาสาสมคั รหญงิ วัยหมดประจ�ำเดือนรับประทานยาเม็ดกวาวเครือผงปริมาณ 100 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นเวลา 2 เดือน พบว่ามีค่า HDL cholesterol เพ่ิมขนึ้ และค่า LDL cholesterol ลดลงเมอ่ื เทยี บกบั กลมุ่ ควบคมุ [33] พรกิ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Capsicum annuum L. (ชอ่ื พอ้ ง Capsicum frutescens L., Capsicum frutescens var. frutescens, Capsicum minimum Mill.) วงศ์ SOLANACEAE สว่ นทใี่ ช้ ผล สารประกอบ สารกลุ่ม capsaicinoids [capsaicin (trans-8-methyl-N-vanillyl-6-nonenamide), dihydrocapsaicin, และ nordihydrocapsaicin), flavonoids[34-35], สารสี red-colored (carotenoids: xanthophylls, capsanthin, และ capsorubin)[34-36] มติ ิการพัฒนา มิติการพัฒนาเป็นยารักษาโรค ขี้ผ้ึงสารสกัดพริกมีผลช่วยผู้ป่วยท่ีเป็น rheumatoid arthritis ที่ปวด และมือไม่มีแรง[34] พริกและสาร capsaicinoids ปรับสมดุลระบบ metabolism และ hormone function, ปรับระดับ blood glucose, ลดการดื้อของ insulin และ leptin, ต้าน LDL-cholesterol oxidation และ ป้องกันมะเร็ง (เนื่องจากมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ) สาร capsaicinoids มีฤทธิ์ช่วยลดน�้ำหนัก โดยมีกลไก ลด ad libitum energy intake เพ่ิม thermogenesis และ energy expenditure และการรับประทานสาร capsaicinoids ขนาด 10 mg เป็นเวลา 7 วัน ไม่กอ่ ความผิดปกติของคา่ เคมเี ลือด[36] พริกและสาร capsaicinoids มีฤทธิ์ต้านการปวดผ่านกลไกที่มีผลต่อ receptor TRPV1 ผลิตภัณฑ์พริก (capsaicin (0.025-0.1% wt/wt) มกี ารนำ� มาใชเ้ ปน็ ยารักษา neuropathic pain[37] มติ กิ ารพฒั นาเป็นสจี ากสมนุ ไพร สารสีแดง-ส้มจากพริกถือได้ว่าเป็นสารสีท่ีได้จากธรรมชาติ มีความ ปลอดภัย สามารถสกัดได้จากส่วนเนื้อผลของพริก สารสีเหล่านี้เป็น precursor ของวิตามินเอ และเป็นสารที่มี ฤทธติ์ า้ นอนมุ ลู อสิ ระ เปน็ สารสที ส่ี ามารถนำ� มาใชใ้ นอตุ สาหกรรมเครอ่ื งสำ� อางและอาหาร สารสเี หลา่ นสี้ ามารถใชต้ วั ทำ� ลายทไ่ี มม่ ขี วั้ สกดั ได้ แตไ่ มค่ อ่ ยปลอดภยั ถา้ มตี วั ทำ� ละลายตกคา้ ง ซง่ึ วธิ ที ดี่ ใี นการสกดั คอื การใช้ CO2 supercritical fluid extraction ซ่ึงมคี วามปลอดภัยตอ่ ผบู้ รโิ ภคและสงิ่ แวดล้อม[36] บทสรุป จากขอ้ มลู ของสมนุ ไพรทงั้ 8 ชนดิ ไดแ้ ก่ กระเจยี๊ บแดง หญา้ หวาน วา่ นหางจระเข้ กระชาย ฟา้ ทะลายโจร มะขามป้อม กวาวเครือขาว และพริก ซึ่งสมุนไพรแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติและคุณค่าที่จะพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ กนั ไมว่ ่าจะเป็นผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อางสมนุ ไพร ผลิตภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร เคร่อื งดืม่ สมุนไพร หรอื ยารักษาโรค จึงน่าทีจ่ ะสนับสนุนใหเ้ ปน็ สมนุ ไพร Next Champion Products ส�ำหรับประเทศไทยในปีถดั ไป โดยจะต้องสร้าง ความร่วมมือกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน ในการผลักดนั ใหเ้ ปน็ Next Champion Products โดย Position-5.indd 37 9/13/19 16:05

38 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะต้องสนับสนุนองค์ความรู้ในการผลิตสมุนไพรดังกล่าวแบบ organic กระทรวง อุตสาหกรรมร่วมกับกระทรวงอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม ส่งเสริมองค์ความรู้ในการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ของสมุนไพรดังกล่าวอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน และกระทรวงพาณิชย์ ส่งเสริมการขายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข ส่งเสริมให้มีการใช้อย่างแพร่หลายทั้งสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน การบรู ณาการทกุ ภาคสว่ นจะสง่ สง่ เสรมิ สมนุ ไพรใหเ้ ปน็ ความมงั่ คงทางสขุ ภาพ และความมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ ของชาติ เอกสารอ้างองิ 1. Thaiherbmedicine. [Internet]. Available online from: https://thaiherbmedicine.wordpress.com/ 2. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. [อินเตอร์เน็ต]. ท่ีมา:http://www.thaihealth.or.th/ Content/43547 3. ศูนยว์ จิ ัยกสิกรไทย. ตลาดบวิ ต้ียังแจว๋ เกาะเทรนดธ์ ุรกิจท�ำเงนิ . ข้อมลู วจิ ยั ; ตุลาคม 2561 4. กระทรวงสาธารณสุขและองค์กรภาครัฐ-เอกชน. แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564. บริษทั ทีเอส อนิ เตอรพ์ ร้นิ ท์ จ�ำกดั , 2560. 5. สยามรัฐออนไลน์. สนช.ผ่านร่างกม.สมุนไพร ออกกฎห้ามผลิต-จ�ำหน่าย-น�ำเข้า หากไม่ขออนุญาต. [อินเตอร์เน็ต]. 2562. [เขา้ ถงึ เมอ่ื วันท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2562]. ทม่ี า: https://siamrath.co.th/n/64469 6. ไทยรัฐฉบับพิมพ์. สมุนไพรไทยเจาะตลาดโลก ส่ัง “ทูตพาณิชย์” ท�ำแผนส่งออกเพ่ิมรายได้. [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เขา้ ถงึ เมื่อวันท่ี 16 มกราคม 2562]. ที่มา: https://www.thairath.co.th/content/836573 7. คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ; 2558. 8. Tori Hudson, ND. Hibiscus Sabdariffa: A Research Review of Its Uses and Safety. [Inntert]. Available online from: https://www.todaysdietitian.com/whitepapers/Hibiscus_Sabdariffa.pdf 9. Singh P, Khan M, Hailemariam H. Nutritional and health importance of Hibiscus sabdariffa: a review and indication for research needs. J Nutr Health Food Eng. 2017;6(5):125-8. 10. กรุงเทพธุรกิจ. “กระเจ๊ียบ” สรรพคุณไกลต้น. [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2562]. ที่มา: http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/597192 6 สงิ หาคม 2557 11. Sawabe A, Nesumi C, Morita M, Matsumoto S, Matsubara Y, et al. Glyocsides in African dietary leaves, Hibiscus subdariffa. J Oleo Sci. 2005;54(3):185-91. 12. Wahabi HA, Alansary LA, Al-Sabban AH, Glasziuo P. The effectiveness of Hibiscus sabdariffa in the treatment of hypertension: A systematic review. Phytomedicine. 2010;17:83-6. 13. Hajifaraji M, Matlabi M, Ahmadzadeh-Sani F, Mehrabi Y, Salem Rezaee M, Hajimehdipour H, et al. Effects of aqueous extract of dried calyx of sour tea (Hibiscus sabdariffa L.) on polygenic dyslipidemia: A randomized clinical trial. Avicenna J Phytomed. 2018;8(1):24-32. 14. Goyal SK, Samsher, Goyal RK. Stevia (Stevia rebaudiana) a bio-sweetener: A review. Int J Food Sci Nutr. 2010;61(1):1-10. 15. Web MD. Vitamins & Supplement > ALOE. [Inntert]. Available online from: https://www.webmd. com/vitamins/ai/ingredientmono-607/aloe Position-5.indd 38 9/13/19 16:05

กลมุ่ ที่ 1 ประเด็นการขับเคล่อื นยุทธศาสตรช์ าติ 39 16. Zagórska-Dziok M, Furman-Toczek D, Dudra-Jastrzebska M, Zygo K, Stanisławek A, Kapka-Skrzypczak L. Evaluation of clinical effectiveness of Aloe vera –a review. J Pre-Clin Clin Res. 2017;11(1): 86-93. 17. Medical News Today. Nine health benefits and medical uses of Aloe vera. [Internet]. 2017 Available online from: https://www.medicalnewstoday.com/articles/265800.php 18. Tan EC, Lee YK, Chee CF, Heh CH, Wong SM, Thio LP, et al. Boesenbergia rotunda: from ethnomedicine to drug discovery. J Evid Based Complementary Altern Med. 2012, Article ID 473637, 25 pages doi:10.1155/2012/473637. 19. Potipiranun T, Adisakwattana S, Worawalai W, Ramadhan R, Phuwapraisirisan P. Identification of pinocembrin as an anti-glycation agent and a-glucosidase inhibitor from Fingerroot (Boesenbergia rotunda): The tentative structure–activity relationship towards MG-Trapping activity. Molecules 2018;23:3365; doi:10.3390/molecules23123365. 20. European Medicines Agency Science Medicines Health. Assessment report on Andrographis paniculata Nees, folium. [Internet]. 2014 Available online from: https://www.ema.europa.eu/ documents/herbal-report/final-assessment-report-andrographis-paniculata-nees-folium-first-version_ en.pdf 21. Blackmores. Andrographis: east meets west. [Internet]. 2011 Available from: https://www.blackmores. com.au/cold-flu-and-immunity/andrographis-east-meets-west 22. Nutrisan Nutraceuticals. Kalmcold. [Internet]. Available online from: https://nutrisan.com/en/ products/respiratory/kalmcold/ 23. Melchior J, Palm S, Wikman G. Controlled clinical study of standardized Andrographis paniculata extract in common cold - a pilot trial. Phytomedicine. 1996;3(4):315-8. 24. Drugs.com. Emblica. [Internet]. Available online from: https://www.drugs.com/npp/emblica.html 25. Watson RR. (Ed.): Foods and dietary supplements in the prevention and treatment of disease in older adults. DOI: http://dx.doi.org/10.1016/B978-0-12-418680-4.00003-8 26. Yagi N, Nakahashi H, Kobayashi T, Miyazawa M. Characteristic chemical components of the essential oil from white kwao krua (Pueraria mirifica). J Oleo Sci. 2013:62(3):175-9. 27. Chandeying V, Lamlertkittikul S. Challenges in the conduct of Thai herbal scientific study: efficacy and safety of phytoestrogen, Pueraria mirifica (kwao keur kao), phase I, in the alleviation of climacteric symptoms in perimenopausal women. J Med Assoc Thai. 2007;90(7):1274-80. 28. Alexander G. Review of the Efficacy, Safety and Applications, of Pueraria candollei var. mirifica Airy Shaw root: A Unique Thai Botanical Medicine with Potential as a U.S. Dietary Supplement for Oral and Topical Use. [Internet]. Available online from: http://puresterolpm.com/wp-content/ uploads/sites/40/2017/04/B.-Review-of-the-Efficacy-Safety-and-Applications.pdf 29. Sirisa-Ard P, Peerakam N, Huy NQ, On TV, Long PT, Intharuksa A. Development of anti-wrinkle cream from Pueraria candollei var. mirifica (Airy Shaw and Suvat.) Niyomdham, “Kwao Krua Kao” for menopausal women. Int J Pharm Pharm Sci. 2018;10(7):16-21. Position-5.indd 39 9/13/19 16:05

40 สมนุ ไพร นวดไทย อนาคตไทย 30. Chattuwatthana T, Okello E. Anti-collagenase, anti-elastase and antioxidant activities of Pueraria candollei var. mirifica root extract and Coccinia grandis fruit juice extract: An In vitro study. EJMP. 2015;5(4):318-27. 31. Yingngam B, Rungseevijitprapa W. Molecular and clinical role of phytoestrogens as anti-skin-ageing agents: A critical overview. Phytopharmacol. 2012;3(2):227-44. 32. Inthanuchit KS, Udomuksorn W, Kumarnsit E, Vongvatcharanon S, Vongvatcharanon U. Treatment with Pueraria mirifica extract prevented muscle atrophy and restored muscle strength in ovariectomized rats. Sains Malaysiana. 2017;46(10):1903-11. 33. Okamura S, Sawada Y, Satoh T, Sakamoto H, Saito Y, Sumino H, et al. Pueraria mirifica phytoestrogens improve dyslipidemia in postmenopausal women probably by activating estrogen receptor subtypes. Tohoku J Exp Med. 2008;216:341-51. 34. Seca S, Geada L, Cabrita AS, Greten HJ. Topical effects of Capsicum frutescens on hand pain in patients with rheumatoid arthritis: A case report. J Tradit Med Clin Natur. 2017;6:207. doi: 10.4172/2573-4555.1000207. 35. Deshpande J, Jeyakodi S, Juturu V. Tolerability of capsaicinoids from Capsicum extract in a beadlet form: A pilot study. J Toxicol. 2016, Article ID 6584649, 8 pages. 36. Richins RD, Hernandez L, Dungan B, Hambly S, Holguin FO, O’Connell MA. A “Green” extraction protocol to recover red pigments from hot Capsicum fruit. Hortscience. 2010;45(7):1084-7. 37. Fattori V, Hohmann MSN, Rossaneis AC, Pinho-Ribeiro FA, Verri Jr WA. Capsaicin: Current understanding of its mechanisms and therapy of pain and other pre-clinical and clinical uses. Molecules 2016; 21:844; doi:10.3390/molecules21070844. Position-5.indd 40 9/13/19 16:05


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook