Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

Published by MBU SLC LIBRARY, 2020-12-16 02:29:27

Description: 16766-5367-PB

Search

Read the Text Version

Journal of Roi Et Rajabhat University 93 Volume 14 No.3 September - December 2020 คณุ ภาพชวี ิตในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมการทอ งเทย่ี ว ท่สี งผลตอความสําเร็จในการทาํ งานในกลมุ จงั หวัดสามเหล่ียมอันดามัน The Effects of Work Life Quality on the Work Success of Service Workers in the Tourism Industry in the Andaman Triangle Provinces ดวงรัตน โกยกิจเจรญิ 1 Received : 29 พ.ย. 2562 Doungrat Koikitcharoen1 Revised : 28 มี.ค. 2563 Accepted : 29 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การศึกษาวิจยั นี้ มวี ัตถุประสงค 1) เพอ่ื ศึกษาคณุ ภาพชีวิตในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรม ทอ งเทยี่ วในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน 2) เพอื่ ศึกษาความสาํ เรจ็ ในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรม ทองเทยี่ วในกลุมจังหวดั สามเหลี่ยมอันดามัน 3) เพือ่ ศึกษาถงึ ปญหา และอุปสรรคในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการ ในอุตสาหกรรมทองเท่ยี วในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน 4) เพอ่ื ศึกษาผลกระทบของคณุ ภาพชีวติ ในการทํางานของแรงงาน ภาคบริการในอุตสาหกรรมการทองเท่ียวตอความสาํ เรจ็ ในการทํางาน กลมุ ตัวอยาง คอื พนักงานระดับปฏิบตั กิ าร หวั หนา งาน ระดับตน และระดับกลางท่ปี ฏบิ ัตงิ านในธุรกิจทพี่ กั แรม ธรุ กิจรานอาหาร และธุรกิจนําเทย่ี ว จํานวน 400 ตัวอยา ง ท่ีตง้ั อยใู น จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบ่ี เคร่ืองมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม วเิ คราะหข อมูลโดยใชส ถิติพรรณนา การทดสอบคาที การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะหถ ดถอยพหคุ ูณ ผลการศึกษาพบวา ขอ มูลสวนบุคคล และขอมลู ดา นการทํางาน ไดแก อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ศาสนา ตําแหนงงาน รายได จังหวัดท่ีทํางาน กิจการท่ีทาํ งาน อายุการทํางานทั้งหมด และอายกุ ารทาํ งานในกจิ การปจจบุ ัน ที่แตกตา งกัน ทาํ ใหมีคณุ ภาพชีวิตในการทํางาน และมีความสาํ เร็จ ในการทาํ งานท่ีแตกตา งกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และคณุ ภาพชีวิตในการทํางานสามารถทํานายความสาํ เร็จ ในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยวในกลุม จังหวัดสามเหลย่ี มอันดามัน ไดรอ ยละ 62.2 (Adj R2) คําสาํ คญั : คุณภาพชีวติ ในการทาํ งาน, ความสําเร็จในการทาํ งาน, แรงงานภาคบริการ Abstract The purposes of this research were 1) to study the quality of work life of service workers in the tourism industry in Andaman Triangle provinces, 2) to study the work success of service workers in the tourism industry, 3) to investigate the problems and difficulties faced by service workers in the tourism industry in Andaman Triangle provinces., and 4) to study the effects of work life quality on work success of service workers in the tourism industry in Andaman Triangle provinces. The sample of this study was 400 participants consisting of operational staff, primary level managers, and middle level managers working in accommodation business, restaurant, and travel business located in Phuket, Phang-nga, and Krabi. The research instrument was a questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics, independent sample t-tests, one-way ANOVA, and multiple regression analysis. The results indicated that service workers with different demographics and work related information, such as age, marital status, level of education, religion, job position, income, the province where the workers worked, type of business, the total length of working, and the length of working at the current place, have the quality of work life and work success statistically significant difference at .05 level. It also found that the quality of 1 อาจารยประจาํ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเกต็ อเี มล: [email protected] 1 Lecturer, Faculty of Management Sciences, Phuket RaJajabhat University, Email: [email protected]

94 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 work life can predict the work success of service workers in the tourism industry in Andaman Triangle provinces by 62.2% (Adj R2). Keywords : Quality of work life, Work success, Service workers บทนํา อุตสาหกรรมทองเท่ียวถือเปนหนึง่ ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจในหลายพืน้ ที่ที่มีรายไดเปนรายไดห ลักของประเทศไทย โดยสถานการณทองเท่ียวไทย ป 2559 ภาคการทอ งเที่ยวโดยภาพรวมสรางรายได 2,510,779 ลานบาท เปนรายไดจากการ ทอ งเทยี่ วระหวา งประเทศ หรือตางชาติเท่ียวไทย 1,641,268 ลา นบาท และรายไดจ ากการทอ งเทีย่ วภายในประเทศ หรือไทยเที่ยวไทย 869,510 ลานบาท และเมือ่ เปรียบเทียบกับชว งเวลาเดียวกันของปที่ผา นมา พบวา รายไดรวมจากการ ทอ งเที่ยวขยายตวั รอยละ 11.09 โดยขยายตัวท้งั รายไดจากการทอ งเทย่ี วระหวา งประเทศ และรายไดจากการทองเที่ยว ภายในประเทศ ซ่ึงขยายตวั รอยละ 12.64 และรอ ยละ 8.27 ตามลําดับ (การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย, 2560 : 5) เนอ่ื งจาก ประเทศไทยมที รัพยากรทางการทองเท่ียวที่ครอบคลุมท้งั ทางธรรมชาติ และวฒั นธรรมท่ีโดดเดนกระจายอยูในทุกภมู ภิ าค ของประเทศ ซ่ึงจากการสํารวจความพงึ พอใจของนักทอ งเท่ียวชาวตา งชาติ ในป พ.ศ. 2559 นักทอ งเทย่ี วชาวตา งชาติ มีความพึงพอใจโดยรวมรอยละ 86.6 สงู กวาป พ.ศ. 2558 ทอ่ี ยใู นระดับรอ ยละ 82.0 กจิ กรรมที่นกั ทองเท่ียวนิยมทําใน ประเทศไทยมากท่สี ุดในปน้ี คือ การรบั ประทานอาหารไทย รอยละ 87.6 รองลงมา คือ การซ้อื สินคา การเท่ียวทะเล การทอ งเที่ยวเชงิ ประวัติศาสตร และการใชบริการสปา/นวดแผนไทย ในขณะท่ี ป พ.ศ. 2558 นกั ทอ งเที่ยวเนนการเท่ียวทะเล มากทีส่ ุด (การทอ งเที่ยวแหงประเทศไทย, 2560: 2) และรายไดจ ากผเู ยี่ยมเยอื นชาวไทยทองเท่ยี วภายในประเทศ ไตรมาสท่ี 4 ป พ.ศ. 2559 มีมลู คา เทา กับ 228,050.04 ลานบาท ขยายตวั รอยละ 8.89 จากชว งเวลาเดยี วกันของปท ผี่ า นมา โดยภูมภิ าค ทมี่ ีรายไดจากการทองเที่ยวภายในประเทศสูงสุด 3 อนั ดบั แรก คือ กรุงเทพฯ 61,052.74 ลา นบาท ภาคใต 44,233.49 ลานบาท ภาคเหนอื 40,075.51 ลานบาท โดยภูมิภาคท่ีมีรายไดขยายตวั สูงสุด 3 อนั ดบั แรก คอื ภาคใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง มีการขยายตัวรอ ยละ 11.66 รอยละ 9.54 และรอยละ 9.39 ตามลาํ ดบั กลุมจงั หวัดสามเหลี่ยมอันดามันที่ประกอบดว ย จงั หวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต เปนกลุมจังหวัดหนึ่งในภาคใต ทีม่ ีศักยภาพสงู ในดา นอตุ สาหกรรมการทองเที่ยว เปนที่รูจักและไดรับความนยิ มจากนักทอ งเท่ียวทวั่ โลกมานาน โดยเฉพาะ ความงามของหาดทรายชายทะเลและความบริสุทธิข์ องธรรมชาติใตทอ งทะเลของเกาะภูเกต็ หมูเกาะพีพี ในจังหวดั กระบ่ี หมูเกาะสิมลิ นั เขาหลัก และเกาะคอเขา ในจังหวัดพงั งา ฯลฯ ซ่ึงกลมุ ฯ ไดกาํ หนดวิสัยทัศนไวใ นแผนยุทธศาสตรวา “ศนู ยกลางการทอ งเท่ียวทางทะเลระดบั โลก เปนประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจสูนานาชาติ” (อุดมศักด์ิ อัศวรางกูร, 2552 : 38-62) ทั้งน้เี พราะในพื้นท่ีดังกลา วมีจุดแข็งทสี่ ําคัญ คือ การมีทรพั ยากรทอ งเท่ียวที่งดงาม โดดเดน หลากหลายและมีชือ่ เสียงระดบั โลก มีความไดเ ปรียบดา นทําเลท่ตี ั้งท่ีเหมาะสม มคี วามพรอ มดานโครงสรางพื้นฐานและบรกิ ารสิ่งอาํ นวยความสะดวก อีกทง้ั ยังมี วฒั นธรรมประเพณที ี่เปนเอกลักษณเ ฉพาะกลุม ในแตละปส ามารถทํารายไดจากนักทอ งเที่ยวไดจํานวนมากกวา รอยละ 80 ของรายไดการทอ งเที่ยวภาคใต และเกอื บรอยละ 80 เปนรายไดจากนักทองเท่ยี วตางชาติ โดยกลุม จังหวัดฯ ไดกําหนดแนวทาง การพฒั นาพ้ืนที่เพ่ือสงเสริมการทอ งเที่ยว 3 ลกั ษณะ คือ ใหจังหวดั กระบ่ีเปนศูนยกลางการทอ งเท่ียวเชงิ อนุรักษ และประวัติศาสตร จังหวัดพังงาเปนศูนยกลางการทอ งเที่ยวเชงิ นิเวศน และจงั หวัดภูเก็ตเปนศูนยกลางการทองเท่ียว ดาน Beach Resort, MICE, Shopping Paradise, Health & Spa Services, ICT City (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2551 : 5) การปฏิบัตงิ านของทุกองคกรในปจจบุ ันบุคลากรมคี วามสําคัญสําหรับองคก รมากขึ้น ถงึ แมวา ในยุคโลกาภิวัตนจะมี เทคโนโลยีเขา มามบี ทบาทในการปฏิบตั งิ านมากขึ้น แตอยา งไรก็ตามเครื่องมอื เหลานั้นจาํ เปนตองอาศัยมนุษยเขา ไปควบคุม การปฏบิ ตั ิงาน กลา วไดวาท้งั มนษุ ยและองคก ร จะตองพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน หากมนุษยมีคุณภาพชีวติ ในการปฏิบัติงาน ทไ่ี มด ี ผลกระทบท่ีตามมาก็คอื การขาดความพึงพอใจในการปฏบิ ตั ิงาน สง ผลใหป ระสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานขององคกรลดลง บุคลากรทมี่ ีคุณภาพชวี ิตในการปฏิบตั ิงานท่ีดี สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีความสุข มคี วามกระตอื รอื รน กอใหเกดิ ความคิดรเิ ร่ิม และสรางสรรคส ่งิ ใหม ๆ มาพฒั นางานในองคกรใหเปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ทาํ ใหมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน มคี วาม

Journal of Roi Et Rajabhat University 95 Volume 14 No.3 September - December 2020 เตม็ ใจท่ีจะสรางความพึงพอใจใหกับผูรบั บรกิ ารตอไป มีความสอดคลองกับสภาวการณปจ จุบัน ตลอดจนสามารถปรบั ตัวใหมี ศักยภาพภายใตนโยบายการปฏิรปู ระบบราชการได โดยใชความรูความสามารถของตนเองในการปฏิบตั ิงานอยา งมีเปาหมาย มองเห็นผลสําเร็จที่เกิดจากการปฏิบัตงิ านท้ังของตนเอง และขององคกรเปนหลักซึ่งเปนการยกระดบั คุณภาพชวี ิตในการปฏบิ ตั ิงาน ของตนเองใหดขี ึ้น เชน ไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสม ไดรบั ความเปน ธรรมในทางกาวหนา ในอาชีพ ตลอดจนการไดรบั ความเช่อื ถอื ศรัทธาในสงั คม เปนตน ในอุตสาหกรรมการทองเท่ยี ว พฤติกรรมการบริการทีด่ ีมปี ระสทิ ธิภาพของพนักงานเปนเร่อื งสาํ คัญอยางยิ่งตอธุรกิจ ภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเที่ยว เนอื่ งจากเปนปจจัยสําคัญที่มีผลตอการตดั สินใจใชบ ริการของนักทอ งเท่ียวในขณะทองเท่ียว และอาจจะสงผลตอการตดั สินใจทองเท่ียวในพ้ืนท่ีนั้น ๆ ดวย ซงึ่ แสดงใหเห็นวา การบริการของพนักงานในธุรกิจบริการ ดานการทอ งเท่ียวเปนหวั ใจสําคัญในการดาํ เนินธุรกิจของธรุ กิจภาคบริการ ทอ่ี งคก รจะตองใสใจในพฤติกรรมการบริการ ของพนักงาน ท่ีจะสรา งความประทบั ใจใหแกผรู ับบรกิ ารตง้ั แตครัง้ แรกทเ่ี ขามาใชบ ริการ จะสงผลตอภาพพจนการบริการที่ดี ของธรุ กิจ และจะสรางแรงจูงใจใหน ักทอ งเท่ียวกลับมาใชบ ริการอีก โดยในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามันเปนจังหวัดที่มธี ุรกิจ ในภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเที่ยวจํานวนมาก ในชว งไตรมาส 2/2561 (เม.ย.- มิ.ย.2561) ของจงั หวดั ภูเก็ต อุตสาหกรรมทมี่ ีความตอ งการแรงงานมากท่ีสุด 5 อันดบั แรก คือ อุตสาหกรรมการขายสง และการขายปลีก การซอ มแซมยานยนตแ ละจักรยานยนตจ ํานวน 482 อตั รา รอยละ 51.50 รองลงมาที่พักแรมและบรกิ ารดานอาหาร จํานวน 136 อัตรา รอยละ 14.53 เมอื่ พจิ ารณาตามประเภทอาชีพ พบวาประเภทอาชีพพนักงานบรกิ าร พนักงานขายในรา นคา และตลาด มีความตองการแรงงานมากท่ีสดุ จํานวน 389 อตั รา รอยละ 41.56 รองลงมาเปนประเภทอาชพี เสมียน เจาหนาที่ จํานวน 198 อตั รา รอ ยละ 21.15 และประเภทอาชีพชางเทคนิค และผปู ฏิบัติงานท่ีเกีย่ วขอ ง จํานวน 107 อัตรา รอยละ 11.43 เมอ่ื พิจารณารายอาชพี พบวา เปนผมู ีงานทาํ ในอาชพี พนักงาน บริการและพนักงานในรา นคา และตลาด จาํ นวนมากท่ีสดุ 111,664 คน (ลดลงรอ ยละ 0.41 จากชว งเดียวกันของปกอน) รองลงมาอาชพี ขั้นพ้ืนฐานในดา นการขายและการใหบรกิ าร จํานวน 50,013 คน (เพ่ิมขึ้นรอ ยละ 4.77) และงานผูปฏิบตั ิงาน ดานความสามารถทางฝมอื และธุรกิจการคาท่ีเกี่ยวขอ ง จํานวน 37,767 คน (ลดลงรอ ยละ 11.70) (แรงงานจงั หวัดภูเก็ต, 2561 : 28) ในชวงไตรมาส 2/2561 (เม.ย.- มิ.ย.2561) ของจังหวัดพังงา อุตสาหกรรมที่มีความตองการแรงงานมากที่สุด 5 อันดับแรก คอื อุตสาหกรรมทพ่ี ักแรมและบริการ ดานอาหาร จาํ นวน 82 อัตรา รอยละ 36.28 รองลงมาการขายสง และการขายปลกี การซอ มแซมยานยนตและจักรยานยนตจํานวน 72 อัตรา รอยละ 31.86 เมอื่ พจิ ารณาตามประเภทอาชีพ พบวา ประเภทอาชพี พนกั งานบรกิ าร พนักงานขายในรา นคา และตลาด มีความตองการแรงงานมากท่ีสดุ จาํ นวน 102 อตั รา รอ ยละ 45.13 รองลงมาเปนประเภทอาชพี เสมียน เจาหนา ที่ จาํ นวน 36 อัตรา รอ ยละ 15.93 และประเภทอาชีพงานพื้นฐาน จาํ นวน 33 อัตรา รอยละ 14.60 พจิ ารณาตามประเภทอุตสาหกรรม พบวาอุตสาหกรรมในหมวดทพ่ี ักแรมและบริการดา นอาหาร มีการบรรจงุ านมากที่สุด จาํ นวน 64 คน รอ ยละ 44.14 รองลงมา คอื อุตสาหกรรมการขายสงและการขายปลีก (แรงงาน จังหวัดพังงา, 2561 : 21) ในชว งไตรมาส 2/2561 (เม.ย.- มิ.ย.2561) ของจังหวัดกระบี่ อุตสาหกรรมทมี่ ีความตองการแรงงานมากที่สดุ 5 อันดบั แรก คอื อุตสาหกรรมทพ่ี ักแรมและบริการ ดานอาหาร จํานวน 283 อัตรา รอ ยละ 41.56 รองลงมาการขายสง และการขายปลกี เม่อื พจิ ารณาตามประเภทอาชีพ พบวาประเภทอาชีพพนักงานบริการ พนกั งานขายในรานคา และตลาด มีความตองการแรงงานมากท่ีสุด จํานวน 290 อัตรา รอ ยละ 42.58 รองลงมาเปนประเภทอาชพี เสมียน เจา หนา ท่ี จาํ นวน 188 อตั รา รอยละ 27.61 และประเภทอาชพี งานพ้ืนฐาน จาํ นวน 44 อตั รา รอยละ 6.46 ผลการสํารวจการทํางานของประชากร ในจงั หวัดกระบี่ ไตรมาส 1/2560 (มกราคม-มีนาคม) พบวา มีประชากรอายุ 15 ปข น้ึ ไป จาํ นวน 2.92 แสนคน เพิ่มข้ึนจาก ชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 0.68 จาํ แนกเปนผูอยูใ นกําลงั แรงงาน จํานวน 2.17 แสนคน (คิดเปนรอ ยละ 74.38 ของจาํ นวน ประชากรอายุ 15 ปข ึ้นไป) ประกอบดวย ผูมีงานทาํ จาํ นวน 2.14 แสนคน และผวู างงานจาํ นวน 2,707 คน (แรงงานจังหวัด กระบ่ี, 2561 : 14) ดงั น้ัน ผวู ิจัยจึงมีความสนใจทจ่ี ะศึกษาคณุ ภาพชวี ิตของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ยี วท่ีสงผลตอ ความสําเร็จในการทํางานในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน เนื่องจากกลุมจงั หวัดสามเหล่ยี มอันดามันเปนกลุมจงั หวดั ทีส่ ําคัญ

96 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 ของประเทศทางดานการทองเท่ียว หากสามารถบรหิ ารจัดการบุคลากรไดอยางมีคณุ ภาพ ประชาชนมีแรงจงู ใจ มีคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี ก็จะสงผลตอ การดาํ เนินงานซง่ึ แรงงานก็จะปฏิบตั งิ านอยา งเต็มท่กี อใหเกดิ ความสําเร็จในการทํางาน และยงั ชว ยในการบรหิ าร จัดการทรัพยากรมนุษยใหเ กิดประสิทธิภาพไดอยางดอี ีกดว ย นอกจากนัน้ ยงั กอ ใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาประเทศ ในภาพรวมอีก วัตถปุ ระสงค 1. เพอื่ ศกึ ษาคณุ ภาพชวี ิตในการทํางานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลมุ จังหวดั สามเหล่ยี ม อันดามัน 2. เพ่ือศึกษาความสําเรจ็ ในการทํางานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลมุ จังหวัดสามเหลย่ี ม อนั ดามัน 3. เพอ่ื ศึกษาถงึ ปญ หา และอุปสรรคในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเที่ยวในกลมุ จังหวัด สามเหล่ยี มอันดามัน 4. เพอ่ื เปรียบเทียบคณุ ภาพชวี ิตในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยวในกลุมจังหวัด สามเหล่ยี มอันดามัน ท่ีมีขอมูลสว นบุคคลและขอ มูลดา นการทํางานแตกตา งกัน 5. เพอ่ื เปรยี บเทียบความสําเร็จในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียวในกลมุ จงั หวัด สามเหลี่ยมอันดามัน ท่ีมีขอ มลู สวนบุคคลและขอมูลดานการทํางานแตกตา งกัน 6. เพื่อศกึ ษาคุณภาพชวี ิตในการทํางานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมการทองเทีย่ วท่ีสามารถทํานาย ความสาํ เร็จในการทาํ งาน กรอบแนวคิดและสมตฐิ าน ในการวิจยั คร้ังนี้ ผวู ิจยั แสดงกรอบแนวคดิ เก่ียวกบั ทฤษฎีดานคณุ ภาพชวี ิตในการทาํ งานของ Walton (1974 : 92) และแนวคิดของ Huse and Cumming (1985 : 198-199) 5 ดา น ไดแก 1) ดานสภาพการทํางาน 2) ดา นคาตอบแทนที่เหมาะสม 3) ดานความม่ันคงในการทํางาน 4) ดานการพฒั นาตนเอง 5) ดานความสมดุลระหวา งชวี ติ งานและชีวิตดา นอื่น และแนวคดิ ดานความสําเร็จในการทํางาน ของ Gattiker and Larwood (1986 : 78-94) 4 ดา น ไดแก 1) ดานบทบาทการทาํ งาน 2) ดา นความสัมพันธร ะหวางบุคคล 3) ดา นการเงิน 4) ดา นความกาวหนา ในการเลือ่ นตาํ แหนง โดยแสดงการเชอ่ื มโยง ความสมั พันธร ะหวางตัวแปรตา ง ๆ ดังภาพประกอบ ขอมูลสวนบุคคล คณุ ภาพชีวติ ในการทํางาน 1. เพศ 2. อายุ 1. ดา นสภาพการทํางาน 3. สถานภาพ 4. ระดับการศึกษา 2. ดา นคา ตอบแทนทีเ่ หมาะสม 5. ศาสนา 6. ตาํ แหนง งาน 3. ดา นความมั่นคงในการทาํ งาน 7. รายได 4. ดา นการพัฒนาตนเอง 5. ดา นความสมดลุ ของชีวิตดา นงานและชีวติ อื่น ขอ มูลดานการทํางาน 1. จงั หวัดทีท่ าํ งาน ความสาํ เร็จในการทาํ งาน 2. กิจการทีท่ าํ งาน 1. ดานบทบาทการทํางาน 3. อายุการทาํ งานท้ังหมด 2. ดานความสัมพันธระหวางบุคคล 4. อายุการทาํ งานในกิจการปจจุบัน 3. ดานการเงิน 4. ดานความกาวหนา ในการเลื่อนตําแหนง ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิด

Journal of Roi Et Rajabhat University 97 Volume 14 No.3 September - December 2020 สมมติฐานการวิจัย 1. ขอ มูลสว นบุคคลและขอมูลดานการทาํ งานท่แี ตกตา งกันสงผลตอคณุ ภาพชีวิตในการทาํ งานที่แตกตา งกัน 2. ขอ มลู สวนบุคคลและขอมลู ดา นการทํางานที่แตกตางกันสง ผลตอความสําเร็จในการทาํ งานท่ีแตกตา งกนั 3. คุณภาพชีวิตในการทํางานซ่ึงประกอบดวยคณุ ภาพชีวิตดา นสภาพการทาํ งาน ดา นคาตอบแทนที่เหมาะสม ดานความม่ันคงในการทํางาน ดา นการพัฒนาตนเอง และดา นความสมดุลระหวางชวี ิตงานและชวี ิตดานอ่ืน ทกุ ดานสามารถทาํ นาย ความสําเร็จในการทาํ งานได วธิ ดี ําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุม ตัวอยาง ประชากรท่ศี กึ ษาในครั้งน้ี คือ พนักงานระดับปฏบิ ัติการ หัวหนางานระดบั ตน และระดบั กลาง ท่ีปฏิบตั งิ าน ในธุรกิจท่พี ักแรม ธรุ กิจรา นอาหาร และธุรกจิ นําเท่ียว ที่ตั้งอยใู นจงั หวัดภเู กต็ พงั งา และกระบี่ จาํ นวนท้งั ส้ิน 140,578 คน คาํ นวณขนาดตัวอยา งดวยสตู ร Yamane (1967) ไดจาํ นวนกลุม ตัวอยา ง 400 ตวั อยา ง ใชวิธกี ารสุมแบบชัน้ ภูมิ ตามจาํ นวน แรงงานภาคบรกิ ารของธุรกจิ แตละประเภทในแตละจงั หวัด และเลือกสุมแบบตามสะดวก ตาราง 1 แสดงจาํ นวนประชากรและกลมุ ตัวอยาง จงั หวัด ธรุ กจิ จาํ นวนประชากร จาํ นวนตัวอยาง 1. จังหวัดภูเก็ต ธรุ กิจที่พักแรมและอาหาร 93,654 92 2. จงั หวัดพังงา ธุรกิจนาํ เท่ียว 3,671 39 3. จังหวัดกระบ่ี ธุรกิจทีพ่ ักแรมและอาหาร 18,997 97 ธุรกิจนาํ เท่ียว 865 36 รวม ธรุ กิจที่พักแรมและอาหาร 21,435 124 ธุรกิจนําเที่ยว 1,956 12 140,578 400 ขอมูล : สํานักงานสถิติจงั หวัดภูเก็ต พงั งา และกระบ่ี (2561 : ออนไลน) และสาํ นักงานทะเบียนธุรกิจนาํ เทย่ี วและมัคคุเทศก สาขาภาคใตเขต 2 (2560 : ออนไลน) 2. เครื่องมือทใี่ ชใ นการวิจยั เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการรวบรวมขอ มูลสาํ หรบั การศึกษาวิจัยในคร้ังน้ี เปนแบบสอบถาม แบง ออกเปน 5 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ขอ มลู ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ขอ มลู ท่ัวไปในการปฏบิ ตั งิ าน ตอนท่ี 3 คณุ ภาพชีวิตในการทาํ งาน ตอนท่ี 4 ความสาํ เรจ็ ในการทาํ งาน ตอนท่ี 5 ปญ หาและอปุ สรรคในการทาํ งาน 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดทาํ การเก็บขอมูลดวยตนเองในระหวางเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม 2562 โดยมีการกระจาย แบบสอบถามไปจํานวน 450 ชดุ ไดรบั การตอบกลบั มาเปนแบบสอบถามทีส่ มบรู ณจาํ นวน 400 ชุด คิดเปนรอ ยละ 88.89 4. การวเิ คราะหข อมลู สําหรบั การวิเคราะหขอมลู น้ันผวู ิจัยใชการวิเคราะหข อมูลในเชงิ พรรณนา (Descriptive research) การทดสอบคา t (Independent sample t-test) สถิติการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) และการวเิ คราะหการถดถอยพหคุ ูณ (Multiple Regression Analysis) โดยวธิ ี Stepwise และมีเกณฑการแปลความหมาย (Cooper and Schindler, 2006 : 189) ดงั นี้

98 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 คะแนนเฉลย่ี 4.21 – 5.00 แสดงถึง ระดบั มากท่สี ุด คะแนนเฉลี่ย 3.41 – 4.20 แสดงถึง ระดบั มาก คะแนนเฉล่ีย 2.61 – 3.40 แสดงถึง ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.81 – 2.60 แสดงถึง ระดบั นอ ย คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.80 แสดงถึง ระดบั นอยท่สี ุด สรุปผล การวิจัยเร่อื งคณุ ภาพชวี ิตในการทํางานของแรงงานภาคบรกิ ารในอุตสาหกรรมการทองเทย่ี วท่ีสงผลตอความสําเร็จ ในการทาํ งานในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน ผวู ิจัยสรุปผลการวิจัยไดด งั น้ี 1. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหลีย่ มอันดามัน สว นใหญเปนเพศหญิง มีอายุเฉล่ีย 26–35 ป มีสถานภาพโสด จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี นับถอื ศาสนาพุทธ ทาํ งานอยูในตําแหนง พนักงานระดบั ทักษะ เชน พนักงานเสริฟ กุก มัคคุเทศก พนักงานขาย ฯลฯ มรี ายไดเฉลี่ยตอเดอื น 17,143 บาท สว นใหญท ํางานในธุรกิจที่พักแรม มอี ายุ การทํางาน 3-5 ป มีอายุการทาํ งานในกิจการปจจบุ ัน 1-2 ป 2. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเที่ยวในกลุมจังหวดั สามเหลี่ยมอันดามัน มีความคิดเห็นวาคณุ ภาพชีวิต ในการทาํ งานซง่ึ ประกอบดว ย คณุ ภาพชวี ติ ดา นสภาพการทาํ งาน ดานคา ตอบแทนทีเ่ หมาะสม ดา นความม่ันคงในการทาํ งาน ดานการพฒั นาตนเอง ดานความสมดุลระหวางชวี ิตงานกับชวี ติ ดานอน่ื ในภาพรวมอยูในระดบั มาก (คาเฉล่ีย 3.59) โดยคณุ ภาพชวี ิตในดา นสภาพการทาํ งาน และดานความสมดลุ ระหวางชวี ิตงานกบั ชีวติ ดานอ่ืนมีคา คะแนนเฉลี่ยสูงสุดเทา กัน (คาเฉลี่ย 3.63) ในระดับมาก และรองลงมา คือ มีคุณภาพชีวิตในดา นการพัฒนาตนเอง (คา เฉลี่ย 3.62) ดังตาราง 2 ตาราง 2 คา เฉลย่ี และสว นเบ่ยี งเบนมาตรฐานจาํ แนกตามคุณภาพชีวิตในการทาํ งาน คุณภาพชีวติ ในการทํางาน x S.D. ระดบั คณุ ภาพ 1. ดานสภาพการทํางาน 2. ดานคา ตอบแทนท่เี หมาะสม 3.63 0.601 มาก 3. ดานความมั่นคงในการทํางาน 3,56 0.616 มาก 4. ดา นการพัฒนาตนเอง 3.50 0.598 มาก 5. ดานความสมดุลระหวา งชีวติ งานกบั ชีวิตดานอื่น 3.62 0.594 มาก 3.63 0.579 มาก รวม 3.59 0.497 มาก 3. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามันมีความคิดเห็นวาความสําเรจ็ ในการทาํ งานซง่ึ ประกอบดว ย ความสาํ เร็จดานบทบาทในการทาํ งาน ความสําเร็จดานความสัมพันธระหวางบุคคล ความสาํ เร็จ ดา นการเงนิ และความสําเร็จดานความกา วหนา ในการเล่ือนตําแหนง ในภาพรวมอยใู นระดบั มาก โดยมคี วามสําเร็จ ในดา นความสมั พันธร ะหวางบุคคลมีคา คะแนนเฉลี่ยสงู สุด (คา เฉล่ีย 3.77) รองลงมา คอื ดานบทบาทการทาํ งาน และดาน ความกา วหนาในการเลือ่ นตําแหนง (คา เฉลี่ย 3.72) ดงั ตาราง 3

Journal of Roi Et Rajabhat University 99 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 3 คาเฉลย่ี และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานจําแนกตามความสําเร็จในการทํางาน ความสาํ เร็จในการทํางาน x S.D. ระดับความสําเร็จ 0.562 มาก 1. ดา นบทบาทการทาํ งาน 3.72 0.588 มาก 2. ดา นความสมั พันธระหวางบุคคล 3.77 0.642 มาก 3. ดา นการเงิน 3.55 0.646 มาก 4. ดานความกา วหนา ในการเล่อื นตาํ แหนง 3.59 0.505 มาก รวม 3.66 4. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเที่ยวในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามันสวนใหญมปี ญ หาและอุปสรรค ในการทาํ งานระดบั ปานกลาง โดยปญ หาและอุปสรรคดานคา ตอบแทนมีคาคะแนนเฉล่ยี สูงสุด (คาเฉล่ีย 3.02) ในระดบั ปานกลาง รองลงมา คือ ดา นสมั พันธภาพ และดา นการทํางาน 5. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหล่ยี มอันดามันท่ีมอี ายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ศาสนา ตาํ แหนงงาน จังหวัดที่ทํางาน กิจการทท่ี ํางาน อายุการทาํ งานทง้ั หมด และอายุการทาํ งานในกิจการปจจุบัน ท่ีแตกตา งกัน มีคณุ ภาพชีวิตในการทํางานที่แตกตางกัน อยางมีนัยสําคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 6. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเทย่ี วในกลุมจังหวัดสามเหลีย่ มอันดามันมอี ายุ สถานภาพ ระดบั การศึกษา ศาสนา ตาํ แหนงงาน รายได จงั หวัดทีท่ ํางาน กิจการทีท่ าํ งาน อายุการทาํ งานทั้งหมด และอายุการทํางานในกิจการปจจบุ ัน ทแ่ี ตกตา งกัน มคี วามสําเร็จในการทาํ งานทแี่ ตกตา งกัน อยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติที่ระดบั .05 7. คณุ ภาพชีวิตในการทาํ งานท่ีสามารถรวมกันทํานายความสําเร็จในการทํางานของแรงงานภาคบริการ ในอุตสาหกรรมทอ งเทยี่ วในกลมุ จังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน ประกอบดว ย คุณภาพชวี ิตดา นความม่ันคงในการทาํ งาน (X2) ดานการพัฒนาตนเอง (X3) และดานความสมดุลระหวางชีวิตงานกับชีวิตดานอ่ืน (X4) ซ่ึงสามารถทํานายความสาํ เร็จ ในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรมทองเที่ยวในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน ไดรอยละ 62.2 (Adj R2) สามารถเขียนสมการพยากรณในรปู แบบคะแนนดบิ และคะแนนมาตรฐานไดดังตอไปนี้ สมการพยากรณในรปู คะแนนดบิ ความสาํ เร็จในการทํางาน = 0.831 + 0.223 (X4) + 0.222 (X2) + 0.220 (X5) + 0.123 (X3) สมการพยากรณใ นรปู คะแนนมาตรฐาน Zความสําเร็จในการทํางาน = 0.263 (ZX4) + 0.271 (ZX2) + 0.252 (ZX5) + 0.145 (ZX3) ตาราง 4 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคณู แบบ Stepwise คาคงท่ี (Constant) ชือ่ ตวั แปร b SEb β t Sig. .831 .065 12.836 .000 คุณภาพชวี ิตดา นคาตอบแทนที่เหมาะสม X2 .222 .021 .271 10.438 .000 คุณภาพชวี ิตดา นความม่นั คงในการทาํ งาน X3 .123 .025 .145 4.955 .000 คณุ ภาพชวี ิตดา นการพัฒนาตนเอง X4 .223 .024 .263 9.385 .000 คณุ ภาพชวี ิตดา นความสมดุลระหวางชวี ติ งานกับชีวติ ดา นอื่น X5 .220 .020 .252 10.759 .000 R = .789 R2 = .623 R2adj = .622 * มีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 F = 24.556*

100 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ซ่งึ อธบิ ายไดว า เม่ือแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเที่ยวในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน ไดร ับคา ตอบแทนที่เหมาะสมกบั ความรูความสามารถและเพียงพอ มีความกาวหนาในการทํางาน หนวยงานเปดโอกาส และสง เสรมิ ใหมีการพฒั นาตนเอง รวมถงึ สามารถจัดการใหเกิดความสมดุลในการทาํ งานกบั ชีวิตประจําวันได จะทําใหแรงงาน ภาคบริการทาํ งานไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพเพม่ิ ขึ้น กอ ใหเกดิ ความสําเร็จในการทํางาน ซงึ่ จะทาํ ใหหนวยงานตาง ๆ มีผลผลิต ของงานที่ดี มีประสทิ ธิผล และประสทิ ธิภาพ ซง่ึ สงผลดตี อ การดาํ เนนิ งานขององคกร ทาํ ใหผ ลการดําเนินงาน หรอื ผลงาน ขององคกรมปี ระสิทธภิ าพเพิ่มมากขึ้น อภปิ รายผล จากผลการวิเคราะหขอ มูลผลงานวิจัยในหัวขอเร่ือง “คุณภาพชวี ิตในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรม การทอ งเที่ยวทีส่ งผลตอความสาํ เร็จในการทํางานในกลุมจงั หวัดสามเหลีย่ มอันดามัน” พบประเด็นท่นี า สนใจควรนํามาอภปิ ราย ผลดังน้ี 1. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียวในกลุมจังหวดั สามเหล่ียมอันดามันมีความคิดเห็นวาคุณภาพชีวิต ในการทาํ งาน ในภาพรวมอยใู นระดบั มาก โดยมีคณุ ภาพชีวิตในดานสภาพการทํางาน และดา นความสมดุลระหวา งชีวิตงาน กบั ชวี ิตดา นอื่นมีคาคะแนนเฉล่ยี มากท่ีสดุ อยูในระดับมาก และรองลงมา คอื มีคณุ ภาพชวี ิตในดา นการพัฒนาตนเอง เนอื่ งจาก องคกรดา นการทอ งเที่ยวในปจจุบันไดมีการสนับสนุนดา นเครือ่ งมือ อุปกรณ หรือมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพ่อื อาํ นวยความสะดวกตอการทาํ งานกอ ใหเกิดความคลองตวั และรวดเรว็ มากขึ้น ซึ่งสอดคลองกบั วรุฒน เอมะบุตร (2557 : 159-162) ศึกษาเรอ่ื ง คุณภาพชีวติ ในการทาํ งานและการรบั รูความสาํ เร็จในอาชพี ท่ีสง ผลตอความสขุ ในการทํางานของ พนักงานธนาคารกสกิ รไทย ผลการวิจัยพบวา คุณภาพชีวิตการทาํ งานของพนักงานโดยภาพรวมแสดงความคิดเห็นในระดบั ปานกลาง โดยใหความสาํ คัญดานสภาพการทาํ งานมากที่สุด และใหความสาํ คญั ดา นคาตอบแทนท่ีเหมาะสมนอยที่สุด การรบั รคู วามสําเร็จในอาชพี ของพนักงานภาพรวมแสดงความคิดเหน็ ในระดบั ปานกลาง โดยใหค วามสําคัญดา นความสมั พันธ ระหวา งบคุ คลมากท่ีสุด และใหความสาํ คัญดา นการเงนิ นอ ยที่สุด และสอดคลอ งกบั พัชรภี รณ ไชยมหา และฉฐั วฒั น ลิมปสุ รพงษ (2558 : 157-160) ที่ศึกษา อทิ ธพิ ลของคุณภาพชีวิตในการทํางานและผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีมีตอความผูกพันตอองคการ ของเจาหนาทีธ่ ุรกิจสมั พันธร ายปลีกและรายกลางตา งจังหวัด ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ผลการวจิ ัยพบวา พนักงานรสู ึก มีคณุ ภาพชวี ิตในการทํางานอยูในระดบั สูง โดยเฉพาะดานคาตอบแทนที่เพียงพอและเปนธรรม ดานสภาพแวดลอมการทํางาน ที่ดี และโอกาสแหงการพฒั นา 2. ความสาํ เรจ็ ในการทํางานซ่งึ ประกอบดว ย ความสําเร็จดา นบทบาทในการทาํ งาน ความสําเร็จดา นความสมั พันธ ระหวา งบุคคล ความสาํ เรจ็ ดา นการเงิน และความสําเร็จดา นความกาวหนาในการเลื่อนตําแหนง ในภาพรวมอยูในระดบั มาก โดยความสําเรจ็ ในดานความสมั พันธระหวางบุคคลมีคาคะแนนเฉล่ียสูงสุด รองลงมา คอื ดานบทบาทการทาํ งาน และดา น ความกาวหนา ในการเลือ่ นตําแหนง ทัง้ น้อี าจจะเปน เพราะการทํางานในภาคบริการจะตอ งอาศัยการทํางานรวมกันเปนทีม มีการประสานกบั หนวยงานตาง ๆ เพอ่ื ใหงานดาํ เนินไปไดจนเกินผลสําเร็จ ซึ่งตองอาศัยความสัมพันธระหวางบุคคล ในการทาํ งานรวมกัน จึงทาํ ใหเกิดความสาํ เร็จในการทาํ งานได ซ่งึ สอดคลองกับ มาฆะรัตน อัมพรเกียรติพล (2555 : 198) ไดศึกษาเรื่อง เชาวนอารมณ คุณภาพชีวิตการทํางาน และการรับรูความสําเร็จในอาชพี ของพนักงานลูกคา สัมพันธ บริษัทผูใหบรกิ าร เครอื ขายโทรศพั ทเคล่ือนที่แหง หนึ่ง ผลการวิจัยพบวาการรับรูความสําเร็จในอาชีพ ดา นความสมั พันธระหวา งบคุ คลอยูในระดบั สงู สว นดา นบทบาทการทํางาน ดานการเงินและดานความกาวหนา ในการเลือ่ นตําแหนง อยูในระดบั ปานกลาง 3. แรงงานภาคบรกิ ารในอุตสาหกรรมทองเทย่ี วในกลุมจังหวัดสามเหลย่ี มอันดามันมีปญหาและอุปสรรคในการทํางาน อยูในระดบั ปานกลาง โดยปญหาและอุปสรรคดานคาตอบแทนมีคา คะแนนเฉล่ียสูงสุดอยูในระดับปานกลาง รองลงมา คอื ดา นสัมพันธภาพ และดา นการทาํ งาน เน่อื งมาจากคา ครองชีพในจังหวัดกลุมสามเหล่ยี มอันดามนั คอ นขา งสูง โดยเฉพาะจังหวดั ภูเก็ต ซ่งึ อาจจะทําใหค า ตอบแทนท่ไี ดร ับไมเพยี งพอตอ การใชช ีวิตประจาํ วัน ซงึ่ สอดคลองกบั ปย วรรณ พฤกษะวัน (2556 : 165-175) ศกึ ษาเกี่ยวกับปจจัยท่มี ีอิทธิพลตอคุณภาพชวี ิตการทํางานของพนักงานบริษัท กรณศี ึกษา บริษัท ควอลิตี้ เทรดดิ้ง จาํ กัด กลมุ ตัวอยางท่ใี ชในการศึกษา คือ พนักงาน บริษทั ควอลิตี้ เทรดดิง้ จํากัด ผลการศกึ ษาพบวา พนักงานบริษัท ควอลิตี้ เทรดดิ้ง จํากัด มปี จจัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอคุณภาพชีวติ การทํางานโดยรวมอยูใ นระดับปานกลาง เมอ่ื พิจารณาปจจยั ที่มีอิทธิพลตอคุณภาพชวี ิต

Journal of Roi Et Rajabhat University 101 Volume 14 No.3 September - December 2020 การทาํ งานเปนรายดานพบวา พนักงานมปี จจัยที่มีอทิ ธิพลตอ คณุ ภาพชีวติ การทํางานสูงสุด คือ ดา นการดําเนินชีวิตทีส่ มดลุ ระหวางชวี ิตการทาํ งานกับชีวิตสวนตัว รองลงมาคอื สภาพการปฏบิ ัตงิ านท่ีคาํ นึงถึงความปลอดภยั ถูกสขุ ลักษณะและสขุ ภาพ ของพนักงาน ดานการไดรบั คา ตอบแทนท่ีเพยี งพอและยตุ ธิ รรม ดานสิทธิสว นบุคคล ดานโอกาสพฒั นาขดี ความสามารถ ของตนเอง ดานความกาวหนา และความม่นั คงในงานดานการปฏิบัตงิ านรว มกันและความสัมพันธกับผอู ื่นภายในองคกร และดา นลักษณะงานท่มี ีคณุ คาของสังคม และสอดคลองกับ สมพร สงั ขเพ่มิ (2555 : 135) ศึกษาเร่อื ง คุณภาพชวี ิตการทาํ งาน ของบุคลากรสายสนบั สนุนมหาวิทยาลัยเอกชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งผลการวจิ ัยพบวา คุณภาพชีวิตดานผลตอบแทน ทเี่ พียงพอและเหมาะสมอยูใ นระดบั ปานกลาง 4. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหล่ยี มอันดามันท่มี ีอายุ สถานภาพ ระดบั การศกึ ษา ศาสนา ตาํ แหนงงาน จังหวัดทีท่ าํ งาน กิจการท่ที าํ งาน อายุการทํางานทั้งหมด และอายุการทาํ งานในกิจการปจจบุ ัน ที่แตกตา งกัน มีคณุ ภาพชวี ิตในการทาํ งานที่แตกตางกัน เนอ่ื งจากขอมูลสวนบุคคลและขอ มูลดานการทํางานท่ีแตกตางกันทําใหเกิดการรบั รู และมีทักษะ ประสบการณท ่ีแตกตางกัน ซ่ึงสิ่งเหลา นี้มผี ลตอลักษณะการทาํ งานและคุณภาพชวี ิตในการทาํ งานดวย ซ่งึ สอดคลองกับ Gupta and Hyde (2013 : 8) ทําการวิจัยเรอ่ื ง การศึกษาคณุ ภาพชวี ติ การทาํ งานของพนักงานธนาคาร ในอําเภออินเตอร (รัฐมัธย อยูทางภาคกลางของประเทศอินเดีย) เพอ่ื ศึกษาความสัมพันธระหวา งคณุ ภาพชีวติ การทํางานกบั เพศ ประสบการณ อายุ และรายได วา มีความแตกตา งกันหรอื ไม ผลการวิจัยพบวา ความสัมพันธระหวางคุณภาพชีวติ ในการทํางาน กบั รายได ประสบการณ และอายุ มีความแตกตา งกันอยา งมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนความสัมพันธร ะหวางคณุ ภาพชีวิตพนักงานและเพศ ไมมีความแตกตา งกันอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิติ 5. แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหลยี่ มอันดามันท่มี ีอายุ สถานภาพ ระดบั การศึกษา ศาสนา ตําแหนง งาน รายได จังหวัดทท่ี ํางาน กิจการที่ทาํ งาน อายุการทํางานทงั้ หมด และอายุการทาํ งานในกิจการปจ จุบัน ทแี่ ตกตา งกัน มคี วามสําเรจ็ ในการทํางานทแ่ี ตกตา งกัน เนอื่ งจากขอ มูลสว นบุคคลและขอมลู ดา นการทํางานเปนปจจัยหนึ่ง ท่ีมีผลตอความพงึ พอใจ และระดบั ความคิดเห็นตอความสําเร็จในการทาํ งาน ซึ่งสอดคลองกบั วรรณภา ชาํ นาญเวช (2551 : 73-76) ทาํ การศกึ ษาเรื่อง ปจจัยสูความสําเร็จในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ผลการวิจัยพบวา พนักงานทม่ี ีอายุ ตําแหนง ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และรายไดตอ เดือนแตกตางกัน มีความสาํ เร็จในการ ทํางานของพนักงานธนาคารออมสินในเขตกรงุ เทพมหานคร และปริมณฑลแตกตา งกนั 6. คุณภาพชวี ิตในการทาํ งานท่ีสง ผลตอ ความสาํ เร็จในการทํางานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทองเท่ียว ในกลุมจังหวัดสามเหล่ียมอันดามนั ประกอบดวย คณุ ภาพชีวิตดานคาตอบแทนทีเ่ หมาะสม ดา นความม่ันคงในการทํางาน ดานการพฒั นาตนเอง และดา นความสมดุลระหวางชีวติ งานกับชีวติ ดานอื่น ซงึ่ สามารถทาํ นายความสําเรจ็ ในการทํางานของ แรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียวในกลุมจังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน ไดรอ ยละ 62.2 แสดงใหเห็นวาคณุ ภาพชีวิต การทํางานในดานตาง ๆ มีความสําคญั ตอ ผปู ฏิบัติงานที่จะชวยสงเสริมสนบั สนุนใหเกิดการทาํ งานท่ีประสบความสําเร็จได ซง่ึ สอดคลอ งกับ พัชรีภรณ ไชยมหา และฉฐั วฒั น ลิมปสุรพงษ (2558 : 129) ทศ่ี ึกษาอิทธพิ ลของคณุ ภาพชวี ติ ในการทํางาน และผลการปฏบิ ัติงานท่ีมีตอ ความผกู พันตอ องคการ ของเจา หนา ที่ธุรกิจสัมพันธรายปลีกและรายกลางตา งจงั หวดั ธนาคารกรงุ เทพ จาํ กัด (มหาชน) ผลการวจิ ัยพบวา คุณภาพชีวติ ในการทํางานมอี ทิ ธพิ ลทางบวกตอผลการปฏิบตั งิ าน คุณภาพชวี ิตในการทํางานมีอทิ ธิพลทางบวกตอ ความผูกพันตอองคการ ผบู ริหารควรสง เสรมิ ใหพนกั งานมคี ณุ ภาพชีวิต การทาํ งานท่ดี ี โดยใหความชดั เจนในเรื่องของผลประโยชนจากการปฏบิ ตั ิงานอยา งชดั เจนและเปนธรรม เพ่อื ใหพ นกั งาน เกิดแรงจูงใจในการทาํ งานอยา งเต็มที่ เพ่อื เปนการรักษาบุคลากรทีม่ ีความสามารถไว สรางผลการปฏิบัตงิ านท่ดี ี และเกิด ความรสู ึกผูกพันตอองคก าร

102 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 จากผลการวิจัยพบวา แรงงานภาคบรกิ ารในอตุ สาหกรรมทองเท่ยี วในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน มีความคิดเห็นวา คุณภาพชวี ติ ในการทาํ งานในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยคุณภาพชีวิตในดานสภาพการทํางาน และดาน ความสมดุลระหวา งชวี ติ งานกับชวี ิตดา นอ่ืนมีคา คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ มีคณุ ภาพชีวิตในดานการพฒั นาตนเอง ดานคา ตอบแทนท่เี หมาะสม และดา นความม่ันคงในการทาํ งาน ตามลาํ ดบั ซ่ึงเห็นไดวา คุณภาพชวี ิตดา นคา ตอบแทนที่เหมาะสม และดานความม่นั คงในการทํางานเปนดานที่นอย ดงั นั้นหนวยงานหรอื องคกรดา นการทอ งเที่ยว ควรสงเสริมสนับสนุน หรอื กําหนดนโยบายดานคา ตอบแทน และความม่นั คง ในการทาํ งานใหเกดิ เปนส่ิงดึงดูดใจในการทาํ งานมากขึ้น เพ่ือสง ผลตอ ประสิทธิภาพในการทํางานตอไป นอกจากน้ันควรจะ สง เสริมดานบรรยากาศในการทาํ งาน การจัดสมดลุ ในการใชชีวิตใหเหมาะสมอีกดวย 1.2 จากผลการวิจัยพบวา แรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี วในกลุมจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน มีความคิดเห็นวามีความสําเรจ็ ในการทาํ งานอยูในระดับมาก โดยความสาํ เร็จในดานความสมั พันธระหวางบุคคล มีคา คะแนน เฉล่ียสูงสุด รองลงมา คอื ดานบทบาทการทาํ งาน ดานความกาวหนาในการเล่ือนตําแหนง และดานการเงิน ซ่งึ เหน็ ไดว า ความสําเร็จดา นความกาวหนาในการเลือ่ นตําแหนง และดา นการเงิน เปนดา นทีผ่ ูตอบ มีความเห็นวา ไมคอ ยประสบความสําเร็จ ยังไมพ อใจ ซง่ึ สอดคลองกับผลจากการวิเคราะหในเร่อื งคุณภาพชวี ติ ดังนั้นรฐั บาล หรือหนวยงานทีเ่ กี่ยวขอ งควรใหความสําคญั ใน 2 ประเด็นน้ี โดยอาจเพิม่ เตมิ สวสั ดิการ และสรา งความมั่นใจในการทํางาน วาการทาํ งานอยา งมีประสิทธิภาพจะกอใหเกิดความกา วหนาตอ ไปในอนาคต 1.3 จากผลการวิจัยพบวา แรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรมทองเทย่ี วในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน ท่ีมีอายุ สถานะภาพ ระดับการศึกษา ศาสนา ตาํ แหนง งาน จังหวดั ที่ทํางาน กิจการทีท่ ํางาน อายุการทํางานท้ังหมด และอายุการทํางานในกิจการปจจุบนั ที่แตกตา งกัน มีคณุ ภาพชีวิตในการทํางานที่แตกตางกัน ดงั น้ัน ในการบริหารงาน บริหารทรพั ยากรมนษุ ย ผูประกอบการ หัวหนางาน ควรจะพิจารณาถงึ ความแตกตา งในแตละบุคคล อาจใชระบบคุณธรรม 4 ประการในการบริหารบุคคล ไดแก 1) ความเสมอภาคในโอกาส (Equality of opportunity) เปนการเปดโอกาสท่ีเทา เทียมกันในการแตงต้ัง การพิจารณาคาตอบแทน การอยูในกรอบระเบียบ องคการ 2) หลักความสามารถ (Competence) พจิ ารณาคา ตอบแทนตามความรูความสามารถ 3) หลกั ความม่ันคงในอาชพี การงาน (Security on tenure) ดงึ ดดู ใจ จูงใจใหผูมีความสามารถ ทํางานอยูกับองคการ มีความมงุ ม่ัน และพฒั นาใหกา วหนา ในเสนทางอาชีพ และ 4) หลักความเปนการทางการเมือง (Political neutrality) เปนการไมเปดโอกาสใหอทิ ธพิ ลทางการเมอื ง เขาแทรกแซงในกิจการงาน 1.4 จากผลการวิจัยพบวา คณุ ภาพชีวิตในการทํางานดา นสภาพการทาํ งานไมสง ผลกระทบตอ ความสาํ เร็จ ในการทาํ งาน สวนคณุ ภาพชีวิตในการทาํ งานท่สี งผลตอความสําเรจ็ ในการทาํ งานของแรงงานภาคบริการในอตุ สาหกรรม ทอ งเทย่ี วในกลุมจงั หวดั สามเหล่ียมอันดามัน ประกอบดว ย คุณภาพชีวติ ดา นคา ตอบแทนที่เหมาะสม ดา นความม่ันคง ในการทาํ งาน ดา นการพฒั นาตนเอง และดา นความสมดลุ ระหวางชีวติ งานกบั ชวี ิตดา นอ่ืน ดังนั้นหนวยงานภาครฐั ดา นการทองเทย่ี ว หนวยงานภาคเอกชน และผปู ระกอบการดานการทองเที่ยว ควรใหความสาํ คญั กับคุณภาพชวี ิตในการทาํ งานทั้งดา นคาตอบแทน ความม่ันคงในการทาํ งาน การพัฒนาตนเอง และความสมดุล ในการใชช วี ิต ของพนกั งานภาคการทอ งเทีย่ ว เนอ่ื งจากคณุ ภาพชวี ติ ในการทํางานมีความสัมพันธกับความสาํ เร็จในการทํางาน หากพนักงานภาคการทองเที่ยวมีคุณภาพชวี ิตในการทาํ งานท่ีดี ก็จะสง ผลใหการทํางานมปี ระสิทธภิ าพ สง ผลตอ ความพึงพอใจ ของนักทองเท่ียว ซึ่งจะกลับมาทองเทยี่ วซ้ํา และบอกตอ 1.5 จากผลการวิจัยพบวา อายุการทาํ งานในหนว ยงานปจจุบัน 1-2 ป มากที่สุด รองลงมา คอื 3-5 ป และนอ ยกวา 1 ป ตามลาํ ดบั ซง่ึ เห็นไดวา แรงงานภาคการทอ งเท่ยี วมีการหมุนเวียนเปลี่ยนงานบอย ทาํ ใหอายงุ านในแตละแหงไมมากนัก โดยอาจจะสงผลตอประสบการณการทาํ งาน และความเชี่ยวชาญในบริบทของหนวยงาน ดงั นั้นผูป ระกอบการควรใหความสาํ คญั

Journal of Roi Et Rajabhat University 103 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในประเดน็ ดังกลาว และพยายามหาแนวทางในการดึงดูดพนกั งานทีม่ ีความรู ความสามารถใหทาํ งานกบั องคก รใหนานทส่ี ุด เพื่อประสทิ ธภิ าพของงานในอนาคต 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจยั คร้ังตอไป 2.1 งานวิจัยคร้ังน้เี ปนการศึกษาเฉพาะธรุ กิจทองเท่ียว 3 ธุรกิจหลัก ซง่ึ ยงั ไมครอบคลุมทง้ั หมด ดงั นั้นควรศึกษา เพ่ิมเตมิ ในธุรกิจภาคการทอ งเที่ยวท้ังหมด เพอ่ื ใหค รอบคลุม 2.2 ควรศึกษารปู แบบการบริหารทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมทองเที่ยวที่สง ผลใหเ กิดความสําเร็จ ในการทาํ งาน เพอื่ จะไดทราบรูปแบบท่เี หมาะสมในการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย นอกเหนือจากทราบคณุ ภาพชวี ิตในการทํางาน 2.3 ควรศึกษาความคิดเห็นของนักทอ งเท่ยี วท่ีมีตอพนักงานในภาคบริการอุตสาหกรรมทองเท่ียว เพอื่ จะไดทราบ ถงึ ความคดิ เห็น ความคาดหวงั และความตอ งการในแงมุมของนักทองเท่ียว เอกสารอา งอิง การทอ งเท่ียวแหงประเทศไทย. (2560). รายงานภาวะเศรษฐกิจการทองเท่ียว. สบื คน เม่ือ 15 ตุลาคม 2562, จาก www.mots.go.th ปย วรรณ พฤกษะวัน. (2556). ปจจัยท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานบริษทั กรณีศึกษา บริษทั ควอลติ ี้ เทรดดง้ิ จาํ กัด. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบรหิ ารธรุ กิจ, 3(4), 290-308. พชั รภี รณ ไชยมหา และฉฐั วัฒน ลมิ ปสรุ พงษ. (2558). อทิ ธิพลของคุณภาพชวี ิตในการทํางานและผลการปฏบิ ตั ิงานท่มี ตี อ ความผูกพันตอองคการ ของเจา หนาทธ่ี รุ กิจสัมพันธรายปลีกและรายกลางตางจังหวดั ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน). WMS Journal of Management สาํ นกั วิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ, 4(3), 44-51. มาฆะรัตน อัมพรเกียรติพล. (2555). เชาวนอารมณ คุณภาพชวี ิตการทาํ งาน และการรบั รคู วามสาํ เร็จในอาชพี ของพนักงาน ลกู คา สัมพันธ บริษทั ผใู หบริการเครือขา ยโทรศพั ทเคลอ่ื นท่ีแหงหน่ึง. วทิ ยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองคการ. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. แรงงานจงั หวัดกระบี.่ (2561). รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดกระบี่ ไตรมาส 2 ป 2561 (เมษายน – มิถนุ ายน 2561). สืบคนเม่อื 1 มกราคม 2562, จาก http://krabi.mol.go.th แรงงานจงั หวัดพงั งา. (2561). รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดพังงา ไตรมาส 2 ป 2561 (เมษายน – มิถุนายน 2561). สืบคนเมอ่ื 1 มกราคม 2562, จาก http://phangnga.mol.go.th แรงงานจงั หวัดภเู ก็ต. (2561). รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส 2 ป 2561 (เมษายน – มิถุนายน 2561). สบื คนเมอื่ 1 มกราคม 2562, จาก http://www.phuket.mol.go.th วรรณภา ชาํ นาญเวช. (2551). ปจจัยสูความสาํ เร็จในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล. สารนิพนธ บริหารธุรกิจมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการ. กรงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. วรฒุ น เอมะบุตร. (2557). คุณภาพชีวติ ในการทํางานและการรับรูความสาํ เร็จในอาชพี ท่สี งผลตอความสขุ ในการทาํ งานของ พนักงานธนาคารกสิกรไทย. วทิ ยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการภาครฐั และภาคเอกชน. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. สมพร สังขเพิ่ม. (2555). คณุ ภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรสายสนบัสนุนมหาวิทยาลัยเอกชนใน กรงุ เทพมหานครและ ปรมิ ณฑล. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาสถติ ปิ ระยุกต. กรงุ เทพฯ: สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาต.ิ (2551). ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝง อันดามัน. สืบคนเม่ือ 15 มกราคม 2562, จาก www.osmsouth-w.moi.go.th สาํ นักงานทะเบียนธรุ กิจนาํ เท่ียวและมัคคุเทศกสาขาภาคใตเขต 2. (2560). ทะเบียนธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก. สบื คนเมื่อ 20 มกราคม 2562, จาก https://www.dot.go.th สํานักงานสถิติจังหวัดกระบ่.ี (2561). จาํ นวนท่ีพัก/โรงแรม/เกสเฮาส โฮมสเตยในจังหวัด. สืบคนเมอื่ 15 มกราคม 2562, จาก http://krabi.nso.go.th/

104 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 สํานักงานสถิตจิ ังหวดั พังงา. (2561). จาํ นวนทีพ่ ัก/โรงแรม/เกสเฮาส โฮมสเตยในจังหวดั . สืบคนเมือ่ 15 มกราคม 2562, จาก http://phangnga.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=category&id=105&Itemid=510 สาํ นกั งานสถิตจิ ังหวัดภูเก็ต. (2561). จาํ นวนท่ีพัก/โรงแรม/เกสเฮาส โฮมสเตยในจังหวัด. สืบคน เมอ่ื 15 มกราคม 2562, จาก http://phuket.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=373&Itemid=646 อดุ มศักดิ์ อัศวรางกูร. (2552). ยุทธศาสตรก ารพัฒนากลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 5(2), 38-62. Cooper, D.R., and Schindler, P.S. (2006). Business research methods (9th ed.). Boston, MA: McGraw-Hill. Gattiker, U.E. and Larwood, L. (1986). Subjective Career Success: A Study of Managers and Career Personnel. Journal of Business & Psychology, 1(2), 78-94. Gupta, B. and Hyde, A.M. (2013). Demographical Study on Quality of Work Life in Nationalized Bank. SAGE Journals, 17(3), 225. Huse, E.F., and Cummings, T. G. (1985). Organization development and change (3rd ed.). St. Pual, Minn: West Pub. Co. Walton, R.E. (1974). Improving the Quality work life. Harvard Business Review, 15(3), 33-34. Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd ed.), New York: Harper and Row.

Journal of Roi Et Rajabhat University 105 Volume 14 No.3 September - December 2020 ภาวะผูนําเชิงบรกิ ารของผบู รหิ ารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน : การศกึ ษาเพื่อสรางทฤษฎีฐานราก Servant Leadership of the Basic Education School Principals : The Study to Create Grounded Theory เอกวทิ ย นอ ยมิ่ง1, พงษศ ักด์ิ ทองพันชั่ง2, ประดิษฐ ศลิ าบุตร3 และ สวสั ด์ิ โพธิวัฒน4 Received : 7 ธ.ค. 2562 Akkawit Noiming1, Pongsak Tongpanchang2, Pradit Silabut3 and Sawat Pothivat4 Revised : 27 มี.ค. 2563 Accepted : 28 มี.ค. 2563 บทคัดยอ การวิจัยนี้มวี ัตถุประสงค เพ่ือศึกษาและนําเสนอภาวะผูนําเชิงบริการของผูบริหารสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ในดานลักษณะ ภาวะผูนํา เงือ่ นไขเชงิ สาเหตุ การปฏบิ ัตแิ ละปจจัยทีส่ ง ผลตอภาวะผูน าํ และผลสบื เน่อื งท่ีเกิดขึ้นจากภาวะผูนํา ผูใหข อมูล คือ ผูบริหาร ครู นักเรียน ผูป กครอง และผูนาํ ชมุ ชน พื้นที่เปาหมาย คอื สถานศึกษาทีผ่ ูบริหารมภี าวะผนู ําเชิงบริการชัดเจน ไดมาโดยเทคนิคสโนวบอล เก็บขอมูลโดยการวิเคราะหเอกสาร สัมภาษณเ ชิงลึก สังเกตการมีสวนรวม สนทนากลุมยอย และบันทึกขอมูลเชงิ บรรยาย วิเคราะหข อ มลู เชิงเนื้อหาอยา งเปนระบบดว ยการจดั หมวดหมู ตีความหมาย จัดเรียง จําแนก และจัดกลุมเน้ือหา ผลการวิจยั พบวา 1. ลักษณะภาวะผูนําเชิงบริการ ประกอบดว ย ความหมาย คอื “ชวยเหลือใหบริการ มีคุณธรรมจริยธรรม เปนกลั ยาณมิตร เสียสละ มีจิตอาสา” และองคประกอบ คอื “มีวสิ ัยทศั น เรง รัดพฒั นา จิตสาธารณะและบรกิ าร ประสานใจ เปนหนึ่ง พงึ ระวงั เฝาปกปอ งและรักษา รูคุณคา สอ่ื และเทคโนโลยี” 2. เงอ่ื นไขเชิงสาเหตุ ประกอบดวย เอกตั บุคคล คอื “เปนผบู ริหารที่มีภาวะผูนําเชงิ บริการ” อัตลักษณ คอื “นอมนํา ศาสตรพระราชา พฒั นาทีมงาน มุงมน่ั บริการ ประสานใจสรางชมุ ชน พัฒนาคนคณุ ภาพสูความเปนเลศิ ” 3. การปฏิบตั ิภาวะผูนําเชงิ บริการ ประกอบดว ย กําหนดวิสัยทัศน พัฒนากลยุทธ เรงรุดปฏิบัติงาน ประสานสัมพันธ มงุ ม่ันสรางเครอื ขา ย กระจายการประเมิน” 4. ปจ จัยสง ผลตอภาวะผูนําเชิงบริการ ประกอบดว ย ปจจัยเชงิ บวก ไดแก คุณลักษณะผบู ริหาร กระบวนการบริหาร ทีมงานคุณภาพ สถานศึกษาเปนเลศิ ปจจัยเชงิ ลบ ไดแก ทีมงานออ นแอ งบประมาณไมเ พียงพอ และนโยบายไมช ัดเจน 5. ผลสบื เนอื่ งจากปฏิบัตภิ าวะผูนําเชงิ บริการ ไดแ ก 1) ผบู ริหารภูมิใจ มีชอื่ เสยี ง ผบู ริหารมอื อาชพี 2) นักเรียน มีผลสมั ฤทธ์ิดี มที ักษะชีวิต รูเทา ทันส่อื 3) การรบั รูของสงั คม สถานศกึ ษามคี ุณภาพตามนโยบาย ผปู กครองและชุมชนยอมรบั และภาคภูมใิ จ คําสําคญั : ภาวะผูนําเชงิ บริการ, ผบู ริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, ทฤษฎีฐานราก Abstract The research objectives were to study and present servant leadership of basic education school principals under the jurisdiction of the Office of Basic Education Commission, in the aspects of leadership characteristics, causal conditions, performance and factors affecting leadership, and impacts of leadership. Informants consisted of principals, teachers, students, parents and community leaders. The target area included the educational institutions where the principals possessed explicit servant leadership, obtained 1 นกั ศกึ ษาหลักสูตรครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อเี มล: [email protected] 2 ประธานกรรมการท่ีปรกึ ษา ผูช วยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ 3 กรรมการท่ีปรึกษา ผชู วยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 4 กรรมการท่ีปรึกษา ผชู วยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ 1 Doctoral Student Program in Education Adimistration, Sisaket Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Chairman, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Sisaket Rajabhat University 3 Advisor, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Sisaket Rajabhat University 4 Advisor, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Surin Rajabhat University

106 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 by using snowball technique. Data were collected by using document analysis, In-depth interview, participatory observation, small group conversation, and capturing descriptive information. Content analysis technique was applied for data processing by using grouping information systematically, interpreting, aligning information, and classifying information in content groups. Research findings revealed that: 1. Servant leadership characteristics consist of Meaning means \"help provide service, have morality, ethics, be a friend, sacrifice, volunteer spirit,\" and the components consisted of vision, determination, and Intensive development. Public mind and services, and harmonize one's mind, protect appreciating, and media and technology values 2. Causal conditions consisted of individuals: \"Being principals of servant leadership\". Identity: \"Bringing the wisdom of the monarch to develop teams committed to service, co-ordinating with the community, and develop quality people to excellence.\" 3. The practice of Servant leadership consists of specifying vision, developing strategies, accelerating operations, Cooperation, focusing on network building, and distributing evaluation. 4. Factors affecting servant leadership consisted of positive factors such as characters of the principals, management process of quality teams, and excellent institutions. The negative factors were weak teams, insufficient budget, and unclear policy. 5. Consequences of servant leadership included 1) principal self-esteem, good reputation, professional management, 2) students’ high achievement, having life skills, media literacy, 3) Social awareness institutions had quality according to the standards, and guardian and community accepted and be proud. Keywords : Servant leadership, The basic education school principals, Grounded theory บทนาํ แนวคิดแบบผูรบั ใช ผูนาํ เชิงบริการ ผูนําใฝบริการ หรือผูนําเชิงบริการ เริ่มนํามาใชใน ป ค.ศ. 1970 โดย Greenleaf (1977 : 12) ไดศึกษารปู แบบผูนาํ เชิงบริการข้ึนมา ซงึ่ มีแรงบันดาลใจจากบทประพันธข อง Hermann เรอื่ ง “การเดินทางสู ตะวันออก”( Journey to the east) พระเอกของเรอื่ งคือ ลีโอคนรบั ใชเปนบคุ คลที่ต่ําตอยท่ีสุด แตมีนํา้ ใจและใหกาํ ลังใจ คณะผูเดินทางดว ยการรองเพลงกลอ ม เพอ่ื ใหการเดินทางเปนไปอยางราบร่ืนเปนไปดว ยดี ลีโอไดหายไปทาํ ใหคณะผูเดินทาง เกิดความระสํา่ ระสาย หลังจากการเดินทางส้ินสุดลง ผูเลาเร่ืองซ่ึงเปนสมาชิกคนหนึ่งของคณะเดินทาง มีโอกาสมายงั สาํ นักงานใหญ ของบริษทั ไดพบกบั ลีโอซ่ึงมีตําแหนงเปนถงึ ประธานบริษัท สถานภาพท่ีแทจริงของเขา คอื ผูนําท่ยี ่ิงใหญไ มใ ชคนรบั ใชที่ตาํ่ ตอ ย อยางที่ผอู ่ืนคิด Greenleaf เกิดความประทับใจและคิดวา ในโลกความเปนจริงผูนําแบบน้ีนาจะมีจริง Yukl (2002 : 244) ไดกลา วถึงความรับผิดชอบพื้นฐานของผูนาํ เชิงบริการ อันแสดงถึงความมีจรยิ ธรรม คือ การให บริการแกผ ูตาม หมายถงึ การบํารุง ทะนุถนอม ปกปอง และใหอํานาจแกผ ูตาม ผูนําแบบน้ีจะสนองความตองการของผูตาม และชว ยเหลอื ผูต ามใหมีความสามารถเพ่ิมข้ึนฉลาดขึ้น และปรารถนาท่ีจะรบั ผิดชอบในงานที่ตนเองทํามากข้ึน ผูนาํ แบบนี้ จะพยายามเขา ใจผูตาม รบั ฟงผูตาม ปรารถนาท่ีจะมีสว นรว มในความเจ็บปวดและปญ หาของผูตาม มีความยุตธิ รรมและปฏบิ ตั ิ ตอ ทุกคนอยา งเทาเทียมกัน ผูท ่ดี อยกวา จะตอ งไดร ับการดูแล ผูนาํ ตองมอบอํานาจและเชื่อถือในตวั ผูต าม ผูตามตองเตรียมตวั ใหพรอม เพือ่ ท่ีจะนําและควรรบั โอกาสเม่อื ถูกเสนอ ทําใหเกิดผูนาํ เชงิ บริการมากขึ้นในสังคม ผูน าํ เชิงบริการสามารถคนพบไดจากหลายแหลง ในพระคัมภีร เชน New American Bible อางถงึ คาํ วา“ผูรบั ใช” (servant) “การบริการ” (service) และ “รบั ใช” (serve) ท่เี ขียนโดยนักบุญลูกา กลาวถงึ พระเยซูวา “เราอยูทา มกลางทาน ดังผูรบั ใช” และยงั กลา วถึงพระเยซูที่แสดงถึงความสําคัญของการรับใช โดยการลางเทาสาวกทั้ง 12 คน ดังนั้นผูนําใฝบ ริการ เปนแนวคิดท่ีคอ นขางจะกลบั ตาลปตรจากผนู าํ แบบดัง้ เดิม เขาจะเสียสละผลประโยชนส วนตัวเพอ่ื ผอู ื่น ทาํ ใหผอู ่ืนเจริญเตบิ โต และสามารถพัฒนาตนเอง ใหผ ลประโยชนดานวตั ถุและจิตใจแกผ ูอ่ืน จุดมุงหมายหลักของผูนําแบบนี้ คอื สนองความตอ งการ ของผูอ่ืน Daft ( 2005 : 344) กลา ววา ผนู าํ เชิงบริการ จะบรกิ ารผูอ่ืนกอ นคิดถึงผลประโยชนของตนเอง ใชความสามารถท่ตี นเอง

Journal of Roi Et Rajabhat University 107 Volume 14 No.3 September - December 2020 มอี ยเู พื่อทาํ ใหบ ุคคลและองคก รเจรญิ เตบิ โต ปรารถนาที่จะชว ยเหลือเกอ้ื กูลผูอ่ืน มากกวา ความปรารถนาในตําแหนง เพ่ือแสวงหาอํานาจและควบคุมผูอ ื่น ไมห วังผลตอบแทน อทุ ิศทุมเทกบั การทาํ งานของอยางเตม็ ที่ ผูบริหารสถานศึกษาเปนตัวจักรสําคัญที่ทําใหโรงเรียนมีประสิทธิภาพสูง การตัดสินใจและการติดตอ ส่อื สารของผูบ ริหาร นําไปสูความสําเร็จได (Hoy & Cecil, 1991 : 188) ผบู ริหารจะใชอ ํานาจเพื่อการมีอิทธิพลโดยผา นภาวะผูนาํ และการปฏิสัมพันธ เพือ่ ความมีประสทิ ธผิ ลของโรงเรียน (บัณฑิต แทนพิทักษ, 2540 : 56) และผูบริหารสถานศึกษาทด่ี มี ปี ระสิทธผิ ลทําใหโรงเรยี น ประสบความสําเร็จ ซงึ่ สอดคลองกับ (Weber, 1989 อางถงึ ใน Fair, 2001 : 121) คอื ภาวะผูนาํ ที่เขมแข็งของผูบริหารสถานศึกษา เปนคุณลักษณะท่สี ําคญั ของโรงเรียนทีป่ ระสบผลสาํ เรจ็ (Successful School) ดังนั้นจึงกลา วไดวา ผูบรหิ ารสถานศึกษา เปนบคุ ลากรหลักทส่ี าํ คัญของโรงเรียนและเปนผูนาํ วิชาชพี ท่ีจะตองมสี มรรถนะ ความรคู วามสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรม ตลอดท้งั จรรยาบรรณวิชาชีพที่ดี จึงจะนาํ ไปสูการจัดการศกึ ษาและการบริหารโรงเรียนท่ดี ี (ธีระ รุญเจริญ, 2550 : 87) การพฒั นาภาวะผูนาํ ของไทยที่ผานมาเปนการนาํ ทฤษฎีในสงั คมตะวันตกมาใช ซงึ่ มบี รบิ ทและพื้นฐานทางสงั คม แตกตา งจากสงั คมไทยท่เี ปนสงั คมเกษตรกรรม มีจารีตประเพณี วัฒนธรรม ตลอดท้ังคณุ ลักษณะของคนในสงั คมไทยตรงขามกับ วิถชี วี ติ ของชาวตะวันตกโดยสิ้นเชิง การนาํ ทฤษฎีภาวะผูนาํ ตาง ๆ มาใชจงึ ไมสอดคลอ งกบั บรบิ ทนัก ขาดประสิทธิผลของ การพัฒนาภาวะผูนํามาใชในการอธิบายปรากฏการณจรงิ จากการวิจัย เพอ่ื แสดงความเชอ่ื ม่ันวา ทฤษฎีเหลา น้ันจะตองตอบ ปญหาสังคมเราอยางแทจริง เพ่ือใหเขา กับหลักการแนวคิด และทฤษฎตี า ง ๆ โดยยึดทฤษฎเี ปนท่ตี ้ังมากกวา เปนแคสงิ่ นําทาง ผลจากการศึกษาอาจนาํ มาใชป ระโยชนใ นระดบั หนง่ึ เทา นั้น เพราะการศึกษาภาวะผูนาํ ยงั ไมส ามารถตองสนองความอยากรู ของผทู ่ีศกึ ษาได หรอื ไมส ามารถตอบปญ หาท่ีอยูในบริบทของสังคมไทยได เพราะผลจากการศึกษาในลักษณะทว่ี า ยืนยัน หรือปฏิเสธทฤษฎีจากตะวันตก ซึ่งนบั เปนจุดออนในดานสังคมศาสตร เม่ือใชอธบิ ายปรากฏการณจริง Carley (1981 : 21 อางถึงใน นภาภรณ หะวานนท, เพ็ญสิริ จีระเดชากลุ และ สรุ วุฒิ ปดไธสง, 2550 : 4–18) ทฤษฎีฐานรากถือวาเปนทฤษฎีที่นักวิจยั สรางขึ้นมาจากขอมูลโดยตรง มงุ หาคําอธิบายใหแกปรากฏการณท ี่นักวิจัย เลอื กมาศึกษาเปนหลัก แมว า อาจจะใชไ ดกับปรากฏการณอ น่ื แตการนาํ ไปใชนอกบรบิ ทของสิ่งท่ีศกึ ษาก็ขึ้นอยูกบั เงอ่ื นไขวา ปรากฏการณน ั้น ๆ จะตองมีลักษณะคลายกบั ปรากฏการณทีถ่ ูกศึกษา เปนวิธีการวิจัยคุณภาพทางเลือกหน่ึงในการคนหาคาํ ตอบ ใหกับสังคม ซึ่งถูกพฒั นาข้ึนทางสาขาสังคมวิทยา โดย Gtaser and Strauss (1967 : 4–18) เพือ่ สรา งคาํ อธบิ ายเชิงทฤษฎี จากขอ มลู โดยตรง การศึกษาภาวะผูนาํ เชิงบริการ โดยการใชวธิ ีการวจิ ัยการสรางทฤษฎีฐานราก จะมีสว นชว ยใหเ กิดทฤษฎี ภาวะผูนําเชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษา และจะเปนแนวทางการพฒั นาผบู ริหารสถานศึกษาใหมีคณุ ภาพที่ยั่งยืน ในบรบิ ท ของสงั คมไทย วิธีการนีจ้ ะสามารถตอบสนองปญหาหลักของวิกฤตทางดานสงั คมศาสตรได (ชาย โพธิสติ าม, 2547 : 192 อา ง ถึงใน สมเกียรติ พละจิตต, 2555 : 2) การศึกษาเพอื่ สรา งทฤษฎีฐานรากภาวะผูนําเชงิ บริการของผูบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปนการศึกษาปรากฏการณ เพ่ือคนหาความเปนเอกัตบุคคลที่ผบู ริหารสถานศกึ ษาสรา งข้นึ เร่ิมตนจากลักษณะของภาวะผูนําเชิงบริการของผบู ริหารสถานศกึ ษา เงื่อนไขเชิงสาเหตุของการมีภาวะผูนาํ เชิงบริการ การปฏิบตั ิของภาวะผูนําเชงิ บริการ ปจจัยทสี่ ง ผลตอการปฏบิ ัติ และผลสบื เนอ่ื ง จากภาวะผนู าํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษา ภาวะผูนําเชิงบริการของผบู รหิ ารสถานศึกษา ในการวจิ ัยคร้ังนี้แมจะเปน การศกึ ษาถึงภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา แตจ ะตอ งศึกษาถึงบริบทและความสัมพันธตาง ๆ ภายในสถานศึกษา ซึง่ อาจเปนตวั แปรท่ีเก่ยี วขอ งกบั ประเด็นการศึกษา และปรากฏการณท ้ังหมดอาจเชื่อมโยงไปสูการคลี่คลายคาํ ตอบทช่ี ัดเจน ยงิ่ ข้ึน และภาวะผูนาํ เชงิ บรกิ ารของผบู ริหารสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ท่ผี วู ิจยั ตอ งการนําเสนอ เพอ่ื จะเปนการเปดเผยใหเห็นถึง วิถีทางอันเปนเอกลักษณท างการบริหารการศึกษาทีเ่ ปนบริบทในสังคมไทย เปนแนวทางใหมท างการบริหารซ่ึงจะเปนประโยชน ในการทาํ ใหการบรหิ ารสถานศึกษามปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงขน้ึ วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ศึกษาและนําเสนอภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผูบ ริหารสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ในดา นลักษณะภาวะผูนาํ เง่ือนไขเชิงสาเหตุ การปฏิบตั ิและปจ จยั ที่สง ผลตอภาวะผูนาํ และผลสืบเน่ืองที่เกดิ ข้ึนจากภาวะผูนาํ

108 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 กรอบแนวคดิ การวิจัยคร้งั น้ีตองการแสดงใหเห็นถงึ ภาวะผูนําเชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา เกิดจากการสรางอัตลกั ษณ อันเปนเอกัตบุคคลของผูบรหิ ารซ่ึงมีความเฉพาะเจาะจง เปนศาสตรใหมที่เกดิ ข้ึนจากการหลอมรวมผสมผสานศาสตรท างการบริหาร ตาง ๆ เขา ดว ยกัน (Eclectic) เกดิ ข้ึนจากการปฏบิ ตั ิจริง โดยผูวิจัยใชร ะเบียบวิธวี ิจัยเชงิ คณุ ภาพในการศึกษาปรากฏการณ เพ่อื ใหไดรายละเอียดทีเ่ พียงพอที่จะตอบคาํ ถามการวิจยั ทตี่ ้ังไว นาํ ไปสูการสรา งทฤษฎีฐานราก (grounded theory) จงึ ไดกําหนดกรอบแนวคิดพื้นฐานการวจิ ัยท่ีจะนาํ ไปสูขอ สรปุ เชิงทฤษฎี ดังน้ี 1. ศึกษาลักษณะของภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ความหมาย และองคป ระกอบ ภาวะผูนาํ เชงิ บริการ ศึกษาทัศนะ สงั เกตพฤติกรรมและกระบวนการดําเนินงาน 2. ศึกษาปจจัยเชิงสาเหตุของการสรางภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน การเกิดภาวะผูนาํ เชงิ บริการมปี จจัยท่เี ปนสาเหตุและแรงจูงใจในการสรางความเปนเอกัตบุคคล อัตลกั ษณ การคงอยูของภาวะผูนําเชงิ บริการ เหตทุ เ่ี ปนแรงขับทําใหเกิดภาวะผูนําเชงิ บรกิ ารของผบู ริหารสถานศึกษา 3. ศึกษาการปฏบิ ตั ขิ องภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เปนหลักเฉพาะประกอบดว ย ศาสตรตาง ๆ มีลักษณะเปนประเด็นที่คนพบ การเช่ือมโยงมโนทัศน ความชัดเจนของขอคน พบท่จี ัดระบบไดอ ยางเหมาะสม 4. ศึกษาปจจัยที่สงผลตอภาวะผนู ําเชิงบริการของผูบริหารสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปจจัยภายใน ภายนอก ท้ังดานบวกและลบ ที่สง ผลตอยุทธศาสตรแ ตละดา น ปจจัยสนับสนุนใหป ระสบความสําเร็จ ปจจัยขัดขวางอปุ สรรคใหเ กิดขอจาํ กัด 5. ศึกษาผลท่ีสบื เน่ืองจากภาวะผูนําเชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สงผลตอ การบริหารสถานศึกษา ทีแ่ สดงใหเห็นปรากฏการณจริง และมีผลตอปจจัยอ่ืน ๆ เชน ตอบุคลากร ตอชุมชน ตอ ภาพลักษณข องโรงเรียน กลา วโดยสรปุ ไดวา การศึกษาปรากฏการณ ภาวะผูนําเชิงบริการคร้ังน้ี เปนการพยายามจะทาํ ความเขาใจ และนาํ เสนอภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผูบรหิ ารสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในดา นลักษณะภาวะผูนาํ เชงิ บริการ เงื่อนไขเชิงสาเหตภุ าวะผูนาํ เชิงบรกิ าร การปฏิบัติการปฏิบัติและปจ จัยท่ีสง ผลตอ การปฏบิ ตั ิภาวะผูนําเชงิ บริการ ผลสบื เนื่องท่ีเกิดขึ้นจากภาวะผนู าํ เชิงบรกิ ารของผูบริหารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ซ่ึงสมมตฐิ าน เบือ้ งตนของผูวิจยั คือ นา จะเกิดผลในเชิงบวกมากกวา อยางไรก็ตามในทางปฏิบัตอิ าจมีการคนพบปจจัยแฝงซง่ึ เปนตวั แปร แทรกซอ น อาจทาํ ใหมองเห็นปรากฏการณแ ฝงที่อาจเกิดข้ึนจะแสดงใหเห็นภายหลังเสรจ็ ส้ินการวิจัยตอ ไป ดงั ภาพประกอบ 1 ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย

Journal of Roi Et Rajabhat University 109 Volume 14 No.3 September - December 2020 วิธีดําเนนิ การวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง การวจิ ัยนใี้ ชระเบียบวธิ ีวิจัยเชิงคณุ ภาพเพือ่ สรา งทฤษฎีฐานราก โดยมีผใู หขอ มูลหลักประกอบดว ย ผบู ริหาร สถานศึกษา ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง นักเรียน บุคคลในชุมชน ผูนิเทศ หรือผูประเมิน และคณะผูมาศึกษาดูงาน พ้ืนที่เปา หมาย คือ สถานศกึ ษาที่ผบู ริหารมภี าวะผูนําเชิงบริการชัดเจนและเปนทีย่ อมรบั ซึง่ ไดมาโดยใชเ ทคนิคสโนวบอล (snowball technique) 2. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ นการเก็บขอมูล ผวู ิจัยเปนเครอ่ื งมือสําคัญทีส่ ุดในการวิจัย ตองเตรียมองคความรูทางทฤษฎีท่จี ะตีความทฤษฎีจากปรากฏการณ ท่ีเขา ไปศึกษา เคร่ืองมือทใี่ ชในการวจิ ัยประกอบไปดว ย แบบสัมภาษณเ ชิงลึก แบบสนทนากลุมยอย แบบวิเคราะหเอกสาร แบบสงั เกต และแบบบันทึกขอ มูลภาคสนาม เครื่องมอื ที่ใชในการวจิ ัยครัง้ นสี้ รา งขึ้นภายใตการใหคาํ แนะนาํ ของอาจารยท ่ีปรึกษา ตามวัตถุประสงค และกรอบแนวคิดในการวิจัยคร้ังนี้ มุงเนนที่ความตรงประเด็นของขอคาํ ถาม เพื่อใหไดคาํ ตอบซง่ึ เปนขอ มูลสําคัญ ท่ีจะอธบิ ายปรากฏการณทีเ่ กิดขึ้นเพอื่ เชอ่ื มโยงสูทฤษฎีตอ ไป 3. การเกบ็ รวบรวม ดําเนินการดังนี้ 3.1 การเลือกพืน้ ทเ่ี ปาหมายในการวจิ ัย เลอื กผูบริหารสถานศึกษาที่มภี าวะผูนําเชิงบริการ ท่ีมลี ักษณะตามเกณฑ การเลอื กพ้ืนท่เี ปาหมายในการวจิ ัยดงั น้ี 1) เปนสถานศึกษาทม่ี ปี ระสิทธผิ ลตามเกณฑซ ึ่งเปนทยี่ อมรบั และมีหลักฐานรับรอง เชงิ ประจักษ 2) มีผูบ ริหารซ่งึ ไดรับการยอมรบั วา มภี าวะผูนําเชงิ บริการทสี่ อดคลอ งกบั เกณฑท ี่กําหนด 3) มีผลงานเชิงประจักษ ซงึ่ ถอื วา เปนขั้นตอนทมี่ คี วามสาํ คัญในการท่ีจะไดข อมลู เชิงลึก ท่ีสอดคลอ งกบั ประเด็นทฤษฎที ี่ศึกษา และมขี อ มลู ทเี่ พียงพอ ในการอธิบายปรากฏการณที่ผวู ิจัยกําหนด 4) พ้ืนท่ีเปา หมายมีระยะทางที่ไมไกลเกินไป ซ่ึงผูวิจยั สามารถเดินทางเขา เก็บรวบรวม ขอมลู ไดส ะดวก สามารถฝง ตัวในพน้ื ท่ีไดอ ยางเหมาะสม ดําเนินการอยา งรอบคอบโดยอาศยั การเลือกเชิงทฤษฎี ใหไ ดส ถานศึกษา ทสี่ ามารถนําไปสูการอธบิ ายปรากฏการณท ่ีสอดคลองกบั ทฤษฎี ท่ีสามารถวิเคราะหข อมลู จากแหลง ตาง ๆ ไดอยา งลึกซึ้ง โดยเสรีภาพทางวชิ าการพอสมควร ปกปองผใู หขอ มลู หลักและผใู หขอมลู ในทุกระดบั ที่ต้งั โรงเรยี น ชื่อบุคคลผูใหข อ มูลหลัก ตําแหนงการทํางาน หรอื บทบาทหนาที่ สถานท่ที ่ีเกย่ี วของกับสถานศึกษาจงึ ใชชอื่ สถานศึกษา ชอื่ สถานท่ี และช่ือบุคลคล ในบางกรณี เปนนามสมมุตทิ ั้งหมด 3.2 การลงพน้ื ที่สถานศึกษาที่วิจัย 3.2.1 การเตรียมตวั กอนลงพน้ื ท่ี 1) เตรียมเครื่องมอื ท่มี คี ณุ ภาพนําไปสูการไดมาซึง่ ขอมูลท่ีสมบรู ณค รบถวน สอดคลอ งกับวัตถปุ ระสงค การวจิ ัย 2) ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยเชงิ คณุ ภาพเพื่อสรา งทฤษฎฐี านราก ไดแก วิธกี ารสมั ภาษณ การสังเกต แบบมสี วนรว ม เกบ็ ขอมูลแบบอา งอิงปากตอ ปากตามเทคนิคสโนวบอลส (snowball technique) ศึกษาและวิเคราะหเ อกสาร วิเคราะหข อมูลเชิงคณุ ภาพ เพือ่ สรางทฤษฎีฐานราก 3) ศึกษาเทคนิควิธีการใชคําถาม ทักษะการสอ่ื สาร วิธีการบันทึกภาคสนาม ฝกวิเคราะห ขอมูลเชงิ คุณภาพ ทกั ษะและเรียนรกู ารตีความและแปลความหมายขอ มลู จากผเู ชย่ี วชาญทางการวิจัยเพอื่ สรา งทฤษฎีฐานราก 4) จัดหาวัสดุและอปุ กรณประกอบการวิจัย ไดแก เครื่องบันทึกเสียง กลอ งวีดโี อ กลอ งบันทึกภาพนงิ่ สมุดบันทึก อุปกรณใ นการเขยี น และอปุ กรณอื่น ๆ 3.2.2 การเขา สูสถานศึกษา ทาํ หนังสอื จากคณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏศรีสะเกษ ขออนุญาต และความรวมมือจากทางสถานศึกษาในการทีเ่ ขา ไปทาํ การศึกษาและเก็บขอ มลู จากผูบริหาร บุคลากรในสถานศึกษา โดยแสดงตนวา เปนผทู ่ีมีความสนใจในการศึกษาภาวะผนู าํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา 3.2.3 การสรางความกลมกลนื ในสถานศึกษา ตอ งทําใหไมร ูสึกวาผวู จิ ัยเปนคนแปลกหนา รวมกิจกรรม ตา ง ๆ อยางเปนธรรมชาติ สรา งความสัมพันธอันดีและความคุนเคยทําใหผ ใู หขอมูลเกิดความไวว างใจในผูวิจัยกอนการสัมภาษณ เก็บขอมูลระหวางผูวิจยั และผใู หขอมูลหลักในสถานศึกษาและชุมชน 3.2.4 การเกบ็ ขอมูลในสถานศกึ ษา เกบ็ ขอ มูลจากการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทีเ่ ปนกัลยาณมิตร รบั ฟง ความคิดเห็นจากผบู ริหาร ครูบคุ ลากร และผทู ่ีเกี่ยวของในชมุ ชนอยางเสมอภาคและยอมรับในทกุ ๆ ขอ มูล บันทึกขอมลู ดว ยความเท่ียงตรงชดั เจน เกบ็ รวบรวมหลักฐานที่สามารถอา งองิ ขอ มูลอยางละเอียด ศึกษาลักษณะทางกายภาพ

110 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 บรบิ ทของสถานศึกษาและชุมชน ขอความรวมมือจากครู บุคลากรซึ่งเปนคนในพื้นท่ใี นชุมชน และรูจักคนในชุมชน อยางกวางขวางมคี วามรูเก่ียวกับชุมชนและสถานศึกษาเปนอยางดี 3.3 กําหนดกลมุ ผูใหข อมูลหลักในการเก็บขอมูล 3.3.1 การเลือกผูใหขอมูล เลอื กวธิ ีการเลอื กเชิงทฤษฎี เปนวิธีท่ีไมไดมีการกําหนดลักษณะของผใู หข อมูล หลักไวลวงหนา เริ่มจากการเขาถึงปรากฏการณดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลกึ ผูใหขอมูลหลักรายแรกซึ่งเปนบุคคลทมี่ ีสว นเกี่ยวของ กับงานบรหิ ารทีอ่ ยูในปรากฏการณ สงั เกตและบันทึกขอมลู นํามาใชในการปรบั เปลย่ี นหรอื ยืนยันขอสรปุ ท่ีไดในคร้งั แรก จากนั้นดําเนินการในการเลอื กผใู หข อ มลู หลัก เพ่ือสัมภาษณเ ชิงลึกลําดับตอ ไป โดยพิจารณาวาผทู ี่จะใหขอ มลู รายตอไปนั้น จะทาํ ใหไดขอมลู ท่ีมีความแตกตา งไปจากมติ ิ และคณุ สมบัติของมโนทศั นหรือกรอบแนวคดิ จากการสัมภาษณเ ชงิ ลึก ของผูใหข อ มลู หลักรายแรก เพ่อื เลอื กผูใหข อมูลในการสมั ภาษณเชิงลึกรายตอไป เลือกโดยคาํ นงึ ถงึ ความสัมพันธระหวา ง กลมุ มโนทัศนกรอบแนวคิดตา ง ๆ การเลอื กผใู หขอมูลหลักจะดาํ เนินการตอ ไปจนไดวเิ คราะหข อมูล แลวเกดิ ความม่ันใจวา ขอมูลตา ง ๆ ของกลมุ มโนทัศนท ่ีเกิดขึ้นอยางซํ้ากันเปนไปในแนวเดียวกัน จนเปนแบบแผนของขอมูลเชิงปรากฏการณที่แนนอน แมเ มือ่ สมั ภาษณหรือเกบ็ ขอมลู จากผูใหขอ มูลหลักรายตอ ไป ก็จะไมทําใหไดข อ มูลใหมเพิ่มขึ้นอีกหรือขอ มลู ไมแ ตกตา งไปจาก ขอมูลเดมิ แลวก็จะหยุดศึกษาขอมูลดวยวธิ ีการสัมภาษณเชงิ ลึก 3.3.2 ผูใหขอมูลหลกั คอื ผบู ริหารสถานศึกษา หัวหนากลุมงานทง้ั 4 กลุมงาน ครู บุคลากร คณะกรรมการ สถานศึกษา ผูปกครอง นักเรียน บุคคลในชมุ ชน ผูนิเทศหรือผปู ระเมิน และคณะผูมาศึกษาดงู าน เพื่อใหไดข อ มูลจากปรากฏการณ จริงครบถวนสมบูรณแ ละเช่ือถือได 3.4 กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอมูล เก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามเนนขอ มูลเชิงคุณภาพ ยืดหยุนและปรับเทคนิค ในระหวางดาํ เนนิ การไดอยา งเหมาะสม วิธีการเกบ็ ขอมูล ไดแก สัมภาษณ สงั เกต จัดกลุมสนทนา เก็บขอ มลู จากเอกสาร ของสถานศึกษาและเอกสารอืน่ ๆ ท่เี ก่ียวขอ ง บันทึกภาพ บันทกึ เสียงสมั ภาษณ เพือ่ ความครบถวนของคําตอบท่ีจะนําไป ถอดรหัสขอ มลู ขอมูลจากการวิจัยจะตอ งเปนปากเปนเสียงความคิดความรูสกึ จากปรากฏการณจริงท่ีกาํ ลงั ศึกษา 3.4.1 วิธกี ารท่ใี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูล เพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกจากปรากฏการณที่ศึกษาอยางละเอียด เกยี่ วกับภาวะผูนาํ เชิงบริการของผูบรหิ าร กาํ หนดวธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มลู ดว ยวธิ ีการสมั ภาษณเชิงลึก สงั เกตแบบมีสวนรวม จดั กลุมสนทนา และวิเคราะหเ อกสาร 3.4.2 ขน้ั ตอนการวิจัยและการเกบ็ รวมรวมขอมูล ใชวิธีการแบบปรากฏการณนิยม เปนการลงไปดภู าพ ปรากฏการณจ รงิ ท่ีเกิดขึ้นในสถานศึกษาที่ตองการศึกษา ตองวางแผนและดําเนินการอยางรอบคอบ มีข้ันตอนดังนี้ 1) นําหนังสอื จากคณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฎศรีสะเกษ ติดตอกับทางสถานศึกษาดว ยตนเอง ชี้แจงเพื่อขอความอนุเคราะหสถานศึกษา เปนพื้นท่ใี นการดาํ เนินการวิจัย 2) แนะนําตนเองวาเปนใครมาจากไหน มวี ัตถปุ ระสงคการทาํ วิจัยและยืนยันวา จะไมส งผลกระทบ ตอสถานศึกษา ผูบ รหิ ารสถานศึกษา บุคลากร นักเรียนและสมาชิกอื่นแตป ระการใด 3) กําหนดแผนการเกบ็ รวบรวมขอมูล จัดชวงเวลาท่ีเหมาะสมไมรบกวนเวลาของผูใหขอมูลทุกคน อนั เปนการละเมิดสทิ ธิเสรีภาพสว นบุคคล และอาจสงผลกระทบตอ ภารกิจอ่ืน ๆ ของผใู หขอมูล 4) เก็บรวบรวมขอมูลดว ยการสัมภาษณเชงิ ลึก สังเกต ถอดบทเรียน จัดกลุมสนทนา วิเคราะหเอกสาร เชิงบูรณาการตามสถานการณ 5) รวมกิจกรรมตา ง ๆ ของสถานศกึ ษาและชุมชนอยางสม่ําเสมอและตอเน่ืองใหไดขอ มลู บริบทที่มีความเช่ือมโยงกับปรากฏการณท ่ีกําลงั ศึกษา 6) บันทึกขอมูลดว ยเครอื่ งมือท่ผี า นการตรวจสอบอยา งละเอียดเพื่อนาํ มา วเิ คราะหตอไป 4. การวเิ คราะหขอมลู การวเิ คราะหขอมลู ในการวิจัยคร้ังน้ีมุงสังเคราะหข อมูล เพอื่ นาํ ไปสูการสรางขอสรปุ เชิงทฤษฎีโดยดาํ เนินการ ดงั ตอ ไปนี้ 4.1 ประมวลผลและวิเคราะหขอมูล ดาํ เนินการภายใตเง่ือนไข 4 ประการ (สภุ างค จันทวานชิ , 2543 : 74) ไดแก 4.1.1 การวิเคราะหขอมูลจะเร่มิ กระทาํ พรอ ม ๆ กับการเก็บรวบรวมขอ มลู 4.1.2 การวิเคราะหข อ มูลจะดาํ เนินการตอไปภายหลังการเกบ็ ขอมูลสน้ิ สุดลง จนกวาจะไดข อสรุปเชงิ ทฤษฎี ทจ่ี ากการศกึ ษาปรากฏการณอ ยา งลึกซ้ึงและสรปุ มโนทัศนท ี่ชดั เจน จนเกดิ เปนทฤษฎีของปรากฏการณทศ่ี ึกษาจึงจะถือวา งานวิจยั เสร็จสมบรู ณ 4.1.3 การวิเคราะหข อ มูลอาศัยสมมตฐิ านชั่วคราวในการวิจัยท่ีผวู ิจัยคดิ ข้ึนเอง

Journal of Roi Et Rajabhat University 111 Volume 14 No.3 September - December 2020 4.1.4 การวิเคราะหขอมลู ดาํ เนินการโดยผวู ิจัยในทกุ ๆ ข้ันตอน ดว ยความละเอียดรอบคอบ ประมวลผล การวจิ ัยและวิเคราะหข อ มลู เชงิ คณุ ภาพเปนระยะทุกคร้งั เม่ือส้ินสุดการสัมภาษณและการเก็บขอมูลดว ยวิธีการตา ง ๆ นําเคร่อื งบันทึกเสียงมาถอดขอ มูลและเขียนรายละเอียดของขอมูลออกมาทันที แลว ทําความเขาใจและวเิ คราะหขอ มูลทงั้ หมด วา แตละประเด็นส่ือถึงเร่อื งใดปรากฏการณใ ด ควรนําประเด็นใดมาพิจารณาบางโดยอาศัยความไวเชิงทฤษฎี การวิเคราะหข อมูล จะเริ่มข้ึนเมือ่ ผูวิจัยสามารถกําหนดประเภทของขอมูลได ขอ มูลอื่น ๆ ท่ีไดมาจากการเกบ็ รวบรวมขอ มลู แตละคร้ัง ก็จะสามารถ จําแนกไปตามประเภทที่กาํ หนด อันจะนําไปสูการหาขอขัดแยงที่จะตองนาํ ไปแกไขปรับปรุงประเภทและประเด็นของขอมูลตอ ไป ข้ันตอนที่ดาํ เนินการไปมาระหวา งการเกบ็ รวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอ มลู เรียกวา “วธิ ีการเปรียบเทียบแบบคงท่ี” 4.2 ข้ันตอนการวิเคราะหขอมูล เร่ิมจากการแบงประเด็นที่เกี่ยวของกันออกเปนหนวยยอย ๆ หรือเปนหมวดหมู ดว ยกระบวนการกาํ หนดมโนทัศน กระบวนการท่ีผวู จิ ัยเปนผดู ําเนินการ ไดแก 4.2.1 การเปดรหัสของขอ มูล นาํ ขอมูลมาวิเคราะหอ ยา งละเอียด เพื่อหาความสอดคลองท่ีจะสะทอ นถึง ประเภทหรือแกนของขอ มูลน้ัน 4.2.2 การหาแกนของรหัสขอมูล วิเคราะหถึงความสมั พันธร ะหวางประเภทของขอ มูลท่เี ปนหนวยใหญ และหนวยยอยโดยเนนไปท่เี ง่อื นไขหรอื ปรากฏการณซึ่งมบี รบิ ทที่เกย่ี วขอ ง กลยุทธท ่ีใชในการดําเนินการ ผลลัพธที่เกิดจาก การดาํ เนินการนัน้ รวมถึงการจัดประเภทและการหาความสมั พันธข องขอ มูล หรอื ปรากฏการณท ี่เก่ียวของเพ่อื สรุปเปนมโนทัศน 4.2.3 การเลอื กรหสั ของขอ มูล นําประเภทและความสัมพันธของขอมลู มารวมกันสรางเปน “บท” อธิบายวา “เกิดอะไรขึ้น” ในปรากฏการณทําการวิจัย 4.2.4 พัฒนาทฤษฎี เพือ่ อธบิ ายปรากฏการณที่ศึกษา ทฤษฎีท่ีเกิดขึ้นจะบง บอกถึงลักษณะของปรากฏการณ และอธิบายวาเง่อื นไขตาง ๆ นาํ ไปสูพฤติกรรมหรือการกระทําตา ง ๆ ไดอ ยา งไร นาํ ไปสพู ฤติกรรมอ่ืน ๆ ไดอ ยา งไร เรียงเหตุการณ ผลลพั ธ คอื ทฤษฎีที่มาจากปรากฏการณ 4.3 การสังเคราะหเพอ่ื สรางขอสรุปเชงิ ทฤษฎี ดําเนินการดงั น้ี 4.3.1 จดั กระทาํ ขอมูลดบิ 4.3.2 วิเคราะหและตีความหมายของขอมูล 4.3.3 จัดหมวดหมูของขอมูลอยางเปน ระบบ ใหสามารถตีความหมายของขอมูลไดเ ปนหมวดหมู โดยการ จดั เรียงขอ มลู จาํ แนก และจัดกลุมขอ มลู ตามคณุ สมบัตขิ องมโนทัศนท่ีกําหนดรหัสขอมูลไว นาํ ขอมูลทผ่ี านการกล่ันกรองแลว มาจัดหมวดหมูของขอ มูล ตีความหมายของขอ มลู สรางเปนมโนทัศน และสังเคราะหเปนขอสรปุ เชิงทฤษฎี 4.3.4 แปลความหมายขอมูล นําขอมลู ท้ังหมดท่ีจดั หมวดหมูแลว มาแปลความหมายขอมลู และเขียน คําอธบิ ายเก่ียวกบั เง่อื นไข บรบิ ท ความสัมพนั ธและกระบวนการ อาศัยความไวเชงิ ทฤษฎี จากประสบการณ แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ งกับภาวะผูนําเชิงบริการ 4.3.5 สังเคราะหเพ่อื สรา งมโนทศั นทางทฤษฎีอาศัยการตีความ เชอื่ มโยงขอมลู กับแนวคดิ ทฤษฎี กาํ หนด ขอเสนอและสรา งทฤษฎีฐานราก สรปุ ผล จากการศึกษาปรากฏการณเพื่อสรา งทฤษฎีฐานราก “ภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน” โดยวิธีเลือกตัวอยางเชิงทฤษฎี ซง่ึ มหี ลักการทสี่ ําคญั คือ เปนพ้ืนที่ซึ่งทม่ี ีผบู รหิ ารที่มภี าวะผูนําเชิงบริการเปนเอกลักษณ สามารถสรางเปนภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เห็นไดจากภาพลกั ษณท ปี่ รากฏตอ สงั คม อยา งกวา งขวาง ผูวิจัยนาํ เสนอขอ มลู ตามประเด็นตอไปนี้ 1. ลกั ษณะภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา ประกอบดว ย ความหมายและองคป ระกอบ 1.1 ความหมาย “ภาวะผนู ําเชงิ บริการ หมายถึง ชวยเหลอื ใหบ รกิ าร มีคณุ ธรรมจริยธรรมเปนกัลยาณมิตร เสียสละ มีจิตอาสา” 1.2 องคประกอบของภาวะผูนําเชิงบริการของผูบริหารสถานศกึ ษา จากการศึกษาปรากฏการณเ พือ่ สรางทฤษฎี ฐานราก “ภาวะผูนําเชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน” และสรา งเปนทฤษฎีพบวา มี 6 องคประกอบหลกั และ 17 องคประกอบยอยดงั น้ี องคป ระกอบหลกั ที่ 1 มวี ิสัยทัศน (Vision) มี 2 องคประกอบยอ ย 1.1) การมองการณไ กล (Farsighted) 1.2) การมีโนทัศน (Conceptualization) องคป ระกอบหลักท่ี 2 เรงรัดพัฒนา (Accelerate Development)

112 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 มี 2 องคป ระกอบยอ ย 2.1) มุงม่ันพฒั นาคน (Commitment to the growth of people) 2.2) สรา งชมุ ชน (Community Building) องคป ระกอบหลักท่ี 3 จติ สาธารณะและบริการ (Public mind and Service) มี 2 องคป ระกอบยอย 3.1) การมีจิตสาธารณะ (Public mind) 3.2) การใหบริการ(Service mind) องคประกอบหลักท่ี 4 ประสานใจเปนหน่ึง (Coordinate one's heart) มี 4 องคประกอบยอย 4.1) การตระหนักรู (Awareness) 4.2) การสรา งขวัญและกําลังใจ (Morale) 4.3) การโนมนาวจิตใจ (Persuasion) 4.4) การสรา งความรว มมอื ในการทํางาน (Cooperation) องคป ระกอบหลักท่ี 5 พงึ ระวงั เฝา ปกปองและรักษา (Coordinate one' s heart) มี 5 องคประกอบยอย 5.1) การรับฟงอยางต้ังใจ (Listening) 5.2) กระตุนและใหก าํ ลังใจ (Motivation) 5.3) คมุ ครองและรักษา (Protection) 5.4) เห็นอกเห็นใจ (Sympathize) 5.5) นอ มนําศาสตรพระราชาสสู ถานศึกษา (The wisdom of the Monarch) องคประกอบหลักที่ 6 รูคณุ คาส่ือเทคโนโลยี (Media and Technology Values) มี 2 องคป ระกอบยอย 6.1) ใชเทคโนโลยีทางการบริหาร (Use Management Technology) 6.2) รูเทา ทันสื่อ (Media literacy : MID) 2. เง่อื นไขเชิงสาเหตภุ าวะผูนาํ เชิงบริการของผูบ รหิ ารสถานศึกษา ปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนมีการเชอื่ มโยงกันเปน เงื่อนไขเชิงสาเหตุท่ที ําใหเ กิดภาวะผูน ําเชิงบริการ ดังน้ี 2.1 ความเปนเอกัตบุคคลของผูบริหารสถานศึกษา ลักษณะเฉพาะที่แสดงถึงความเปนตัวตนที่แทจ รงิ ปรากฏการณเอกตั บุคคล คือ “เปนผูบริหารที่มีภาวะผูน ําเชงิ บริการ” 2.2 อตั ลักษณของภาวะผูนาํ เชิงบริการของผูบรหิ ารสถานศึกษา ภาพลักษณท ี่แสดงออกตัวตนของ บริหารสถานศึกษาท่ีเปนรปู ธรรมชดั เจน คือ“นอ มนาํ ศาสตรพระราชา พัฒนาทมี งาน มุงมั่นบรกิ าร ประสานใจสรา งชุมชน พัฒนาคนคณุ ภาพสูความเปนเลิศ” 2.3 ความคงอยูข องภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ปจจัยทส่ี งผลตอความคงอยู ของภาวะผูนําเชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา ประกอบดวย 4 ปจ จัย 2.3.1) ปจ จัยดานตัวบุคคล คือ เอกัตบุคคล และ อัตลักษณใ นการทาํ งานใหเกิดความสําเรจ็ สูงสุด 2.3.2) ปจจยั ดานบทบาทและหนา ที่ พันธกิจ และการบรหิ ารงานตามนโยบาย 2.3.3) ปจ จยั ดานสถานศึกษา โครงสรางและวัฒนธรรมองคกร สภาพแวดลอ ม สมั พันธภาพครู นักเรยี น ชุมชน 2.3.4) ปจจัย ดา นครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา ความมุงม่ัน มีสว นรว มและเขาใจกันของบุคลากร 3. การปฏบิ ัติภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู รหิ ารสถานศึกษา ภาวะผนู ําเชงิ บริการของผบู ริหารสถานศึกษา เปนการปฏิบตั ิทางการบริหาร มีการปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนดังนี้ 1) กาํ หนดวิสัยทัศน (Vision) 2) พัฒนากลยทุ ธ (Developing strategies) 3) เรง รุดปฏิบัติงาน (Accelerating operations) 4) ประสานสัมพันธ (Cooperation) 5) มุงม่ันสรางเครอื ขาย (Focusing on network building) 6) กระจายการประเมิน (Distributing evaluation) จากปรากฏการณป ฏิบตั ิภาวะผนู าํ เชิงบริการ สรุปการปฏบิ ัตภิ าวะผูนําบริการมีแนวทางสรุป ดงั ภาพประกอบ 2

Journal of Roi Et Rajabhat University 113 Volume 14 No.3 September - December 2020 ภาพประกอบ 2 ปรากฏการณป ฏบิ ัตภิ าวะผูนาํ เชงิ บริการ 4. ปจ จัยท่ีสงผลตอการปฏบิ ัตขิ องภาวะผูนําเชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษา ปจจยั คือ เหตอุ ันเปนทางใหเกิดผล ซึ่งอาจจะเกดิ ผลในทางบวกหรือทางลบข้ึนอยูกบั สิ่งนั้นวา เมอ่ื ปฏิบัตไิ ปแลว จะสง ผลอยา งไร ประกอบดว ย ปจ จัยเชงิ บวกที่สงผลตอ การปฏิบัตขิ องภาวะผูนาํ เชงิ บริการ 1. ปจจัยดานคุณลักษณะของผบู รหิ ารสถานศึกษา คุณลักษณะของผบู ริหารสถานศึกษา เปนพฤติกรรม การแสดงบทบาททางการบริหารสถานศึกษา ซ่ึงกลาวคือคุณลักษณะท่ีเปนปจ จัยพื้นฐานที่เกดิ ขึ้นกบั ตัวบุคคลสง ผลเชิงบวก ตอการปฏบิ ตั ิภาวะผูนําเชงิ บริการ ดานคุณลักษณะไดด ังนี้ 1) มีคณุ ธรรมจริยธรรม 2) มีจิตสาธารณะ 3) มีมนุษยสัมพันธ 2. ปจจัยดา นกระบวนการ เปนกิจกรรมตา ง ๆ ทบี่ ุคคลหลายคนรวมกันดําเนินการ เพือ่ พฒั นาสมาชิก ของสังคมในทกุ ๆ ดา น ประกอบดว ย 1) นอมนําศาสตรพ ระราชาสสู ถานศกึ ษา 2) การบรหิ ารงานแบบมสี วนรวม 3) การบรหิ ารแบบโดยใชโรงเรยี นเปนฐาน (SBM) 4) การใหบ รกิ าร 3. ปจ จัยดา นการสรางทีมงานคณุ ภาพ ความรว มมอื รวมใจของบุคคล เพื่อที่จะบรรลเุ ปา หมายรวมกัน ผลักดันใหการทํางานบรรลุเปาหมายสูงสุด โดยปจจัยท่สี นบั สนุนใหท ีมงานมีคุณภาพ ซ่งึ มลี ักษณะดังนี้ 1) การเปนแบบอยา งที่ดี 2) การสรางความรวมมอื รว มใจในการทาํ งาน 3) การสรางขวัญและกําลังใจ 4) การปกปอ งและรักษา 4. ปจจัยดานการนาํ สถานศึกษาสูความเปนเลิศ มลี ักษณะ 1) มวี ิสยั ทศั น 2) ส่ือและเทคโนโลยี 3) การพัฒนาคน 4) การสรา งชุมชน ปจจัยเชงิ ลบที่สงผลตอการปฏบิ ัติของภาวะผูนําเชงิ บริการ ประกอบดวย 1) ความออ นแอของทีมงาน 2) งบประมาณไมเพียงพอ 3) นโยบายการศกึ ษาไมช ดั เจน 5. ผลสืบเนือ่ งจากภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษา สามารถจําแนกประเด็นไดดังนี้ 1) ผลทเี่ กิดขึ้น ตอตวั ผบู ริหารสถานศกึ ษา เกิดความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความสาํ เร็จไดชือ่ เสียงเกียรตยิ ศ ความเปนผูบรหิ ารมืออาชพี 2) ผลทเี่ กิดข้ึนตอนักเรียนและคุณภาพนักเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดี มที ักษะอาชีพ รเู ทาทันสื่อ มที ักษะชีวิต ตามวัตถปุ ระสงคการศึกษาชาตแิ ละเปา หมายการศึกษาของสถานศึกษา และสถานศึกษามคี ุณภาพสามารถตอบสนองนโยบาย การศกึ ษาอยา งชัดเจน 3) ผลที่เกิดขึน้ ตอการรบั รูและการยอมรบั ของสังคม สถานศึกษามีชื่อเสียงชุมชนมสี วนรวมรักและภาคภมู ใิ จ

114 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 อภิปรายผล จากผลการวิจัยเปนปรากฏการณทผี่ วู ิจยั เลือกศึกษาโดยวิธีเลอื กตวั อยา งเชงิ ทฤษฎี โดยมหี ลักการท่ีสําคญั คือ เปนพ้ืนท่ีซง่ึ มผี บู ริหารท่มี ภี าวะผูนําเชงิ บริการ เปนเอกลักษณท ีส่ ามารถสรา งเปนภาวะผูน าํ เชงิ บรกิ ารของผูบริหารสถานศึกษา ข้นั พ้ืนฐานได เปนพื้นท่ีซ่งึ ผูบริหารใชความเปนผูนําในการขับเคลื่อนภารกิจของโรงเรียน ไปสูความมีประสทิ ธผิ ลเปนทปี่ ระจักษ อยางชัดเจนในบรบิ ทของสังคมไทย ซึง่ อาจมีความแตกตา งไปจากผลการวิจัย หลักการหรอื ทฤษฎอี ื่น ๆ ซึ่งเปนขอ คนพบ ของผวู ิจัยในการสรางเปนทฤษฎี 1. ลักษณะภาวะผูนําเชิงบรกิ ารของผบู ริหารสถานศึกษา เปนปรากฏการณจากทรรศนะของผบู ริหารสถานศึกษา และผทู ม่ี ีสวนเก่ียวของทีใ่ หคําจาํ กัดความคําวา “ภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน” ไดขอ มูลจากการศึกษา เอกสารทเี่ ก่ียวของกบั ภาวะผูนาํ เชงิ บรกิ าร การสัมภาษณเ ชงิ ลึก รวมถงึ การสังเกตพฤติกรรมการบริหารและบริบทของการขับเคลอ่ื น ภารกิจของสถานศึกษา โดยผวู ิจัยไดว ิเคราะหความสอดคลอ งของบทสมั ภาษณและพฤตกิ ารณเชงิ ประจักษเพื่อใหไดข อ มลู อนั นาํ มาสูการสรปุ เปนความหมายและองคป ระกอบของภาวะผูนําเชิงบริการของผูบ ริหารสถานศึกษาในการวิจัยนี้ 2. เง่อื นไขเชงิ สาเหตภุ าวะผนู าํ เชิงบริการ เปนการคนหาเงอ่ื นไขเชิงสาเหตุของภาวะผูนําเชิงบริการของผูบริหาร สถานศึกษา มงุ ประเด็นไปท่ีสาเหตุท่ที ําใหเกิดภาวะผูนําเชิงบริการของผบู รหิ ารสถานศึกษา ตงั้ แตข อมลู พื้นฐานของผูอํานวยการ สถานศึกษา เจตคติ การสรา งเอกัตบคุ คลและอัตลักษณในการบรหิ าร รวมถึงครู บุคลากรฝายตา ง ๆ นักเรยี น ผูป กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และชุมชน ซ่งึ เปน ผูท ่ีมีสวนเก่ียวขอ งในภารกิจของสถานศึกษา ความเปนเอกัตบคุ คล และอัตลักษณของภาวะผูนาํ เชิงบริการ ผวู ิจัยมงุ นําเสนอการรักษาระดับการปฏิบตั งิ านทางภาวะผูนําเชิงบริการ ศึกษาจาก องคป ระกอบ คือ ปจจยั ดา นตัวบุคคล ปจจัยดา นบทบาทและหนาที่ ปจ จัยดา นสถานศกึ ษา ปจ จัยดานครู และบคุ ลากร ในสถานศึกษา แลว สรปุ เง่อื นไขเชิงสาเหตุของการเกิดภาวะผูนําเชิงบริการ ของผูบริหารสถานศึกษา ความคงอยูของภาวะผูนํา เชิงบริการของผูบรหิ ารสถาน จากการวิจัยคน พบปรากฏการณดงั กลาว ซ่ึงสอดคลอ งกับทฤษฎีของ Adler (1994 : 287–294) คอื ความแตกตางระหวา งบุคคล และยังช้ีใหเห็นวามีปจจัยบางประการทมี่ ีอิทธิพลตอความเปนเอกัตบคุ คล ไดแก พันธุกรรม เชาวนป ญญา และส่งิ แวดลอม ถอื วา ความเปนเอกัตบคุ คล คอื ปจ จัยสาํ คัญที่ทาํ ใหเ กิดการสรา งภาวะผนู าํ เชิงบริการ ของผบู ริหารสถานศกึ ษาอันแสดงถึงความชาญฉลาดทางการบริหาร 3. การปฏิบตั ภิ าวะผนู าํ เชิงบริการของผูบรหิ ารสถานศึกษา เปนปรากฏการณท พี่ บจากการเกบ็ รวบรวมขอ มูล ในการวิจยั ท่ีแสดงถงึ การปฏบิ ตั ิท่ีชใ้ี หเห็นถึงการมีภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผูบริหารสถานศึกษา มีลักษณะเปนการปฏิบตั ิ ทหี่ ลอมรวมศาสตรทางการบริหารไปสูการปฏิบัติ ภายใตบรบิ ทของสถานศกึ ษา และความเปนเอกัตบุคคลแสดงถึงลาํ ดบั ขั้นตอน การปฏิบตั ติ น ตลอดทงั้ เปนกลวธิ ีหรือการปฏบิ ัติของผูนํา ท่ีจะขบั เคล่อื นองคการไปสเู ปา หมายหรอื ความสาํ เร็จในภารกิจ โดยจะตอ งมีการใชกระบวนการ วิธีการ และเทคนคิ ตาง ๆ ดว ยความชาญฉลาดของผูนํา ซึ่งการปฏบิ ัติของภาวะผนู ําเชงิ บริการ ของผบู ริหารสถานศกึ ษานั้น เก่ียวของทัง้ ในสว นของหลักการบรหิ ารทฤษฎีการบริหาร จิตวิทยา ปรัชญาทางการบริหาร ผนวกเขากับความเปนเอกตั บุคลของผบู ริหาร ซึง่ หลอมรวมออกมาเปนประเด็นการปฏิบัติของภาวะผูนาํ เชิงบริการของผบู รหิ าร สถานศึกษา อันเปนอัตลักษณเ ฉพาะ (Alan, 1982 : 48) ซง่ึ มีลาํ ดับขั้นตอนท่ปี รากฏคอื 1) กาํ หนดวิสัยทัศน (Vision) 2) พฒั นากลยุทธ (Developing strategies) 3) เรง รุดปฏิบัติงาน (Accelerating operations) 4) ประสานสัมพันธ (Cooperation) 5) มงุ มน่ั สรางเครือขา ย (Focusing on network building) โดยมี 6) กระจายการประเมิน (Distributing evaluation) ทาํ หนาท่ีตดิ ตามและตรวจสอบ ความกาวหนา ปญ หา อุปสรรค ตลอดจนความสําเรจ็ และความลม เหลว โดยมีเหตุปจ จัย เชงิ บวก คือ คุณลักษณะของผูบริหารสถานศกึ ษา กระบวนการ การสรา งทีมงานคุณภาพ และการนําสถานศึกษาสูความเปนเลิศ ปจ จัยเชงิ ลบที่เปนตัวแปรอาจสงผลถงึ ความมีพลวตั ร กระทบในการปฏิบตั ิของภาวะผูนําเชิงบริการของผูบริหารสถานศึกษา ประกอบดวย 1) ความออ นแอของทมี งาน 2) งบประมาณไมเ พียงพอ 3) นโยบายการศึกษาไมช ัดเจน 4. ผลที่สบื เน่ืองจากปฏิบัตภิ าวะผูนําเชิงบริการของผูบริหารสถานศกึ ษา การปฏิบัตขิ องภาวะผนู ําเชงิ บริการ ของผูบริหารสถานศกึ ษา ยอ มกอใหเ กดิ ประสิทธิผลของการบริหารงานโรงเรยี น Hoy and Miskel (1991 : 67) ไดรวบรวม ความคดิ ของนักการศกึ ษา ผูกาํ หนดนโยบายและผใู หการสนับสนุนโรงเรียน สวนใหญจะมองประสิทธิผลโรงเรียนในสว นของ ภารกจิ ท่ีตรวจสอบได คอื ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน อัตราการออกของนักเรยี น ความพึงพอใจของครู และขวัญของบุคลากร Hoy and Furguson (1985 : 89) ใหแนวคิดวาประสทิ ธิผลโรงเรียนอาจพิจารณาจากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู จัดสรร ทรพั ยากรอยางมปี ระสิทธิภาพ การปรบั เปล่ียนส่ิงแวดลอมท่ีมากระทบทงั้ ภายในและภายนอกของบุคคล และสามารถสรา ง ความพึงพอใจใหก ับครู ซ่ึงสอดคลอ งกับ Hoy and Miskel (2001 : 149) ประสิทธิผลโรงเรียนพิจารณาผลลพั ธของการปฏิบัติงาน

Journal of Roi Et Rajabhat University 115 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในโรงเรียน ความสามารถในการผลิตท่ีเปนปริมาณและคณุ ภาพของผลผลิต ประสิทธิภาพ ความสามารถในการปรบั ตวั และความสามารถในการยืดหยุน สายสุดา กิจประยูร (2544 : 78) พจิ ารณาประสทิ ธิผลโรงเรียน จากความพึงพอใจในการ ทํางานของครู บรรยากาศในโรงเรียน และผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน ซ่ึงผลท่ีสบื เนื่องน้ันปรากฏเปนผลเชิงบวกท่ีมคี ณุ คา และประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา งยิ่ง สามารถจําแนกออกเปนประเด็น ดังน้ี 1) ผลท่ีเกิดขึ้นตอตวั ผูบริหาร สถานศึกษา ผลโดยตรงท่ีเกดิ ขึ้นกับตวั ผบู ริหารสถานศึกษาจากปรากฏการณท ่ีแสดงความเปนเอกัตบุคคล ดวยการสรางอัตลักษณ ท่ีเปนแบบฉบบั ของตวั ผูบริหาร และเปนท่ียอมรบั วา เปนแบบอยา งทดี่ ี 2) ผลท่เี กิดขึ้นตอ นักเรยี นและคุณภาพการศึกษา ผลที่เกดิ ข้ึนตามเปาหมายการจดั การศึกษา และเปนผลพลอยไดจากการใชภ าวะผูนาํ เชงิ บริการของผูบริหารสถานศึกษา เพราะเมือ่ ผบู ริหารสถานศึกษามีความโดดเดนทางการบรหิ าร จะสงผลตอ ความโดดเดนของคณุ ภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาดวย 3) ผลที่เกิดข้ึนตอ การรบั รแู ละการยอมรับของสังคม เปนผลสืบเน่ืองอันแสดงใหเห็นถึงภาพลักษณ ท่ีปรากฏตอสายตาชุมชน บุคคลท่ีเก่ยี วของ และหนว ยงานอื่น เกิดจากการตอบสนองความคาดหวังของชุมชน การสราง ชอ่ื เสยี งใหเ ปนทย่ี อมรับอยางกวา งขวางในระดับตาง ๆ การปฏบิ ตั ขิ องภาวะผูนําเชิงบริการของผูบรหิ ารสถานศึกษา ยอ มกอใหเกดิ ประสทิ ธิผลของการบรหิ ารงานโรงเรยี น ขอ เสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 สถานศึกษาควรกําหนดเปาหมายพัฒนาภาวะผูนําเชิงบริการของครูและบุคลากรทางการศึกษา 1.2 ควรศกึ ษาและพัฒนารปู แบบภาวะผูนําเชิงบริการในการบริหารสถานศกึ ษาจากทฤษฎีฐานรากที่สรางขึ้น 1.3 กําหนดนโยบายเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานบคุ คลดวยภาวะผูนาํ เชงิ บริการจากทฤษฎี ฐานรากที่สรา งข้ึน 1.4 ดาํ เนินนเิ ทศตดิ ตามงานและการประเมนิ ผลของการปฏิบตั ภิ าวะผนู ําเชิงบริการของผบู รหิ ารสถานศึกษา จากทฤษฎีฐานรากที่สรา งขึ้น ในการขบั เคล่ือนทุกภารกิจ เพือ่ ปรับปรงุ และพัฒนางานใหมีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึ้น 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจัยครั้งตอไป 2.1 ศึกษาแตละประเด็นการปฏิบัตภิ าวะผูนาํ เชิงบริการของผบู รหิ ารสถานศึกษา วิธีการหรอื กระบวนการปฏิบตั ิ ในประเด็นตา ง ๆ เชิงรปู ธรรมท่อี างอิงบรบิ ทสงั คมไทยสามารถพฒั นาเปน ตัวแบบ 2.2 วิจัยเพ่อื สรางทฤษฎีฐานราก ผวู ิจัยเปนเครื่องมือสาํ คญั ท่สี ุด ตองเตรยี มความพรอ มในดานองคความรู ทางทฤษฎีทีจ่ ะตคี วามทฤษฎีจากปรากฏการณ ที่มีความชํานาญในการใชเคร่ืองมือวิจัย การจดั กระทําขอ มูล การวิเคราะห เพอื่ สรปุ ทฤษฎี วิจัยอยางละเอียดรอบคอบ ลดความคลาดเคลื่อนของขอมูล 2.3 การวิจยั คร้งั ตอไปควรมกี ารศึกษาภาวะผูนาํ เชงิ บริการของผูบริหารสถานศึกษาอื่น ๆ เทียบเคยี งการปฏิบัติ ทางการบริหาร ในภารกิจการขับเคล่ือนการศกึ ษาท่ีมลี กั ษณะคลา ยคลึงกัน สามารถหยิบยกเอาภาวะผูนาํ เชิงบรกิ ารของผบู รหิ าร สถานศึกษาท่ีตางสถานศึกษามาประยุกตใ ชและเปนแนวทางในการพฒั นาภาวะผูนําเชงิ บริการของผูบริหารสถานศึกษา อันจะนาํ ไปสูการบริหารที่มีคณุ ภาพตอ ไป เอกสารอา งอิง ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเปน มอื อาชพี ในการจัดและบรหิ ารการศึกษาปฏริ ูปการศึกษา. กรงุ เทพฯ: ขา วฟาง. นภาภรณ หะวานนท, เพ็ญสิริ จีระเดชากุล และสุรวฒุ ิ ปดไธสง. (2550). ทฤษฎีฐานรากในเรอ่ื งความเขมแข็งของชมุ ชน. กรงุ เทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). บณั ฑติ แทนพิทักษ. (2540). ความสมั พันธระหวา งภาวะผูนํา อํานาจ ความศรทั รา และความพึงพอใจในงานของครูโรงเรียน มธั ยมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ การศึกษาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. นครนายก: มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. สมเกียรติ พละจิตต. (2552). สภาพและปญหาการดําเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษายโสธ เขต 1. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา. สกลนคร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร.

116 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 สายสดุ า กิจประยูร. (2544). การศึกษาการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาและประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิกในสังกัดสังฆมณฑล ราชบรุ .ี วทิ ยานิพนธ การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าบริหารการศึกษา. นครนายก: มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุภางค จันทวานิช. (2543). วธิ วี จิ ัยคณุ ภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย. Adler, M. A. (1994). Gender difference in job autonomy : The consequences of occupational segregation and authority. Sociological Quartery, 34(3), 449. Alan B. K. (1982). Leadership Strategies for meeting new challenges. San Francisco: Jossey-Bass. Daft, R. L. (2005). The Leadership Experience (3rd ed.). Ohio: Thomson. Fair, R. W. (2001). A Study of New Jersey Public School Superintendents'. Perceptions Regarding The Behavioral Characteristics of Effective Elementary. School Principals. New Jersey: Seton Hall University. Greenleaf, R. K. (1977). Servant leadership. Mahwah, New Jersse: Paulist Press. Gtaser, B. C., & Strauss, A. L. (1967). The discovery of grounded theory. Chicago: Aldine. Hoy, W. K. and Miskel C. G. (1991). Educational Administration : Theory Research and Practice (4 thed.). New York: Harper Collins. Hoy, Wayne K. and Miskel, C. G. (2001). Educational Administration: Theory Research and Practice (6th ed.). New York: Random House. Hoy, W. K. and Furguson, J. (1985). Theoretical Framework and Exploration Organization Effectiveness of Schools. Educational Administration Quarterly, 21(2), 145-160. Yukl, G. (2002). Leadership in Organizations. Prentice Hall: Upper Saddle River.

Journal of Roi Et Rajabhat University 117 Volume 14 No.3 September - December 2020 การกาํ หนดคําบังคบั ในคดปี กครอง Prescription of Decrees in Administrative Cases สรุ ยิ า ปญญจิตร1 และ พชั รวรรณ นชุ ประยูร2 Received : 2 มี.ค. 2563 Suriya Panyajitr1 and Bajrawan Nuchprayool2 Revised : 7 เม.ย. 2563 Accepted : 7 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ งานวิจัยน้ีเปน การคนควา วิจัยเอกสาร (Documentary Research) ในประเด็นปญ หาเก่ียวกบั การกาํ หนดคาํ บังคบั ในคดปี กครอง โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อศึกษาหลักการและแนวความคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับวิธีพจิ ารณาคดีปกครองและการกําหนด คําบังคับในคดีปกครองไทย รวมท้ังประเทศฝรั่งเศสและประเทศเยอรมนี เพื่อเสนอแนวทางในการกําหนดคําบังคับในคดปี กครอง ที่เหมาะสม ศาลปกครองมอี าํ นาจกาํ หนดคําบังคับตามขอบเขตดานเนอ้ื หาและระยะเวลาตามมาตรา 72 แหงพระราชบญั ญัติ จดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 ทําใหศ าลไมส ามารถกาํ หนดเน้อื หาในลักษณะอื่นไดจนกลายเปน ขอ จํากัดอํานาจของศาล และขอบเขตดานระยะเวลาไมไดกําหนดเกณฑส าํ หรบั การใชด ุลพินิจท่เี หมาะสม สงผลใหหลายกรณี การกาํ หนดคาํ บังคับของศาลเปนตนเหตใุ หฝา ยปกครองไมส ามารถปฏิบัติใหเปนไปตามคาํ บงั คบั ได จากการศึกษาวิจัย ไดเสนอแนวทางการแกไข ดังนี้ ประการแรก แกไขเพิ่มเติมมาตรา 72 แหงพระราชบัญญัติ จดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 ใหศ าลปกครองมีขอบเขตดานเนื้อหาในการกาํ หนดคําบังคบั เพมิ่ ขึ้น ในลกั ษณะท่ีเปนคุณแกผ ฟู องคดีได และใหมีเกณฑการกําหนดผลในขอบเขตดานระยะเวลาการเพิกถอนยอ นหลงั เฉพาะกรณี การฝาฝนตอกฎหมายอยา งรา ยแรงเทา น้ัน โดยตอ งดลุ ยภาพระหวา งความเชื่อโดยสุจริตของบุคคลกับประโยชนส าธารณะ เปนสาํ คัญ ประการท่ีสอง ใหม ีการจัดตง้ั คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ิใหสอดคลองกบั ผลของคําพพิ ากษา เพื่อทําหนา ที่วินิจฉัยช้ีขาดปญหากรณไี มส ามารถปฏิบตั ติ ามคาํ บงั คบั ในคําพพิ ากษาของศาลปกครอง คําสาํ คญั : คาํ บังคับ, คาํ พพิ ากษา, คดปี กครอง Abstract This documentary research is a study of problems concerning the determination of the decree in administrative cases. The objective of this research is to study the principles and basic concepts regarding administrative case procedure and the determination of the decrees in Thai administrative cases, as well as the concept of specifying the decree in administrative cases in France and Germany, so that to propose the guideline for specifying the proper decree in administrative cases. The Administrative Courts have the power to specify the decree under the scope of Section 72 of Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedures B.E. 2542 (1999), which prescribes both the scope of the content and the scope of the period in order to be the criteria for the Administrative Courts to consider when specifying the decree in accordance to each category of the plaint. The scope of the content has only one content and cannot be determined in other ways; as a result, it becomes the limitation of power of the court. However, the scope of the period does not set criteria for the appropriate exercise of the discretion; in consequence, in many cases, the decrees specified by the Administrative Courts are unable to comply therewith. 1 นักศกึ ษาปริญญาเอก คณะนิตศิ าสตร สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร อีเมล: [email protected] 2 ผูช วยศาสตราจารยประจําคณะนติ ศิ าสตร สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร 1 Doctoral Student Faculty of Law, National Institute of Development Administration, Email: [email protected] 2 Assistant Professor, Faculty of Law, National Institute of Development Administration

วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด 118 118 ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 According to the study, it appears two solutions of such problems. Firstly, there should be the amendment to Section 72 of Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedures B.E. 2542 (1999) by providing the Administrative Courts to have further the scope of the content of the decree. It should not limit the content thereof not only the revocation, the performance, or omission of an act but also allowing the Court to specify the decree ordering the administrative agency to perform in the manner favorable to the plaintiff. Moreover, there should be the criteria for determining the results regarding the scope of period for the retrospective revocation, which must be merely a serious violation of the law and must be balance of belief in good faith between individual and the public interest. Secondly, there should be the establishment of the quasi-judicial commission regarding the compliance with the judgment, which holds the duties making a decision on the problem of non-compliance with the decree in the judgment of Administrative Courts. Keywords : Decrees, Judgment, Administrative cases บทนํา การคุมครองสทิ ธขิ องประชาชนจากการการกระทาํ ของฝา ยปกครอง ถือเปนหลักการท่ีมีความสําคัญที่สุดหลกั การหน่ึง ของรฐั เสรีประชาธปิ ไตย (บรรเจิด สิงคะเนติ, 2556 : 23-24) ในประเทศที่ใชระบบศาลคูศาลปกครองถอื เปนองคกรหลัก ในการคมุ ครองสิทธิดังกลาวของประชาชน และภายหลงั ดําเนินกระบวนพิจารณาเพ่ือตรวจสอบขอพิพาทของศาลปกครอง เสร็จส้ินแลว ศาลปกครองจะตองมีการกําหนดคําบังคบั ใหคคู วามฝายที่แพคดตี องปฏิบัติ หากคกู รณีฝายท่ีแพคดีไมป ฏบิ ตั ติ าม คําพพิ ากษาจงึ จะเขา สูกระบวนการของการบงั คบั คดีตอไป “คาํ บงั คบั ” หมายถงึ “ขอ ความในคาํ พพิ ากษาของศาลปกครองทีก่ ฎหมายกาํ หนดใหอาํ นาจแกศาลปกครอง ในการบงั คับใหคูกรณฝี ายท่ีแพคดีตามคาํ พิพากษา หรือคาํ สั่งของศาลปฏบิ ตั ติ ามคําพิพากษาของศาล เพอื่ แกไ ขเยียวยา ความเดอื ดรอนหรอื เสียหายใหกบั คูกรณีฝายท่ชี นะคดี โดยถือเปนรายการหนงึ่ ในคาํ พิพากษาของศาล ซงึ่ ถามีก็ตองกาํ หนด เอาไวใ นคําพพิ ากษานั้นดวย” คาํ บงั คบั เปนสง่ิ เช่ือมตอระหวา งการสิ้นสุดการดาํ เนินกระบวนพิจารณาของศาล กับการบงั คบั คดีตามคําพิพากษา นอกจากท่ีศาลปกครองจะตอ งกําหนดคาํ บงั คบั อยา งหน่งึ อยา งใด ใหอ ยูใ นกรอบอํานาจของศาลตามบทบญั ญัตมิ าตรา 72 แหงพระราชบัญญัติจดั ต้งั ศาลปกครอง ฯ (ฤทัย หงสส ิริ, 2561 : 121) แลว ศาลปกครองยงั ตองกําหนดคําบังคับใหสอดคลอง กับเหตุผลในคําวินิจฉัยของศาล ตามหลักการการเคารพตอส่ิงที่ตดั สินไปแลว ศาลไมอาจกําหนดคําบังคบั ใหแตกตางหรอื เปล่ียนผล ของคาํ พิพากษาได การกําหนดคาํ บังคบั ในคําพพิ ากษาคดีปกครองนั้น จะตองมิใหไปกาวลวงอาํ นาจของฝายปกครอง และตอง เปนไปตามหลักการพ้ืนฐานในการกําหนดคําบังคบั และจะตอ งกําหนดใหฝา ยปกครองสามารถปฏบิ ตั ติ ามได นอกจากนี้ มาตรา 72 วรรคสองยังไดบ ัญญัตใิ หอ ํานาจแกศาลปกครองในการที่จะกําหนดคําบังคบั “ใหมีผลยอนหลังหรือไมยอ นหลังหรือมีผลไปในอนาคต ถงึ ขณะใดขณะหนึ่งได หรอื จะกําหนดใหมเี ง่อื นไขอยา งใดก็ได. ..” การที่กฎหมายไดบ ัญญัติใหอ ํานาจศาลปกครองในการกาํ หนด คาํ บังคับไวใ นลักษณะน้ี เปนกรณีที่ศาลปกครองสามารถใชดุลพินิจในการกําหนดคําบังคับในกรณนี ี้ไดอยางกวางขวา งในลักษณะที่ อาจจะไมมีขอบเขตท่ีเหมาะสมได และมีหลายกรณีที่ศาลปกครองกาํ หนดคาํ บังคับแลว เปนตนเหตุใหฝายปกครองไมส ามารถ ปฏบิ ตั ใิ หเปนไปตามคาํ บงั คบั ได แมวา ปจ จบุ ันจะไดมีการแกไ ขบทกฎหมายที่เกย่ี วขอ งกบั การบังคบั คดปี กครอง โดยมีการบญั ญัติเพ่ิมเติมความ ในมาตรา 75/1–มาตรา 75/4 แลวตามพระราชบัญญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559 โดยเฉพาะมาตรา 75/4 ซ่ึงเปนการแกไขเพิ่มเตมิ บทกฎหมาย ที่เกย่ี วของกบั อํานาจของศาลปกครองในการบังคบั คดี ใหศาลปกครองสามารถที่จะส่งั ปรบั ฝายปกครองท่มี ไิ ดป ฏิบตั ติ ามคาํ บังคับของศาลปกครอง หรือปฏิบัตติ ามคาํ บังคบั ลาชา เกนิ สมควร เปนการลงโทษฝายปกครองในการท่ลี ะเลยไมปฏิบัตติ ามคําบงั คบั ของศาล แตใ นสวนของอาํ นาจศาลปกครอง ในการกําหนดคําบงั คับตามมาตรา 72 แหง พระราชบัญญัติจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ยังไมไ ด มีการแกไข ทําใหการกําหนดคําบงั คับในคําพิพากษาของศาลปกครองทผี่ า นมา มีหลายกรณที ่ีคาํ บังคับไมสามารถแกไ ขเยยี วยา ความเสียหายใหกบั ประชาชนไดอยางแทจริง

Journal of Roi Et Rajabhat University 119 Volume 14 No.3 September - December 2020 การกําหนดคาํ บังคบั ของศาลปกครองไทย จึงมปี ระเด็นปญหาทส่ี าํ คัญอยูสองประการ คอื ปญหาขอบเขต ของศาลปกครองในการกาํ หนดคาํ บังคับ และปญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามคาํ บงั คับของศาลปกครองโดยฝายปกครอง วัตถุประสงค 1. เพอ่ื ศึกษาหลักการและแนวความคิดพ้ืนฐานเกีย่ วกบั วิธีพิจารณาคดปี กครอง และการกาํ หนดคาํ บังคบั ในคดปี กครอง 2. เพื่อศึกษาวิเคราะหแนวความคิดในการกาํ หนดคาํ บังคบั ในคดปี กครองในตางประเทศ โดยเฉพาะอยางย่งิ การกาํ หนดคําบังคับในคดปี กครองของประเทศฝรง่ั เศสและประเทศเยอรมนี 3. เพ่อื ศึกษาวิเคราะหเหตุผล รายละเอียด และขั้นตอนในการกําหนดคําบงั คบั ตามคําพิพากษาของศาลปกครองไทย ทงั้ ท่ปี รากฏเปนโครงสรา งของคาํ บังคับในสว นรูปแบบและเนอื้ หาที่ยังไมเหมาะสม 4. เพอ่ื เสนอแนวทางในการกําหนดคําบังคบั ในคดีปกครองท่ีเหมาะสม สมมติฐาน คาํ บังคับเปนองคป ระกอบท่ีสาํ คัญของคําพิพากษา ลักษณะของคาํ บังคับถูกแบงประเภทไวในมาตรา 72 แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 เปน ขอบเขตอาํ นาจของศาลในการพิจารณา กําหนดผลดา นเน้อื หามีขอจาํ กัดเฉพาะประเภทคดี และขอบเขตอาํ นาจของศาลปกครองในการพิจารณากําหนดผล ดานระยะเวลาในการเพิกถอนกฎหรือคาํ สัง่ ใหมผี ลยอนหลงั มผี ลในปจ จุบัน หรอื มีผลไปในอนาคตไมมีหลักเกณฑท ่ีเหมาะสม จงึ ควรจะมีการแกไขเพม่ิ เติมมาตรา 72 แหง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 และมาตราที่เกยี่ วขอ ง เพอ่ื กาํ หนดขอบเขตอาํ นาจในการกําหนดคาํ บังคบั ของศาลปกครองใหช ัดเจนเหมาะสม ภายใตหลักการ และแนวความคิดพื้นฐานเก่ียวกบั วธิ ีพิจารณาคดีปกครอง และการกําหนดคําบังคบั ในคดีปกครอง จะทาํ ใหการกาํ หนดคําบังคบั ในคดีปกครองมีขอบเขตที่เหมาะสม รวมทั้งทําใหฝา ยปกครองสามารถเยียวยาความเดือดรอนหรือเสียหายของประชาชน ไดอยา งแทจริง และสามารถแกไขปญหาการไมส ามารถปฏิบัติตามคาํ บังคับของศาลปกครองโดยฝา ยปกครองได วิธดี าํ เนนิ การวิจัย การศึกษาวิทยานิพนธฉบับนีใ้ ชว ิธีการคน ควา วิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษา คนควา และรวบรวมขอมลู จากหนงั สอื บทความ วิทยานพิ นธ คาํ พพิ ากษาและคําส่ังของศาลปกครอง รายงานของสวนราชการ หนังสอื สว นราชการทีเ่ ก่ียวของ กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ขอ บงั คบั และหนังสอื เวียนของสวนราชการตาง ๆ รวมตลอดถึง การสืบคนขอ มูลทางอเิ ล็กทรอนิกส สรปุ ผล ในการศึกษาวจิ ัยฉบับนี้ เปนการศึกษาวิจัยเชงิ คุณภาพ โดยการศึกษาเปรียบเทยี บกับกฎหมายเก่ียวกับการกําหนด คําบงั คับในคดีปกครองของประเทศฝร่งั เศสและประเทศเยอรมนี รวมไปถงึ หลกั การและแนวความคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกบั วธิ พี ิจารณา คดปี กครองและการกําหนดคาํ บังคับในคดปี กครอง เปนเกณฑใ นการวิเคราะหเ รอ่ื งการกาํ หนดคาํ บังคบั ในคดีปกครอง ในประเทศไทย คาํ บังคับในคดปี กครองเปนสว นประกอบหนึ่งที่สาํ คัญในคาํ พิพากษา หรือคาํ สง่ั ชขี้ าดคดีปกครองของศาลปกครอง ตามมาตรา 69 แหง พระราชบัญญัติจดั ต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 การกําหนดคาํ บังคบั จะตอ งพิจารณาจากหลักการและแนวคิดพ้ืนฐาน 2 กลุม คอื ขอ ความคิดท่วั ไปเกี่ยวกับวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง และขอ ความคดิ เกี่ยวกับความจาํ เปนในการกําหนดคาํ บังคับใหมีความเหมาะสม โดยศาลปกครองจะตองเปนหลักประกันในการคุม ครองสิทธิ และเสรภี าพของประชาชน เพือ่ ใหประชาชนไดมีโอกาสในการท่ีจะรอ งขอใหตรวจสอบการกระทําของฝายปกครองได ทําใหฝา ยปกครองตอ งตระหนักเสมอวา หากมีการกระทาํ ท่ลี ะเมดิ ตอหลักความชอบดว ยกฎหมายฝา ยปกครองอาจถูกตรวจสอบ โดยศาลปกครอง และอาจจะตอ งรบั ผิดในทางปกครองไดดว ย ในการเปนหลักประกันในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน ก็ไมใ ชวา ศาลจะสามารถดาํ เนินการตรวจสอบฝายปกครองอยางไรก็ได แตภ ายใตหลักนิติรัฐการกระทําทางตุลาการ ก็จะตอ งอยภู ายใตหลักความชอบดว ยกฎหมายของการกระทาํ ทางตุลาการ ผูกพันใหฝ า ยตลุ าการตอ งใชก ฎหมายกบั ประชาชน

วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ 120 120 ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 อยางเทา เทยี มกัน ตามหลักความเสมอภาคของการใชกฎหมาย รูปแบบของการใชกฎหมายตามหลักความเสมอภาคมี 3 รูปแบบ คอื ฝายตลุ าการจะตอ งไมพิจารณาเร่อื งใดเร่ืองหนงึ่ ใหแตกตา งไปจากบทบัญญัติของกฎหมาย ฝายตลุ าการมีความผูกพัน ทีจ่ ะตองใชกฎหมายอยา งเทาเทียมกัน และฝายตลุ าการมีความผูกพันที่จะตองใชดุลพินิจโดยปราศจากขอบกพรอง โดยศาลปกครองจาํ เปนตอ งกาํ หนดคาํ บังคบั ใหมีความเหมาะสม (บรรเจิด สงิ คะเนต,ิ 2558 : 26-27) สามารถแกไขเยยี วยา ความเดือดรอนใหกับประชาชนและไมกระทบตอ ประโยชนสาธารณะ ในระบบกฎหมายของประเทศฝรัง่ เศสสามารถแยกประเภทคําบงั คบั ตามประเภทของคําฟอ งไดเปน 4 ประเภท ใหญ ๆ คือ 1) คาํ บงั คับในคาํ ฟองขอใหเพิกถอนมาตรการทางปกครอง 2) คาํ บงั คบั ในคําฟอ งท่ีศาลมอี ํานาจเต็ม 3) คําบังคบั ในคาํ ฟอ งขอใหศาลพิพากษาตีความ หรอื ยืนยันความชอบหรือไมชอบดวยกฎหมายของมาตรการของฝา ยปกครอง และ 4) คาํ บังคบั ในคาํ ฟองท่ศี าลปกครองมีอาํ นาจลงโทษทางอาญา (สุคนธา ศรภี ิรมย, 2556 : 162) โดยคําบงั คับในคําฟอง ขอใหเพิกถอนมาตรการทางปกครองหากศาลปกครองฝร่ังเศสเห็นวา กฎไมชอบดวยกฎหมายก็จะวินิจฉัยวา กฎน้ันไมชอบ ดวยกฎหมาย แลว กาํ หนดคาํ บังคับใหเพิกถอน โดยจะไมกาวลวงไปพจิ ารณาถึงความเหมาะสมของกฎ ในการนี้ ศาลปกครอง อาจใชว ิธีการเขียนคาํ แนะนาํ ทา ยคาํ พพิ ากษา (Directive) ใหฝา ยปกครองดําเนินการตามคําแนะนําในส่ิงท่ถี ูกตองภายหลัง จากที่กฎถูกเพิกถอนแลว (บวรศักด์ิ อุวรรณโณ, 2530 : 737) สว นขอบเขตดา นระยะเวลาในการกาํ หนดผลคาํ บงั คับใหเพิกถอน มาตรการทางกฎหมายของศาลปกครองประเทศฝร่ังเศสนั้น นบั ต้ังแตป พ.ศ. 2547 เปนตนมา ศาลปกครองของประเทศฝรงั่ เศส ไดป รบั เปลีย่ นแนวคําวินิจฉัยเดิมท่ีเคยถือเครง ครัด วา จะตองเพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลงั เสมอ เปนใหมขี อ ยกเวน ไดใ นกรณที ี่ การเพิกถอนมาตรการทางกฎหมายของปกครอง โดยใหมผี ลยอ นหลังน้ันจะสงผลกระทบท่ีรนุ แรงเกินขนาดอยา งชัดเจน และกอใหเกิดผลท่ีตามมาซึ่งไมไดสัดสวนกบั ความไมชอบดว ยกฎหมายของนิติกรรมทางปกครองนั้น (ความเห็นแยง ในคําพิพากษา ศาลปกครองสูงสุดที่ อ.33/2557 (ประชมุ ใหญ) ,คาํ บังคบั ในคาํ ฟองทีศ่ าลมอี าํ นาจเต็ม ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดผลของ คาํ บังคบั ในขอบเขตดา นเนือ้ หาไดทั้งยกเลิกหรอื เพิกถอนนิติกรรมทางปกครองที่ไมชอบดว ยกฎหมาย และมอี าํ นาจพพิ ากษา ใหฝา ยปกครองชดใชค า เสียหาย ท้งั ในคดีละเมดิ กึ่งละเมิด และในคดีสญั ญา ก่งึ สญั ญา ทั้งยังอาจพพิ ากษาวา ฝายปกครอง มีหน้ีใดทีต่ อ งชําระบาง มอี ํานาจเพกิ ถอนหรอื เลิกสัญญาได และในบางกรณที ่ีมีกฎหมายใหอาํ นาจไวเปน พิเศษ องคกรวินิจฉัย คดปี กครองอาจกําหนดคําบังคับส่ังการใหฝายปกครองทาํ การบางอยา งท่จี ําเปนและรบี ดว นไดใ นคดีโยธาสาธารณะ ในคดีเลือกตั้ง ศาลอาจเพิกถอนผูทไ่ี ดรับเลือกตง้ั โดยมิชอบ และประกาศใหผอู ื่นไดรบั เลือกตัง้ แทน ท้ังนี้ อํานาจประเภทนี้ ของศาลเปนไปตามที่ กฎหมายเฉพาะกาํ หนด (วรเจตน ภาคีรตั น, 2554 : 284) คําบงั คบั ในคําฟองขอใหศ าลพพิ ากษาตคี วามหรอื ยืนยันความชอบ หรือไมชอบดว ยกฎหมายของมาตรการของฝายปกครอง ในกรณีนอี้ ํานาจของศาลปกครองฝรัง่ เศสมีความจํากัด โดยอาจมี คําพพิ ากษาไดสองลักษณะ คือ อาจจะพพิ ากษาตีความมาตรการท่มี งุ ผลในทางกฎหมายปกครองวา มีความหมายอยางไร หรือพิพากษาเก่ียวกับความชอบดวยกฎหมายของมาตรการท่ีมงุ ตอผลในทางกฎหมายปกครองน้ัน รวมทงั้ ศาลปกครองฝรงั่ เศส ยงั มอี ํานาจในการพพิ ากษาวามีคาํ สง่ั ทางปกครองดํารงอยูหรือไม โดยเฉพาะอยา งย่งิ กรณีท่ีองคกรเจาหนาทฝ่ี า ยปกครอง เพิกเฉยไมวินิจฉัยสัง่ การ ซ่ึงกฎหมายปกครองฝรั่งเศสถอื วาเมื่อลว งพนระยะเวลาที่กาํ หนดจะมีผลเทากับองคกรเจาหนา ที่ ฝา ยปกครองปฏิเสธไมออกคาํ ส่ังทางปกครอง ซง่ึ การปฏิเสธน้ันกถ็ ือเปนคาํ สงั่ ทางปกครองเชนกัน หรอื คาํ สั่งทางปกครองนั้น ยังคงมีผลบงั คบั อยูหรอื ไมอีก (วรเจตน ภาคีรตั น, 2554 : 285-286) และคาํ บังคบั ในคาํ ฟองท่ีศาลปกครองมอี ํานาจลงโทษ ทางอาญา โดยอาํ นาจศาลปกครองในกาํ หนดคําบังคบั ในคาํ ฟองประเภทนี้จะเกี่ยวของกบั การลงโทษผูกระทาํ ผดิ ตามกฎหมาย เปนสําคัญ (วษิ ณุ วรัญู ปยะศาสตร ไขวพ ันธุ และเจตน สถาวรศลี พร, 2551 : 300) ซ่งึ เปนคดีเกี่ยวกบั การกระทาํ ความผิด อาญาตอสาธารณะ โดยศาลปกครองมีอาํ นาจพิพากษาใหผูกระทาํ ความผิดชําระคา ปรบั และชดใชคา เสียหาย (ชาญชัย แสวงศักด,์ิ 2558 : 51) รวมท้งั การสง่ั หา มการกระทําของบุคคล เชน การส่งั หามบคุ คลหน่ึงบุคคลใดเขาใชทางนํา้ สาธารณะ เปนตน (วษิ ณุ วรญั ู ปยะศาสตร ไขวพันธุ และเจตน สถาวรศีลพร, 2551 : 300) ในระบบกฎหมายของประเทศเยอรมนั สามารถแยกประเภทคําบังคบั ตามประเภทของคาํ ฟอ งไดเปน 5 ประเภท (บรรเจดิ สงิ คะเนต,ิ 2547 : 91) โดยพิจารณาจากประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง (Verwaltungsgerichtsordnung 1960 – VwGO) (วษิ ณุ วรญั ู ปยะศาสตร ไขวพ ันธุ และเจตน สถาวรศีลพร, 2551 : 301) คือ 1) คําบงั คบั ในคาํ ฟองโตแ ยง คําส่งั ทางปกครอง (Anfechtungsklage) 2) คําบังคบั ในคําฟองขอใหเจาหนาทอ่ี อกคําส่ังทางปกครอง (Verpflichtung-sklage) 3) คาํ บังคบั ในคาํ ฟองขอใหเจาหนาท่ีกระทําการ (Leistungsklage) 4) คําบังคบั ในคําฟอ งขอใหพิสูจนสทิ ธิ (Feststellungsklage) และ 5) คาํ บงั คับในคาํ รองขอใหตรวจสอบความชอบดว ยกฎหมายของกฎหมายลําดบั รอง (Antrag auf Normenkontrolle) โดยการฟอ งโตแยงคาํ สง่ั ทางปกครอง (Anfechtungsklage) ไดบ ัญญตั ไิ วใ นมาตรา 42 VwGO (บรรเจดิ สงิ คะเนติ, 2547 : 91)

Journal of Roi Et Rajabhat University 121 Volume 14 No.3 September - December 2020 การฟองคดีประเภทนี้มงุ หมายเพ่ือลบลางคาํ สง่ั ทางปกครอง (เพ็ญศรี วงศเสรี, 2540 : 22) การกําหนดคําบงั คับของคําพิพากษา ในคาํ ฟอ งโตแยงคําสงั่ ทางปกครองอาจจําแนกพิจารณาไดเปนสามกรณี กรณที ี่คําสั่งทางปกครองไมชอบดว ยกฎหมาย (die Rechtswidrigkeit des Verwaltungsakts) การยกเลิกเปนเคร่ืองมือท่ศี าลปกครองของประเทศเยอรมนี จะสามารถ กําหนดคาํ บังคบั ในขอบเขตดานเน้ือหาได (มาตรา 114 VwGO) กลาวคอื คาํ ส่ังทางปกครองรวมทั้งคําวินจิ ฉัยอทุ ธรณ จะถูกยกเลกิ ใหมีผลยอนหลงั หากคาํ ส่งั ทางปกครองน้ันไมชอบดวยกฎหมาย และคาํ ส่ังทางปกครองนั้นกระทบสิทธิของผูฟ องคดี (มาตรา 113 (1)) สวนขอบเขตดา นระยะเวลาในการกําหนดผลของคําบงั คบั ใหยกเลิกคําสั่งทางปกครองตองพิจารณาจาก หลักการที่วาคาํ สง่ั ทางปกครองทีไ่ มชอบดวยกฎหมายนั้น กอใหเกิดผลท่แี ตกตา งกันออกไปข้ึนอยูกบั ระดับของความบกพรอ ง ของคาํ สัง่ ทางปกครองนั้น ๆ ซง่ึ อาจแยกพิจารณาไดสองกรณี คือ กรณีแรก คาํ สงั่ ทางปกครองท่ีเปนโมฆะ หมายถึง คําสัง่ ทางปกครองท่ีมีความบกพรอ งอยางรนุ แรง และความบกพรอ งนั้นปรากฏอยา งชดั แจง ตามมาตรา 44 VwVFG การวินจิ ฉัย ใหยกเลกิ ของศาลเปนเพียงการประกาศใหทราบเทานั้น เมอ่ื ศาลไดพิพากษาโดยกาํ หนดคาํ บังคบั ใหยกเลิกคาํ สั่งทางปกครอง แลวก็ถือไดว าคาํ สงั่ ทางปกครองท่ีเปนโมฆะสิ้นผลไปตามคําพิพากษาของศาลแลว กรณที ี่สอง คาํ ส่ังทางปกครองท่ีเปนโมฆยี ะ หมายถงึ คาํ สง่ั ทางปกครองที่มีความบกพรองไมถึงขนาดรุนแรง เหมือนกรณีของคําส่ังทางปกครองท่ีตกเปนโมฆะ ยอมมีผลบังคับ ในทางกฎหมายแตอาจถูกเพิกถอนจากศาลได การกาํ หนดคําบงั คบั ในคําพิพากษาใหยกเลิกคาํ ส่ังทางปกครองดังกลาว เพียงบางสวน จึงอาจกระทาํ ไดเทาทสี่ วนที่ยังคงอยูนั้น สามารถแยกออกจากสว นท่ียังคงอยไู ด และสว นท่ียงั คงเหลืออยูน้ัน สามารถมีผลบังคบั ในทางกฎหมายได กรณที ่ีมีการใชด ุลพินิจ (die Ermessensanwendung) การใชดลุ พินิจโดยไมชอบ ดวยกฎหมายนั้นเปนไปตามบทบัญญัตมิ าตรา 40 VwVfG ในกรณีทีฝ่ า ยปกครองมีการใชดลุ พินจิ ในการออกคาํ สั่งทางปกครอง โดยไมชอบดว ยกฎหมาย ศาลปกครองมอี าํ นาจในการพิพากษากาํ หนดคําบังคับ ใหมีการยกเลิกคาํ ส่งั ทางปกครองนั้นได กรณถี อ ยคําของบทบัญญัติกฎหมายทไ่ี มเจาะจง (unbestimmte Gesetzesbegriffe und Beurteilungsspielraum) หากศาลพิจารณาตรวจสอบแลว ไดค วามวา ในการใชบ ทบัญญตั ิของกฎหมายท่ีมีลักษณะไมชัดเจนดงั กลา วฝายปกครองตีความ ไมถูกตอง และการตัดสินใจของฝา ยปกครองไมอยูในขอบเขตของถอ ยคาํ ที่ไมเจาะจงน้ัน ศาลก็มอี ํานาจวินจิ ฉัยวามีการใชด ุลพินิจ โดยบกพรอ งทําใหคําส่ังทางปกครองน้ไี มช อบดวยกฎหมาย โดยการพพิ ากษากาํ หนดคาํ บังคับใหมีการยกเลิกคําสัง่ ทางปกครอง นี้ไดเสมอ (บรรเจิด สิงคะเนต,ิ 2547 : 102-111) กรณีคาํ ฟองขอใหเจา หนา ท่อี อกคาํ สั่งทางปกครอง (Verpflichtung-sklage) ศาลปกครองของประเทศเยอรมนมี อี ํานาจกาํ หนดคําบงั คบั ใหเ จาหนา ทอ่ี อกคาํ สง่ั ทางปกครองได ตอ งเปนกรณีที่เจาหนาที่ ฝา ยปกครองปฏิเสธหรือละเลยไมออกคําสัง่ ทางปกครองตามกฎหมายแกผูฟองคดี แตถ า ปรากฏวาในเรือ่ งนั้นองคกรเจาหนาที่ ฝา ยปกครองยังคงมีดุลพินิจอยู ศาลปกครองจะพิพากษาใหอ งคกรเจาหนาท่ฝี า ยปกครองพิจารณาออกคาํ ส่งั ทางปกครอง โดยตองคํานงึ ถึงความเห็นในทางกฎหมายของศาลทป่ี รากฏในคาํ พพิ ากษาดวย (เพ็ญศรี วงศเสรี, 2540 : 61) ในกรณีคําฟอง ขอใหเจา หนาท่ีกระทาํ การ (Leistungsklage) ขอบเขตของการฟอ งคดีขอใหเ จาหนา ท่ีกระทําการน้ีวางอยบู นพ้ืนฐานของสทิ ธิ เรียกรอ งของผฟู อ งคดีท่ีมงุ หมายใหเจา หนา ที่ฝายปกครอง กระทําการหรอื ละเวนการกระทําอยา งหน่ึงอยางใด หรือมุงหมายให ละเวนท่ีจะออกคําสัง่ ทางปกครองในอนาคต รวมท้ังสิทธิเรยี กรอ งใหออกฎหมายลาํ ดบั รอง ในกรณีท่ีฝายปกครองมีดุลพินิจศาล ไมอ าจใชด ุลพินิจของศาลไปแทนการใชดุลพินิจของเจา หนาท่ฝี า ยปกครองได ตวั อยา งเชน การฟองขอใหประเมินการสอบใหม ในกรณีนี้ศาลอาจพิพากษาโดยการกาํ หนดคําบังคับเพียงใหเ จาหนา ทก่ี ระทําการประเมินผลการสอบใหม แตศาลไมอ าจกําหนด ผลเองไดวาผลการประเมินควรเปนเชนไรได เปนตน การฟองคดีเพ่ือใหฝา ยปกครองกระทาํ การออกกฎหรือขอบัญญัติ ศาลไมอ าจจะไปกําหนดคําบังคบั วากฎ หรอื ขอบัญญัติจะตองมเี นอื้ หาอยา งใดอยางหน่งึ ตามที่ศาลกาํ หนด ศาลเพียงแตมี คาํ พิพากษาเปนการท่ัวไปใหเ จา หนาท่อี อกกฎหรือขอบญั ญัตเิ ทานั้น (บรรเจิด สิงคะเนติ, 2547 : 116-121) ในคาํ ฟองขอให พสิ จู นสทิ ธิ (Feststellungsklage) ศาลปกครองมอี ํานาจเพยี งการประกาศใหทราบ หรอื เปนเพียงการรับรองสทิ ธิเทา นั้น คําพิพากษาและการกาํ หนดคาํ บงั คบั ของศาลจึงมิไดเปนการกอตง้ั สิทธิ แตเปนเพียงการแสดงถึงสภาพการณใ นทางกฎหมาย ของขอเทจ็ จรงิ ในเร่อื งใดเร่ืองหน่ึงเทาน้ัน (บรรเจดิ สิงคะเนติ, 2547 : 125) และในคาํ รองขอใหตรวจสอบความชอบ ดว ยกฎหมายของกฎหมายลําดับรอง (Antrag auf Normenkontrolle) ผลของคาํ บงั คบั ในคาํ พิพากษาใหเพิกถอนกฎ จะเกิดผลไดเปน สองกรณี คอื กรณแี รก คาํ พิพากษาแสดงความเปนโมฆะหรอื เสียเปลา ต้งั แตเร่มิ ตน โดยทาํ ใหกฎนั้นไมมีผล ทางกฎหมายใด ๆ หรอื อีกนยั หน่ึง คอื คําพพิ ากษามผี ลยอ นหลงั (อุษณยี  ล้วี ไิ ลกลุ รตั น, 2551 : 109) กรณที สี่ อง คําพพิ ากษา วา กฎนั้นไมสมบรู ณจนกวาฝา ยปกครองจะแกไขความไมช อบดว ยกฎหมายนั้น ยอ มสงผลใหกฎนน้ั ไมส ามารถใชบ งั คับได ท้ังน้ี จนกวา ฝายปกครองทท่ี รงอาํ นาจจะไดดําเนินกระบวนพิจารณาแกไ ขเยียวยาความบกพรอ งหรือความไมชอบดว ยกฎหมาย

วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด 122 122 ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ดังกลา วตามท่ีกฎหมายบัญญัติ เม่ือมีการแกไขเยียวยาความบกพรองหรือความไมช อบดวยกฎหมายดังกลาวแลว ความไมสมบูรณ นั้นก็เปนอันยตุ ิลง แตหากไมแกไ ขเยียวยาก็จะถือวากฎทไี่ มส มบรู ณนั้นเปนโมฆะ (วรเจตน ภาครี ัตน, 2554 : 11-12) สวนในระบบกฎหมายไทย การกําหนดคําบงั คบั ของศาลปกครองถูกกาํ หนดไวใ นมาตรา 72 แหงพระราชบญั ญัติ จดั ต้ังศาลปกครองฯ จะตอ งสอดคลอ งกับคาํ ฟอ งตามมาตรา 9 วรรคหนงึ่ ประกอบดว ยวิธกี ารในการกําหนดคาํ บังคบั จาํ นวน ฅ 6 ประเภท คอื 1. การกาํ หนดคําบังคับใหเพิกถอน ในการฟอ งคดเี กีย่ วกับการที่หนวยงานทางปกครองหรอื เจาหนาท่ขี องรฐั กระทําการโดยไมชอบดว ยกฎหมาย ไมว าจะเปนการออกกฎหรือคาํ ส่ังทางปกครองมีไมช อบดว ยตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1) ศาลปกครองมอี ํานาจกาํ หนดคําบงั คบั ใหเพิกถอนกฎหรอื คําสง่ั ทางปกครองไดเทา น้นั โดยศาลปกครองมีอาํ นาจกาํ หนดวา จะใหมีผลยอ นหลังหรือไมยอ นหลัง หรอื มผี ลไปในอนาคตถงึ ขณะใดขณะหนึง่ ได หรือจะกําหนดใหมีเงื่อนไขอยา งใดก็ได ท้งั นี้ ตามความเปนธรรมแหง กรณี 2. การกําหนดคําบังคับหามกระทําการ ในกรณีที่มีการฟองวาหนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนาที่ของรฐั กระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1) ศาลปกครองมีอาํ นาจกําหนดคําบงั คบั สัง่ หามการกระทาํ ทง้ั หมดหรือบางสว น 3. การกาํ หนดคาํ บังคบั ใหกระทาํ การ ในกรณที ี่มีการฟอ งวาหนว ยงานทางปกครอง หรือเจาหนา ท่ีของรัฐละเลย ตอหนาท่หี รอื ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีลาชา เกินสมควรตามมาตรา 9 วรรคหนง่ึ (2) ศาลปกครองมีอาํ นาจกาํ หนดคาํ บังคับสั่งให หัวหนา หนวยงานทางปกครอง หรอื เจา หนาท่ขี องรฐั ที่เก่ียวของปฏิบตั หิ นา ท่ภี ายในเวลาท่ีศาลปกครองกําหนด 4. การกําหนดคําบงั คับส่ังใหใชเงินหรือใหสงมอบทรพั ยส ิน หรอื ใหกระทําการหรอื งดเวนกระทาํ การ ในกรณที ี่มี การฟอ งเกี่ยวกับการกระทาํ ละเมิด หรือความรบั ผดิ ของหนวยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ท่ีรัฐหรือการฟอ งเกี่ยวกับสัญญา ทางปกครอง ตามมาตรา 9 วรรคหน่ึง (3) และ (4) ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดคาํ บังคบั ส่งั ใหใชเงินหรือใหส งมอบทรพั ยส ิน หรือใหกระทําการหรอื งดเวนกระทาํ การ โดยจะกาํ หนดระยะเวลาและเงอื่ นไขอ่ืน ๆ ไวดวยกไ็ ด 5. การกาํ หนดคาํ บงั คับใหถ อื ปฏิบัติตอ สิทธิหรือหนา ทีข่ องบุคคล ในกรณีทีม่ ีการฟองใหศาลมีคาํ พพิ ากษา แสดงความเปน อยขู องสิทธหิ รอื หนาท่ีน้ัน ศาลปกครองมีอาํ นาจกาํ หนดคาํ บงั คับสั่งใหถ ือปฏิบตั ติ อสิทธิหรือหนา ทีข่ องบุคคล ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ มาตรา 9 วรรคหน่ึง ไมไ ดบ ัญญัติกาํ หนดประเภทของคดีท่ีจะสามารถฟองขอใหศาลกาํ หนดคาํ บังคบั ประเภทน้ี เอาไว 6. ในกรณขี องคดที ่ีมีกฎหมายกําหนดใหหนวยงานทางปกครองหรือเจา หนา ท่ีของรฐั ฟอ งคดตี อ ศาลปกครอง เพอ่ื บงั คบั ใหบ ุคคลตอ งกระทาํ การหรือละเวน กระทําการอยา งหนงึ่ อยา งใดตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (5) ศาลปกครองมีอํานาจ กาํ หนดคําบังคบั สั่งใหบุคคลกระทําหรอื ละเวนกระทาํ อยา งหนึ่งอยา งใดเพอื่ ใหเปน ไปตามกฎหมาย อยา งไรก็ดี ยงั มีประเภทคาํ ฟองอีกประเภทหน่ึงที่พระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองฯ ไมไดกาํ หนดประเภท ของคําบงั คับใหมีความเชือ่ มโยงกับประเภทคดีนี้ไว เนอื่ งจากเปนกรณีทม่ี ีกฎหมายอื่นกําหนดใหตอ งนําคดมี าฟอ งตอศาลปกครอง แตก ฎหมายกําหนดใหอยใู นเขตอาํ นาจศาลปกครองตามมาตรา 9 วรรคหน่งึ (6) แหงพระราชบญั ญัตเิ ดียวกัน เชน กรณีการฟอง ขอใหเพิกถอนคาํ ช้ีขาดหรอื บังคบั ตามคําชข้ี าดของอนญุ าโตตุลาการเกยี่ วกบั สัญญาทางปกครอง เปนตน ซงึ่ ก็เปนอาํ นาจ ของศาลปกครองท่ีจะพิจารณาเลือกเอาประเภทคําบังคับใดคําบงั คับหน่ึงท่มี อี ยูทัง้ 6 ประเภทนั้น มากาํ หนดในคาํ พิพากษา ใหสอดคลองกบั คาํ ฟองดังกลาว ซ่ึงก็อาจจะไมแนนอนวาในอนาคตจะมีการกําหนดในกฎหมายอ่ืน ใหนาํ ขอพพิ าทไดมาฟอง เปนคดีตอ ศาลปกครอง ดงั นั้น มาตรา 72 วรรคหนง่ึ แหงพระราชบัญญัติจดั ตัง้ ศาลปกครองฯ จึงไมไ ดกาํ หนดประเภทคําบังคับ ใหสอดคลองกบั ประเภทคดีตามมาตรา 9 วรรคหน่ึง (6) แหง พระราชบัญญัติเดียวกันเอาไวเปนการเฉพาะ อภปิ รายผล คาํ บงั คับเปนเคร่ืองมือสําคญั ในการพพิ ากษาคดขี องศาลปกครอง โดยมวี ัตถปุ ระสงคใหฝา ยปกครองไดแ กไขเยียวยา ความเสียหายท่ีเกดิ ขึน้ จากการกระทาํ ของฝา ยปกครองใหกบั คคู วามฝา ยที่ชนะคดี แตในหลายกรณีคาํ บังคบั ไมสามารถ บรรลวุ ตั ถุประสงคไ ด และกอใหเกิดปญหาเกี่ยวกบั การปฏิบตั ิตามคําบงั คับของศาลปกครองโดยฝา ยปกครองอีกดว ย ในหัวขอน้ี จะทาํ การวิเคราะหถงึ สภาพปญ หาการกําหนดคาํ บังคบั ในคดีปกครอง แยกเปน 4 ประเด็น ดงั ตอ ไปนี้

Journal of Roi Et Rajabhat University 123 Volume 14 No.3 September - December 2020 1. ปญหาการมผี ลของคาํ บงั คบั ใหเพิกถอนนิติกรรมทางปกครอง นติ ิกรรมทางปกครองของฝา ยปกครองมีอยู 2 มาตรการ คอื การออกฎ และคาํ ส่ังทางปกครอง ดังน้ัน ในหัวขอน้ี จงึ จะทาํ การแยกศึกษาเปนสองกรณี คอื ปญหาการมผี ลของคําบงั คับใหเพิกถอนกฎ และปญหาการมีผลของคาํ บังคับใหเพิกถอน คาํ ส่งั ทางปกครอง ดังนี้ 1.1 ปญหาผลของคาํ บงั คับที่ศาลปกครองเพิกถอนกฎ จากที่ไดศึกษาถึงขอบเขตดา นเนอ้ื หาและดา นระยะเวลาการกาํ หนดคาํ บงั คับเพิกถอนกฎของศาลปกครอง ท้ังสามประเทศในเชงิ กฎหมายเปรยี บเทียบดังท่ไี ดกลา วมาแลว จะเห็นไดวา ขอบเขตในการกําหนดคําบังคบั เพิกถอนกฎ ของประเทศไทยมีขอ จาํ กัดหลายประการ เม่ือพิจารณาจากการกําหนดคาํ บงั คบั ใหเพิกถอนกฎในคาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สุด ท่ี ฟ.5/2549 ในประเด็นขอ พิพาทเรือ่ งการที่ผูถูกฟองคดีออกพระราชกฤษฎีกากาํ หนดอํานาจ สทิ ธิและประโยชนข องบริษทั กฟผ. จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2548 และพระราชกฤษฎีกากําหนดเง่อื นเวลาการยกเลิกกฎหมาย วาดว ยการไฟฟาแหงประเทศไทย พ.ศ. 2548 โดยไมชอบดว ยกฎหมาย ขอใหศาลปกครองพพิ ากษาโดยกําหนดคําบงั คบั ใหเพิกถอนพระราชกฤษฎีกาท้ังสองฉบบั ดังกลา ว ศาลปกครองสูงสุดกาํ หนดคาํ บังคบั ใหเพิกถอนพระราชกฤษฎีกากาํ หนดอํานาจ สิทธิและประโยชนของบริษัท กฟผ. จํากดั (มหาชน) พ.ศ. 2548 และพระราชกฤษฎีกากําหนดเง่ือนเวลาการยกเลิกกฎหมายวา ดวยการไฟฟาแหงประเทศไทย พ.ศ. 2548 ตั้งแตว ันท่ี 24 มถิ ุนายน 2548 ซงึ่ เปนวันใชบงั คบั ของพระราชกฤษฎีกาทง้ั สองฉบับ จะเหน็ ไดวา ศาลปกครอง มิไดกาํ หนดคาํ บงั คบั เกินขอบเขตของมาตรา 72 แหง พระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองฯ กลาวคอื ขอบเขตดา นเน้อื หา ก็ไดก าํ หนดใหเพิกถอนพระราชกฤษฎีกาท้งั สองฉบบั ตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (1) แลว แตการที่ศาลปกครองมีเคร่อื งมอื เพียงอยา งเดียวในการกําหนดผลดา นเน้ือของคาํ บงั คบั ใหเพิกถอนเทา นั้น จึงเปนการจํากัดกรอบของศาลในการที่จะแกไข เยียวยาความเดอื ดรอ นเสียหายทเ่ี กิดจากกฎดังกลา วนอยเกินไป หากพิจารณาในเชงิ กฎหมายเปรยี บเทยี บจะเห็นไดว า ศาลปกครองของประเทศฝร่ังเศสก็มีเคร่อื งมอื ในขอบเขตดา นเนอ้ื หา การกาํ หนดคาํ บังคับใหเ พิกถอนกฎเชนเดยี วกันกับ กรณศี าลปกครองของประเทศไทย แตมีความแตกตา งท่ีมีเครอื่ งมือพิเศษ คอื “การวินิจฉัยวา กฎน้ันไมเ คยมีอยเู ลย (acte inexistent) ในกรณีการออกกฎโดยไมม อี ํานาจ” และมเี คร่อื งมืออีกอยางหนึง่ ที่คลายกันกับกรณขี องศาลปกครองไทย คือ การเขียนคาํ แนะนําทา ยคําพพิ ากษา (Directive) ใหฝ า ยปกครองดําเนนิ การตามคําแนะนําในสิ่งท่ถี ูกตองภายหลังจากท่ี กฎถูกเพิกถอนแลว ซ่ึงตรงกับบทบัญญัติมาตรา 69 วรรคหน่ึง (8) แหงแหงพระราชบญั ญัติจัดต้ังศาลปกครองฯ ของประเทศไทย แตหากพิจารณาถึงเคร่ืองมือของศาลปกครองประเทศเยอรมนี ในการกาํ หนดคําบงั คบั ใหเพิกถอนกฎนั้นจะมีขอบเขตดานเน้ือหา ที่กวา งกวากรณีของท้ังสองประเทศที่กลา วมาแลว เนือ่ งจากสามารถกาํ หนดคาํ บังคบั ในดานเน้ือหาใหเปนคุณแกผ ูรอ งไดอีกดวย โดยสามารถกําหนดคําบังคับใหเ กิดผลไดส องวิธี คอื การกําหนดคําบังคับในคําพพิ ากษาแสดงความเปน โมฆะหรอื เสียเปลา ตง้ั แตเร่มิ ตน หรอื การกําหนดคําบังคบั ในคําพิพากษาวากฎน้ันไมสมบรู ณจนกวา ฝายปกครองแกไข ความไมชอบดว ยกฎหมายนั้น ฉะนั้น เมือ่ เครื่องมอื ของศาลปกครองประเทศไทยในการกาํ หนดคําบังคบั กรณี ท่ีมีการฟอ งคดีเก่ียวกับกฎทไ่ี มช อบดว ยกฎหมาย มเี พยี งเครื่องมอื เดียวคือ “การเพิกถอนกฎ” การกําหนดคาํ บงั คบั ของศาลปกครองประเทศไทย ในหลายกรณีจึงมอี ํานาจ กาํ หนดคําบังคบั ใหเพิกถอนกฎเทา น้ัน ไมสามารถกําหนดคาํ บงั คบั ในลักษณะอื่นไดเลย เน่อื งจากศาลปกครองก็มีความผูกพัน ตอหลักความผูกพันตอกฎหมายของฝายตุลาการ และหากจะใชเคร่ืองมือพิเศษในการเขียนคําแนะนําทา ยคาํ พิพากษา (Directive) ใหฝา ยปกครองดาํ เนินการตามคาํ แนะนําในสิ่งทีถ่ ูกตอ ง ภายหลังจากทกี่ ฎถูกเพกิ ถอนแลวตามบทบัญญัติมาตรา 69 วรรคหน่ึง (8) แหงพระราชบัญญัติจัดต้งั ศาลปกครองฯ ก็อาจจะไมมีสภาพบงั คบั ไดเ ชนเดียวกบั คาํ บงั คบั รวมท้ังในหลายกรณีกม็ ีคําแนะนาํ ในลักษณะบงั คบั ใหฝ า ยปกครองตองทําตามดุลพินิจของศาลปกครองอกี ดวย อันอาจจะเปน การท่ีศาลปกครองกระทําการ เปนฝายปกครองได ดังน้ัน การกาํ หนดคําบงั คบั ใหเพิกถอนกฎในคําพิพากษา ศาลปกครองสงู สดุ ที่ ฟ.5/2549 จงึ มีผลกระทบ กบั การดําเนินการในการจดั องคก รของฝายปกครอง ในการจดั ทําบริการสาธารณะที่ไดมีการดาํ เนินการมากอนแลว แมว า ในทางพิจารณาจะไดว า การดําเนินการในการออกกฎของฝายปกครอง อาจมีขอบกพรอ งทีส่ ามารถแกไขไดในช้ันเจาหนา ท่ี ฝา ยปกครองก็ตาม ศาลปกครองของประเทศไทยกไ็ มอ าจกําหนดคําบังคบั ในคําพพิ ากษาวา กฎนั้นไมสมบูรณจนกวา ฝา ยปกครอง แกไ ขความไมชอบดวยกฎหมายได เนอ่ื งจากไมมีบทบัญญัตขิ องกฎหมายใหอ าํ นาจไว การกาํ หนดคาํ บังคบั ดังกลาวน้ีจงึ มี ความยอนแยง ตอหลักความจาํ เปนในการกําหนดคาํ บังคับ ใหมีความเหมาะสมท่ีการบงั คับใชกฎหมายจะตอ งมคี วามชัดเจน แนนอนและตองคุมครองความสจุ รติ ของผทู ี่เชื่อในความคงอยขู องกฎ ตามหลักความม่ันคงของกฎหมาย รวมทง้ั จะตองรักษา ความสมดุลระหวางการท่จี ะแกไขเยียวยาความเดือดรอ นเสียหายใหกับประชาชน กับประโยชนส าธารณะภายใตหลกั ความพอสมควรแกเหตุ เน่อื งจากการเพกิ ถอน คอื แนวทางเดยี วท่ีกฎหมายจาํ กัดอํานาจของศาลปกครองเอาไว

วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็ 124 124 ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 ดงั ท่ีไดกลา วมาแลว วา การเพิกถอนคอื เครอ่ื งมือเดียวที่ศาลปกครองไทยมอี ยูอ ยา งจาํ กัดในขอบเขต ดานเนือ้ หา แตในขอบเขตดานระยะนั้นศาลปกครองของไทยก็มอี ํานาจกําหนดขอบเขตไดทั้งใหมีผลไปในอดตี ใหมีผลในปจจุบัน หรือใหมีผลไปในอนาคต ตามนยั มาตรา 72 วรรคสองแหง พระราชบัญญัติจดั ต้ังศาลปกครองฯ แตในกรณีคาํ พพิ ากษา ศาลปกครองสูงสุดท่ี ฟ.5/2549 ศาลปกครองไดเลือกกําหนดใหผลดานระยะเวลาในการเพิกถอนกฎท้ังสองฉบบั มผี ลไปในอดีต ถึงวันท่ีกฎทัง้ สองฉบับมผี ลใชบังคับ จงึ สง ผลกระทบตอการดําเนินการของเจา หนาท่ีตัง้ แตว ันเริ่มตนดาํ เนินการตาง ๆ จนถึงวันที่ ศาลมีคําพิพากษาใหเพิกถอนในป พ.ศ. 2549 ซ่งึ มรี ะยะเวลาในการดาํ เนินการอยูหลายป เจาหนา ท่ที ่ีเก่ยี วของก็จะตองมี การเตรียมการในการดาํ เนินการกบั กรณีนี้อยา งมาก โดยจะตอ งมีคา ใชจายดานกาํ ลังคนหรือการกอ สรางสง่ิ ตา ง ๆ เพ่ือรองรับ การดาํ เนินการเปนเงินงบประมาณจาํ นวนมหาศาล เน่อื งจากจะตองมีการเปล่ียนแปลงการดําเนินการทงั้ หมด ของการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทยท่ี ถือเปนองคกรของรัฐฝา ยปกครองในรปู แบบรฐั วสิ าหกิจ มาเปนบรษิ ัท กฟผ. จํากัด (มหาชน) ท่ีเปนการดาํ เนินการในรปู องคก รเอกชนภายใตกฎหมายเอกชน การดาํ เนินการกอ นทีจ่ ะมีคาํ พพิ ากษากจ็ ะตองมีการดาํ เนินการ ไปกอนแลวในลักษณะของการมผี ลสมบูรณของกฎจนกวา จะมีการเพิกถอน เนอื่ งจากเจาหนาท่ีก็จะตองเรงดาํ เนินการใหเ กิด ผลสาํ เร็จตามที่รฐั บาลซ่ึงเปนผูกําหนดนโยบายไดวางนโยบายเอาไว เม่อื มีการเพิกถอนยอนหลงั ในลักษณะน้ีเจา หนาที่ก็จะตอง กลบั ไปแกในส่ิงทไ่ี ดดาํ เนินการไปแลวใหกลับไปเปนอยางเดมิ ซ่งึ โดยหลักการทางวทิ ยาศาสตรมนษุ ยไมส ามารถยอนเวลา ไปแกไขในสิง่ ท่ีเคยทาํ มาแลวในอดตี ได การเพิกถอนยอ นหลังในกรณตี ามคาํ พิพากษาน้ี จึงสงผลกระทบโดยตรงตอ การทํางาน ของเจา หนา ที่รฐั ฝายปกครอง ที่ควรจะตองใชความรูค วามสามารถไปพัฒนาการบริการสาธารณะ ทางดา นพลงั งานไฟฟา ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชน แตตองมาแกไขในสิ่งทม่ี ีการพัฒนาไปแลวใหกลบั ไปสูส่งิ เดมิ ในอดตี ซ่งึ การทจี่ ะทาํ ให กลับไปเปนอยางเดิมอยา งแทจริงเปนไปไดยากมาก หากพิจารณาเปรยี บเทียบกบั กรณขี องประเทศฝร่ังเศสจะเห็นวา กอนป พ.ศ. 2547 หากศาลปกครองของประเทศฝรงั่ เศสเห็นวากฎไมช อบดวยกฎหมายก็จะกาํ หนดคําบงั คบั ใหเพิกถอน กฎน้ันเสมอ โดยเปนการเคารพตอหลักความชอบดวยกฎหมายอันเปน หลักการยอยทีส่ ําคญั ของหลกั นิตริ ัฐ แตนับต้ังแตป  พ.ศ. 2547 เปนตนมา ศาลปกครองของประเทศฝรงั่ เศสไดปรับเปล่ียนแนวคําวินิจฉยั เดิม ท่เี คยถือเครงครัดวาจะตอ งเพิกถอน โดยใหมีผลยอนหลังเสมอ เปนใหมีขอยกเวนไดใ นกรณีที่การเพิกถอนนติ ิกรรมทางปกครอง โดยใหมีผลยอนหลังน้ันจะสงผลกระทบ ทรี่ ุนแรงเกินขนาดอยางชัดเจน และกอใหเกิดผลที่ตามมาซงึ่ ไมไดสัดสว นกับความไมชอบดวยกฎหมายของนติ กิ รรมทางปกครองน้ัน ในกรณีเชนวา น้ีศาลปกครองอาจเพิกถอนนิติกรรมทางปกครองน้ัน โดยใหก ารเพิกถอนมีผลไปในอนาคตได จึงเห็นไดว า การทจี่ ะกาํ หนดผลใหคําบงั คับมผี ลไปในอดตี ปจจบุ ัน หรอื อนาคต หลักแหง ความไดส ัดสวนเปนหลกั การพ้ืนฐานสําคัญ ท่ศี าลปกครองฝรั่งเศสใชในการกาํ หนดขอบเขต ดา นระยะเวลาของคําบงั คบั ใหเพิกถอนกฎ เมอ่ื นาํ มาพิจารณาเปรียบเทียบ การกําหนดคาํ บังคบั ในขอบเขตดานระยะเวลาของศาลปกครองไทย ในคําพิพากษาดงั กลา วนี้จะเห็นไดวา ศาลปกครองอาจจะ มิไดคํานึงถึงหลักการนี้ โดยคํานงึ ถงึ หลกั ความชอบดว ยกฎหมายเปนสาํ คัญ จงึ เลอื กท่จี ะกําหนดผลดานระยะเวลาของคาํ บังคับ ใหมีผลยอนหลังไปในอดตี ตามกรอบของมาตรา 72 วรรคสองแหงพระราชบัญญัตจิ ัดตงั้ ศาลปกครองฯ ประเด็นปญหาสําคัญ ท่นี าํ ไปสูการกาํ หนดคําบังคบั ทไี่ มมีความเหมาะสมจึงมิใชอยูที่ตัวตุลาการ แตปญหาสําคญั อยทู ่ีการบัญญตั กิ ฎหมายท่ีไมม ีเกณฑ ทช่ี ัดเจนวากรณใี ดทศ่ี าลควรจะกาํ หนดผลใหคาํ บังคบั มีผลไปในอดีต ปจจบุ นั หรืออนาคตตา งหากท่กี อใหเกิดปญหาในลกั ษณะน้ี 1.2 ปญ หาผลของคาํ บงั คบั ที่ศาลปกครองเพิกถอนคําสงั่ ทางปกครอง อาํ นาจในการกาํ หนดผลคําบังคบั กรณพี ิพาท เกี่ยวกับคาํ สั่งทางปกครองของศาลปกครองไทยมีขอบเขต ดา นเนือ้ หาและขอบเขตดานระยะเวลาอยูใ นกรอบของกฎหมายเดยี วกันกับกรณพี พิ าทเกยี่ วกับกฎ กลาวคือ การกําหนดผล ในขอบเขตดานเน้ือหามเี พียงวธิ ีการเดียว คอื การเพิกถอนคาํ ส่ังทางปกครอง สว นการกําหนดผลในขอบเขตดานระยะเวลา มอี ํานาจกาํ หนดขอบเขตไดทง้ั ใหมีผลไปในอดีต ใหมผี ลในปจจบุ ัน หรือใหม ีผลไปในอนาคต ทัง้ นี้ หากพิจารณาเปรียบเทยี บ กับกรณีการกําหนดผลในขอบเขตดา นระยะเวลาการกําหนดคําบังคับใหเพิกถอน ของศาลปกครองประเทศฝรั่งเศสทาํ ใหเห็นไดว า ประเทศไทยมีกฎหมายเก่ียวกับการกาํ หนดใหคําบังคบั มีผลไปในอนาคตไดกอนประเทศฝรง่ั เศส เห็นไดจ ากศาลปกครอง ประเทศฝร่งั เศสไดปรับเปล่ียนแนวคาํ วินิจฉัยเดิม ที่เคยถือเครงครัดวา จะตองเพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลังเสมอ เปนใหมขี อ ยกเวน ไดใ นกรณที ่ีการเพิกถอนมาตรการทางกฎหมายของฝา ยปกครองมีผลไปในอนาคตไดในป พ.ศ. 2547 ภายหลงั จากการประกาศใช พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครอง และวธิ ีพิจารณาคดีปกครองของไทยในป พ.ศ. 2542 และกรณขี องประเทศเยอรมนมี ีลกั ษณะ ของการกาํ หนดผลในขอบเขตดานระยะเวลาที่แตกตา งจากท้งั สองประเทศ คือ หากเปนกรณีคาํ ส่ังทางปกครองที่มีความบกพรอง อยางรุนแรง สามารถกําหนดคําบังคับใหคาํ ส่งั น้นั เปนโมฆะไมมีผลอยา งใด ๆ ในลักษณะของการเพิกถอนยอนหลัง และหากเปนกรณี คาํ ส่ังทางปกครองไมบ กพรองอยางรุนแรงสามารถกาํ หนดคาํ บังคับใหคําสัง่ น้ันเปนโมฆียะ จนกวา จะมีการแกไขใหสมบูรณ

Journal of Roi Et Rajabhat University 125 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตามกฎหมายไดอ ีกดวย เมอื่ พิจารณาจากการกาํ หนดคําบังคับใหเ พิกถอนคาํ สั่งทางปกครอง ในคําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.33/2557 (ประชุมใหญ) ระหวางนายกรัฐมนตรี ท่ี 1 คณะกรรมการพทิ ักษร ะบบคุณธรรม ที่ 2 ผถู ูกฟอ งคดี และนายถวิล เปลี่ยนศรี ผูฟ อ งคดี ในประเด็นขอพิพาทเก่ียวกับการออกคําส่งั โอนยา ยผฟู องคดี จากเลขาธิการสภาความม่ันคงแหงชาติ ใหไปดํารงตาํ แหนง ที่ปรึกษานายกรฐั มนตรีฝายขา ราชการประจํา โดยไมช อบดว ยกฎหมาย ขอใหศาลปกครองพพิ ากษา โดยกําหนดคาํ บงั คบั ใหเพิกถอนคําส่งั โอนยาย และคําวินิจฉยั ของผูถกู ฟองคดที ่ี 2 ทปี่ ระชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มีมติกําหนดคาํ บังคับใหเพิกถอนคาํ สัง่ โอนยา ย โดยใหมีผลยอนหลังไปถงึ วันที่คําสง่ั โอนยา ยมีผลบงั คบั เมื่อพิเคราะหการกําหนดผล ขอบเขตดานเน้ือหาของคาํ บงั คับกรณีนี้ เห็นไดว าศาลปกครองไดก ําหนดผลในกรอบการเพิกถอนเชนเดียวกันกับการเพิกถอนกฎ เนือ่ งจากเปน ขอ จํากัดของกฎหมายตามมาตรา 72 วรรคหน่ึง (1) แหง พระราชบัญญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองฯ แตในสวนของ การกําหนดผลดา นระยะเวลาน้นั ตลุ าการศาลปกครองสูงสุด ฝา ยเสียงขางมากและตลุ าการศาลปกครองสูงสดุ ฝายเสียงขางนอย มีความเห็นแตกตางกัน โดยตุลาการศาลปกครองสูงสุดฝา ยเสียงขางมาก กําหนดคาํ บังคับใหเพิกถอนประกาศสาํ นักนายกรัฐมนตรี เรื่องโอนยา ยผฟู องคดีใหมผี ลยอนหลังไปถงึ วันท่ีประกาศดังกลาวมผี ลใชบังคับ (วันที่ 30 กันยายน 2554) สวนตุลาการ ศาลปกครองสูงสุดฝา ยเสียงขางนอยมคี วามเห็นวา ควรกําหนดคาํ บังคบั ใหเพิกถอนประกาศดงั กลาวมีผลเมอื่ ครบเกา สบิ วัน นับแตวันทีม่ ีคําพิพากษาน้ี กลาวคือตุลาการศาลปกครองสูงสุดฝา ยเสียงขา งมากเห็นควรใหการเพิกถอนมีผลไปในอดีต แตตุลาการ ศาลปกครองสูงสุดฝายเสียงขางนอย เห็นควรใหการเพิกถอนมีผลไปในอนาคต ในการนี้ หากพจิ ารณาภายใตหลักความชอบ ดวยกฎหมายของการกระทาํ ทางตุลาการ จาํ เปนที่จะตองพิจารณาจากบทบัญญัติของกฎหมายทใ่ี หอาํ นาจศาลปกครอง ในการกาํ หนดผลของคาํ บังคับในขอบเขตดา นระยะเวลาตามมาตรา 72 วรรคสองแหงพระราชบญั ญัติจดั ตัง้ ศาลปกครองฯ ท่บี ัญญัติวา “คําบงั คบั ตามวรรคหนึง่ (1) ศาลปกครองมอี าํ นาจกาํ หนดวาจะใหมผี ลยอนหลัง หรอื ไมยอนหลัง หรือมีผลไปใน อนาคตถึงขณะใดขณะหน่งึ ได หรอื จะกําหนดใหมีเงอ่ื นไขอยางใดก็ได ท้ังนี้ ตามความเปนธรรมแหง กรณี” กลา วคือ ศาลปกครอง จะกําหนดผลดานระยะเวลาในขณะใดกไ็ ดทงั้ ใหม ีผลยองหลังไปในอดตี ใหม ีผลในปจจบุ ัน หรือใหม ีผลไปในอนาคตกไ็ ด ความเห็นของตุลาการศาลปกครองสูงสดุ ทั้งสองฝาย จงึ ไมฝ า ฝน ตอหลักความชอบดวยกฎหมายของการกระทาํ ทางตลุ าการ แตก ารกาํ หนดผลในขอบเขตดา นระยะเวลาใดจึงจะมีความเหมาะสม ตามความเปนธรรมแหงกรณีตามความตอนทา ย ของมาตรา 72 วรรคสองดงั กลาว จะตอ งพิจารณาจากความคดิ เห็นภายใตห ลักการทางกฎหมายปกครองที่ศาลปกครอง นาํ มาพิจารณาปรับใชกบั กรณีน้ี ความเห็นของตุลาการศาลปกครองสูงสุดฝา ยเสียงขางมาก คือ “เพื่อเปนการแกไขเยียวยา ความเดือดรอ นเสียหายที่ผฟู องคดไี ดร ับจากประกาศสาํ นักนายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง แตงต้ังขาราชการพลเรอื น ลงวันที่ 30 กันยายน 2554 ท่ีเปนเหตุแหงการฟองคดีนี้ จงึ ใหเพิกถอนประกาศสํานักนายกรฐั มนตรดี ังกลา ว มีผลยอนหลงั ไปถงึ วนั ทีป่ ระกาศดังกลา ว มผี ลใชบงั คับ” เห็นไดว า ตุลาการศาลปกครองสูงสุดฝายเสียงขา งมาก มุงคุมครองสทิ ธิของผฟู องคดีภายใตหลักการกระทํา ทางปกครองตองชอบดว ยกฎหมายเปนสําคัญ และเม่ือพบวา มาตรการทางกฎหมายดงั กลาวนีไ้ มช อบดวยกฎหมายจึงตองมี การเพิกถอนยอนหลงั เสมอ ในลกั ษณะเดียวกันกบั ที่ศาลปกครองของประเทศฝร่งั เศส เคยยดึ ถือหลักการนี้กอ นที่จะมี การปรบั เปล่ียนแนวคาํ วินจิ ฉัยนบั ต้ังแตป พ.ศ. 2547 เปนตน สว นความเห็นของตลุ าการศาลปกครองสูงสุดฝายเสียงขางนอย ไดม คี วามเห็นวา “มาตรา 72 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจดั ตง้ั ศาลปกครองฯ บญั ญัติไวชัดแจง วา ใหเปนอํานาจดลุ พินิจ ของศาลที่จะพจิ ารณาไดเ องวาจะสมควรกาํ หนดใหการเพิกถอน มผี ลยอ นหลงั หรอื ไมยอนหลงั หรือมีผลไปในอนาคตถงึ ขณะใด ขณะหนึ่งก็ได หรอื จะกําหนดใหมีเงอ่ื นไขอยางใดก็ได ทง้ั นี้ ใหศาลคาํ นึงถึงความเปนธรรมแหง กรณี นอกจากนี้ ยังมีหลักกฎหมาย ทวั่ ไปในทางปกครองทสี่ ําคัญอีกประการหนึ่งวา ในการพิจารณาพพิ ากษาคดีปกครองนั้น ศาลปกครองจะตองอํานวยความยตุ ิธรรม ทางปกครองโดยพยายามรักษาดลุ ยภาพ ระหวา งการดูแลรักษาประโยชนส ว นตวั ของผูฟอ งคดีกับผลกระทบท่ีอาจจะมีตอ ประโยชนสาธารณะ และการบริหารราชการแผนดินท่ีรัฐโดยหนวยงานทางปกครองหรือเจา หนา ที่ของรฐั ทีเ่ ปนผถู ูกฟอ งคดี มอี ํานาจหนา ท่ีในการดูแลรักษาอีกดว ย เห็นควรกาํ หนดใหการเพิกถอนประกาศสาํ นักนายกรฐั มนตรดี งั กลา วมผี ลเมอื่ ครบ เกา สบิ วัน นบั แตวันท่ีมีคําพพิ ากษา” เห็นไดว า ตุลาการศาลปกครองสูงสุดฝา ยเสียงขางนอยไดพ ิจารณาในการกาํ หนดผล ของขอบเขตดา นระยะเวลาภายใตหลักแหงความไดสัดสวนท่ีจะตองมีการดลุ ยภาพระหวา งการรักษาประโยชนสวนตัว กบั ประโยชนสาธารณะใหสมดุลกัน ซึง่ การท่ีความเห็นของตุลาการศาลปกครองสูงสุดทงั้ สองฝายที่มีความเห็นแตกตา งกันน้ี ไดช ้ีใหเห็นวา บทบัญญัตมิ าตรา 72 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ ไมม ีหลักเกณฑท ี่จะทาํ ใหศาลปกครอง ไดใชใ นการพจิ ารณาวาจะกําหนดผลในขอบเขตดา นระยะเวลาใดจงึ จะเกิดความเปนธรรมแหง กรณีได

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ 126 126 ปที่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 2. ปญ หาเกี่ยวกับอํานาจของศาลในการกําหนดคําบงั คบั หามกระทําการทีไ่ มครอบคลุมถึงการกระทําที่ไดกระทาํ มากอนที่ศาลจะกาํ หนดคําบงั คับหามกระทําการ การกระทาํ ในท่ีน้ี คือ การเคลอื่ นไหวรา งกายของเจา หนาทรี่ ัฐฝา ยปกครองในการดาํ เนินการตา ง ๆ เพ่ือประโยชน สาธารณะตามกฎหมาย ซ่ึงไมใ ชน ิติกรรมการทางปกครอง เชน การกอสรา งสะพาน ถนน การขุดลอกคลองสาธารณะ หรือทอระบายนาํ้ สาธารณะ การกอสรา งหอ งสุขาสาธารณะ หรอื การกอ สรา งท่ีพักคนโดยสาร เปนตน คาํ ฟองประเภทนี้ ถูกกําหนดไวในมาตรา 9 วรรคหน่ึง (1) แหง พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองฯ ท่บี ญั ญัติวา “คดพี ิพาทเก่ยี วกบั การที่หนวยงาน ทางปกครองหรอื เจาหนาท่ขี องรฐั กระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายไมวาจะเปน...การกระทาํ อ่ืนใด...” ซ่ึงศาลปกครองมอี ํานาจ กําหนดคาํ บังคบั สงั่ หา มการกระทาํ ท้ังหมดหรือบางสว นตามมาตรา 72 วรรคหน่ึง (1) แหงพระราชบัญญตั ิเดียวกัน เมื่อพิจารณา ในเชิงกฎเปรียบเทียบกบั การกาํ หนดคาํ บังคบั ของตา งประเทศจะเห็นไดว า ประเทศเยอรมนีมีประเภทคําบังคบั ในคาํ ฟอง ขอใหเจา หนา ท่ีกระทาํ การ (Leistungsklage) ซึ่งศาลปกครองมอี าํ นาจกําหนดคําบงั คบั ใหเจา หนา ที่ฝา ยปกครองกระทาํ การ หรือละเวนการกระทาํ อยา งหนึ่งอยา งใด หรอื มุงหมายใหล ะเวนที่จะออกคําส่งั ทางปกครองในอนาคตได แตกตา งจากอํานาจ ของศาลปกครองไทย ทใี่ นกรณนี ้ีสามารถกําหนดคาํ บังคบั เพียงสงั่ หามการกระทําเทา นั้น ไมสามารถกําหนดคาํ บังคับใหเจาหนาท่ี กระทาํ การอยางหนึ่งอยางใดไดเลย หากผฟู องคดตี องการใหศาลปกครองไทยกําหนดคาํ บังคับใหเจาหนา ท่ีกระทาํ การ ก็จะตอง มีการฟองเปนคดตี ามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (2) แหงพระราชบญั ญตั ิจัดต้ังศาลปกครองฯ และมีคาํ ขอใหศ าลปกครอง กาํ หนดคํา บังคับสั่งใหเจา หนา ท่ีกระทําการภายในเวลาท่ีศาลปกครองกําหนดตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (2) แหง พระราชบัญญัตเิ ดียวกัน ในการน้ี เมอ่ื พิจารณาจากคําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.394/2550 อนั เปนคดพี ิพาทเก่ียวกบั การที่หนวยงานทางปกครอง กระทําละเมดิ อันเกิดจากการใชอ าํ นาจตามกฎหมาย ในการกอสรา งสะพานทางเดินเทา คอนกรีตเสริมเหล็กปดก้ันท่ีดนิ ของผฟู องคดีมใิ หสามารถใหเ ปนทางขึ้นลงเขาออกระหวางท่ีดินของผูฟ องคดี กับคลองบางใหญอ ันเปนการสรา งภาระใหเกิดข้ึนกบั ประชาชนเกินสมควร ศาลปกครองไดมีคําบังคับหา มผูถูกฟองคดีกอ สรา งสะพานทางเดนิ เทาคอนกรีตเสริมเหลก็ หรือส่ิงกอ สรา ง ใด ๆ บรเิ วณหนาท่ีดินของผูฟอ งคดี และใหรือ้ ถอนเสาไมหรอื ส่งิ กอสรา งใด ๆ ที่ผถู ูกฟอ งคดีไดทําการกอสรา งสะพานดังกลาว ออกจากบรเิ วณหนาทด่ี ินของผูฟองคดีท้ังสองใหหมด แลวจัดทาํ ใหบ รเิ วณดังกลา วกลบั คืนสสู ภาพเดมิ ภายใน 45 วนั นับแตว ันท่ี ไดมีคาํ พพิ ากษา ซ่งึ กรณีน้เี ปนการฟอ งคดีที่เกี่ยวของกันอยูสองประเด็น คอื การกอสรา งสะพานทางเดินเทา คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือสิ่งกอ สรางใด ๆ ท่ีไมช อบดวยกฎหมายตามมาตรา 9 วรรคหน่ึง (1) และการใชอาํ นาจกระทาํ การกอสรา งดังกลาวกอ ใหเ กิด ความเสยี หายแกผูฟองคดีเกินสมควร อันเปนการกระทาํ ละเมิดตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (3) ซ่ึงศาลปกครองสามารถกําหนด คําบังคบั ใหกระทาํ การ หรอื งดเวนกระทําการไดด วยตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง (3) ท้ังนี้ หากพิจารณาในแงท่ีเปนการฟองคดี กระทาํ การกอสรา งสะพานโดยไมชอบดว ยกฎหมายเทา นั้น ศาลปกครองไทยก็จะสามารถกําหนดคาํ บังคับไดเพียงหา มกระทาํ การกอสรางสะพานเทา น้ันตามมาตรา 72 วรรคหน่งึ (1) ภายใตห ลกั ความผูกพันตอกฎหมายของฝา ยตลุ าการและหลักการ ท่ีหามศาลพิพากษาเกินคาํ ขอ ปญหาทีต่ ามมากค็ ือ ส่ิงทีฝ่ า ยปกครองไดดาํ เนินการกอสรา งไปกอ นท่ีศาลจะมีคาํ บังคับ หา มกระทาํ การจะตอ งดําเนินการแกไขอยางไร เนอ่ื งจากฝา ยปกครองก็ตองผูกพันตามหลกั การกระทําทางปกครอง ตองชอบดวยกฎหมาย เมอ่ื ศาลกําหนดคําบงั คับหามกระทําการ ฝา ยปกครองก็จะตองไมกระทาํ การตอ แตผ ลกระทบที่เกิดจาก การดาํ เนินการกอ สรา งไปกอนท่ีกอใหเกิดความเสยี หาย กบั ประชาชนผูฟองคดียังไมสิ้นสดุ จะมีวิธีการดาํ เนินการอยา งไร กรณีน้ี จงึ เปนปญหาเกย่ี วกบั อํานาจของศาลในการกาํ หนดคําบังคับหามกระทําการทม่ี ีขอจํากัดมากจนเกนิ ไป 3. ปญ หาเก่ียวกับอาํ นาจของศาลในการกาํ หนดคําบังคับใหกระทาํ การทไ่ี มส ามารถกาํ หนดคาํ บังคับใหฝายปกครอง กระทําการออกกฎหรอื คาํ ส่ังท่ีเปนคณุ ใหแกผฟู องคดไี ด การทศ่ี าลปกครองจะกาํ หนดคาํ บังคบั ใหกระทําการได จะตอ งเปนกรณกี ารฟองคดีเก่ียวกบั การท่ีหนวยงาน ทางปกครองหรอื เจาหนาท่ีของรฐั ละเลยตอหนา ท่ีตามกฎหมาย หรือปฏิบตั หิ นา ท่ีลา ชา เกินสมควรตามมาตรา 9 วรรคหน่งึ (2) แหงพระราชบัญญัตจิ ัดต้ังศาลปกครองฯ ซึ่งในกรณีของประเทศฝร่งั เศสมีกรณที ี่ศาลปกครองสามารถกาํ หนดคําบงั คบั ใหกระทําการ ไดใ นกรณีของคําฟองขอใหเพิกถอนนิติกรรมทางปกครองของฝา ยปกครอง ศาลปกครองอาจกาํ หนดคําบังคบั ส่ังการ ใหองคก ร เจา หนาที่ฝา ยปกครองกระทาํ การอยา งหนึ่งอยางใดภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนดได ในกรณีที่ศาลปกครองส่ังเพิกถอนคําสั่งทางปกครอง ขององคก รเจา หนาทีฝ่ ายปกครองซ่ึงปฏิเสธคาํ ขอของโจทก และปรากฏขอเทจ็ จรงิ วา องคกรเจาหนาทฝี่ ายปกครองผูกพัน ทจี่ ะตอ งออกคาํ สั่งอนุญาตใหแกโจทก สว นในกรณีที่ฝายปกครองมีดลุ พินิจ ศาลปกครองจะกําหนดคําบงั คบั ส่ังการใหองคกร เจาหนา ท่ีฝายปกครอง ดําเนินกระบวนพิจารณาดงั กลา วภายในระยะเวลาที่กาํ หนด กรณปี ระการหลงั น้ีเปนกรณที ่ียงั ไมปรากฏ แนชัดวาองคกรเจาหนาทีฝ่ า ยปกครอง จะตอ งออกคําสั่งทางปกครองใหโจทกหรือไม และเมื่อพิจารณาถึงกรณขี องประเทศเยอรมนี

Journal of Roi Et Rajabhat University 127 Volume 14 No.3 September - December 2020 คําฟองขอใหเจาหนาท่ีออกคาํ ส่งั ทางปกครอง (Verpflichtung-sklage) จะมีลักษณะพิเศษที่ศาลปกครองสามารถกาํ หนดคําบงั คับ ส่งั ใหเจาหนา ท่ฝี ายปกครองออกคําส่ังทางปกครองใหแ กผูฟองคดไี ด ในกรณที ่ีเจา หนาทฝี่ ายปกครองปฏเิ สธหรอื ละเลยไมอ อก คําสง่ั ทางปกครองตามกฎหมายแกผูฟอ งคดี จากการพิจารณาในเชิงกฎหมายเปรยี บเทียบ จึงเห็นไดว าอาํ นาจศาลปกครองไทย ในการกาํ หนดคาํ บังคบั ในกรณีนี้ อาจมีขอ จาํ กัดมากกวาทง้ั สองประเทศท่ีกลา วมาในตอนตน เมอ่ื พิจารณาจากแนวคาํ พิพากษา ศาลปกครองสูงสุด ท่ี อ.1401/2559 อันเปนกรณพี ิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรอื เจาหนาท่ขี องรัฐละเลยตอ หนาท่ี ตามที่กฎหมายกาํ หนดใหตอ งปฏบิ ตั ิในการพิจารณาคาํ ขออนุญาตทําไมหวงหาม (ไมสัก) โดยศาลปกครองไดกําหนดคาํ บังคับ ใหผถู ูกฟองคดดี ําเนินการพิจารณาคาํ ขออนุญาตทาํ ไม ของผูฟองคดีตามกฎหมายและระเบยี บท่ีเก่ียวขอ งตอ ไป เห็นไดว า เปนขอพิพาทเกี่ยวการอนุญาตทาํ ไม ท่ีมลี ักษณะเปนคําสง่ั ทางปกครอง ความประสงคท ี่แทจริงของผูฟอ งคดีจึงตอ งการการอนุญาต มิใชการใหฝา ยปกครองพิจารณาการอนุญาตตามกฎหมายและระเบียบทเ่ี กี่ยวขอ ง เน่ืองจากเมื่อฝายปกครองไปดาํ เนินการพิจารณา ตามที่ศาลปกครองกําหนดคาํ บังคบั แลวอาจจะอนญุ าตหรือไมอนญุ าตกไ็ ด ทาํ ใหเกิดเปนประเด็นท่ีวา ชนะคดีในช้ันศาล แตไ มไดร ับประโยชนท ี่แทจรงิ จากคําพิพากษา เนือ่ งจากเปนขอจํากัดของบทบัญญัติมาตรา 72 วรรคหนง่ึ (2) ทกี่ ําหนดให ศาลปกครองไทยมอี ํานาจกําหนดคาํ บงั คบั ใหฝ า ยปกครองกระทําการภายในเวลาท่ีกาํ หนดไดเทาน้ัน ไมอาจกาํ หนดคาํ บังคับ ใหฝา ยปกครองกระทําการที่เปนคุณแกผฟู องคดไี ด ฉะนั้น เม่ือฝายปกครองไปดาํ เนินการตามคาํ พพิ ากษาท่ีศาลปกครอง ไดกําหนดคาํ บังคบั ใหกระทาํ การพิจารณาคําขออนุญาต แลว มีคําสั่งไมอนุญาตตามทผี่ ูฟองคดี มีคาํ ขอผูฟองคดีที่ชนะคดีดงั กลา ว ก็จะตองนาํ คาํ สง่ั ไมอนุญาตมาฟองเปนคดีพพิ าท เกี่ยวกับการออกคาํ สัง่ ทีไ่ มชอบดวยกฎหมาย เพือ่ เพิกถอนคําส่ังไมอนุญาต เปนคดใี หมอ ีกหน่ึงคดี ซึง่ เปนการเพ่ิมปริมาณคดีตอ ศาลปกครอง และเปนการช้ใี หเหน็ ไดชัดวาคําบังคบั ใหกระทาํ การ ไมสามารถแกไ ขเยียวยาความเดือดรอ นเสียหาย ใหแ กผูฟองคดีไดต ามวัตถุประสงคของผฟู อ งคดี 4. ปญ หาการกาํ หนดคาํ บังคบั ที่ไมชดั เจนหรอื ไมอ าจปฏบิ ตั ิได การกาํ หนดคําบังคับตองดุลยภาพระหวา งการท่ีจะแกไ ขเยียวความเดือดรอ นใหแกประชาชนกับประโยชนสาธารณะ จึงจาํ เปนทศ่ี าลปกครองจะตองกําหนดคาํ บงั คบั ใหมีความเหมาะสมชดั เจนทาํ ใหฝา ยปกครองสามารถปฏิบัตติ ามคาํ บังคบั เพ่ือแกไขเยียวความเดือดรอนใหกับประชาชนได แตม ีหลายกรณีท่ีคําบังคับไมสามารถเปนเคร่อื งมือในการแกไขความเดือดรอน ใหกับประชาชนได และกอใหเกิดปญหาในการปฏบิ ตั ิใหสอดคลองกับผลของคําพิพากษาโดยฝา ยปกครองอีกดว ย จากการศกึ ษา พบวา คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.275/2557 กรณีการฟองคดพี ิพาทเก่ียวกับการท่ีหนว ยงานปกครอง (เจาพนักงาน ที่ดิน) ละเลยตอ หนาทีต่ ามกฎหมายกาํ หนดใหตองปฏบิ ตั ิ หรือปฏิบตั หิ นาที่ดังกลา วลา ชาเกินสมควร ซึ่งมสี าเหตุมาจาก มีขอ สงสัยวาทีด่ ินท่ีขอออกโฉนดอยูใ นที่สาธารณะประโยชนหรอื ไม และจะตองมีการตรวจสอบใหชดั เจนกอ นจึงจะสามารถ ออกโฉนดได โดยศาลปกครองไดพิพากษาและกาํ หนดคาํ บังคับ ใหสาํ นักงานทดี่ ินจังหวัดดาํ เนินการออกโฉนดทดี่ ินใหแก ผฟู องคดตี อไปตามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่กาํ หนดไวในประมวลกฎหมายท่ีดิน กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวขอ ง ทั้งน้ี ภายใน หกสิบวันนับแตว ันท่ีศาลมีคําพพิ ากษา หากพิจารณาในทางปฏิบตั ิหนาทข่ี องฝา ยปกครองผูท่ีจะส่งั การใหฝายปกครองปฏบิ ตั ิ หนา ทีต่ ามกฎหมายในท่ีน้ีก็คือรัฐมนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย การกําหนดคาํ บังคับในกรณีจงึ เปนการฝาฝนหลักการ แบงแยกอํานาจ โดยศาลปกครองไดส่ังการเสมอื นเปนฝา ยปกครอง ซ่งึ หากฝายปกครองไมสามารถดาํ เนินการตามที่กาํ หนดแลว จะตองมคี วามรับผิดอยางไร และเกดิ ความไมชดั เจนในการทีจ่ ะตองปฏบิ ตั ใิ หสอดคลอ งกับคําพพิ ากษา เน่อื งจากคําบงั คบั ตอ งมีความเหมาะสมชัดเจน ที่จะสามารถแกไ ขเยียวยาความเดือดรอนใหกับประชาชนไดอ ยางแทจริง ในกรณีนี้เปนการกาํ หนด คําบังคบั ในลักษณะบอกกลา วใหท ราบวา ผูฟอ งคดี มสี ิทธิทีจ่ ะไดร บั โฉนดแตจ ะตอ งใหเจา หนา ที่ไปดาํ เนินการตรวจสอบ ตามอํานาจหนาที่กอ น ซึง่ ก็ยงั ไมท ราบแนช ดั วาที่ดินดังกลาวอยูในท่สี าธารณะประโยชนห รอื ไม และในทางปฏบิ ัตหิ ากเจาหนาท่ี ไดไ ปดาํ เนินการตามอํานาจหนา ทต่ี ามท่ีกฎหมายท่ีเกี่ยวของกาํ หนดแลว พบวาท่ีดินทัง้ แปลงอยใู นทสี่ าธารณะประโยชน การชนะคดีตามคาํ พิพากษาของผูฟองคดีก็จะไมส ามารถที่จะไดรบั จะประโยชนท ่ีแทจริงตามความประสงคของผฟู องเลย และคาํ พิพากษาศาลปกครองกลางที่ 754/2556 โดยศาลไดพ ิพากษาโดยมีคาํ บังคับวาเหน็ สมควรทีจ่ ะตอ งใหทําการเยียวยา ความเสยี หายในสวนน้ี โดยใหกรมทางหลวงและกระทรวงคมนาคมนาํ ตนไมช นิด ประเภท และขนาดเดียวกันหรอื ใกลเคียงกัน ในจํานวนที่เทา กันกับตนไมที่ถูกตัดโคนไปแลว ตามบัญชีทไ่ี ดมีการสํารวจและบันทึกไวเมอื่ วันท่ี 14 ธ.ค. 2552 ไปปลกู ทดแทน ตามแนวถนนท่ีทําการขยายโดยใหเร่ิมดําเนินการภายใน 60 วัน นับแตวันทีค่ ําพิพากษาถึงท่สี ดุ เพ่ือใหมีสภาพใกลเคยี งกับของเดิม ใหมากทสี่ ุด หากพิจารณาในทางปฏิบตั แิ ลวการท่ีจะพิจารณานําตนไมชนิด ประเภท และขนาดใด มาปลกู น้ันเปนดลุ พินิจ ของฝายปกครอง และเปน การยากอยา งมากหรือเปนไปไมไดอยา งแนนอน ทจ่ี ะนําตองไมข นาดเดียวกันหรือใกลเคียงกัน

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด 128 128 ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ในจํานวนที่เทากันกบั ตน ไมทีถ่ ูกตดั โคน ไปแลว มาปลูกทดแทนภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนดในคําบังคับ ฉะนั้น การกําหนดคาํ บังคบั จึงมีความจําเปนท่ีจะตอ งกําหนดคําบังคบั ใหมีความชัดเจน เพ่ือใหฝา ยท่จี ะตองปฏิบตั ิตามคาํ พิพากษาปฏิบัติไดอยางเหมาะสมตอไป สรุปผล คาํ บังคับ คอื ขอ ความในคําพิพากษาของศาลปกครองท่ีกฎหมายกําหนดใหอํานาจแกศาลปกครองในการบังคบั ใหคูกรณฝี า ยท่ีแพคดตี ามคาํ พพิ ากษาตองปฏิบัตติ าม เพื่อแกไขเยียวยาความเดือดรอ นหรือเสียหายใหแกค ูกรณฝี ายท่ชี นะคดี โดยถือเปนรายการหน่ึงในคาํ พิพากษาของศาล ซ่งึ ถามกี ็ตองกาํ หนดเอาไวในคาํ พิพากษาน้ันดว ย การกาํ หนดคาํ บังคับจะตอง สอดคลองกบั ประเภทคดี จึงเปนขอจํากดั อาํ นาจของศาลปกครองในการที่จะกาํ หนดคําบังคบั ในลักษณะอ่ืน เพอื่ แกไขเยียวยา ความเดอื ดรอนเสียหายใหแกผ ฟู องคดี โดยเฉพาะกรณีการฟอ งคดีเก่ียวกับนติ ิกรรมทางปกครองทไ่ี มชอบดวยกฎหมาย ศาลปกครองก็จะมีเพียงอํานาจกาํ หนดคาํ บังคบั เพิกถอนนิติกรรมทางปกครองที่ไมชอบดว ยกฎหมายเทา น้ัน ในสวนของ การกําหนดผลดา นระยะเวลาการเพกิ ถอน ก็เปนอํานาจดลุ พินิจของศาลปกครองที่ยงั ไมมีหลักเกณฑในการพิจารณา วากรณใี ด ควรกาํ หนดใหการเพิกถอนมีผลยอนหลัง หรือมีผลในปจจุบันหรือมีผลไปในอนาคต ในกรณีการกําหนดคําบังคับหา มกระทําการ ก็ไมมอี าํ นาจกําหนดคาํ บงั คบั ใหฝ ายปกครอง แกไ ขการกระทาํ ท่ีเกิดข้นึ กอ นที่ศาลจะกาํ หนดคําบงั คับหา มกระทาํ การได รวมทั้ง การกาํ หนดคําบังคับใหกระทําการภายในเวลาที่ศาลปกครองกาํ หนด ก็ไมสามารถกําหนดคาํ บงั คบั ใหฝายปกครองกระทําการ ท่ีเปนคณุ ตามวัตถุประสงคของผฟู องคดไี ด ขอ เสนอแนะ ตามที่ไดศึกษาการกําหนดคาํ บังคับในคดปี กครองของไทยเปรยี บเทียบกบั กรณีการกําหนดคาํ บังคบั ในคดีปกครอง ของประเทศฝรั่งเศสและประเยอรมนี โดยทําการศกึ ษาจากแนวคาํ พิพากษาศาลปกครองของไทยภายใตข อ ความคิดทั่วไป เก่ียวกบั วธิ ีพิจารณาคดีปกครอง และขอความคิดเกย่ี วกับความจําเปนในการกําหนดคาํ บังคบั ใหมีความเหมาะสมจากสภาพปญหา ทไ่ี ดกลา วมาแลว ตอนตน ดงั นั้น เพือ่ การแกไขปญหาดังกลา วจึงมขี อเสนอแนะเพ่ือการนาํ ไปใช และขอเสนอแนะในการทาํ วิจยั คร้ังตอ ดังน้ี 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 ใหม ีการแกไ ขเพิ่มเติมมาตรา 72 แหงพระราชบญั ญัติจัดตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 โดยกาํ หนดใหมีบทบัญญัติ ดังน้ี “มาตรา 72 ในการพิพากษาคดี ศาลปกครองมอี าํ นาจกําหนดคาํ บงั คบั อยา งหนึ่งอยางใด ดงั ตอไปน้ี 1) สง่ั ใหเพิกถอนกฎหรอื คาํ สั่งหรือส่ังหา มการกระทาํ ท้ังหมดหรอื บางสวนหรอื สัง่ ใหกระทําการเพ่ือแกไข เยียวยาการกระทาํ กอ นท่ีจะมีคําบังคบั หามการกระทาํ ในกรณที ่มี ีการฟองวาหนวยงานทางปกครองหรอื เจาหนา ที่ของรัฐ กระทาํ การโดยไมชอบดวยกฎหมายตามมาตรา 9 วรรคหน่งึ (1) ทัง้ น้ี ในกรณีการกาํ หนดคาํ บงั คบั ส่ังใหเพิกถอนกฎหรอื คาํ ส่ัง ท่ีหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ขี องรัฐ มีความผูกพันตามกฎหมายที่จะตองออกกฎหรือคําสง่ั ใหมแทนกฎหรือคําสั่ง ทีถ่ ูกเพิกถอน ใหศาลปกครองกําหนดคาํ บังคบั สัง่ ใหหนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนาที่ของรฐั ออกกฎหรอื คําส่งั ใหมแทนกฎ หรือคาํ สั่งท่ถี กู เพิกถอนแกผ ูฟอ งคดี เฉพาะกรณีที่หนวยงานทางปกครองหรอื เจา หนาท่ีของรฐั ไมมอี ํานาจดลุ พินิจ หากเปนกรณที ่ี หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาทข่ี องรัฐยงั คงมดี ลุ พินิจ ใหศาลปกครองกําหนดคําบังคบั ใหหนวยงานทางปกครองหรือเจา หนาท่ี ของรัฐพิจารณาออกกฎหรือคาํ ส่ังใหมภายในระยะเวลาท่ีศาลปกครองกาํ หนด โดยคาํ นึงถงึ ความเห็นในทางกฎหมายของศาล ทีป่ รากฏในคาํ พิพากษาดวย 2) สัง่ ใหหัวหนาหนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ท่ขี องรัฐท่ีเกย่ี วขอ งปฏิบัติตามหนา ท่ีภายในเวลาที่ ศาลปกครองกาํ หนด ในกรณที ี่มีการฟองวาหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนา ท่ขี องรัฐ ละเลยตอ หนาทีห่ รือปฏบิ ัติหนา ท่ีลา ชา เกนิ สมควร ท้งั นี้ ในกรณีทีม่ ีการฟองวา หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรฐั ละเลยตอ หนาที่ หรอื ปฏิบัติหนา ท่ีลาชา เกินสมควรในการออกกฎหรอื คาํ สั่ง ใหศ าลปกครองกาํ หนดคาํ บังคบั สง่ั ใหหนว ยงานทางปกครองหรือเจาหนาทขี่ องรฐั ออกกฎ หรอื คาํ ส่ังใหแกผูฟองคดี เฉพาะกรณที ่หี นวยงานทางปกครองหรือเจา หนาท่ีของรฐั ไมมอี ํานาจดุลพินิจ หากเปนกรณีที่หนวยงาน ทางปกครองหรือเจาหนาทีข่ องรัฐยังคงมีดุลพินิจ ใหศ าลปกครองกําหนดคําบังคบั ใหหนว ยงานทางปกครองหรอื เจาหนา ท่ีของรฐั พจิ ารณาออกกฎหรอื คาํ ส่ังภายในระยะเวลาท่ีศาลปกครองกาํ หนด โดยคาํ นึงถงึ ความเห็นในทางกฎหมายของศาลท่ีปรากฏ ในคาํ พพิ ากษาดว ย

Journal of Roi Et Rajabhat University 129 Volume 14 No.3 September - December 2020 3) ส่งั ใหใชเงนิ หรือใหส ง มอบทรัพยสินหรอื ใหกระทําการหรืองดเวนกระทําการ โดยจะกําหนดระยะเวลา และเงอ่ื นไขอ่ืน ๆ ไวดว ยก็ได ในกรณที ่ีมีการฟองเกย่ี วกบั การกระทําละเมิดหรือความรบั ผิดของหนว ยงานทางปกครอง หรือเจา หนา ท่ีของรัฐ หรือการฟอ งเก่ียวกับสญั ญาทางปกครอง 4) ส่ังใหถอื ปฏิบัตติ อ สทิ ธิหรอื หนา ทขี่ องบุคคลท่ีเกยี่ วของ ในกรณที ี่มีการฟองใหศาลมีคาํ พิพากษา แสดงความเปนอยูข องสิทธิหรือหนาที่นั้น 5) สั่งใหบุคคลกระทําหรือละเวนกระทาํ อยา งหนง่ึ อยางใดเพอ่ื ใหเ ปนไปตามกฎหมาย ในกรณีที่มีคาํ บังคับตามวรรคหนง่ึ (1) ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดวา จะใหมีผลยอ นหลังหรือไมยอนหลัง หรือมีผลไปในอนาคตถึงขณะใดขณะหน่งึ ได หรอื จะกําหนดใหม เี ง่ือนไขอยา งใดกไ็ ด ในกรณที ี่การเพิกถอนกฎหรือคาํ ส่ังใหม ผี ล ยอนหลังนั้น จะสง ผลกระทบที่รุนแรงเกินขนาดอยา งชัดเจน ทั้งตอ ประโยชนสาธารณะและประโยชนส ว นตัวของบุคคล และกอใหเกิดผลตามมา ซึ่งไมไดส ัดสวนกับความไมชอบดวยกฎหมายของกฎหรอื คําสงั่ น้ัน ใหศาลปกครองกาํ หนดผลให การเพิกถอนกฎหรอื คําส่ังนั้น มีผลในวันท่ีศาลมีคาํ พิพากษาหรอื ใหมผี ลไปในอนาคตเทาน้ัน ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาํ พิพากษาถงึ ทส่ี ุดใหเพิกถอนกฎ ใหม ีการประกาศผลแหงคําพพิ ากษาดังกลา ว ในราชกิจจานุเบกษา และใหการประกาศดงั กลาวมีผลเปนการเพิกถอนกฎน้ัน” 1.2 ใหจัดตง้ั คณะกรรมการวินิจฉัยขอ พิพาทเกี่ยวกบั การปฏิบตั ิใหสอดคลองกับผลของคําพพิ ากษาเพ่ือทาํ หนา ท่ี วนิ ิจฉัยชีข้ าดปญ หา ที่ไมสามารถปฏบิ ัตติ ามคาํ บงั คบั ในคาํ พิพากษาของศาลปกครอง 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจัยครั้งตอ ไป 2.1 ในการพิพากษาคดขี องศาลปกครองนอกจากจะมีคาํ บังคบั เปนองคประกอบหนึ่งทีส่ าํ คญั ในการส่งั การ ใหฝา ยปกครองดาํ เนินการตาง ๆ เพ่ือแกไขเยยี วยาความเดอื ดรอ นใหแกผูฟองคดี ยังมีขอสงั เกตเก่ียวกับแนวทาง หรือวิธีการ ดาํ เนนิ การใหเปนไปตามคาํ พิพากษาที่ศาลปกครองใชในการเสนอแนะแนวทาง หรือวธิ ีการใหฝายปกครองสามารถดาํ เนินการ ใหเปนไปตามคําบังคับในคาํ พิพากษาไดอ ยา งเหมาะสม แตมีหลายกรณที ่ีศาลมขี อสงั เกตเกีย่ วกบั แนวทาง หรือวิธีการดําเนินการ ใหเปนไปตามคําพพิ ากษาที่มลี ักษณะเปนการบังคบั ใหฝายปกครอง ตองดาํ เนินการตามขอ สงั เกตของศาลจนมลี ักษณะใกลเคยี ง กบั คําบงั คบั ฉะนั้น จงึ ควรทจี่ ะทําการศึกษาวิจัยถึงขอบเขตของขอ สังเกตเกี่ยวกับแนวทาง หรอื วิธีการดาํ เนินการใหเ ปนไปตาม คําพิพากษาตอ ไป 2.2 เมอ่ื ศาลปกครองมไี ดมีคาํ พิพากษาโดยกําหนดคําบงั คับแลว การปฏิบตั ิตามคาํ บงั คับของศาลปกครอง โดยฝายปกครองจะเปนอีกกรณหี น่งึ ที่มีความสาํ คญั ซ่ึงมีหลายกรณีท่เี มื่อศาลปกครองมีคําพพิ ากษาแลวฝา ยปกครองไมได ดาํ เนนิ การใหส อดคลอ งกบั ผลของคาํ พพิ ากษา จนทาํ ใหเจา หนาที่ฝา ยปกครองตองมีความรับผิดท้งั ทางวินัยและทางอาญา ฉะนนั้ จงึ ควรทาํ การศึกษาวิจัยถงึ กรณีการปฏิบัตใิ หสอดคลอ งกับผลของคําพิพากษาตอ ไป เอกสารอางอิง ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2558). คําอธบิ ายกฎหมายจัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (พิมพครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สํานกั พมิ พว ิญูชน. นฤมล ขณะรัตน. (2554). ปญ หาการจดั ทาํ คาํ พพิ ากษาและการกาํ หนดคาํ บังคบั ในคดีปกครอง. วิทยานพิ นธ นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ ากฎหมายมหาชน. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. บรรเจดิ สงิ คะเนติ. (2558). หลกั พืน้ ฐานเกี่ยวกับสทิ ธิเสรีภาพและศักดศิ์ รีความเปนมนษุ ย (พมิ พคร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ: วิญชู น. บรรเจิด สงิ คะเนต.ิ (2556). หลักกฎหมายเกี่ยวกบั การควบคุมฝายปกครอง (พมิ พครงั้ ที่ 5). กรงุ เทพฯ: วญิ ูชน. บรรเจดิ สงิ คะเนต.ิ (2547). ความรเู บ้อื งตนเกี่ยวกบั คดีปกครองเยอรมัน. กรงุ เทพฯ: โครงการตําราและวารสารนิติศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. บรรเจดิ สงิ คะเนติ. (2547). หลกั พ้ืนฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนษุ ยตามรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2540. กรงุ เทพฯ: วิญชู น. บวรศักด์ิ อุวรรณโณ. (2530). วิธพี จิ ารณาคดีปกครองในฝรั่งเศส. กรงุ เทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. เพ็ญศรี วงศเสร.ี (2540). หลักทีส่ าํ คญั ในกระบวนวิธพี ิจารณาความในศาลปกครองเยอรมัน. กรงุ เทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา.

130 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 ฤทัย หงสสิริ. (2561). ศาลปกครองและการดาํ เนินคดีในศาลปกครอง (พมิ พคร้ังท่ี 9). กรงุ เทพฯ: สาํ นักอบรมศกึ ษากฎหมาย แหงเนตบิ ัณฑติ ยสภา. วรเจตน ภาครี ตั น. (2554). ประเภทของคาํ ฟองคดีปกครองในกฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครองฝรั่งเศส. วารสารนิตศิ าสตร, 40(2), 263-264. วษิ ณุ วรัญู ปยะศาสตร ไขวพันธุ และ เจตน สถาวรศีลพร. (2551). ตํารากฎหมายปกครองวาดว ยกฎหมายปกครองทั่วไป. กรงุ เทพฯ: โครงการพฒั นาตาํ รานิตศิ าสตรดา นกฎหมายมหาชน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. สคุ นธา ศรภี ริ มย. (2556). การบงั คับคดขี องศาลปกครองฝรง่ั เศส ในรายงานผลโครงการพฒั นาตลุ าการศาลปกครอง ดานสิง่ แวดลอม (Green Judges). กรุงเทพฯ: สาํ นักงานศาลปกครอง. อษุ ณยี  ลีว้ ิไลกุลรัตน. (2551). ผลกระทบของการพิพากษาเพิกถอนกฎโดยใหม ีผลยอ นหลัง : ศึกษาคําพพิ ากษาศาลปกครอง สงู สดุ กรณี กฟผ.. วทิ ยานพิ นธ นิติศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Journal of Roi Et Rajabhat University 131 Volume 14 No.3 September - December 2020 การระงับขอพพิ าทในสัญญาทางปกครองโดยอนญุ าโตตลุ าการ Alternative Dispute Settlement in Administrative Contract through Arbitration เยยี่ ม อรุโณทัยววิ ัฒน1 และ บรรเจดิ สิงคะเนติ2 Received : 21 ก.พ. 2563 Yeam Arunotivivat1 and Banjerd Singkaneti2 Revised : 4 เม.ย. 2563 Accepted : 5 เม.ย. 2563 บทคัดยอ งานวิจัยนี้มวี ตั ถุประสงคเพอื่ ศึกษาเกยี่ วกบั การนําวธิ ีการระงับขอพิพาททางเลือกโดยอนุญาโตตุลาการมาใชระงบั ขอพิพาทในสัญญาทางปกครอง รวมทัง้ ปญหาการใชบ ังคบั พระราชบญั ญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 กบั การระงบั ขอ พิพาท ดังกลา ว เน่ืองจากสญั ญาทางปกครองเปนเครอ่ื งมือของรฐั ในการจดั ทาํ บริการสาธารณะใหบ รรลุผล และมุงคุมครองประโยชน สาธารณะมากกวาประโยชนของเอกชน ดังน้ัน คสู ัญญาฝา ยรฐั จงึ มเี อกสทิ ธิท์ ี่เหนือกวาคูสัญญาฝายเอกชนเสมอแตใ นขณะ ทม่ี าตรา 15 แหง พระราชบญั ญัตดิ งั กลาวไดบ ัญญัตใิ หสัญญาระหวางหนวยงานของรฐั กับเอกชนอาจตกลงใหใ ชวธิ ีการอนญุ าโตตลุ าการ ในการระงบั ขอ พพิ าทได จึงเกดิ ขอโตแยงในประเด็นปญ หาวา การนาํ อนุญาโตตลุ าการมาใชร ะงับขอ พพิ าทในสัญญาทางปกครอง จะขัดกับหลักกฎหมายปกครองหรือไม รวมถึงปญหาเร่ืองความเช่ียวชาญในสัญญาทางปกครองของอนุญาโตตลุ าการ วธิ พี ิจารณา ตลอดจนการคัดคา นและการบงั คับตามคาํ ชขี้ าดของอนุญาโตตุลาการซ่งึ เปนไปในแนวทางเดยี วกบั การระงบั ขอ พิพาทในสัญญา ทางแพง โดยศึกษาเปรยี บเทียบระหวางสัญญาทางปกครองของฝร่งั เศสกบั สัญญาของรฐั ของสหรัฐอเมริกา รวมถึงวิธีการระงบั ขอ พิพาทอันเกิดจากสัญญาเหลา น้ัน เปนเกณฑใ นการวิเคราะหเรื่องการระงบั ขอพิพาทในสัญญาทางปกครองโดย อนุญาโตตุลาการของไทย จากการศึกษา ปรากฏแนวทางการแกไขปญหา ดังนี้ 1) สญั ญาทางปกครองที่จะกําหนดใหใ ชการระงับขอพพิ าท โดยอนญุ าโตตุลาการตอ งผา นความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรี ตามหลักเกณฑและวธิ ีการท่ีกาํ หนดไวในพระราชกฤษฎกี า รวมทั้งใหมีการจัดต้ังคณะกรรมการวินิจฉัยชข้ี าดขอพิพาทเก่ียวกบั สัญญาทางปกครองขึ้น เพื่อเปน ทางเลอื กในการระงบั ขอพิพาท ใหแกคูส ญั ญา 2) ศาลปกครองตอ งเครงครัดกับการตรวจสอบคาํ ชี้ขาดใหเปนไปตามท่ีกฎหมายกาํ หนด คําสาํ คญั : อนุญาโตตุลาการ, สัญญาทางปกครอง, การระงบั ขอ พิพาท Abstract This research is a study of problems regarding the use of an Alternative Dispute Resolution (ADR) through arbitration to settle disputes arising from administrative contracts. The purpose of this research is to study the principles of the dispute resolution in administrative contracts through arbitration, including the problems arising from the enforcement of the Arbitration Act, B.E. 2545 (2002) to the dispute resolution in administrative contracts. An administrative contract is a contract, which has special characteristics focusing on the achievement of providing public service which is a duty of the government, as well as always aiming to protect the public interest over private interest. Therefore, an administrative contract should be enforced so that the public interest shall be served, even though such enforcement would affect the private party. As a result, an administrative contract has a special clause stipulating that the government agency party shall have greater power or privilege than the private party. Nevertheless, Section 15 of the Arbitration Act, B.E. 2545 (2002) 1 นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก คณะนติ ศิ าสตร สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร อเี มล: [email protected] 2 ศาสตราจารยประจําคณะนติ ศิ าสตร สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร 1 Doctoral Student Faculty of Law, National Institute of Development Administration, Email: [email protected] 2 Professor, Faculty of Law, National Institute of Development Administration

132 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 prescribes that in any contract made between a government agency and a private enterprise, regardless of whether it is an administrative contract, the parties may agree to settle any dispute by arbitration. Such arbitration agreements shall bind the parties. This may cause an argument on the issue on whether employing arbitration, which is an alternative dispute resolution in the commercial and business sector, to settle the disputes in the administrative contract, is contrary to the principle of administrative law. Furthermore, there are many problems concerning this matter, such as the arbitrator’s expertise in administrative contract, the arbitral proceedings, including the challenge of arbitral award and the enforcement of arbitral award which currently has the same practice as dispute settlements in the civil contract. This research is a quality research by comparing between French Administrative Contract and U.S. Government Contract, including the dispute resolution arising from administrative contracts, which are the criteria for analyzing of the dispute resolution in administrative contract through arbitration in Thailand. According to the study, there are two resolutions to resolve the problem. Firstly, Section 15 of the Arbitration Act, B.E. 2545 (2002) should be amended by providing the administrative contract which specifies the arbitration method to be used for dispute resolution and must be approved by the Council of Ministers in accordance with the rules and procedures prescribed in the Royal Decree, as well as establishing a dispute resolution committee regarding administrative contracts as an alternative means to settle disputes for both parties. Secondly, the Administrative Court which has the duty to adjudicate disputes in the administrative contracts, the challenge and the enforcement of arbitral awards in an administrative contract, shall be strict in reviewing or examining the awards in accordance with the law. Keywords : Arbitration, Administrative Contract, Dispute Settlement บทนาํ หนาที่หลักทีส่ ําคญั ของรัฐในทางการปกครอง แมวาจะเปนการใชอํานาจตามกฎหมายเพอ่ื ควบคมุ ความสงบเรยี บรอย โดยการออกกฎหรอื คาํ ส่งั เพื่อใชบังคบั กบั ประชาชน แตในอีกทางหน่ึงรฐั ก็มีหนาท่ีในการดแู ลความเปนอยขู องประชาชน ใหสามารถดาํ รงชีวิตอยูไดอยางปกตสิ ุข รวมทงั้ ตอ งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใหดขี ึ้น ในเบื้องแรกรฐั จึงมีหนาท่ีในการจัดทาํ บริการสาธารณะใหแกป ระชาชน ไมวาจะเปนดา นความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส ิน ดา นการศกึ ษาและวฒั นธรรม ดา นการ คมนาคมและขนสง และดานสุขภาพ แตตอ มาดวยการพฒั นาอยา งไมหยุดนง่ิ ของเทคโนโลยีสมัยใหมในดานตา ง ๆ ซึ่งมีผลกระทบ ตอ การเปลี่ยนแปลงของสงั คมไมม ากก็นอย ทาํ ใหลักษณะของการบริการสาธารณะตอ งปรับปรุงเปลีย่ นแปลงใหมีความทันสมัย สอดคลอ งกับส่ิงรอบขา งที่เปลี่ยนแปลงไป แตดว ยขอจํากัดของการบริหารงานภาครัฐ ทั้งในดานงบประมาณ บุคลากร เทคโนโลยี เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช และความซบั ซอนของระบบงาน ซง่ึ แตกตางจากภาคเอกชนทม่ี คี วามคลองตวั ในเรื่องเหลาน้ีมากกวา ทําใหนักลงทุนภาคเอกชนกลายมาเปน ตัวเลือกทีส่ ําคัญ และไดรบั ความสนใจจากรฐั ชกั ชวนใหเขา มารวมลงทุนในบริการสาธารณะ ประเภทตา ง ๆ ของรฐั เพอื่ ใหส ามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ (เย่ียม อรโุ ณทยั ววิ ฒั น, 2558 : 3) “สญั ญาทางปกครอง” จึงเขา มามีบทบาทสาํ คญั ในฐานะทเ่ี ปนขอตกลงรว มการงานกนั ระหวางหนวยงานของรฐั กบั เอกชน เพอ่ื กําหนดสิทธิและหนาทร่ี ะหวางกันของคูสญั ญา แตดวยเหตุทส่ี ัญญาทางปกครองทําขึ้นบนพื้นฐานของความตองการ และความคาดหวังของประชาชนสวนรวม หรือที่เรียกวา เปนประโยชนสาธารณะนนั่ เอง ทาํ ใหในสัญญาดงั กลา วนอกจากจะมี ขอ ตกลงรวมกนั ซ่งึ เปนเจตจํานงในการกําหนดสิทธิหนาที่ระหวางคูสญั ญาแลว ก็ยงั มีอาํ นาจมหาชนแฝงอยูดวย ทาํ ใหสญั ญา ทางปกครองมีความแตกตา งไปจากสญั ญาทางแพง ในระหวางการปฏิบัติการตามสัญญา ส่ิงท่ไี มอาจปฏิเสธไดก็คอื ขอ พพิ าททีอ่ าจเกิดขึ้นและการระงบั ขอ พิพาทน้ัน ในอดีตเราคงไมอ าจปฏเิ สธไดวาการระงับขอ พิพาทเปนอาํ นาจหนาทขี่ ององคกรฝา ยตุลาการ แตตอ มาเมื่อการระงับขอพพิ าท โดยวธิ ีการปกติไมอาจตอบสนองคพู ิพาทได เน่ืองจากการพิจารณาคดีของศาลมีระบบวธิ พี จิ ารณาคดีท่ีเครง ครดั มีความยงุ ยาก ซบั ซอ นทําใหกระบวนการตา ง ๆ ใชเวลานาน เสียคา ใชจายสงู แลว ยังเปนการพจิ ารณาโดยเปด เผยทําใหข อ มลู บางประการ

Journal of Roi Et Rajabhat University 133 Volume 14 No.3 September - December 2020 ของคพู ิพาทอาจรั่วไหลไปสภู ายนอกเปนเหตุใหคพู ิพาทเสียประโยชน การระงบั ขอพิพาททางเลือกจึงเกิดข้ึน โดยในระยะแรก ไดมกี ารนาํ วิธีการนี้มาใชกบั การระงับขอ พิพาททางแพงหรอื ทางธุรกิจการคาเปน หลัก ไมว าจะเปนการเจรจาตอ รอง การไกลเกล่ีย หรือการประนปี ระนอม และการอนุญาโตตลุ าการ เพียงแตสองวิธีแรกเปน วิธีการระงับขอ พพิ าทท่ีไมม ีกฎหมายรับรอง และผล การดาํ เนินการไมมีผลผูกพันใหคูกรณีตอ งปฏิบตั ิตามจึงไมไดร ับความนิยม ดังน้ัน การอนุญาโตตุลาการซึ่งเปน วิธีการระงับขอพิพาท ทางเลือกที่มีกฎหมายรบั รองและผลคาํ ช้ีขาดทผี่ ูกพันคูสัญญาใหตอ งปฏิบตั ติ าม จึงไดรับความนิยมนํามาใชระงบั ขอพพิ าททางแพง หรือทางธุรกจิ การคา การอนญุ าโตตุลาการเปนวิธีการระงบั ขอพิพาททางเลือก ท่ีไดรับความนยิ มในระดับนานาชาตติ ้งั แตอดีตจนปจจบุ ัน กระทั่งมกี ารนําไปจัดทําเปนขอตกลงระหวางประเทศหลายฉบบั เชน The Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Awards หรืออนสุ ญั ญาวา ดว ยการยอมรบั และบังคับตามคาํ ชี้ขาดอนุญาโตตลุ าการตางประเทศ ท่ีรูจักกันในชอ่ื New York Convention 1958 หรือ UNCITRAL Model Law on International Commercial Arbitration หรอื กฎหมายแมแบบ ของสหประชาชาติ วา ดวยการอนุญาโตตุลาการทางพาณิชยระหวา งประเทศ ที่รจู ักกันในชือ่ UNCITRAL Model Law ซ่ึงเปนฉบับ ทใี่ ชบ งั คับอยใู นปจจุบัน และประเทศไทยก็ไดนําขอ ตกลงระหวางประเทศดังกลาว มาอนวุ ัตกิ ารเปนกฎหมายภายในคอื พระราชบัญญัติอนุญาโตตลุ าการ พ.ศ. 2530 และพระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ตามลําดับ สําหรับการระงบั ขอ พิพาทเก่ียวกับสัญญาทางปกครองของประเทศไทยน้ัน กอนที่จะมีการจัดต้งั ศาลปกครอง กฎหมายไทยยังไมมีการแบงแยกสญั ญาทางปกครองออกจากสัญญาทางแพง ดังน้ัน ขอพิพาทที่เกดิ ข้ึนจากสัญญาท่ีมีหนวยงาน ของรัฐเปนคสู ัญญาฝายหนงึ่ กับเอกชน หรือสญั ญาของรัฐ จงึ ถูกพิจารณาในลักษณะเดียวกันกับสัญญาทางแพง และอยูภ ายใต อาํ นาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม ท่ีผา นมาก็มีการกําหนดใหมีการระงบั ขอพพิ าทในสญั ญาเหลานี้ตามหลักเกณฑของ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ตอมาเมอื่ มีการตราพระราชบัญญัตอิ นญุ าโตตุลาการ พ.ศ. 2530 ขึ้นใชบังคบั กระบวนการ ระงบั ขอพพิ าทโดยการอนญุ าโตตุลาการในสัญญาทางแพง ทุกประเภท ก็มาอยูภายใตบังคบั ของพระราชบญั ญัติฉบบั น้ี ตอ มา ไดมีการตราพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ข้ึน โดยในพระราชบัญญัติ ดงั กลา วไดก าํ หนดนิยามความหมายของสญั ญาทางปกครองขึ้นเปนครั้งแรก ทําใหเกิดการแบงแยกสัญญาทางปกครอง และสญั ญาทางแพง ออกจากกนั อยางเด็ดขาด รวมทงั้ ตอมาที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และคณะกรรมการ วนิ ิจฉัยชี้ขาดอาํ นาจหนาที่ระหวางศาล ตางก็มีคําวินิจฉัยยืนยนั หลักการดังกลา ว และชวยวางหลักเกณฑของสัญญาทางปกครอง ใหเดนชดั ขึ้น จนกระทง่ั ในป พ.ศ. 2545 ไดม ีการตราพระราชบัญญตั อิ นุญาโตตลุ าการ พ.ศ. 2545 โดยในมาตรา 15 ของพระราชบัญญัติ ฉบับน้ีกาํ หนดใหสัญญาของรัฐไมว าจะมีลักษณะเปนสัญญาทางปกครองหรือไมก็ตาม สามารถระงับขอพิพาทที่เกิดจากสญั ญานั้น โดยการอนุญาโตตลุ าการ ที่ผานมา การใชว ธิ ีการระงบั ขอพิพาทโดยการอนญุ าโตตุลาการในสัญญาทางปกครองตามบทบัญญัติดงั กลาว คอนขา งประสบปญหา ทง้ั จากการขาดความรูความเขาใจในกฎหมายเกี่ยวกบั สัญญาทางปกครองและกฎหมายอนุญาโตตลุ าการ ของคสู ญั ญา ของผปู ฏิบตั ิหนา ท่ีเปนอนญุ าโตตุลาการ หรือแมกระท่ังศาลผทู ําหนา ที่วินจิ ฉัยขอพพิ าทดังกลาว ทําใหข อ พิพาท เกี่ยวกับสญั ญาทางปกครองถูกพิจารณาไปในลกั ษณะเดียวกันกบั สัญญาทางแพง โดยไมคาํ นึงถงึ หลกั การจดั ทาํ บริการสาธารณะ และประโยชนของประชาชนสว นรวม จึงเปนเหตุใหคณะรฐั มนตรีในหลายรฐั บาลพยายามกาํ หนดกรอบการนาํ วธิ ีการระงบั ขอ พพิ าทเกี่ยวกบั สัญญาทางปกครองโดยการอนญุ าโตตลุ าการ โดยการออกมติคณะรฐั มนตรที เ่ี ก่ียวของกับเรื่องนถ้ี ึง 7 คร้ัง แตค รั้งท่มี ีความสําคัญ คือ 1) มติคณะรฐั มนตรี เม่ือวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2547 เรื่อง การทําสัญญาสัมปทานระหวางรัฐกบั เอกชน 2) มติคณะรฐั มนตรี เมือ่ วันท่ี 28 กรกฎาคม 2552 ใหสัญญาทุกประเภทท่ีหนวยงานของรฐั ทาํ กับเอกชนในไทย หรือตางประเทศ ไมว า จะเปนสัญญาทางปกครองหรอื ไม ไมควรเขียนผูกมัดในสัญญาใหม อบขอพพิ าทใหคณะอนุญาโตตุลาการ เปนผูช ้ีขาด แตหากมปี ญหาหรือความจาํ เปนหรอื เปนขอเรียกรองของคูส ญั ญาอีกฝาย ใหเสนอตอ คณะรฐั มนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เปนราย ๆ ไป และ 3) มติคณะรฐั มนตรี เมือ่ วันท่ี 14 กรกฎาคม 2558 เห็นชอบแกไขมติคณะรฐั มนตรี เมื่อวนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2552 โดยแกไข 2 ประเด็น คือ 1) สัญญาที่ตอ งดาํ เนนิ การตามพระราชบัญญัติการใหเอกชนรวมทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 และ 2) สัญญาสมั ปทานที่หนวยงานของรัฐเปน ผใู หสัมปทาน ไมค วรเขียนผูกมดั ในสัญญาใหมอบขอพิพาทใหอ นุญาโตตลุ าการ

134 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 เปนผูช ี้ขาด แตหากมปี ญหาหรอื ความจาํ เปนหรือเปนขอเรยี กรองของคูสญั ญาอีกฝายหนึง่ ท่ีไมอาจหลีกเล่ียงได ใหเสนอตอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติเปนราย ๆ ไป นอกจากนี้ รฐั บาลโดยกระทรวงยุตธิ รรมก็ยังเคยมีการเสนอใหยกเลิกบทบัญญัติมาตรา 15 แหง พระราชบญั ญัติ อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ดงั กลา วดวย วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ ศึกษาถึงแนวคิดและทฤษฎีพ้ืนฐานเก่ียวกับสัญญาทางปกครองในฐานะเครอ่ื งมือของฝายปกครองในการจัดทาํ บริการสาธารณะ 2. เพือ่ ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั การอนุญาโตตลุ าการในฐานะการระงับขอพิพาททางเลือก 3. เพอื่ ศึกษาถึงหลักการระงับขอ พิพาทในสญั ญาทางปกครองโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ รวมท้งั ปญหาการใชบ ังคับ พระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 กับการระงบั ขอ พิพาทในสญั ญาทางปกครอง 4. เพอื่ ศกึ ษาถึงการกําหนดขอพิพาทตาง ๆ ในสญั ญาทางปกครองวามีขอ พิพาทประเภทใดที่สามารถระงับขอพพิ าทได โดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ ลักษณะเฉพาะของวิธีการอนญุ าโตตุลาการในสัญญาทางปกครอง ตลอดจนคุณสมบัตขิ องผทู าํ หนาท่ี อนุญาโตตุลาการ กระบวนพิจารณาและวินิจฉัย หลักกฎหมายทีอ่ นญุ าโตตุลาการนํามาใช การคดั คาน การยอมรับและบงั คบั ตามคําช้ีขาดของอนุญาโตตลุ าการ ตลอดจนอาํ นาจของศาลในการทบทวนคําชี้ขาดของอนญุ าโตตลุ าการ กรอบแนวคิดและสมมติฐาน จากการศกึ ษาทฤษฎีที่เกี่ยวของกบั สัญญาทางปกครอง พบวา สัญญาทางปกครองเปนเคร่อื งมือของรัฐที่มวี ัตถปุ ระสงค เพือ่ มงุ เนนใหภ ารกิจในการจัดทาํ บริการสาธารณะของรฐั บรรลุผล และมงุ คมุ ครองประโยชนมหาชนหรอื ประโยชนสาธารณะ มากกวาประโยชนของเอกชนเสมอ ดังนั้น สัญญาทางปกครองจงึ ตอ งแฝงดวยอาํ นาจมหาชนเพอื่ ใหการปกปอ งดูแลประโยชน สาธารณะบรรลุผล แมวา จะตอ งกระทบตอสทิ ธิเอกชนคูส ัญญาก็ตาม อันเปนผลใหสญั ญาทางปกครองมีขอ กาํ หนดพิเศษ ใหคสู ัญญาฝายรัฐมีอํานาจหรอื เอกสิทธิเ์ หนือคูสญั ญาฝา ยเอกชน ท่ีมีความแตกตางจากสัญญาทางแพง แตพระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ซ่ึงเปนกฎหมายทต่ี ราขึ้นเพ่อื วัตถุประสงคใ นการกําหนดและสงเสรมิ ใหมีการระงบั ขอ พพิ าท ทางเลือกโดยอนุญาโตตลุ าการในขอพพิ าทเก่ียวกบั สญั ญาทางแพง หรือทางธุรกิจ ซ่ึงมคี วามแตกตางกบั สัญญาทางปกครอง อยางชัดแจง กลบั มีการกาํ หนดรบั รองมาตรา 15 ใหน าํ วิธีการอนุญาโตตุลาการในการระงบั ขอพพิ าทมาใชในสัญญา ทางปกครองได จึงเห็นวา ควรจะมีการวางกฎเกณฑเพ่อื กาํ หนดถึงประเภทของขอกําหนดในสญั ญาทางปกครองท่สี ามารถ ระงบั โดยวิธีอนุญาโตตุลาการ เนื่องจากบรรดาขอพิพาทที่เกิดจากสัญญาทางปกครอง นอกจากจะมีขอพิพาทท่ีเปนเร่ืองเก่ียวกับ การจัดทําบริการสาธารณะโดยตรงแลว ก็ยังมีขอพพิ าทบางประการท่ีมผี ลผูกพันเฉพาะคูสัญญาซ่งึ เปนเร่ืองทางแพง และกาํ หนด ลักษณะเฉพาะของกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ในสัญญาทางปกครองใหแตกตางจากสัญญาทางแพง ทัว่ ไป เชน ที่มาของ อนุญาโตตุลาการที่มีความรูในเร่ืองสัญญาทางปกครองเปนการเฉพาะ อํานาจของอนุญาโตตุลาการ วธิ ีพิจารณา ตลอดจน การคัดคา นคาํ ชี้ขาดและการบงั คบั ตามคาํ ชข้ี าดของอนุญาโตตลุ าการ วิธีดาํ เนินการวิจัย ใชวธิ ีศกึ ษาวิจยั เอกสาร (Documentary Research) เปน หลัก โดยศึกษาวิเคราะหจากเอกสารปฐมภมู ิ (Primary Document) ไดแก รฐั ธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบ ขอ บังคบั คาํ พพิ ากษาของศาลหรือคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาด อาํ นาจหนาทีร่ ะหวา งศาล มติคณะรัฐมนตรี ความเห็นของคณะกรรมการท่สี ําคัญ เชน ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา ตลอดจนเอกสารทุติยภูมิ (Secondary Document) ไดแ ก ตาํ รา บทความทางวิชาการ งานวิจัยและวิทยานิพนธ ทั้งทีต่ พี มิ พ เผยแพรใ นรูปแบบของเอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกสส ารสนเทศ (Internet) ทมี่ เี น้อื หาสาระเก่ยี วของกับประเด็นของการศึกษา เพ่ือใหไดม าซึ่งแนวทางแกไขปญ หาทเี่ หมาะสมกับประเทศไทยตอ ไป

Journal of Roi Et Rajabhat University 135 Volume 14 No.3 September - December 2020 สรปุ ผล ในการศกึ ษาวจิ ัยฉบบั น้ี เปนการศึกษาวิจัยเชิงคณุ ภาพ โดยการศึกษาเปรียบเทียบกบั กฎหมายเกีย่ วกับสัญญา ทางปกครองของประเทศฝรง่ั เศสและสญั ญาของรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงวิธีการระงับขอพพิ าทอันเกดิ จากสญั ญา เหลานั้นเปนเกณฑใ นการวิเคราะห เรื่องการระงับขอพิพาทในสัญญาทางปกครองโดยอนุญาโตตลุ าการในประเทศไทย ดว ยเหตุท่ีสัญญาทางปกครองเปนเครือ่ งมือสาํ คญั ในการจัดทาํ บรกิ ารสาธารณะ อันเปนการใชอาํ นาจโดยแทของรฐั ในการดาํ เนินภารกิจ เพื่อวัตถุประสงคสําคญั คือประโยชนสาธารณะ สัญญาทางปกครองจึงเปนส่ิงที่รฐั มอบอํานาจทางปกครอง บางสว นไปใหแกเอกชนคสู ัญญา เพอื่ ดําเนนิ การรวมกับรัฐหรือแทนรัฐ ดงั ท่ีปรากฏในนิยามของสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา 3 แหง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 บัญญัตวิ า “สญั ญาทางปกครอง” หมายความ รวมถงึ สัญญาทีค่ ูสญั ญาอยางนอ ยฝา ยใดฝายหน่งึ เปนหนว ยงานทางปกครอง หรอื เปน บคุ คลซ่ึงกระทําการแทนรัฐ... ซงึ่ หมายความวา สญั ญาทางปกครองเกิดข้ึนบนพนื้ ฐานความสัมพันธของบุคคลตามกฎหมายมหาชน ไมใชบนพ้ืนฐานความสมั พันธ ของบุคคลบนพ้ืนฐานของกฎหมายเอกชน ดงั น้ัน อํานาจในการตรวจสอบความชอบดว ยกฎหมายของการดาํ เนนิ การตา ง ๆ ตามสัญญาทางปกครองก็ยอ มตอ งเปนรฐั ในสองฐานะ ฐานะท่หี นงึ่ รฐั ซ่งึ เปนผูมอบอํานาจมหาชนไปใหเอกชนไดใชในการเขา รวม จดั ทาํ บริการสาธารณะกับรฐั และฐานะที่สอง รฐั ในฐานะท่ีเปนองคกรฝา ยตลุ าการ ซึง่ มีอาํ นาจหนาท่ีในการอาํ นวยความยุตธิ รรม ใหแกประชาชนและตรวจสอบการใชอ ํานาจรฐั ตามหลักนิตริ ัฐ ในระบบกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส หามมใิ หมีการระงบั ขอ พพิ าทโดยอนุญาโตตุลาการในคดปี กครองประเภทตาง ๆ รวมถงึ ขอพพิ าทอันเกิดจากสัญญาทางปกครองดว ย ในอดีต สภาแหงรฐั เคยมคี วามเห็นวา ในการวินิจฉัยช้ีขาดคดีปกครองไมอาจใชการระงบั ขอพพิ าทโดยการอนุญาโตตุลาการได เพราะเหตุวานิตบิ ุคคลตามกฎหมายมหาชนยอมอยภู ายใตอ าํ นาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ซึ่งตอ มาไดถูกนาํ มาบญั ญตั ิ ในประมวลกฎหมายแพง มาตรา 2060 หามมิใหทําการระงับขอพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการในเรื่องเก่ียวกับขอพิพาทที่หนว ยงาน ของรฐั หรือองคการมหาชนเปนคูกรณี หรือในขอพิพาทใด ๆ เกี่ยวกับกฎระเบียบท่ีเก่ียวของกบั การรักษาความสงบเรียบรอย ของสังคม ซ่งึ เปนการยืนยันหลักการหา มมิใหมีการระงบั ขอพพิ าททางปกครองโดยอนุญาโตตลุ าการดังกลา ว เวนแตจะมีกฎหมาย อนุญาตใหกระทาํ ได (ประสาท พงษส ุวรรณ และคณะ, 2554 : 89-93) ในระบบกฎหมายของประเทศสหรฐั อเมริกา แมวา จะ เรียกสญั ญาท่ีใชเปนเครอ่ื งมอื ในการจัดทําบริการสาธารณะวา “Government Contract” หรือ “สัญญาของรฐั ” ก็ตาม (บริษทั ท่ีปรึกษากฎหมายสากล จาํ กัด, 2546 : 2) แตก ็มีแนวความคดิ และหลักการไปในทํานองเดียวกันกบั สัญญาทางปกครอง ก็เนื่องมาจากไดร บั อทิ ธิพลในเรื่องสญั ญาทางปกครองมาจากประเทศฝร่ังเศส จึงอาจเรยี กไดวาสัญญาของรฐั ในระบบกฎหมาย สหรัฐอเมริกาก็คอื สญั ญาทางปกครองนั่นเอง ในอดีตทผี่ านมา ศาลสงู แหงสหรฐั อเมริกามีแนวความคิดในการปฏิเสธการระงบั ขอ พิพาททางเลือกโดยการอนญุ าโตตุลาการ ดงั เชนกรณขี องพระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการแหงสหรัฐอเมรกิ า ค.ศ. 1925 ซึ่งตราขึ้นต้งั แต ค.ศ. 1925 แตม าไดรบั การยอมรบั ใหมีการระงับขอพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการโดยศาลฎีกาในป ค.ศ. 1965 ก็เนื่องมาจากแนวความคิดท่ีวา การยินยอมใหมีการระงับขอ พิพาททางเลือกอ่ืน ท่ีไมใชกระบวนการยุตธิ รรมของรฐั เปนการขัดตอ หลักอํานาจอธิปไตย ตอ มาแมวา สหรฐั อเมริกาจะยินยอมใหมีการระงับขอพพิ าทโดยการอนุญาโตตลุ าการในสัญญาทางแพงก็ตาม แตในสัญญาทางปกครองซ่ึงไมไดม ีขอ หามในการใชว ิธีการระงบั ขอพพิ าทดังกลาว แตกป็ รากฏขอ จาํ กัดในกฎหมาย โดยคูสญั ญา ฝา ยเอกชนหากประสงคจะใหมขี อ สญั ญาตกลงทีใ่ หใ ชกระบวนการอนุญาโตตุลาการในการระงบั ขอพพิ าทน้ัน จะตองไดร บั ความยินยอมจากเจาหนาท่ผี ูมีอาํ นาจในการทาํ สญั ญา (Contracting Officer) ทีไ่ ดรับแตง ตัง้ จากรฐั สภาสหรฐั เสียกอ น (Keyes, 2004 : 14-18) ในประเด็นดังกลาว ศาลสงู ของประเทศสหรัฐอเมริกาไดว ินจิ ฉัยวางหลักไววา หากไมป รากฏวา มีการมอบอาํ นาจจากรฐั สภาโดยกําหนดเปนกฎหมาย เจาหนาผูมอี าํ นาจทาํ สัญญากไ็ มอาจสรางขอผูกพนั ตอ สหรฐั อเมริกา ในการนาํ กระบวนการอนุญาโตตลุ าการมาใชระงบั ขอ พิพาท สว นในระบบกฎหมายของประเทศไทย มีแนวความคิดในเรื่อง อํานาจรฐั การจดั ทําบริการสาธารณะ และสญั ญาทางปกครองเชนเดยี วกันกับประเทศฝร่ังเศส โดยบทบญั ญัตมิ าตรา 9 วรรคหนงึ่ (4) แหง พระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหคดีพพิ าทเกี่ยวกบั สญั ญาทางปกครองอยูใ นอาํ นาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง แตตอ มาไดมีการตราพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ข้ึนใชบ ังคับ ซ่งึ มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตฉิ บับนี้กําหนดใหส ัญญาทางปกครองสามารถกาํ หนดใหใชอนุญาโตตลุ าการ ในการระงบั ขอพิพาทได แตกลับไมไดม ีการกาํ หนดใหมีหลักเกณฑและวธิ กี ารของอนุญาโตตลุ าการในสญั ญาทางปกครอง ตา งหากจากอนุญาโตตลุ าการในสัญญาทางแพง จึงเปนเหตใุ หเกิดปญ หาในทางพิจารณาเกี่ยวกบั อนุญาโตตลุ าการในสัญญา ทางปกครองขึ้นในปจ จบุ นั

136 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 อภปิ รายผล 1. สัญญาทางปกครองเปนเคร่ืองมือหรอื กลไกทีส่ าํ คัญของรฐั ในการจดั ทาํ บริการสาธารณะเพ่อื ตอบสนอง ความตอ งการของประชาชนสวนรวม หรอื กลาวอีกนัยหนง่ึ ก็คือเพอื่ ประโยชนมหาชน ดงั นน้ั ในสญั ญาทางปกครองคูส ัญญา ฝา ยรฐั จึงมสี ิทธิพิเศษเหนือกวาคูสัญญาฝายเอกชนเสมอ ไมวา จะเปนการออกคําสง่ั หรือใชมาตรการใด ๆ เพ่ือใชบ ังคบั กับเอกชน สิทธิในการแกไขเปล่ียนแปลงสัญญาฝายเดียว หรอื แมกระทั่งสทิ ธิในการเลิกสญั ญาฝายเดียว หรือเรียกไดวา เปน “เอกสิทธิ์ของฝา ยปกครอง” ท้ังน้ี เพราะรัฐดาํ เนินการจัดทาํ “บริการสาธารณะ” โดยอาศัยอาํ นาจมหาชน สวนสญั ญาทางแพง หรือทางธรุ กิจเปนสญั ญาทีท่ าํ ข้ึนระหวางเอกชนกบั เอกชน เพือ่ ประโยชนของปจเจกบุคคล ภายใตหลักความเทาเทียมกัน และหลักเสรีภาพในการทําสัญญา ตราบเทาท่วี ัตถปุ ระสงคแหงสัญญานั้นไมข ดั ตอ บทบัญญัติของกฎหมาย ไมเปนการพนวิสัย หรือขัดตอ ความสงบเรียบรอยหรอื ศีลธรรมอันดขี องประชาชน สัญญานัน้ ก็ยอมมีผลผูกพันคสู ัญญาตามกฎหมาย ซง่ึ สะทอนใหเหน็ ถึงหลกั ความศักดิส์ ทิ ธ์ิในการแสดงเจตนาของเอกชนที่มตี อ กัน และอยูภายใตบงั คบั ของกฎหมายเอกชน จึงเห็นไดว า ลกั ษณะทางกฎหมายของสัญญาท้ังสองประเภท คือ สัญญาทางปกครองกับสัญญาทางแพง มีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ดังนน้ั กฎหมายที่จะนาํ มาปรบั ใชกับขอพิพาทของสัญญาทง้ั สองประเภทก็แตกตา งกันออกไป ซึ่งรวมไปถึงศาลท่มี ีเขตอํานาจ ในการวนิ จิ ฉยั ช้ีขาดขอพพิ าทของสญั ญาท้งั สองประเภทนีก้ ็แยกตางหากจากกันดวย เม่ือศกึ ษาไปถึงหลักทฤษฎีที่เก่ียวกับบรกิ ารสาธารณะจะพบวา แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับบริการสาธารณะท่ไี ดร บั การยอมรับวามีการพัฒนามาอยางเปน ระบบ และเปนทม่ี าของหลักกฎหมายเรอ่ื งสญั ญาทางปกครอง คอื แนวคิดเกี่ยวกบั บริการสาธารณะของประเทศฝรั่งเศส ท่ีเกิดขึ้นมาในระบบกฎหมายปกครองเปนเวลานานกวา รอ ยปแลว โดยบรกิ ารสาธารณะ มีความสาํ คัญในฐานะทเี่ ปนกิจกรรมท่ีเก่ียวขอ งกับประโยชนสาธารณะ ซง่ึ ดําเนินการจัดทาํ โดยนิตบิ ุคคลในกฎหมายมหาชน เชน สว นราชการทง้ั สวนกลาง สว นภมู ิภาค และสวนทอ งถ่ิน รฐั วสิ าหกิจ และองคการมหาชน หรือนิติบุคคลในกฎหมายเอกชน ที่มีหนว ยงานของรัฐเปน ผูกํากับและอยภู ายใตระบบพิเศษ แรกเร่ิมเดมิ ทีการจัดทําบริการสาธารณะในระยะแรก จะเปนเรอ่ื งเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบรอ ยภายใน และภายนอกประเทศ รวมทง้ั การใหประชาชนอยูดีกินดีมสี ขุ แตต อมาเม่อื สังคมขยายใหญขึ้นและเทคโนโลยพี ฒั นาไปไกล ทําใหประชาชนมีความตอ งการในหลาย ๆ สิ่งทีเ่ กี่ยวขอ งกบั การดาํ เนนิ ชวี ิต ซ่ึงในบางกรณฝี า ยปกครองอาจไมมีความพรอม ทจ่ี ะตอบสนองความตองการของประชาชนในสวนนไี้ ด จงึ หาทางออกดว ยวธิ ีการตาง ๆ ไมว าจะเปนการจัดต้งั หนวยงานพิเศษ ข้นึ มาดําเนินการจัดทํา หรืออาจมอบกิจการในหนาทีข่ องตนไปใหเอกชนเปนผจู ัดทาํ แตไมว า บรกิ ารสาธารณะใดจะจัดทาํ ข้ึน โดยฝา ยปกครองเอง หรือมอบหมายใหเ อกชนเปนผูรว มจัดทาํ ก็ตาม เมือ่ การจัดทาํ บริการสาธารณะเปนภารกิจที่ทําขึ้น โดยอาศัยอํานาจมหาชนเพือ่ ดูแลความเปนอยูของประชาชนในรัฐ การกระทําเหลา น้ันจึงตอ งอยภู ายใตหลักเกณฑเดียวกัน คือ หลักวา ดว ยความเสมอภาค หลกั วา ดวยความตอ เนื่อง และหลกั วาดว ยการปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลง ซ่งึ เปนหลักสําคัญ ในทางกฎหมายมหาชน ในการมอบหมายหรือมอบอํานาจของรฐั ไปใหเอกชนเขา รวมดาํ เนินการจัดทาํ บรกิ ารสาธารณะ รัฐหรือฝายปกครอง ก็อยูในฐานะของคูสญั ญาผูมอบอาํ นาจ เอกชนก็อยูในฐานะคูสัญญาผูไดรบั มอบอํานาจจากรัฐ ภายใตเคร่อื งมือท่สี ําคัญในการกําหนด ขอบเขต สิทธิหนาท่ี และความรบั ผิดชอบในภารกิจทไี่ ดร ับมอบหมาย ซ่งึ ก็คอื สัญญาทางปกครอง ดวยเหตุน้ี สญั ญาทางปกครอง จงึ เปนส่ิงแสดงถงึ อํานาจทางปกครองที่รฐั มอบใหแกเอกชนคูสัญญา เพ่อื ดําเนินการรว มกับรัฐหรือแทนรฐั ภายใตกรอบวัตถุประสงค สัญญาดงั กลาวจงึ ต้งั อยูบนพ้ืนฐานความสัมพันธข องบุคคลตามกฎหมายมหาชน ไมใชบนพื้นฐานความสมั พันธของบุคคล บนพื้นฐานของกฎหมายเอกชน เมื่อสัญญาทางปกครองถูกสรางขึ้นมา เพ่ือเปนเครื่องมือกาํ หนดความสัมพันธร ะหวางฝา ยปกครอง กบั เอกชนคสู ัญญาในการจัดทําบริการสาธารณะซงึ่ อยูภายใตกฎหมายมหาชน ดังนั้น หลักกฎหมายที่จะนาํ มาใชกบั สัญญา ทางปกครองจึงอยภู ายใตกฎหมายปกครองเชนเดียวกบั บริการสาธารณะ ซ่ึงลวนเปนหลกั กฎหมายมหาชน ไมวาจะเปนหลกั เกณฑ ดานคสู ัญญาท่ีคสู ญั ญาฝา ยหน่งึ จะตองเปนฝายปกครอง หรอื บุคคลท่ีไดรับมอบหมายใหกระทาํ การแทนรฐั หลักเกณฑดา นวตั ถปุ ระสงค ทีก่ าํ หนดใหส ัญญาทางปกครองจะตอ งทําข้ึนในการบริการสาธารณะ เพอื่ ประโยชนมหาชนเทาน้นั และหลักเกณฑเกี่ยวกับ เอกสทิ ธิห์ รอื สทิ ธิพิเศษของฝา ยปกครอง เม่อื พจิ ารณาตามหลักกฎหมายและแนวคําวินิจฉยั ขององคก รตลุ าการของประเทศฝรง่ั เศสจะเห็นไดวา สญั ญาทางปกครอง ที่ทาํ ขน้ึ มาในปจจุบันสามารถแบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1) สัญญาทางปกครองโดยผลของกฎหมาย ซ่งึ เปนกรณที ่ีมกี ฎหมายกําหนดเอาไวโ ดยชัดแจงวา สัญญาใด เปนสัญญาทางปกครอง แตใ นบางครงั้ ในกฎหมายกไ็ มไดบญั ญตั โิ ดยช้เี ฉพาะวา สัญญาลักษณะใดเปนสัญญาทางปกครอง

Journal of Roi Et Rajabhat University 137 Volume 14 No.3 September - December 2020 หากแตไดบัญญัตใิ หคดที ่เี กี่ยวกบั สัญญานั้น เปนสัญญาที่อยูในเขตอาํ นาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง เชน สญั ญาจัดซอ้ื จัดจา งทุกประเภท ตามกฎหมายวาดว ยการพสั ดุอยใู นอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง 2) สัญญาทางปกครองโดยสภาพ เปนกรณีท่ีมิไดมีบทบญั ญัติใดของกฎหมายกําหนดไวโดยชัดแจงวา ใหสัญญาหนง่ึ สญั ญาใดเปนสัญญาทางปกครอง ดงั นั้น จึงเปนหนาท่ขี องศาลที่จะเปนผวู ินิจฉัยวา สัญญานั้นจะเปนสัญญาทางปกครองหรือไม โดยพิเคราะหถึงสภาพและเน้ือหาสาระของสัญญา หากเห็นวา สญั ญามีความเก่ียวของโดยตรงกับประโยชนสาธารณะหรือประโยชน มหาชน ก็อาจถือไดวาเปน สัญญาทางปกครองโดยสภาพ โดยมีหลักเกณฑในการพิจารณาไมว า จะเปนเกณฑดานคสู ญั ญา เกณฑดา นวัตถุประสงคของสัญญา และเกณฑดา นเนอ้ื หาของสัญญา ซง่ึ เกณฑประการสุดทายน้เี องที่แสดงถึงเอกสทิ ธิ์ หรือสทิ ธิ พิเศษของฝายปกครอง เอกสทิ ธข์ิ องฝายปกครอง หมายถึง ขอกาํ หนดพิเศษที่ไมอ าจพบไดในสัญญาตามกฎหมายเอกชน ซง่ึ แบงออกเปน ขอ สัญญาซ่ึงมลี ักษณะพิเศษประเภททไ่ี มอ าจพบไดใ นนิติสัมพันธระหวางเอกชนตอ เอกชนดวยกัน เน่ืองจากเปนขอ สัญญา ทไี่ มอ ยูในวสิ ัยของคูสญั ญาเอกชนทจี่ ะทาํ ได และขอ สัญญาซง่ึ มลี ักษณะพิเศษประเภทที่กอ ใหเ กิดความไมเสมอภาคกันระหวาง คสู ัญญาฝา ยที่เปนนติ ิบคุ คลมหาชนกับคูสัญญาฝายเอกชน ไมวาจะเปน เอกสทิ ธ์ิในการออกคําสั่งหรอื มาตรการบงั คับทางปกครอง เพ่อื ใชบ งั คบั กบั เอกชน เอกสทิ ธ์ใิ นการแกไขเปล่ียนแปลงหรือยกเลิกสัญญาทางปกครองไดเ พยี งฝายเดยี ว เอกสิทธิ์ในทรัพยสิน ของฝา ยปกครอง นอกจากนี้ กย็ งั มีเอกสทิ ธ์ทิ ี่สาํ คัญยงิ่ อีกประการหนงึ่ คอื เอกสิทธ์ิที่ฝายปกครองไมอ าจสละได หากฝา ยปกครองสละ ศาลจะถอื วาการสละสิทธินั้น ๆ ไมเ ปนผล เชน คดีพพิ าทเก่ียวกับสัญญาทางปกครองซ่ึงตอ งขึ้นศาลปกครอง ฝายปกครอง จะยอมใหนําคดีไปขึ้นศาลยุติธรรมหรอื จะมอบขอพพิ าทใหอ นุญาโตตลุ าการวินิจฉัยชีข้ าดไมได สําหรับประเทศไทยในปจจบุ ันไดรบั เอาแนวความคิด ในการแยกระบบกฎหมายปกครองออกมาเปนเอกเทศ มีการศึกษาถึงหลักกฎหมายบรกิ ารสาธารณะ และกาํ หนดใหส ญั ญาทางปกครองมีความหมายเฉพาะแตกตางไปจากสัญญาทางแพง และอยใู นอํานาจพิจารณาพพิ ากษาของศาลปกครอง แสดงใหเห็นวา แนวความคดิ เก่ียวกบั สัญญาทางปกครองไทยก็มีลักษณะ เดียวกันกับประเทศฝร่ังเศส ท่ยี อมรับในเรอ่ื งของความแตกตา งระหวางสัญญาทางปกครองและสัญญาทางแพง อันเน่ืองมาจาก หลักกฎหมายซึง่ เปนที่มาของอาํ นาจในการทําสญั ญา แตในภายหลังไดมีการตรากฎหมายกาํ หนดใหนําวิธกี ารอนุญาโตตุลาการ ซงึ่ เปนการระงับขอ พิพาททางเลือกท่ีใชในทางธุรกิจการคา มาใชระงับขอพพิ าทเก่ียวกบั สญั ญาทางปกครอง ดังนั้น เพ่ือให การระงับขอพิพาทเก่ียวกับสัญญาทางปกครองโดยการอนุญาโตตลุ าการ เปนไปตามหลักกฎหมายมหาชน จงึ จาํ เปนตอ งพิจารณาถึง บทบญั ญัตขิ องกฎหมายท่ีเก่ียวขอ งในปจจบุ ัน วา มีความสอดคลอ งกับหลักการของกฎหมายมหาชน และเหมาะสมท่จี ะนํามาใช ระงับขอพิพาทที่เกิดจากการใชอํานาจรฐั อยางกรณขี องสัญญาทางปกครองหรอื ไม แตกลับพบวา กฎหมายปจจุบันไมไดกาํ หนด คุณสมบัติของผูทาํ หนาท่ีเปนอนุญาโตตุลาการ ในขอพพิ าทเก่ียวกบั สัญญาทางปกครองไวเปนการเฉพาะ วาอนุญาโตตุลาการจะตอ ง มีความรูความเขา ใจในหลักกฎหมายปกครอง สัญญาทางปกครอง และบริการสาธารณะเปนอยางดี จึงเปนเหตุใหกระบวนการ ระงับขอ พิพาทดงั กลาวจึงไมอาจอํานวยความยุตธิ รรม ใหเ กิดแกป ระโยชนข องสาธารณะไดเทา ท่ีควร 2. การกาํ หนดเขตอํานาจของศาลที่มีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาขอพิพาท เก่ียวกับอนุญาโตตลุ าการในสัญญาทางปกครอง ทไ่ี มชดั เจน ซงึ่ ตองอาศัยการตีความบทบญั ญตั ิมาตรา 9 แหงพระราชบญั ญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ทําใหเ กดิ กรณีท่ีมี การแตง ตง้ั อนุญาโตตลุ าการ และการพจิ ารณาเร่ืองความชอบดวยกฎหมายของคาํ ช้ีขาดอนุญาโตตลุ าการในสัญญาทางปกครอง โดยศาลยุตธิ รรม ซ่ึงแทท ่ีจริงแลว ขอพิพาทดงั กลาวควรอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง และในกฎหมายปจจบุ ัน ก็ไมไดกาํ หนดอํานาจในการแสวงหาขอเท็จจรงิ ของอนุญาโตตุลาการ ในสัญญาทางปกครองใหแตกตางจากสัญญาทางแพง โดยใหอ นุญาโตตลุ าการสามารถแสวงหาขอเท็จจรงิ ดวยตนเองในบางประเด็น ท่ีคูพพิ าทไมไดนําเสนอแตอ นญุ าโตตุลาการ พบวาเปนประเด็นที่มีความสาํ คญั ควรไดร บั การพิจารณา ซ่งึ กรณีดังกลา วอนญุ าโตตลุ าการจะไมถ ูกผูกพันอยูเพียงขอเท็จจริง ทคี่ ูพิพาทนาํ เสนอเทาน้ัน 3. ในการเพิกถอนคาํ ชขี้ าดของอนญุ าโตตุลาการตามมาตรา 40 หรอื การปฏิเสธไมรบั บังคบั ตามคาํ ช้ีขาดของอนญุ าโตตลุ าการ ตามมาตรา 43 แหง พระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 การท่ีศาลจะวินิจฉัยวาคําชีข้ าดของอนุญาโตตุลาการนั้นขัดตอ ความสงบเรียบรอ ยและศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม ศาลจําเปนจะตอ งพจิ ารณากอนวาคาํ ช้ีขาดดงั กลา วไดดาํ เนินการ ถูกตอ งครบถวนใน 4 ประการแลว กลา วคือ 1) อนญุ าโตตุลาการไดพิจารณาขอ สัญญาพิพาทอยา งถูกตอ งครบถวนแลวหรือไม 2) อนุญาโตตุลาการไดพ ิจารณาขอกฎหมายทใี่ ชบ ังคบั กบั สัญญานั้นอยา งถูกตองครบถวนแลวหรือไม 3) อนุญาโตตุลาการไดรับฟง ขอเท็จจริงและปรับขอ เทจ็ จรงิ กับขอกฎหมาย และขอสัญญาน้ันอยางถูกตอ งครบถว นแลว หรอื ไม และ 4) คาํ ช้ขี าดของ อนุญาโตตุลาการนั้น จะตอ งไมมลี ักษณะเปนการบงั คับใหรฐั ตอ งชําระเงนิ แกบคุ คลหนึ่งบุคคลใด โดยท่ีรัฐไมมีหนา ที่

138 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอด็ ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 หรอื หนี้ทีต่ องชาํ ระแกบ ุคคลนั้น (วรพจน วิศรุตพิชญ, 2562 : 5) อยางเชน หนวยงานของรัฐจะตองถูกบังคับใหช ําระเงนิ ใหแกผูอ่ืน โดยที่คูพพิ าทฝายน้ันไมม ีหนาท่ตี ามกฎหมายหรือตามสัญญาที่จะตองชําระ ซึง่ ศาลจะตอ งไมยอมผูกพันตนกบั ขอ เท็จจรงิ และขอ กฎหมายเพียงเทาท่อี นญุ าโตตุลาการไดทําการพิจารณาและวนิ ิจฉัยไวในคาํ ช้ีขาดเทานน้ั ขอ เสนอแนะ 1. ขอ เสนอแนะในการนําไปใช 1.1 ใหคณะรัฐมนตรมี ีมติควบคุมการกาํ หนดใหม ีการระงบั ขอพิพาทในสัญญาทางปกครองโดยการอนุญาโตตุลาการ โดยวางหลักเกณฑห รอื กาํ หนดรปู แบบสญั ญาสาํ เร็จรปู ในการระงับขอ พิพาทในสัญญาทางปกครอง เชน คณุ สมบัติของอนุญาโตตลุ าการ กฎหมายที่จะนาํ มาใชบังคบั ประเภทของขอพพิ าทที่สามารถเสนอตออนุญาโตตุลาการ เชน ขอพิพาทที่เกี่ยวกับจาํ นวนเงินคาชดเชย หรืออัตราดอกเบ้ีย และกระบวนการพจิ ารณาชนั้ อนญุ าโตตุลาการ เชน อาํ นาจและหนา ที่ของอนญุ าโตตุลาการในการแสวงหา ขอ เท็จจริงท่ีจาํ เปนตอการวินิจฉัยขอพิพาท รวมทั้งกาํ หนดใหส ัญญาทางปกครองที่มีการระงับขอพิพาทโดยอนุญาโตตลุ าการ ตองผานความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรหี รือคณะกรรมการที่คณะรัฐมนตรีกําหนด และใหตองระบุในสัญญาใหชดั เจนวา “ศาลปกครองเปนศาลท่ีมีเขตอํานาจในการอนญุ าโตตลุ าการในสัญญาทางปกครอง” 1.2 ใหแกไขเพ่ิมเติมมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตอิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 โดยกําหนดใหม ีบทบัญญัติ ดังนี้ “มาตรา 15 ในสัญญาระหวา งหนวยงานของรัฐกับเอกชนไมว าเปนสญั ญาทางปกครองหรอื ไมก็ตาม คูส ญั ญาอาจตกลงใหใชวธิ ีการอนุญาโตตลุ าการในการระงับขอพพิ าทได โดยไดรบั ความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตรี ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกาํ หนดในพระราชกฤษฎกี า ใหส ัญญาอนญุ าโตตุลาการตามวรรคหนึ่งมผี ลผกู พันคูสัญญา” 1.3 ใหจดั ตง้ั คณะกรรมการวินิจฉัยขอ พพิ าทเกย่ี วกบั สัญญาของรฐั ข้ึนเปนคณะกรรมการระดับชาติ เพ่ือใหมี อาํ นาจในการวินจิ ฉัยขอ พิพาทเก่ียวกบั สัญญาของรฐั ทุกประเภท ไมวา จะเปนสัญญาที่จัดทําข้ึนตามกฎหมายวาดว ยการจัดซอ้ื จดั จา งและการบริหารพัสดุภาครัฐ และกฎหมายวา ดว ยการรว มลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชน เปนตน โดยในกฎหมายดังกลา ว อาจมีการกําหนดใหมีคณะอนุกรรมการ เพ่อื ชวยเหลืองานของคณะกรรมการกไ็ ด และหากภายหลงั คสู ญั ญาไมพอใจคาํ วินิจฉยั ของคณะกรรมการดังกลาว ก็สามารถฟองคดีตอศาลปกครอง หรือศาลอนื่ ทม่ี เี ขตอาํ นาจตอ ไปได 1.4 ในกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดปี กครองเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครอง ศาลปกครอง ไมจําตองผูกพันตนอยูแตเฉพาะขอเท็จจริงทีป่ รากฏในชั้นการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการเทาน้ัน หากแตตองไตสวนใหไดค วาม กอ นวา ในกระบวนการพิจารณาและทําคาํ ชข้ี าดน้ัน 1) อนุญาโตตุลาการไดแสวงหาขอเท็จจริงและรบั ฟงขอ เท็จจรงิ น้ัน มาอยา งถูกตอ งครบถว น 2) อนุญาโตตุลาการไดตรวจสอบขอสัญญาที่กาํ หนดสทิ ธิและหนาที่ของคูสัญญาและขอ กฎหมาย ที่เก่ยี วขอ งอยา งถูกตอ งครบถวน 3) อนญุ าโตตุลาการไดปรบั ขอเทจ็ จริงท่ไี ดรับฟงมากับขอ สัญญาและขอ กฎหมายอยางถูกตอง ครบถวน และ 4) อนุญาโตตุลาการไดวินิจฉัยช้ีขาดอยา งเปนธรรม ปราศจากกรณที ่ีคําชี้ขาดจะมผี ลใหคูสัญญาฝายหน่ึงตองรบั ผดิ ในมลู หน้ีหรือความเสียหายที่ไมไดมีอยจู รงิ จากน้ันศาลจึงจะสามารถวินิจฉยั ตอไปไดว า คาํ ชข้ี าดของอนุญาโตตุลาการน้ัน ขัดตอ ความสงบเรียบรอ ยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรอื ไม เพราะหากศาลปกครองจํากัดการรบั ฟงพยานหลักฐาน อยูเพยี งขอเท็จจริงท่อี นญุ าโตตุลาการแสวงหาไว และพิจารณาพิพากษาไปตามท่ีปรากฏในคาํ ชขี้ าดเทานั้น ในทางพิจารณา ก็แทบจะไมป รากฏวา มีคาํ ช้ีขาดใดของอนญุ าโตตลุ าการทข่ี ัดตอความสงบเรยี บรอยหรอื ศีลธรรมอันดีของประชาชนเลย 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจยั คร้ังตอ ไป การศกึ ษาครัง้ น้ีเปนการศึกษาเปรียบเทียบระหวา งกฎหมายของประเทศที่ใชระบบซวี ลิ ลอว คอื ประเทศฝรั่งเศส และกฎหมายของประเทศท่ีใชระบบคอมมอนลอว คอื ประเทศสหรัฐอเมรกิ า กบั กฎหมายไทย ซึ่งทาํ ใหเหน็ ถึงความแตกตาง ของสัญญาทางปกครองในกฎหมายทั้งสองระบบ และในกรณที ี่จะทําใหการศกึ ษาวิจัยในหัวขอน้ีมีเน้อื หาท่ีครอบคลมุ มากข้ึน ในการศึกษาคร้ังตอไปควรทําการศึกษากฎหมายของกลุมประเทศในเอเชีย เชน กฎหมายจีน ญ่ปี ุน ฮองกง ไตหวัน หรือสงิ คโปร รวมดวย ก็จะเปนประโยชนในการพฒั นาตอยอดองคความรูในเรอ่ื งน้ไี ดเปนอยางดี

Journal of Roi Et Rajabhat University 139 Volume 14 No.3 September - December 2020 เอกสารอา งองิ กมลชัย รัตนสกาววงศ. (2541). ความพยายามในการนําแนวความคิดและหลกั กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองของตา งประเทศ มาใชบ งั คบั ในประเทศไทยในภาพรวม. วารสารกฎหมายปกครอง, 17(3), 41. ชวลิต เศวตสุต. (2547). สญั ญาของฝา ยปกครองในระบบกฎหมายคอมมอนลอว : ศึกษากรณีระบบกฎหมายสหรฐั อเมริกา และองั กฤษเปรียบเทยี บกบั ระบบกฎหมายไทย. วิทยานพิ นธ นิติศาสตรมหาบัณฑติ . กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ชาญชัย แสวงศกั ดิ์. (2562). คาํ อธิบายกฎหมายจัดตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง (พมิ พคร้ังท่ี 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพเดือนตุลา. ชาญชัย แสวงศกั ด์ิ. (2543). สัญญาทางปกครองกบั การใหเอกชนเขา รว มในการจัดทาํ บริการสาธารณะ. กรงุ เทพฯ: นติ ิธรรม. ชาญชัย แสวงศกั ดิ์ และมานิตย วงศเสร.ี (2541). นิติกรรมทางปกครองและสัญญาทางปกครอง. กรุงเทพฯ: วิญูชน. ไชยวฒั น บุนนาค. (2554). อนุญาโตตลุ าการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิ (พิมพครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: ทรพั ยส รุ ีย. ธรรมนิตย สุมันตกุล. (2560). กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจ : ทฤษฎี “กฎ” ในทางเศรษฐศาสตร. กรงุ เทพฯ: วิญชู น. ธวัชชยั สวุ รรณพานชิ . (2558). คําอธิบายพระราชบัญญตั อิ นุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: นิติธรรม. นันทวัฒน บรมานันท. (2556). สัญญาทางปกครอง (พมิ พค ร้งั ที่ 4). กรุงเทพฯ: วญิ ูชน. บรษิ ทั ทป่ี รึกษากฎหมายสากล จํากัด. (2546). รายงานวิจัย เร่อื ง สัญญาทางปกครองของสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สาํ นักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา. บรรเจดิ สงิ คะเนติ. (2548). หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝา ยปกครอง. กรงุ เทพฯ: วิญูชน. ประสาท พงษสวุ รรณ. (2546). การระงบั ขอพพิ าททางปกครองโดยวิธอี ื่นนอกจากการฟอ งคดหี รือพิพากษาโดยศาลปกครอง. วารสารนิติศาสตร, 33(3), 470-487. ประสาท พงษสวุ รรณ. (2550). อนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครอง : หลักกฎหมายและแนวปฏิบตั .ิ วารสารนิติศาสตร, 36 (1), 83-119. ประสาท พงษสุวรรณ และคณะ. (2554). สัญญาทางปกครองของประเทศฝร่ังเศส. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. พพิ ัฒน จักรางกูร. (2536). คาํ อธิบายกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง. กรุงเทพฯ: รงุ เรอื งธรรม. เย่ียม อรโุ ณทัยวิวัฒน. (2558). ความเห็นของอนุกรรมการดา นวชิ าการเก่ียวกับปญหาอํานาจหนา ที่ระหวางศาล เพอื่ ประกอบการพิจารณาเร่อื งท่ี 1088 เสนอตอ ประธานอนกุ รรมการดานวิชาการเกี่ยวกับปญหาอาํ นาจหนา ที่ ระหวางศาล. ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2558. (เอกสารไมตพี ิมพเ ผยแพร) . เย่ียม อรโุ ณทัยวิวัฒน. (2558). ความเห็นของอนุกรรมการดา นวิชาการเกี่ยวกบั ปญหาอาํ นาจหนา ท่ีระหวางศาล เพอ่ื ประกอบการพิจารณาเรอ่ื งที่ 1106 เสนอตอ ประธานอนุกรรมการดา นวิชาการเกี่ยวกบั ปญหาอํานาจหนาที่ ระหวา งศาล. ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2558. (เอกสารไมตพี ิมพเผยแพร). เย่ียม อรโุ ณทัยวิวฒั น. (2558). ความเห็นของอนุกรรมการดา นวชิ าการเก่ียวกับปญ หาอาํ นาจหนาทีร่ ะหวางศาล เพ่ือประกอบการพิจารณาเร่อื งท่ี 1139 เสนอตอประธานอนุกรรมการดา นวิชาการเกย่ี วกบั ปญหาอํานาจหนาที่ ระหวา งศาล. ลงวันที่ 22 กันยายน 2558. (เอกสารไมตพี ิมพเผยแพร) . วรรณชัย บญุ บํารุง. (2548). หลกั และทฤษฎีของอนุญาโตตลุ าการเปรียบเทยี บกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง. กรงุ เทพฯ: วิญชู น. วรพจน วศิ รตุ พชิ ญ. (2560). หลักการสาํ คัญของรัฐธรรมนญู เสรีประชาธิปไตย. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตร พนักงานคดปี กครองระดบั ตน รุนที่ 21. กรงุ เทพฯ: สํานักงานศาลปกครอง. วรพจน วศิ รุตพิชญ. (2560). ศาลปกครองกับการดาํ รงหลักนิตธิ รรม. เอกสารวิชาการสว นบุคคลหลกั สูตรหลักนิตธิ รรม เพ่อื ประชาธิปไตย รุนท่ี 5. กรุงเทพฯ: สํานักงานศาลรัฐธรรมนญู . วรพจน วศิ รุตพิชญ. (2537). ศาลปกครองกับหลักการแบง แยกอํานาจ. วารสารนิติศาสตร, 24 (3), 29-46. วรพจน วิศรุตพิชญ. (2562). บันทึกความเห็นเก่ียวกบั ขอบเขตอาํ นาจศาลปกครองในการตรวจสอบวา การยอมรบั หรือบงั คบั ตามคําชข้ี าดของคณะอนุญาโตตุลาการจะเปนการขัดตอความสงบเรียบรอ ยหรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน หรือไม. ลงวันท่ี 25 กนั ยายน 2562. (เอกสารไมตีพิมพเผยแพร) . วรพจน วิศรุตพิชญ. (2562). ขอ สังเกตเก่ียวกับขอบเขตแหง ความมีผลใชบังคบั ของหลักกฎหมายท่วี า “นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย มหาชนไมอ าจถูกบงั คับใหชําระเงินแกบุคคลหน่งึ บุคคลใด โดยท่ีนติ ิบุคคลตามกฎหมายมหาชนไมมีหนา ที่ (หน)ี้ ท่ีจะตอ งชาํ ระแกบ ุคคลนั้น”. ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2562. (เอกสารไมตพี ิมพเผยแพร) .

140 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 สรวิศ ลมิ ปรังษี. (2554). อนญุ าโตตลุ าการตามกฎหมายใหมกบั การระงบั ขอพพิ าท. กรงุ เทพฯ: นติ ิรฐั . สุรพล นติ ิไกรพจน. (2555). สัญญาทางปกครอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. สุรีรัตน ประจนปจจนึก. (2558). ปญ หาทางกฎหมายเก่ียวกับอนญุ าโตตลุ าการในสัญญาทางปกครอง. ดษุ ฎนี ิพนธ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑติ . กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. เสาวนีย อัศวโรจน. (2554). คําอธิบายกฎหมายวาดวยวิธีการระงบั ขอพพิ าททางธุรกิจโดยการอนุญาโตตุลาการ (พิมพครง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. สาํ นักวิจัยและวิชาการ. (2561). รายงานการศึกษาเร่ือง เหตุแหง การเพิกถอนคําช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการ. กรุงเทพฯ: สํานกั งานศาลปกครอง. อนันต จันทรโอภากร. (2558). ทางเลือกในการระงบั ขอพพิ าท: การเจรจา การไกลเกลย่ี และประนอมขอพิพาท อนุญาโตตุลาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. Apostolos, P. (1998). L'arbitrage en matière administrative. Paris: LGDJ. Tiefer, C. and Shook, W. A. (2003). Government Contract Law (2nd ed.). North Carolina: Carolina Academic Press. DE BELLEFONDS X L and HOLLANDE A. (2003). L’Arbitrage et La Médiation. Que sais-je?. Paris: PUF. Kulakowski, E. C. and Chronister, L. U. (2006). Research Administration and Management. Massachusetts: John and Bartlett Publishers. Keyes, W. N. (2004) Contracting Authority and Responsibility, Government Contract in a Nutshell (4th ed.). Minnesota: West Academic. Mescheriakoff, A. S. (1997). Droit des service publics (2nd ed.). Paris: PUF. Pontier, J. M. (2005). Droits fondamentaux et libertés publiques (2nd ed.). Paris: Hachette. Pontier, J. M. (1996). Les services publics. Paris: Hachette. Roman, D. (2002). L’indispensable du droit administrative. Paris: Studyrama. Anusornsena, V. (2012). Arbitrability and Public Policy in Regard to the Recognition and Enforcement of Arbitral Award in International Arbitration: the United States Europe Africa Middle East and Asia. SJD Dissertation. California: Golden Gate University. Waline, J. (2014). Droit administrative (25th ed.). Paris: Dalloz.

Journal of Roi Et Rajabhat University 141 Volume 14 No.3 September - December 2020 การพัฒนาทักษะการแกโจทยปญ หาทางคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที่ 4 ทไ่ี ดรบั การจัดการเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ต Developing Problem Solving Skills in Mathematics of Grade 4 Student by Using Constructivist Theory แคชริญา ภผู าสิทธ์ิ 1และ ปาริชาติ ประเสริฐสังข2 Received : 24 ก.พ. 2563 Katchariya Phuphasit1 and Parichart Prasertsang2 Revised : 3 เม.ย. 2563 Accepted : 7 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถปุ ระสงคเพ่ือศึกษาความสามารถในการแกโจทยป ญหาทางคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปท ่ี 4 ที่ไดรบั การจดั การเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสต และเปรียบเทียบความสามารถในการแกโจทยป ญหาตามเกณฑ รอ ยละ 70 กลุมเปา หมาย ไดแก นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 4 โรงเรียนบานนาเรียง อําเภอทรายมูล จงั หวดั ยโสธร ที่เรียนใน ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2562 จํานวน 11 คน ไดมาโดยการเลอื กแบบเจาะจง เคร่ืองมือทใี่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอ มูล ไดแก แผนการจดั การเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต เพ่ือพฒั นาทกั ษะการแกปญหาทางคณิตศาสตร แบบบันทึกผล การจัดกิจกรรมการเรยี นรู แบบบันทึกการสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นของนักเรียน และแบบทดสอบวัดทกั ษะการแกโจทยปญ หา คณิตศาสตร เปนแบบอัตนยั จํานวน 5 ขอ สถิติที่ใชใ นการวิเคราะห ไดแก คา รอ ยละ (Percentage) คา เฉล่ยี (Mean) และสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบวา ทา ยวงจรกิจกรรมการเรียนรูวัดทักษะการแกโจทยป ญหา พฒั นานักเรียนมคี ะแนนเฉลี่ยความสามารถ การแกโจทยปญ หาเทากบั 19.81 คดิ เปนรอยละ 79.27 โดยมีผเู รียนในกลมุ เปา หมายผานเกณฑรอ ยละ 70 ทง้ั สนิ้ 8 คน คดิ เปนรอ ยละ 72.72 คาํ สําคญั : การจัดการเรยี นรูตามแนวคดิ ทฤษฎคี อนสตรัคติวสิ ต, การพัฒนาทักษะการแกโจทยปญ หาทางคณิตศาสตร, ความสามารถในการแกโจทยป ญหา Abstract The purpose of this research was to develop mathematical problem-solving skills of grade 4 students who were taught with lessons based on the constructivist theory with a criterion of 70 percent. The target sample group included 11 grade 4 students enrolled in the second semester of the academic year 2019 at Bannariang School, Sai Mun District, Yasothon Province. The target sample group was obtained through purposive sampling. The instruments for data collection were a learning management plan based on the constructivist theory for mathematical problem-solving skill development, a learning activity record form, a student learning behavior observation form, and a mathematical problem-solving skill test (a subjective test with 5 items). Statistics for data analysis were percentage, mean, and standard deviation. 1 นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาโท สาขาวิชาหลกั สูตรและการเรียนการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด อีเมล: [email protected] 2 ผชู วยศาสตราจารย ดร., อาจารยประจําสาขาหลักสตู รและการเรียนการสอน คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอด็ 1 Master Student Program in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Roi Et Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Assistant Professor, Lecturer in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Roi Et Rajabhat University

142 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 The results of the research showed that at the end of the learning process, the students’ average score from the mathematical problem-solving skill development was 19.81 (79.27%). Among the target sample group, 8 students passed the preset criterion of 70 percent (72.72%). Keywords : Learning management based on the constructivist theory, Mathematical problem-solving skill development, Mathematical problem-solving ability บทนาํ การศึกษาเปนเคร่อื งมอื สําคัญในการสรางคน สรา งสังคม และสรา งชาติ เปนกลไกหลักในการพฒั นากําลงั คน ใหมีคณุ ภาพ สามารถดํารงชีวิตอยูรวมกบั บุคคลอื่นในสังคมไดอยา งเปนสุข ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ของโลก ศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการศึกษามบี ทบาทสาํ คญั ในการสรา งความไดเ ปรียบของประเทศเพื่อการแขงขันและยืนหยัดในเวทีโลก ภายใตระบบเศรษฐกิจและสังคมที่เปนพลวัต ประเทศตา ง ๆ ท่วั โลกจึงใหความสําคัญและทุมเทกับการพฒั นาการศึกษา เพ่ือพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยของตนใหส ามารถกาวทันการเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก (สาํ นักเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 1) ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุงพุทธศักราช 2560) กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตรม ุงเนนใหผูเรียนมที ักษะที่จําเปนสาํ หรบั การเรียนรูในการเตรยี มผูเรียนใหม ที ักษะดา นการคิดวิเคราะห การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ การแกปญหา การคิดสรางสรรค การใชเทคโนโลยีการสือ่ สารและการรวมมือ ซ่งึ จะสงผลใหผ ูเรียนรูเทาทนั การเปลยี่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม สามารถแขงขันและอยูรว มกับประชาคมโลกได ทง้ั น้ีการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรท่ปี ระสบความสาํ เรจ็ น้นั จะตองเตรียมผเู รยี นใหมีความพรอมท่ีจะเรียนรูส่ิงตา ง ๆ พรอมท่ีจะประกอบอาชพี เมอื่ จบการศึกษา หรือสามารถศกึ ษาตอ ในระดบั ท่ีสูงขึ้น ดงั นั้นสถานศึกษาควรจัดการเรยี นรูใ หเหมาะสมตามศักยภาพของผูเรียน คณิตศาสตรม บี ทบาทสาํ คัญยงิ่ ตอความสําเร็จในการเรยี นรู เนอื่ งจากคณติ ศาสตรช วยใหมนษุ ยสามารถวิเคราะหป ญหา หรอื สถานการณไดอ ยางรอบคอบ และถี่ถว น ชวยใหค าดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา ไดอยางถูกตองเหมาะสม และสามารถนําไปใชใ นชวี ิตจรงิ ไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ นอกจากน้ีคณิตศาสตรยังเปนเคร่ืองมือในการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศาสตรอ ื่น ๆ อันเปนรากฐาน ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ ใหมีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหทัดเทยี มกับนานาชาติ การศกึ ษาคณติ ศาสตร จึงจาํ เปนตอ งมกี ารพัฒนาอยา งตอเน่อื ง เพอื่ ใหทันสมัยและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกจิ สังคม และความรูทางวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยที ่ีเจรญิ กา วหนาอยางรวดเร็วในยุคโลกาภวิ ัตน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 2) ทฤษฎีคอนสตรคั ติวิสต ผูเรยี นเปนผเู สรมิ สรา งความรูดว ยตนเอง ผูสอนไมสามารถปรับเปล่ียนโครงสรางทางปญญา ของผูเรยี นได แตสามารถชวยผูเรียนปรับขยายโครงสรา งทางปญญาได ดวยการจัดสถานการณท ที่ ําใหเกิดภาวะไมสมดุล หรือกอ ใหเ กิดความขัดแยงทางปญญา โดยไดจากสิ่งแวดลอ มและการปฏิสัมพนั ธกับผูอ่ืน จากแนวคดิ ทฤษฎคี อนสตรคั ติวิสต การเรียนรูของผูเรียนเกิดข้ึนเมอื่ ผูเรียนไดม โี อกาสรบั ขอมลู ประสบการณใหม ๆ และนาํ มาใชในการคิด กล่นั กรองขอมลู ทาํ ความเขาใจขอมูลเชือ่ มโยงความรใู หมกบั ความรูเดิม และสรา งความหมายขอ มลู ความรูดวยตนเอง จะเห็นไดวาครมู ีบทบาท ทส่ี าํ คัญในการจัดใหผเู รียนไดม ีโอกาสรับผิดชอบตอ การเรียนรูข องตนเอง โดยการมีปฏิสมั พันธกับสงิ่ แวดลอ ม เชน บุคคลอ่ืน ๆ เหตกุ ารณในชวี ิตประจําวัน หรือปญหาตา ง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นทเี่ ขาจะตอ งมีสว นรว มในการสรางการเรียนรูท่ีเกดิ ขึ้นจากสิ่งแวดลอม ตา ง ๆ โดยครูมีหนา ที่จดั การเรียนการสอน ที่ตอบสนองตอ การเรียนรขู องผเู รียน ตามแนวคดิ คอนสตรัคติวสิ ตใ นการใหนักเรยี น ไดม ีปฏิสมั พันธก ับสงิ่ แวดลอม ซ่ึงชว ยใหผเู รียนเกิดกระบวนการคิด ไตรต รอง หาคาํ อธบิ ายหรอื สรา งรูปแบบการทาํ ความเขาใจ ตอ เหตุการณที่ไดพบอยา งมีความหมาย และสามารถนําความรทู ส่ี รางขน้ึ นี้ไปประยุกตใชในชวี ิตจรงิ ไดอยา งเหมาะสม การแกโจทยป ญหาเปนกระบวนการที่นักเรียนควรจะเรียนรู ฝกฝน และพฒั นาใหเกิดทกั ษะขึน้ ในตัวนักเรียน การเรียนแกปญหาทางคณิตศาสตรจะชว ยใหนักเรียนมีแนวทางการคดิ ท่หี ลากหลาย มนี สิ ัยกระตือรือรน ไมยอทอ และมีความม่ันใจ ในการแกป ญหาท่ีเผชิญอยู (สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2555 : 6) การแกปญหาเปน หัวใจของคณิตศาสตร และเปนเปาหมายสงู สดุ ของหลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน เมื่อพิจารณาสภาพการจดั การเรยี นการสอนคณิตศาสตร ในปจจุบัน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ่ี 4 โรงเรียนบา นนาเรยี ง อําเภอทรายมูล จงั หวัดยโสธร มีปญหาเก่ียวกบั การเรยี น การสอนวิชาคณิตศาสตรเ ปนอยา งมาก นักเรียนไมสามารถเรียงความคดิ หรอื บรรยายข้ันตอนวิธีการทางคณติ ศาสตร และจาก การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี น พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นอยใู นระดบั ไมนาพอใจ ซึ่งพิจารณาไดจาก