Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

Published by MBU SLC LIBRARY, 2020-12-16 02:29:27

Description: 16766-5367-PB

Search

Read the Text Version

Journal of Roi Et Rajabhat University 43 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในตวั เอง (self-confidence) และความเชื่อม่ันในตวั เอง (self-reliance) 2) กระตุนผูเรียนใหมลี ักษณะของการเปนนักเรียน เชิงรุก 3) เพ่ิมความรูดา นเนื้อหาสาระ (content knowledge) การคิดอยา งมวี ิจารณญาณ (critical thinking) และการรื้อฟน ความรู (recall) 4) เอื้อใหผูเรยี นสามารถใชลีลาการเรียนรู (Learning style) ไดหลากหลายตามความเหมาะสมและความถนัด ของผูเรียนแตล ะคน 5) เพิ่มความกระตือรือรนท้งั นักเรียนและครูผูสอน6) สงเสรมิ นักเรียนในการคิดข้ันสงู (higher order thinking) เชน การวิเคราะห (analysis) การสงั เคราะห (synthesis) การคิดสรางสรรค (creative thinking) ความสามารถในการประยุกต ความรู (adaptability) การแกป ญหา (problem solving) โดยการจดั การเรยี นรูเชงิ รุกมเี ทคนิคการเรียนแทรกอยู ท่ีครูผสู อน สามารถเลอื กและปรับใชใ หเหมาะสมกับบรบิ ทของช้ันเรียนนั้น ๆ โดยเทคนิคในการจดั การเรยี นรเู ชิงรุกท่นี าสนใจสําหรับ การทําวจิ ัยในคร้งั นี้ ไดแก 1) เทคนิคการใชค าํ ถาม 2) PMI (Plus-Minus-Interest) และ 3) Think-pair-share (University of North Carolina at Chapel Hill, 2009 : 1-2, Northern Ireland Curriculum, 2007 : online) and (Brame, 2016 : online) เทคนิคการใชคาํ ถาม (Question Technique) หมายถึง การแสดงออกของการสืบสอบหาความรทู ่ีตองการ คาํ ตอบผานการใชค าํ ถาม โดยการถามคาํ ถามที่ดเี ปนทักษะท่ตี อ งมีการฝกฝน ฝกซอม และตองมีการนิเทศตดิ ตาม ถานักเรยี น ไมไดอยูในสงั คมหรอื สภาพแวดลอมท่ีมีการกระตุนในการใชค าํ ถามเชงิ รุก (Active question) ทกั ษะการใชคําถามจะไมเกดิ และไมกลายเปนคนมนี ิสยั ในการถามคําถามเชิงรกุ จงึ สงผลใหการถามคําถามเปน ทักษะทมี่ คี วามสําคัญมากสําหรบั การเร่ิมตน ที่จะเรียนรูสิง่ ใหม (Nikam, 2014 : online) Pierre-Marc-Gastau, duc de Levis (site in Vale, 2013 : online) ไดกลาววา “เราสามารถตัดสินความคิดของใครสักคนไดจ ากการถามคาํ ถามของเขา แทนที่จะมองเพียงแคคําตอบท่ีเขาตอบ” ถา ครูสามารถใชคาํ ถาม หรือนักเรียนสามารถตัง้ คาํ ถามไดอ ยางมีประสิทธิภาพ คําถามจะเปนเคร่อื งมือทดี่ ีที่สดุ ทส่ี ามารถ นําไปสจู ดุ เร่ิมตนในการแสวงหาความรูไดเปนอยา งดี โดยลักษณะคําถามทใี่ ชใ นหองเรียนโดยสวนใหญมี 2 ประเภท ไดแก 1) คาํ ถามปลายปด (close question) เปนคําถามท่ีตองการคาํ ตอบทคี่ อ นขางจาํ กัด หรอื ตอ งการคาํ ตอบท่ถี ูกตอ งที่สดุ เพยี งคาํ ตอบเดยี ว (right answer) คําถามในลักษณะน้ีใชใ นกรณที ี่ผเู รียนมีความรู หรือมีประสบการณในเร่อื งนั้น ๆ ท่เี ก่ียวของกบั คาํ ตอบอยแู ลว ครูจึงนิยมใชคาํ ถามปลายปดในการดึงขอมลู หรือความรทู ี่ผเู รียนเขาใจออกมาเปนรปู ธรรม และ 2) คาํ ถามปลายเปด (open question) เปน คาํ ถามที่มีคาํ ตอบทถ่ี ูกตอ งไดห ลายคาํ ตอบ อาจมเี พียงหนงึ่ คาํ ตอบ หรอื มากกวาหนง่ึ คําตอบก็ได ผูเรียนสามารถใชประสบการณเดมิ ความรูเดิม รวมถงึ ความคิดอันเปนเหตุเปนผลในการสราง สมมติฐานหรือสรา งคําตอบขึ้นมา คําถามในลักษณะน้ีสามารถกระตุนใหผูเรยี นมีการคดิ วิเคราะห และมีการคิดสรา งสรรค ในการสรา งคาํ ตอบท่สี อดคลองกับคําถามดวยความเปนเหตุเปนผล (Blosser, 2000 : online) Nikam, (2014 : online) ไดแบงประเภทของคําถามท่พี บบอยในหองเรยี นวทิ ยาศาสตรไ ว 2 ประเภท ไดแก 1) คําถามที่ตองใชขอ มลู เปนฐาน (Information based question) เปนคําถามท่ีสามารถแกป ญหาไดโดยการอภิปราย สอบถามผูรู หรือการสบื คนขอมลู จากเอกสาร ตาํ รา หรืองานวจิ ัย เน่อื งจากเปนคาํ ถามที่มีคาํ ตอบทถ่ี กู ตองรออยูแลว เพียงแครอใหผ ูเรียนไปศึกษาเพิ่มเตมิ เทา นั้น คาํ ถามในลักษณะนี้เปนการกระตุนการเรียนรูวิทยาศาสตรโดยการอาศัยหลักฐานหรือขอ มลู เชิงประจักษ เพื่อใช ในการกลา วอางหรือการอธบิ ายใหเกดิ ความเขาใจหรือการเรียนรูไดดยี ิ่งข้ึน 2) คาํ ถามเชิงรุก (Active based question) เปนคาํ ถามที่จะนาํ ผูเรียนไปสูการแสวงหาความรหู รอื หาคาํ ตอบท่นี ักเรียนสงสัยผา นกิจกรรมการทดลอง ผานประสบการณตรง หรือผา นการลงมือปฏบิ ตั ิเพอ่ื แกป ญหาในสถานการณตา ง ๆ เปนการกระตุนการเรียนรูวทิ ยาศาสตรใหผ ูเรยี นแสวงหาความรู หรอื หาคําตอบของปญหาผา นการแกป ญหาที่หลากหลายโดยใชความคดิ สรา งสรรคเพือ่ ใหไ ดม าซ่ึงคําตอบ หรอื ตรวจสอบ สมมติฐานตามแนวทางที่นักเรยี นไดกําหนดข้ึนมา Groisser (1964, อางถึงใน Lewis, 2002 : online) ไดกลา วในหนังสือ How to Use the Fine Art of Questioning ถงึ ประเภทของคาํ ถามเมื่อพิจารณาตามวัตถปุ ระสงคไ ว 7 ประเภท ดงั นี้ 1) คําถามทดสอบความพรอ มของนักเรียน (to test a student’s preparation) เปนคาํ ถามท่ีถามเก่ียวกับความรูความเขา ใจของผูเ รียนจากการทาํ การบานหรือจากภาระงาน ท่ีไดรับมอบหมาย 2) คาํ ถามกระตนุ ความสนใจ (arouse interest) เปนคําถามกระตนุ เพอื่ ใหผูเรียนเกิดความอยากรอู ยากเห็น หรืออยากท่ีจะใฝรูเพ่ิมเติมในเรอื่ งท่คี รูกาํ ลงั สอน 3) คาํ ถามเพ่อื พัฒนาความเขาใจอยางถองแท (to develop insights) เปนคาํ ถามทช่ี วยใหนักเรียนสามารถเชือ่ มโยงความสมั พันธในสงิ่ ทีน่ ักเรยี นกําลงั ศกึ ษา หรอื ตอยอดความเขา ใจมากยิ่งขึ้น เพื่อกระตุนใหผ ูเรยี นเกิดความเขาใจอยา งลมุ ลกึ 4) คาํ ถามเพอ่ื พัฒนาการคิด ทัศนคติ และการเห็นคุณคาของสง่ิ ท่เี รียน (to develop ideals, attitudes, and appreciations) เปนคาํ ถามทีช่ ว ยใหนักเรียนไดตระหนักและเห็นประโยชน

44 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 เห็นคุณคาของสิ่งที่เรียนในบรบิ ทตา ง ๆ ในหลาย ๆ มติ ทิ ่ีนอกเหนือจากความรูที่เรียนในหองเรยี น ) เพ่ือใหนักเรยี นมีความรู ความเขาใจที่เขมแขง็ (to strengthen learning) เปน คาํ ถามท่ชี ว ยใหนักเรียนทบทวนความรู หรือสรุปความรูเพ่ือใหเ ขา ใจ ถูกตองและตรงประเด็น 6) เพอ่ื กระตุนใหนักเรียนคิดอยางมวี จิ ารณญาณ (to stimulate critical thinking) โดยพฒั นา ทศั นคติในการถามคําถามของนักเรยี นใหลมุ ลึกในการถามคาํ ถามมากยงิ่ ข้ึน และ 7) เพ่อื ทดสอบการบรรลคุ วามสาํ เรจ็ ตาม วัตถุประสงคการเรียนรู (to test achievement of objective) เปนการตรวจสอบความรูความเขา ใจของผูเรียนในสง่ิ ท่ีครู ไดสอนแลว เพอ่ื ใหไดรบั รขู อมูลวาผูเรียนเม่ือเรียนในเนอ้ื หานั้น ๆ แลวบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรทู ี่ไดก าํ หนดไวหรือไม อยา งไรก็ตาม Groisser ยังไดเ สนอลักษณะของคาํ ถามที่ดีที่เหมาะสําหรับใชใ นหอ งเรยี นไว 7 ขอ ดังนี้ 1) คําถามท่ีตรงประเดน็ (Purposeful) ควรถามคาํ ถามท่ีเจาะจง ตรงประเด็น ตรงตามวตั ถุประสงคท ี่ตองการถาม 2) คําถามท่ีชดั เจน (Clear) ครคู วร ถามคาํ ถามท่ีชัดเจนและส่ือความหมาย เพือ่ ใหนักเรียนเขา ใจในสิง่ ท่คี รตู อ งการสอ่ื ไดถูกตอ ง 3) กระชับ (Brief) ครูควรเลอื กใช ภาษาทกี่ ระชบั ไมเ ยิ่นเยอในการถามคําถาม เพอ่ื ปอ งกันผูเรียนไมใ หเกดิ ความสบั สน หลงประเด็น หรือเขา ใจผิดเกีย่ วกับ ส่งิ ท่ีครูถาม 4) ภาษาทีเ่ ขาใจงาย (Natural) ครูควรใชภาษาท่ีเปนธรรมชาติ เขาใจงา ย หรือคาํ ศพั ทเฉพาะท่ียากเกินความเขา ใจ ของผูเรียนมากจนเกินไป 5) คําถามชวนคิด-กระตุนการคิด (Thought-provoking) ครูควรใชคาํ ถามในลักษระกระตุนให ผูเ รียนไดคิด คําถามท่ีนาสนใจ นาคนหา หรอื ชวนใหผ ูเรียนตอบสนองตอ สิง่ ที่ครูถาม 6) คาํ ถามที่มีขอบเขตที่ชัดเจน (limited in scope) ควรเปนคาํ ถามทีม่ ีเพียง 1 หรอื 2 ประเด็น ในการหาคาํ ตอบ หรอื อธบิ ายเหตุผล เพื่อปองการเขาใจผิด หรือการหลงประเด็นระหวางการอภิปราย และ 7) คําถามที่เหมาะสมกับชวงวัยของผเู รียน (adapted to the level of the class) ครูควรปรบั ภาษาของคาํ ถาม ลักษณะของคาํ ถาม ประเด็นในการถาม ความยากงา ยของคาํ ถาม และเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั คําถาม ใหเหมาะสมกบั ชว งวัยของเด็กเพอ่ื ใหเหมาะสมและทาํ ใหผูเ รยี นเขาใจ หากคําถามน้ันยากจนเกินไปอาจทําใหผูเรยี น ไมสนใจในส่ิงที่เรียน จากเอกสารที่กลาวมาในขางตนเห็นไดวา การใชค าํ ถามในหอ งเรียนเปน เทคนิคสาํ คัญในการชวยกระตุนใหผูเรียน เกิดความอยากรอู ยากเห็น หรือใฝรใู นสิ่งท่ตี องการทราบคําตอบ รวมไปถึงชว ยใหผูเรียนสามารถสรา งความรูไดด วยตนเอง ผานการเช่อื มโยงความรูใหมกับประสบการณเ ดิมของผูเรยี น สอดคลอ งกบั รายวิชาวิทยาศาสตรท ่เี นนใหผเู รียนสรา งความรู ดว ยตนเองผา นการลงมือปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะในสวนของการจัดการเรียนการสอนที่เนนโครงงานเปนฐาน หรอื รายวิชาโครงงาน วิทยาศาสตร โดย Simmons (2004 : online) ใหความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตรไวว า เปน การสํารวจตรวจสอบ ขอ คาํ ถามที่นักเรยี นสนใจ (investigate a question of interest) สอดคลอ งกบั Martine, Stephen and Young (2019 : online) และพมิ พันธ เดชะคปุ ต (2559 : 16) ใหค วามหมายของโครงงานวิทยาศาสตรไววา เปนการคนควาเกี่ยวกับหัวขอ วิทยาศาสตรดวยตนเอง โดยใชวธิ ีการทางวิทยาศาสตร (Scientific method) ทําใหผ ูเรียนไดเรียนรูในส่ิงท่ีเรียกวา องคความรู ทางวิทยาศาสตร (body of knowledge) ดวยตวั ผูเรียนเอง โดยความรทู ี่ไดมานั้นควรเปนความรใู หม หรือตอยอดจากความรู เดิม ซ่ึงครทู ําหนา ที่คอยใหคาํ ปรึกษา ทั้งครูและนักเรียนเรียนรูและศกึ ษาไปพรอม ๆ กัน (unknown by all) จุดเร่ิมตนสําคญั สาํ หรับการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตร คือ การพฒั นา (develop) และการมี (owning) คําถามที่นักเรียนสนใจท่เี กี่ยวกับชวี ติ จริง เนื่องจากโครงงานวิทยาศาสตรเปนรายวิชาท่ีมีเนอื้ หาวิทยาศาสตรเปนเน้อื หาหลัก แตส ามารถนําเน้ือหาอ่ืน ๆ รวมถงึ เนอ้ื หาในบรบิ ทของชวี ิตจริงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนไดความเหมาะสม หรือที่เรียกวา cross-curriculum project เพือ่ ฝกฝนใหผ ูเรียนสามารถแกป ญ หาในชีวิตจรงิ (real-life problem solving) จงึ จําเปนตอ งอาศัยการบูรณาการ ทง้ั ความรูและความชวยเหลอื ตา ง ๆ สาํ หรบั การศึกษาหาความรู และแกปญหาในสิ่งท่ีนักเรียนสนใจ โดย Simmons (2004 : 6) ไดใหขอสงั เกตวา ถงึ แมหลักสูตรวิทยาศาสตรมุงเนนใหนักเรียนเรียนรูจากขอเท็จจริงทางวิทยาศาสตร (learning science facts) และเรยี นรูผ านกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร (experimental procedure) แตม ีนักเรยี นนอยคนนักท่ีจะสามารถ ตงั้ คําถามปลายเปด (open-ended question) ไดดีและตรงกับหวั ขอทตี่ นเองตอ งการ โดยการระบปุ ญ หาหรอื การต้ังคําถาม สาํ หรบั การทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตรน้ัน ตอ งมีลักษณะท่ีเหมาะสมเพอื่ เอือ้ ใหนักเรยี นสามารถดําเนินการทาํ โครงงาน ไดลกั ษณะของคําถามที่เหมาะสําหรบั การทําโครงงานวิทยาศาสตร มลี ักษณะ ดงั นี้ 1) เปนคําถามปลายเปด เพอ่ื เปนการ ไมปดก้นั วิธีการในการแกป ญหา หรอื ไมไดร ะบวุ าวธิ ีแกป ญหาไหนถกู หรือผิด เน่ืองจากคําถามโครงงานบางคาํ ถามอาจมีวธิ ี แกป ญหาที่หลากหลายวธิ ไี ด 2) เปน คําถามรเิ ร่ิมสรางสรรค คําถามโครงงานทด่ี คี วรนาํ ไปสูการแสวงหาคาํ ตอบ ความรู วิธีการ หรือส่ิงประดิษฐใ หมที่ยงั ไมเคยพบ ยงั ไมเ คยปรากฏ หรือยังไมเคยมีผไู ดศึกษามากอ น 3) เปนคําถามที่สามารถดําเนินการ ตรวจสอบหรอื ทดสอบเพ่ือหาคําตอบได โดยไมยากหรอื ไมงา ยจนเกินไป 4) เปนคาํ ถามเพอ่ื พัฒนาความรูความเขา ใจพ้ืนฐาน

Journal of Roi Et Rajabhat University 45 Volume 14 No.3 September - December 2020 ท่ีเก่ียวขอ งกับปญหาน้ันของนักเรยี นมากยิ่งข้ึน สรุปไดว า คาํ ถามท่ีเหมาะสาํ หรบั การทําโครงงานควรเปนคาํ ถามริเรม่ิ สรา งสรรค เพอื่ นาํ ไปสูความรใู หม แตบางคาํ ถามอาจยากจนเกนิ ไป หรอื ไมเหมาะสมกบั ระดบั หรือชว งวัยของผเู รียน สง ผลใหโครงงาน ไมประสบผลสาํ เร็จหรือลมเลิกการทาํ โครงงานในเรอ่ื งนั้น ๆ การทาํ โครงงานวิทยาศาสตรเ ปนการใชวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร เขาไปศกึ ษาหาความรใู นเรอื่ งทส่ี นใจใหมีความรมู ากยิ่งข้ึน จึงไมจาํ เปน ตอ งตั้งคาํ ถามโครงงานท่ีมีความสลบั ซับซอนมาก จนเกินไป ซ่งึ การใชขอมูลที่ไดจากการสังเกตเหตุการณห รอื สถานการณท ่ีพบเห็นทวั่ ไปในชวี ิตประจาํ วันจงึ เปนวิธีการท่งี า ย สําหรับนักเรียน (พิมพันธ เดชะคุปต, 2553 : 40-41, พิมพันธ เดชะคปุ ต, 2559 : 54-55, พิมพันธ เดชะคปุ ต, 2548 : 68-69 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยขางตน ผวู ิจัยจึงสนใจในการศกึ ษา การใชกระบวนการเรยี นรูเชงิ รกุ รวมกับ เทคนคิ การใชค าํ ถามเพ่ือเสรมิ สรา งความสามารถในการตง้ั คาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรข องนักศึกษาสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร ท่วั ไป คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ ศกึ ษาความสามารถของนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรทัว่ ไปในการต้ังคําถามโครงงานวิทยาศาสตร หลังเรียนโดยการใชกระบวนการเรยี นรเู ชิงรุกรว มกับเทคนิคการใชคาํ ถาม 2. เพอ่ื เปรยี บเทียบระดบั ของการตงั้ คาํ ถามโครงงานวทิ ยาศาสตรข องนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรทว่ั ไป กอนและหลงั เรียนโดยการใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุกรวมกับเทคนิคการใชคําถาม กรอบแนวคิดและสมมติฐาน การเรยี นรเู ชงิ รุกเปนกิจกรรมท่ีนักเรียนสรา งความรูและความเขา ใจดวยตนเอง (construct knowledge and understanding) ซง่ึ กิจกรรมตองกระตุน ผูเรียนในการคิดขั้นสูง (higher order thinking) ผูเ รียนจะไดคิดเก่ียวกบั สงิ่ ทตี่ นเอง ไดเรียนรู ส่ิงสาํ คญั ของการเรยี นรูเชงิ รกุ คอื การเช่อื มโยงระหวางกิจกรรมการเรียนรกู บั กระบวนการเรียนรขู องผูเรยี น (Brame, 2016 : online) แตการถามคําถามทด่ี ีเปนทักษะที่ตอ งมีการฝกฝน ฝก ซอ ม และตอ งมีการนิเทศติดตาม ถานักเรียน ไมไดอ ยูใ นสังคมหรอื สภาพแวดลอมที่มีการกระตุนในการใชค าํ ถามเชงิ รุก (Active question) ทักษะการใชคาํ ถามจะไมเกดิ และไมกลายเปนคนมนี ิสยั ในการถามคําถามเชิงรุก จึงสง ผลใหการถามคําถามเปนทักษะท่มี คี วามสําคัญมากสาํ หรบั การเรม่ิ ตน ท่ีจะเรียนรูส่ิงใหม (Nikam, 2014 : online) การต้ังคําถามมีความสาํ คญั เปนอยา งมากในการเรียนโครงงานวทิ ยาศาสตร เพราะเปนจุดเร่ิมตนในการไดม าซึ่งหัวขอของการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร กลา วคอื หวั ขอในการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร ตองไดม าจากความสนใจ สงสัย บนพื้นฐานแหงปญหาที่กําลงั ตองการแกไข หรอื จากคาํ ถามที่ตองการคาํ ตอบ (ก่ิงทอง ใบหยก, 2554 : 46-47) ทง้ั นี้จากการศึกษาของนัยนา ตรงประเสรฐิ (2544 : 78) ท่ีศึกษาการเปรยี บเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร และความสามารถในการต้ังคําถามของนักเรียนท่ีมแี ละไมมีการฝกต้ังคําถาม เพือ่ พฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร พบวา นักเรียนทไี่ ดรบั การฝกต้ังคาํ ถามมีความสามารถในการตง้ั คาํ ถามสงู กวา นักเรยี นท่เี รียนโดยไมมีการฝกตั้งคาํ ถาม อยา งมีนัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ผูวจิ ัยจงึ ตัง้ สมมติฐานวา 1. นักศกึ ษาท่ีเรียนโดยการใชกระบวนการเรียนรูเชงิ รกุ รวมกบั เทคนิคการใชคาํ ถาม มคี ะแนนความสามารถ ในการตั้งคําถามสูงกวา รอยละ 75 อยูใ นระดบั ดี 2. นักศึกษาที่เรยี นโดยการใชกระบวนการเรียนรเู ชิงรุกรวมกบั เทคนิคการใชคาํ ถาม มีคะแนนความสามารถ ในการต้ังคาํ ถามหลังเรียน สูงกวา กอ นเรียนอยางมนี ัยสาํ คญั

46 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 วธิ ดี าํ เนนิ การวิจัย การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยกงึ่ ทดลอง (Quasi-Experiment Research) โดยมีการวิจัยแบบ One-group Posttest design มีกลุมการทดลอง 1 กลุม คือ กลุมของนักศึกษาทเี่ รียนโดยการใชกระบวนการเรียนรูเชงิ รุก รวมกับเทคนิคการใช คาํ ถาม มีการเกบ็ รวบรวมขอมูลระหวางเรียนและหลงั เรียน 1. ประชากรและกลุมตวั อยา ง 1.1 ประชากร ประชากรท่ใี ชใ นการวิจัยครงั้ น้ี คอื นักศกึ ษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรท่วั ไป คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏรอยเอ็ด สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 1.2 กลมุ ตวั อยา ง กลุมตัวอยา งที่ใชใ นการวิจยั คร้ังน้ี คอื นักศึกษาชั้นปท่ี 4 สาขาวชิ าวิทยาศาสตรท่วั ไป จาํ นวน 99 คน ที่กําลงั ศึกษาอยใู นภาคปลาย ปการศึกษา 2561 รายวชิ า SED4135 โครงงานวิทยาศาสตร ซง่ึ เปนรายวิชาเลือกเสรี ของสาขาวิชาวทิ ยาศาสตรทว่ั ไป คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โดยผวู ิจยั เลือกกลมุ ตัวอยางโดยใชการเลือก แบบเจาะจง (Purposive sampling) เน่ืองจากผูวิจัยพบปญหาจากการสอนนักศึกษาในรายวิชาดังกลาว ในปการศึกษา ทีผ่ านมา มีความสามารถในการตั้งคาํ ถามหรือระบุปญหาสําหรับการทาํ โครงงานวิทยาศาสตรอยูในระดบั ตาํ่ จึงเลอื ก กลุมตัวอยา งเปนนักศึกษาทเ่ี รยี นในรายวิชาโครงงานวทิ ยาศาสตร เปน กลุมตวั อยา งในการทาํ วิจยั คร้งั น้ี 2. เคร่ืองมือทใี่ ชใ นการวิจยั เครอ่ื งมอื ที่ใชใ นการวิจัย แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1) เคร่อื งมือทีใ่ ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอ มูล และ 2) เครื่องมอื ที่ใชในการทดลอง ซ่งึ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 2.1 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูล 2.1.1 แบบวัดความสามารถในการตั้งคาํ ถาม เปนแบบทดสอบแบบอตั นัย 20 ขอ โดยใหนกั ศึกษา ตั้งคําถามจากสถานการณหรอื ตัวอยางที่กําหนดให แลว นาํ คาํ ตอบมาพิจารณาโดยใชเกณฑก ารประเมินแบบแยกประเด็น (Analytic scoring rubric) ปรับจาก Nitko, 2007 : 261-284) ซงึ่ มีระดับคะแนน 3 ระดบั เพอื่ ประเมินพฤติกรรมยอย 5 พฤติกรรม ดงั น้ี 1) ลักษณะคาํ ถามปลายเปด 2) ความคิดสรางสรรคข องคาํ ถาม 3) ความสามารถในการดําเนินการ ตรวจสอบหรอื ทดลองไดจริงของคําถาม 4) คําถามสามารถพฒั นาความรูความเขา ใจพื้นฐานเกี่ยวกบั ปญหา และ 5) ภาษาท่ีชดั เจน เขา ใจงา ย และการสือ่ ความหมายของคําถาม โดยนาํ คะแนนท่ีประเมินพฤติกรรมยอยท้ัง 5 มาแปลผล ในสว นของความสามารถในการตั้งคาํ ถามเทียบกับการประเมินคณุ ภาพของกรมวชิ าการ และนําคะแนนมาวิเคราะห ความสอดคลองภายใน (inter-rater reliability) ปรับจาก Nitko, 2007 : 74-75) ไดคา rAB = 0.93 โดยแบบทดสอบ วัดความสามารถในการตง้ั คาํ ถามมีคา ดัชนีความสอดคลองของผทู รงคุณวุฒิ (IOC) เทากับ 0.917 ซึง่ ผทู รงคุณวฒุ ิไดใ ห ขอ เสนอแนะเก่ียวกบั การเลอื กสถานการณส ําหรบั ใชในแบบทดสอบวา “ควรเลอื กสถานการณท่เี ปนปจจบุ ันโดยใชภาษา ทไ่ี มชี้แนะนักศึกษาจนเกินไป เพอ่ื ใหน ักศึกษาสามารถเขา ใจและสามารถตั้งคําถาม เพอ่ื ใชแกปญหาในปจจบุ ันใหเกิดประโยชนไ ด เชน ปญหาฝุน 2.5 PM ปญ หาการเผาพชื พันธุการเกษตร ปญหาความแหงแลง ” 2.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ นการทดลอง 2.2.1 แผนการจดั การเรียนรูเชิงรุกรวมกับเทคนิคการใชคาํ ถาม จาํ นวน 4 แผน แผนละ 4 ช่ัวโมง รวมท้ังหมด 16 ชัว่ โมง ระหวา งวันที่ 7-31 มกราคม พ.ศ. 2562 ซง่ึ มีข้ันตอนการสอน ดงั น้ี ขัน้ ที่ 1 กระตนุ ผูเรยี นใหเกิดความสนใจ ครูกระตุนผูเรียนใหเ กิดความอยากรอู ยากเรียน โดยกาํ หนด สถานการณ แลวใหนักเรียนตง้ั คําถามเก่ียวกับสิ่งท่ีผเู รียนอยากรูจํานวน 10-15 ขอคําถาม แลว นาํ คําถามท่ีต้ังมาแลกเปลย่ี น คาํ ถามคาํ ตอบกบั เพื่อน โดยใชเทคนิค Think-pair-share และ/หรือ Think-pair-square เพอื่ ตรวจสอบลกั ษณะคาํ ถาม และคาํ ตอบของตนเอง ขัน้ ท่ี 2 แสวงหาความรู ครูกาํ หนดหัวขอ ที่นาสนใจเกี่ยวกบั ชีวิตจริงในปจจบุ ัน แลวใหผ ูเรียนตั้งคําถาม ตามแตละประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร โดยพยายามใชค าํ ถาม How และ Why ใหไดคาํ ตามถามแตละประเภท ของโครงงานวิทยาศาสตร ประเภทละ 4-6 คําถาม เม่อื เสร็จแลว ครูใหผเู รียนเขากลุมยอย กลุมละ 3 คน เพ่อื นําสูการอภปิ ราย ลักษณะของคาํ ถามที่นาํ ไปสูการศึกษาตอ โดยครูใชเ ทคนิคการใชค าํ ถามเพ่ือพัฒนาความคิดและกระตุนใหผูเรียนเกดิ ไอเดีย

Journal of Roi Et Rajabhat University 47 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในการสรา งสรรคคาํ ถามท่ีนาสนใจและสามารถตง้ั คาํ ถามเพ่ิมได รวมถงึ ใหผเู รียนจัดกลมุ คาํ ถามทต่ี นเองสรางข้ึนใหเปน หมวดหมู โดยใชเทคนิค PMI (Plus-Minus-Interest) ปรับจาก Northern Ireland Curriculum (2007 : 57) Plus คอื คําถามเชงิ บวกหรอื คาํ ถามท่ีดี Minus คือ คําถามทเ่ี ราทราบคําตอบอยูแลว และ Interest เปนคําถามท่ีนาสนใจ คําถามทต่ี องการแสวงหาความรตู อไป หรอื ประเด็นท่เี ราสามารถต้ังคําถามเพิ่มเติมไดอ ีก ขั้นที่ 3 อธิบายและสรุปผล เปนขั้นทผี่ ูเ รียนนําเสนอผลของการตั้งคําถามในแตละกลุม พรอ มทัง้ สะทอ นผลการต้ังคาํ ถามจากเพ่ือนรว มช้ัน ครูนาํ ผลการตง้ั คําถามของผูเรียนมาอภิปรายเชื่อมโยงกับลักษณะคําถาม โครงงานวทิ ยาศาสตรท ี่ดีและเหมาะสมสําหรบั นําไปศึกษาตอ โดยครใู ชเทคนิคการใชคาํ ถามเพ่อื กระตุนใหผเู รียนสามารถสรปุ ความรูเก่ียวกับลักษณะคาํ ถามทเ่ี หมาะสมสําหรบั ทาํ โครงงานควบคูไปกบั การอธบิ าย ขัน้ ท่ี 4 ขยายความรู ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุมยอ ย กลุมยอ ยละ 3 คน (กลุมเดิม) แลวมอบหมาย หัวขอ ท่ีนาสนใจใหแตละกลุม (แตละกลมุ ไดหัวขอไมซ ้ํากัน) แลว มอบหมายใหแตล ะกลุมยอยระดมความคิด (Brainstorming) ในการสรางคาํ ถามเกี่ยวกบั หัวขอน้ัน ๆ ใหไ ดมากทีส่ ุด โดยใชลักษณะการถามคาํ ถามตอ เนอื่ งกันเปนลาํ ดบั ไปเรื่อย ๆ ภาพประกอบ 1 ลกั ษณะการถามคาํ ถามตอ เน่อื งกันเปนลําดบั ปรับกิจกรรมจากแนวคดิ ของ Simmons, 2004 : online and Northern Ireland Curriculum, 2007 : online) เมื่อแลวเสร็จใหผ ูเรียนประเมินลักษณะคําถามทเ่ี หมาะสมสําหรบั ทําโครงงาน แลวเลือกคําถามที่ผเู รียนสนใจ ทจ่ี ะนําไปสูการทําโครงงาน กลุมยอยละ 3 คําถาม เพอ่ื นําไปสูการสืบคนขอ มูลท่ีเก่ียวขอ งกบั คาํ ถามน้ัน ๆ ตอไป ขน้ั ท่ี 5 ประเมินผล ระหวา งดําเนนิ กิจกรรมครผู สู อนคอยประเมินลักษณะคาํ ถามทผ่ี ูเรียนตง้ั รวมท้ังการสนทนาของผเู รียนแตละคน แลวใชคําถามกระตุนใหผเู รียนสามารถดาํ เนินการกิจกรรมตา ง ๆ ตอไปได แทนการบอกโดยตรง ครูประเมินและใชคาํ ถามชวยเปนตัวขบั เคล่อื นและกระตนุ กิจกรรมในทุกข้ันตอนการสอน ปรับกิจกรรม จากแนวคดิ ของ Simmons (2004 : online) and Northern Ireland Curriculum (2007 : online) 2.2.2 แบบสังเกตพัฒนาการในการตัง้ คําถามโครงงานวทิ ยาศาสตร เปนแบบสงั เกตลักษณะการตัง้ คําถาม ของผูเรียนจากกิจกรรมระหวา งเรียน ใน “ขั้นขยายความร”ู โดยนําขอ คําถามทผ่ี ูเรียนสรา งข้ึนจากการทาํ กิจกรรมมาวิเคราะห ลักษณะของคาํ ถามทผี่ ูเรียนสรางข้นึ และเปรียบเทียบผลการต้ังคาํ ถามของผูเรียนในแตละครัง้ ใน 7 ประเด็น ดังน้ี 1) ลักษณะคําถามปลายเปด-ปด 2) ลกั ษณะการรูคาํ ถามจากคาํ ถาม 3) ความคิดสรา งสรรคของคําถาม 4) ความตรงประเด็น ในการถามคําถาม 5) ความชัดเจน และการสอื่ ความหมายของคาํ ถาม 6) ระดับคาํ ถามตาม Bloom’s taxonomy และ 7) ลักษณะของคาํ ถามตามประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร ทง้ั น้ีการใชแบบสงั เกตพัฒนาการ ในการต้ังคาํ ถามโครงงาน

48 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 วทิ ยาศาสตรใ ชในการสงั เกตและกํากบั พฤติกรรมผูเรียน ในการตง้ั คําถามระหวางทํากิจกรรม แลว นาํ ขอ มูลมาวิเคราะห เพือ่ หาจุดเดนจุดดอ ยของผูเรียน และปรบั ปรุงลักษณะของกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการตง้ั คําถามของผเู รียน ใหไดมากท่ีสุด แตไ มนําคะแนนจากการสังเกตพัฒนาการมาใชใ นการแปลผลในสวนของความสามารถในการตั้งคาํ ถาม โครงงานวิทยาศาสตร 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอ มูลของการวิจัยครัง้ น้ี แบงออกเปน 3 ชว ง คือ 1) เก็บรวบรวมขอ มูลกอนการทดลอง 2) ดาํ เนินการทดลอง และ 3) เก็บขอ มูลหลังการทดลอง ซงึ่ มีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 เก็บรวบรวมขอมลู กอนการทดลอง โดยใชแบบวัดความสามารถในการตงั้ คําถามโครงงานวทิ ยาศาสตร ทดสอบผเู รียนกลุมตัวอยาง 3.2 ดาํ เนนิ การทดลอง เตรียมความพรอ มกอนเรยี น โดยแนะนาํ รายละเอียดรายวิชา SED4135 โครงงานวิทยาศาสตร วัตถุประสงครายวิชา และลักษณะของกิจกรรมทีใ่ ชในการจัดการเรียนการสอน ผูว จิ ัยดําเนินการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรูเ ชิงรุกรวมกบั เทคนิคการใชคําถาม จํานวน 4 แผน เปนระยะเวลา 4 สัปดาห รวมท้งั หมด 16 คาบ ระหวางวันท่ี 7-31 มกราคม พ.ศ. 2562 เก็บรวบรวมขอมูลระหวา งการจัดการเรียนการสอนโดยใชแบบสงั เกตพัฒนาการ ในการตั้งคาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตร เพื่อวิเคราะหลักษณะการต้ังคาํ ถามของผเู รยี นระหวางทดลองใชแ ผน และนําขอ มลู มาวิเคราะหเพอ่ื ปรบั กิจกรรมใหเหมาะสมกบั ผูเรียน แตไมนาํ คะแนนมาใชใ นการแปลผลความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงาน 3.3 เกบ็ ขอมูลหลังทดลอง ใชแบบวดั ความสามารถในการต้งั คาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรทดสอบผเู รียน หลังเรียนเสร็จ เพื่อนําคะแนนมาวิเคราะหและแปลผลในสว นของความสามารถในการตั้งคําถามโครงงานวิทยาศาสตร และเปรยี บเทยี บคะแนนความสามารถในการต้ังคาํ ถามโครงงานวทิ ยาศาสตรระหวางกอนเรียนกับหลังเรียน โดยใช กระบวนการเรยี นรูเชิงรุกรวมกับเทคนิคการใชคําถาม 4. การวเิ คราะหข อมูล การวิเคราะหขอมูลของการวิจัยครง้ั นี้แบงออกเปน 2 สวน ไดแก 1) คะแนนความสามารถในการต้งั คําถาม และ 2) เปรยี บเทยี บคะแนนความสามารถในการตัง้ คาํ ถามกอ นเรียนกบั หลังเรยี น 4.1 วเิ คราะหข อ มลู คะแนนความสามารถในการตง้ั คาํ ถาม โดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต และคาเฉลี่ยรอ ยละ 4.2 วเิ คราะหเพือ่ เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการต้งั คาํ ถามกอนเรียนกบั หลงั เรยี นโดยใชคา เฉล่ีย เลขคณิต คา เฉล่ียรอยละ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t-test สรปุ ผล ผลการวิจัย พบวา 1. นักเรียนทเ่ี รียนโดยใชกระบวนการเรยี นรูเชงิ รุกรวมกบั เทคนคิ การใชคาํ ถาม มีคะแนนความสามารถในการ ต้ังคําถามเทา กับรอ ยละ 85.84 สงู กวาเกณฑท ่ีกาํ หนดไวทร่ี อ ยละ 75 และจัดอยใู นเกณฑระดบั ดมี าก เมื่อพจิ ารณาพฤตกิ รรม ยอยของการต้ังคําถามพบวา 1) นักศึกษาไดคะแนนพฤตกิ รรมยอยท่ีสงู กวารอยละ 80 จาํ นวน 4 รายการ ไดแก การต้งั คําถาม ปลายเปด คาํ ถามท่สี ามารถดําเนินการตรวจสอบหรือทดลองไดจริง คําถามสามารถพัฒนาความรคู วามเขาใจพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ปญ หา และความชัดเจน เขาใจงา ย และส่ือความหมายของคําถาม และ 2) นักศึกษามีพฤติกรรมยอ ยทไี่ ดคะแนนรอยละ 76.43 คอื ความคิดสรา งสรรคของคําถาม 2. นกั ศึกษาท่ีเรยี นโดยใชกระบวนการเรยี นรเู ชงิ รุกรว มกบั เทคนิคการใชคําถาม มีคะแนนความสามารถ ในการตั้งคาํ ถามโครงงานวทิ ยาศาสตร หลังเรยี นสูงกวากอนเรยี นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05

Journal of Roi Et Rajabhat University 49 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 1 คา เฉล่ีย (X̅) รอ ยละ (%) สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคา สถติ ิทดสอบที (t-test) ของคะแนนความสามารถ ในการต้ังคําถามโครงงานวทิ ยาศาสตรข องนักศึกษากอ นและหลงั เรียนฯ score X̅ % S.D. t df sig กอน 149.24 49.75 7.47 108.81* 98 0.00* หลงั 257.52 85.84 84.50 *นัยสําคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 อภิปรายผล ผูวิจยั พบประเดน็ ท่ีนา สนใจจึงนํามาอภิปราย 2 ประเดน็ คอื 1) ความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงาน วทิ ยาศาสตร และ 2) ความสามารถในการต้งั คาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรห ลงั เรียนสงู กวากอ นเรียน ดังนี้ 1. ความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงานวทิ ยาศาสตร การวจิ ัยครง้ั นพี้ บวา นักศกึ ษากลุมท่ีเรียนโดยใชกระบวนการเรียนรูเชงิ รุกรว มกบั เทคนิคการใชคําถามมีคะแนน ความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตร คดิ เปนรอยละ 85.84 ซ่งึ สงู กวารอยละ 75 เนอ่ื งจากการเรียนโดยใช กระบวนการเรยี นรูเชิงรุกรว มกบั เทคนิคการใชคาํ ถามนั้นมขี ั้นตอนที่พัฒนาทักษะความสามารถในการต้งั คําถามของผูเรยี น ผานกิจกรรมท่ีใหผเู รียนสรา งความรูดวยตนเอง แลวนาํ ความรูที่ไดมาอภิปรายกบั เพื่อนรว มช้ัน เพื่อแลกเปล่ียนความรู แนวคิด และขอเสนอแนะตา ง ๆ ผานเทคนิค Think-pair-share ทีอ่ ยูในกระบวนการเรียนรเู ชงิ รกุ ซงึ่ ทาํ ใหผูเรยี นเกดิ ความเขา ใจ ท่ีลุม ลึกมากย่งิ ข้ึน อีกทงั้ ยังไดรับการกระตุนจากครูผูสอนผานเทคนิคการใชคาํ ถาม ทําใหผ ูเรยี นถูกกระตุนในการคดิ คําถาม ไดแนวคิดหรือมุมมองใหมเกยี่ วกับการต้ังคาํ ถาม รวมถึงไดแนวทางการใชคาํ ถามทคี่ รใู ชใ นหองเรียนเปนตวั อยางในการพฒั นา การตง้ั คําถามของตนเองใหด ีย่ิงขึ้น สอดคลอ งกบั Brame (2016 : 2-3) ท่พี บวาการเรียนรูเชิงรุกชวยใหผูเ รยี นเรียนรู ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ กวา การสอนโดยครเู ปนผูบอก (teaching by telling) โดยการเรียนรูเชิงรุกในกิจกรรมทผ่ี ูเรยี น สรา งความรดู ว ยตนเองหรือลงมอื ปฏบิ ตั ิ เชน ในรายวิชาโครงงาน STEM การออกแบบชวยใหผูเ รยี นเรยี นรูไดดีกวาการเรียนรู แบบดั้งเดมิ ที่มคี รูคอยอธิบายความรู (traditional lecture) อยา งมีนัยสาํ คัญ ในสวนของการเรียนการสอนในรายวชิ า เชน ชวี วทิ ยา เคมี ฟสิกส คณติ ฯลฯ การใชการสอนเชิงรุกชว ยใหเกิดการเรียนรไู ดด ีอยา งไมม ีนัยสําคัญ สอดคลองกับ Teaching Assistants’ Training Program (2014 : online) ท่พี บวา ประสบการณก ารเรียนรขู องผูเรียนจะมปี ระสิทธิภาพ อยา งมีนัยสาํ คญั ตอ เมื่อผูเรยี นตองไดพดู สนทนา (must talk) เกี่ยวกับส่งิ ทผี่ ูเรียนไดเรียนรู สิ่งที่ผูเรียนกําลังทําความเชอื่ มโยง ระหวางสิง่ ท่ีกาํ ลงั เรยี นกับประสบการณห รอื ความรูเดมิ และนําความรทู ี่เรียนไปประยุกตใชใ นชวี ติ ประจําวัน ซ่งึ การเรียนรู เชงิ รกุ นนั้ ชวยใหผ เู รียนเรียนรไู ดด ีกวาการท่ีผูเรียนไมตองทําอะไรนอกจากการน่ังในหองเรียน ฟงในส่ิงท่ีครูอธิบาย จดจาํ ในสง่ิ ท่คี รู ใหเปนการบาน และตอบคาํ ถามในสิ่งท่ีครถู ามในหอ งเรียน สอดคลองกบั ขอสรปุ ของ Dias (2011 : 5) ที่กลา ววาการสอน และการเรียนรูเชงิ รุกเปนแนวทางการสอนท่ีมีประสทิ ธภิ าพทเ่ี ปลยี่ นกระบวนทัศนของผูเรยี นโดยมีเปาหมายอยูท่ีกิจกรรม การเรียนรทู ี่กระตือรอื รนใหผ เู รียนมสี วนรว มในการทาํ กิจกรรมมากย่ิงข้นึ การใชคําถามในชั้นเรียน (class question) การอภปิ ราย (discussion) การศึกษากรณีตวั อยา ง (case studies) การแกป ญหา (problem solving) ลว นแลว แต เปนกลยทุ ธของกระบวนการเรียนรเู ชงิ รุก และไดรบั ความนิยมในบรรยากาศการสอนในระดับมหาวทิ ยาลัย สอดคลองกับ University of North Carolina at Chapel Hill (2009 : online) พบวา การเรียนรูเชิงรุกชว ยกระตุนผูเรียนในชั้นเรียน โดยชวยใหผูเ รียนคิดเก่ียวกบั เน้ือหาที่เรียนไดล ึกซง้ึ มากย่งิ ข้ึน (think more deeply) ชวยเพ่มิ พลังงานในหอ งเรียนใหม ี ชวี ติ ชีวามากย่งิ ข้ึน และยังชวยในการระบสุ ิ่งทีผ่ เู รยี นไมเขาใจผา นกิจกรรมและสื่อการเรียนรู ในสวนของการใชเทคนิคการสอน ในกิจกรรมการเรียนรูน้ันชว ยใหผ ูเรียนสามารถตั้งคาํ ถามไดดีย่ิงขึ้น สอดคลองกบั Northern Illinois University (2019 : online) ทสี่ รุปวา การใชค าํ ถามในหองเรียนชว ยใหผูเรียนถูกกระตุนเก่ยี วกับเน้อื หาท่เี รียน มปี ฏิสัมพันธก บั ครู และมีปฏสิ ัมพันธกับ เพ่ือนรว มช้ัน ครทู ี่ดตี องรูจักสรางคาํ ถามที่สามารถแนะนําใหนักเรียน พฒั นาคาํ ตอบไดด ีข้ึนกวาเดิม และท่ีสาํ คัญตองชว ยให ผเู รียนสรางขอความหรอื ตงั้ คาํ ถามดวยตนเองได (form questions of their own) สอดคลองกับ Nappi (2017 : online) ทีพ่ บวา ในการสอนหนงั สือของครูโดยสวนใหญนิยมใชคาํ ถามทีเ่ ปนคําถามขน้ั ตาํ่ หรอื ถามคําถามเก่ียวกับความรูความจํา ขน้ั พื้นฐานเก่ียวกับเน้ือหาความรูถ อื วาเปนกําแพงขวางก้นั ในการกระตุนการคิดขั้นสูง คิดอยางมีวจิ ารณญาณ ซึ่งเปนส่งิ ที่

50 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอด็ ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 จาํ เปนมากในการประสบความสาํ เร็จในการดาํ รงชีวติ การวางแผนในการใชคาํ ถามของครูอยางระมัดระวังและหลากหลาย ชว ยใหครูสามารถพฒั นาขอบเขตของคาํ ถามใหกวางขวางมากย่ิงขึ้น รวมถึงชว ยกระตุนผเู รียนในการคิดวิเคราะห ประยุกต และคดิ สรางสรรค การท่ีครูผสู อนสามารถกระตุนผเู รียนใหเรยี นรูเก่ียวกับวิธีการคิด (how to think) เก่ียวกับสิง่ ท่ผี ูเรียน กําลงั คิดสามารถทาํ ใหผูเรียนเกิดความเขา ใจอยางลุมลกึ มากย่ิงขึ้น จึงสามารถกลา วไดว า “การใชคาํ ถาม” เปนเครอ่ื งมือ ทท่ี รงพลงั เปนอยา งมากในการสอนหนงั สอื ถา ครูสามารถพัฒนาความสามารถในการใชเ ทคนิคการถามคําถามในชั้นเรียน ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพจะทําใหครูสามารถพัฒนากระบวนการสอนใหมีคุณภาพและหลากหลายมากยิ่งขน้ึ อยา งมีนัยสาํ คัญ ท้ังนี้ Vale (2013 : online) ไดใหขอเสนแนะที่นา สนใจวา การถามคําถามเปนสวนหนึ่งของการเรียนรูวิทยาศาสตรใหมี ความสนุก โดยเริ่มจากการฝกใชคาํ ถามวา “ทําไม” ซ่ึงเปนจดุ เรมิ่ ตนท่ีนาํ ไปสกู ารเรียนรูอยา งตอ เน่ืองไปเร่อื ย ๆ และเพิ่มความมุง มัน่ ในการอยากท่ีจะเรยี นรใู นเรอ่ื งนั้น ๆ ผา นการตั้งคาํ ถามไปเร่อื ย ๆ การต้ังคาํ ถามแลวนําไปสูการแสวงหา คาํ ตอบน้ันถือวาเปน “ของขวัญท่ีพิเศษของสตปิ ญญาของมนุษย” จากเหตผุ ลท่ีกลาวมาในขางตน สนับสนุนใหสามารถสรปุ ไดวา การจัดการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการ เรียนรเู ชิงรุกรว มกับเทคนิคการใชคาํ ถามสามารถพัฒนาผูเรยี นใหม คี วามสามารถในการต้ังคาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรไ ดมาก ย่ิงขึ้น ผานกิจกรรมท่ีใหผูเรยี นไดสังเกตปราการณห รือสถานการณตวั อยางแลว สรา งขอคาํ ถามตามแตล ะประเภทโครงงาน วิทยาศาสตรดว ยตนเอง แลว นาํ ขอคาํ ถามหรือองคความรูนั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรูผานเทคนิค think-pair-share และ think- pair-square จึงทาํ ใหผูเรยี นไดเ ห็นมุมมองและแนวคิดใหม ๆ จากเพื่อนรวมชั้น และไดสะทอ นถึงขอคําถามท่ตี นเองไดสรา ง ข้ึนท้ังในขอ ดีและขอจํากดั ของคาํ ถามในขอ น้ัน ๆ หากพิจารณากิจกรรมการสอนเทียบกับทฤษฎีการเรียนรูแลว สอดคลองกับ Brame (2016 : online) ท่ีกลาวไวว า การสอนดว ยกระบวนการเรียนรเู ชงิ รุกน้นั มที ฤษฎีการเรียนรูสรรคนิยม (constructivism) เปนพื้นฐานสาํ คัญของการสรา งความรขู องผูเรยี น ผเู รียนแตละคนจะเรียนรูผา นการสรางความรดู ว ยตนเอง เชื่อมโยงความรใู หมหรือแนวคิดใหมกับประสบการณเดิมหรือความรเู ดิมที่มีอยูเขาดว ยกันกลายเปนความรทู ี่เกิดข้ึนมาดวย ความเขาใจ กระบวนการเรียนรเู ชิงรุกจะกอใหเกิดการสรา งความรจู ากความเขาใจดว ยตนเองไดนั้น ครตู อ งตั้งคาํ ถามกระตุน ใหผูเรียนเชื่อมโยงความรูท ่ีกําลังเรยี นรเู ขากับความรูเดิมที่ผเู รียนมี เพื่อเปนการขยายความเขา ใจของผูเรียนใหเพ่ิมมากย่งิ ข้ึน ดงั น้ันการถามคาํ ถามของครจู ึงมีความสาํ คญั เปนอยางมากในชั้นเรียนในการชวยพัฒนาผูเรยี นใหสรางความรูจากความเขา ใจ ดวยตวั ผูเรียนเอง และท่ีสําคญั การสอนดว ยกระบวนการเรียนรูเชิงรกุ และเทคนิคการใชคําถามเปนเคร่ืองทส่ี ําคัญทคี่ รูควร พฒั นาตนเองใหส ามารถใชไดอยา งมีประสทิ ธิภาพตามท่ี Northern Ireland Curriculum (2007 : online) ไดเ ล็งเห็นวา ผูเ รยี นน้ันมีความยืดหยนุ มีความคดิ สรางสรรค และคอนขา งกระตือรอื รน การเรียนรเู พือ่ ใหไ ดเพยี งความรู (Knowing of knowledge) อาจไมเพียงพอใหการประสบความสาํ เร็จในระยะยาวเน่อื งจากความรูมคี วามซบั ซอ น เปลี่ยนแปลง และพฒั นา ไปอยางรวดเรว็ การเรียนรูตลอดชีวิตและความสําเร็จที่จะเกิดข้ึนจึงเปนส่ิงทส่ี าํ คัญตอผูเรียนที่ครูตอ งสรา งโอกาสในการพฒั นา ความสามารถและทักษะดา นการคดิ ใหก ับผเู รียนไมใ ชแ คมอบความรู แตตองสรา งใหผ ูเรยี นเกดิ ความเขา ใจและสามารถ นําไปใชไดในชีวติ จริง การเรยี นรดู วยกระบวนการเรียนรูเชิงรกุ จงึ เปนเครื่องมอื หน่ึงในการกระตุนผูเ รียนในสวนของการเรียนรู (learning) ทจี่ ําเปนและเก่ียวของกบั ผเู รยี นทจี่ ะใชใ นอนาคต (relevant) เรียนรูอยางมีความสขุ (enjoyable) และเสริม ประสบการณท ี่เปนแรงบันดาลใจใหกับผูเ รยี น (motivational experience) ซง่ึ หวังวา ครูจะใชเทคนิคตาง ๆ รวมถงึ การ เรียนรูเชงิ รุกใหเ ปนเครอ่ื งมือทเี่ ปนประโยชน (helpful tool) ในการวางแผนและการสรา งสรรบรรยากาศการเรียนรทู ี่จดุ ประกายความคิด (stimulating) บรรยากาศทเ่ี พ่ิมคณุ คา (enrich) บรรยากาศทท่ี าทายความสามารถ (challenge) และ บรรยากาศที่ผูเรียนควรสนในศึกษา (focus) โดยการสรา งบรรยากาศการเรียนรเู หลานี้เพอื่ ผูเรยี นและเพอ่ื ครู 2. ความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรห ลงั เรียนสูงกวากอนเรียน การวจิ ัยคร้ังน้ีพบวา นักศึกษาท่เี รียนโดยใชกระบวนการเรียนรูเชงิ รุกรวมกบั เทคนิคการใชคาํ ถาม มีคะแนน ความสามารถในการต้ังคําถามโครงงานวิทยาศาสตรห ลงั เรียนสูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 เนอื่ งจาก การเรียนการสอนโดยใชกระบวนการเรยี นรูเชงิ รุก รว มกบั เทคนิคการใชคาํ ถามเนนใหผูเรียนสรางความรูด วยตนเองผาน กิจกรรมท่ตี องสังเกต และต้ังคําถามตามประเภทตาง ๆ ของโครงงานใหถูกตองตามลักษณะของคาํ ถามท่ดี ีและเหมาะสม สําหรบั การทาํ โครงงานวิทยาศาสตร นอกจากน้ยี งั ใหผูเรียนนาํ คําถามท่ีตนเองสรา งขึ้นมาแลกเปลี่ยนเปล่ียนและสะทอนผล กบั เพือ่ นรว มชัน้ เรียน ซง่ึ การแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นน้ีทําใหผ ูเรียนสามารถอภิปรายถึงขอดีและขอเสนอแนะตาง ๆ ทาํ ให เกดิ ความเขาใจทล่ี ุมลึกอยา งมีเหตุมีผล ซึ่งกอนเรยี นนั้น ผเู รียนสามารถต้ังคาํ ถามได แตเ ปน คําถามในการรอื้ ฟนความรูพื้นฐาน

Journal of Roi Et Rajabhat University 51 Volume 14 No.3 September - December 2020 หรือเปนคําถามทมี่ ีคาํ ตอบอยูแลว จึงทาํ ใหคาํ ถามทีผ่ ูเรยี นสรา งข้นึ เปน คาํ ถามระดับต่าํ ทีไ่ มเหมาะสาํ หรับการทาํ โครงงาน วิทยาศาสตรท ตี่ องการความรูใหม วิธกี ารใหม หรอื สงิ่ ประดิษฐใ หม โดยตอ งไมใชคาํ ถามท่ีมีคําตอบอยูแลว สอดคลองกับ พมิ พันธ เดชะคุปต (2559 : 16) ท่ใี หความหมายของโครงงานวิทยาศาสตรไววา การทําโครงงานเปนการศึกษาเพือ่ คนพบ ความรใู หม สิ่งประดิษฐใหม และวิธกี ารใหม โดยใชวิธีการทางวทิ ยาศาสตรในการแสวงหาคําตอบ เมื่อผูเรยี นไดทํากิจกรรม ตง้ั คําถามดว ยตวั ผูเรยี นเอง แลวแลกเปลยี่ นกบั เพ่ือนรวมชั้นทาํ ใหเกิดการวพิ ากยและโตแยงในประเด็นที่ทําใหผเู รียน เกดิ ความเขาใจถึงลักษณะของคาํ ถามที่ชัดเจนมากยิ่งข้ึนทที่ ําใหหลังเรยี นโดยใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุกรว มกบั เทคนิค การใชคาํ ถามมีความสามารถในการตงั้ คาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตรส ูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคญั สอดคลอ งกับ Shinichi (2018 : online) ท่พี บวาการเรียนรเู ชงิ รุกเปนการเรียนรทู ี่กระตุนผูเรยี นผานกิจกรรม เชน การเขยี น การอภิปราย และการนาํ เสนอ และเปนกระบวนการเรยี นรทู ่ีเกิดข้ึนภายนอกในการทํากิจกรรม (externalizing cognitive processes) กระบวนการเรยี นรูเชิงรุกยงั เปนวิธีการเรียนรทู ่ีมีประสทิ ธิภาพ (effective learning method) สําหรับการเรียนการสอน ของครูท่ีตอ งพบกบั ความยากลาํ บากในการสอนผเู รียนจํานวนมากและไมสนใจฟงระหวางเรยี น นอกจากน้ีกระบวนการเรียนรู เชงิ รุกยังกระตุนผูเรยี นในการต้งั สมมติฐานในการเรียน สะทอนผลที่เกดิ ข้ึนระหวา งเรียน และประยุกตค วามรูทเ่ี รียนไปใช ในชีวติ ประจาํ วันได Mendonca and Franberg (2014 : online) ศึกษาพบวา การจัดการเรยี นการสอนโดยใชกระบวนการ เรียนรูเชิงรุกในระดับอุดมศึกษา ระหวา งดําเนนิ การสอนหากการสนทนาระหวา งครกู บั นักเรยี นเปนไปในเชิงรุก รวมไปถงึ การใชอุปกรณหรือสื่อการเรียนรู การแนะนํา และการทาํ งานรว มกัน (collaboration) สงผลใหนักเรยี นมีสวนรวม อยางกระตือรือรน (actively participate) ในการสรา งความรูดวยตวั ผูเรียนเอง ตามแนวคดิ ของ Vygotsky ทใ่ี หความสําคญั กับการมปี ฏิสัมพันธกับเพ่อื นรวมชัน้ (social interaction) เปน ปจจัยสําคัญของการเรียนรู (key to learning) การเรียนรู และการพัฒนาจะไมเ กิดข้ึนหากมองขา มการมีปฏสิ ัมพันธกับส่ิงรอบขา ง ดังน้ันการสนทนากบั เพอ่ื นรวมชัน้ และกับครูผสู อน จงึ เปนเครอ่ื งมอื สําคัญของการเรียนรู เพอื่ ใชเ ปน กระบวนการสังเกตการณ (monitor) และกระบวนการในการกาํ กบั ตนเอง ในการเรียนรูของผูเรยี น (self-regulation) สอดคลองกับ Christersson, et al. (2019 : 8) ทพี่ บวา กระบวนการเรียนรู เชงิ รุกสามารถเปล่ยี นแปลงแนวทางการสอนของครใู นระดบั มหาวิทยาลัย ภายใตความรับผดิ ชอบท่ีจะตองขบั เคลือ่ นสังคม และเปล่ียนแปลงคุณภาพการศึกษาใหดียิ่งขึ้น กระบวนการเรียนรูเชิงรุกเหมาะสมกบั ทง้ั ครูและผูเรียน ในการเขา ใจนิยาม ความหมายของการเรียนรูมากย่ิงข้ึน และเปลี่ยนจากการเรยี นรูแบบเดิม ๆ หรือการสอนแบบเดิม ๆ ท่เี คยใชมาเปนการเรียนรู แบบรวมมือรวมพลงั (collaborative learning) และการสรางความรูร ว มกัน (co-creation of knowledge) นอกจากนี้ การเรียนรเู ชิงรกุ ยังเปนปรัชญาการศกึ ษาทีข่ ับเคล่ือนในการพัฒนาผูเรียนใหกลายเปนพลเมืองท่ีกระตอื รอื รน (active citizens) กับการมีสวนรว มระดบั โลก (global engagement) ในบรบิ ทของผูมสี วนไดส ว นเสียทางการศึกษา เช่ือไดวากระบวนการ เรียนรเู ชิงรุกเปนสวนหนึ่งของกลยุทธท่สี ําคัญของการศึกษาสําหรับระดบั อุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยในการกํากับติดตาม ภารกิจของชุมชนแหงการเรยี นรู และเปนสว นสาํ คัญของการศึกษาเพอ่ื การพฒั นาอยา งยงั่ ยืน (sustainable development) ขอเสนอแนะ 1. ขอ เสนอแนะในการนําไปใช 1.1 ครผู ูสอนควรศึกษาและวิเคราะหเทคนิคตา ง ๆ ของการเรยี นรเู ชิงรุกทม่ี ีหลากหลายเทคนิค เลือกและนํามา ปรับใชใ หเหมาะกบั เน้ือหาและบริบทของเนือ้ หาน้ัน ๆ 1.2 เทคนิคการใชคําถามมีแนวทางการใชอยางหลากหลาย ครูควรเตรียมความพรอ ม และเตรียมคําถาม ใหมีความหลากหลาย และมีขอบเขตครอบคลุมกบั เน้ือหาท่ีจะใชใ นการสอน เพ่อื ใหระหวางดําเนินการสอนครูสามารถ พลิกแพลง ปรับเปลี่ยนใหเกดิ ความล่ืนไหลของกิจกรรม และสามารถทาํ ใหหอ งเรยี นเกิดความกระตอื รอื รน ได 1.3 การเลือกประเด็นสาํ หรบั การทํากิจกรรมการต้ังคาํ ถามมีความสําคัญมาก ครคู วรเลือกเนอ้ื า สถานการณ หรือตวั อยางท่ีผูเรียนสามารถสรา งคาํ ถามในการแสวงหาคาํ ตอบไดห ลากลายวิธี หากเลือกสถานการณท ่มี ีคาํ ตอบเพยี งวธิ เี ดียว อาจะสง ผลใหผูเรียนตั้งคาํ ถามไดไมหลากหลาย และไมทา ทายผูเรียน

52 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 2. ขอ เสนอแนะในการทําวิจยั คร้ังตอ ไป 2.1 การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาความสามารถในการตั้งคาํ ถามโครงงานวิทยาศาสตร หากตองการศกึ ษา หรอื ทําวิจยั ในคร้ังตอ ไปโดยใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุกรว มกับเทคนิคการใชคาํ ถาม สามารถศึกษาในบรบิ ทตัวแปรตามอ่ืน ๆ ได เชน ความสามารถในการตัง้ สมมตฐิ าน ความสามารถในการออกแบบและดาํ เนินการทดลอง ความสามารถในการวิเคราะห และแปลผลขอมูล ความสามารถในการสรปุ ผลการทําโครงงานวิทยาศาสตร รวมไปถึงความสามารถในการนาํ เสนอผล การทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตรไ ด 2.2 การวจิ ัยครัง้ นี้ใชกระบวนการเรยี นรูเชิงรุกรวมกบั เทคนิคการใชคาํ ถาม เพ่ือศึกษาความสามารถ ในการตั้งคาํ ถามของผูเรียน ซึ่งตัวแปรตนกบั ตัวแปรตามมีความสัมพนั ธกัน ในการศึกษาหรือทาํ วิจยั ในคร้ังถดั ไป อาจเปล่ียน ตัวแปรตนจากเทคนิคการใชคําถามเปนอยา งอ่ืน เชน การใชผ ังกราฟก การทํางานรว มกัน การสรา งองคค วามรูผานชุมชน แหง การเรยี นรู เปนตน 2.3 การวิจัยคร้ังนี้ศกึ ษาภายใตรายวชิ าโครงงานวิทยาศาสตรเพื่อใหผเู รยี นสามารถต้งั คาํ ถามโครงงาน วิทยาศาสตรได หากศึกษาหรือวิจัยในครัง้ ถดั ไปอาจใชก ระบวนการเรยี นรูเชงิ รุกรวมกับเทคนิคการใชคําถามในการศึกษา บริบทของรายวิชาอ่ืน เชน ฟสกิ ส ชวี วิทยา เคมี เปนตน เอกสารอางอิง กงิ่ ทอง ใบหยก. (2554). ยุทธการการหาหวั ขอ โครงงานวทิ ยาศาสตรแบบมีคณุ ภาพ. โครงงานวิทยาศาสตร : การจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการเพอ่ื พัฒนาการคดิ . กรุงเทพฯ: สมาคมวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษาไทย. สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2553). พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553. สืบคนเมื่อ 3 ธันวาคม 2559, จาก http://kormor.obec.go.th/act/act081.pdf สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2542). พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542. สืบคนเม่ือ 3 ธันวาคม 2559, จาก http://www.moe.go.th/edtechfund/fund/images/stories/laws/prb_study(final).pdf นัยนา ตรงประเสริฐ. (2544). การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและความสามารถในการต้ังคําถาม ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ท่ีเรยี นวิชาวิทยาศาสตรโดยมีและไมมีการฝกตั้งคําถามเพ่อื พัฒนาทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ ามัธยมศึกษา. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั . พมิ พันธ เดชะคุปต. (2548). วธิ วี ทิ ยาการสอนวิทยาศาสตรท ว่ั ไป. กรงุ เทพฯ: พฒั นาคุณภาพวิชาการ. พมิ พันธ เดชะคุปต. (2553). การสอนคิดดวยโครงงาน : การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย. พิมพันธ เดชะคปุ ต. (2559). สอนเด็กทําโครงงาน สอนอาจารยทําวจิ ัยปฏิบัติการในชั้นเรยี น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั . ราชบณั ฑิตยสถาน. (2551). พจนานุกรมศัพทศึกษา: อักษร A-L. ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน. กรุงเทพฯ: อรณุ การพิมพ. สํานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาแหง ชาติ. (2560). แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560-2579. สบื คนเมอื่ 4 เมษายน 2562, จาก http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf Blosser, P.E. (2000). How to Ask the Right Questions. Retrieved February 5, 2019, from: http://static.nsta.org/pdfs/201108bookbeathowtoasktherightquestions.pdf Brame, C.J. (2016). Active Learning. Vanderbilt University Center for Teaching. Retrieved February 9, 2019, from: https://cft.vanderbilt.edu/wp-content/uploads/sites/59/Active-Learning.pdf Christersson, C., Dakovic, G., Peterbauer, H., and Zhang, T. (2019). Promoting active learning in university: Thematic Peer Group Report. Retrieved February 5, 2019, from https://eua.eu/downloads/publications/eua%20tpg%20report%205- %20promoting%20active%20learning%20in%20universities.pdf Dias, M. (2011). Teaching Strategies for Active Learning. [online]. Retrieved February 5, 2019, from https://tlss.uottawa.ca/site/images/1-SAEA/CPU/publications/cafe_ped_en_06.pdf

Journal of Roi Et Rajabhat University 53 Volume 14 No.3 September - December 2020 Lewis, K.G. (2002). Developing Questioning Skills. [online]. Available from http://www1.udel.edu/chem/white/U460/Devel-question-skills-UTx.pdf [2019, February] Martine, K., Stephen, M.E., and Young, M. (2019). Student Guide: How to Do a Science Fair Project. Retrieved February 5, 2019, from https://www.massscifair.com/sites/default/files/ student_guide_312_0.pdf Mendonca, M. and Franberg, G. (2014). Exploring and Experience of Active Learning in Higher Education. Retrieved February 5, 2019, from https://www.researchgate.net/profile/Marta_Mendonca2/ publication/264914629_Exploring_an_Experience_of_Active_Learning_in_Higher_Education/links/ 53f5dbd20cf2fceacc6f75c9/Exploring-an-Experience-of-Active-Learning-in-Higher- Education.pdf?origin=publication_detail Nappi, J.S. (2017). The Importance of Questioning in Developing Critical Thinking Skills. International Hournal for Professional Educators, Retrieved February 5, 2019, from https://cpb-us-e1. wpmucdn.com/cobblearning.net/dist/6/3101/files/2018/05/The-Importance-of-Questioning- 2aqkc5j.pdf Nikam, P.S. (2014). Using Questioning Strategy to Enhance Scientific Process Skills. Retrieved February 5, 2019, from https://www.researchgate.net/publication/259884220_Questioning_Strategy_ To_Enhance_Scientific_Process_Skills Nitko, A.S. (2007). Educational Assessment of Students. New Jersey: Pearson Education, Inc. 2007. Northern Illinois University. (n.d.). Questioning Strategies to Engage Students. Retrieved February 5, 2019, from https://www.niu.edu/facdev/_pdf/guide/strategies/questioning_strategies_to_engage _students.pdf Northern Ireland Curriculum. (2007). Active Learning and Teaching Methods for Key Stage 3. Retrieved February 5, 2019, from http://www.nicurriculum.org.uk/docs/key_stage_3/ALTM-KS3.pdf Shinichi Mizokami. (2018). Deep Active Learning from the Perspective of Active Learning Theory. Deep Active Learning: Toward Greater Depth in University Education. Retrieved February 5, 2019, from https://www.mn.uio.no/om/organisasjon/adm/prosjekter/interact/aktiv-lering/deep-active- learning.pdf Simmons, N. (2004). Science Success: Teacher Guide Supporting Student Science Fair Projects. Retrieved February 5, 2019, from http://flasf.on.ca/wordpress/wp- content/uploads/2016/08/Science-Success-Teacher-Guide.pdf Teaching Assistants’ Training Program. [TATP]. (2014). Active learning and adapting teaching techniques. Retrieved February 5, 2019, from https://tatp.utoronto.ca/wp-content/uploads/sites/2/Active- Learning-and-Adapting-Teaching-Techniques_TATP1.pdf University of North Carolina at Chapel Hill. (2009). Classroom Activities for Active Learning. Retrieved February 5, 2019, from https://cfe.unc.edu/files/2014/08/FYC2.pdf Vale, R.D. (2013). The Value of asking questions. Retrieved February 5, 2019, from https://www.ncbi.nlm. nih.gov/pmc/articles/PMC3596240/

54 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปท่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถนะครดู านการจัดการเรียนรูวิชาคณติ ศาสตร ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 Developing Program of Promoting Teacher’s Competency in Mathematics Learning Management of Schools in Mahasarakham Primary Educational Service Area 1 จนิ ตนา สุนทรวัฒน1 และ พีระศกั ดิ์ วรฉตั ร2 Received : 15 ส.ค. 2562 Jintana Suntornwat1 and Peerasak Worrachat2 Revised : 25 มี.ค. 2563 Accepted : 27 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การวจิ ัยในคร้งั นี้มีความมุง หมายเพือ่ 1) ศึกษาองคป ระกอบและตวั ชีว้ ัดของสมรรถนะครูดา นการจดั การเรียนรู วิชาคณิตศาสตรในสถานศกึ ษา 2) ศึกษาสภาพปจจุบัน สภาพทีพ่ ึงประสงคข องสมรรถนะครูดา นการจัดการเรยี นรวู ิชา คณิตศาสตรใ นสถานศึกษา 3) พฒั นาโปรแกรมการเสรมิ สรางสมรรถนะครูดานการจัดการเรยี นรูว ชิ าคณติ ศาสตรในสถานศึกษา กลุมตัวอยางทใ่ี ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอ มูลเปนครูผูสอนคณิตศาสตรในสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มจี ํานวน 152 คน เครือ่ งมือท่ีใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูลประกอบดว ย 1) แบบประเมิน 2) แบบสอบถาม และ 3) แบบสัมภาษณ สถติ ิท่ใี ชใ นการวิเคราะหข อมูล ไดแก รอยละ คา เฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดชั นคี วามตองการจาํ เปน (PNIModified) ผลการวจิ ัยพบวา 1. ผลการสังเคราะหองคป ระกอบและตวั ช้ีวัดของสมรรถนะครดู า นการจดั การเรยี นรวู ชิ าคณติ ศาสตรในสถานศึกษา มี 10 องคประกอบ 23 ตวั ชี้วัด มีความเหมาะสมโดยรวมอยูใ นระดบั ปานกลาง สว นความเปนไปไดโ ดยรวมอยใู นระดบั มาก 2. ผลการศึกษาสภาพปจ จบุ ันของสมรรถนะครูดานการจัดการเรยี นรวู ิชาคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา โดยรวมอยใู น ระดับปานกลาง (x�= 3.44, S.D. = 0.53) และสภาพทพ่ี งึ ประสงค โดยรวมอยูในระดับมาก (x�= 4.15, S.D. = 0.40) และ 3. ผลการพัฒนาโปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครู ดานการจัดการเรยี นรูว ชิ าคณติ ศาสตรในสถานศึกษา พบวา โปรแกรมพฒั นา ประกอบดวย 5 องคป ระกอบดงั น้ี 1) หลกั การ 2) วตั ถปุ ระสงค 3) เน้อื หา 4) วิธีการดาํ เนินการ และ 5) การประเมินผล โดยวิธีการดาํ เนินการ มี 4 วธิ ี คือ 1) การฝกอบรม 2) การรวมกลุมแกปญหา 3) การเรยี นรดู วยตนเอง และ 4) การศึกษาดงู าน การประเมินโปรแกรม ผลการประเมินความเหมาะสมของผูทรงคณุ วฒุ ิ พบวามีความเหมาะสมระดบั มาก ความเปนไปได อยใู นระดับมากท่ีสุด คําสาํ คญั : การเสริมสรา งสมรรถนะครู, การจัดการเรยี นรวู ิชาคณิตศาสตร, การฝกอบรม Abstract The purposes of the research were 1) to study the elements, and the indicators of teacher’s competency in mathematics learning management, 2) to study the current conditions and needs of teacher’s competency in mathematics learning management, and 3) to develop program of promoting teacher’s competency in mathematics learning management of schools in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. The subjects were 152 mathematics teachers from schools in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. The research instruments were; 1) an evaluation form, 2) a questionnaire, and 3) an interview form. Statistics used for data analysis were 1 นิสิตปริญญาโท หลักสตู รการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม อีเมล: [email protected] 2 อาจารยค ณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 Master Student, Master of Education Program in Educational Administration and Development, Mahasarakham University, Email: [email protected] 2 Lecturer in Faculty of Education, Mahasarakham University

Journal of Roi Et Rajabhat University 55 Volume 14 No.3 September - December 2020 percentage, mean, standard deviation and Modified Priority Needs Index (PNIModified). The results indicated that 1) the elements and indicators of teacher’s competency in mathematics learning management of schools in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1 consisted of 10 elements and 23 indicators. The overall suitability was average but the possibility was rated at a high level. 2) The overall current condition of teacher’s competency in mathematics learning management was rated at an average level (x� = 3.44, S.D. = 0.53) and the overall desirable condition was at a high level (x� = 4.15, S.D. = 0.40). And 3) regarding the results of developing program of promoting teacher’s competency in mathematics learning management in schools, the program comprised of 5 elements; 1) principle, 2) objective, 3) content, 4) procedure and 5) evaluation. The procedure has 4 parts; training, 2) group problem solving 3) self - learning and 4) field trip. The experts evaluated the suitability of the program at a high level and the possibility was evaluated at a very high level. Keywords : Teacher’s Competency Promoting, Mathematics Learning Management, Training บทนาํ คณิตศาสตรเปนศาสตรแหงการคิดและเปนเครื่องมือสําคญั ตอการพฒั นาศักยภาพของสมอง ดานการคิด ทักษะ กระบวนการเรียนรูและการใชเหตุผลท่ีเปนระบบ อีกท้ังเปนพ้ืนฐานในการเรยี นรูวทิ ยาการหลายสาขา และสามารถนาํ ไป บูรณาการไดกับทุกวิชา วิชาคณิตศาสตรจึงมบี ทบาทสําคัญย่งิ ตอการพฒั นาความคิดมนษุ ยมาต้งั แตอดีต ไดถ ูกใชเพือ่ การคดิ คาํ นวณ และสรางงานปฏิมากรรมทม่ี คี ณุ คา กับชวี ิตและสังคมจวบจนปจจบุ ัน ทําใหมีความคดิ สรางสรรค คิดอยางมีเหตผุ ล เปนระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรอื สถานการณไดอ ยางถ่ถี วน รอบคอบ ชว ยใหคาดการณ วางแผน ตดั สินใจ แกป ญหา และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยา งถูกตอ งเหมาะสม สรางประโยชนตอ การดาํ รงชวี ิตและชว ยพฒั นาคุณภาพชีวิต ใหดขี ึ้น พัฒนามนุษยใ หสมบรู ณ มีความสมดลุ ทง้ั รางกาย จิตใจ สตปิ ญญาและอารมณ สามารถคิดเปน ทาํ เปน แกปญหาเปน และสามารถอยรู ว มกบั ผอู ่ืนไดอ ยางมีความสขุ เปนความรพู ื้นฐานตดิ ตวั ไปตลอดชีวิตทท่ี ุกคนตอ งเรยี นรูเ พ่ือพฒั นาทักษะ ใหเกิดเปนกระบวนการคดิ วิเคราะห และนํามาปรบั ใชกับปญ หาและเหตุการณต า งๆ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 : 56) ในศตวรรษท่ี 21 เปนยคุ ของสังคมแหงขอมลู ขา วสารและความเจริญกาวหนา ทางเทคโนโลยสี งผลใหประเทศตาง ๆ พฒั นาสรางสรรคและคิดคน องคความรูใหม ๆ ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยใี หเจรญิ กาวหนา คณิตศาสตรจึงเปนศาสตรหน่ึง ท่ีมีความสําคัญและเปนเคร่อื งมือท่นี ํามาใชใ นการศึกษาวทิ ยาศาสตรต ลอดทั้งศาสตรอ น่ื ๆ ประเทศไทยใหความสาํ คญั กับ การเรียนคณติ ศาสตรไ มนอยไปกวาวิชาอื่น ๆ โดยมุงใหเยาวชนทุกคนไดเรียนรูคณิตศาสตรอยา งตอ เน่ืองและตามศักยภาพ แตเ ม่ือเปรียบเทียบกับตางประเทศกลบั พบวา เรายังอยูในอันดบั ทาย ๆ ซึ่งอาจเปนเพราะเรายงั ใหความสําคญั นอ ยเกินไป ขณะทป่ี ระเทศช้ันนําของโลก ใหความสําคญั ตอคณิตศาสตรเปนอยา งยิ่ง เชน ไตหวัน และสิงคโปร จนสามารถพัฒนาเด็กใหเกง คณิตศาสตรไดถึงรอ ยละ 40 ปจจบุ ันการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร นักเรียนสวนใหญจะมีความรูความเขา ใจในเนื้อหามากกวา มีทักษะความสามารถในการแกปญ หาทางคณิตศาสตร การใหเหตผุ ล การส่อื สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนาํ เสนอ การเช่ือมโยงความรูตาง ๆ ทางคณติ ศาสตรกับศาสตรอ่นื ๆ ซง่ึ ปญหาดงั กลา วทําใหนักเรียนไมสามารถ นาํ ความรูไปประยุกตใ ชในชวี ิตประจาํ วันได (วชั รี กาญจนกรี ติ, 2554 : 23) ซึง่ ผูเรียนจะเรยี นรูไดดีตองอาศัยการจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีดขี องครูและผูเก่ียวของ ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วดั ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยสามารถนําเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาชว ยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใหแกผูเรียน กระบวนการเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรผูเรียนจะตอ งฝกการต้ังปญหา การตง้ั คําถาม การคดิ วิเคราะห การส่อื สาร ทางคณติ ศาสตร การใหเ หตผุ ล การแปลความ ตคี วาม และการแกปญหาดวยวิธีการท่ีหลากหลาย ผูเรยี นจะฝกการใชเหตผุ ล ในการตัดสินใจ และสามารถนาํ ประสบการณทงั้ หมดไปสรา งองคความรูตอ ไป จะเห็นไดว า ปจ จัยที่สําคญั ทีส่ ุดในการพัฒนา ผูเรยี นใหม ีคุณภาพ มอี งคประกอบทเ่ี กี่ยว ของ 2 สวน ไดแก คณุ ภาพของตวั ครู และคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู และการประเมินผลของครู การพัฒนาครูจึงเปนสิ่งสาํ คัญท่ตี องกระทาํ อยา งจริงจังอยา งเปนระบบและตอ เน่ือง ดว ยการกาํ หนด มาตรฐานแตล ะตําแหนง โดยพิจารณาจากพื้นฐานความรู ทักษะ วธิ ีคิด คุณลกั ษณะสว นบุคคล และแรงจงู ใจ ทเ่ี รียกวาสมรรถนะ

56 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 จะสง ผลใหการปฏิบตั งิ านเกดิ ผลลัพธส งู สุด แตการทค่ี รผู สู อนจะมีสมรรถนะท่สี ูงไดนั้น ครูจะตองไดรับการพัฒนาอยา งตอ เนือ่ ง จนเกดิ ความรู ทักษะ และเจตคติที่ดี จนเกดิ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสทิ ธภิ าพ (บุริม โอทกานนท และ คณะ, 2550 : 42) แตจ ากผลการศกึ ษาสภาพปจจบุ นั และปญหาการพฒั นาครขู องสํานักงานเลขาธิการสภาพบวา ในรอบป หน่ึงๆ ครูไดรบั การพัฒนาคอนขา งมาก แตไ มม ีความชัดเจนวาไดมีการติดตามและประเมินผลภายหลงั การอบรมวาไดมีการ นาํ ไปใชจริงมากนอ ยเพียงใด การอบรมพัฒนาครูมลี ักษณะเกดิ ความซาํ้ ซอน ในบางครั้งครูตองเขา อบรมเรื่องเดิมจากหลาย หนวยงาน และครไู ดรับการพฒั นาไมตอเน่อื งและสิ้นเปลืองงบประมาณ รวมทง้ั การพฒั นาครูยงั ใชรปู แบบเดิม ๆ ทส่ี วนใหญ ใ ชการอบรมและพฒั นาในหองประชมุ ตามโรงแรม ผลการพัฒนาเปนเร่อื งการใหความรู ขาดการพัฒนาทักษะท่ีตรงกับสภาพจรงิ และไมตรงกับความตองการ ไมสามารถปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการสอนของครไู ด ซึ่งจุดออนที่สําคัญเกี่ยวกับครู คอื ครูบางสวน ยังขาดเทคนิควธิ ีการสอนและการจัดกระบวนการเรยี นการสอนที่สงเสรมิ ใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะห และใชเหตุผลในการแกปญ หา ไดด ว ยตนเอง ขาดประสบการณในการปฏบิ ัติงานจริงในสาขาวิชาที่สอน สง ผลใหผูจบการศึกษาไมสามารถนําความรูไปใช ในการทาํ งานหรือประกอบวิชาชีพไดอยา งเต็มท่ี ครูขาดความรูความเขาใจในการจัดทําหลักสตู ร รวมทั้งไมมีการนําหลักสูตร ทท่ี ําไวไปใชใ นการจัดการเรียนการสอนอยางจริงจงั อีกทัง้ กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล ครูใหความสาํ คัญกบั ความรูทางวิชาการมากกวาพฤติกรรมและคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค ดงั นั้น เพอ่ื ใหการจัดการเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษาเปนไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ครูคณติ ศาสตรจงึ ถอื เปนบคุ คลกลุมหนึง่ ทตี่ องมีสมรรถนะในการทํางาน เพอื่ พฒั นา ตนเองใหมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอนใหไ ดมาตรฐาน ตามนโยบายการจัดการศึกษาคณิตศาสตร ท่มี ีความกา วหนา ไดท ัดเทียมนานาประเทศเปนไปตามมาตรฐานสากล (สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2545 : 1) อนั เปนเครื่องมือในการศึกษาเรียนรูวิทยาการในระดับทสี่ ูงข้นึ ไปใหกบั ผูเ รยี น เพ่ือใหบรรลุเปา หมายตามแนวปฏริ ปู การศึกษา ตลอดจนการสรา งความตระหนักและทาํ ใหผูเรียนมองเห็นวา คณิตศาสตรมีคุณคา และสามารถนาํ ไปใชป ระโยชน ในการดาํ เนินชวี ิตได นอกจากน้ีในการจัดการเรยี นรู ครูยังตองจดั บรรยากาศและส่ิงแวดลอ ม มสี ื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ โดยใชวธิ ีการทีห่ ลากหลาย สามารถเลือกใชไดเหมาะสมกบั กิจกรรม การเรียนรู ดว ยเหตุนี้ผูวิจัยจงึ ตระหนักถงึ ความสําคัญในการพฒั นาครูคณติ ศาสตรในสถานศึกษา จึงไดศึกษาการพัฒนา โปรแกรมการเสรมิ สรา งสมรรถนะครูดานการจัดการเรยี นรูวชิ าคณิตศาสตรในสถานศึกษา เพ่ือใหเกิดการพัฒนาคุณภาพ ตอ ผเู รียนอยา งสูงสดุ วตั ถปุ ระสงค 1. เพ่ือศกึ ษาองคป ระกอบและตัวช้วี ัดของสมรรถนะครู ดานการจดั การเรยี นรูวิชาคณติ ศาสตรใ นสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2. เพ่อื ศกึ ษาสภาพปจจุบัน สภาพที่พงึ ประสงคของสมรรถนะครู ดา นการจัดการเรยี นรวู ชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 3. เพื่อพัฒนาโปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครูดา นการจัดการเรียนรูวิชาคณติ ศาสตรใ นสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กรอบแนวคดิ กรอบแนวคดิ เกี่ยวกับองคประกอบของสมรรถนะครูดานการจดั การเรียนรูวชิ าคณิตศาสตร ของสถาบันสง เสริม การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (2545 : 19-20) และ กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 6) ประกอบดวย 10 องคป ระกอบ ดงั นี้ 1) การพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนการสอน 2) วิธีการสอน 3) การสรา งสภาพแวดลอ มการเรยี นรู 4) ทักษะดานการ ส่ือสาร 5) การแกป ญหา 6) ความเขา ใจในความแตกตางของผูเรียน 7) การพัฒนาสอ่ื และนวัตกรรม 8) การวัดและประเมินผล 9) ความสมั พันธกับผูมสี วนรวมจัดการศกึ ษา 10) ความรูในเน้ือหาคณิตศาสตร

Journal of Roi Et Rajabhat University 57 Volume 14 No.3 September - December 2020 วิธีการดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง 1.1 ประชากร ไดแก ครูผสู อนวิชาคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 4-6 สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 จาํ นวน 248 คน 1.2 กลุม ตัวอยา ง ไดแก ครูผูส อนวิชาคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4-6 สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยการเทียบจาํ นวนประชากรท้งั หมดกบั ตารางกําหนดขนาดกลมุ ตัวอยางของ Krejcie and Morgan เทียบสัดสวนของแตละขนาดโรงเรียนแลวสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ (Stratified sampling) ไดกลุมตัวอยา งจาํ นวน 152 คน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจยั 2.1 แบบประเมินความเหมาะสมขององคป ระกอบและตัวชว้ี ัดของสมรรถนะครูดานการจดั การเรียนรู วิชาคณติ ศาสตร เปนแบบประเมินความเหมาะสมแบบมาตรสวน (Rating Scale) 5 ระดบั 2.2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปจจุบันและสภาพทพ่ี งึ ประสงคของสมรรถนะครูดา นการจัดการเรียนรู วิชาคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา โดยใชเ ทคนิค IOC (Index of Congruence) หรือดชั นีความสอดคลองระหวา งขอคาํ ถาม คา IOC ตั้งแต 0.60 - 1.00 แลว นาํ แบบสอบถามไปทดลอง (Try Out) ท่ีไมใชกลุมตวั อยา ง จํานวน 30 คน จากนั้นทําการหา คาความเชอื่ มั่นดว ยวธิ ีการหาคา สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’ Alpha Coefficient) ซงึ่ ไดคาความเชอื่ มั่น ของแบบสอบถามสภาพปจจุบันเทากบั 0.67 และแบบสอบถามสภาพทพ่ี งึ ประสงคเ ทากับ 0.85 2.3 แบบสมั ภาษณแบบมีโครงสรา งวธิ ีการเสรมิ สรา งสมรรถนะครู ดานการจัดการเรยี นรูวิชาคณติ ศาสตร ในสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 2.4 แบบประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดของโปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครูดา นการจดั การ เรียนรวู ชิ าคณิตศาสตรในสถานศึกษา ซ่งึ เปนแบบประเมินแบบมาตรสว น (Rating Scale) 5 ระดับ

58 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 3. การเก็บรวบรวมขอ มูล ระยะการวิจัย ขนั้ ตอนดําเนินการ ผลที่คาดหวัง ระยะที่ 1 การศกึ ษา 1. ศกึ ษาเอกสาร ตาํ รา งานวิจัยท่ีเกย่ี วของ ไดองคป ระกอบและตวั ชี้วัด องคประกอบและตวั ช้วี ดั 2. สังเคราะหอ งคป ระกอบและตวั ช้วี ัดสมรรถนะ ของสมรรถนะครู ของสมรรถนะครู ครูดา นการจัดการเรียนรูว ชิ าคณิตศาสตร ดานการจดั การเรียนรูวชิ า ดา นการจดั การเรียนรูวชิ า 3. ประเมินความเหมาะสมขององค ประกอบ คณิตศาสตรในสถานศึกษา คณิตศาสตรในสถานศึกษา และตวั ช้วี ัดโดยผูทรงคุณวุฒิ 5 คน ทราบสภาพปจ จบุ ัน สภาพ ระยะที่ 2 การศึกษา 1. นําองคประกอบและตัวช้วี ัดท่ีไดจ ากระยะท่ี 1 ทพี่ งึ ประสงคของสมรรถนะ สภาพปจจบุ ัน สภาพ สรางแบบสอบถามสภาพปจจบุ ัน สภาพ ครูดา นการจัดการเรยี นรู ทพ่ี ึงประสงคข องสมรรถนะ ท่ีพึงประสงคของสมรรถนะครูดา นการจัดการ วชิ าคณิตศาสตร ครู ดา นการจัดการเรยี นรู เรียนรวู ชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษา วชิ าคณิตศาสตร 2. เกบ็ ขอมูลจากกลมุ ตัวอยา งที่เปนครูผูสอน ในสถานศึกษา วชิ าคณิตศาสตร สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี ไดรา งโปรแกรมการเสริมสรา ง การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 สมรรถนะครูดา นการจัดการ ระยะท่ี 3 การพฒั นา จาํ นวน 152 คน เรียนรูวชิ าคณิตศาสตรใ น โปรแกรมการเสรมิ สรา ง 3. วเิ คราะหหาคาเฉล่ีย และสว นเบีย่ งเบน สถานศึกษา สมรรถนะครูดา นการจัดการ มาตรฐานสภาพปจ จบุ ันและสภาพท่ีพึงประสงค เรียนรวู ิชาคณิตศาสตร สมรรถนะครูดานการจัดการเรียนรูว ชิ า ไดโ ปรแกรมการเสรมิ สราง ในสถานศึกษา คณิตศาสตร สมรรถนะครูดานการจัดการ 1. นําผลการวจิ ัยระยะท่ี 2 มาวิเคราะห เรียนรูวชิ าคณิตศาสตร ระยะที่ 4 การประเมิน หาคาวิเคราะหความตอ งการจําเปน (PNI) ในสถานศึกษา โปรแกรมการเสรมิ สรา ง 2. ศกึ ษา Best Practice การจดั การเรยี นรู สมรรถนะครู วิชาคณิตศาสตร จาก 3 โรงเรียน ดานการจัดการเรียนรูวชิ า 3. รางโปรแกรมการเสรมิ สรา งสมรรถนะครู คณิตศาสตรใ นสถานศึกษา ดานการจัดการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษา 1. ประเมินรา งโปรแกรม Focus Group โดยผูทรงคณุ วฒุ ิ จํานวน 9 คน 2. ปรบั ปรุงแกไข ตามคาํ แนะนาํ ของผูทรงคุณวฒุ ิ ภาพประกอบ 1 แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการดําเนินการ และผลทีค่ าดหวงั

Journal of Roi Et Rajabhat University 59 Volume 14 No.3 September - December 2020 4. การวิเคราะหขอมลู 4.1 การวิเคราะหคา ระดบั ความเหมาะสมขององคป ระกอบและตัวช้ีวัดของสมรรถนะครดู า นการจัดการเรียนรู วชิ าคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 โดยการหาคา เฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.2 การวิเคราะหขอ มูลสภาพปจจุบนั และสภาพทพี่ ึงประสงคของสมรรถนะครู ดานการจัดการเรยี นรู วชิ าคณติ ศาสตรใ นสถานศกึ ษา สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 โดยวิเคราะหหาคา เฉล่ีย และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.3 การวิเคราะหความตอ งการจาํ เปน (Need Assessment) โดยนําขอมูลผลการศึกษาสภาพปจจบุ ัน และสภาพทพ่ี ึงประสงคในระยะที่ 2 มาหาคา ดชั นีความตองการจาํ เปน (Priority Needs Index : PNIModified) เพื่อจัดลําดบั ความตอ งการจําเปน 4.4 การวิเคราะหผ ลการศกึ ษาแนวปฏิบัตวิ ิธีการเสริมสรา งสมรรถนะครู ดานการจัดการเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตร ในสถานศึกษาท่ีเปนเลิศ (Best Practice) โดยการวิเคราะหเนอ้ื หา 4.5 การวิเคราะหค วามคิดเห็นตอโปรแกรมเสริมสรางสมรรถนะครดู า นการจัดการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษา สงั กดั สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยวเิ คราะหหาคา เฉล่ียและสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สรุปผล ผลการศึกษาการพัฒนาโปรแกรมเสริมสรา งสมรรถนะครู ดานการจัดการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรในสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มี 4 ระยะ คือ 1. ผลการสังเคราะหองคประกอบและตัวชว้ี ดั ของสมรรถนะครู ดานการจัดการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตรในสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จากนักวิชาการตา ง ๆ ผวู ิจยั สรปุ ไดว า มี 10 องคประกอบ 23 ตัวชีว้ ัด ประกอบดวย 1) การพัฒนาหลกั สตู รและการวางแผนการสอน มี 2 ตวั ชี้วดั 2) วิธีการสอน มี 3 ตวั ชี้วัด 3) การสรา ง สภาพแวดลอ มการเรียนรู มี 2 ตัวชว้ี ัด 4) ทักษะดา นการส่ือสาร มี 2 ตวั ชี้วัด 5) การแกป ญหา มี 2 ตัวชว้ี ัด 6) ความเขาใจ ในความแตกตา งของผูเรียน มี 2 ตัวช้ีวัด 7) การพัฒนาสื่อและนวัตกรรม มี 2 ตวั ชี้วัด 8) การวัดผลและประเมนิ ผล มี 3 ตวั ช้วี ัด 9) ความสมั พันธกับผูมสี วนรวมจดั การศึกษา มี 2 ตัวชีว้ ัด 10) ความรใู นเนือ้ หาคณติ ศาสตร มี 3 ตวั ชว้ี ัด ความเหมาะสมขององคประกอบและตวั ชีว้ ัดโดยรวมอยูใ นระดับปานกลาง (x� = 3.34, S.D. = 0.53) ความเปนไปได โดยรวมอยใู นระดับมาก (x�= 3.99, S.D. = 0.50) 2. สภาพปจ จุบันของสมรรถนะครูดานการจัดการเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรในสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มีระดบั การปฏบิ ัติโดยรวมอยใู นระดบั ปานกลาง (x�= 3.44, S.D. = 0.53) สภาพที่พงึ ประสงค มีระดบั การปฏิบตั โิ ดยรวมอยูในระดับมาก (x� = 4.15, S.D. = 0.40) ดงั ตาราง 1

60 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ตาราง 1 สภาพปจ จบุ ันและสภาพทพี่ งึ ประสงคของสมรรถนะครดู านการจดั การเรียนรูวชิ าคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา องคประกอบสมรรถนะครู สภาพปจจุบัน สภาพที่พึงประสงค ดา นการจัดการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตร x� S.D. แปลผล x� S.D. แปลผล 1. ดา นการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนการสอน 3.44 0.53 ปานกลาง 4.15 0.40 มาก 2. ดา นวธิ ีการสอน 3.30 0.51 ปานกลาง 3.85 0.43 มาก 3. ดา นการสรางสภาพแวดลอ มการเรียนรู 3.58 0.58 มาก 4.11 0.51 มาก 4. ดานทักษะดานการสื่อสาร 3.30 0.58 ปานกลาง 3.90 0.48 มาก 5. ดา นการแกป ญหา 3.31 0.62 ปานกลาง 3.82 0.54 มาก 6. ดานความเขาใจในความแตกตางของผูเรียน 3.33 0.60 ปานกลาง 3.86 0.49 มาก 7. ดา นการพัฒนาส่อื และนวัตกรรม 3.27 0.57 ปานกลาง 3.91 0.52 มาก 8. ดานการวัดผลและประเมินผล 3.38 0.59 ปานกลาง 4.12 0.54 มาก 9. ดานความสัมพันธกบั ผมู ีสวนรว มจัดการศึกษา 3.37 0.57 ปานกลาง 3.85 0.53 มาก 10. ดานความรใู นเนื้อหาคณิตศาสตร 3.44 0.54 ปานกลาง 4.06 0.50 มาก 3.44 0.53 ปานกลาง เฉล่ีย 4.15 0.40 มาก 3. โปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครูดา นการจดั การเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตรในสถานศกึ ษา สังกดั สํานักงานเขต การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม 1 มีองคป ระกอบของโปรแกรม ไดแก 1) หลักการ 2) วตั ถปุ ระสงค 3) เน้ือหาของโปรแกรม ประกอบดวย 5 Module ไดแ ก Module 1 การบรหิ ารจัดการหลกั สูตร Module 2 การบรหิ ารจัดการช้ันเรียน Module 3 สือ่ การเรียนรแู ละนวัตกรรม Module 4 สาระการเรียนรู Module 5 การวัดผลและประเมินผล 4) วธิ ีการดําเนินการ ประกอบดว ย 4.1) กระบวนการเร่ิมจากการประเมนิ กอนการพฒั นา การพัฒนา และประเมินหลงั การพัฒนา 4.2) วิธีการพัฒนา ประกอบดวย การฝกอบรม การรวมกลุมแกป ญหา การเรียนรูดวยตนเอง และการศึกษาดูงาน และ 5) การประเมินผล โดยการประเมิน แบงออกเปน 3 ระยะ ไดแก 5.1) การประเมินกอนการพัฒนา ไดแก การประเมินตนเอง และประเมนิ เพอื่ นครู 5.2) การประเมนิ ระหวา งการพัฒนา ไดแก การสงั เกตพฤติกรรม การทดสอบ การประเมนิ ใบงานและใบกิจกรรม 5.3) การประเมิน หลังการพัฒนา ไดแก ประเมินการถอดบทเรียนจากการปฏิบัตงิ าน และการประเมนิ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู 4. การประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครดู า นการจดั การเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยูใ นระดบั มาก (x� = 4.10, S.D. = 0.64) และความเปนไปไดของโปรแกรม โดยรวมอยูในระดับมากท่สี ดุ (x� = 4.65, S.D. = 0.54) ผลการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรม ผลการประเมินความเปน ไปไดข องโปรแกรม 5 4.24 4.23 4.23 4.04 3.74 4.1 6 4.55 4.76 4.64 4.79 4.65 4 5 4.51 3 4 2 1 0.61 0.62 0.52 0.62 0.87 0.64 3 0 2 1 0.45 0.69 0.44 0.5 0.63 0.54 0 x ̅ S.D. x ̅ S.D.

Journal of Roi Et Rajabhat University 61 Volume 14 No.3 September - December 2020 อภปิ รายผล การวจิ ัย เรอื่ ง การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถนะครูดา นการจัดการเรยี นรวู ิชาคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ผวู ิจยั ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วของมาอา งองิ และสนับสนุนไดดงั นี้ 1. ผลการศึกษาองคป ระกอบและตัวช้ีวัดของสมรรถนะครู ดานการจดั การเรียนรูวิชาคณิตศาสตรใ นสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จากการสังเคราะหไดอ งคป ระกอบ 10 ดา น คอื 1) ดานการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนการสอน 2) ดา นวธิ ีการสอน 3) ดานการสรา งสภาพแวดลอมการเรียนรู 4) ดา นทักษะดา นการส่ือสาร 5) ดา นการแกป ญ หา 6) ดา นความเขาใจในความแตกตา งของผูเรียน 7) ดานการพฒั นาสื่อ และนวัตกรรม 8) ดา นการวัดผลและประเมินผล 9) ดานความสัมพันธกับผูมีสวนรว มจัดการศึกษา และ 10) ดานความรู ในเนือ้ หาคณติ ศาสตร ทั้งนีเ้ น่ืองจากการจัดการเรยี นรวู ิชาคณิตศาสตรครตู องมีสมรรถนะทัง้ 10 ดานนี้ จงึ จะทาํ ใหการเรียนรู ประสบผลสาํ เร็จ นักวิชาการสว นใหญก็มีความคิดเห็นท่ีตรงกันเก่ียวกบั องคป ระกอบและตวั ชว้ี ัดของสมรรถนะครูดานการจัด การเรยี นรูว ชิ าคณติ ศาสตร โดยสอดคลอ งกบั สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2545 : 19-20) ท่ไี ดกาํ หนด ไววามาตรฐานครคู ณิตศาสตรเ ปนเกณฑทใ่ี ชวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของครูผสู อนคณติ ศาสตร อยูในกรอบคุณลักษณะ 3 ดาน คอื ดานความรู ดา นการแสดงออก และดานความสามารถ ซ่งึ ตรงกบั สมรรถนะครูท้ัง 10 ดา นน้ีโดยท่ีครสู ามารถ นาํ ตัวบง ช้ขี องแตละมาตรฐาน ไปใชในการจดั การเรียนการสอนเพ่อื ชวยใหการปฏิบัตงิ านมีประสทิ ธภิ าพ และเปนไป อยา งเต็มศักยภาพในการท่ีจะพัฒนาผูเรยี นใหเกิดความรู ความคดิ ทกั ษะกระบวนการเรยี นรู เจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยมทพ่ี ึงประสงคตามมาตรฐานท่สี อดคลอ งกับสงั คมไทย 2. สภาพปจจบุ ันของสมรรถนะครูดานการจดั การเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรในสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 ระดบั การปฏบิ ัติโดยรวมอยใู นระดับปานกลาง โดยดานที่มีคา เฉลย่ี มากทส่ี ุด คอื ดา นการสรา งสภาพแวดลอมการเรยี นรู รองลงมามีสองดานทเ่ี ทากัน คอื ดา นการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนการสอน ดา นความรูใ นเน้ือหาคณติ ศาสตร และดา นการพัฒนาสอ่ื และนวัตกรรมมีคา เฉล่ียต่าํ สุด จากผลการศึกษาอาจเปนผลมาจาก หลักสูตรท่ีเปลีย่ นแปลงไป ซ่งึ จะเห็นไดวา เมื่อยุคสมัยเปล่ียน หลักสูตรท่ใี ชเพ่ือที่จะพัฒนาผเู รียนยอมถกู ปรับเปลีย่ นไป ทั้งหลกั สูตรเกาท่ีถูกพัฒนาและหลักสูตรใหมท่ีสรา งขึ้น และยงั มปี จจัยอื่น ๆ อีกมากมาย สิง่ เหลานี้จะมีผลตอผปู ฏิบัติงาน โดยตรง โดยเฉพาะครูผูสอน เมอ่ื ครูเกิดความสบั สน ไมเ ขา ใจ และยังมีการยึดติดกับวิธีการสอนเดิม ๆ ทาํ ใหยากท่ีจะนาํ ไปสู กระบวนการพัฒนาผูเรยี นใหเกิดสัมฤทธผิ์ ล ดังนั้นการพฒั นาครูจึงถือเปนหัวใจของการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยการวิจัย ครงั้ น้ผี วู ิจัยมงุ เนนทจ่ี ะศึกษาสมรรถนะครูดา นการจัดการเรียนรูวิชาคณิตศาสตร อันจะเปนเปนเครอื่ งมือทน่ี ํามาใชในการพฒั นา สมรรถนะครู และเพ่ือเปนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตอไป ซ่งึ สอดคลอ งกบั ผลการวจิ ัยของ อรอนงค นอยคาํ ยาง (2560 : 90-94) ไดศึกษาสภาพปจจุบันของการจัดการเรียนรูกลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตรของครู สงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 23 พบวาครูยังขาดเทคนิคการสอนดว ยวธิ ใี หม ๆ ดา นการผลติ สอ่ื ทใ่ี ชในการประกอบการสอน ยงั ไมมีความหลากหลายและนา สนใจ อันเนอ่ื งมาจากครูยงั ขาดทักษะในการจัดทํา โดยเฉพาะการใชสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ อีกทั้งครูมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูไมคอยหลากหลาย และไมเ หมาะสมกับวัยของผูเรียน ซึ่งผูสอนตอ งศึกษาหลกั สูตร สถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู ตัวช้วี ัดสมรรถนะสาํ คัญของผูเรียนคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค แลว จงึ พิจารณา ออกแบบการจัดการเรียนรู โดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพอ่ื ใหผ ูเรียน ไดพฒั นาเต็มศักยภาพและบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูซงึ่ เปนเปาหมายทก่ี ําหนด สอดคลองกบั ผลการวิจยั ของ Perrine (2001 : 173-188) ไดศกึ ษาผลกระทบของการแกปญ หาพ้ืนฐานในการสอนคณิตศาสตรข องการใหเหตุผลเกย่ี วกับสัดสว น ของครู จากการศึกษาแสดงออกมาใหเห็นวา การแกปญหาอยา งมเี หตุผลมีปจจัยหลักในการศึกษาวชิ าคณิตศาสตร ครตู องมี วิธีการสอนที่แตกตา งไปจากการสอนแบบเดิมที่นักเรียนไมเคยเจอมากอน สภาพทพี่ งึ ประสงคของสมรรถนะครูดานการจัดการเรยี นรูวิชาคณติ ศาสตรในสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มรี ะดับการปฏิบัตโิ ดยรวมอยใู นระดับมาก โดยดา นที่มคี า เฉลี่ยมากทสี่ ุด คอื ดา นการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนการสอน ซ่ึงสอดคลองกบั ผลการวิจัยของ อรอนงค นอ ยคํายาง (2560 : 90-94) ไดศกึ ษาสภาพทพี่ ึงประสงคของการจัดการเรยี นรูกลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตรข องครู พบวา ดา นท่มี ีคาเฉลย่ี สงู สดุ คอื ดา นความรคู วามเขา ใจเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร ซ่ึงแสดงใหเ ห็นวาครูผสู อนคณติ ศาสตร สงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 มีความตอ งการพัฒนาดานความรูในเร่ืองหลักสูตรและการวางแผนการสอน

62 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 มากที่สุด ทั้งน้ีเพราะหลักสตู รการสอนคณิตศาสตรมีความยากงา ยและความซับซอน ซึ่งหลักสูตรคณติ ศาสตรประกอบไปดวย หลักการ จุดหมาย โครงสราง เวลาเรียน แนวดาํ เนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหตอบสนองจุดประสงค การเรียนรูและจุดมงุ หมายของหลักสูตร การวัดและการประเมินการเรียน คาํ อธบิ ายในแตละกลุมประสบการณซ่งึ ระบเุ น้อื หา ท่ีตอ งใหนกั เรยี นไดเรียน ตามลาํ ดับ 3. โปรแกรมการเสรมิ สรา งสมรรถนะครูดานการจดั การเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตรในสถานศึกษา สงั กัดสํานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 องคป ระกอบของโปรแกรม ไดแ ก 1) หลกั การ ประกอบดว ย แนวคิด ทฤษฎีท่เี กี่ยวของ สภาพปจจบุ ัน สภาพปญ หาและความสาํ คัญของสมรรถนะครูดา นการจัดการเรยี นรวู ิชาคณิตศาสตร 2) วตั ถุประสงค ประกอบดวย เปาหมายที่ตองการใหบ รรลผุ ลในการใชโปรแกรมเสริมสรางสมรรถนะครูดา นการจัดการเรยี นรู วชิ าคณิตศาสตร 3) เนือ้ หาของโปรแกรม ประกอบดว ย 5 Module ไดแก Module 1 การบริหารจดั การหลักสูตร Module 2 การบริหารจัดการช้ันเรยี น Module 3 สอ่ื การเรียนรูและนวัตกรรม Module 4 สาระการเรยี นรู Module 5 การวัดผล และประเมินผล 4) วิธีการดําเนินการ ประกอบดว ย 4.1) กระบวนการเร่ิมจากการประเมินกอ นการพฒั นา การพฒั นา และประเมินหลงั การพฒั นา 4.2) วิธีการพัฒนา ประกอบดวย การฝกอบรม การรวมกลุมแกป ญ หา การเรียนรูดวยตนเอง และการศึกษาดูงาน 5) การประเมินผล จากการประเมินโปรแกรม พบวาความเหมาะสมของโปรแกรมการเสริมสรางสมรรถนะครู ดา นการจัดการเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตรในสถานศกึ ษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยใู นระดบั มาก และความเปนไปไดของโปรแกรมเสริมสรา งสมรรถนะครู ดานการจดั การเรียนรูวิชาคณิตศาสตร ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยูในระดับมากท่ีสดุ โปรแกรม การเสริมสรา งสมรรถนะครูดา นการจัดการเรียนรูวิชาคณติ ศาสตรน ้ี ผวู ิจัยมงุ ท่ีจะนําไปเปนแนวทางในการพฒั นาครู โดยผวู จิ ยั ไดศ กึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ ง รวมถงึ การศึกษาดงู านจากสถานศกึ ษาที่มีวิธีปฏิบตั ิท่เี ปนเลิศ (Best Practices) แลวนาํ ความรทู ไ่ี ดมาจัดทําโปรแกรมตามขัน้ ตอนกระบวนการพฒั นาโปรแกรม ท่ีมีองคประกอบของโปรแกรมทีไ่ ดจาก การสงั เคราะหอ งคป ระกอบและตัวบงชีข้ องการจัดการเรียนรขู องครูคณิตศาสตรอ ยา งครบถวน จึงสง ผลใหโปรแกรม ทพ่ี ฒั นาขึ้นมามีความเหมาะสมและความเปนไปไดเปนท่ีนาพึงพอใจ โดยสอดคลองกบั ผลการวิจัยของ ชานนท เศรษฐแสงศรี (2555 : 174-176) ไดศ ึกษาระบบการพฒั นาสมรรถนะของผปู ระกอบวิชาชพี ครู โดยใชโรงเรยี นเปนฐาน ในโรงเรียนสังกัด องคกรปกครองสว นทองถ่ิน ผลการวจิ ัยสรุปไดวา ระบบการพัฒนาสมรรถนะของผูป ระกอบวิชาชีพครู โดยใชโ รงเรียนเปนฐาน ในโรงเรียนสังกดั องคกรปกครองสวนทองถิ่น มี 4 ระยะ คอื การวิเคราะหป ญ หา การวางแผนพฒั นา การนาํ พาสูการปฏิบตั ิ และการเรง รดั นิเทศติดตามประเมินผล ซ่งึ จากการนาํ ระบบการพัฒนาสมรรถนะของผปู ระกอบวิชาชีพครโู ดยใชโรงเรียน เปนฐาน ในโรงเรยี นสงั กัดองคกรปกครองสวนทอ งถิ่นไปใชในการพัฒนาครู พบวาการฝกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารตามสมรรถนะ ที่ตองการจาํ เปนของผูป ระกอบวิชาชพี ครู มีผลการพัฒนาเพ่ิมขึน้ ในระดับมากท่ีสุด และสอดคลองกับผลการวิจัยของนันทกา วารินนิ (2557 : 199-203) ไดศ ึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรขู องครู ผลการวิจัยสรุปวา รปู แบบการพัฒนา สมรรถนะการจัดการเรยี นรทู ี่สรา งขึ้น มีองคป ระกอบ 3 สวน คอื สมรรถนะการจัดการเรียนรู ซง่ึ ประกอบดวย 5 ดาน คอื การสรางและพฒั นาหลักสูตร ความสามารถในเนือ้ หาสาระทส่ี อน การจัดกระบวนการเรยี นรูที่เนนผเู รียนเปนสําคัญ การใช และพฒั นานวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักการของรูปแบบ มี 4 หลักการ คอื 1) สนองความตองการของผูรับการพฒั นา 2) การยืดหยุนของกระบวนการและวิธีการ 3) การมีสวนรว มของผูรับการพัฒนา 4) ความแตกตา งระหวา งบุคคล กระบวนการพฒั นา มี 5 ข้ันตอน คือ 1) การสรา งความตอ งการในการพฒั นา 2) การวิเคราะห ความตองการในการพัฒนา 3) การออกแบบและวางแผนการพฒั นา 4) การดําเนินการตามแผนพัฒนา 5) การประเมนิ ผลการพัฒนา การที่จะพฒั นาสมรรถนะครูดานการจัดการเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตรใ นสถานศึกษาใหประสบผลสาํ เร็จไดน้ัน จําเปนตอ ง มีวิธีการเสริมสรา งสมรรถนะครูท่ีมีประสิทธภิ าพ ซงึ่ โปรแกรมการเสริมสรางสมรรถนะครู ดา นการจัดการเรียนรูวชิ าคณิตศาสตร ในสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 นี้เปน โปรแกรมท่ีจะชวยพฒั นาครู โดยมขี ้ันตอนและวิธีการปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจน เพื่องายตอการนาํ ไปใช มีความเหมาะสมและตรงกบั ความตองการของครผู ูสอนมากที่สุด ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอในการนาํ ไปใช 1.1 สภาพปจจุบนั ของสมรรถนะครดู า นการจัดการเรียนรวู ิชาคณติ ศาสตรใ นสถานศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 1 ดา นการพัฒนาสอื่ และนวัตกรรม อยูใ นระดบั ตํ่าสุด ดงั นั้นผูบริหารสถานศึกษา

Journal of Roi Et Rajabhat University 63 Volume 14 No.3 September - December 2020 ครูผูมีสว นเกี่ยวขอ งควรใหการสนับสนุนทรพั ยากรและวทิ ยาก รเพ่ือใหครูไดรับความสามารถในการผลิตสื่อการจัดการเรียน การสอนโดยใชเทคโนโลยใี นการจัดการศึกษาและผลิตส่อื ท่ีหลากหลาย 1.2 สภาพที่พงึ ประสงคของสมรรถนะครูดานการจัดการเรียนรูวชิ าคณติ ศาสตรในสถานศึกษา สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 1 ดา นการพฒั นาหลักสูตรและการวางแผนการสอน มีคา สงู สุด ดังนั้น ผูบริหารสถานศึกษา จึงควรสง เสริมใหครูเขารับการพัฒนาเก่ยี วกบั เร่อื งหลกั สตู รและพฒั นาการจัดทําแผนการเรยี นรูในรูปแบบที่หลากหลาย จดั ระบบพ่เี ลยี้ ง มีการนิเทศกํากบั ติดตามอยา งสมํา่ เสมอ 1.3 หนว ยงานตน สังกัด ควรสง ครูผสู อนวชิ าคณติ ศาสตร เขา รบั การฝก อบรม จัดกิจกรรมกลุม แกปญหา สนบั สนุนทรพั ยากรใหครูไดเ รียนรดู ว ยตนเอง และจัดโครงการศึกษาดงู านโรงเรยี นท่ีมวี ธิ ีปฏิบตั ิท่เี ปนเลิศดานสมรรถนะ การจัดการเรียนรู ครอบคลุมสมรรถนะครดู านการจดั การเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรทั้ง 10 ดาน เพ่ือใหครูผสู อนวชิ าคณิตศาสตร ไดรับการพัฒนาตนเองอยางมปี ระสิทธภิ าพ 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจยั คร้ังตอ ไป 2.1 ควรศกึ ษาปจจยั ท่ีสง ผลตอสมรรถนะจัดการเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรทั้ง 10 ดาน 2.2 ควรศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเรียนหลงั จากครูเขา รว มโปรแกรมการเสรมิ สรา งสมรรถนะครู ดานการจดั การเรียนรูวิชาคณติ ศาสตร เพื่อนาํ ผลไปใชในการวางแผนบริหารในสถานศึกษาตอ ไป 2.3 ควรศึกษาผลลัพธในแตละสมรรถนะดา นการจัดกิจกรรมการเรียนรขู องคณิตศาสตรหลงั การใชโปรแกรม การเสริมสรางสมรรถนะครูดา นการจัดการเรยี นรวู ชิ าคณติ ศาสตร เพอื่ ปรบั ปรุงโปรแกรมใหมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขึ้น เอกสารอา งอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (พมิ พค รง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย. ชานนท เศรษฐแสงศร.ี (2555). ระบบการพฒั นาสมรรถนะของผูประกอบวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานในโรงเรียน สงั กดั องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน. ดษุ ฎีนพิ นธ การศึกษาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. นันทกา วารินนิ . (2557). รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะการจัดการเรียนรขู องครสู าํ หรับโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร เขต 2. ดุษฎีนพิ นธ ครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา และการเรียนรู. นครสวรรค: มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค. บุรมิ โอทกานนท และคณะ. (2550). กระแสของการเปลี่ยนแปลง. สบื คน เมือ่ 4 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.oknation.net/blog/jazz-zie/2007/10/12/entry-31 วัชรี กาญจนกีรต.ิ (2554). การจัดการเรยี นรูคณิตศาสตร. เพชรบุร:ี มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุร.ี สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2545). มาตรฐานครูคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพราว. อรอนงค นอยคํายาง. (2560). การพฒั นาแนวทางการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรข องครู สังกัดสํานักงาน เขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 23. วิทยานพิ นธ การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. Perrine, V. (2001). Effect of a Problem-Solving-Based Mathematics Course on the Proportional Reasoning of Preservice Teachers. Colorado: University of Northern Colorado.

64 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 การพัฒนาแนวทางการพฒั นาครดู านการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง สําหรับสถานศกึ ษาสังกัดสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 24 Developing Guidelines over Teacher Development on Authentic Assessment for Schools under the Office of Secondary Educational Service Area 24 เชดิ เกียรติ แกวพวง1 และ ลักขณา สริวฒั น2 Received : 29 ธ.ค. 2562 Cherdkiat Kaewpung1 and Lakkana Sariwat2 Revised : 26 มี.ค. 2563 Accepted : 27 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ งานวิจัยน้ีมวี ตั ถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปจ จุบนั สภาพท่พี ึงประสงค และความตอ งการจําเปน ของการวัดผล ประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สาํ หรับสถานศึกษา และพัฒนาแนวทางการพฒั นาครดู า นการวัดผลประเมินผลการเรยี นรู ตามสภาพจรงิ กลมุ ตัวอยา ง คือ ผูบรหิ ารสถานศึกษา และครูหวั หนากลุมสาระการเรียนรู หรอื ครวู ชิ าการ สงั กัดสํานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 24 ปการศึกษา 2562 จาํ นวน 365 คน ไดจากการสมุ แบบแบงชั้น เครอื่ งมือที่ใช ไดแก 1) แบบสอบถามสภาพปจจุบันและสภาพทพ่ี ึงประสงคข องการวัดผลประเมินผลการเรยี นรูตามสภาพจริง 2) แบบสัมภาษณ แนวทางการพฒั นาครู ดานวดั ผลประเมินผลการเรียนรตู ามสภาพจรงิ และ 3) แบบประเมินความเหมาะสมของแนวทาง การพัฒนาครู สถิติท่ใี ช ไดแก คา เฉล่ีย และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังน้ี สภาพปจจบุ ันของการวดั ผล ประเมินผลการเรยี นรูตามสภาพจรงิ โดยรวมและรายดานอยูในระดับมาก สว นสภาพท่ีพงึ ประสงคโดยรวมและรายดา น อยใู นระดบั มากท่สี ุด เมื่อนําระดบั สภาพปจ จบุ ันและสภาพทพี่ ึงประสงคม าวิเคราะหห าคาความตอ งการจาํ เปน เพอ่ื จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั พบวา ความตองการจําเปนการพัฒนาครูดานการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ เรียงจากมากไปนอย 3 ลําดบั แรก คอื กําหนดวิธีการประเมิน กาํ หนดเกณฑการประเมิน และกําหนดกรอบการประเมิน และแนวทางการพฒั นาครู ดานการวัดผลประเมินผลการเรยี นรูต ามสภาพจรงิ โดยรวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก คําสาํ คญั : แนวทางการพัฒนาครู, การวัดผลประเมินผลการเรยี นรตู ามสภาพจรงิ , วัดผลตามสภาพจรงิ Abstract The purposes of this study were to 1) study the current, desirable condition and the need for authentic assessment for schools 2) develop guidelines of authentic assessment for teachers. The sample was 365 school administrators and the head teacher of each departments or academic teachers under the Office of Secondary Educational Service Area 24 in the academic year 2019, selected by stratified random sampling. Tools of the study were 1) Questionnaire for current and desirable conditions for authentic assessment 2) interview form for teacher development guidelines in authentic assessment and 3) evaluation form of teacher development guidelines. The statistics teachers used were mean and standard deviation. The research results were as follows: 1) the current condition of authentic assessment to actual situation as a whole and in each aspect were at high levels. The overall desirable condition and each aspect was at the highest level 2) the need 1 นิสติ หลกั สตู รการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารและพฒั นาการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อีเมล: [email protected] 2 รองศาสตราจารย, อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 Master Student Program in Educational Administration and Development, Faculty of Education, Mahasarakham University, Email: [email protected] 2 Associate Professor, Lecturer in Faculty of Education, Mahasarakham University

Journal of Roi Et Rajabhat University 65 Volume 14 No.3 September - December 2020 of developing teachers in authentic assessment in 3 aspects, the assessment methods, the evaluation criteria and the evaluation framework and guidelines for teachers were at high levels. Keywords : Teacher development guidelines, Evaluation of actual learning results, Authentic Assessment บทนํา การวัดและประเมินผลการเรียนรูทางการศึกษา ในปจจุบันเปนผลมาจากพฒั นาการทางดา นความคิดและประสบการณ ของนักทฤษฎีทางดา นการวัดและประเมินผลทีช่ ว ยสรา ง สานตอ และสะสมมาเปนเวลานานจนเปนท่ีรจู ักกันและใชกันอยา ง กวา งขวาง โดยระยะแรกใชแบบทดสอบมาตรฐาน แตท ั้งน้ที าํ ใหการประเมินผลไมส ามารถตอบคาํ ถามทต่ี อ งการไดท้งั หมด จึงไดมีการบุกเบิกแนวทางการประเมินท่เี หมาะสมใหม ซ่งึ สงผลทาํ ใหแนวคิดและทฤษฎตี า ง ๆ เกิดการขยายตัวอยา งรวดเรว็ ตลอดจนเกิดการพฒั นาการประเมินแนวใหม (ศิริชยั กาญจนวาสี, 2552 : 223) ซึง่ การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง เปนการประเมินโดยกระบวนการสังเกต จดบันทกึ และรวบรวมขอ มูลจากผลงาน และวิธีการปฏิบตั ิงานของผูเรียนอยา งตอเนอื่ ง โดยมุง เนนการประเมินทักษะการคดิ ท่ีซบั ซอนในการทาํ งาน ความรวมมือในการแกปญ หา การประเมินตนเอง การแสดงออก จากการปฏิบัติในสภาพจรงิ ซ่ึงใหความสําคญั กับการพฒั นาความกา วหนา ของผเู รียน และมีการใชขอ มูลเพื่อปรบั ปรุงแกไ ข ขอบกพรอง ดังนนั้ การประเมินตามสภาพจรงิ จงึ จาํ เปนตอ งใชเครื่องมอื ท่หี ลากหลาย ลดบทบาทของการประเมินโดยใช แบบทดสอบลงและใชการสงั เกตใหม ากข้ึน ใหการประเมินเกิดขึ้นอยา งตอ เนอ่ื ง ตลอดเวลาท่ีมีการเรียนการสอนใหเปนธรรมชาติ ไมสรางความตึงเครยี ดใหแกนักเรียน และนอกจากครผู ูสอนจะเปนผปู ระเมินแลว ควรเปดโอกาสใหผ ูเ รียน เพ่ือนรว มชั้น ครูวิชาอ่ืน ผูบริหาร หรอื ผปู กครองมสี วนรว มในการประเมิน ซึ่งการประเมินตามสภาพจรงิ น้ีจะชว ยใหไดขอ มูลผลการประเมินทเ่ี พียงพอ แมนยํา และเชื่อถือไดสงู โดยเลอื กใชเคร่อื งมือและวธิ ีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมสอดคลอ งกับจุดประสงคท ีม่ ุง ประเมิน ซ่งึ จะตอ งครอบคลุมพฤติกรรมดานพทุ ธพิ ิสยั จิตพิสัย ทักษะพิสัย และเนนกระบวนการ เพอื่ ตรวจสอบวาผูเรยี นมีความรูความคิด สามารถวางแผน และทาํ งานอยางเปนระบบ มขี ้นั ตอนเปนกระบวนการในการทํางานหรอื ไม เพอื่ ใหม่ันใจไดวาผเู รียน สามารถนําความรูและประสบการณท ี่ไดฝ กฝนในโรงเรียน ไปปรับใชในการแกป ญ หาในชีวติ ประจําวันในสังคมได การวัด และประเมินผลตามสภาพจรงิ จึงมีความสาํ คญั ดังกลา ว และถอื เปนทางเลือกใหมของการวัดและประเมินผล ที่ครูจะนาํ ไปใช เปนสว นหนึง่ ในการจัดการเรียนการสอน เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของผูเรยี นไดด ีท่ีสุด ดงั นั้นสถานศึกษาจะตองรบั ผิดชอบ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นใหเปนไปอยา งถูกตอ งและมีคุณภาพ จะเห็นไดวา การวดั ผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ จงึ เหมาะสาํ หรบั ครใู นดา นการนําขอ มลู มาพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผูเรียน โดยผูเรียนมีสวนรวมในการประเมิน (กรมวิชาการ, 2545 : 3) การดาํ เนินงานดานการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ในสังกดั สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ท่ีผานมาพบวา ปญหาสาํ คญั ทตี่ อ งไดรับการแกไขอยางเรงดว นน้ันคือ ปญ หาคุณภาพผเู รียน รองลงมาเปนปญหา ดานการจัดการเรียนการสอน ถึงแมวา ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องคก ารมหาชน) ในมาตรฐานท่ี 7 ครปู ฏบิ ัติงานตามบทบาทหนาทอ่ี ยา งมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลนั้น จะอยูในระดับดถี ึงดีมาก แตยงั สวนทางกับผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-Net) พบวา ระดบั คะแนนเฉลย่ี โดยภาพรวมของเขตพ้ืนที่การศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ภาษาไทย และภาษาตา งประเทศ ยังคงตาํ่ กวาเกณฑ มาตรฐาน จากสถานการณด ังกลาวยังมคี วามสอดคลองกับสภาพปญหาของสมรรถนะครู ดา นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 พบวา ครูขาดทักษะทีจ่ าํ เปนในการวัดและประเมินผล ตามสภาพจริงตามมาตรฐานวชิ าชีพครู ในมาตรฐานความรูและประสบการณว ชิ าชีพ ขอ ที่ 5 ความรูเร่ืองการวัดและประเมินผล การศึกษา และดานสมรรถนะการวดั และประเมินผลการศึกษา ซึ่งในปจจุบันไมส อดคลองและไมครอบคลุมการประเมินผล ตามสภาพจริง ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ฉบบั แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และไมสามารถพฒั นา ผูเ รียนเปนรายบุคคลไดอยางเต็มศักยภาพ จากผลการใชการประเมินแบบรายบุคคล และผลจากการใชการประเมินแบบดงั้ เดิม ซงึ่ มีจุดออนมาก โดยครผู ูสอนยังคงนําวิธีการวัดและประเมินผลโดยใชแ บบทดสอบแบบเลือกตอบมาใชในการวดั และประเมินผล การเรยี นรกู ับผูเรยี นเปนสว นใหญ ซ่งึ วิธีการวดั และประเมินผลการเรียนรูไมมคี วามหลากหลายตามสภาพท่แี ทจริงของผูเรียน เนนการวัดความรคู วามจํามากกวา ความแตกตางระหวางผูเรียน จึงสงผลกระทบโดยตรงตอ ภาพลักษณดา นคุณภาพและมาตรฐาน

66 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 การจัดการเรียนการสอนของบุคลากรในสถานศึกษา ทาํ ใหไมป ระสบความสาํ เร็จในการวดั ความรู ความเขา ใจที่ซับซอ น และความสามารถในการปฏบิ ตั ิ สงผลใหการจัดการเรียนการสอนดังกลา วไมม ปี ระสทิ ธิภาพ ไมเหมาะสม และทาํ ใหผ ูเรียน ขาดทักษะพนื้ ฐานท่ีจาํ เปนตอ การเรียนรู และนาํ ไปใชในการดํารงชีวติ ในสังคมที่ซับซอนของยุคปจจบุ ัน จึงเปนสาเหตุหน่งึ ทท่ี าํ ให คณุ ภาพการศกึ ษาของผูเรียนตกตํ่า ครูผูสอนจงึ ควรมีการจัดทําวิจยั ทเ่ี ก่ียวของกับการวัดผลประเมินผลการเรียนรูต ามสภาพจริง เพอ่ื นําผลการวิจัยมาพฒั นาคุณภาพผูเรียน (สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24, 2562 : 197) ผูวิจัยในฐานะเปนครผู ูสอนทําหนาท่ีมีสว นในการรบั ผิดชอบวัดผลและประเมินผลการเรียนรู มีความตระหนักถงึ ปญหา และความสาํ คัญของงานวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู เนือ่ งจากครูผสู อนยังขาดทักษะท่ีจาํ เปนในการวดั และประเมินผล ตามสภาพจริง ขาดความรเู รือ่ งการวดั และประเมินผลการศึกษา ทําใหไมสามารถนาํ ผลการเรยี นไปพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคล ไดอยา งเต็มศักยภาพ ผวู ิจัยจงึ มีความสนใจท่ีจะหาแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาวจึงไดจัดทาํ การศึกษาคนควาเรือ่ ง การพัฒนา แนวทางการประเมินผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง สาํ หรับสถานศึกษาสงั กัดสาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 เพอ่ื ศึกษาสภาพปจ จุบันและสภาพทพ่ี ึงประสงคในการพัฒนาบคุ ลากร ดา นการวดั ผลประเมินผลตามสภาพจริง และเพ่อื พัฒนาแนวทางพฒั นาบคุ ลากร ดา นการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 24 วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพปจจบุ ัน สภาพทีพ่ ึงประสงค และความตอ งการจําเปนของการวัดผลประเมินผลการเรยี นรู ตามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศกึ ษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 2. เพ่อื พัฒนาแนวทางในการพัฒนาครู ดา นการวดั ผลประเมนิ ผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 กรอบแนวคิดและสมมติฐาน การวจิ ัยครง้ั น้ีผูว ิจัยไดแสดงกรอบแนวคิดตามทฤษฎขี อง สมนึก นนทจิ ันทร (2545 : 72), กรมวิชาการ (2545 : 159) และนวลจิตต เชาวกีรตพิ งศ และคณะ (2544 : 191) สามารถสังเคราะหไ ดองคป ระกอบการวดั ผลประเมนิ ผล การเรียนรูตามสภาพจริง 7 ดา น ไดแก 1) กาํ หนดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 2) กําหนดแนวทางของงานที่จะตอ งปฏบิ ัติ 3) กาํ หนดรายละเอียดของงาน และกําหนดเวลา และสถานท่ใี นการประเมิน 4) กาํ หนดกรอบการประเมิน 5) กําหนดวธิ ีการ ประเมิน 6) กําหนดตวั ผปู ระเมิน และ 7) กําหนดเกณฑการประเมิน โดยแสดงการเช่อื มโยงความสมั พนั ธระหวางตัวแปรตาง ๆ ดงั ภาพประกอบ 1 องคประกอบการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ 1. กําหนดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 5. กาํ หนดวิธีการประเมิน 2. กาํ หนดแนวทางของงานที่จะตองปฏิบตั ิ 6. กําหนดตัวผูประเมิน 3. กาํ หนดรายละเอียดของงาน และกาํ หนดเวลา และสถานที่ในการประเมิน 7. กาํ หนดเกณฑการประเมิน 4. กาํ หนดกรอบการประเมิน การพัฒนาแนวทางการพัฒนาครูดานการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ สาํ หรบั สถานศึกษาสังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 บริบทสถานศึกษาสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย

Journal of Roi Et Rajabhat University 67 Volume 14 No.3 September - December 2020 วธิ ดี ําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง 1.1 ประชากร ครโู รงเรยี นมัธยมศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จากท้ัง 55 โรงเรียน ปก ารศึกษา 2562 จํานวน 2,631 คน 1.2 กลมุ ตัวอยาง 1.2 กลมุ ตัวอยา ง (Sample) ไดแก ครโู รงเรียนมัธยมศึกษา สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ปการศึกษา 2562 โดยการพิจารณาจาํ นวนกลุมตวั อยา ง ที่สามารถเปนตวั แทนประชากรได ซ่ึงเทียบจาํ นวนประชากร ทั้งหมดกับตารางกาํ หนดขนาดกลุมตวั อยา งของ Krejcie and Morgan (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2553 : 103) ไดก ลุมตัวอยา ง จํานวน 365 คน จากนั้นใชเทคนคิ การสมุ แบบชั้นภูมิ และวิธีการสุมอยา งงา ย 2. เครื่องมือท่ใี ชใ นการวิจัย 2.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพปจจุบัน สภาพทพี่ ึงประสงคและความตองการจําเปนของการพฒั นาบุคลากร ดานการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ สําหรับสถานศึกษา เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั และไดกําหนดนา้ํ หนักคะแนนตามวธิ ขี อง ลิเคริ ท (Likert Scale) โดยผลการ Try out ของแบบสอบถามมีคาอํานาจจาํ แนก รายขอ พบวา ขอคาํ ถามของแบบสอบถามสภาพปจจบุ ันรายขอ อยูร ะหวาง .24 - .88 และมขี อ คาํ ถามของแบบสอบถาม สภาพที่พงึ ประสงครายขอ อยูระหวา ง .36- .89 และคา ความเช่ือม่ันของแบบสอบถามสภาพปจจบุ ันเทา กบั .98 และคา ความเช่อื ม่ันของแบบสอบถามสภาพทพ่ี งึ ประสงคเ ทากบั .98 2.2 แบบสัมภาษณแนวทางการพัฒนาครู ดา นการวดั ผลประเมินผลตามสภาพจริงสาํ หรบั สถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 เพอ่ื ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชงิ เน้อื หา (Content Validity) ความตรง เชิงโครงสรา ง (Construct Validity) ความถูกตอ งของภาษาทใี่ ช (Wording) และหาคา ดชั นคี วามสอดคลอง (Index of Item Objective ongruence) IOC แลวคดั เลอื กขอ คาํ ถามทีม่ ีคา ดชั นีความสอดคลอ งตง้ั แต .60 ข้ึนไป โดยมีคาดัชนีความสอดคลอง รายขออยูระหวาง 0.71-1.00 2.3 แบบประเมินความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนาครู ดา นการการผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง สาํ หรบั สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 คอื แบบสอบถามประเภทประมาณคา 5 ระดับ เพอื่ ประเมินความเหมาะสมของแนวทาง เพื่อตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ความตรงเชงิ โครงสราง (Construct Validity) ความถูกตอ งของภาษาทใี่ ช (Wording) และหาคา ดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective ongruence) IOC แลว คัดเลือกขอคําถามท่มี ีคาดัชนีความสอดคลองตงั้ แต .60 ข้ึนไป โดยมีคาดัชนีความสอดคลอ งรายขอ อยูระหวา ง 0.71-1.00 3. การเกบ็ รวบรวมขอมลู ระยะท่ี 1 การศึกษาสภาพปจจุบัน สภาพทพ่ี งึ ประสงคแ ละความตองการจาํ เปนของการวัดผลประเมินผล ตามสภาพจริงสําหรับสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ กับการพฒั นาแนวทางการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ ในสถานศึกษา โดยผวู ิจัยดาํ เนินการศึกษาเอกสาร สรุป วิเคราะห และสงั เคราะหอ งคป ระกอบและตัวชีว้ ดั การพัฒนาครู ดานการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ สาํ หรบั สถานศึกษาโดยใชเทคนคิ การวเิ คราะหข อ มูลเชิงคุณภาพ เพอื่ ใหไ ดองคประกอบและตวั ชี้วัดมาสรา งเปนแบบสอบถามสภาพปจ จุบัน สภาพทพี่ งึ ประสงค และความตองการจําเปน ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการวธิ ีการพฒั นาครู ดา นการวัดผลประเมินผล การเรยี นรตู ามสภาพจรงิ ตรวจสอบความเหมาะสมของแบบสอบถามโดยผูเชี่ยวชาญ จาํ นวน 5 คน มีเกณฑค ณุ สมบตั ิ คอื มีวฒุ ิการศึกษาระดบั ปริญญาโท/ปรญิ ญาเอก ดา นการบริหารการศึกษา 2 คน ดานหลักสูตรและการสอน 1 คน ดา นจิตวทิ ยา และการแนะแนว 1 คน และดา นการวิจัยการศึกษา 1 คน ระยะที่ 2 การพฒั นาแนวทางการพฒั นาครู ดา นการวดั ผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ สําหรับสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ผลที่ไดจากระยะท่ี 1 สรางแบบสัมภาษณแนวทางการวัดผลประเมินผล การเรียนรตู ามสภาพจริง โดยการศึกษา Best Practices เกีย่ วกับการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงสาํ หรับสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 จากสถานศึกษาท่ีมีแนวปฏิบัตทิ ี่ดี โดยผวู ิจัยกําหนดเกณฑ ดังนี้ 1) เปนโรงเรยี นท่ผี านการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล (SCQA) 2) เปน โรงเรียนทีผ่ านการประเมินภายนอกรอบที่ 3

68 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 ในระดับดขี ึ้นไป 3) เปนโรงเรียนที่มผี ลงานดีเดนดานวิชาการระดบั ประเทศ โดยนําแนวทางท่ีไดมาสังเคราะหและยกรางแนวทาง ดาํ เนินการตรวจสอบเชิงยืนยัน และประเมินความเหมาะสมของแนวทางโดยผูทรงคณุ วุฒิ จํานวน 7 คน มีเกณฑคณุ สมบตั ิ คือ วฒุ กิ ารศึกษาปริญญาโท/ปริญญาเอก ดานการบริหารการศึกษา 3 คน ดา นการวจิ ัยและการวดั ผลประเมินผล 2 คน ดา นหลักสูตรและการสอน 1 คน และจิตวทิ ยาและการแนะแนว 1 คน 4. การวิเคราะหข อมูล 4.1 การวิเคราะหขอ มูลสภาพปจจุบนั และสภาพท่ีพึงประสงค ของแนวทางการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง วิเคราะหโดยใชคา เฉล่ียและสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยเทียบเกณฑ Midpoint อาศัยแนวคิดของบุญชม ศรีสะอาด (2553 : 103) แปลความหมายตามเกณฑท ่ีกําหนด คอื 4.51-5.00 หมายถงึ มีการปฏบิ ัติในปจจุบัน/ท่ีพึงประสงคอยูในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง มีการปฏิบัตใิ นปจ จุบัน/ทีพ่ ึงประสงคอยูในระดับมาก 2.51-3.50 หมายถึง มีการปฏิบัตใิ นปจ จุบัน/ทพี่ ึงประสงคอยูในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง มีการปฏบิ ัตใิ นปจ จุบัน/ทีพ่ ึงประสงคอยูในระดับนอ ย 1.00-1.50 หมายถงึ มีการปฏบิ ัตใิ นปจจบุ ัน/ทพ่ี ึงประสงคอยูในระดับนอยที่สุด 4.2 การวิเคราะหหาคาดัชนีความตองการจําเปน (Modified Priority Needs Index : PNImodified) ในการวดั ผล ประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศึกษา เพื่อจดั ลาํ ดับความสาํ คัญของความตองการจําเปน 4.3 การวิเคราะหความเหมาะสม วิเคราะหข อมูลโดยใชเกณฑแปลความความหมายคา เฉล่ียคะแนนความเหมาะสม และความเปนไปได โดยอาศัยแนวคิดของบญุ ชม ศรีสะอาด (2553 : 103) ผลการศึกษา 1. ผลการศึกษาคา เฉล่ีย สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานของสภาพปจจุบัน สภาพทพ่ี งึ ประสงค และความตอ งการจาํ เปน ขององคป ระกอบการวัดผลประเมินผลการเรยี นรูตามสภาพจริงสาํ หรบั สถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 24 ดังตาราง 1 ตาราง 1 คา เฉลี่ย สว นเบ่ียงเบนมาตรฐานของสภาพปจ จุบัน สภาพทพ่ี ึงประสงค และความตอ งการจําเปนขององคป ระกอบ การวัดผลประเมินผลการเรยี นรตู ามสภาพจรงิ สําหรับสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 24 องคป ระกอบการวัดผลประเมินผล สภาพปจจบุ ัน สภาพท่พี งึ ประสงค D I PNI ลาํ การเรยี นรูตามสภาพจรงิ ดบั  S.D. ระดับ  S.D. ระดบั 1. กาํ หนดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 3.92 0.71 มาก 4.66 0.29 มากที่สุด 3.92 4.66 0.189 6 2. กําหนดแนวทางของงาน ทจี่ ะตอ งปฏบิ ัติ 3.89 0.47 มาก 4.59 0.98 มากทส่ี ุด 3.89 4.59 0.180 7 3. กาํ หนดรายละเอียดของงาน และกําหนดเวลา และสถานท่ี ในการประเมิน 3.89 0.49 มาก 4.67 0.21 มากทส่ี ุด 3.89 4.67 0.201 4 4. กําหนดกรอบการประเมิน 3.86 0.44 มาก 4.64 0.33 มากทส่ี ุด 3.86 4.64 0.202 3 5. กาํ หนดวิธีการประเมิน 3.85 0.40 มาก 4.67 0.23 มากท่ีสุด 3.85 4.67 0.213 1 6. กาํ หนดตัวผปู ระเมิน 3.87 0.42 มาก 4.63 0.23 มากทีส่ ุด 3.87 4.63 0.196 5 7. กาํ หนดเกณฑก ารประเมิน 3.84 0.42 มาก 4.63 0.29 มากท่ีสุด 3.84 4.63 0.206 2 โดยรวม 3.87 0.48 มาก 4.64 0.37 มากที่สุด

Journal of Roi Et Rajabhat University 69 Volume 14 No.3 September - December 2020 จากตารางสามารถสรปุ ไดวา ผลการศึกษาสภาพปจ จุบันของการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง โดยรวมอยูในระดับมาก ( = 3.87) เมื่อพิจารณาเปนรายดา น พบวาอยใู นระดบั มากทุกดาน และสภาพทีพ่ ึงประสงค ของการวัดผลประเมินผลการเรยี นรูต ามสภาพจรงิ สาํ หรับสถานศึกษา สงั กัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด (  = 4.64) เมอื่ พจิ ารณาเปนรายดา น พบวาอยใู นระดบั มากท่สี ุดทุกดาน และการจดั ลาํ ดับ ความสาํ คญั ของความตอ งการจาํ เปน ในการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สาํ หรับสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 การกําหนดแนวทางของงานท่ีตอ งปฏบิ ัติ เรยี งลําดับความสาํ คัญของความตองการจําเปน จากมากไปหานอย 3 ลําดบั แรก ไดแ ก การกําหนดวิธีการประเมิน (PNImodified= 0.213) การกาํ หนดเกณฑการประเมิน (PNImodified= 0.206) และการกาํ หนดกรอบการประเมิน (PNImodified= 0.202) ตามลําดบั 2. ผลการศึกษาแนวทางการพฒั นาครู ดานการวัดผลประเมนิ ผลการเรียนรตู ามสภาพจริงประกอบดว ย 7 องคป ระกอบ ไดแก 1) ดานการกําหนดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2) ดานการกําหนดแนวทางของงานที่ตอ งปฏบิ ัติ 3) ดา นการกําหนดรายละเอียดของงาน เวลาและสถานทใ่ี นการประเมิน 4) ดานการกาํ หนดกรอบการประเมิน 5) ดานการกําหนดวธิ ีการประเมิน 6) ดา นการกาํ หนด ตัวผปู ระเมิน และ 7) ดานการกาํ หนดกรอบการประเมิน โดยมวี ิธีการพัฒนาครู ดังนี้ ดา นท่ี 1 มกี ารประชมุ ช้ีแจงครูกอนสอน จัดทํากรอบโครงสรา งวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ครูแจง ภาระช้ินงานแกผเู รียน ผูบรหิ ารนิเทศติดตามผา นหัวหนา กลมุ สาระการเรียนรู และมกี ารสํารวจตดิ ตามและรายงานผบู ริหาร ดา นที่ 2 ผสู อนจัดทําแนวทางของงานโดยการวเิ คราะหหลกั สูตร จัดทาํ โครงสราง รายวิชา กาํ หนดภาระชิ้นงาน จัดสงโครงการสอนกบั เจาหนาท่ีงานวิชาการ และรายงานผูบรหิ ารทราบ ดานท่ี 3 เจาหนา ท่ี รบั ผิดชอบจดั ทาํ ปฏิทินวิชาการแจงใหครูผสู อนทราบ ครูผูสอนจัดทาํ และระบุเวลาและภาระงานในโครงสรา งรายวิชาใหแลว เสร็จ พรอ มจัดทาํ แผนการสอนสง งานวิชาการ และเจาหนาที่รับผิดชอบ รายงานผูบ ริหาร ดานท่ี 4 คณะทํางานออกคําสัง่ ในการสอน ครูผูสอนวิเคราะหหลักสูตร และจัดทาํ กรอบการวัดผลจัดใหเจาหนา ทรี่ บั ผิดชอบตรวจสอบ ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ และนาํ ไปใช ดา นท่ี 5 ครผู สู อนวิเคราะหหลกั สตู รแกนกลาง จดั ทาํ โครงสรา งรายวิชาและกําหนดวิธีการประเมนิ ดานท่ี 6 สถานศึกษามีการออกคําสั่งใหครผู สู อนตามรายวชิ า พรอ มชี้แจงระเบยี บการวัดผลในตนภาคเรียน พรอมใหครูผูสอน ตามรายวิชาออกแบบ และวัดผลประเมินผลการเรียนรตู ามรายวิชา และดานท่ี 7 ครผู ูสอนมีการศึกษาหลักสูตร จัดทําโครงสรา ง รายวิชา กาํ หนดเกณฑการวัดผลประเมินผล สง ใหเจา หนาทท่ี ร่ี ับผิดชอบเพ่ือบันทึกเกณฑล งในระบบ SGS หรอื Bookmark เพอื่ ใชป ระมวลผลตอไป โดยผลการประเมินความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนาครู ดานการวดั ผลประเมินผลการเรียนรู ตามสภาพจรงิ สาํ หรับสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวมอยูในระดับมาก ( =4.45) สรุปผล 1. ผลการศึกษาสภาพปจจบุ ันและสภาพทีพ่ ึงประสงค และความตอ งการจําเปนของการพัฒนาแนวทางการพัฒนาครู ดานการวัดผลประเมินผลการเรยี นรตู ามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศึกษาสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 พบวาสภาพปจจบุ ันของการวัดผลประเมินผลการเรียนรู ตามสภาพจรงิ สาํ หรับสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 24 โดยรวมและเปนรายดานอยูในระดบั มาก และสภาพทพี่ ึงประสงคของการวัดผลประเมินผลการเรียนรู ตามสภาพจรงิ สําหรับสถานศกึ ษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 โดยรวมและเปนรายดานอยูในระดบั มากที่สุด จากการศึกษาสภาพปจจบุ ันและสภาพท่พี ึงประสงค ของการวัดผลประเมินผลการเรียนรตู ามสภาพจริง ผวู ิจัยไดนํา ผลการวิจัยมาวเิ คราะหหาคา ดชั นีความตอ งการจําเปน (PNIModified) เพ่อื จดั ลําดบั ความสําคัญพบวา ลําดับความตองการจําเปน ในการพฒั นาครูดานการวดั ผลประเมินผลการเรยี นรูตามสภาพจรงิ เมื่อเรียงจากลาํ ดับมากไปหานอ ย ไดแก 3 ลาํ ดับแรก กาํ หนดวิธีการประเมิน กาํ หนดเกณฑก ารประเมิน และกําหนดกรอบการประเมิน ตามลาํ ดับ 2. แนวทางการพัฒนาครดู า นการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ ประกอบดว ย 7 องคประกอบ ไดแ ก 1) ดานการกําหนดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 2) ดา นการกาํ หนดแนวทางของงานท่ตี อ งปฏบิ ตั ิ 3) ดา นการกาํ หนดรายละเอยี ด ของงาน เวลา และสถานท่ีในการประเมิน 4) ดา นการกาํ หนดกรอบการประเมิน 5) ดานการกําหนดวิธกี ารประเมิน 6) ดานการกาํ หนดตวั ผูประเมิน และ 7) ดานการกาํ หนดกรอบการประเมิน โดยมีวิธีการพัฒนาครู ดังน้ี ดานที่ 1 มีการประชุม ชแี้ จงครูกอ นสอน จัดทํากรอบโครงสรา งวดั ผลสัมฤทธ์ิ ครูแจง ภาระชน้ิ งานแกผูเรียน ผบู ริหารนิเทศติดตามผา นหัวหนากลุม สาระการเรียนรู และมีการสาํ รวจติดตาม และรายงานผบู ริหาร ดา นที่ 2 ผสู อนจัดทําแนวทางของงานโดยการวิเคราะหหลักสูตร จัดทาํ โครงสรา งรายวิชา กําหนดภาระชิ้นงาน จัดสงโครงการสอนกับเจา หนา ท่ีงานวิชาการ และรายงานผบู ริหารทราบ

70 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 ดา นที่ 3 เจา หนา ทร่ี บั ผิดชอบจัดทาํ ปฏิทนิ วชิ าการ แจงใหค รูผสู อนทราบ ครผู ูสอนจดั ทาํ และระบุเวลาและภาระงาน ในโครงสรา งรายวชิ าใหแลวเสร็จ พรอมจัดทําแผนการสอน สง งานวิชาการและเจาหนาทรี่ บั ผิดชอบ รายงานผูบริหาร ดานท่ี 4 คณะทาํ งานออกคําสั่งในการสอน ครผู ูสอนวิเคราะหหลักสูตรและจัดทาํ กรอบการวัดผล จดั ใหเจา หนา ที่รบั ผิดชอบ ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แกไขตามขอ เสนอแนะ และนําไปใช ดา นท่ี 5 ครูผูส อนวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง จัดทําโครงสรา ง รายวิชา และกําหนดวิธีการประเมิน ดา นท่ี 6 สถานศึกษามีการออกคําส่ังใหครูผสู อนตามรายวิชา พรอมช้ีแจงระเบียบ การวัดผลในตนภาคเรยี น พรอ มใหครผู ูสอนตามรายวชิ าออกแบบ และวัดผลประเมินผลการเรียนรตู ามรายวชิ า และดานท่ี 7 ครูผสู อนมีการศกึ ษาหลักสูตร จัดทาํ โครงสรางรายวชิ า กาํ หนดเกณฑก ารวัดผลประเมินผล สง ใหเจาหนา ทที่ ี่รับผิดชอบ เพือ่ บันทึกเกณฑลงในระบบ SGS หรือ Bookmark เพื่อใชป ระมวลผลตอ ไป โดยผลการประเมินความเหมาะสมของแนวทาง การพฒั นาครูดา นการวัดผลประเมินผลการเรียนรตู ามสภาพจริง สําหรบั สถานศึกษาสังกัดสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวมอยูในระดับมาก อภปิ รายผล การดําเนินการวิจัยเร่อื งการพัฒนาแนวทางการพัฒนาครู ดา นการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง สาํ หรับสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ผูวิจัยสามารถอภปิ ราย ไดด งั นี้ 1. สภาพปจจบุ ันของการวัดผลประเมินผลการเรยี นรูตามสภาพจรงิ โดยรวมและรายดา นอยูใ นระดบั มาก สว นสภาพทีพ่ ึงประสงคโดยรวมและเปนรายดา นอยูใ นระดับมากท่ีสุด คา ความตอ งการจาํ เปน (PNImodifled) มคี วามสาํ คญั จากมากไปนอ ย 3 ลาํ ดบั แรก ไดแ ก การกําหนดวิธีการประเมิน การกาํ หนดเกณฑการประเมิน และการกําหนดกรอบการประเมิน ทงั้ น้ี อาจเนื่องมาจากการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ เปนเร่อื งที่ใหมส าํ หรับครูผูส อน และครูผสู อนยงั ขาดความรู ความเขาใจในการวัดผลประเมินผลการเรียนรูต ามสภาพจริง (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24, 2562 : 197) และสอดคลอ งกบั แนวคดิ ของสมนึก นนทิจันทร (2545 : 85) ที่กลาวถงึ องคป ระกอบการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง วา ตองมีการกําหนดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กําหนดแนวทาง กําหนดรายละเอียดของงาน กาํ หนดกรอบการประเมิน กําหนดวิธีการประเมิน และกาํ หนดเกณฑการประเมิน และสอดคลองกบั แนวคิดของกรมวิชาการ (2545 : 11) ทก่ี ลา วถึง องคป ระกอบของการประเมนิ ผลตามสภาพจริงวา ตอ งมีการกาํ หนดจุดประสงคในการประเมินขอบเขต หรอื กรอบการประเมิน เครื่องมอื หรอื วิธีการประเมินและเกณฑการประเมิน นอกจากนี้ยังสอดคลองกับงานวิจัยของอุดม ศรขี ันธ (2555 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเร่อื ง การพัฒนาบุคลากรดานการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ โรงเรียนวังไมแดงพิทยาคม อาํ เภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา มีความมุงหมายเพื่อพฒั นาบคุ ลากรดานการวัดผลประเมินผลตามสภาพจรงิ โรงเรยี นวังไมแดงพทิ ยาคม อําเภอประทายจังหวัด กลมุ ผรู ว มศึกษาคนควา จํานวน 7 คน และผใู หข อ มูลเพ่มิ เตมิ จาํ นวน 44 คน เครอื่ งมอื ท่ีใชในการ เกบ็ รวบรวมขอมูลเปนแบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสมั ภาษณ แบบประเมินและการสรปุ องคความรู ผลการดาํ เนินการ ผลการวิจัยพบวา ครยู ังทาํ การวัดผลและประเมินการเรียนรู โดยเนนทดสอบความรูความจาํ ของนักเรียนเปนสวนใหญ ไมไดว ัดผลและประเมินผลผเู รยี นอยางหลากหลายตามสภาพจรงิ และไมครอบคลุมทุก ๆ ดา น 2. แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สําหรับสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 24 โดยรวมมคี วามเหมาะสมอยูในระดับมาก ท้งั นีอ้ าจเน่ืองจากแนวทางการพัฒนาครูดานการวัดผลประเมินผล การเรยี นรูตามสภาพจรงิ เปนงานท่ีครตู องปฏบิ ัตเิ ปนประจําทุกภาคเรียน และตอ งนาํ ผลการวัดผลประเมินผลมาใชในการพัฒนา ผเู รียนอยา งแทจริง ซึ่งสอดคลอ งกับสมนึก นนทิจันทร (2545 : 147) กลาววา การกาํ หนดแนวทางของงานที่จะตอ งปฏิบตั ิ คือ การกาํ หนดงานท่ีทกุ คนตองทํา และการกําหนดงานที่ทาํ ตามความสนใจ ซึ่งสอดคลอ งกบั ณรงค พลยทุ ธ (2552 : บทคัดยอ) ไดท าํ การศึกษาวิจัยเร่ือง การพัฒนาครูในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โรงเรียนหองแซงวิทยาคม อาํ เภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยมีความมุงหมายเพื่อพฒั นาครโู รงเรียนหองแซงวิทยาคม อาํ เภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร ผลการวิจยั พบวา การพัฒนาครูในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โรงเรียนหองแซงวทิ ยาคม อาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร สามารถสรา ง เครอ่ื งมือวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ทีน่ ําไปใชป ฏบิ ตั จิ ริงในชั้นเรยี นได จึงควรสนับสนุนสงเสริมใหนํากลยทุ ธด ังกลา ว ไปพฒั นาครใู นโรงเรียนอ่ืน ๆ และยังสอดคลอ งกบั อุดม ศรีขันธ (2555 : บทคดั ยอ) ไดท ําการวิจัยเรือ่ ง การพฒั นาบุคลากร ดานการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ โรงเรียนวงั ไมแดงพิทยาคม อําเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา มีความมุงหมาย เพ่ือพัฒนาบุคลากรดา นการวดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง โรงเรียนวังไมแดงพิทยาคม อาํ เภอประทายจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวาการประเมนิ ผลผลการดําเนินการพฒั นา ดานความสามารถในการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ

Journal of Roi Et Rajabhat University 71 Volume 14 No.3 September - December 2020 มีผลการประเมินอยูในระดับมาก เนือ่ งจากการประเมนิ ตามสภาพจริง ทาํ ใหผูเรยี นและผูสอนมสี วนรว มในการจัดการเรยี นการสอน การประเมินมีการปฏิบัติจริง และสามารถนาํ มาพัฒนาความสามารถผเู รียนไดอ ยางแทจริง ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 ควรสงเสริมแนวทางการพัฒนาครูดานการวัดผลประเมินผล การเรยี นรตู ามสภาพจรงิ ไปใชใ นการอบรม ใหความรหู รอื การสัมมนาใหแกครู และควรติดตามผลการนําไปใชเพื่อใหเกิดประโยชน ในการจัดการเรียนการสอนของครทู ่ีแทจริง 1.2 ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาควรมีการนาํ แนวทางพัฒนาครู การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง ไปใชกบั ครผู ูสอนในสถานศึกษา ไดทดลองใชแ ละปฏิบตั ิตามแนวทาง เพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพการวัดและประเมินผลการเรียนรู ผเู รยี นใหมีคุณภาพ เพือ่ พัฒนาคุณภาพผเู รียนและใหบรรลุตามเปาหมายของการจัดการศึกษา 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอ ไป ควรมีการวิจยั เกีย่ วกบั การพัฒนาโปรแกรมการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ เพื่อนําไปใช เพ่ิมขีดความสามารถดา นการวัดผลประเมินผลการเรียนรูใหกบั ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษาตอไป เอกสารอา งองิ กรมวิชาการ. (2545). แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพครุ สุ ภาลาดพรา ว. ณรงค พลยทุ ธ. (2552). การพฒั นาครูในการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง โรงเรียนหองแซงวิทยาคม อําเภอเลงิ นกทา จังหวัดยโสธร. วิทยานพิ นธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. นวลจิตต เชาวกรี ติพงศ และคณะ. (2544). การเรยี นการสอนอาชวี ะศึกษา เอกสารการสอนชุดวชิ า การจัดการเรียน การสอนอาชีวศึกษา หนวยที่ 4. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมมาธริ าช. บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องตน. กรงุ เทพฯ: สวุ ีริยาสาสน . ศิริชัย กาญจนวาส.ี (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดง้ั เดิม. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย. สมนึก นนทจิ ันทร. (2545). การเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ ของผูเรยี นโดยใชแฟม สะสมงาน. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . สํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 24. (2562). แผนปฏิบัตกิ ารประจําป สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24 ปงบประมาณ พ.ศ.2562. กาฬสินธุ: สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. อดุ ม ศรขี ันธ. (2555). การพฒั นาบุคลากรดานการวัดผลและประเมินผล โรงเรียนวังไมแดงพิทยาคม อาํ เภอประทาย จงั หวัดนครราชสีมา. วทิ ยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

72 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 กลยทุ ธการสรางเครอื ขายความรวมมือเพอื่ พฒั นาโรงเรียนในสํานักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ Strategies for Creating Cooperative Networks for School Development under Buengkan Primary Educational Service Area Office วาลกิ า อัครนิตย1, ไชยา ภาวะบุตร2 และ เพลนิ พิศ ธรรมรัตน3 Received : 24 ก.พ. 2563 Valiga Akkharanit1, Chaiya Pawabutra2 and Ploenpit Thumamarat 3 Revised : 26 มี.ค. 2563 Accepted : 27 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีความมงุ หมายเพื่อ 1) ศกึ ษาองคป ระกอบการสรางเครือขายความรว มมอื เพ่ือพฒั นาโรงเรยี น ในสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2) พฒั นาและตรวจสอบกลยทุ ธการสรางเครอื ขายความรว มมอื เพือ่ พัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กลมุ ตัวอยางทีใ่ ชในการวจิ ัย คอื ผูบริหารสถานศึกษา ในสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ปการศึกษา 2560 จาํ นวน 140 คน กลุมตวั อยา งไดมาโดยวิธีการสุม แบบหลายขั้นตอน เคร่อื งมือท่ีใชใ นการวิจัยไดแก แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม และแบบประเมิน สถติ ิที่ใช คือ รอยละ คา เฉล่ีย สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และความถ่ี ผลการวิจัยพบวา 1) องคประกอบการสรางเครือขายความรวมมือเพือ่ พฒั นา โรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ประกอบดว ย คอื (1) ดา นการกาํ หนดสมาชิกเครือขา ย (2) ดา นการกาํ หนดวัตถุประสงค (3) ดา นการมสี วนรว มในการปฏบิ ัติงาน (4) ดานการมที ักษะภาวะผูนาํ (5) ดา นการประสานงาน ของเครือขา ย (6) ดา นการติดตาม ประเมินผล (7) ดานวฒั นธรรมองคกร (8) ดา นทรัพยากรทองถิ่น (9) ดานนโยบายทางการศึกษา (10) ดา นเทคโนโลยี 2) กลยทุ ธการสรา งเครอื ขายความรวมมอื เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บึงกาฬ ประกอบดวย กลยุทธเชิงรุก (SO) จาํ นวน 17 วิธีการพัฒนา 33 ตัวชีว้ ัด กลยุทธสรางภูมิคมุ กัน (ST) จํานวน 7 วธิ ีการพัฒนา 14 ตัวชี้วดั และกลยุทธเรงพัฒนา (WO) จํานวน 12 วิธีการพฒั นา 20 ตวั ชี้วัด ผลการประเมินความเหมาะสม ความเปนไปได ความถูกตอง และการนําไปใชป ระโยชน อยใู นระดบั มาก คาํ สําคญั : กลยทุ ธ, เครือขายความรวมมอื , สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ Abstract This research aimed to 1) study components of strategies for creating cooperative networks for school development under Buengkan Primary Educational Service Area Office, and 2) develop and validate strategies for creating cooperative networks for school development under Buengkan Primary Educational Service Area Office. The sample, obtained through multistage random sampling, were 140 school administrators under Buengkan Primary Educational Service Area Office in the academic year 2016. The research instruments included interview forms, questionnaires and assessment forms. Data analysis was done by means of statistical software programs. The findings were as follows : 1) The components of strategies for creating cooperative networks for school development under Buengkan Primary Educational Service Area Office consisted of: (1) Determination of network members, (2) Determination of objectives, (3) Participation in 1 นักศึกษาหลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผูน ํา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อีเมล: [email protected] 2 รองศาสตราจารย อาจารยประจําสาขาวิชาการบริหารการศกึ ษาและภาวะผูนํา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3 ผชู วยศาสตราจารย อาจารยป ระจําสาขาวชิ าการบริหารการศึกษาและภาวะผูนํา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร 1 Doctoral Student Program in Education in Educational Administration and Leadership, Sakon Nakhon Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Associate, Lecturer of Educational Administration and Leadership, Sakon Nakhon Rajabhat University 3 Assistant, Lecturer of Educational Administration and Leadership, Sakon Nakhon Rajabhat University

Journal of Roi Et Rajabhat University 73 Volume 14 No.3 September - December 2020 work performance, (4) Leadership skills, (5) Network coordination, (6) Monitoring and evaluation, (7) Organizational culture, (8) Local resources, (9) Educational policy, and (10) Technologies. 2) Strategies for creating cooperative networks for school development under Buengkan Primary Educational Service Area Office consisted of Proactive Strategy (SO) comprising 17 development methods; Building Security Strategy (ST) comprising 7 development methods, and Strategies to Accelerate Development (WO) comprising 12 development methods. The assessment which was carried out revealed a high level of appropriateness, feasibility, accuracy, and utility. Keywords : Strategies, Cooperative Networks, Buengkan Primary Educational Service Area Office บทนํา ศตวรรษท่ี 21 กบั การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอยา งรวดเรว็ ในโลกปจจุบัน ถือเปนชว งเวลาทที่ าทายความสามารถ ของมนุษยชาติ ความกาวหนา ของเทคโนโลยีสารสนเทศทาํ ใหโลกเปดกวางและงา ยตอ การเขาถึง เราสามารถกาวขา มพรมแดน ไปไดทุกซอกทุกมุมของโลก ทาํ ใหพ ลโลกในยุค ศตวรรษท่ี 21 มคี วามแตกตา งจากศตวรรษที่ 19 และ 20 อยางสิ้นเชงิ (ตะวัน เทวอกั ษร, 2556 : 4) จากความเปลี่ยนแปลงดงั กลา ว การศึกษาเปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ที่จะพฒั นาประเทศใหมีความเจริญกาวหนา ทง้ั ในดา นเศรษฐกิจ การเมอื ง สังคมและวฒั นธรรม เพราะการพัฒนาประเทศนั้นตองอาศัยคนซ่ึงเปนทรพั ยากรท่ีมคี วามสําคัญ จึงมีความจําเปนอยา งยิ่งท่ีจะตองสงเสริมและสรางสภาพการณ เพื่อการเรียนรอู ยางตอเนอ่ื ง พัฒนาคณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพ และขีดความสามารถของคนสวนใหญใ นประเทศ โดยยึดหลกั การสรางเครอื ขา ย และใหทุกภาคสวนของสงั คมเขา มามีสวนรวม ในการกําหนดและตัดสนิ ใจในกิจกรรมทางการศึกษา การสนับสนุนใหส ังคมทุกภาคสว นและทุกระดบั ไดพฒั นาเต็มตามศักยภาพ และสรางสภาพแวดลอมใหเออ้ื ตอ ความสาํ เร็จ จะทาํ ใหเกิดพลงั พัฒนาประเทศอยา งมีเสถียรภาพและย่งั ยืน (ประยูร อัครบวร และคณะ, 2553 : 13) รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 รฐั ตองดาํ เนินการใหประชาชนไดรบั การศกึ ษา ตามความตอ งการในระบบตาง ๆ รวมทง้ั สงเสริมใหมีการเรียนรตู ลอดชวี ิต และจัดใหม ีการรวมมือกันระหวางรัฐ องคกรปกครอง สว นทองถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรฐั มหี นาทดี่ าํ เนินการกํากับ สงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษา ดังกลา วมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากลและสอดคลองกบั พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 8 (2) ใหสงั คมมีสวนรวมในการจัดการศกึ ษา มาตรา 29 ใหสถานศึกษารวมกบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง สว นทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอ่นื สงเสริมความเขมแขง็ ของชุมชนโดยจดั กระบวนการเรียนรูภายในชุมชน การสรา งเครอื ขายเปนปจจัยสาํ คญั ของการสงเสริมใหเกิดการพฒั นาทยี่ ั่งยืน ทงั้ น้ีเพราะสมาชิกเครอื ขายมีบทบาทสําคญั ในการดาํ เนินงานรวมกัน เริ่มดวยการกําหนดเปา ประสงคกําหนดกฎเกณฑ ทาํ ใหท ุกฝา ย มสี ว นรวมและแบง บทบาทหนา ที่กันทาํ (เสรี พงศพิศ, 2548 : 9) เครือขายการจดั การศึกษาเปน เครื่องมอื ในการบริหารจัดการ ในยุคใหมท่สี อดคลองกบั สถานการณท งั้ ดานการเมอื ง สงั คม เศรษฐกิจ ท้ังในระดบั โลก ระดบั ประเทศ และในระดบั พื้นท่ี โดยในประเทศ สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ไดเสนอแนวคิดที่เปนเครอ่ื งมือในการบริหารงานภาครฐั ยุคใหม นั่นคือ การบริหารงานภาครฐั ในรูปแบบเครอื ขาย (Governing by Network) ซึง่ หมายถงึ “การบริหารงานภาครัฐ ในรูปแบบเครอื ขายท่ีจดั ทําข้ึน เพ่ือเปนแนวทางใน การแกปญหาตาง ๆ ในสงั คมทไ่ี มสามารถดําเนินการไดสําเร็จดว ยองคการ หรือหนวยงานภาครัฐเพียงองคการ หรอื หนวยงานเดียว” (จิรประภา อัครบวร และประยูร อัครบวร, 2552 : 17) สอดคลองกับ Agranoff and McGuire (2001 : 296) ไดเสนอแนวคดิ ไวอ ยางนาสนใจวา การทาํ งานแบบเครอื ขา ย เปนการทาํ งานรว มกัน ระหวา งหนวยงานหลายหนว ยงาน เพอื่ แกป ญหาที่ไมสามารถดําเนินการไดเ พียงหนว ยงานใดหนวยงานหน่ึงเพียงลาํ พัง ดังนั้น การทํางานแบบเครอื ขายจงึ จาํ เปนตอ งอาศัยกระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือเปนเคร่ืองมือในการขับเคลื่อน จากรายงานผลการปฏิบัตงิ านประจําป 2558 พบวา สภาพปจ จบุ ันการจัดการศึกษาและการมสี ว นรวม ของการ จดั การศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ขาดการมสี วนรวมและการสรางเครือขาย มีจํานวนนอย (สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาบงึ กาฬ, 2558 : 12) ผวู ิจัยจึงไดศึกษาเพ่ือเปนแนวทางท่ีสําคญั นาํ มาใชในการพัฒนา คณุ ภาพโรงเรยี น ซ่ึงจะทาํ ใหเกิดพันธมิตรทางวิชาการรวมกนั ระหวางเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผูบ รหิ ารโรงเรียน ครู และเครือขาย ทางการศึกษาอื่น ๆ ในทอ งถิ่นอันจะสง ผลใหโรงเรียน สามารถจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส งู สดุ

74 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ตอ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ จะไดนาํ ไปพัฒนาสถานศึกษาของตนเองตอ ไป วตั ถุประสงค 1. เพ่อื ศกึ ษาองคป ระกอบการสรางเครือขา ยความรว มมอื เพ่อื พัฒนาโรงเรยี นในสาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษาบงึ กาฬ 2. เพื่อพัฒนาและตรวจสอบกลยุทธการสรางเครอื ขายความรวมมือ เพือ่ พัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ กรอบแนวคิด การวจิ ัยคร้งั น้ี เปนการวจิ ัยเชิงนโยบายแบบมสี ว นรว ม (Participatory Policy Research) (วิโรจน สารรัตนะ, 2556 : 12) โดยใชส ารสนเทศเชงิ ประจักษจากบรบิ ทหรอื ขอเท็จจริง มาวิเคราะหและตรวจสอบกับกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี ท่ีผูวิจยั กาํ หนดขึ้น จากการศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี หรือการสัมภาษณเกี่ยวกับแนวคดิ การสรา งเครือขายความรวมมอื แนวคดิ เกี่ยวกับการพัฒนากลยุทธ และขอมูลเก่ียวกับบรบิ ทสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ดงั ภาพประกอบ 1 แนวคิดเกี่ยวกับกลยทุ ธการสรา งเครือขา ยความรว มมือเพ่ือพัฒนาโรงเรียน - แนวคิดเกีย่ วกบั สภาพและความตอ งการจําเปน เกี่ยว กบั การสรา ง ความคิดเห็น เครือขายความรวมมอื เครอื ขา ยความรวมมือ เพอ่ื พัฒนาโรงเรยี นใน และขอเสนอแนะ - รปู แบบเครือขายความรว มมอื สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ จากผทู รงคุณวฒุ ิ องคประกอบการสรา งเครือขายความรว มมือ การพฒั นากลยทุ ธ 1. ดา นการกาํ หนดสมาชิกเครอื ขาย 1. วเิ คราะหเ ชงิ กลยุทธ (SWOT) 2. การเลือกกลยุทธ 2. ดานการกําหนดวตั ถปุ ระสงค ตรวจสอบกลยุทธโดยใชว ธิ ีการประเมนิ ความเหมาะสม ความ 3. ดา นการมสี วนรว มในการปฏบิ ตั งิ าน เปนไปได ความถูกตอ งและการนําไปใชประโยชนข องกลยุทธ 4. ดา นการมีทักษะภาวะผูนาํ การสรางเครอื ขา ยความรว มมือเพ่ือพัฒนาโรงเรยี นใน 5. ดา นการประสานงานของเครือขาย สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 6. ดา นการติดตาม ประเมินผล กลยทุ ธการสรา งเครือขายความรว มมอื เพ่อื พฒั นาโรงเรียน 7. ดา นวัฒนธรรมองคกร ในสํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 8. ดา นทรพั ยากรทอ งถิ่น บงึ กาฬ ฉบบั สมบูรณ 9. ดานนโยบายทางการศึกษา 10. ดา นเทคโนโลยี ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคดิ ของการวิจัย

Journal of Roi Et Rajabhat University 75 Volume 14 No.3 September - December 2020 วิธดี าํ เนนิ การวิจัย การวิจัย ใชระเบียบวธิ ีวิจัยเชิงนโยบายแบบมสี วนรวม (Participatory Policy Research) ผวู ิจัยไดกําหนดวิธดี ําเนนิ การ วิจัยเปน 3 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 การสรา งและพฒั นาตัวบง ช้ีการสรา งเครอื ขายความรวมมือ โดยการศกึ ษาองคป ระกอบและตัวบงชี้ ขั้นท่ี 1 การวิเคราะหเอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วขอ ง ขนั้ ที่ 2 สมั ภาษณผ ูทรงคุณวฒุ ิ 11 คน และศึกษาเครือขา ยท่ปี ระสบความสาํ เรจ็ 2 เครือขา ย คือ แกงจันทรโมเดล และเสอเพลอโมเดล เพ่อื นาํ มาสงั เคราะหองคประกอบ ขน้ั ที่ 3 กําหนดและตรวจสอบองคประกอบการสรางเครอื ขา ยความรว มมอื โดยผูเชี่ยวชาญจาํ นวน 10 คน ขนั้ ท่ี 4 วิเคราะหสภาพปจจุบัน สภาพทพ่ี ึงประสงค และความตอ งการจําเปน ขนั้ ท่ี 5 วเิ คราะหจุดแขง็ จุดออ นของการสรา งเครือขา ยความรว มมอื ขัน้ ที่ 6 วเิ คราะหโอกาสและอุปสรรคของการสรางเครอื ขายความรวมมือ ระยะที่ 2 ยกรางกลยุทธการสรา งเครอื ขา ยความรว มมือ เพอื่ พฒั นาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาบงึ กาฬ ขนั้ ที่ 7 รางกลยุทธการสรา งเครอื ขา ยความรวมมือ ฉบบั ที่ 1 โดยวิเคราะห SWOT Matrix เพือ่ กําหนดกลยทุ ธ การสรางเครือขายความรว มมอื ตามข้ันตอนของ พฤทธ์ิ ศริ บิ รรณพทิ ักษ (2552 : 27) ข้ันท่ี 8 ประเมินความเหมาะสมและความเปนไปได ความถูกตอ งการนําไปใชประโยชนข องรางกลยทุ ธ ฉบบั ท่ี 1 จากผูท รงคณุ วฒุ ิ ขน้ั ที่ 9 ปรับปรงุ รางกลยุทธการสรา งเครอื ขา ยความรวมมือ ระยะที่ 3 ประเมินกลยทุ ธการสรา งเครือขา ยความรวมมือ เพ่ือพฒั นาโรงเรยี นในสาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ประถมศกึ ษาบงึ กาฬ ขน้ั ท่ี 10 ประเมินความเหมาะสม และความถูกตอง ของรางกลยุทธการสรางเครือขายความรว มมอื ฉบบั ท่ี 2 โดยผูทรงคุณวุฒิ ขั้นท่ี 11 ประเมินความเปนไปได และการใชป ระโยชน ของรางกลยุทธการสรางเครอื ขายความรว มมือ ฉบับที่ 2 โดยผูบริหารสถานศกึ ษา ดวยวธิ ีการประชาพิจารณ (Public hearing) ขนั้ ท่ี 12 ปรบั ปรงุ และนําเสนอกลยุทธการสรา งเครอื ขา ยความรว มมือ เพ่ือพัฒนาโรงเรยี นในสาํ นักงาน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ ฉบับสมบรู ณ 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 1.1 ประชากร ประชากร ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาในสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ ปการศึกษา 2560 จาํ นวน 214 คน 1.2 กลมุ ตัวอยา ง ผบู รหิ ารสถานศึกษาในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ จาํ นวน 140 คน กําหนดขนาด ของกลุมตัวอยางโดยใชตารางของ Krejcie and Morgan (1970 : 607-610) จากนั้นทําการสุมตัวอยา งแบบแบง ชั้น โดยแบง ตามสดั สว นขนาดของโรงเรยี น ประกอบดว ย โรงเรียนขนาดเลก็ จาํ นวน 53 โรงเรยี น ขนาดกลาง จาํ นวน 81 โรงเรยี น ขนาดใหญ จาํ นวน 6 โรงเรียน 2. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ นการวิจัย การวจิ ัยในครัง้ น้ีผวู จิ ัยสรา งเครือ่ งมอื จํานวน 4 ชดุ ดังน้ี 2.1 แบบสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview) รา งแบบสัมภาษณท ี่มคี ําถามปลายเปดครอบคลุมองคป ระกอบ ของการสรา งเครือขายความรว มมือเพือ่ พฒั นาโรงเรียน ตามกรอบแนวคิดของการวจิ ัย ตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชงิ เนือ้ หา (Content Validity) และความเหมาะสมดา นการใชภาษาของเคร่อื งมือ โดยนําแบบสมั ภาษณฉบบั รางเสนอใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน พิจารณาตรวจสอบ และใหข อเสนอแนะ ปรบั ปรุงแบบสัมภาษณต ามคาํ แนะนาํ ของผเู ชีย่ วชาญและจดั พิมพ เพอื่ ใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมูลจริง

76 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 2.2 แบบสอบถามสภาพปจจุบัน สภาพทีพ่ งึ ประสงคการสรา งเครือขายความรวมมือ รา งแบบสอบถามมีลกั ษณะ เปนแบบสอบถามแบบมาตราสว นประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมดานการใชภ าษาของเครื่องมือ เสนอคณะกรรมการวทิ ยานิพนธต รวจสอบเบือ้ งตน นาํ มาปรบั ปรงุ จากน้ัน ใหผเู ชยี่ วชาญ จาํ นวน 5 ทาน พิจารณาตรวจสอบ และใหข อ เสนอแนะ วิเคราะหหาคา ดชั นีความสอดคลอง (Index of Item- Objective Congruence : IOC) ของแบบสอบถามความคิดเห็นเปนรายขอ แลว พิจารณาเลอื กขอคาํ ถามทมี่ ีคา IOC ต้งั แต 0.60-1.00 ทดลองไปใช (try out) โดยทดลองกบั ผูบ ริหารสถานศกึ ษาในสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 จํานวน 30 คน ซง่ึ ไมใ ชกลมุ ตวั อยา ง เพื่อหาคาความเช่อื ม่ัน (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยการหาคา สมั ประสทิ ธิ์ แอลฟาของครอนบาค (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543 : 137) ไดคา ความเช่อื ม่ันทงั้ ฉบบั มีคาเทากับ 0.98 2.4 แบบประเมินความเหมาะสมและความถูกตองรางกลยุทธ มีลักษณะเปนมาตราสว นประมาณคา (Rating scale) 5 ระดบั ตามหัวขอประเมินท่ีผวู ิจัยกําหนด นาํ แบบประเมินใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบความเหมาะสม จํานวน 5 คน ปรบั ปรงุ ตามขอเสนอแนะ เพื่อใชกับผทู รงคุณวุฒิ 2.5 แบบประเมินความเปน ไปไดและการใชประโยชนของรางกลยุทธ มีลกั ษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ตามหัวขอประเมินท่ีผวู ิจัยกําหนด นําแบบประเมนิ ใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม จํานวน 5 คน ปรบั ปรงุ ตามขอ เสนอแนะ เพอ่ื ใชกบั ผบู ริหารสถานศึกษาในสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 3. การเกบ็ รวบรวมขอมลู การสัมภาษณ ทาํ หนังสอื ขอสัมภาษณจากบัณฑติ วิทยาลัย และประสานกบั ผูท รงคณุ วุฒิ กาํ หนด วัน เวลาในการ สัมภาษณ ทาํ การสมั ภาษณดวยตนเอง และลงพ้ืนที่แกงจันทรโมเดล และเสอเพลอโมเดล แบบสอบถามสภาพปจ จบุ ันและสภาพทพ่ี ึงประสงค สงหนังสือขออนุญาตเก็บขอ มูลถึงผอู ํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 เพือ่ ทดลองใชเ ครื่องมอื นําแบบสอบถามฉบับสมบรู ณ ใชเก็บขอมูลกลมุ ตวั อยาง ผูบริหารสถานศึกษา ในสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ จาํ นวน 140 คน การสัมมนาประชาพิจารณ และการประเมินกลยุทธผบู ริหารสถานศึกษาในสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาบึงกาฬ ในวันท่ี 30 สงิ หาคม 2562 ณ โรงแรมนภาลัย จังหวัดอุดรธานี 4. การวิเคราะหขอมลู ระยะที่ 1 ใชว ธิ ีการวิเคราะหเน้อื หา (Content analysis) การสรา งขอ สรปุ แบบอุปนัย (analytic induction) การสัมภาษณแบบมโี ครงสรา ง (Structured Interview) การวิเคราะหความตองการจาํ เปน หาคาดัชนีความสําคญั ของความตองการจาํ เปนดวยวิธี Priority Need Index (PNI modified) แบบปรับปรงุ (สวุ ิมล วองวานิช, 2552 : 275-276) ระยะท่ี 2 นาํ ขอ มูลที่ไดจ ากการวเิ คราะหสภาพปจจบุ ัน และการวิเคราะหสภาพทีพ่ งึ ประสงคข องการสราง เครือขายความรว มมือ มาจัดทํา SWOT Matrix เพ่ือกําหนดกลยุทธการสรา งเครอื ขายความรวมมอื ตามข้ันตอนของ พฤทธ์ิ ศริ ิบรรณพทิ ักษ (2552 : 27) ระยะท่ี 3 วิเคราะหขอมูลจากแบบประเมินกลยุทธการสรา งเครอื ขายความรวมมอื เพื่อพฒั นาโรงเรยี น ในสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยการหาคา เฉล่ีย (Mean) สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และแปลความหมายของคาเฉล่ีย (บุญชม ศรีสะอาด, 2554 : 121) สรุปผล 1. ผลการศึกษาองคป ระกอบการสรา งเครือขายความรวมมือเพ่อื พัฒนาโรงเรียน ประกอบดวย 1) ดา นการกําหนด สมาชิกเครือขา ย 2) ดานการกาํ หนดวัตถุประสงค 3) ดานการมีสว นรวมในการปฏิบตั งิ าน 4) ดา นการมที ักษะภาวะผูนาํ 5) ดานการประสานงานของเครอื ขา ย 6) ดานการติดตาม ประเมินผล 7) ดา นวัฒนธรรมองคกร 8) ดานทรัพยากรทองถิ่น 9) ดา นนโยบายทางการศึกษา 10) ดา นเทคโนโลยี 2. กลยุทธการสรา งเครอื ขา ยความรว มมอื เพื่อพัฒนาโรงเรยี นในสาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2.1 กลยทุ ธเชิงรุก (SO) ประกอบดวย 17 วิธีการพฒั นา และ 33 ตัวชว้ี ดั ความสําเร็จ 2.2 กลยุทธสรางภูมคิ มุ กัน (ST) ประกอบดวย 7 วธิ ีการพฒั นา และ 14 ตวั ชวี้ ัดความสาํ เร็จ 2.3 กลยุทธเรงพฒั นา (WO) ประกอบดว ย 12 วธิ ีการพัฒนา และ 20 ตวั ชีว้ ดั ความสาํ เร็จ

Journal of Roi Et Rajabhat University 77 Volume 14 No.3 September - December 2020 3. การประเมินความเหมาะสม ความถูกตอง จากผทู รงคณุ วุฒิ และประเมนิ ความเปนไปได การนาํ ไปใชประโยชน และการประชาพิจารณ (Public hearing) โดยผบู ริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยใู นระดบั มาก อภิปรายผล 1. องคประกอบการสรางเครอื ขายความรวมมอื เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา บึงกาฬ มอี งคประกอบดังนี้ 1) ดา นการกาํ หนดสมาชิกเครือขาย 2) ดานการกําหนดวัตถปุ ระสงค 3) ดานการมีสวนรวม ในการปฏิบตั งิ าน 4) ดา นการมีทักษะภาวะผูนาํ 5) ดา นการประสานงานของเครือขา ย 6) ดานการติดตาม ประเมินผล 7) ดา นวัฒนธรรมองคกร 8) ดา นทรพั ยากรทองถิ่น 9) ดานนโยบายทางการศึกษา 10) ดานเทคโนโลยี ท้ัง 10 องคป ระกอบ ลวนมีความจําเปนและสาํ คัญตอการสรา งเครือขา ยความรว มมือ เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาบงึ กาฬ สอดคลอ งกับ Starkey (1997 : 44) ซึ่งไดเสนอแนวทางในการพัฒนาการดาํ เนินงานเครือขายไววา 1) ควรมีการเชิญองคกรและผูมีสวนไดเสียมารวมประชุม โดยจัดใหมีหัวขอ การประชุมที่นา สนใจเก่ียวกับผลประโยชนรว ม หรือเปาประสงคท ่ีเกีย่ วขอ งกัน 2) รวมกําหนดวัตถปุ ระสงคของการจัดตัง้ เครือขาย ทิศทางกิจกรรมหลักและคุณสมบัติ ของสมาชิกใหช ัดเจน โดยใหส มาชิกสวนใหญมสี วนรว มในกระบวนการกาํ หนดดว ย 3) จดั ต้งั กลุมแกนของเครอื ขายทป่ี วารณา ตวั เขา มาทําหนา ท่ี ประสานงานจดั การและสงกาํ ลังบํารุงใหกบั สมาชกิ 4) สรางความรูสึกมสี ว นเปนเจาของและความผูกพัน ท่เี หนยี วแนน 5) เครือขายตองมีวิธีการจัดหาและจัดการทรพั ยากร เพ่ือความมีประสทิ ธภิ าพในการขับเคลื่อนกิจการของเครือขา ย และความสามารถในการพึ่งตนเอง 6) ทาํ ใหเครือขายนั้นไดมสี ถานภาพถูกตองตามกฎหมาย 7) ควรสนบั สนุนใหมีการเช่อื มโยง ระหวา งเครือขา ยกบั เครือขา ย เพ่ือเสริมใหเ ครือขา ยมีความเขมแข็งมากขึ้น 8) ควรมกี ารติดตามผลและประเมินผลเปนประจํา สมํา่ เสมอและถถี่ วน ท้งั น้ีควรใหสมาชิกเขา มามีสวนรวมในกระบวนการกําหนดวิธี และเคร่ืองช้ีวัดประสทิ ธิภาพของกิจกรรมเครือขาย และรวมเรยี นรูตลอดกระบวนการติดตามและประเมินผล สอดคลองกับ ศิริพร ตันติยมาศ (2550 : 218) การบริหารเครือขา ย โรงเรยี นแบบมีสวนรว ม องคประกอบทเี่ หมือนกัน คอื 1) การใชเทคโนโลยี 2) ทักษะดา นภาวะผูนาํ 3) การมีสว นรว มของสมาชิก พบวา การทํางานเกี่ยวกบั เครือขาย เทคโนโลยี ภาวะผนู าํ การมีสว นรว มของสมาชิก เปนองคป ระกอบสําคัญของเครอื ขาย สวนดานการกาํ หนดวัตถุประสงค สอดคลอ งกับ Burke (1999 : 214) เสนอแนวทางการสรา งและพฒั นาเครอื ขาย ตอ งนิยาม กาํ หนดวัตถุประสงคและขอบเขตประเด็น หรือขอบเขตพ้ืนทีข่ องตัวเอง และตอ งมีผูนาํ กลุมแกนของเครือขายท่ีคอยผลักดัน กระตุนใหความสัมพันธภ ายในเครือขายมีอยูอยา งตอ เนื่อง ซ่ึงสอดคลอ งกบั งานวิจัยของปทมา จันทพันธ (2560 : 139) พบวา กลยทุ ธการพัฒนาภาวะผูนําผูบรหิ ารองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร องคประกอบที่เหมือนกัน คอื 1) ดานนโยบายการศกึ ษา 2) ดา นวัฒนธรรมองคกร 3) ดา นทรัพยากรทองถ่ิน และ 4) ดานเทคโนโลยี และสอดคลองกับ งานวิจัยของเกสรี ลดั เลีย (2557 : 346) พบวา กลยทุ ธการสรางเครอื ขายความรว มมือประกอบดวย 1) การกาํ หนดสมาชิกเครือขา ย 2) การกําหนดวัตถปุ ระสงค 3) การมีสว นรวมในการปฏิบัตงิ าน 4) การติดตาม การประเมินผล 5) ภาวะผนู าํ องคป ระกอบ ของเครือขา ยท่ีไดมา มีท้ังความเหมอื นและความแตกตา ง ท้งั น้ีอาจเกิดจากขอมูลเชิงพื้นที่ ประชากร และกลุมตวั อยาง บริบททที่ าํ การศกึ ษาในขณะนั้น 2. กลยุทธการสรา งเครือขายความรวมมอื เพ่อื พฒั นาโรงเรียนในสังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา บึงกาฬ 2.1 กลยทุ ธก ารสรา งเครอื ขายความรวมมอื เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา บงึ กาฬ กลยุทธเ ชิงรุก (SO) มีจุดแข็ง 3 ดาน คือ 1) ดานการติดตาม ประเมินผล 2) ดา นการกาํ หนดสมาชิกเครอื ขาย 3) ดา นการประสานงานของเครอื ขาย และมโี อกาส 2 ดาน คือ 1) ดานนโยบายทางการศึกษา 2) ดา นเทคโนโลยี จึงไดก าํ หนด เปนกลยทุ ธเชิงรุก (SO) โดยมวี ธิ ีการพฒั นากลยุทธ 17 วธิ ีการ ดังนี้ 1) พฒั นาความรดู านการตดิ ตามและประเมินผล กาํ หนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน 2) ออกคําสง่ั การปฏิบตั งิ าน การติดตามและประเมินผลที่ชัดเจน 3) จัดใหม ีการรายงาน ผลการปฏิบตั งิ านประจาํ ป 4) จัดอบรมใหความรู การสรา งเครือขายความรว มมือของโรงเรยี น 5) จัดประชุมเครือขาย ความรว มมือของโรงเรยี น 6) จัดตั้งสมาคมเครอื ขายความรว มมือของโรงเรยี น 7) สง เสริมการสรา งเครือขา ยความรวมมือ ของโรงเรียน 8) ศึกษาดูงานองคกรที่มีผลการปฏิบัติงานในการสรา งเครือขายความรว มมือทเ่ี ปนเลิศ 9) จัดหาเทคโนโลยี เพือ่ การติดตอ ส่ือสารของเครือขาย 10) วเิ คราะหนโยบายของหนว ยงานตนสงั กัด เพ่อื นําสูการปฏิบตั ิในโรงเรียน 11) จัดการ ประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามแผนกลยุทธของโรงเรียน 12) ศกึ ษาดงู านโรงเรียนที่ดาํ เนนิ การเก่ียวกับนโยบายทางการศึกษา ไดประสบผลสาํ เร็จ 13) จัดกิจกรรมเรียนรเู กี่ยวกับนโยบายทางการศึกษา 14) จัดหาเทคโนโลยีเพื่อใชในการบริหารงาน

78 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ ยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 ในโรงเรยี น 15) จดั ต้ังศนู ยเ ทคโนโลยีภายในโรงเรียนเพอ่ื บริการประชาชน 16) จัดทําเว็บไซตของโรงเรียนเพอื่ ใชและพัฒนา โรงเรียน 17) อบรมใหความรูเก่ยี วกบั การใชเทคโนโลยี เปนกลยุทธทม่ี ีจดุ เดน ทั้งนี้อาจสบื เน่ืองมาจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ เปนจังหวัดขนาดเล็กทาํ ใหก ารติดตอ ประสานงานเกี่ยวกับการบรหิ ารงาน และการสรางเครือขา ย ความรวมมือ เพ่ือพัฒนาโรงเรียนไดง า ย ทวั่ ถึงทุกพื้นที่ และดานนโยบายทางการศึกษา เกิดจากวสิ ัยทัศนและมุมมองตอการพัฒนา ดานการศึกษาในทองถ่ินเปนสาํ คัญของผูนําท้งั ในระดับจังหวัด และระดบั ตาํ บล การสง เสรมิ ทักษะอาชพี ทักษะชวี ิต และการยกระดับผลสัมฤทธ์ขิ องผเู รยี น สนับสนุนงบประมาณโครงการดานการศกึ ษาซ่งึ มีการบรรจุลงในแผนการใชจา ย งบประมาณขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่นในทุกระดบั ซ่งึ สอดคลองกบั งานวิจัยของศิรพิ ร ตันติยมาศ (2550 : 190-194 ) ศึกษารปู แบบการบริหารเครอื ขา ยโรงเรยี นแบบมีสวนรว มที่มปี ระสทิ ธิผล สงั กัดกรุงเทพมหานคร พบวาผูนาํ เปดโอกาสใหสมาชิก มสี ว นรวม โดยผูประสานงานเครอื ขายเปดโอกาสใหสมาชิกเขา รว มในกระบวนการในการตัดสินใจที่สําคญั ในเรอ่ื งการพัฒนา การแกป ญหา การเปล่ียนแปลงในองคกร และการติดตอ สอื่ สารกับคนอื่น นอกจากนี้แลวยังมีกลยทุ ธดานการพัฒนาเครือขาย ของโรงเรียน ดงั น้ี 1) จัดทําแผนพัฒนาเครอื ขายโรงเรียน ไดใชข อมูลสารสนเทศจากโรงเรียนทุกโรงเรียน ในเครอื ขา ยมาประกอบ การทาํ SWOT 2) มีการจัดทาํ SWOT แบบมีสว นรว ม 3) จัดทาํ ในรปู ของคณะกรรมการ นาํ ผลการปรับปรุงงานในปท ่ผี า นมา ประกอบในการจดั ทาํ ดว ย 4) มีการกาํ หนดสมาชิก กาํ หนดบทบาท หนา ท่ีความรบั ผิดชอบของสมาชิก 5) มีการจัดทาํ แผน เพอ่ื พัฒนาเครอื ขาย 2.2 กลยุทธการสรา งเครือขา ยความรว มมือเพ่อื พฒั นาโรงเรยี น ในสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา บงึ กาฬ สรา งภูมิคมุ กัน (ST) มีจุดแข็ง 3 ดาน คือ 1) ดานการตดิ ตามประเมินผล 2) ดา นการกาํ หนดสมาชิกเครอื ขาย 3) ดา นการประสานงานของเครอื ขา ย มอี ุปสรรค 2 ดาน คอื 1) ดา นทรพั ยากรทอ งถิ่น และ 2) ดานวัฒนธรรมองคก ร จงึ ไดกาํ หนดเปนกลยุทธ สรา งภมู ิคุมกัน (ST) โดยมีวิธีการพัฒนากลยทุ ธ 7 วิธีการ ดังนี้ คอื 1) อบรมใหความรูเกี่ยวกบั อาชีพ และการคา ขาย 2) จดั ตงั้ สหกรณสนิ คา ชมุ ชน 3) ศึกษาดูงานสหกรณช ุมชนท่ผี ลิตสินคาไดด ี 4) จัดใหมีการประกวดสินคาชมุ ชน 5) จัดใหมีการสง เสรมิ วัฒนธรรมองคกรท่ีดงี ามของหนวยงานตาง ๆ ในชมุ ชนใหย ั่งยืนตลอดไป 6) จัดงานยกยองหนวยงาน ทมี่ วี ฒั นธรรมองคก รท่ดี ี 7) ศึกษาดงู านหนวยงานของชมุ ชนอ่ืน ท่ีมีวัฒนธรรมองคกรท่ีดงี าม ท้งั น้อี าจเปนเพราะโรงเรียน ในสังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ เปนโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กมากกวาขนาดกลาง และขนาดใหญ ทาํ ใหการติดตามประเมินผล และการประสานงาน เปนไปอยา งรวดเร็ว แตจะมีอปุ สรรคดานทรพั ยากรทองถิ่น สวนมากแลว ชุมชนประกอบอาชพี เกษตรกรรมและเปนจังหวัดชายขอบ สงั คมและวฒั นธรรมสว นมากเปน แบบดั้งเดมิ สอดคลอ งกับงานวิจยั ของสมใจ คันทะเสน (2559 : 334-335) ศึกษากลยุทธการบริหารจัดการเพ่อื ความมปี ระสทิ ธิผลของแผนกโยธาธิการ และขนสง แขวงคาํ มวน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว พบวา กลยุทธการพัฒนาบุคลากรดา นการวัดและประเมินผล โดยการพัฒนา บุคลากรใหม ศี ักยภาพ มีความรใู นงานท่ีตนเองรบั ผิดชอบ สงเสรมิ การปฏิบัตงิ านที่โปรง ใส ติดตาม ตรวจสอบ การทาํ งานตลอดเวลา สง เสริมการศึกษาดงู านทัศนศึกษาทง้ั ในและนอกประเทศ และสอดคลอ งกบั งานวิจัยของ วีระวัฒน พฒั นกุลชัย (2554 : ก) ไดศกึ ษาการพฒั นากลยทุ ธการบริหารความขัดแยง ในนโยบายกระจายอาํ นาจ การจัดการศึกษาใหแกอ งคกรปกครองสว นทองถิ่น พบวากลยุทธการบรหิ ารความขัดแยง ในนโยบายกระจายอํานาจการจัดการศึกษาใหแกองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน ไดแก 1) กลยทุ ธสรางความเขา ใจระหวางอาํ นาจทางประชาธิปไตยและอาํ นาจทางวชิ าชพี 2) กลยุทธเสริมสรา งขีดความสามารถ 3) กลยทุ ธคงและเพ่ิมสทิ ธิประโยชน และ 4) กลยุทธแกไขกฎหมาย 2.3 กลยทุ ธก ารสรางเครอื ขา ยความรว มมอื เพื่อพัฒนาโรงเรียนในสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา บงึ กาฬ กลยทุ ธเ รงพัฒนา (WO) มจี ุดออ น 3 ดาน คอื 1) ดานการกาํ หนดวัตถปุ ระสงค 2) ดานการมสี ว นรว มในการปฏิบตั ิงาน 3) ดา นการมที กั ษะภาวะผูนํา มีโอกาส 2 ดาน คือ 1) ดา นนโยบายทางการศึกษา 2) ดา นเทคโนโลยี และมีวิธกี ารพัฒนากลยุทธ 12 วิธีการ ดังนี้ 1) จัดทําแนวปฏิบัตใิ นการทาํ แผนปฏบิ ัติการ 2) ระดมความคิดเห็นเพ่ือกําหนดวัตถุประสงครว มกัน 3) รายงาน วัตถุประสงคในการดําเนินงานใหท ุกคนทราบ 4) จัดทาํ ตวั ชว้ี ัดในการปฏบิ ตั งิ านรว มกันกับทุกหนวยงาน 5) จัดใหมีการระดม ความคดิ เห็นในการปฏิบัติงานรวมกนั 6) จัดกิจกรรมรวมกันกบั เครือขาย 7) ทัศนศึกษานอกสถานที่ของเครือขา ย 8) จัดใหมี การใชบ ุคลากรรว มกันของเครอื ขาย 9) จัดทาํ โครงสรางการบริหารงานที่ชดั เจน 10) กาํ หนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน 11) จัดบุคลากรใหเหมาะสมกับงาน 12) จัดกิจกรรมเพอื่ สรางความสมั พันธ ท้ังนี้อาจสืบเน่อื งมาจากสํานักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ แยกมาจากสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองคาย ทําใหก ารทํางาน ขาดความตอ เน่ือง และภาวะผูนาํ ของผูบริหารสถานศึกษา ยงั ขาดเอกภาพในการบริหารงาน ขาดผูนาํ ที่มีคุณภาพ เพือ่ ท่จี ะรวบรวม บคุ ลากร เพ่ือมาทาํ งานในเครือขา ยใหเ ปน อันหนึ่งอันเดียวกันและมีคณุ ภาพ ซงึ่ โรงเรียนในสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

Journal of Roi Et Rajabhat University 79 Volume 14 No.3 September - December 2020 ประถมศึกษาบงึ กาฬ จําเปนตอ งพัฒนาปรับปรงุ ในสวนน้ใี หมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน ซ่ึงสอดคลอ งกบั งานวิจัยของศิรพิ ร ตันติยมาศ (2550 : 189-194) ศึกษารูปแบบการบริหารเครอื ขา ยโรงเรียนแบบมีสว นรว มท่ีมปี ระสิทธิผล สังกัดกรงุ เทพมหานคร พบวาดานทักษะภาวะผูนํา ผปู ระสานงานเครือขายมีมนุษยสัมพันธท ี่ดี มีทักษะการสื่อสารที่ดี มีความรับผิดชอบ ตองเปนแบบอยาง ทีด่ ี มวี สิ ัยทัศนท ่ีกวา งไกล มีการบรหิ ารงานที่เปนระบบ ใชร ะบบธรรมมาภิบาล และเปนผูนาํ การเปลี่ยนแปลง เปนผูนาํ ทุกดาน โดยเฉพาะดา นวิชาการ สวนดา นเทคโนโลยีตองมีการนาํ เทคโนโลยีมาใชในการบริหาร งานในโรงเรียนใหเพียงพอ และสอดคลองกับ งานวิจัยของ ปท มา จันทพันธ (2560 : 306) กลยทุ ธก ารพัฒนาภาวะผูนาํ ผูบริหารองคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษมุกดาหาร พบวาวิธีการพัฒนาภาวะผูนาํ โดยการจัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จัดอบรมปฏบิ ัติการ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สมยั ใหมเพือ่ การส่ือสาร จดั ระบบการปฏิบตั ิงานแบบ One Stop Service และการจดั ระบบ การปฏบิ ตั ิงานในองคกรใหเปนองคกรแหงการเรียนรู 3. การประเมินกลยทุ ธ ดา นความเหมาะสม ความถูกตอ ง ความเปนไปได และการนําไปใชประโยชน ภาพรวมอยูใน ระดับมาก ทัง้ นี้อาจเกดิ จากสภาพปจจุบันและสภาพทพี่ ึงประสงค ตอบริบทการสรางเครือขายความรวมมือท่เี กดิ ข้ึนจรงิ ของสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ ท่ีมที ัง้ จุดเดนและจุดดอย อยางไรก็ตามภาพรวมผลการประเมินกลยุทธ อยูในระดับมาก เปน ขอคิดเห็นจากผูบริหารสถานศึกษาที่จะนาํ ไปปฏบิ ัติไดจริง โดยเห็นวา ภาพรวมกลยทุ ธการสรา งเครอื ขา ย ความรว มมือ เพ่อื พฒั นาโรงเรยี นในสาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ สามารถพัฒนาใหเกิดขึ้นตรงตาม ความตอ งการในเชิงพ้ืนท่ี ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 การสรา งเครอื ขา ยความรว มมือเพ่อื พัฒนาโรงเรียนในสํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาบงึ กาฬ มีจุดแข็ง 3 ดา น คอื 1) ดา นการติดตาม ประเมินผล 2) ดา นการกําหนดสมาชิกเครอื ขา ย และ 3) ดา นการประสานงาน ของเครอื ขาย สาํ นักงานเขตพื้นท่ีควรนําไปเปนขอมูลพ้ืนฐานในการกําหนดกลยทุ ธในแผนพัฒนาการศึกษาระยะกลาง เพ่ือใหโรงเรียนในเครือขายไดนําไปปรับใช สรา งความรวมมือใหเกดิ ความย่ังยืนระหวางโรงเรียนในกลุมเครือขาย และโรงเรยี น กับสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตอไป 1.2 การสรางเครอื ขายความรว มมือ เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ ซึ่งมีสภาพแวดลอ มภายนอกท่ีเปนโอกาส 2 ดา น คือ 1) ดา นนโยบายทางการศึกษา 2) ดา นเทคโนโลยี โรงเรียนควรนําโอกาส ไปใชใ นการวางแผนบริหารงานหลักในโรงเรียน และสาํ นักงานเขตพื้นที่ควรสงเสริมโอกาสทั้ง 2 ดา น ใหม ีความเดนชดั และตอ เนื่องในการเพ่ิมศักยภาพโรงเรียนใหไ ดมาตรฐานเดียวกัน 1.3 การสรางเครือขายความรว มมือ เพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ มจี ุดออ น 3 ดาน คอื 1) ดา นการกําหนดวัตถุประสงค 2) ดานการมสี วนรว มในการปฏิบตั ิงาน และ 3) ดา นการมีทักษะ ภาวะผูนํา ควรจัดทําโปรแกรมพฒั นาภาวะผูนาํ ใหกับผูบ ริหารสถานศึกษาตอไป 1.4 กลยทุ ธการสรางเครือขา ยความรว มมอื เพอ่ื พฒั นาโรงเรยี นในสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา บงึ กาฬ ประกอบดวย 36 วธิ ีการพัฒนา 67 ตวั ช้วี ัดผบู ริหารสถานศึกษาควรนําไปใชในการบริหารเครอื ขาย และพฒั นาโรงเรียน ตามบริบทในดา นขนาดของโรงเรียน ชุมชน วัฒนธรรมองคกรและสภาพแวดลอมของแตล ะกลุมเครือขายโรงเรียน 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจยั ครั้งตอไป 2.1 กลยุทธการสรา งเครอื ขายความรว มมือเพื่อพัฒนาโรงเรียน ควรศกึ ษาวจิ ัยกบั สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา ดว ยระเบียบวธิ ีวิจัยเชงิ นโยบายแบบมีสว นรวม 2.2 กลยทุ ธการสรา งเครอื ขายความรว มมอื เพอ่ื พฒั นาโรงเรียนในสํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา บึงกาฬ ประกอบดวย 36 วิธีการพฒั นา 67 ตวั ชว้ี ัด ควรศึกษาวิจัยตามระเบียบวิธวี ิจัยและพัฒนา 2.3 กลยทุ ธการสรา งเครือขายความรว มมือเพ่ือพัฒนาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา บงึ กาฬ ควรศึกษาวิจยั และเกบ็ ขอ มูลจากครูและบุคลากรทางการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา และเครือขายทม่ี ีสว นรวม ในทองถิ่น

80 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 เอกสารอางองิ เกสรี ลัดเลีย. (2557). การพฒั นาเครือขา ยการจัดการศกึ ษาท่สี ง เสริมคณุ ภาพศูนยพ ฒั นาเด็กเล็กสังกัดองคกรปกครอง สว นทองถิ่นสามจงั หวัดชายแดนภาคใต. ดุษฎีนพิ นธ ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การการศึกษา. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. จิรประภา อคั รบวร และประยูร อัครบวร. (2552). การบรหิ ารงานภาครฐั ในรูปแบบเครือขา ย. กรุงเทพฯ: กลมุ พัฒนาระบบ บรหิ ารสาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ตะวัน เทวอักษร. (2556). สรา ง “ทักษะ” ใหผ ูเรียนพรอ มสูศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท อักษรเจริญทัศน อจท. จาํ กัด. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยสาํ หรับครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสุวีริยาสาสน. ประยูร อัครบวร และคณะ. (2553). การสรางเครือขายและการมสี วนรว ม (Network Building and Participatory). กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย. ปทมา จันทพันธ. (2560). กลยทุ ธการพัฒนาภาวะผูนําผูบรหิ ารองคกรปกครองสวนทอ งถิ่นในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร. ดษุ ฎนี ิพนธ ครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษาและภาวะผูนํา. สกลนคร: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร. พฤทธิ์ ศริ บิ รรณพิทักษ. (2552). แนวคิดและหลักการจัดทาํ แผนกลยุทธ (Strategie planning) การบรหิ ารและการจัด การศึกษาเพื่อโลกใบเลก็ . กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟค. ยทุ ธพงษ กัยวรรณ. (2543). พ้ืนฐานการวิจัย. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพสุวรี ยิ าสาสน. วิโรจน สารรตั นะ. (2556). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา แนวคิดและกรณศี ึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธ.์ิ วรี ะวัฒน พฒั นกุลชัย. (2554). การพฒั นากลยทุ ธการบรหิ ารความขัดแยงในนโยบายกระจายอาํ นาจการจัดการศึกษา ใหแ กองคกรปกครองสว นทอ งถิ่น. ดุษฎีนิพนธ ครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศิริพร ตันตยิ มาศ. (2550). รูปแบบการบริหารเครือขายโรงเรียนแบบมสี ว นรว มท่ีมีประสิทธิผล สังกัดกรุงเทพมหานคร. ดษุ ฎีนิพนธ ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา. นครปฐม: มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. สมใจ คันทะเสน. (2559). กลยุทธการบริหารจัดการเพื่อความมีประสิทธิผลของแผนกโยธาธิการ และขนสงแขวงคํามวน. ดษุ ฎนี ิพนธ ครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผูนาํ . สกลนคร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏ สกลนคร. สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. (2558). แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา. บงึ กาฬ: สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ. สุวิมล วอ งวาณิช. (2552). การวิจัยปฏบิ ตั ิการในช้ันเรียน. กรงุ เทพฯ: ดา นสุทธาการพมิ พ. เสรี พงศพ ิศ. (2548). เครอื ขาย: ยุทธวิธีเพอื่ ประชาชนเขมขน ชุมชนเขม แขง็ . กรงุ เทพฯ: เจริญวิทยการพมิ พ. Agranoff, R. & McGuire, M. (2001). Big Questions in Public Network Management Research. Journal of Public Administration Research and Theory, 11(3), 296. Burke, A. (1999). Social Development Division Department for International Development. Communications & Development : a practical guide. Retrieved August 14, 2008, from http://www.dfid.gov.uk Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610. Starkey, P. (1997). Networking for Development. London: Routledge.

Journal of Roi Et Rajabhat University 81 Volume 14 No.3 September - December 2020 ขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวดั นครพนม The Proposed Policy For Developing Education Management In Nakhon Phanom Province Based On the 20 Year National Education Plan วชริ ะ พลพิทักษ1, ธวชั ชยั ไพใหล2 และ เพลินพิศ ธรรมรัตน3 Received : 29 ม.ค. 2563 Vachira Pholphithuk1, Tawatchai Pailai2 and Ploenpit Thummarat3 Revised : 28 มี.ค. 2563 Accepted : 29 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การวจิ ัยครง้ั น้ีมีวตั ถุประสงคเพอ่ื 1) ศกึ ษาสภาพ และแนวทางการพฒั นา 2) จดั ทําขอเสนอเชิงนโยบาย และ 3) ตรวจสอบและประเมินขอ เสนอเชิงนโยบาย การดาํ เนินการวิจยั แบง เปน 3 ระยะ กลมุ ตวั อยางที่ใชในการวิจัยในระยะที่ 1 จาํ นวน 316 คน ระยะที่ 2 จํานวน 25 คน ระยะท่ี 3 จํานวน 100 คน รวมท้ังสนิ้ 441 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ นการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ สถติ ิที่ใชใ นการวจิ ัย ไดแก คา รอยละ คา เฉล่ีย คา สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา 1. สภาพการจัดการศึกษา และแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560- 2579) ในจังหวัดนครพนม สภาพการจดั การศึกษาอยูใ นระดบั ปานกลาง และแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาอยูในระดับมาก 2. ขอเสนอเชิงนโยบาย มี 6 ดาน คือ 1) ดา นการจัดการศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มี 3 เปาหมาย 10 แนวทางการพฒั นา 2) ดา นการผลติ และพฒั นากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพอื่ สรา งขีดความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศ มี 3 เปา หมาย 11 แนวทางการพัฒนา 3) ดา นการพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชวงวัย และการสรา งสังคมแหง การเรียนรู มี 4 เปา หมาย 14 แนวทางการพัฒนา 4) ดา นการสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศกึ ษา มี 3 เปาหมาย 10 แนวทางการพัฒนา 5) ดา นการจัดการศึกษาเพ่อื สรา งเสริมคุณภาพชวี ิตท่เี ปนมิตรกับส่ิงแวดลอ ม มี 3 เปา หมาย 10 แนวทาง การพัฒนา 6) ดา นการพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา มี 4 เปา หมาย 8 แนวทางการพัฒนา 3. ผลการตรวจสอบ และประเมินขอ เสนอเชงิ นโยบาย ดา นความเหมาะสม ความเปนไปได ความสอดคลอ ง และความเปนประโยชน อยูในระดบั มากท่ีสดุ ทุกดาน คําสําคัญ : ขอ เสนอเชิงนโยบาย, การจัดการศกึ ษา, แผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป Abstract The purpose of this research is to 1) study the conditions and guidelines for the development province, 2) make policy proposals, and 3) examine and develop into a policy proposal. The research process is divided into 3 phases, the sample were for phase 1 were 316 people, Phase 2, Were 25 people Phase 3, were 100 people the total of samples were 441 people. Tools used to collect data Is questionnaire Interview Statistics used in the research Include Percentage Average Standard deviation. The result of the research shows that 1 นกั ศึกษาหลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร อีเมล: [email protected] 2 ผชู วยศาสตราจารย อาจารยประจําสาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร 3 ผชู ว ยศาสตราจารย อาจารยประจําสาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร 1 Doctoral Student Program in Educational Administration, Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Assistant professor, Lecturer of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University 3 Assistant professor, Lecturer of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University

82 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 1. Practice conditions and expectations of educational management according to the 20 years national education plan (2017-2036) in Nakhon Phanom province The operating conditions were at a medium level. And have high expectations 2. Policy proposals consist of 6 areas, namely 1) Educational Management for Social Security and the Nation with 3 goals 10 Development guidelines 2) Production and development of manpower, research and innovation to create the country's competitiveness have 3 goals, 11 development guidelines 3) Development of human potential at all ages And creating a learning society with 4 goals, 14 development guidelines, 4) creating opportunity, equality and educational equality, with 3 goals, 10 development approaches, 5) education management to enhance quality of life that is friendly to Environment has 3 goals, 10 development guidelines 6) In the development of the efficiency of the educational management system, there are 4 goals, 8 development guidelines 3. The result of the examination and development on a policy proposal suitability, feasibility, consistency, and usefulness are at the highest level all items Keywords : Policy Proposals, Educational Management, 20 Year National Education Plan บทนํา จากกรอบนโยบายในการจัดการศึกษาระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดกาํ หนดขึ้นมา เพอ่ื ใหการจัดการศึกษาของไทยมีการพฒั นาครอบคลุมทุกดาน ซึ่งมีท้งั หมด 6 ยทุ ธศาสตร ไดแก 1) การจัดการศกึ ษา เพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2) การผลติ และพัฒนากําลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสรา งขดี ความสามารถ ในการแขง ขันของประเทศ 3) การพฒั นาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรา งสงั คมแหง การเรียนรู 4) การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทยี มทางการศึกษา 5) การจัดการศกึ ษาเพอื่ สรางเสริมคุณภาพชีวิตทีเ่ ปนมติ รกับส่ิงแวดลอ ม 6) การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา ในแตละยุทธศาสตรไ ดกําหนดไวอ ยา งกวา งๆ ไมไดระบุใหช ัดเจน และสอดคลองกบั บรบิ ทของพื้นท่ีในแตล ะภาค จงั หวัด และทองถิ่น ดงั นั้นสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม ไดท ํายทุ ธศาสตร ท่บี รรจุในนโยบายดงั กลา วไปสูการปฏบิ ตั ิ พบวายังไมส อดคลองกบั บรบิ ทในการจัดการศึกษาของจังหวัดนครพนมเทาท่ีควร จงึ อาจเปนสาเหตใุ หคณุ ภาพการจัดการศึกษาไมสนองตอบตอเปาหมายและวัตถปุ ระสงคท ี่กําหนดไว (สาํ นักงานศึกษาธิการ จงั หวัดนครพนม, 2561 : 31) ซ่งึ สํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดนครพนม มีหนาทป่ี ฏิบัตภิ ารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวกับ การบริหารและการจดั การศึกษาในระดบั จังหวดั เพื่อพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษาของจังหวัดนครพนม โดยมุงเพ่ิมโอกาสและความเสมอภาค ในการเขา ถึงบริการการศึกษาท่มี ีคุณภาพ และมาตรฐานของประชาชนทุกชวงวัย ทุกกลุม เปาหมาย เพิ่มประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การศึกษาทุกระดบั พัฒนากําลงั คนท่สี อดคลองกบั ความตองการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ และสรา งการมสี วนรว มในการจัดการศึกษา ของทกุ ภาคสวนในสังคมผานการสรางความรู ความเขา ใจ การรบั รู การยอมรับ และพรอมที่จะเขา มามีสวนรวมในการดาํ เนินงานของผูเกีย่ วของทุกภาคสวนเพื่อใหการดาํ เนนิ งาน บรรลผุ ลตามเปา หมายท่ีกําหนด โดยมกี รอบทิศทางและเปา หมายของแผนพฒั นาการศึกษาจังหวัดนครพนม ท่ีสนองหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดาํ รขิ องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเก่ียวกับการสรางบุคลิกและอุปนิสัยท่ีดีงาม (Character Education) สอดคลอ งกับแนวคดิ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (2560 : 5) ใหค วามเห็นวา ประเทศมคี วามม่ันคง มัง่ คัง่ ยั่งยืน เปนประเทศพฒั นาแลวดวยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาํ ไปสู การพัฒนาใหค นไทยมีความสขุ และตอบสนองตอ การบรรลุซึ่งผลประโยชนแหงชาตขิ องการพัฒนาคุณภาพชวี ติ สรา งรายได ระดับสงู เปนประเทศพัฒนาแลว และสรา งความสขุ ของคนไทย สงั คมมคี วามมั่งคง เสมอภาคและเปนธรรม ประเทศสามารถ แขงขันไดใ นระบบเศรษฐกิจ สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม แหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2579) นโยบายรฐั บาล (พลเอกประยุทธ จันทรโอชานายกรฐั มนตร)ี แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560-2579 เปา หมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ยุทธศาสตรและนโยบายสําคญั ของกระทรวงศกึ ษาธิการ และรองรับกับโครงสรางประชากร บรบิ ทการจัดการศึกษาของประเทศ และสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไป ของกระแสโลกาภิวัตนในโลกศตวรรษท่ี 21

Journal of Roi Et Rajabhat University 83 Volume 14 No.3 September - December 2020 การขับเคลือ่ นการจัดการศกึ ษาตามยุทธศาสตรการศึกษาจังหวดั นครพนม เปนภารกิจหลักที่สาํ นักงานศึกษาธิการ จังหวัด และหนวยงานทางการศึกษาจะตอ งดําเนินการ เพื่อใหเกิดความสําเร็จเปนรูปธรรม ซ่ึงขึ้นอยูกับปจจัยสาํ คญั หลายประการ ประกอบดว ย สาระของแผนพฒั นาการศกึ ษาที่มีความชดั เจน ครบถวนและครอบคลมุ ทุกกลมุ เปา หมายและทกุ ระดับการศกึ ษา การมีสว นรวมในกระบวนการพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา ของผูเก่ียวของทุกภาคสวนตง้ั แตระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ ผูม สี วนไดส ว นเสีย และสาธารณชน การเผยแพร ประชาสมั พันธแกผเู กี่ยวของและสาธารณชน เพือ่ สรา งความตระหนักใหเห็น ความสําคัญ สรางความรู ความเขาใจ และการนาํ แผนสกู ารปฏิบัติท่ีชดั เจนแกผปู ฏิบตั ทิ ุกระดบั ดงั น้ันผูวิจัยจงึ ไดจัดทาํ วิจยั เร่ือง ขอเสนอเชิงนโยบายเพือ่ พฒั นาการจดั การศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม เพื่อเปนขอเสนอท่ีเหมาะสมในการปฏิบตั ติ ามภารกิจ ของสาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวัด นครพนม ใหบ รรลุเปาหมายและวัตถุประสงคตอไป วัตถุประสงค 1. เพ่ือศกึ ษาสภาพการจัดการศึกษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม 2. เพือ่ จัดทาํ ขอเสนอเชิงนโยบายเพอ่ื พัฒนาการจดั การศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม 3. เพอ่ื ตรวจสอบและประเมินขอเสนอเชิงนโยบายเพือ่ พฒั นาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม กรอบแนวคดิ ในการวิจยั คร้งั น้ี ผวู ิจยั แสดงกรอบแนวคิดเก่ียวกับการวิจัยขอ เสนอเชิงนโยบายเพ่อื พัฒนาการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม ดังภาพประกอบ ศึกษาสภาพ และแนวทางการพฒั นา การจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) 1. การศึกษาเอกสาร 1. การจดั การศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การศึกษาเชงิ สาํ รวจ 2. การผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน การวิจยั และนวัตกรรม เพ่ือสราง 3. การสัมภาษณเชงิ ลึก ขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 4. การศึกษาพหุกรณี 3. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว งวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 5. สัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการ 4. การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา 6. การตรวจสอบและยืนยันโดยผเู ชีย่ วชาญ 5. การจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิง่ แวดลอ ม 7. ประชาพิจารณ 6. การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา 8. การปรบั ปรุงแกไข ขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวดั นครพนม 1. ดานการจดั การศึกษาเพ่อื ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ 2. ดานการผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจยั และนวัตกรรม เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 3. ดานการพัฒนาศักยภาพคนทุกชว งวัย และการสรางสงั คมแหง การเรียนรู 4. ดา นการสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา 5. ดานการจดั การศึกษา เพอื่ สรา งเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอม 6. ดา นการพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดเก่ียวกับการวิจัย

84 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 วธิ ดี าํ เนินการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ ใชระเบียบวธิ ีการวิจัยเชงิ นโยบาย (Policy Research) ซ่ึงการวจิ ยั มีลกั ษณะเปนสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary Approach) คอื ศึกษาโดยใชศาสตรหลายสาขาวิชา และวิธีการหลายวธิ ี ผวู ิจัยไดกําหนดการวิจัยออกเปน 3 ระยะ ดังน้ี ระยะท่ี 1 การศกึ ษาสภาพ และแนวทางการพัฒนา การศึกษาสภาพการจดั การศึกษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม มีการศึกษาบริบท 4 ข้ันตอน คอื การศึกษาเอกสาร (Documentary Study) การศึกษาเชิงสาํ รวจ (Survey Study) การสัมภาษณเชงิ ลึกผทู รงคุณวุฒิ (In-depth Interview) และศึกษาพหุกรณี (Multi-Case Study) ไดข อสรปุ สภาพการจดั การศึกษา และแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม รายละเอียดกิจกรรมดาํ เนินการดังน้ี ข้นั ตอนท่ี 1 การศกึ ษาเอกสาร (Documentary Study) ผวู จิ ัยไดศ ึกษาวิเคราะหเก่ียวกับแนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกบั นโยบาย องคประกอบสาํ คัญในการพฒั นา การจัดการศึกษา แนวทางการกระจายอาํ นาจ และการมสี ว นรว ม ภารกิจของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัด บรบิ ทของสาํ นักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนครพนม หลกั การแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ งกบั การวจิ ัยเชิงนโยบาย เพอ่ื ใหเกิดองคความรู ทางทฤษฎี เปนการวเิ คราะหง านวิจัยท่ีเกี่ยวของ เอกสาร เชน รายงานการประชุม รายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ ราชการประจาํ ปข องสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั คูมือการปฏบิ ัตกิ าร รายงานผลการประเมินตนเอง แผนปฏิบัตริ าชการ ประจาํ ป 2561 เปนขอมลู เชงิ คุณภาพทไ่ี ดจากการวิเคราะหโดยใชว ิธีวเิ คราะหเน้อื หา (Content Analysis) ข้ันตอนที่ 2 การศกึ ษาเชิงสาํ รวจ (Survey Study) ผวู จิ ัยไดศ ึกษาเชิงสาํ รวจมีวัตถปุ ระสงคเพอ่ื ศึกษาสภาพการจัดการศึกษา และแนวทางการพัฒนา การจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม ดังนี้ 1) กลุม ตัวอยาง ประกอบดว ย ผูบริหารสถานศึกษา ครูผสู อน และบุคลากรท่ีปฏิบตั งิ านภายใตการกาํ กบั ดูแล ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม โดยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จาํ นวน 300 คน 2) เครอ่ื งมือทใ่ี ชในการวจิ ัยคร้ังน้ี คอื แบบสอบถาม ทผี่ ูวิจยั สรา งขึ้นมีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั โดยใชขอมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วของ ดงั นี้ 2.1) โครงสรา งของแบบสอบถามแบงออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เปนคาํ ถามเกี่ยวกับขอมลู พ้ืนฐาน ของผูตอบแบบสอบถาม ไดแ ก ผบู รหิ ารสถานศึกษา ครผู ูสอน และบุคลากร ทป่ี ฏิบตั ิงานภายใตการกํากบั ดูแล ของสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนครพนม ตอนที่ 2 เปนขอคําถามความคดิ เหน็ สภาพการจัดการศึกษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศกึ ษา ของสถานศึกษา เก่ียวกับการจดั การศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม (สาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม, 2561) 2.2) พฒั นาแบบสอบถาม ประกอบดวย การดําเนินงาน 6 ดาน นาํ แบบสอบถาม เสนอคณะกรรมการท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ปรับปรงุ แกไขตามขอเสนอแนะและตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชงิ เนือ้ หา และความเช่ือม่ัน 2.3) การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเน้ือหา (Content Validly) โดยใช IOC (Index of Item Total Objectiective Congruence) หาคาดชั นีความสอดคลอ งระหวา งขอ คําถามกบั วตั ถปุ ระสงค ซึ่งเปนการประยุกตใ ชว ิธีการในลักษณะเดียวกันกบั การหา ดชั นีความสอดคลองระหวางขอสอบกบั วัตถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรมจากผเู ชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน คุณสมบัตผิ ูเชี่ยวชาญ คอื 1) อาจารยในอุดมศกึ ษา จาํ นวน 1 คน 2) ศึกษาธิการจังหวัด จาํ นวน 1 คน 3) ผอู ํานวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จํานวน 1 คน 4) รองผูอาํ นวยการเขตพื้นที่การศึกษา จํานวน 1 คน 5) ผูอํานวยการสถานศึกษาหรอื ศึกษานเิ ทศกหรอื ครู จาํ นวน 1 คน พบวา ไดแ บบสอบถามท่ีใชไ ดอยใู นเกณฑความเที่ยงตรง ระหวาง 0.60-1.00 2.4) การตรวจสอบความเชื่อมัน่ (Reliability) โดยใชส ัมประสทิ ธแอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวธิ ีของครอนบาค เทา กบั .986 2.5) การวิเคราะหขอ มลู และการแปล ความหมาย การวิเคราะหขอมูลเชิงปรมิ าณเพ่อื หาคาสถิติ รอยละ คา เฉลี่ย ในการวิเคราะหคาเฉลี่ยใชเกณฑการแปล ความหมาย (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2556 : 121) ข้นั ตอนที่ 3 การสมั ภาษณเชิงลึกผูทรงคุณวุฒิ (In-depth Interview) ผวู จิ ัยไดด าํ เนนิ การ ดังน้ี 1) คัดเลือกผูทรงคณุ วุฒิโดยวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพ่อื พิจารณาเสนอแนะเกี่ยวกบั ขอเสนอเชิงนโยบาย ในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาในจังหวดั นครพนม ไดแก ผทู รงคณุ วุฒิ จาํ นวน 10 คน โดยกําหนดเกณฑคุณสมบัติ ดังน้ี 1.1) เปนผมู ปี ระสบการณหรอื ความเช่ียวชาญในการจัดการศึกษา จํานวน 5 คน 1.2) เปนผูม ีประสบการณใ นการบริหารงานดา นการศกึ ษา จํานวน 5 คน 2) สรา งแบบสัมภาษณแบบกงึ่ มีโครงสรา ง

Journal of Roi Et Rajabhat University 85 Volume 14 No.3 September - December 2020 (Semi-Structured Interview) ท่ีผวู ิจัยสรา งขึ้น มปี ระเดน็ สําคัญตามขอบเขตเนื้อหาการวิจัยท่ีกําหนดไดจากการวิเคราะห และสังเคราะหเอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวของ การบรหิ ารงานและการพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาภายใตการกํากับ ดูแล ของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม 3) สัมภาษณผูทรงคณุ วฒุ ิ โดยแจงใหผทู รงคณุ วุฒทิ ราบลวงหนา เพ่ือขอความ อนุเคราะหในการสมั ภาษณ แจงวัตถปุ ระสงครายละเอยี ดในการวิจยั และวธิ ีการวิจัย มีการบันทกึ ขอมลู และภาพถาย ใชวิธีการจดบันทึกรายละเอียดตา ง ๆ หลังเสรจ็ ส้ินการสัมภาษณ และนําขอมลู ทไ่ี ดทง้ั หมดรวบรวมเปน ขอมลู มาวิเคราะห โดยการวิเคราะหเนือ้ หา (Content Analysis) เนือ่ งจากขอมูลที่ไดเปน ขอ มูลเชิงคุณภาพ ผวู ิจัยจบั ประเด็นที่เปนขอความ สมั ภาษณและขอเสนอแนะท่ีสําคัญเปนความเรยี ง นาํ เสนอคณะกรรมการที่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ เพื่อพจิ ารณาปรบั ปรงุ แกไข ขน้ั ตอนที่ 4 ศึกษาพหุกรณี (Multi-Case Study) ผวู จิ ัยไดศึกษาดูงานการปฏิบัติงานในสํานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดทใ่ี กลเคยี ง จํานวน 3 แหง คอื 1) สํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร 2) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสนิ ธุ 3) สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวดั มุกดาหาร การกําหนด สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดเปาหมายเปนกรณีศึกษา ใชการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยพิจารณาจากเกณฑ ท่ีกําหนด คอื เปน หนว ยงานที่มีระบบบริหาร มีกระบวนการบริหารจัดการองคการเปนท่ียอมรบั มีความโดดเดน และอยูในพ้ืนที่ ใกลเ คียง โดยองครวมเหมาะสมตามแนวคิดทฤษฎี ผวู ิจยั ไดศึกษาจากการวิเคราะหเอกสาร การสังเกต และการสัมภาษณ อยางไมเ ปนทางการกบั ศกึ ษาธิการจังหวัด รองศึกษาธิการจังหวัดหรอื ศกึ ษานิเทศก ตามกรอบแนวคดิ การวิจัยเพื่อใหครอบคลมุ แนวทางการจัดทําขอเสนอเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา และเพ่อื เปนสารสนเทศสว นหนึ่งในการจัดทํารางขอ เสนอ เชิงนโยบาย ผวู ิจยั ใชว ิธีการวิเคราะหเนือ้ หา (Content Analysis) คอื การวิเคราะหเ อกสาร และการวิเคราะหผลจากการสัมภาษณ สาํ หรบั ขอมูลบางสวนเปนการนาํ ขอความสาํ คญั ที่ผูทรงคณุ วุฒใิ หสัมภาษณไดกลาวถึง ภารกิจ การพฒั นางานหรอื สภาพการดําเนินงาน ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในรอบปท่ีผานมาและในปจจบุ นั และสังเกตสภาพท่วั ไปแลวนาํ เสนอเปนความเรียง จากการศึกษาดวยวิธีดาํ เนินการดังกลาว คือนาํ ขอ มลู ที่ไดจากการศึกษาเอกสาร (Documentary Study) การศึกษาเชิงสาํ รวจ (Survey Study) การสัมภาษณเ ชงิ ลึกผทู รงคุณวุฒิ (In-depth Interview) และศึกษาพหุกรณี (Multi- Case Study) ผูวจิ ัยไดน ํามาสงั เคราะหเพ่อื จดั ทํารา งขอเสนอเชงิ นโยบาย นําไปสูการดาํ เนินการในระยะท่ี 2 ตอ ไป ระยะท่ี 2 การจัดทาํ รา งขอเสนอเชิงนโยบาย การจัดทาํ รา งขอ เสนอเชงิ นโยบาย เพื่อใหไดรา งขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษา แหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม ประกอบดว ย เกณฑพิจารณาในการจัดทาํ รา งขอเสนอเชงิ นโยบาย 4 ดา น ไดแก 1) ความเหมาะสม (Propriety) พจิ ารณาถึงความเหมาะสมกับบรบิ ทของสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครพนม 2) ความเปนไปได (Feasibility) พจิ ารณาจากการนํานโยบายสูการปฏิบตั ิเพียงพอตอ การใชท รพั ยากร ระเบียบขอปฏิบัติ 3) ความสอดคลอง (Compatibility) พิจารณาจากความสอดคลองกบั หนวยงานตนสังกัด หรือสอดคลองกบั สถานการณปจจุบัน และ 4) ความมปี ระโยชน (Utility) พจิ ารณาจากผลดที ี่เกิดขึ้นกับหนวยงาน ผูรับบริการ และผูมีสวนไดส วนเสีย เปนกระบวนการ ทีไ่ ดซงึ่ ขอเสนอเชิงนโยบายที่ครอบคลุมภารกิจ เพอื่ ใหไดข อมูลทหี่ ลากหลายเกิดจากการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิ การนาํ มาเปนขอ มลู เพ่ือจดั ทาํ รางขอ เสนอเชงิ นโยบาย มีรายละเอียดกิจกรรมดาํ เนินการ ดงั นี้ ข้นั ตอนที่ 5 การสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการ (Operational Seminar) วัตถุประสงคเพอื่ จัดทํารา งขอ เสนอเชิงนโยบาย เพอ่ื พัฒนาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม ที่เหมาะสม ใชวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบดว ย ศึกษาธิการจังหวัดนครพนม รองศึกษาธิการจังหวัดนครพนม บุคลากรในสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูทรงคุณวุฒิ คุณสมบัตผิ ทู รงคุณวฒุ ิ คือ 1) เปนผูเชี่ยวชาญในการวจิ ัยเชิงนโยบาย 2) เปนผูเชี่ยวชาญในการบริหาร การศึกษา 3) เปนผบู รหิ ารสถานศกึ ษา หรือบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านภายใตการกาํ กับ ดูแล สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครพนม รวมทั้งสิน้ จํานวน 25 คน ผูว จิ ัยไดนาํ เสนอความเปน มา ข้ันตอน วิธีดําเนินการวิจัยท่ีไดขอ มลู จากผลการดําเนินการวิจัยในระยะท่ี 1 ทไ่ี ดจ ากการศึกษาเอกสาร (Documentary Study) การศกึ ษาเชิงสํารวจ (Survey Study) การสัมภาษณเ ชิงลึกผทู รงคุณวุฒิ (In-depth Interview) และศึกษาพหุกรณี (Multi-Case Study) รวมทั้งเอกสารสรปุ ผลการวิจัยดังกลาว เพ่ือใหผูเขา รว ม การสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการไดมีสว นรวมในการแสดงความคดิ เห็น ตลอดจนขอเสนอแนะอ่ืน ๆ มาวิเคราะหสังเคราะห ประกอบการรา งขอ เสนอเชิงนโยบาย ดังน้ี 1) กาํ หนดหลักการแนวคิดและกําหนดรายละเอียดการรางขอ เสนอเชิงนโยบาย 2) นาํ ขอมูลทไ่ี ดจากการสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารมาวเิ คราะห สงั เคราะห จดั ทาํ รา งขอ เสนอเชงิ นโยบาย มี 6 องคประกอบ คือ

86 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 2.1) การจัดการศึกษาเพอ่ื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2.2) การผลิตและพฒั นากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่อื สรา งขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 2.3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรา งสังคมแหงการเรียนรู 2.4) การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทางการศึกษา 2.5) การจัดการศึกษาเพ่อื สรางเสริมคณุ ภาพชวี ิต ท่เี ปนมติ รกับส่ิงแวดลอม 2.6) การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา 3) ปรบั ปรุงและพัฒนารา งขอเสนอ เชิงนโยบาย เพอื่ พัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม 4) นําเสนอ รางขอเสนอเชิงนโยบาย เพือ่ พฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม ใหคณะกรรมการท่ีปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ ตรวจสอบและใหขอเสนอแนะ ผวู ิจยั ปรบั ปรงุ รางขอ เสนอเชงิ นโยบายตามขอเสนอแนะ ระยะที่ 3 การตรวจสอบและประเมินเปน ขอเสนอเชิงนโยบาย ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบและยืนยันโดยผูเช่ียวชาญ 1) วัตถปุ ระสงคเพื่อพิจารณา ความเหมาะสม (Propriety) ความเปนไปได (Feasibility) ความสอดคลอง (Compatibility) และความเปนประโยชน (Utility) คัดเลือกผูเชี่ยวชาญ โดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จาํ นวน 10 คน เพ่ือพิจารณาเสนอแนะรา งขอเสนอเชิงนโยบาย เพอ่ื พัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม โดยกาํ หนดเกณฑ การพิจารณาคุณสมบัติ ขอ ใดขอหน่งึ หรือหลายขอ ดงั นี้ 1.1) มีคุณวฒุ ทิ างการศกึ ษาไมต่าํ กวา ระดับปรญิ ญาเอก 1.2) มปี ระสบการณในการทํางานดา นการศึกษา 1.3) ปฏิบตั ิหนาท่ใี นสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัด 2) กลไกการปฏิบัติ ประกอบดว ย ขอเสนอเชงิ นโยบาย เกณฑการพิจารณาความเหมาะสม (Propriety) ความเปนไปได (Feasibility) ความสอดคลอ ง (Compatibility) และความเปนประโยชน (Utility) ขั้นตอนที่ 7 การประชาพจิ ารณ (Public Hearing) วัตถุประสงคเ พ่ือพิจารณาใหข อเสนอแนะตอรา ง และตรวจสอบขอเสนอเชิงนโยบายเพือ่ พฒั นา การจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม ตามองคประกอบท่ีกาํ หนดไว ไดแ ก 1) การจดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ 2) การผลติ และพัฒนากาํ ลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพือ่ สรางขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว งวัย และการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู 4) การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษาเพื่อสรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวิต ทเ่ี ปนมติ รกับสิง่ แวดลอม 6) การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา ผเู ขารวมประชาพิจารณ ประกอบดว ย ผูมีสว นไดสวนเสีย (Public hearing of Stakeholders) แบง ออกเปน 3 กลุม ดงั น้ี 1. บคุ ลากรท่ปี ฏิบัติงานในสาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัดนครพนม ไดแ ก ศึกษาธิการจังหวดั นครพนม รองศกึ ษาธิการจังหวดั นครพนม ผูอํานวยการกลมุ และบุคลากรในสํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนครพนม จาํ นวน 30 คน 2. ผูบริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา จาํ นวน 59 คน 3. ผูมีสวนไดสว นเสียอื่น คือ ผูแทนคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจงั หวัดนครพนม ผูแทนคณะกรรมการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ผแู ทนผปู กครองนักเรียน ผแู ทนองคการปกครองสว นทอ งถิ่น บุคคลภายนอก จํานวน 7 คน รวม 11 คน รวมผูเขา รว มประชาพิจารณท ้งั หมด 100 คน การประชาพิจารณ ผวู ิจัยไดนาํ เสนอขอมูลทไ่ี ดจากการวิจัยในระยะท่ี 1 การศึกษาสภาพการจัดการศกึ ษา และแนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษาของสํานักงานศึกษาจังหวัดนครพนม และระยะท่ี 2 การจดั ทาํ รางขอเสนอเชิงนโยบาย พรอ มทง้ั เอกสารประกอบการประชาพจิ ารณ เกย่ี วกับความเปนมาของขอ เสนอเชงิ นโยบายเพอื่ พัฒนาการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม ซ่งึ เปนขอเสนอในระดับพื้นท่ที ่เี กิดจากการมีสวนรว ม ของผปู ฏิบตั งิ านและผมู ีสวนไดสว นเสียทุกฝา ยในการรวมคดิ วิพากษว ิจารณ ใหขอ เสนอแนะเพิ่มเติมจากผลการดาํ เนินการ ท่ผี า นมา และทําการปรบั ปรงุ แกไขตามขอเสนอ สรปุ ผล ผลการจัดทาํ ขอเสนอเชิงนโยบายเพอ่ื พัฒนาการจัดการศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม สรปุ ไดดังน้ี 1. สภาพการจดั การศกึ ษา และแนวทางการพัฒนาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560- 2579) ในจงั หวัดนครพนม สภาพการจัดการศึกษาอยูใ นระดบั ปานกลาง และแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาอยูในระดับมาก

Journal of Roi Et Rajabhat University 87 Volume 14 No.3 September - December 2020 2. ขอ เสนอเชงิ นโยบายเพอื่ พฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม มี 6 ดาน คือ 1) ดานการจัดการศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ มี 3 เปา หมาย 10 แนวทาง การพัฒนา 2) ดา นการผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพอื่ สรา งขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ มี 3 เปา หมาย 11 แนวทางการพัฒนา 3) ดานการพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสงั คมแหงการเรยี นรู มี 4 เปา หมาย 14 แนวทางการพัฒนา 4) ดา นการสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทางการศึกษา มี 3 เปา หมาย 10 แนวทาง การพัฒนา 5) ดา นการจัดการศกึ ษาเพ่อื สรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่เปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม มี 3 เปาหมาย 10 แนวทางการพัฒนา 6) ดานการพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มี 4 เปา หมาย 8 แนวทางการพัฒนา 3. ผลการตรวจสอบ และประเมินขอ เสนอเชิงนโยบาย ดา นความเหมาะสม ความเปนไปได ความสอดคลอง และความเปนประโยชน อยใู นระดบั มากที่สดุ ทกุ ดาน ( X =4.90) เมื่อพิจารณาเปน รายดา นพบวา ดานความเหมาะสม ( X =4.95) ดา นความเปนไปได ( X =4.79) ดานความสอดคลอ ง ( X =4.91) และดานความเปนประโยชน ( X =4.93) อภปิ รายผล การจัดทาํ ขอเสนอเชงิ นโยบายเพื่อพฒั นาการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม พบวา 1. ดานการจดั การศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ 1.1 ผูเรียนทุกชวงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข โดยการสงเสริมใหสถานศึกษาดาํ เนินการปลูกฝงและเสริมสรางวิถปี ระชาธปิ ไตย ความสามัคคี สมานฉันท สันติวิธี ตอ ตา นการทุจรติ คอรปั ช่ัน และยดึ มนั่ ในการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ เสริมสรางความรูความเขาใจทีถ่ ูกตองเกยี่ วกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ผานหลักสูตรและกระบวนการ เรียนรปู ระวัตศิ าสตรแ ละความเปนพลเมอื ง พรอมท้ังจัดกิจกรรมเสรมิ สรา งการเรียนรูท่ีสะทอนความรกั และการธาํ รงรกั ษา สถาบนั หลักของชาติ และการยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข สอดคลอ งกบั แนวคิด สมฤดี พละวุฒิโฒทัย (2561 : 264) ใหความเห็นวาการพัฒนาการบริหารระบบการศึกษาเพื่อเสริมสรางความเปน พลเมอื งดีวถิ ปี ระชาธิปไตยจะตอ งเสรมิ สรา งคุณภาพของพลเมือง ใหเปน บุคคลท่สี ามารถแสดงบทบาทตามหนา ท่ี และความ รับผิดชอบของตนเองตอ สังคม มีสิทธิ เสรภี าพ และความเสมอภาค ในฐานะเปนมนษุ ยและสมาชิกของสงั คมทเ่ี ทา เทียมกัน ซ่ึงการเสริมสรา งความเปนพลเมอื งดีจะเกิดขึ้นได ตองอาศัยความรว มมอื จากทุกภาคสว น เพ่อื กอใหเกิดการพฒั นาการเมือง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยทีย่ ั่งยืนตอ ไป 1.2 ผูเรยี นทุกชว งวัยในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ และพน้ื ท่ีชายแดนจงั หวัดนครพนม ไดร บั การศึกษา และเรียนรอู ยางมีคุณภาพ โดยการสงเสริมใหส ถานศกึ ษาดําเนินการสรางและพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล เพื่อตอบสนองตออตั ลักษณจ ังหวัดนครพนม นอมนาํ แนวพระราชดาํ ริ สบื สานพระราชปณิธาน และพระบรมราโชบายดา นการศกึ ษา หรือ “ศาสตรพระราชา” มาใชในการจดั กระบวนการเรียนรู อยางยั่งยืน สอดคลอ งกับ บริบทของจังหวัดนครพนม และการจัดกิจกรรมท้ังในและนอกหองเรียน ท่ีเอ้ือตอ การพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงคตามหลักสูตร และคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ พรอมทั้งพฒั นาการจัดการศึกษา เพ่ือยกระดับคณุ ภาพ การศึกษาในจังหวัดนครพนมใหเ หมาะสมตามบรบิ ทของพื้นท่ี เชน เขตพื้นทช่ี ายแดน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และผเู รยี น ไดรับการพัฒนาศักยภาพหรอื ทักษะดานอาชีพ สามารถมีงานทํา หรอื นาํ ไปประกอบอาชพี ในทอ งถ่ิน ดาํ เนินการผลิตและพฒั นา ผูเรียนใหสอดคลองกับความตอ งการของแผนพัฒนาจงั หวัด และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดนครพนม สอดคลองกับแนวคดิ สาํ นักสง เสริมและพทิ ักษผ ูดอยโอกาส (2551 : 37) ใหความเห็นวาควรสงเสรมิ การจัดการศึกษาสาํ หรบั ผูดอยโอกาสท่ียากจน โดยเฉพาะการจัดการศึกษาดา นอาชีพ เน่ืองจากเปนพ้ืนฐานสําคัญของการประกอบอาชีพ และการมีรายไดทพ่ี อเพียงตอการยังชพี 1.3 ผเู รียนทุกชว งวัยไดร บั การศึกษา การดแู ลและปอ งกันจากภัยคุกคามในชีวิตรปู แบบใหม โดยการสง เสริม ใหสถานศกึ ษาดาํ เนินการจัดกระบวนการเรียนรู และปลูกฝงแนวทางการบริหารความขัดแยงโดยแนวทางสันติวธิ ี คือการไมใช ความรุนแรง เนื่องจากการใชความรุนแรงเปนตวั กอใหเกิดความแตกแยก และสรางความเสียหายตอ จิตใจและรา งกาย ทง้ั ในสว นของปจเจกและสว นรวม พรอ มท้งั เสริมสรา งความรู ความเขาใจ ใหรูเทาทันเกี่ยวกับภัยคุกคามในรปู แบบใหม เชน อาชญากรรม และความรุนแรงในรูปแบบตา ง ๆ สงิ่ เสพติด ภยั พิบัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม ภัยจากไซเบอร ฯลฯ

88 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 2. ดา นการผลิตและพัฒนากาํ ลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสรา งขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 2.1 ผเู รียนมที กั ษะท่ีสาํ คัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมของจังหวัดนครพนม โดยการสงเสรมิ ใหสถานศึกษาดาํ เนินการสรา งและพัฒนาหลักสูตร จัดกระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล เพอ่ื ตอบสนองแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (2560-2579) ใหสอดคลองกบั แผนพฒั นาการศึกษา จังหวัดนครพนม และการฝกทักษะท่สี าํ คัญจําเปน และมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงาน สอดคลองกบั การพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมของหวัดนครพนม ผลิตผูเ รียนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตอ งการของตลาดแรงงานในจังหวดั นครพนม สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ เพือ่ รองรับการพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนจงั หวัด นครพนม และเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ พรอ มท้ังเสริมสรางการเรยี นการสอนใหผูเรียนมีความมั่นใจ ในการสื่อสารภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศคูคา อยางนอย 1 ภาษา 2.2 สถาบนั การศึกษาและหนว ยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตผูเ รียนท่ีมีความเช่ียวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน โดยการสง เสริมใหสถานศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษา เสรมิ สรา งการดาํ เนินการผลิตผูเรียนใหมีความเช่ียวชาญและเปนเลิศ เฉพาะดา น เพ่ือรองรบั ความตอ งการของตลาดแรงงานในจังหวัดนครพนม และการพัฒนาประเทศ เสริมสรางผูเรียนใหมีคุณภาพ มีความสามารถปรบั ตัวตอการเปล่ียนแปลงและพฒั นาในอนาคต เชน เทคโนโลยีการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร การพัฒนา การเกษตรดวยเทคโนโลยี เกษตรยุคใหม (Smart Farmer) และใฝเรียนใฝรอู ยางตอเน่ืองตลอดชวี ิต มีการดําเนินการสรา งเครอื ขา ย ความรวมมือระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ และหนว ยงานที่จัดการศึกษา ในการผลิตกําลงั คนระดบั กลาง และระดับสูง จําแนกตามระดบั ประเภทการศกึ ษาในสาขาวิชา ท่ีสอดคลอ งกับความตองการของตลาดแรงงานในจังหวัดนครพนม และการพัฒนาประเทศ สอดคลอ งกับแนวคิด สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2560 : 8) ใหความเห็นวา ประเทศไทย 4.0 ตองเปล่ียนผา นทั้งระบบ เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดงั้ เดิม (Traditional Farming) ในปจจุบัน ไปสูการเกษตร สมัยใหม ท่ีเนนการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรตองร่าํ รวยขึ้น และเปน เกษตรกรแบบเปน ผูประกอบการ (Entrepreneur) 2.3 การวิจัยและพฒั นาเพื่อสรางองคความรู และนวัตกรรมที่สรา งผลผลิตและมูลคา เพม่ิ ทางเศรษฐกิจ โดยการสง เสริม สนับสนุน พัฒนาผบู ริหาร ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ใหมีผลงานการวิจัยและนวัตกรรม ทีส่ ามารถนําไปใชประโยชนในการปฏบิ ัติงาน เสริมสรางการทําวิจัย เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา เพ่ือสรางองคความรู พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล โดยเนนใหมีการวิจัยในชั้นเรียน ในสถานศึกษา เพื่อสรา งองคค วามรู และนวัตกรรมทส่ี รางผลผลิตและมลู คาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ สอดคลองกบั แนวคิด วิทยากร เชียงกูล (2559 : 63) ใหความเห็นวา โลกในศตวรรษที่ 21 เนนการใชแรงงานที่มีความรู ทักษะ แนวคิด วิเคราะหเปน มีจิตนาการและเรยี นรอู ะไรใหม ๆ ไดดี ปรบั ตัวไดเกง แกปญหาไดเ กง การจัดการศึกษาจึงตอ งเปล่ียนแปลงอยางขนานใหญ เพ่ือพฒั นาพลเมืองที่ฉลาด รบั ผดิ ชอบ คิดวิเคราะห สังเคราะห ประยุกตใ ชเปน มีความสามารถในการทํางาน แกปญหา และแขงขันทางเศรษฐกิจไดม ากขึ้น 3. ดานการพัฒนาศักยภาพคนทุกชว งวัย และการสรางสงั คมแหง การเรียนรู 3.1 ผเู รียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมอื งไทย และทักษะและคุณลักษณะที่จาํ เปนในศตวรรษที่ 21 พรอ มท้งั มีทกั ษะความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาคุณภาพชวี ิต ไดตามศกั ยภาพ โดยการสงเสรมิ ใหส ถานศกึ ษามีการดาํ เนินการใหผูเรียนมที ักษะและคณุ ลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลกั ษณะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 มที ักษะ ความรูค วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา และมาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดตามศักยภาพ สง เสริม สนบั สนุน พัฒนาครู อาจารย ผูบ ริหาร และพัฒนา หลักสตู รสถานศึกษา ใหเหมาะสมสอดคลอ งกับการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 และการนําผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ มาใชยกระดบั คุณภาพการศึกษา 3.2 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยา งมีคณุ ภาพ และมาตรฐาน แหลงเรียนรู ส่อื ตาํ ราเรียน นวัตกรรม และส่อื การเรียนรมู ีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงได โดยไมจาํ กัดเวลาและสถานท่ี โดยการสงเสรมิ ใหส ถานศึกษาทุกระดับการศึกษา สามารถจัดกิจกรรม กระบวนการเรยี นรู ตามหลักสูตรอยางมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน เสริมสรางการจัดการเรียนรทู ่ีใหผ ูเรียนไดเรยี นรผู านกิจกรรมการปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning) เปนทักษะกระบวนการใหเกดิ ทักษะการคดิ วิเคราะห คิดแกปญ หา และคิดสรางสรรค ท้ังในและนอก หอ งเรยี น ซ่งึ สอดคลอ งกับแนวคิด มนตรี ศิริจันทรช่ืน (2554 : 3) ใหความหมายของ Active Learning วาเปนกระบวนการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรทู ี่ผูเรยี นตองไดมีโอกาสลงมือกระทาํ มากกวาการฟงหรืออานเพียงอยา งเดียว โดยเปนการจัดกิจกรรม

Journal of Roi Et Rajabhat University 89 Volume 14 No.3 September - December 2020 ใหผเู รียนไดตอบโต วิเคราะหป ญหา อีกทั้งใหผ ูเรียนไดใ ชกระบวนการคิดขั้นสูง ในการวเิ คราะห สงั เคราะห และประเมินคา ซึง่ ผเู รยี นจะเปล่ียนบทบาทจากผูรับความรู ไปสูการมีสวนรว มในการสรางความรู พรอ มทง้ั ใหม ีแหลงเรยี นรู สอ่ื ตาํ ราเรียน นวัตกรรม และสือ่ การเรียนรูมีคณุ ภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจาํ กดั เวลาและสถานที่ สนับสนุน การผลิต การจัดหา และใชสื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี นวัตกรรม และส่ิงอํานวยความสะดวกท่หี ลากหลาย รวมท้ังการพัฒนา หองสมดุ และแหลงเรียนรูภ ายในสถานศึกษา ในการจดั การเรียนรูไดท้ังในหอ งเรยี นและนอกหอ งเรียน เพื่อใหผ ูเรียนไดเรียนรู อยางเต็มตามศกั ยภาพ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม ีทักษะการออกแบบการจัดการเรียนรแู บบ Active Learning นาํ กระบวนการ PLC มาบูรณาการจัดการเรียนรู 3.3 ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผล มีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล โดยการสง เสริม ใหสถานศกึ ษาดาํ เนินการอยา งมีระบบและกลไก การทดสอบ การวัดและประเมินความรู ทักษะ และสมรรถนะของผูเรียน ทกุ ระดับการศกึ ษา และทุกกลุมเปาหมายที่มีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล สอดคลอ งกับแนวคิด สาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2560 : 3) ใหความเห็นวา ตองเปล่ียนระบบการประเมิน เพ่อื ใหสอดคลอ งกับหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยเฉพาะการคดิ เปน วิเคราะหเ ปน ตามทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 พรอ มท้ังใหมรี ะบบติดตามประชากรวัยเรียน ที่ขาดโอกาส หรือไมไ ดรับการศกึ ษา และผูเรยี นท่มี แี นวโนม จะออกกลางคัน 3.4 ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดม าตรฐาน พรอ มท้ังครู อาจารย และบุคลากร ทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน โดยการสง เสริมใหสถานศึกษาดาํ เนินการใหมีระบบการพฒั นาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดมาตรฐานระดบั สากล การใหครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดร ับการพัฒนา สมรรถนะตามมาตรฐาน การพัฒนาผูบริหาร ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมที ักษะและสมรรถนะตามมาตรฐาน วชิ าชีพ และทักษะภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศคคู า สอดคลอ งกบั ความตอ งการในการจัดการศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภท 4. ดานการสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมทางการศกึ ษา 4.1 ผเู รียนทุกคนไดรบั โอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ โดยการสง เสรมิ ให สถานศึกษาดาํ เนินการเพิ่มโอกาสใหประชากรวัยเรียนทุกคน ใหไ ดรบั โอกาสในการเขารบั บริการทางการศึกษาอยางทวั่ ถึง มีคณุ ภาพ และเสมอภาค เพ่ิมโอกาสใหป ระชาชนเขาถึงบริการทางการศกึ ษา การเรียนรูอยางท่วั ถึง มีคณุ ภาพและตอ เน่ือง ตลอดชีวิต สนบั สนนุ การพัฒนาผเู รียนท่ีมีความตอ งการจําเปนพเิ ศษ (ผพู ิการ ผูดอ ยโอกาส และผมู ีความสามารถพิเศษ) ใหไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพดวยรูปแบบท่ีเหมาะสม สอดคลองกบั แนวคิด วิชาญ ทรายออ น (2560 : 3) ใหความเห็นวา ศักดิ์ศรีความเปนมนษุ ย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอ มไดรับความคุมครอง ปวงชนชาวไทยยอมรบั ความคุมครองตามรฐั ธรรมนญู เสมอกัน 4.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ผา นเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือการศึกษา สําหรับผูเรียนทุกชวงวัย โดยการสง เสริม ใหสถานศึกษาดาํ เนินการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผา นเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษาสําหรบั ผูเรียนทุกชวงวัย สนับสนุนการใช เทคโนโลยใี นการจัดการศึกษาใหครอบคลุมทุกพ้ืนท่อี ยางท่ัวถึงดว ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เชน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกล ผานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology : DLIT) การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ฯลฯ และใหม ีระบบเครอื ขาย เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ การศึกษาทีท่ ันสมัย สนองตอบความตอ งการของผเู รยี นและผูใชบ ริการ อยางท่ัวถงึ และมปี ระสิทธิภาพ สอดคลองกับแนวคิด นิกร จันภิลม ศตพล กัลยา ภาสกร เรืองรอง และ รุจโรจน แกว อุไร (2562 : 308) ใหความเห็นวา การสรางโอกาสและความเทา เทียมในการเขาถึง และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรบั ประชาชน โดยเฉพาะอยา งยิง่ กลุม ผูสูงอายุ กลุมผพู ิการ กลุมผูทอ่ี ยูอาศัยในพ้ืนที่หางไกล 4.3 ระบบขอ มลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจบุ ัน เพื่อการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมินและรายงานผล โดยการสงเสริมใหสถานศึกษาดาํ เนินการใหมีระบบขอมูลรายบุคคล และสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลมุ ถูกตอ ง เปนปจจบุ ัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล การสรางความเขมแขง็ ของระบบการดูแลชวยเหลือผเู รียน ระบบสงเสริมความประพฤติผูเรียน ระบบคุมครอง ผูเ รียน และสรา งภมู คิ ุมกันทางสงั คม สนับสนุนการจัดกิจกรรมแนะแนว เพ่อื การศกึ ษาตอและการประกอบอาชพี อยา งเขมแข็ง ตอเนื่องและเปนรปู ธรรม และการประสานหนว ยงานที่เก่ียวของในการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สําหรับเด็กดอยโอกาส ที่ไมอยู ในทะเบียนราษฎร เชน เด็กไรสัญชาติ เด็กพลดั ถิ่น เด็กตา งดา ว เดก็ ไทยท่ีไมเ ลขประจาํ ตัวประชาชน เปนตน สอดคลองกับแนวคดิ สุวิธิดา จรงุ เกียรติกุล (2557 : 11) ใหความเห็นวาประชากรไทยยังไมสามารถเขา ถึงการเรียนรูไดอยางเทาเทยี ม และมีประสทิ ธภิ าพ

90 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 5. ดา นการจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา งเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปนมติ รกับสิ่งแวดลอม 5.1 ผูเรียนทุกชว งวัย มีจิตสาํ นกึ รักษส่ิงแวดลอ ม มีคณุ ธรรม จริยธรรม และนาํ แนวคิดตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏบิ ตั ิ โดยการสงเสริมใหส ถานศึกษาดาํ เนินการเสริมสราง สนับสนุนผูเรียนทุกชวงวัย ในการสราง จิตสาํ นึกอนุรักษสงิ่ แวดลอม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนาํ แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบตั ิ เสริมสรา ง ใหครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษา ไดร ับการอบรม การพัฒนา ในเรอ่ื งการสรา งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอ ม และการสรา งเครอื ขา ยความรว มมือกับภาคสวนตาง ๆ ในการอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม สอดคลองกับแนวคิด ปรยี านชุ พบิ ูลสราวธุ (2551 : 19) การปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนรูจักการใชชีวิตท่พี อเพียง เหน็ คณุ คาของทรพั ยากรตา ง ๆ ฝกการอยรู ว มกบั ผูอ ่ืนอยา งเอื้อเฟอเผอื่ แผแ ละแบง ปน มีจิตสาํ นึกรกั ษส งิ่ แวดลอม และเห็นคุณคา ของวัฒนธรรม คานิยม เอกลักษณความเปนไทย การจัดการศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดาํ เนินการไดใ น 2 สวน คือการบริหารสถานศกึ ษา ในดา นตา ง ๆ และการจดั การเรียนรูของผเู รียน ซง่ึ ประกอบดวยการสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตร และสาระ การเรยี นรใู นหองเรียน และการประยกุ ตหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นนอกหองเรยี น 5.2 หลักสูตร แหลงเรียนรู และสอ่ื การเรียนรูที่สง เสริมคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มิตรกับสิง่ แวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนาํ แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูการปฏิบตั ิ โดยการสง เสรมิ ใหสถานศกึ ษาดําเนินการใหมีหลักสูตร แหลงเรียนรู และสอ่ื การเรียนรทู ี่สงเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน มิตรกบั สิ่งแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนาํ แนวคดิ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู ารปฏบิ ัติ มกี ารพฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลง เรยี นรู และสอ่ื การเรียนรตู า ง ๆ ที่เก่ียวของกบั การสรา งเสริมคุณภาพชีวติ ที่ดีเปน มิตรกับสงิ่ แวดลอ ม มีการจัดการเรยี นการสอนและกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับ การสรา งเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเปนมติ รกับสิ่งแวดลอม สนับสนุนผูเรยี นทกุ ระดับการศึกษา มพี ฤติกรรมที่แสดงออกถงึ ความตระหนัก ในความสาํ คัญของการดาํ รงชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม การมีคุณธรรม จริยธรรม และการประยุกตใ ชห ลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชวี ิต และมีการผลิตส่ือการเรียนรใู นสื่อสารมวลชน ท่ีเผยแพรหรือใหความรูเกี่ยวกบั การสรา งเสริม คณุ ภาพชีวิตที่เปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม 5.3 การวจิ ยั เพื่อพฒั นาองคค วามรูและนวัตกรรม ดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิง่ แวดลอ ม โดยการสงเสริมใหสถานศึกษาดาํ เนินการเสริมสรางใหมีการวิจัย เพื่อสรา งองคค วามรูและนวัตกรรม ดานการสรา งเสริม คุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม สนับสนุนใหมีกลุม จิตอาสาที่มาจากประชาชน ชุมชน ผูเรียน เขามามสี วนรวม และเปนแกนนําในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ที่สงเสริมคณุ ภาพชวี ติ เปนมติ รกับสิ่งแวดลอม 6. ดา นการพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา 6.1 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล สง ผลตอคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา โดยการสง เสริมใหสถานศึกษาดาํ เนนิ การพฒั นาระบบการวางแผน การนาํ แผนไปสูการปฏบิ ัติ การกํากับตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือการบริหารจดั การที่มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล มีระบบการบรหิ ารจัดการ ศึกษาท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล สง ผลตอ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และมีรูปแบบ แนวทาง กลไกการจดั สรร งบประมาณผา นดา นอุปสงคและอุปทานในสดั สว นที่เหมาะสม ตามคณุ ลกั ษณะทแ่ี ตกตางกันของผูเรียน ความตองการ กําลงั แรงงานและสภาพปญ หาที่แทจรงิ ของจงั หวัดนครพนม สอดคลองกับแนวคิด สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (2560 : 5) ใหค วามเห็นวา อนาคตประเทศไทยจะเปนสังคมความรว มมอื ในการขับเคลื่อนใหกาวไปสูระบบการบริหารภาครัฐ ที่มีประสิทธภิ าพ ทันสมัย รับผดิ ชอบ โปรงใส ตรวจสอบได และประชาชนมีสว นรวม เศรษฐกิจและสังคมไทยมีการพฒั นา อยางมั่นคงและย่ังยนื เศรษฐกิจและสงั คมพัฒนาอยา งเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม สังคมไทยเปนสังคมท่ีเปนธรรม มีความเหลื่อมลํ้านอ ย ระบบเศรษฐกิจมีความเปนชาติและเศรษฐกิจดิจทิ ัลที่เขมขน และคนไทยในอนาคตมีศักยภาพในการรว มกันพัฒนา สามารถ ปรบั ตัวรองรบั บรบิ ทในอนาคตได 6.2 ทุกภาคสวนของสงั คมมสี ว นรวมในการจัดการศึกษา ทีต่ อบสนองความตอ งการของประชาชน และพื้นท่ี บริการ โดยการสงเสริมใหส ถานศึกษาดาํ เนินการใหทุกภาคสวนของสังคมมสี วนรว ม ในการจดั การศึกษาทต่ี อบสนอง ความตอ งการของประชาชนและพื้นท่ีบริการ สอดคลอ งกับแนวคิด นิกร จันภลิ ม ศตพล กลั ยา ภาสกร เรอื งรอง และ รจุ โรจน แกว อุไร (2562 : 310) ใหค วามเหน็ วา การเชื่อมโยงเครอื ขายทางการศึกษา เปนการสง เสริมความรว มมือกับเครอื ขา ย และสถาบนั การศึกษา ทั้งในสว นกลางและสวนภูมภิ าค เพื่อแลกเปล่ียนองคความรูและบริการจัดการองคค วามรู ตลอดจน การสงเสริมกระบวนการเรยี นรูอ ยางเปนระบบ

Journal of Roi Et Rajabhat University 91 Volume 14 No.3 September - December 2020 6.3 กฎหมายและรปู แบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษา รองรับลกั ษณะท่ีแตกตา งกนั ของผเู รยี น สถานศึกษา และความตองการกาํ ลังแรงงานของประเทศ โดยการสงเสริมใหสถานศกึ ษาดาํ เนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับการปรบั บทบาทและภารกิจของรฐั ความเปนอิสระและความรบั ผดิ รบั ชอบของสถานศึกษา และการระดมทุน และรวมสนบั สนุนการจดั การศึกษา และดําเนินการตามกฎ ระเบียบ กฎหมาย และระบบการจดั สรรเงินเพือ่ การศึกษา ท่เี อือ้ และสนองตอบคณุ ลักษณะท่ีแตกตางกันของผูเรียน ความตองการกาํ ลังแรงงาน และสภาพปญ หาทีแ่ ทจรงิ ของจังหวัด นครพนม 6.4 ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกําลงั ใจ และสง เสรมิ ใหปฏบิ ตั ิงานไดอ ยา งเตม็ ตามศักยภาพ โดยการสงเสรมิ ใหส ถานศึกษาดาํ เนินการใหมีระบบบริหารงานบุคคล ของครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา มีความเปนธรรม สรา งขวัญกําลงั ใจ และสงเสริมใหป ฏิบตั งิ านไดอยาง เต็มตามศักยภาพ มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล เพือ่ การจดั การศึกษาท่ีมมี าตรฐานเชือ่ มโยงกันและเขาถงึ ได ขอ เสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 ผูบริหารสถานศึกษาทป่ี ฏบิ ตั ิงานภายใตการกํากับ ดูแล ของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม ควรนาํ ขอ เสนอเชิงนโยบายท่ีไดจากการศึกษา เพ่ือพัฒนาการจดั การศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจงั หวัดนครพนม เปนขอมลู พิจารณากําหนดกรอบในการปฏบิ ัตงิ าน เพื่อใหการบริหารจัดการศึกษาเปน ไปอยางมี ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ทงั้ 6 ดา น 1.2 ผูบรหิ ารสถานศึกษาที่ปฏบิ ัติงานภายใตการกาํ กับ ดูแล ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวดั อื่น ๆ สามารถ นาํ ผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา โดยการประยุกตใ หเหมาะสมกับบริบท เพือ่ ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพ ในการบรหิ ารจัดการศึกษา 1.3 ผูบรหิ ารในระดับสูงสามารถนําองคความรทู ่ีไดจากการวิจยั คร้งั นี้ ไปใชใ นการวางแผนเพ่ือพฒั นาผูบ ริหาร สถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพตอ ไป 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจัยคร้ังตอไป 2.1 ควรมีการวิจัยตอเนื่อง เม่ือมีการนําผลการวิจยั ท่คี นพบไปใชป ระโยชนในการพฒั นาการจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวัดนครพนม ไปแลวระยะหน่งึ ควรจะทําการวจิ ัยเพือ่ ประเมิน และหาขอ เสนอแนะในเร่ืองนีอ้ ีก เน่อื งจากบริบทในการจัดการศึกษาเปลยี่ นไปอาจทําใหมีความตอ งการในการทจี่ ะพฒั นาดาน อน่ื ๆ เพ่ิมมากข้ึน 2.2 ควรทําการวจิ ยั ในภาพรวมของเขตตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เน่ืองจากแตละเขตตรวจราชการ มบี รบิ ทที่คลา ยกัน เพ่ือจะไดนําขอเสนอเชิงนโยบายจากผลการวิจยั ไปเปนแนวทางในการพฒั นาการจัดการศึกษาตอไป กติ ติกรรมประกาศ ดษุ ฎีนิพนธฉบับน้ีสาํ เร็จลุลว งไปไดต ามวัตถปุ ระสงคด วยความกรุณา และความอนเุ คราะหอยา งสูงจาก ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธวชั ชัย ไพใหล ประธานกรรมการที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เพลินพิศ ธรรมรัตน กรรมการท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธ ที่ใหคําปรึกษา ใหขอเสนอแนะ ตรวจสอบ ปรับปรุงแกไ ขวิทยานิพนธ ตลอดจนใหการสนบั สนุน และชวยเหลอื ผูวิจัยมาโดยตลอด และขอขอบพระคณุ ผทู ีเ่ ก่ียวของทุกทา นในการทาํ งานวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอา งอิง นิกร จันภิลม ศตพล กัลยา ภาสกร เรอื งรอง และ รจุ โรจน แกวอไุ ร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารปญญาภิวฒั น,11(1), 304-314. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบือ้ งตน (พมิ พคร้ังที่ 9). กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน. ปรยี านุช พบิ ูลสราวธุ . (2551). การขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา นการศึกษา (พ.ศ. 2549 -2557). กรุงเทพฯ: สาํ นักทรัพยสินสว นพระมหากษัตริย.

92 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 มนตรี ศิริจันทรชื่น. (2554). การสอนนักศึกษากลุมใหญในรายวชิ า Gsoc 2101 ชุมชนกับการพัฒนา โดยใชก ารสอน แบบ Active Learning และการใชบ ทเรียนแบบ e-learning. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม. วชิ าญ ทรายออ น. (2560). การรับรองสทิ ธิของคนพิการตามรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560. กรงุ เทพฯ: สาํ นักวิชาการสาํ นักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. วทิ ยากร เชยี งกูล. (2559). รายงานสภาวะการศึกษาไทย ป 2557/2558 จะปฏิรปู การศึกษาไทยใหท นั โลกในศตวรรษที่ 21 ไดอ ยา งไร. กรุงเทพฯ: ดกี ารพิมพ. สมฤดี พละวฒุ ิโฒทยั . (2561). การพฒั นาการบรหิ ารระบบการศึกษาเพอ่ื เสริมสรา งความเปนพลเมอื งดวี ถิ ีประชาธิปไตย. วารสารการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 9(1), 264-273. สุวิธิดา จรงุ เกยี รตกิ ลุ . (2557). การศึกษา และการเรยี นรตู ลอดชวี ิต = Lifelong education and lifelong learning. กรุงเทพฯ: ศูนยตําราและเอกสารทางวิชาการคณะครุศาสตรจ ฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั . สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน. (2560). การขบั เคล่ือนการศึกษามธั ยมศกึ ษาไทย 4.0 เพือ่ การมีงานทํา แหงศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. สํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนครพนม. (2561). แนวทางการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรการจัดการศึกษาตามยทุ ธศาสตร การศึกษาจงั หวัดนครพนม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561. นครพนม: สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัดนครพนม. สาํ นักสง เสรมิ และพทิ ักษผ ูดอ ยโอกาส. (2551). ยทุ ธศาสตรสง เสริมการพฒั นาศกั ยภาพ และคุมครองพทิ กั ษสทิ ธิผดู อ ยโอกาส 5 ป (พ.ศ. 2551-2555). กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย.