Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563

Published by MBU SLC LIBRARY, 2020-12-16 02:29:27

Description: 16766-5367-PB

Search

Read the Text Version

Journal of Roi Et Rajabhat University 143 Volume 14 No.3 September - December 2020 ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 ในรายวิชาคณติ ศาสตร 2 ปยอนหลัง คือปการศึกษา 2560 คาเฉลี่ยอยทู ่ี 36.05 คา เฉล่ียประเทศอยทู ี่ 46.58 และปการศึกษา 2561 คา เฉลี่ยอยูที่ 32.22 คา เฉลยี่ ประเทศอยทู ี่ 37.50 (โรงเรียนบานนาเรียง, 2561 : 6) การแกโจทยปญหาการคูณเปนเน้ือหาในวิชาคณิตศาสตรพ้ืนฐาน ผูเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ทต่ี าํ่ กวามาตรฐาน จากปญหาที่เกิดขึ้นผูวิจัยไดศ ึกษาปญหาและวิเคราะหส าเหตขุ องปญ หา โดยการศึกษาจากรายงานผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 พบวาปญหาเกิดจากทั้งในดา นตวั ครผู สู อนและตวั ผูเรยี น กลา วไดว าในดาน ของครูผูสอน พบวาการสอนน้ันยังขาดการเตรียมเนอื้ หา สอนโดยใชแบบเรียนเปนหลกั และใหนักเรียนทําแบบฝก หดั มากจนเกินไป อกี ทั้งกระบวนการสอนและการถายทอดความรูทางคณิตศาสตร ขาดการใชส อ่ื การสอนทาํ ใหนักเรียนไมสามารถเกิดความคิด รวบยอดได ขาดเทคนิคและวธิ ีการแกป ญหาในการเรียนการสอน รปู แบบและวธิ ีการสอนไมหลากหลาย สวนในดานผูเรยี นพบวา ขาดทักษะในการแกปญหา เน่อื งจากไมไดรับการฝกทักษะในกระบวนการเรยี นท่ีเปนระบบ ซง่ึ ผูเรยี นน้นั ขาดการฝกฝนที่จะสรา ง องคความรูดว ยตนเอง ทท่ี าํ ใหเกิดกระบวนการแกป ญหาดว ยตัวเอง อกี ท้ังยังขาดการทาํ กิจกรรมกลุมยอยและทักษะการทํางาน รวมกัน ผูเรียนขาดความรบั ผดิ ชอบและมีเจตคตทิ ี่ไมด ีตอ วิชาคณติ ศาสตร จากการศึกษาสภาพปญหาท่ีกลา วมาขา งตน น้ัน ผูวิจัยจึงสนใจท่ีพฒั นาทักษะการแกโจทยป ญ หาทางคณติ ศาสตร ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 4 ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสตกับเกณฑร อยละ 70 ใหน ักเรียนเกิดการเรียนรู อยางมปี ระสิทธภิ าพ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนใหผา นเกณฑท ี่กาํ หนดไว ซึ่งผลทไ่ี ดจากการวิจัยสามารถใชเปน แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชส่อื ประสมตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต และเปนแนวทางสําหรบั ผูท ่สี นใจ ศึกษาคนควา วิจัยในการพฒั นาการเรียนการสอน ที่เนนทักษะกระบวนการแกโจทยปญ หาคณิตศาสตร โดยใชรูปแบบการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการตามแนวคิด Kemmis and McTaggart (1990, อางถงึ ใน ยาใจ พงษบรบิ รู ณ, 2537 : 75) เพือ่ ประโยชนตอ การ พฒั นากิจกรรมการเรยี นรใู นกลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตรใ หมปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น วัตถปุ ระสงค เพอ่ื พัฒนาทักษะการแกโจทยป ญ หาทางคณิตศาสตรข องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท ่ี 4 ที่ไดรับการจัดการเรียนรู ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ตกับเกณฑร อยละ 70 กรอบแนวคิด เนอื้ หาทีใ่ ชในการวิจัย ไดแก เน้ือหากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 4 หนวยการเรียนรทู ี่ 4 เรือ่ ง การคูณจาํ นวนนับที่มากกวา 100,000 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ประกอบดว ยแผนการจัดการเรียนรู 3 แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 6 ชัว่ โมง ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูวิจยั แสดงกรอบแนวคดิ เก่ียวกับทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต ของ ทิศนา แขมมณี (2555 : 290-293) มาประยุกตใ ชเปน ตวั แปรตน ไดแก การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูค ณติ ศาสตรตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสต ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะในการแกโจทยปญหาทางคณติ ศาสตร ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4 โดยแสดงการเชือ่ มโยง ความสัมพันธระหวางตวั แปร ดงั ภาพประกอบ 1 ตัวแปรตน ตัวแปรตาม การจัดการเรยี นรูกลุมสาระการเรียนรู ทักษะในการแกโ จทยป ญหาทางคณิตศาสตร คณิตศาสตรตามแนวคิดทฤษฎีคอน ของนักเรยี น สตรคั ติวิสต ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิด

144 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 วธิ ดี าํ เนินการวจิ ัย 1. กลมุ เปาหมาย กลุมเปา หมายท่ีใชใ นการวิจัย ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ี่ 4 โรงเรียนบา นนาเรียง อาํ เภอทรายมูล จังหวัดยโสธร ทเี่ รียนในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 จาํ นวน 11 คน 2. เคร่ืองมอื ท่ีใชในงานวิจัย 2.1 แผนการจัดการเรียนรตู ามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรคั ติวสิ ต เร่ืองการคูณจาํ นวนนับที่มากกวา 100,000 ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 4 มขี ั้นตอนการสราง ดังนี้ 1) ศกึ ษาเอกสารท่ีเกี่ยวของกับการสรา งแผนการจัดการเรียนรู 2) วเิ คราะหมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวชีว้ ัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 3) กําหนดกจิ กรรมการจัดการเรียนรู โดยยดึ รายละเอียดเกี่ยวกบั มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด และเน้ือหา| ท่จี ะนาํ มาสรา งแผนการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรูต ามแนวคิดคอนทฤษฎีสตรัคตวิ ิสต เปนการจัดนําแนวคิด มีเปาหมายใหนักเรียน สรา งความรูใหม ใหนักเรยี นไดเผชิญปญหา เปด โอกาสใหนักเรียนรูจักคิดและฝก ทักษะการคิดแกปญหาดว ยตนเองเปนสําคัญ โดยการนาํ ประสบการณ ความรู ความเขา ใจและความคิดมาประยุกตใ ชใ นการแกป ญ หาทางคณติ ศาสตร เนนกระบวนการ ทีน่ ักเรียนเปนผูลงมือกระทาํ ใหนักเรียนไดเรียนรเู ปนรายบคุ คล เรียนรเู ปนกลมุ ยอ ย และเรยี นรูร วมกันท้ังชั้นตามแนวคิด ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดงั น้ี ขัน้ ที่ 1 ขั้นนาํ เขา สบู ทเรยี น เปนการสรางความสนใจ เพ่ือใหน ักเรยี นเกดิ ความสนใจใฝเรียนรู ทบทวน ความรูเดิมและแจงจุดประสงค เปนข้ันท่ีนักเรยี นจะไดท ราบเปา หมายในการเรยี นรใู นแตล ะชว่ั โมง และการทบทวนความรเู ดมิ เพื่อจะไดน าํ ไปเชอื่ มโยงหรือสรา งองคความรูใหมตอไป ข้นั ที่ 2 ขั้นฝกทักษะ เปนข้ันทเ่ี สนอปญหาที่นําไปสูความขัดแยง ใหนักเรียนทําความเขาใจ และวางแผน แกป ญหา เปน ขั้นท่ผี ูเรยี นจะไดนําความรทู ่ีไดไ ปประยุกตใชในสถานการณปญหาใหม โดยการทาํ แบบฝกทักษะที่ผวู ิจยั สรา งขึ้น ข้นั ท่ี 3 ข้ันสรปุ ในข้ันนี้นักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายสรุปสาระสาํ คญั เก่ยี วกับเรอ่ื งท่ีเรียน กระบวนการ แกปญหา และเลอื กวิธีการแกป ญหาทด่ี ีท่ีสุด เปน องคความรใู หม และครจู ะชว ยเสริมใหเ ม่อื นกั เรียนสรปุ ไดไ มช ัดเจน นักเรียนสรปุ แนวคิดและกระบวนการแกปญหาในเรื่องทเี่ รียนและครูชวยสรปุ เพ่มิ เตมิ ข้ันท่ี 4 ข้ันการประเมินผล เปนการประเมินความรูความเขา ใจในการแกป ญหาและวิธีการหาคาํ ตอบ ของนักเรียนจากการรว มกิจกรรม จากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการทําแบบฝกทักษะและตรวจสอบวานักเรียนไดผา นเกณฑ ตามท่ีกาํ หนดไว ประเมินจากใบงานแบบสงั เกตพฤติกรรมตาง ๆ และแบบฝกทักษะในการแกป ญ หาในแตล ะแผนจัดการเรียนรู 4) เขยี นแผนการจดั การเรียนรู 5) นาํ แผนการจัดการเรียนรทู ี่เขียนขึ้นไปใหผเู ช่ียวชาญพจิ ารณา เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความสอดคลอง ขององคป ระกอบตาง ๆ ในแผนการจัดการเรียนรู 6) นาํ แผนการจัดการเรยี นรทู ่ีจดั ทําเสร็จเรยี บรอ ยแลวเสนอผูเชี่ยวชาญ เพื่อทาํ การประเมินคุณภาพ และความเหมาะสม 7) วิเคราะหผลการประเมินคณุ ภาพและความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู 8) นาํ แผนการจดั การเรียนรูท่ีไดป รับปรุงแกไขจนสมบูรณแลวไปใชป ระกอบการดาํ เนินการเก็บรวบรวมขอมูล กบั กลุมตวั อยางตอไป 2.2 แบบบนั ทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู มีข้ันตอนในการสรางดังน้ี 1) กําหนดขอบขา ยท่ีจะบันทึก ตามขัน้ ตอนของการจัดการเรียนรู 2) สรา งแบบบันทึกตามขอบขา ยทก่ี าํ หนด 3) นําแบบบันทึกทส่ี รางข้ึนนาํ เสนอตออาจารยทีป่ รกึ ษาวิทยานพิ นธตรวจสอบและใหขอเสนอแนะ 4) ปรับปรงุ แกไขตามทไ่ี ดร ับการเสนอแนะ จัดพิมพเปน ฉบบั ท่ีสมบูรณแลว นําไปใชในการเกบ็ ขอมลู 2.3 แบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี น มขี ้ันตอนในการสรางดงั นี้ 1) กาํ หนดขอบขายประเด็นที่จะใหสังเกต 2) สรางแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนตามขอบขายท่ีกําหนดไว

Journal of Roi Et Rajabhat University 145 Volume 14 No.3 September - December 2020 3) นาํ แบบบันทึกการสังเกตที่สรางขึน้ นาํ เสนอตออาจารยทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ และผูเช่ียวชาญตรวจสอบ และเสนอแนะ 4) ปรับปรงุ แกไขตามทไ่ี ดรบั การเสนอแนะ จดั พิมพเปน ฉบับท่ีสมบูรณแลวนาํ ไปใชในการเกบ็ ขอมูล 2.4 แบบทดสอบวดั ทักษะในการแกโจทยปญ หา ผวู ิจัยดาํ เนินการสรา งแบบทดสอบแบบอัตนยั 5 ขอ เกณฑการใหคะแนน ดังนี้ 1) โจทยกาํ หนดอะไรมาใหบาง และโจทยตองการทราบอะไร (2 คะแนน) 2) มกี ารวางแผนในการหาคาํ ตอบอยางไร (1 คะแนน) 3) หาคาํ ตอบไดโดยวธิ ีใด (1 คะแนน) 4) ตรวจสอบคาํ ตอบไดอยางไร (1 คะแนน) มขี ั้นตอนในการสรางดงั น้ี 1) ศึกษาหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) คูมือ แบบเรยี น และวิธีสรางแบบทดสอบวัดทักษะในการแกปญหา กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร 2) ศกึ ษาจุดประสงคการเรียนรูและเน้ือหาเกี่ยวกบั การแกป ญหา เรื่อง การคณู จาํ นวนนบั ท่ีมากกวา 100,000 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 3) สรางตารางวเิ คราะหเนอื้ หา จุดประสงคการเรียนรทู ี่สอดคลองกับการแกปญหา เรอ่ื ง การคูณจํานวนนับ ทม่ี ากกวา 100,000 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) 4) สรา งแบบทดสอบวัดทักษะในการแกปญหา เรอื่ ง การคณู จํานวนนับท่ีมากกวา 100,000 แบบอตั นยั จํานวน 5 ขอ ใชท ดสอบหลงั จบวงจร 1 ครง้ั จาํ นวน 25 คะแนน 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล ในการวิจยั ครั้งน้ีเปนวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เพือ่ เปนการพัฒนาทักษะการแกโจทยปญหา ทางคณติ ศาสตรข องนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ่ี 4 ที่ไดรบั การจัดการเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎคี อนสตรัคตวิ ิสต ผูวิจัยไดดาํ เนิน ตามข้ันตอนดังน้ี 3.1 ผูวิจัยลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามแผนการจัดการเรียนรูที่กําหนดไว ดําเนินการจัดกิจกรรมตามวงจร 1 วงรอบ ใชเ วลาท้งั หมด 6 ชั่วโมงปฏบิ ัติการตามแนวคิดทฤษฎคี อนสตรัคตวิ ิสตจาํ นวน 3 แผน เวลา 6 ช่ัวโมง มาใชใ นการจดั การเรียน การสอน 3.2 ดําเนินการโดยการนําขอ มูลท่ีรวบรวมไดจ ากการสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนและบันทึกหลงั การจัด กิจกรรมการเรียนรูของผูเรียนมาวิเคราะหและสรปุ ขอมูล เพ่ือนําไปเปน แนวทางปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรวู งจร ปฏบิ ตั ิการตอ4ไ.ปการวเิ คราะหขอมูล การวเิ คราะหข อ มลู ผูว ิจัยไดนาํ ขอ มลู จากการเกบ็ รวบรวมมาวิเคราะหเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ ดงั นี้ 4.1 วิเคราะหขอ มลู เชิงปริมาณ ไดแก การหาคา เฉล่ีย (X̅) และรอยละ โดยการนําคะแนนแบบทดสอบวัดทักษะ การแกโจทยปญหาคณิตศาสตรท ่ีสรางข้นึ มาหาคา เฉลยี่ รอยละ เทียบกบั เกณฑที่กําหนดตง้ั ไว คือ รอยละ 70 และมีจํานวนผูเรียน รอ ยละ 80 ของผูเรยี นท้ังหมดผา นเกณฑ และนาํ มาสะทอนผลการปฏบิ ัตกิ ารเพื่อปรบั ปรงุ แกไขขอบกพรอ งตา ง ๆ ในการเรียน การสอน และเปนแนวทางในการดาํ เนินการในวงจรตอ ไป 4.2 วเิ คราะหข อ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เปน การแจกแจงขอคนพบที่สําคัญในเชิงอธบิ ายความ ทไ่ี ดจากการบันทึกการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู แบบบันทึกการสะทอนผลการใชแผนการจดั การเรียนรู การสัมภาษณผเู รียน แบบฝกทักษะ และแบบทดสอบทายวงจร นาํ ผลสะทอนผลการปฏิบัติมารวมวิเคราะหและอภปิ รายผล สรุปเปนผลงานวิจัย เพอ่ื แสดงใหเห็นแนวทางหรอื รูปแบบการปฏบิ ัติที่มปี ระสิทธิภาพ นําขอมลู ท่ีไดจ ากแบบบันทึกหลังการจัดการเรยี นรูของครู มาวิเคราะห ตีความ สรปุ ความ และนํามาสะทอนผลการปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นการสอน เพอื่ ปรับปรงุ แกไ ขขอบกพรอ งตาง ๆ และเปนแนวทางในการปฏบิ ตั ิการวิจัยหรอื ดาํ เนินการในครง้ั ตอไป

146 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 สรปุ ผล หลงั จากเสร็จสิ้นกระบวนการจดั การเรียนรแู ลวไดท าํ การทดสอบทา ยวงจร โดยใชแบบทดสอบทผ่ี ูวิจัยสรา งขึ้น เปนแบบทดสอบแบบอตั นยั จาํ นวน 5 ขอ เปนแบบทดสอบท่วี ัดทักษะการแกโจทยปญหาโดยใหนักเรียนทําความเขาใจโจทย และตอบคาํ ถามวาโจทยกําหนดอะไรมาใหบ า ง และโจทยตอ งการทราบอะไร มีการวางแผนในการหาคําตอบอยางไร สามารถ หาคําตอบไดโดยวธิ ีใด และมวี ิธีการตรวจสอบคาํ ตอบไดอ ยางไร ใหแสดงวิธีการแกป ญหาและการหาคาํ ตอบ ไดผ ลการทดสอบ ดงั นี้ ตาราง 1 ผลการทดสอบทา ยวงจร ขอสอบแบบอัตนัย จํานวน คะแนน คะแนน สงู สุด คะแนนของนักเรียน จาํ นวนนกั เรียน นักเรียน เตม็ ท่ี 25 ต่ําสุด รวม เฉล่ีย ทผี่ า นเกณฑ ทั้งหมด รอยละ จาํ นวน รอยละ ผา น 11 เกณฑ 15 218 19.81 79.27 8 72.72 70% 25 17.5 จากตาราง 1 พบวาผลการทดสอบทา ยวงจร เปนการทดสอบวัดความรูความเขา ใจทางคณิตศาสตร คะแนนเตม็ 25 คะแนน นักเรยี นทาํ คะแนนไดสงู สุด 25 คะแนน คะแนนต่าํ สดุ 15 คะแนน รวมคะแนนทงั้ หมด 218 คะแนน คะแนนเฉล่ยี 19.81 คดิ เปนรอ ยละ 79.27 มีนักเรียนผานเกณฑที่กาํ หนดไวคอื รอยละ 70 จาํ นวน 8 คน คิดเปนรอยละ 72.72 ของจาํ นวน นักเรียนท้ังหมด สรุปตามจุดประสงค 1. ความสามารถในการแกโจทยปญ หาทางคณิตศาสตรข องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4 ท่ไี ดร ับการจัดการเรียนรู ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต พบวา นักเรยี นทาํ คะแนนไดสูงสุด 25 คะแนน คะแนนต่าํ สุด 15 คะแนน รวมคะแนนทงั้ หมด 218 คะแนน คะแนนเฉลี่ย 19.81 คดิ เปนรอ ยละ 79.27 2. ความสามารถในการแกโจทยปญหาตามเกณฑร อ ยละ 70 พบวานักเรียนผา นเกณฑที่กําหนดไว คือ รอยละ 70 จาํ นวน 8 คน คิดเปนรอยละ 72.72 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด อภปิ รายผล 1. ผลการศึกษาความสามารถในการแกโจทยปญหาทางคณติ ศาสตรของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ทไี่ ดรบั การจัดการเรยี นรูตามแนวคดิ ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวขอ งพบวา การนาํ รูปแบบการวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ มาเพ่ือพัฒนาทักษะการแกโจทยป ญหาทางคณิตศาสตร ที่ไดรับการจดั การเรียนรูตามแนวคดิ ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสต โดยใชแผนการจัดการเรยี นรู นักเรียนเกิดการเรยี นรแู ละมีทักษะในการแกโจทยป ญ หา สามารถพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ไดต ามเกณฑท่ีกาํ หนดไว และมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ไดแก มีความม่ันใจและภูมใิ จในตนเอง กลาแสดงออก แสดงความคิดเห็น ดวยเหตุดว ยผล ยอมรบั ฟงความคิดเห็นของคนอ่ืน มีทักษะในการทํางานกลมุ รูจ ักบทบาทหนาทีข่ องตนเอง มคี วามรบั ผิดชอบ มีระเบียบวินัยในการทาํ งาน และในการอยูรวมกัน และมีเจตคติทีด่ ีในการเรียนคณติ ศาสตร ในการพัฒนาทักษะการแกโจทยปญหา พบวา นกั เรียนไดด าํ เนินการแกโจทยปญ หาตามกระบวนการแกปญหา 4 ขนั้ ตอน ไดแก 1) ข้ันทําความเขาใจปญ หาหรือวิเคราะห โจทยป ญหาเปนขั้น ในการพิจารณาดวู ามีสง่ิ ใดบา งที่เปนสาเหตุสาํ คัญของปญ หา หรือสิ่งใดบา งท่ีไมใ ชสาเหตุท่ีสาํ คญั ของปญหา 2) ขั้นวางแผนในการแกโจทยป ญ หา เปนข้ันท่หี าความสัมพันธระหวางส่ิงทีโ่ จทยบ อก กบั ส่ิงท่ีโจทยถ าม คนหาทฤษฎี กฎ สูตร นิยาม เพ่อื นํามาใชวางแผนในการแกปญหา 3) ข้ันดําเนินการแกโจทยป ญหาเปนข้ันตอนทล่ี งมือปฏบิ ัตติ ามท่ีวางแผนไว เปนการลงมอื แกป ญ หา คิดหาวธิ ีการ เทคนิคเพื่อแกปญหาและกําหนดขั้นตอนยอ ยของการแกปญหาไวอยางเหมาะสม และ 4) ข้ันตรวจสอบคาํ ตอบ เปนขน้ั ที่ตรวจสอบการดําเนินการแกปญหาท้ังหมด และไดผลเปนไปตามท่ตี อ งการครบถว นหรือไม

Journal of Roi Et Rajabhat University 147 Volume 14 No.3 September - December 2020 ซึ่งสอดคลอ งกับกระบวนการแกป ญหาตามแนวคดิ ของ Polya (1973 : 40) ซึง่ ประกอบดวยขั้นตอนสําคญั 4 ข้ันตอน ไดแก ขน้ั ท่ี 1 ขั้นทําความเขา ใจปญหา เปน ขั้นเริ่มตนของการแกป ญ หา ผูทตี่ องการแกป ญหา หรอื นักเรยี นตองวิเคราะหใหไ ดว า ปญ หานั้นกําหนดส่งิ ใดใหบ าง และตองการใหหาอะไร สิ่งที่กาํ หนดให ข้ันที่ 2 ขั้นวางแผนแกปญ หา ผูท่ีตองการแกป ญหา หรือนักเรียนตอ งเชื่อมโยง ความสัมพันธระหวางสิง่ ท่ีกาํ หนดใหก ับส่ิงทีต่ องการหา จะดาํ เนินการหาคาํ ตอบของปญหาน้นั ไดอ ยางไร โดยเลอื กกลยทุ ธท ่จี ะนํามาใชแกปญหา ข้ันท่ี 3 ขั้นดําเนินการตามแผน ขั้นนี้ลงมือปฏิบัติการแกปญหาตามแนวทาง หรอื กลยุทธท่ีไดเลอื กไว จนกระท่ังหาคําตอบของปญหาน้ันได ขั้นท่ี 4 ขัน้ ตรวจสอบ นาํ คาํ ตอบท่ีหาไดไปตรวจสอบความถูกตอง โดยการทํายอนกลับจากคาํ ตอบไปสสู ิ่งที่กาํ หนดให วามคี วามสมเหตุสมผลหรอื ไม 2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการแกโจทยปญหาของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที่ 4 ทไ่ี ดร ับการจัดการเรียนรู ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรคั ติวสิ ต พบวา นักเรยี นทําคะแนนไดส ูงสุด 25 คะแนน คะแนนตํา่ สุด 15 คะแนน รวมคะแนนทัง้ หมด 218 คะแนนคะแนนเฉลี่ย 19.81 คดิ เปนรอ ยละ 79.27 มนี ักเรียนผานเกณฑท ี่กําหนดไว คือ รอ ยละ 70 จาํ นวน 8 คน คิดเปน รอ ยละ 72.72 ของจํานวนนักเรียนท้งั หมด ซงึ่ การจัดการเรยี นรูต ามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต เปนการจัดนําแนวคดิ มีเปาหมายใหนักเรียนสรา งความรูใหม ใหนักเรียนไดเผชิญปญหา เปดโอกาสใหนกั เรยี นรูจักคิด และฝกทักษะการคดิ แกป ญ หา ดวยตนเองเปนสาํ คัญ โดยการนําประสบการณ ความรู ความเขา ใจและความคิดมาประยกุ ตใชใ นการแกปญหาทางคณติ ศาสตร เนนกระบวนการที่นักเรียนเปนผูล งมอื กระทาํ ใหนักเรยี นไดเ รียนรูเปนรายบุคคล เรียนรูเปนกลุมยอ ย และเรียนรรู วมกันท้ังชั้น ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ สิ ต โดยมขี ัน้ ตอน 4 ขั้นตอน ดงั นี้ไดแก 1) ข้ันนําเขา สบู ทเรียน เปนการสรา งความสนใจ เพ่ือใหนักเรียนเกิดความสนใจใฝเ รียนรู ทบทวนความรูเดิมและแจงจุดประสงค เปนข้ันท่ีนักเรียนจะไดท ราบเปาหมายในการเรียนรู ในแตละชั่วโมงและการทบทวนความรเู ดิม เพื่อจะไดนําไปเช่ือมโยงหรอื สรางองคความรใู หมตอ ไป 2) ข้ันฝก ทักษะ เปนขั้นที่เสนอ ปญหาท่ีนาํ ไปสูความขัดแยง ใหนักเรียนทาํ ความเขาใจและวางแผนแกป ญหา เปนข้ันที่ผเู รียนจะไดนาํ ความรทู ่ีไดไปประยุกต ใชในสถานการณป ญหาใหม โดยการทาํ แบบฝกทักษะท่ีผวู ิจัยสรางขึ้น 3) ขั้นสรปุ ในข้ันนี้นักเรียนทุกคนรว มกันอภิปรายสรุป สาระสําคญั เกี่ยวกับเรอื่ งที่เรียน กระบวนการแกป ญ หา และเลือกวิธีการแกปญหาท่ีดที ีส่ ุด เปนองคความรูใหม และครูจะชวย เสรมิ ใหเมือ่ นักเรียนสรุปไดไมช ดั เจน นักเรียนสรุปแนวคิดและกระบวนการแกปญหาในเรื่องทีเ่ รียนและครชู วยสรุปเพิ่มเติม 4) ข้นั การประเมินผล เปนการประเมินความรูความเขาใจในการแกปญหา และวิธีการหาคาํ ตอบของนักเรียนจาการรวมกิจกรรม ซ่งึ สอดคลองกับงานวิจัยของทิศนา แขมมณี (2555 : 290 - 293) ลําดบั ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎี คอนสตรคั ตวิ ิสต มี 3 ข้ันตอนดังน้ี 1) ขน้ั นาํ เขา สูบทเรยี น เปนข้ันเตรยี มความพรอ มของนักเรียนโดยการทบทวน ความรูเดิม ครูพยายามกระตุนใหนักเรยี นระลึกถึงประสบการณเ ดิม ท่ีเกยี่ วขอ งและไมเกี่ยวขอ ง 2) ขัน้ สอน เปนข้ันสรา งความขดั แยง ทางปญ ญา ครูเสนอปญหาคณติ ศาสตรที่นําไปสูการสรา งโครงสรา งทางปญ ญาดังกลาว เปน ปญหาทไ่ี มเ ขากบั มโนทัศน การคํานวณหรือการแกโ จทย 3) ขัน้ สรปุ ในขั้นน้ีนักเรียนทุกคนรว มกันอภิปรายสรปุ สาระสําคญั เก่ียวกบั เรื่องท่ีเรียน กระบวนการแกป ญ หา และเลือกวิธีการแกปญหา 4) ขั้นการประเมินผล ประเมินจากใบงานแบบสงั เกตพฤติกรรมตา ง ๆ และแบบฝกทักษะในการแกป ญหาในแตละแผนจัดการเรยี นรู ขอ เสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 การจดั กิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสตที่เนนทักษะการแกโจทยป ญ หาทางคณิตศาสตร ควรเริ่มจากการสรางสถานการณปญหาท่นี ักเรียนคุนเคย และเก่ียวของกับสถานการณในชวี ิตประจําวัน ตอ งเปดโอกาสใหผูเรียน ไดฝก ฝนทกั ษะตา ง ๆ ทีใ่ ชในการแกปญหา เชน ทักษะการอา น การแปลความ/ทําความเขาใจสถานการณ การวิเคราะหส ถานการณ หรือประเด็นปญหา รวมท้งั การหารูปแบบแนวคดิ ในการแกปญหา ดาํ เนินการแกป ญหา และตรวจสอบความเปน ไปไดข องคําตอบ ดวยตวั เองอยา งสมาํ่ เสมอ ซึง่ จะทําใหนักเรียนไดพฒั นาทักษะการแกปญหาแตล ะปญหาดวยวิธที ี่หลากหลาย 1.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคตวิ ิสตที่เนนทักษะการแกโจทยปญ หาทางคณิตศาสตร สถานการณป ญหาท่สี รา งข้ึนหรือนํามาใช ควรเปนสถานการณท ่เี หมาะสมกับความสามารถตามศักยภาพของนักเรียนแตล ะคน หรือแตล ะกลมุ 2. ขอ เสนอแนะในการทาํ วจิ ัยครั้งตอไป 2.1 ควรนาํ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรทู ่ีเนนทักษะการแกโจทยป ญหาทางคณติ ศาสตรตามแนวคิดทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต ไปใชในการจัดการเรยี นรูกลมุ สาระการเรียนรูค ณิตศาสตรในสาระการเรียนรอู ่ืน ๆ

148 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 2.2 ควรนําแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู ท่ีเนนทักษะการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตรตามแนวคดิ ทฤษฎคี อนสตรัคติวิสต ไปใชในการจัดการเรียนรูกลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตรในชั้นเรียนอื่น ๆ ในสาระการเรียนรูเ ดียวกัน หรือสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ 2.3 ควรนํากิจกรรมการเรียนรทู ่ีเนนทักษะการแกโจทยปญ หาทางคณิตศาสตร ตามแนวคิดทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ ิสต ไปใชใ นการวิจยั อยา งตอ เน่ืองทุกระดบั ช้ัน ในการพัฒนากิจกรรมการเรยี นรกู ลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร เอกสารอางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางกลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช ุมนมุ สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย. ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตรการสอน : องคความรเู พื่อการจดั กระบวนการเรียนรูที่มปี ระสิทธิภาพ (พิมพครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. โรงเรียนบา นนาเรียง. (2561). งานวชิ าการโรงเรยี นบา นนาเรียง. ยโสธร: ทรายมูลโฟโต. สาํ นักเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค จาํ กัด. สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2555). ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร .กรุงเทพฯ: ส เจริญการพิมพ. ยาใจ พงษบ ริบรู ณ. (2537). เอกสารประกอบคาํ บรรยาย “การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ รูปแบบเพอื่ พฒั นาการเรยี นรู”. ขอนแกน: มหาวิทยาลยั ขอนแกน. Polya, G. (1973). How to solve it : A New Aspect of Mathematical Method. New Jersey: N.J Princeton.

Journal of Roi Et Rajabhat University 149 Volume 14 No.3 September - December 2020 แนวทางการพัฒนาโฮมสเตยเพ่อื สง เสริมการทอ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศกึ ษา ยานเมอื งเกา บานสงิ หทา อาํ เภอเมอื ง จังหวัดยโสธร Development Guidelines for Cultural Tourism Promotion : A Case Study of Ban Singha Tha Old Town, Mueang District, Yasothon Province นรีรตั น ธงภักดิ์1 และ โอชัญญา บัวธรรม2 Received : 7 มี.ค. 2563 Nareerat Thongphuk1 and Ochanya Buatham2 Revised : 6 เม.ย. 2563 Accepted : 7 เม.ย. 2563 บทนาํ การวิจัยน้ี มีวตั ถุประสงคเ พื่อ1) ศึกษาบริบทและศักยภาพของโฮมสเตยใ นชุมชนยานเมอื งเกาบานสงิ หทา 2) ศึกษาการมสี วนรว มของชุมชนในการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตย 3) เสนอแนวทางการพฒั นาโฮมสเตยของชุมชนยานเมอื งเกา บานสิงหท า เพื่อสงเสรมิ การทอ งเท่ียวในอาํ เภอเมือง จังหวดั ยโสธร การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบผสมผสาน กลุมตวั อยา ง เชงิ ปริมาณ ไดแก นักทองเท่ียวชาวไทยท่ีเดินทางมาทอ งเที่ยวที่ยานเมืองเกา บานสิงหทา จาํ นวน 364 คน และกลุมตัวอยา ง เชงิ คณุ ภาพ ไดแก ตัวแทนหนว ยงานภาครฐั ตวั แทนหนวยงานเอกชน ตัวแทนชุมชน จาํ นวน 15 คน เครอ่ื งมือที่ใชในการศึกษา ไดแ ก แบบสอบถามและแบบสมั ภาษณก ง่ึ โครงสรา ง สถิติที่ใชใ นการวเิ คราะหข อมูล ไดแก รอ ยละ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการใชแนวคิด SWOT ผลการวิจัยพบวา บรบิ ทและศักยภาพของโฮมสเตยในชมุ ชนยานเมอื งเกา บานสงิ หทา มี 10 ดา น ไดแ ก 1) ดา นทพี่ ัก 2) ดานอาหารและโภชนาการ 3) ดา นความปลอดภัย 4) ดานอัธยาศยั ไมตรขี องเจา ของบาน 5) ดานรายการนาํ เทย่ี ว 6) ดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ ม 7) ดา นวฒั นธรรม 8) ดา นการสรางคณุ คา และมูลคา ผลติ ภัณฑ 9) ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 10) ดา นประชาสัมพันธ โดยรวมอยูในระดับมาก การมีสว นรวมของชมุ ชน ในการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตย มี 4 ดา น ไดแก การตดั สินใจ การดําเนนิ การ การรบั ผลประโยชน และการตดิ ตามประเมินผล เม่ือนาํ ขอ มูลเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพมาวเิ คราะหรว มกัน สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาโฮมสเตยข องชุมชน โดยผูประกอบการจะตองปรบั ปรงุ ท่พี ักของตนใหส ะอาด ปลอดภัย มีความเปนเจาบานที่ดี มีรายการนําเทย่ี วทท่ี นั สมัย อนุรักษว ฒั นธรรมและส่งิ แวดลอ ม พัฒนารปู แบบผลิตภัณฑท อ งถิ่นใหมีความหลากหลาย เพือ่ ใหชุมชนสามารถนําไป ประยุกตใชใ นการพัฒนาการทองเทยี่ วตอไปในอนาคต คาํ สาํ คญั : ศกั ยภาพของโฮมสเตย, การมีสวนรว มของชุมชน, เมืองเกาบา นสงิ หทา Abstract The purposes of this study were 1) to examine the local context and potential of the homestays in Ban Singha Tha old town, 2) to observe the local community participation in developing the potential of homestay and 3) to provide guidelines for homestay development in Ban Singha Tha old town in order to promote the cultural tourism of Mueang district, Yasothon province. This study was conducted in the manner of a mixed method research. A questionnaire was used to collect qualitative data with a sample group of 364 Thai tourists who came to visit Ban Singha Tha old town. Moreover, a semi-structured interview form was used for collecting qualitative data with a sample group of 15 participants from government organizations, private sectors, and local people. The statistics used for analyzing the data 1 นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท สาขาวิชาการจัดการทองเทยี่ วและโรงแรม คณะการทองเท่ียวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อเี มล: [email protected] 2 ดร.อาจารย คณะการทองเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 1 Master Student Program in Tourism and Hotel Management, Faculty of Tourism and Hotel Management, Mahasarakham University, Email: [email protected] 2 Dr., Lecturer in Faculty of Tourism and Hotel Management, Mahasarakham University

150 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 were percentage, mean, standard deviation and SWOT analysis was employed for analyzing the qualitative data. The result of this research was divided into three aspects: Firstly, context and the potential of the homestays were managed in 10 aspects: 1) accommodation, 2) food and nutrition, 3) safety, 4) friendly hospitality, 5) tour programs, 6) natural resources and environment, 7) culture, 8) creating product value, 9) community management of the homestay group, and 10) public relations. In addition, homestays’ potential in Ban Singha Tha old town was generally rated at a high level. Secondly, the community participated in developing the potential of homestay in four areas: decision making, management, benefits, and evaluation. For guidelines to develop homestays of the Ban Singha Tha old town including the following: the business owners were required to improve and renovate their accommodations with sanitation and safety as well as they should be a friendly and nice host. The touring program should be updated and preserve the culture and environment. It was also necessary to improve the quality and create diversity of local products. These guidelines would allow the community to define their own direction for tourism development in the future. Keywords : Homestay Potential, Community Participation, Ban Singha Tha Old Town บทนํา การทองเท่ียวของประเทศไทยมีการเตบิ โตข้ึนอยา งตอ เนอ่ื ง แมสถานการณใ นประเทศเตม็ ไปดวย ความไมแนนอน มคี วามไมม่ันคงทางการเมือง อีกท้ังอตุ สาหกรรมการทอ งเที่ยวของประเทศไทยเปน ฟนเฟอ งทส่ี ําคญั ในการผลักดนั เศรษฐกิจ ของประเทศ ใหเตบิ โตไปไดในทา มกลางสถานการณด ังกลาวนี้ จากการแถลงขา วรายงานภาวะเศรษฐกิจทอ งเท่ียว ฉบบั ท่ี 7 (เดือนมกราคม–มีนาคม พ.ศ. 2560) การทองเที่ยวภายในประเทศสามารถสรา งรายไดใหแกประเทศไดสูงถึง 2.3 แสนลา นบาท และมีอตั ราการขยายตวั รอยละ 6.53 จากชว งเวลาเดียวกันของปท ่ผี านมา (สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา, 2560 : 4-5) จากการขยายตวั ดงั กลาวทุกภาคสว นจะตองคาํ นงึ ถงึ การใชทรพั ยากรใหคุมคาและตอ งมีการจัดการทรพั ยากร ทม่ี ีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด เน่ืองจากทรัพยากรการทองเท่ียวนับเปนสินคาทางการทอ งเที่ยวที่มคี วามสําคญั เปนหวั ใจ ของอุตสาหกรรมทองเทยี่ ว (ฉันทชั วรรณถนอม, 2552 : 21-22) ดงั น้ันประเทศไทยจะตองเตรยี มพรอมรองรับผลกระทบ ท่อี าจจะเกิดขึ้น การทองเท่ียวไดนําเอาวฒั นธรรมมาเปนจดุ ขาย เพื่อดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวชาวตา งประเทศท่ีสนใจ จะเรยี นรวู ฒั นธรรม มรดกทางประวัตศิ าสตร เย่ียมชมงานสถาปตยกรรม และสัมผัสวถิ ีชีวติ ความเปนอยู รวมถงึ ซอ้ื ของที่ระลึก ทีเ่ ปนงานหัตถกรรมและงานฝม อื ท่ีเกิดจากภมู ิปญญาของคนในประเทศนนั้ การทองเท่ียวในลักษณะดังกลา วนี้เราเรียกวา การทองเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม (ไกรฤกษ ปนแกว , 2555 : 1-5) ซึ่งประเทศไทยมีแหลง ทองเทีย่ วเชิงวฒั นธรรมมากมาย “โฮมสเตย” เปนการทอ งเท่ียวรปู แบบหน่ึง ที่นักทอ งเท่ียวจะตอ งพักรวมกับเจาของบา นชายคาเดียวกัน โดยมีหอ งพกั หรอื พื้นทใ่ี ชสอย ภายในบา นเหลือสามารถนํามาดัดแปลงใหนักทอ งเที่ยวพักไดช่วั คราว ซง่ึ มีจาํ นวนไมเกิน 4 หอง มผี พู ักรวมกันไมเกิน 20 คน โดยมคี า ตอบแทนและจดั บรกิ ารส่งิ อาํ นวยความสะดวกตามสมควร (กรมการทอ งเท่ยี ว, 2554 : 59-63) โดยการจัดสรรพ้ืนท่ี บา นพักเพื่อบริการนักทองเท่ียว แตย ังคงไวซึ่งความเปนเอกลักษณวัฒนธรรมประจําถ่นิ ภายใตศักยภาพและการยอมรับ ของชุมชน เพอื่ ใหน ักทองเที่ยวไดเ รียนรวู ถิ ีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชน (การทองเทย่ี วแหง ประเทศไทย, 2552 : 5-7) จังหวัดยโสธรก็เปนจังหวัดหนึ่งทีม่ ีทรพั ยากรการทอ งเท่ียวท่ีโดดเดน ในดานประวัติศาสตร วฒั นธรรมประเพณี วิถชี ีวติ อกี ทง้ั ยังมีสถานท่ที อ งเท่ียวที่นา สนใจมากมาย เชน วัดมหาธาตุ วัดพระพุทธบาทยโสธร พระธาตุกองขา วนอย แหลง โบราณคดี ยานเมืองเกา ชุมชนบานสงิ หทา และยังมีประเพณที ่ีมีความนาสนใจ เชน ประเพณบี ญุ บัง้ ไฟ เปนตน (การทองเทีย่ วแหง ประเทศไทย, 2554 : 98) จากสถิติของภาคการบริการและการทองเท่ียวของจังหวัดยโสธร พบวา ในระหวาง ป 2554-2558 มจี ํานวนนักทอ งเที่ยวเพิม่ ข้ึนและรายไดจากการทองเที่ยวมีจาํ นวนเพิ่มขึ้นดว ยเชนกัน โดยในป 2554 มีจํานวน นักทองเท่ียว 433,652 คน มีรายได 492.95 ลานบาท และในป 2558 นักทอ งเท่ียวเพิ่มข้ึนเปน 513,244 คน มีรายไดเพ่ิมขึ้นเปน 609.18 ลานบาท (สาํ นักงานจังหวัดยโสธร, 2560 : ออนไลน) ชุมชนบา นสิงหทา เปนยานเมืองเกาทป่ี รากฏนามอยูในประวัติศาสตร การกอต้งั เมอื งปจจุบัน บรเิ วณนีย้ ังคงมีตึกแถวโบราณท่ีมรี ูปทรงและลวดลายงดงามและไดรบั การอนุรกั ษไวเปนอยา งดี

Journal of Roi Et Rajabhat University 151 Volume 14 No.3 September - December 2020 นอกจากน้ี ยานเมอื งเกา บา นสงิ หทา เหมาะแกการทองเท่ียวดา นศิลปวัฒนธรรมพ้ืนเมอื ง เปนยา นการคา ตงั้ แตสมัยโบราณ และไดเจรญิ รุง เรืองขึ้นในสมัยฝร่งั เศสเขามามีอทิ ธพิ ลในภมู ภิ าคนี้ จึงมีการนําเขาชางฝมือจากเวียดนามจาํ นวนมากเขามาสรา ง บา นเรอื น ทําใหบ า นเรือนในชุมชนนี้มีรปู แบบศิลปกรรมแบบจีนผสมยุโรป งดงามแบบชิโนโปรตุกีส (การทองเที่ยวแหง ประเทศ ไทย, 2560 : ออนไลน) จากสภาพปจจุบัน ยานเมอื งเกาบา นสิงหท าไดเปดบริการโฮมสเตยสําหรับนักทอ งเท่ียว ซ่ึงสมาชิกในชุมชนไดรว มกนั จัดกิจกรรมอยางตอเน่อื ง เชน การเปดใหบ ริการที่พักแบบโฮมสเตย การจัดถนนคนเดินและกิจกรรมทองเที่ยวภายในชุมชน อีกท้งั บา นสิงหทา ยังอยูใกลแหลงทองเทย่ี วทางวัฒนธรรม อาทิ วัดสิงหทา วัดมหาธาตุ และศาลเจาพอ หลักเมือง ซ่งึ เปนสถานท่ี สาํ คญั ทางศลิ ปวัฒนธรรม อยา งไรก็ตามนกั ทองเที่ยวที่เดินทางมาทอ งเท่ียวท่ียา นเมืองเกา บา นสงิ หทายงั มีจํานวนนอย จากสถิติ ของชมรมอนุรักษมรดกยโสธร เมอ่ื เทียบกับปที่ผานมา (ชมรมอนุรักษมรดกยโสธร, 2559 : 89) ซง่ึ อาจจะเกิดจากการประชาสัมพันธ และสง เสริมการทองเที่ยวท่ีไมตอ เนื่อง ทําใหไ มเปนที่สนใจของนกั ทองเที่ยวมากนัก อีกทง้ั ยังขาดความรว มมือในชุมชนและภาครฐั ในการพฒั นาศักยภาพของโฮมสเตยใ นชุมชนอยา งจรงิ จัง จากขอมูลทกี่ ลา วมาขา งตน ผูวิจยั จึงสนใจศกึ ษาบรบิ ทของชุมชน รวมทั้งการมสี ว นรวมของชุมชนในการพัฒนาศักยภาพโฮมสเตย 4 ดาน ไดแ ก ดานการตัดสินใจ ดานการดาํ เนินการ ดา นการรบั ผลประโยชน ดา นการตดิ ตามประเมินผล และศักยภาพของโฮมสเตยยา นเมืองเกาบานสงิ หทา อําเภอเมอื ง จังหวัดยโสธร เพอ่ื สง เสริมการทอ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมทงั้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นาโฮมสเตยยานเมืองเกา บา นสิงหทา อาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธร และหนวยงานตา ง ๆ หรอื ชุมชนที่มบี ริบทใกลเคียงกันสามารถนําไปประยุกตใชเ ปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ โฮมสเตยข องตนตอ ไป วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ศกึ ษาบรบิ ทและศักยภาพของโฮมสเตยในชมุ ชนยา นเมืองเกาบานสงิ หท า อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร 2. เพ่ือศกึ ษาการมีสวนรว มของชุมชนในการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตยข องชุมชนยา นเมอื งเกา บานสงิ หท า อําเภอเมือง จงั หวัดยโสธร 3. เพ่ือเสนอแนวทางการพฒั นาโฮมสเตยข องชุมชนยานเมอื งเกา บานสิงหทา เพื่อสงเสริมการทอ งเท่ียว ในอําเภอเมอื ง จงั หวัดยโสธร กรอบแนวคดิ ท่ใี ชในการวิจัย ผูว ิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีจากตาํ รา เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ งเพอื่ สังเคราะหเปนกรอบแนวคดิ ดงั น้ี สํานักงานพฒั นาการทองเที่ยว (2551 : 1-3) และ Cohen and Uphoff (1981 : 22) ดังแสดงในภาพประกอบ ศักยภาพของโฮมสเตย แนวทางการพฒั นาโฮมสเตย 1. ดา นที่พัก 6. ดานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพอื่ สง เสรมิ การทอ งเท่ยี ว 2. ดา นอาหารและโภชนาการ 7. ดานวฒั นธรรม เชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา 3. ดา นความปลอดภัย 8. ดานการสรา งคุณคา และมลู คา ของผลิตภัณฑ ยานเมอื งเกา บา นสิงหทา 4. ดานอธั ยาศัยไมตรีเจา ของบา น 9. ดา นการบริหารของกลุม โฮมสเตย อําเภอเมือง จงั หวดั ยโสธร 5. ดา นรายการนําเที่ยว 10. ดานประชาสัมพันธ การมสี วนรว มของชุมชน 1. ดา นการตัดสินใจ 2. ดานการดําเนินการ 3. ดา นการรับผลประโยชน 4. ดานการตดิ ตามประเมินผล ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย

152 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 วธิ ดี ําเนนิ การวิจัย 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง 1.1 ประชากรทใี่ ชใ นการวจิ ัย ไดแ ก นักทอ งเที่ยวชาวไทยท่ีเดินทางมาทองเท่ียวที่ยานเมืองเกา บา นสงิ หท า อาํ เภอเมือง จงั หวดั ยโสธร จํานวน 7,000 คน (ชมรมอนรุ ักษมรดกยโสธร, 2560 : 45) 1.2 กลุมตัวอยา งท่ใี ชในการวจิ ัยไดม ีการกําหนดกลุมตัวอยา งออกเปน 2 กลุม คอื 1.2.1 กลมุ ตัวอยา งเชิงปริมาณ ที่ใชใ นการวิจัย ไดแก นักทองเท่ียวชาวไทยท่เี ดินทางมาทอ งเท่ียวในชุมชน ยา นเมอื งเกา บา นสิงหทา อําเภอเมอื ง จงั หวดั ยโสธร จํานวน 364 คน โดยเปด ตารางเครซี่ และมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 : 607-610) และใชวธิ ีการสุมตวั อยางแบบตามสะดวก (Convenience Sampling Random) 1.2.2 กลมุ ตัวอยา งเชิงคณุ ภาพทใ่ี ชใ นการวิจยั ไดแก ตัวแทนหนวยงานภาครฐั จํานวน 5 คน ประกอบดว ย ทอ งเท่ียวและกฬี าจังหวัดยโสธร 1 คน นักวิเคราะหน โยบายและแผน (กลุม สงเสริมและพัฒนาการทอ งเที่ยว) 1 คน เจาหนาท่ี ประจาํ ศนู ยชวยเหลอื นักทอ งเทยี่ ว 1 คน นักวิชาการวฒั นธรรม 1 คน และนักพฒั นาชุมชน 1 คน ตัวแทนหนว ยงานเอกชน จํานวน 5 คน ประกอบดวย ประธานชมรมอนุรักษม รดกยโสธร 1 คน และคณะกรรมการฯ ชมรมอนุรักษมรดกยโสธร 4 คน ตัวแทนชุมชน จาํ นวน 5 คน ประกอบดวย ประธานชุมชน 1 คน ผูดแู ลโฮมสเตยใ นชุมชน 3 คน มคั คุเทศกทองถิ่น 1 คน ไดมาโดยวธิ สี มุ แบบเจาะจง (Purposive sampling) 2. เคร่ืองมือท่ีใชใ นการวจิ ัย เคร่อื งมือที่ใชในการวิจัยในครงั้ น้ี ผูวิจัยไดใชแ บบสอบถาม (Questionnaire) และแบบสัมภาษณก ่ึงโครงสราง (Semi-Structured Interview) ดงั รายละเอียดตอ ไปนี้ 2.1 แบบสอบถาม (Questionnaire) ตอนท่ี 1 ขอมลู ทัว่ ไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไดตอ เดอื น อาชพี ภมู ิลําเนา สถานภาพ ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) จาํ นวน 5 ขอ ตอนท่ี 2 ศักยภาพของโฮมสเตยยานเมืองเกา บา นสงิ หท า อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร ประกอบดว ย 10 ดาน ไดแก ดานทีพ่ ัก ดา นอาหารและโภชนาการ ดานความปลอดภัย ดา นอธั ยาศัยไมตรเี จา ของบา น ดา นกิจกรรมทอ งเท่ยี ว ดานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ดา นวฒั นธรรม ดานการสรางคณุ คา และมลู คา ของผลิตภัณฑ ดา นการบริหาร ของกลุม โฮมสเตย ดานประชาสัมพันธ มีลักษณะเปนมาตราสว นประเมินคา มี 5 ระดับ (Rating Scale) จาํ นวน 33 ขอ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ขอเสนอแนะในการพัฒนาโฮมสเตยของชมุ ชนยา นเมอื งเกา บานสิงหท า อําเภอเมือง จังหวดั ยโสธร ซง่ึ มีลักษณะเปนคําถามแบบปลายเปด (Open-ended Questions) 2.2 แบบสมั ภาษณช นดิ ก่งึ โครงสราง (Semi-Structured Interview) ใชส ําหรับสัมภาษณตัวแทนหนวยงาน ภาครัฐ ตวั แทนหนว ยงานเอกชน และตัวแทนชุมชนยานเมืองเกา บา นสิงหท า เกี่ยวกับการมีสว นรวมของชุมชนในการพฒั นา ศักยภาพโฮมสเตยข องชุมชนยานเมอื งเกา บานสิงหท า อาํ เภอเมือง จงั หวดั ยโสธร ประกอบดวย ดานการตัดสนิ ใจ ดา นการ ดําเนินการ ดา นการรบั ผลประโยชน การติดตามประเมินผล ลักษณะแบบสัมภาษณเปนแบบคาํ ถามปลายเปด (Open - Ended Question) เพอื่ นาํ ขอ มลู ที่ไดมาประกอบการเสนอแนะแนวทาง ทางการพฒั นาโฮมสเตยของชมุ ชนยา นเมืองเกาบานสงิ หทา เพื่อตอบสนองการทอ งเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมในอาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธร 2.3 การตรวจสอบความเท่ียงตรงและความเชอ่ื มนั่ ของเครอ่ื งมือในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการดังนี้ 2.3.1 แบบสอบถามการวิจัยคร้งั น้ี ผูวิจัยไดนําเครอ่ื งมอื ที่ใชใ นการศึกษาแบบสอบถามใหผูทรงคณุ วุฒิ จํานวน 3 ทา น ไดตรวจสอบความเท่ียงตรงและเช่ือมั่นของแบบสอบถาม และนาํ แบบสอบถามนั้นมาปรับปรงุ แกไ ขตามผูทรงคุณวฒุ ิ หลังจากนนั้ ผวู ิจัยไดน าํ แบบสอบถาม จาํ นวน 30 ชุดไป try out กบั กลุมอ่ืนที่มีความคลายคลึงกับกลุมตัวอยา งทท่ี าํ การศกึ ษา และไดคานํา้ หนักปจจัย (factor loading) อยูในระหวา ง 0.029 ถึง 0.824 และคา ความเชอื่ มั่น Cronbach's alpha เทา กับ 0.841 2.3.2 แบบสมั ภาษณกงึ่ โครงสรา ง นัน้ ผูวจิ ัยไดนําเสนอตอผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความเทีย่ งตรง ดานเนอื้ หา (Content Validity) ซง่ึ ผเู ช่ียวชาญมีจาํ นวน 3 ทา น จากนั้นผูว ิจัยปรับปรงุ แบบแบบสัมภาษณกง่ึ โครงสรา ง ตามขอ เสนอแนะของผูเช่ียวชาญ แลวดาํ เนินการจดั ทําฉบบั สมบูรณ เพอ่ื นําไปใชในการเก็บรวบรวมขอ มลู จากกลุม ตัวอยา ง

Journal of Roi Et Rajabhat University 153 Volume 14 No.3 September - December 2020 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผวู ิจัยไดดําเนินการเกบ็ รวบรวมขอมลู ตามขั้นตอนและวิธีการ ดังน้ี 3.1 การเก็บขอ มลู แบบสอบถาม 3.1.1 ดําเนนิ การจัดทําแบบสอบถามตามจํานวนเทากบั กลุม ตวั อยางทใ่ี ชในการวิจัย จาํ นวน 364 ชุด 3.1.2 ขอหนงั สือราชการจากคณะการทองเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลยั มหาสารคาม โดยสงไปยัง เจาหนาทห่ี รือผเู ก่ียวของกบั การสถานท่ที องเที่ยว เพื่อขอความอนุเคราะหและขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมแบบสอบถาม 3.1.3 ดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอมูลกับนักทอ งเท่ียวท่ีเดินทางมาทองเทีย่ วที่ยานเมืองเกาบานสิงหทา อาํ เภอเมือง จงั หวดั ยโสธร จาํ นวน 364 คน ระหวา งเดอื นเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ดวยตนเอง 3.1.4 ตรวจสอบความถูกตอ งครบถว นของขอมลู ทีเ่ กบ็ รวบรวมไดจากแบบสอบถาม 3.1.5 นําขอมลู จากแบบสอบถามท่ไี ดมาวิเคราะหหาขอมูลทางสถิติ 3.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูลเชิงคณุ ภาพ 3.2.1 ทําการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสรา งกบั กลุมผูใ หขอมลู ไดแก ตัวแทนหนว ยงานภาครัฐ ประกอบดวย ตัวแทนหนวยงานเอกชน และตวั แทนชุมชน จํานวน 15 คน 3.2.2 นําขอมูลจากการสัมภาษณไปวิเคราะหขอมลู ตอไป 4. การวิเคราะหขอมลู การวิเคราะหข อมูลจากแบบสอบถามและการสัมภาษณมดี ังนี้ 4.1 การวเิ คราะหขอมลู จากแบบสอบถาม ตอนท่ี 1 การวิเคราะหขอมูลทว่ั ไปของผูตอบแบบสอบถามโดยใชสถิตเิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) โดยนําขอมูลท่ีรวบรวมไดม าวิเคราะหหาคาทางสถิติ ซ่งึ ประกอบดวย การแจกแจงความถี่ (Frequency) และรอยละ (Percentage) ตอนท่ี 2 การวิเคราะหขอมลู ของผูตอบแบบสอบถามเก่ยี วกับศักยภาพของโฮมสเตยยา นเมืองเกาบา นสิงหทา อําเภอเมือง จงั หวดั ยโสธร จาํ นวน 10 ดา น มีลักษณะเปนมาตราสว น โดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยนําขอ มูลท่ีรวบรวมไดมาวิเคราะหหาคาทางสถิติ ประกอบดวย รอยละ (Percentages) คาเฉล่ีย (Mean) และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) โดยนําเสนอขอมลู ในรปู แบบตารางควบคูกับบรรยาย และสรุปผลการดาํ เนินการวิจยั 4.2 การวเิ คราะหขอมลู จากการสัมภาษณแบบก่ึงโครงสราง ผวู จิ ัยจะนาํ ขอมลู ท่ีไดจ ากการสมั ภาษณแบบก่งึ โครงสราง จากกลุมผูใหข อมลู มาวิเคราะหขอมูลโดยใช (Content Analysis) ดงั น้ี 4.2.1 ทําการวเิ คราะหขอมลู ท่ีไดจากการสัมภาษณตัวแทนหนวยงานภาครฐั ตวั แทนหนวยงานเอกชน ตวั แทนชมุ ชนยานเมอื งเกาบา นสงิ หท า โดยจัดกลุมประเด็นสาํ คญั ของคาํ ถามในแตละตอน 4.2.2 วเิ คราะหจุดออ น จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคของศักยภาพโฮมสเตยยานเมอื งเกา บา นสิงหท า อําเภอเมอื ง จังหวัดยโสธร จากขอมลู ทตุ ิยภูมิและขอมลู ปฐมภูมิ 4.2.3 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการมีสว นรวมของชุมชน ทไ่ี ดจ ากการสมั ภาษณตวั แทนหนวยงานภาครัฐ ตัวแทนหนว ยงานเอกชน ตัวแทนชมุ ชนยา นเมอื งเกา บา นสงิ หทา สรปุ ผล การวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาโฮมสเตยเพอื่ สงเสริมการทอ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา ยานเมืองเกา บานสิงหทา อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร สามารถสรุปผลการวิจัย ดงั นี้ 1. นักทองเท่ียวกลุมตวั อยา งทเี่ ดินทางมาทอ งเท่ียวในยานเมืองเกา บานสงิ หท า อาํ เภอเมือง จงั หวัดยโสธร สว นใหญ เปนเพศหญงิ รอ ยละ 52.05 มอี ายุ 25-34 ป รอ ยละ 34.24 นักทองเท่ียวสว นใหญม ีระดับการศึกษาปรญิ ญาตรี รอยละ 64.38 มรี ายได 10,001-15,000 บาทตอ เดือน คดิ เปนรอยละ 58.90 นักทองเท่ียวสว นใหญป ระกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปนรอยละ 21.09 มภี มู ลิ าํ เนาอยใู นภาคอีสาน รอยละ 52.60 และมีสถานภาพโสด รอยละ 47.39 2. ผลการศึกษาบรบิ ทและศักยภาพของโฮมสเตยใ นชมุ ชนยา นเมอื งเกาบา นสงิ หทา อาํ เภอเมอื ง จังหวัดยโสธร มี 10 ดาน ไดแก 1) ดานทพี่ ัก 2) ดา นอาหารและโภชนาการ 3) ดานความปลอดภัย 4) ดา นอัธยาศัยไมตรขี องเจาของบา น 5) ดานรายการนาํ เที่ยว 6) ดานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอม 7) ดานวฒั นธรรม 8) ดานการสรางคณุ คา และมูลคา

154 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ผลิตภณั ฑ 9) ดา นการบริหารของกลมุ โฮมสเตย 10) ดา นประชาสัมพันธ ผลการประเมินโดยรวมอยูในระดับมาก ดงั แสดงในตาราง ตาราง 1 คาเฉลี่ยและคา สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักทอ งเที่ยวชาวไทย ท่ีมีตอ ศักยภาพโฮมสเตยยานเมืองเกา บา นสิงหท า อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดยโสธร โดยรวม ศักยภาพโฮมสเตย × S.D ระดบั ความคิดเห็น 1. ดานทีพ่ ัก 3.94 0.78 มาก 2. ดา นอาหารและโภชนาการ 4.04 0.76 มาก 3. ดา นความปลอดภยั 4.07 0.80 มาก 4. ดานอธั ยาศยั ไมตรเี จา ของบาน 4.13 0.80 มาก 5. ดา นรายการนําเท่ียว 4.00 0.75 มาก 6. ดา นทรพั ยากรธรรมขาตแิ ละสภาพแวดลอ ม 4.02 0.83 มาก 7. ดา นวัฒนธรรม 4.11 0.77 มาก 8. ดานการสรา งคุณคา และมลู คาของผลิตภัณฑ 4.09 0.80 มาก 9. ดานการบริหารของกลมุ โฮมสเตย 4.11 0.78 มาก 10. ดานประชาสัมพันธ 4.10 0.75 มาก รวม 4.06 0.78 มาก จากตาราง 1 พบวานักทอ งเท่ียวชาวไทยมรี ะดบั ความคิดเห็นตอศกั ยภาพโฮมสเตยยา นเมอื งเกาบา นสิงหทา อาํ เภอเมอื ง จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดบั มาก (× = 4.06) เม่ือพิจารณาเปนรายดา นพบวาอยูในระดบั มากทุกดาน ดา นท่ี มีคา เฉล่ียสูงที่สุด ไดแก ดา นอธั ยาศัยไมตรีเจา ของบา น อยูในระดับมาก (× = 4.03) รองลงมาไดแก ดา นวฒั นธรรม (× = 4.11) และดานการบรหิ ารของกลมุ โฮมสเตย (× = 4.11) ตามลําดบั 3. ผลการศึกษาการมสี วนรว มของชุมชนในการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตยข องชุมชนยานเมอื งเกา บานสิงหท า อาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธรมี 4 ดา น ไดแก 1) การตัดสินใจ 2) การดาํ เนินการ 3) การรับผลประโยชน 4) การติดตามประเมินผล สรปุ ไดว า ในดานการมีสวนรวมของชมุ ชนในการพัฒนาศักยภาพโฮมสเตย ของชุมชนยานเมอื งเกาบา นสงิ หทา มผี ูที่มีสวนเกี่ยวของ ทั้งหมด 3 กลุม คือ หนวยงานภาครัฐ หนวยงานเอกชน และคนในชุมชน โดยทั้ง 3 กลมุ นม้ี ีสว นรว มในการวางแผนการจัดกิจกรรม หรือโครงการตา ง ๆ กําหนดขอปฏิบตั สิ ําหรบั นักทอ งเที่ยว มีการประชมุ หารือและตัดสนิ ใจรว มกัน โดยท่หี นวยงานภาคเอกชน และชมุ ชนเปนผูไดร บั ผลประโยชนโดยตรง และมีรายไดเสรมิ จากการใหบริการดา นการทอ งเท่ียว เชน ท่พี ัก รา นคา รา นอาหาร รวมท้ังกิจกรรมทองเที่ยวตา ง ๆ รายไดเ หลานีช้ วยสนบั สนุนและสงเสริมใหช ุมชน สามารถดาํ เนินงานและทาํ งานรวมกันเพ่ือสงเสริม และพัฒนาแหลงทองเทยี่ วของชุมชน แตยังไมมีการประเมนิ ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มาใชบ ริการภายในชุมชน และคน ในชุมชนยังไมคอ ยมีสว นรว มในการติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมการทอ งเที่ยวตา ง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ภายในชุมชน และผลสรปุ การวิเคราะหจุดออน จุดแขง็ โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของโฮมสเตยยานเมอื งเกา บานสงิ หท า สรปุ ไดด งั แสดงในตาราง

Journal of Roi Et Rajabhat University 155 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 2 ผลการวเิ คราะหจดุ ออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของโฮมสเตยยา นเมอื งเกาบา นสิงหท า จงั หวัดยโสธร จุดแขง็ จดุ ออ น โอกาส อปุ สรรค 1. มีเอกลักษณ 1. สถานทีจ่ อดรถ 1. หนว ยงานภาครฐั มีนโยบาย 1. การชะลอตัว ทางดา นสถาปต ยกรรม สาํ หรบั นักทอ งเท่ียวมไี มเพียงพอ สงเสริมและสนับสนุนการจัด ทางเศรษฐกิจ ทโี่ ดดเดนสวยงามไดรบั กิจกรรมสง เสริมการทองเที่ยว ที่สงผลตอ การ การอนุรักษไวเปนอยางดี ตา ง ๆ ทําใหชุมชนมีโอกาส เดนิ ทางทองเท่ยี ว พัฒนา และรายไดเ ขามาสูชุมชน ของนักทองเท่ยี ว 2. ชุมชนมีความปลอดภยั 2. ในชว งเทศกาลมีทพ่ี ัก 2. หนว ยงานภาครัฐในทองถน่ิ 2. การแขงขัน สงู เนือ่ งจากคนในชุมชน ไมเพียงพอตอความตองการ มีนโยบายสง เสริมใหเปน ในอุตสาหกรรม ใหความรว มมอื ในการดูแล ของนักทองเที่ยว แหลง ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การทองเท่ียว ความปลอดภยั และไมเคย ของจงั หวัดยโสธร ทีร่ ุนแรง มคี ดีเกดิ ขึ้นในชมุ ชน 3. มีทรัพยากร 3. ขาดการประชาสัมพันธ 3. ความนิยมของนักทอ งเท่ียว การทองเท่ียวท่ีหลากหลาย แหลง ทองเท่ียวอยางตอเน่ือง ในการทอ งเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม และสมาํ่ เสมอและยังไมม ี มีมากข้ึน ปายบอกทางเขา ที่ชัดเจน 4. ผลการศึกษาแนวทางการพฒั นาโฮมสเตยของชุมชนยานเมืองเกาบา นสงิ หทา เพื่อสง เสริมการทอ งเทย่ี ว ในอําเภอเมือง จงั หวัดยโสธร ผวู ิจยั นําขอมูลท่ีไดจ ากบริบทและศักยภาพของโฮมสเตยในชุมชนยา นเมืองเกา บา นสงิ หทา มาวิเคราะหรวมกับผลการวิจัย ไดแก ขอ มูลเชิงปรมิ าณจากแบบสอบถาม และขอ มูลเชิงคณุ ภาพจากการสัมภาษณ ประกอบกับ การวิเคราะห จุดออน จุดแข็ง โอกาส และอปุ สรรค (SWOT Analysis) ของโฮมสเตยยานเมอื งเกา บานสิงหท า มาวิเคราะห รวมกัน และจัดทาํ แนวทางการพัฒนาโฮมสเตยข องชุมชนยา นเมอื งเกา บานสิงหทา เพ่ือสงเสรมิ การทองเที่ยวในอาํ เภอเมอื ง จังหวัดยโสธร มี 10 ดา น ไดแก 1) ดานทพ่ี ัก ผปู ระกอบการท้ังภาครัฐภาคเอกชน และคนในชุมชนควรมีการสง เสริม การทํานบุ าํ รุงสถาปต ยกรรมทอ งถ่ินของชุมชนไว และปรบั ปรุงท่ีพักของตนใหส ะอาด ปลอดภัย มีปายบอกเสนทางทช่ี ัดเจน เพื่อใหนกั ทอ งเท่ียวสามารถเดินทางเขาถงึ โฮมสเตยไ ดงา ยและสะดวกมากยิง่ ขึ้น 2) ดานอาหารและโภชนาการเจาของบา นพัก ควรเชิญชวนใหนักทอ งเท่ียวที่เขาพกั มสี ว นรว มในการประกอบอาหารรว มกับเจาของบาน โดยใหนักทองเท่ียวสามารถปรบั รายการอาหารตามความตอ งการของตนเองได 3) ดานความปลอดภัยเจา ของบานพัก ควรมียาสามญั ประจําบานท่ีอยใู นสภาพ พรอ มใชไ วตดิ บานเสมอ และควรเตรียมความพรอ มเกีย่ วกับการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน 4) ดานอัธยาศยั ไมตรขี องเจา ของบาน เจา ของบา นพัก ตอ นรบั นักทองเท่ียวดว ยความยิ้มแยมแจมใสและมีอธั ยาศยั ที่ดี เพ่อื สรา งความพงึ พอใจใหกับนักทอ งเที่ยว ที่มาเขาพักมากยงิ่ ขึ้น 5) ดานรายการนาํ เทยี่ วชุมชนควรสง เสริมกจิ กรรมการทอ งเทีย่ วภายในชมชนุ ใหมีความหลากหลายและแสดงถงึ ความเปนเอกลกั ษณเฉพาะของทองถิน่ เพ่อื ตอบสนองกบั ความสนใจของนักทอ งเที่ยวแตล ะกลุมและควรจัดใหม ีมัคคุเทศก ทอ งถ่นิ ในการนาํ เท่ียว ตลอดจนพัฒนาความรขู องมัคคเุ ทศกท องถิ่นอยเู สมอ 6) ดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ ม หนวยงานที่เก่ียวของควรเขา ไปดูแลและตรวจสอบคุณภาพ และสภาพปจจบุ ันของทรัพยากรทองเท่ยี วของชุมชนอยา งตอเนื่อง และบํารงุ รักษามรดกทางวฒั นธรรมและมรดกทางธรรมชาตขิ องทองถน่ิ ตลอดจนสรางจิตสํานึกใหแกประชาชนในทองถิ่น และนักทอ งเท่ียวใหใ ชทรพั ยากรอยา งพอดี 7) ดานวฒั นธรรมภาครฐั ควรมกี ารพัฒนาแหลง ทอ งเท่ียวทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร ควบคไู ปกับการอนุรกั ษอาคารบานเรอื นเกา เนื่องจากโฮมสเตยใ นชุมชนยา นเมืองเกาบานสิงหทา น้นั ยังเปนบา นเรอื นท่ีมีสถาปตยกรรมแบบโคโลเนียล ตลอดจนการรักษาวิถชี วี ิตดง้ั เดิมของชุมชนไวไมใหเ ส่ือมสลายไปตามกาลเวลา 8) ดา นการสรางคุณคาและมูลคาผลติ ภณั ฑช ุมชน ภาครัฐควรสงเสริมใหมีการจัดโครงการพฒั นาศักยภาพใหแกชาวบานทอ งถิ่น อยา งสมาํ่ เสมอ โดยจัดใหมบี ุคลากรท่ีมีความรูดานการทอ งเท่ียวมาอบรมใหความรูกับคนในชมุ ชน เพื่อพฒั นาศกั ยภาพ ดานการใหบรกิ าร และยกระดับความพึงพอใจของนักทองเที่ยว เพอ่ื เปนการสรางคุณคา และมลู คา จากผลิตภัณฑท่เี ปนเอกลักษณ

156 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ของชมุ ชน 9) ดานการบรหิ ารของกลมุ โฮมสเตยควรมีการจัดประชุมกันอยา งตอเนอ่ื ง เพ่ือกาํ หนดกฎ กติกา และการทํางาน รว มกันของสมาชิกกลุม เพอ่ื ใหคนในชุมชนมีความรู ความเขาใจในการบริหารจัดการโฮมสเตย และสามารถแนะนาํ นักทองเทยี่ ว เกี่ยวกบั วถิ ีชวี ิตวัฒนธรรมทองถิ่น 10) ดานประชาสมั พนั ธภาครัฐและเอกชนควรสนบั สนุน ดา นการประชาสัมพนั ธโฮมสเตย และแหลงทองเที่ยวในชุมชน ผานชอ งทางตา ง ๆ อยางครอบคลมุ และตอเนอ่ื ง เพื่อใหมีความเขาใจไปในทิศทางเดียวกัน อภิปรายผล การศึกษาเรื่อง แนวทางการพฒั นาโฮมสเตยเพื่อสงเสรมิ การทองเท่ียวเชิงวฒั นธรรม กรณีศึกษา ยา นเมอื งเกา บา นสงิ หทา อําเภอเมือง จังหวัดยโสธรมปี ระเด็นในการอภิปราย ดังน้ี 1. บรบิ ทและศักยภาพของโฮมสเตยในชุมชนยา นเมอื งเกา บานสงิ หทา อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร จากการศึกษาพบวา บรบิ ทและศกั ยภาพของโฮมสเตยในชมุ ชนยา นเมืองเกา บา นสิงหท า ประกอบดว ย 10 ดาน ไดแก 1) ดา นที่พัก 2) ดานอาหารและโภชนาการ 3) ดานความปลอดภยั 4) ดา นอัธยาศัยไมตรีของเจาของบาน 5) ดานรายการ นาํ เที่ยว 6) ดานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม 7) ดา นวัฒนธรรม 8) ดานการสรา งคุณคา และมูลคา ผลิตภัณฑ 9) ดานการบริหารของกลุมโฮมสเตย 10) ดานประชาสมั พันธ โดยรวมอยูในระดบั มาก ทั้งน้เี พราะผูวิจัยไดทาํ การศึกษา วเิ คราะหแนวคิดและทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ ง แลว นาํ มาสงั เคราะหเปนศกั ยภาพของโฮมสเตย ที่เปนกรอบแนวคิดทฤษฎี ซ่ึงสอดคลอ งและเหมาะสมกับการพฒั นาโฮมสเตยน้ัน เปน เพราะวา กระทรวงการทองเท่ียวและกฬี า (2557 : 12) ไดมีการ กาํ หนดมาตรฐานโฮมสเตยไว 10 ดา นอยา งชดั เจนน้ัน สง ผลใหผูประกอบการไดนํามาเปนแนวทางเพ่ือการดําเนินงาน ในการใหบริการแกนักทอ งเทยี่ ว ซ่ึงสอดคลองกบั ผลการวจิ ัยของรงุ อรณุ ศภุ กฤตอนันต (2553 : 137-138) ไดศกึ ษาเรือ่ ง การศึกษาศักยภาพและความพรอมในการรองรบั นักทองเท่ียวของที่พกั แรมแบบโฮมสเตย กรณีศึกษาโฮมสเตยบานลาดสมดี ตาํ บลกุศกร อาํ เภอตระการพชื ผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี ผลการวิจัยพบวา ศักยภาพของโฮมสเตย ประกอบดวย 1) ดา นทพี่ กั 2) ดานอาหาร 3) ดา นความปลอดภยั 4) ดานอัธยาศัยไมตรขี องเจา ของบาน 5) ดา นรายการนาํ เที่ยว 6) ดานทรพั ยากร และส่งิ แวดลอม 7) ดา นรายไดเสรมิ และการเชอื่ มโยงกับธุรกิจชุมชน โดยรวมอยใู นระดบั มาก และสอดคลองกับผลการวิจัย ของสุภัคศิษฏ ชยั ชนะเจริญ (2559 : 85–89) ไดศกึ ษาเรือ่ ง มาตรฐานโฮมสเตยท ส่ี ง ผลตอการตดั สินใจเลอื กทพี่ ัก ของนกั ทองเท่ียวชาวไทยในอาํ เภอเชียงคาน จงั หวัดเลย ผลการวิจัยพบวา มาตรฐานโฮมสเตย มี 10 ดาน ไดแก 1) ดานทพี่ ัก 2) ดา นอาหารและโภชนาการ 3) ดา นความปลอดภัย 4) ดา นอธั ยาศัยไมตรขี องเจา ของบานและสมาชิก 5) ดานรายการนําเท่ียว 6) ดานทรพั ยากรและสิ่งแวดลอม 7) ดา นวัฒนธรรม 8) ดานการสรา งคณุ คา และมลู คา ของผลิตภัณฑชุมชน 9) ดานการบริหาร ของกลุมโฮมสเตย 10) ดานการประชาสัมพันธ โดยรวมอยูในระดับมาก 2. การมสี ว นรว มของชุมชนในการพัฒนาศักยภาพโฮมสเตยข องชุมชนยา นเมอื งเกา บา นสงิ หทา อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร จากการศึกษา พบวา แนวทางการพฒั นาโฮมสเตยย านเมืองเกาบานสิงหท า จาํ เปนตอ งอาศัยการมีสว นรว ม 3 สวน คือ หนว ยงานภาครัฐ หนวยงานเอกชน และคนในชุมชน ในการวางแผนการจัดกิจกรรมหรอื โครงการตา ง ๆ และตัดสินใจรว มกัน เพื่อสง เสริมและพัฒนาแหลง ทองเทีย่ วของชุมชน สนบั สนุนและสงเสรมิ ใหช มุ ชนดําเนินงานและทาํ งานรวมกนั รวมทง้ั ประเมนิ ผล ใหสําเร็จตามเปา หมายสอดคลองกบั ดรรชนี เอมพันธุ (2550 : 26) ซงึ่ ไดศึกษาเร่ืองการมีสวนรว มของชมุ ชน ดานการจัดการ ทองเท่ยี วในหมบู า นบัวสายโฮมสเตย อําเภอวงั น้ําเขยี ว จงั หวัดนครราชสมี า พบวา การจัดการการทอ งเท่ยี วโดยชุมชนเอง ภาครัฐ เอกชน และชุมชนมีสวนรวม นบั ต้งั แตก ารวางแผน การดาํ เนินการ และการติดตามประเมินผล โดยมีการประชุม วางแผนกจิ กรรมการทอ งเที่ยวรว มกัน รวมไปถึงการตัดสินใจทาํ แผน/โครงการ เพอื่ สงเสริมและพฒั นาแหลงทองเที่ยว และมีสว นรว มในการติดตามประเมินผลการจัดการทองเท่ยี ว เพื่อใหเกดิ การทอ งเที่ยวทีย่ ่งั ยืน 3. แนวทางการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตยข องชมุ ชนยานเมืองเกา บา นสิงหท า เพ่ือสง เสรมิ การทองเทยี่ วในอาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธร จากผลการศึกษา พบวาแนวทางการพัฒนาศักยภาพโฮมสเตยยา นเมืองเกาบานสิงหท า ควรมีการรว มมือกัน ระหวา งภาครัฐ ภาคเอกชน และคนในชุมชน โดยสงเสริมการทาํ นบุ ํารุงสถาปตยกรรมพ้ืนถิ่นของชุมชนไว เนื่องจากสถาปต ยกรรม เหลา น้ีเปนตัวบงบอกและสะทอนใหเ ห็นถึงประวัติศาสตร รวมถึงวิถีชีวติ วัฒนธรรมทอ งถิ่น ตลอดจนภาครัฐควรมีการพฒั นา สาธารณูปโภค เชน ปายบอกเสนทางไปโฮมสเตยแ ตล ะหลงั ทีอ่ ยภู ายในชุมชน เพอ่ื ใหนักทอ งเที่ยวสามารถเดินทางเขาถึง

Journal of Roi Et Rajabhat University 157 Volume 14 No.3 September - December 2020 โฮมสเตยไดง า ยและสะดวกมากยิง่ ข้ึน และภายในชุมชนควรมีการสงเสรมิ กิจกรรมการทองเทยี่ วของชมชุนใหมีความหลากหลาย อีกทั้ง ควรมีการแลกเปล่ียนความรู แสดงความคดิ เห็น รวมไปถงึ การอบรมใหแกเจาของบานในการเปนเจา บานที่ดี มีอธั ยาศัย และการบรกิ ารท่ีดี เพื่อสรางความพึงพอใจใหกบั นักทองเที่ยว ซ่ึงสอดคลอ งกับแนวคิด กระทรวงการทองเทยี่ วและกีฬา (2557 : 34) กลา ววา ในดานการจัดกิจกรรมทพี่ ักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท ควรท่ีจะมีการรวมกลุมจัดต้ังในรปู แบบของกลุม/ชมุ ชน/ชมรม/สหกรณ ซึง่ สมาชิกและคนในชมุ ชนจะตอ งมคี วามเขาใจ และมีสว นรวมในดานการจัดการตาง ๆ น้ีดว ย โดยเฉพาะในเรอ่ื งของดา นทพี่ ัก สาํ หรับนักทอ งเที่ยว สอดคลองกับงานวิจัยของ กฤตยา เตยโพธ์ิ (2559 : 136-141) กลา ววา การพฒั นารปู แบบการจัดการ การทองเที่ยวโดยชมุ ชน แนวทางการพฒั นาศักยภาพโฮมสเตย เพอ่ื การทองเท่ียวเชงิ นิเวศวฒั นธรรม ควรมกี ารปรับปรุงภมู ทิ ัศน ระบบนิเวศรอบ ๆ อาณาบริเวณ มีการปรบั ปรงุ ระบบนาํ้ ประปา ไฟฟา หองน้าํ อาคาร ที่พักใชประโยชน ปายขอ มูลภายในพ้ืนท่ี บคุ คลท่ใี หข อ มูลดา นองคประกอบของการทองเท่ียวภายนอก ไดแก รา นอาหาร ถนน ปา ยบอกทางแหลง ธรรมชาติ เพือ่ อํานวยความสะดวกใหแกผ ูทเี่ ขามาใชป ระโยชนไ ดอยางมีความเหมาะสม การพัฒนาโฮมสเตยยานเมืองเกา บา นสงิ หทา ควรมีการพฒั นาแหลงทอ งเที่ยวทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร ควบคูไปกบั การอนุรักษอ าคารเกา วัฒนธรรมประเพณี และวิถชี ีวิตดั้งเดมิ ของชมุ ชน โดยคนในชมุ ชนและนักทอ งเท่ียว ควรใชทรพั ยากรอยางพอดี ท้งั มรดกทางวัฒนธรรมและมรดกธรรมชาติ ใหคาํ นึงถงึ ความเพียงพอและมีประสิทธิภาพ อนุรักษ และคงอัตลักษณเดิมของทอ งถ่ินไวอ ยางตอเนื่อง ซง่ึ สอดคลอ งกบั แนวคิดดังท่ี การทองเท่ียวแหงประเทศไทย (2552 : 5) ไดก ลาววาโฮมสเตยเปนท่ีพักสัมผสั วฒั นธรรมชนบท หมายถึง การจัดสรรพ้ืนท่บี านที่พัก เพื่อบริการนักทองเที่ยว โดยคงความ เปนเอกลกั ษณวัฒนธรรมประจาํ ถ่ิน ภายใตศักยภาพและการยอมรบั ของชุมชน เพื่อใหนักทอ งเท่ียวไดเรียนรูวิถีชวี ิตและวฒั นธรรม ของชุมชน ซ่ึงหากมีการวางแผนที่ดีจะกอใหเกิดผลกระทบดา นบวกท้ังในทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ซ่ึงกระทรวง การทองเท่ียวและกีฬา (2555 : 2-3) ไดกลา วถึงโฮมสเตยวา ถือเปนกิจกรรมทอ งเทย่ี ว นักทอ งเท่ียวและเจา ของบา น มวี ัตถุประสงคร วมกัน ท่ีจะแลกเปลย่ี นเรียนรวู ัฒนธรรมและวิถีชีวติ ดวยความเตม็ ใจ พรอมทง้ั จดั ทพี่ ักและอาหาร การนําเท่ียว ในแหลงทองเท่ียวใกลเ คียง โดยไดรับคา ตอบแทนตามความเหมาะสม การจดั กิจกรรมทีพ่ ักสัมผัสวิถีชีวิตชนบทหรอื โฮมสเตย จงึ เปนกิจกรรมทางการทองเทย่ี วอยา งหนง่ึ ที่สามารถนาํ มาพฒั นาชุมชน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมและไดรับผลประโยชน จากการทอ งเที่ยวทําใหคนในชมุ ชนรว มคดิ ทํางานรว มกัน สรา งความเขมแขง็ ของคนในชมุ ชนเปนหลัก และสอดคลองกบั แนวคดิ ของการทอ งเท่ยี วแหงประเทศไทย (2554 : ออนไลน) ท่ไี ดก ลาววา การทอ งเที่ยวแมว า จะไมใ ชส่ิงจําเปนพ้ืนฐาน หรือปจจัย 4 ของการดาํ รงชวี ิต แตก็เปนเรือ่ งของการพักผอ นหยอนใจเปนนันทนาการ เปนสิ่งท่ีพึงปรารถนาในการเสรมิ คุณภาพชีวิต เพราะการทองเท่ียวถือเปนการผอนคลายความเครยี ด พรอม ๆ กบั ไดประสบการณท่ีแปลกใหมไดเห็นความสวยงาม ไดส ัมผัสกบั วถิ ีการดาํ เนินชีวิตท่ีเปล่ียนไปจากท่ีเคยไดความรูความเขาใจเกยี่ วกบั วัฒนธรรมประเพณที องถ่นิ และไดสรา ง ความสมั พันธกบั คนตา งถ่ินดว ย จากความโดดเดนทางสถาปต ยกรรมของอาคารบา นพักแบบโคโลเนียล ภายในชุมชนยา นเมอื งเกา บา นสิงหท า รวมถงึ ประเพณี วิถีชวี ิตด้ังเดมิ ของคนในชุมชน และโฮมสเตยบานสิงหทา ยังมีสภาพแวดลอม ทรพั ยากรทางธรรมชาติ และทรพั ยากรทองเท่ียวที่หลากหลาย ทําใหนักทอ งเทยี่ วทีส่ นใจทองเท่ียวเชิงวฒั นธรรม มีความสนใจที่จะเดินทางมาทองเท่ยี ว ทย่ี า นเมอื งเกาบา นสงิ หทา เพ่อื ชมวิถชี ีวติ ของคนในชุมชน เรยี นรูศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น อีกท้ังหนวยงานภาครฐั ภาคเอกชน และคนในชมุ ชน มสี วนรว มในการจดั กิจกรรมขึ้น เพอื่ สง เสรมิ การทอ งเท่ียวภายในชุมชน และพฒั นาศักยภาพโฮมสเตย เพอ่ื รองรบั การขยายตวั ของนักทองเท่ียวในระยะยาว โดยหนวยงานทเ่ี กี่ยวของ อาทิ เทศบาลเมอื งยโสธร สาํ นักงานทอ งเท่ียว และกฬี ายโสธร สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด รวมถึงชมรมอนุรักษมรดกยโสธร ไดม ีการสงเสริมใหเกิดการอนุรักษฟนฟูศลิ ปวัฒนธรรม ของทองถ่ิน โดยการดาํ เนินการจัดตลาดตอ งชมถนนคนเดินขึ้น โดยท่ีคนในชุมชนไดเขามามสี วนรวมรว มจาํ หนา ยสนิ คาพื้นเมอื ง อาหารและของที่ระลึกทองถ่ิน รว มการแสดงท่ีเปนเอกลักษณของจังหวัดยโสธร การแสดงดนตรีไทย ดนตรีพ้ืนเมือง เปนแหลงเรียนรู ศลิ ปะและวัฒนธรรม เพื่อคงไวซ่งึ เอกลักษณข องชุมชน อีกทง้ั ชุมชนมโี ฮมสเตยไ วสําหรับใหบ ริการนักทองเท่ียว ควบคไู ปกับ การจัดโปรแกรมการทองเท่ียวของชุมชน และแหลงทองเท่ียวในจังหวัดยโสธร โดยคํานึงถึงการจัดกิจกรรมทอ งเท่ียวทไี่ มมีผลกระทบ ตอ ส่งิ แวดลอม เพื่อใหช มุ ชนเกิดการพฒั นาการทอ งเท่ียวอยางยงั่ ยืนสืบไป

158 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 จากขอ คนพบนักทอ งเที่ยวชาวไทยมีความคิดเห็นตอศักยภาพโฮมสเตยยา นเมอื งเกา บานสงิ หท า อาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดบั มาก ดังนั้น หนว ยงานดานการทอ งเท่ยี วของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวขอ ง สามารถนาํ ผลการวิจัย เพ่ือไปเปนแนวทางในการพัฒนาศักยภาพการทองเท่ียวแบบโฮมสเตย สงเสรมิ ผใู หบ ริการทพ่ี ักโฮมสเตยใ หมมี าตรฐานตามที่ กรมการทองเท่ยี วกาํ หนดอยางตอ เนื่อง 1.2 ควรเพิ่มชอ งทางในการประชาสมั พันธอ ยางทว่ั ถงึ และตอเนอื่ ง เพราะปจจุบันยานเมืองเกา บานสงิ หทา ยงั มีนักทองเท่ียวรูจักและใหความสนใจจํานวนนอย โดยการพัฒนาเวบ็ ไซตของแหลงทองเที่ยวในชุมชน แผนพบั ปายส่ือความหมาย ตาง ๆ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพอ่ื เปนการสง เสริมการทอ งเทย่ี วและทาํ ใหมีนักทอ งเท่ียวมากยิง่ ข้ึน 1.3 ชุมชนยานเมืองเกาบา นสงิ หทา มีเอกลักษณท่โี ดดเดน ทั้งดานสถาปต ยกรรม ศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทองถ่ิน ประเพณที ่ีควรคา แกการรกั ษาไว ดังน้ัน หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ทีเ่ กี่ยวของ เชน สํานักงานทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดยโสธร เทศบาลเมืองยโสธร ชมรมอนุรักษมรดกยโสธร ควรมีการศึกษาองคความรดู านวัฒนธรรม ประเพณี ของชมุ ชนยา นเมอื งเกา บา นสงิ หทา และนาํ เสนอขอมูลใหค นในชุมชนไดทราบถงึ ประวัติความเปนมา เพ่อื ที่จะไดต ระหนักและเปนการปลูกฝง ให คนในชุมชนเห็นคุณคา และเกิดความหวงแหนที่จะอนุรักษท รพั ยากรของชุมชนตอ ไป 2. ขอ เสนอแนะในการทาํ วจิ ัยคร้ังตอไป 2.1 ควรทาํ การศึกษาเปรยี บเทียบการบรหิ ารจดั การโฮมสเตย ภายในจังหวัดยโสธรหรอื จงั หวัดใกลเคยี ง วา มีการบรหิ ารจัดการกันอยางไร ขอ ดี ขอ เสีย และปญหาอปุ สรรคในการบริหารของแตล ะชุมชน เพื่อนาํ มาเปนแนวทาง ในการบริหารจดั การโฮมสเตยใหกับชุมชนอ่ืน ๆ ตอไปใหประสบผลสําเร็จ 2.2 ควรทาํ การศึกษาการตลาดของการทอ งเทย่ี วแบบโฮมสเตย เพ่ือเปนการวางแผนรองรับกลมุ นักทองเทยี่ ว ท่สี นใจในการทอ งเที่ยวแบบโฮมสเตยใ นระยะยาว 2.3 ควรทาํ การศึกษาผลกระทบจากการทองเท่ียวแบบโฮมสเตย ท่ีมีตอชมุ ชนยานเมอื งเกา บา นสงิ หท า อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร เพอ่ื เปนการวางแผนและเฝา ระวงั ในเร่ืองเกิดการผสมกลมกลืนในดานวัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ิต ดง้ั เดิมของคนในชุมชน เอกสารอา งองิ กฤตยา เตยโพธ.์ิ (2559). วัฒนธรรมโฮมสเตย : การพฒั นารปู แบบการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน อาํ เภอวังนา้ํ เขียว จังหวัดนครราชสมี า. วทิ ยานิพนธ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการทองเที่ยวและโรงแรม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า. (2557). คูมือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหลงทอ งเท่ียวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอ งคการสงเคราะหทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถัมภ. กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกีฬา. (2557). คูมอื การประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ: สํานักพฒั นาการทอ งเที่ยว. กระทรวงการทองเทยี่ วและกีฬา. (2555). มาตรฐานโฮมสเตยไทย. สืบคนเมอื่ 26 กันยายน 2560, จาก http://www.homestaythai.net/homestay.aspx การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. (2560). ยานเมืองเกา บานสิงหท า . สืบคน เม่ือ 22 กันยายน 2560, จาก https://thai.tourismthailand.org/Attraction/ การทองเท่ียวแหงประเทศไทย. (2554). แผนพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวของการทอ งเที่ยวแหงประเทศไทย. สืบคน เมือ่ 22 กันยายน 2560, จาก http://thai.tourismthailand.org/ tourismthailand_index/th/ การทอ งเที่ยวแหง ประเทศไทย. (2552). Home Stay–arm Stay. กรงุ เทพฯ: การทองเทย่ี วแหง ประเทศไทย. ไกรฤกษ ปนแกว. (2555). การพัฒนานโยบายการทอ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรมสําหรับจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยาปทมุ ธานี และนนทบุรี. รายงานโครงการวิจัย. นนทบุร:ี สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย. ฉันทัช วรรณถนอม. (2552). อุตสาหกรรมการทอ งเท่ียว. กรงุ เทพฯ: สามลดา. ชมรมอนรุ ักษม รดกยโสธร. (2559). สถติ ขิ อมูลนักทองเที่ยวชาวไทยยานเมืองเกาบา นสิงหท า . ยโสธร: พิมพด ีการพิมพ.

Journal of Roi Et Rajabhat University 159 Volume 14 No.3 September - December 2020 ชมรมอนรุ ักษม รดกยโสธร. (2560). สถติ ขิ อมูลนักทอ งเท่ียวชาวไทยยา นเมอื งเกาบา นสิงหทา . ยโสธร: พิมพด กี ารพิมพ. ดรรชนี เอมพันธุ. (2550). การพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนและการจัดกิจกรรมโฮมสเตย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรมการทองเท่ยี ว. (2554). เรอ่ื งกําหนดมาตรฐานบริการทองเที่ยวมาตรฐานโฮมสเตยไทย พ.ศ. 2554. ราชกจิ จานุเบกษา เลม 129 ตอนพิเศษ 26ง หนา 59-63 (31 มกราคม 2555). รุงอรุณ ศภุ กฤตอนันต. (2553). การศึกษาศักยภาพและความพรอมในการรองรบั นักทองเท่ียวของทีพ่ ักแรมแบบโฮมสเตย : กรณีศึกษาโฮมสเตยบานลาดสมดี ตาํ บลกุศกร อาํ เภอตระการพืชผลจังหวดั อุบลราชธานี. วทิ ยานพิ นธ บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการการทอ งเท่ียว. ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน. สภุ ัคศิษฏ ชัยชนะเจริญ. (2559). มาตรฐานโฮมสเตยท ี่สง ผลตอการตัดสินใจเลือกทพี่ ักของนักทอ งเท่ียวชาว ไทยในอําเภอเชยี งคาน จังหวัดเลย. วทิ ยานพิ นธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การทองเทีย่ ว และโรงแรม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สาํ นกั งานจงั หวดั ยโสธร. (2560). ขอมูลสภาพทวั่ ไปของจังหวดั ยโสธร. สบื คนเมือ่ 22 กันยายน 2560, จาก http://www.yasothon.go.th/web/file/menu1.html สาํ นักงานปลดั กระทรวงการทองเทยี่ วและกีฬา. (2560). ยทุ ธศาสตรส าํ นักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ฉบับท่ี 4 พ.ศ. 2560–2564. กรงุ เทพฯ: สาํ นักงานปลัดกระทรวงการทอ งเท่ียวและกฬี า. สาํ นกั งานพฒั นาการทองเท่ียว. (2551). รายงานสรุปสถานการณโรงแรมและการทอ งเที่ยวภายในประเทศ. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั งานพฒั นาการทองเท่ียวกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา. Cohen, J.M. and Uphoff. N.Y. (1981). Rural Development Participation : Concept and Measures for project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies. Cornell University. Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

160 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 แนวทางพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทนุ สวัสดกิ ารชุมชน ในอําเภอกุดจับ จงั หวดั อุดรธานี Guidelines for Potential Development of the Boards of Community Welfare Funds in Kudchap District, Udon Thani Province อทุ ัย ประทีป1 และ ประจญ กิ่งมิ่งแฮ2 Received : 24 ก.พ. 2563 Uthai Pratheep1 and Prachon Kingminghae 2 Revised : 15 เม.ย. 2563 Accepted : 17 เม.ย. 2563 บทคัดยอ การวจิ ัยน้ีมวี ัตถปุ ระสงค 1) ศกึ ษาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกดุ จบั จังหวัดอดุ รธานี 2) กาํ หนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนใน อาํ เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 3) ประเมินศักยภาพ คณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจบั จงั หวัดอุดรธานี มี 3 ระยะ ระยะท่ี 1 กลุมตวั อยาง คณะกรรมการ กองทุนสวัสดิการชุมชน 398 คน เครื่องมอื ท่ใี ชใ นการวจิ ัย แบบสอบถาม ใชสถิตเิ ชงิ พรรณนา สถิติที่ใชในการวเิ คราะหขอ มูล คา รอ ยละ คา ความถ่ี คา เฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะท่ี 2 กลุมเปาหมาย ประธาน และเลขานุการคณะกรรมการกองทุน สวสั ดิการชุมชน 17 คน เครอื่ งมือท่ใี ชใ นการวจิ ัย แบบสมั ภาษณกึ่งโครงสรา ง ระยะท่ี 3 ประชากร คณะกรรมการกองทุน สวัสดิการชุมชน 30 คน เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ นการวิจัย แบบประเมิน ใชสถติ ิเชงิ พรรณนา สถิติทีใ่ ชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถี่ รอยละ คา เฉล่ีย และสว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัยพบวา 1. ศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน มีศักยภาพมากไปหานอย ไดแ ก 1) ดา นการพัฒนาขีดความสามารถ ขององคก ร 2) ดา นความสามารถของบุคคล 3) ดา นการจัดการและเงินทุน และ 4) ดา นโครงสรา งและกระบวนการทํางาน 2. กําหนดแนวทางการพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวสั ดิการชมุ ชน ประกอบดวย 1) ดา นโครงสรา ง และกระบวนการ จาํ นวน 9 กจิ กรรม 2) ดานการจดั การและเงินทุนจํานวน 9 กจิ กรรม 3) ดานความสามารถของบคุ คล จาํ นวน 10 กิจกรรม และ 4) ดานการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร จํานวน 3 กิจกรรม 3. ประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดข องแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน ในภาพรวมอยใู นระดบั มากทุกดา น คําสําคัญ : การพฒั นาศักยภาพ, กองทุนสวัสดิการชุมชน, คณะกรรมการกองทุนสวสั ดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจบั Abstract The objectives of this research were 1) to study the potential of the boards of community welfare funds in Kudchap District, Udon Thani Province, 2) to determine guidelines to develop the potential of the boards, and 3) to assess the potential of the boards. The research was conducted in 3 phases as follows. In phase 1, the samples were 398 members of the boards of community welfare funds in Kudchap District, Udon Thani Province. The instrument for data collection was a questionnaire. Descriptive statistics for data analysis included percentage, frequency, mean, and standard deviation. In phase 2, the target samples were 17 chairpersons and secretaries of the boards of community welfare funds. The instrument for data collection 1 นักศกึ ษาปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ ายุทธศาสตรการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อเี มล: [email protected] 2 อาจารยประจําสาขาวิชายุทธศาสตรก ารพฒั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1 Master Student Master of Art Program in Development Strategy, Udon Thani Rajabhat University Email: [email protected] 2 Lecturer of Education, Master of Art Program in Development Strategy, Udon Thani Rajabhat University

Journal of Roi Et Rajabhat University 161 Volume 14 No.3 September - December 2020 was a semi-constructed questionnaire. In phase 3, the population included 30 members of the boards. The instrument for data collection was an assessment form. Descriptive statistics for data analysis included percentage, frequency, mean, and standard deviation. The results of the research were as follows: 1. The levels of the potential traits of the boards of community welfare funds in a descending order were 1) organization capacity development, 2) individual competence, 3) management and capitals, and 4) structures and work processes. 2. The determined guidelines for potential development of the boards of the community welfare funds were consisted of 1) structures and work processes with 9 activities, 2) management and capitals with 9 activities, 3) individual competence with 10 activities, and 4) organization capacity development with 3 activities. . 3. The guidelines for potential development of the boards of community welfare funds were assessed. The result revealed that the appropriateness and the feasibility of the overall guidelines were rated at a high level. Keywords : Potential Development, Community Welfare Funds, Boards of Community Welfare Funds in Kudchap District บทนาํ ปญหาความยากจนและปญหาหน้สี นิ ของคนไทยกลายเปนปญ หาเร้อื รงั สงผลเปนลูกโซตอปญหาทางสังคม และอาชญากรรมท่ีนบั วันจะมีความรุนแรงมากข้ึนเปนลาํ ดบั จากการสํารวจของสาํ นักงานสถิติแหงชาติ พบวาในป 2553 ประเทศไทยมีกาํ ลังแรงงานรวมท้งั สิ้น 38.13 ลา นคน ในจํานวนน้ีรอยละ 63.73 หรือ 24.30 ลา นคน เปนแรงงานนอกระบบ ซึง่ สวนใหญประกอบอาชพี เกษตรกรรม โดยแรงงานกลุมนี้เปนกลมุ คนทไี่ มไดร บั การคุมครอง และไมมหี ลักประกันสงั คม จากการทาํ งาน และในขณะทีอ่ ีกดานหนึง่ ในป 2547 เครือขา ยสวัสดิการชุมชนหรือกองทุนสัจจะ ลดรายจา ยวันละบาท ซงึ่ มคี รูชบ ยอดแกว เปนหัวขบวนไมรอคอยความหวังจากภาครฐั เปดแนวรุกจัดทําสวัสดิการภาคประชาชนของกลมุ ขึ้นมาเอง และดเู หมือนเครอื ขายดงั กลาวเติบโตและขยายตวั ขึ้นอยา งรวดเรว็ ประชาชนมีความตองการสวสั ดิการดานการเสียชวี ิต สวสั ดิการดา นการเกิดสวสั ดิการดา นการกูยืม สวัสดิการดา นทอ่ี ยูอาศัย สวัสดิการดา นสุขภาพอนามัย และสวัสดิการดา น ส่งิ แวดลอ ม โดยไดร บั สวัสดิการในปจจบุ ัน สวัสดิการที่ตองการมากท่ีสดุ ในปจจุบันลาํ ดบั ท่ี 1 คอื การไดรับความชว ยเหลือจาก กองทุนสวัสดิการชุมชน (กฤติญา กีรติกอบมณี และคณิต เขียววิชยั , 2560 : 257) การพฒั นาศกั ยภาพ เปนการพฒั นาความสามารถท่ีมพี รอมในตัวของสิ่งหนึ่งสิ่งใดทีจ่ ะเออื้ อํานวยตอการพฒั นา การปรับปรงุ การจัดการ หรอื การเขามาทาํ ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงใด ๆ ข้ึน แตหากกลา วถึงศักยภาพของบคุ คล จะรวมไปถงึ ความสมบรู ณทง้ั รางกายและจติ ใจทมี่ ีความพรอ มจะแสดงในลักษณะวุฒิ ภาวะของการเจริญเติบโตทั้งทางรา งกายและจิตใจ อยา งเต็มที่ เชน ความพอใจท่ีสนองตอส่ิงเรา หรอื พอใจในการกระทาํ ส่ิงตา ง ๆ ซ่ึงสามารถแยกเปนองคป ระกอบของศักยภาพ ในระดบั บคุ คล วา มีวุฒภิ าวะทางดานรางกาย สติปญ ญา และอารมณ ตลอดท้ังประสบการณท างสังคม หรอื ความรเู ดิม ซึง่ หากมมี ากก็จะสงผลใหเรยี นรูไ ดด กี วาผูที่มีประสบการณนอ ย เชนเดียวกับ วิชุกร กุหลาบศรี ทีส่ รุปความหมายของศักยภาพ ระดับบุคคลวา หมายถงึ สภาวะความสมบรู ณทัง้ ดา นรางกาย จิตใจ สตปิ ญญา และอารมณข องแตล ะบุคคลทพี่ รอ มตอบสนอง ตอ ส่งิ หนึ่งสิ่งใด แบบมีวธิ ีการกระทาํ ทจี่ ะกอใหเกิดความสําเร็จ ตามวุฒิภาวะประสบการณท างสงั คม ความรูเดิม ความสนใจ หรือแรงจงู ใจ แตกตา งกบั วีรยา เอ่ียมวบิ ูลย ที่กลา ววา ศักยภาพของบคุ คลหมายถึง การแสดงความสามารถที่มีอยูใหปรากฏ ตามโอกาสท่ีบุคคลนั้นจะสามารถทาํ ไดทั้งสว นบุคคลและระดับองคการตามอาํ นาจหนา ทที่ ี่กฎหมายกําหนดให (สุกัญญา รัศมี ธรรมโชติ, 2549: 22) ในปจจบุ ันสภาพเศรษฐกิจและสังคมในอําเภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี เปล่ียนแปลงไป ในดานสงั คมเมอื งความเจรญิ ทางดานวัตถุไดคืบคลานเขามาตามกระแสทุนนิยม วัฒนธรรมที่เคยพึ่งพาอาศัยกันและกัน ไดเปลี่ยนแปลงไปกาวเขาสูสงั คม ยุคใหม ภายใตความเจริญทางดานวัตถุถกู ซอนไวดวยปญหานานบั ประการ ท่ีสําคัญปญหาเหลาน้ันไดทําลายโครงสรา งทางสงั คม ที่เคยม่ันคงและยิ่งใหญในอดีตจากรากเหงา ของบรรพบุรุษ เปล่ียนมาเปนสงั คมทม่ี ุงเติบโตทางดา นเศรษฐกิจ การชว งชิงอาํ นาจ

162 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ผลประโยชนทางการเมอื ง ทาํ ใหผ ูคนตางคนตางอยูและขาดการรวมเปนกลุมผนู าํ ทางดานสังคม พรอมกับผลพวงจากสภาพ ธรรมชาตไิ ดเ ปล่ียนไป เชน ภัยจากธรรมชาติ ฝนแลง ฝนทงิ้ ชวง ในบางพื้นท่ที ําใหผ ลผลิตการปลูกลดลงไปตามสภาพฤดูกาล การผลิตตองเพ่ิมทนุ ทีส่ ูงไมคมุ ทุน และที่ติดตามมาคอื หนสี้ ิน ไดเปล่ียนการดาํ เนินชวี ิตจากสงั คมเกษตรกรรมเปนสังคม ครอบครวั กรรมกร ที่สาํ คัญยิ่งไปกวานั้นไดปลอ ยใหคนเฒา คนแกอยูบา นตามลาํ พัง บางครอบครัวอยูกับหลานหรืออยูบานคนเดียว ขาดคนดแู ลชว ยเหลือ ทิ้งบา นเรอื นไปทํางานทอ่ี ่ืน ขาดความอบอุนในครอบครัวปญหาท่ีตามมาก็คอื วัยรุนมว่ั สมุ ตดิ สารเสพติด แนวโนมของปญหาผลกระทบตอ ชมุ ชนมีเพิ่มข้ึน (สถาบนั พัฒนาองคก รชุมชน, 2558 : 1) ขอความดงั กลาวขางตน ผวู ิจยั จึงสนใจจัดทําวจิ ัยเรอ่ื ง แนวทางการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการ ชมุ ชนวันละบาทเทศบาลตาํ บลกุดจับ อาํ เภอกุดจบั จงั หวัดอุดรธานี เพอ่ื เปนการตอ ยอดคุณคา ของงานสวัสดิการชุมชน ท่เี ปนประโยชนตอ ชมุ ชนท้งั ในดานการพัฒนาการเรียนรขู องคน การพฒั นาเศรษฐกจิ และการแกไขปญหาโดยใชป ญ ญา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นําไปสูกระบวนการสรา งชุมชนที่เขมแข็งพึ่งตนเองไดอยา งยั่งยืน การใชกระบวนการวิจัย สงเสริมและสนับสนุนใหกองทุนสวัสดิการชุมชน ซ่ึงเปนองคกรชุมชนที่มีการรวมกลุมระดมทุน และบริหารจดั การโดยคน ในชมุ ชน เพือ่ ชว ยเหลอื ซ่งึ กันและกันในลักษณะสวัสดิการชุมชน ทเี่ กี่ยวของกับชีวติ ตงั้ แตแ รกเกดิ จนตายสามารถขบั เคลือ่ นได การปฏบิ ัตอิ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและสอดคลองกับเปา หมายชาติ สง เสริมสังคมไทยใหเกิดความสมดลุ มั่นคงและยง่ั ยืน ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงตอไป วตั ถุประสงค 1. เพือ่ ศึกษาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี 2. เพอ่ื กําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจบั จงั หวัดอุดรธานี 3. เพอ่ื ประเมินศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอดุ รธานี กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดในการวิจัย เร่ือง แนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการกองทุนสวัสดิการชมุ ชนในอาํ เภอกดุ จบั จงั หวัดอุดรธานี ผวู ิจัยแสดงกรอบแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎี ของ ณรงควทิ ย แสนทอง (2550 : 48) และแนวคิดของ อาภรณ ภูว ิทยพนั ธ (2548 : 54) มาประยุกตใ ชเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการกองทุนสวัสดกิ าร ชมุ ชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 4 ดาน ไดแก 1) ดานโครงสรางและกระบวนการ 2) ดานการจัดการและเงนิ ทุน 3) ดา นความสามารถของบุคคล 4) ดา นการพัฒนาขดี ความสามารถขององคกร โดยแสดงการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวา ง ตัวแปรตา ง ๆ ดงั ภาพประกอบ การพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุน แนวทางการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการ สวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจบั กองทุนสวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จงั หวัดอุดรธานี จังหวัดอดุ รธานี 1. ดานโครงสรา งและกระบวนการ การประเมินความเหมาะสมและความเปนได 2. ดานการจัดการและเงินทุน ของการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน 3. ดา นความสามารถของบุคคล 4. ดานการพัฒนาขีดความสามารถ สวสั ดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจบั จังหวัด ขององคกร อุดรธานี ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

Journal of Roi Et Rajabhat University 163 Volume 14 No.3 September - December 2020 นาํ ตัวแปรท่ีจะศึกษาท้ัง 4 ดา น ไดแก ดานโครงสรา งและกระบวนการ ดานการจัดการและเงนิ ทุน ดา นความสามารถ ของบุคคล และดานการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร มากําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกกองทุน สวสั ดิการชุมชนในอําเภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี แลวนําไปประเมินความเหมาะสม และความเปนไดการพฒั นาศักยภาพ คณะกรรมการกองทุนสวัสดกิ ารชุมชนในอาํ เภอกดุ จบั จังหวัดอุดรธานี วธิ ดี ําเนนิ การวิจยั ผวู ิจัยไดอ อกแบบการวิจัยเปนแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ระหวางการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) และการวจิ ยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) แบงออกเปน 3 ระยะ คอื ระยะท่ี 1 ศกึ ษาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชมุ ชนในอาํ เภอกดุ จับ จังหวดั อุดรธานี 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 1.1 ประชากร ไดแก คณะกรรมการกองทุนสวสั ดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจับ จังหวดั อดุ รธานี ไดแ ก ประธาน เลขานุการ และกรรมการ 7 กองทุน ในอาํ เภอกดุ จับ จาํ นวนท้ังหมด 61,598 คน 1.2 กลมุ ตวั อยา ง ในการวิจัยคร้ังน้ี ผวู ิจยั กําหนดขนาดกลมุ ตัวอยา งจากตารางของทาโร ยามาเน ทร่ี ะดบั ความเช่อื มั่น 95% หรือมีความคลาดเคล่ือนที่เกิดข้ึน 5% ไดกลมุ ตวั อยา งจํานวน 398 คน และทําการการสุมตวั อยางแบบงาย (Simple random sampling) นําเสนอดงั ตารางตอ ไปนี้ ตาราง 1 แสดงจํานวนคณะกรรมการกองทุนสวัสดกิ ารชุมชนในอําเภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี ลําดับ ตําบล จํานวนประชากร กลุมตัวอยาง 1 หมู 12 ตาํ บลกุดจับ 9,232 60 2 หมู 14 ตาํ บลปะโค 9,210 60 3 หมู 14 ตาํ บลขอนยูง 9,511 60 4 หมู 14 ตําบลเชียงเพ็ง 9,567 60 5 หมู13 ตาํ บลสรา งกอ 9,144 60 6 หมู 15 ตาํ บลเมอื งเพีย 12,571 81 7 หมู 8 ตาํ บลตาลเลียน 2,363 17 รวม 61,598 398 2. เครื่องมือทใ่ี ชใ นการวิจัย ไดแก แบบสอบถาม แบงออกเปน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 สอบถามขอ มูลเบื้องตน เกีย่ วกับผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 สอบถามเก่ียวกับศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวสั ดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 4 ดา น ประกอบดว ย 1) ดา นโครงสรางและกระบวนการ 2) ดานการจัดการและเงนิ ทุน 3) ดา นความสามารถของบุคคล และ 4) ดานการพฒั นาขีดความสามารถขององคกร ตอนท่ี 3 สอบถามเก่ียวกบั ศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชมุ ชนในอําเภอกุดจบั จังหวดั อุดรธานี เปนแบบสอบถามปลายเปด เพอ่ื ใหกลุมตัวอยางแสดงความคิดเห็น และขอ เสนอแนะอื่น ๆ ท่ีเห็นวา เปน ประโยชน 3. การเก็บรวบรวมขอมูล ดําเนินการโดยขอหนังสอื จากบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี ถงึ ประธาน กองทุนสวัสดิการชุมชนอาํ เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี เพอ่ื ช้ีแจงเกี่ยวกบั การรวบรวมขอมูล ไดแ ก ชื่อเรอื่ งการวิจัย วัตถปุ ระสงค ในการเกบ็ รวบรวมขอมูล การนําขอมูลไปใชประโยชน การเกบ็ ขอมูลทเี่ ปนความลบั การนําเสนอผลการวิจัยโดยภาพรวม รวมท้ังขอความรวมมอื จากผูแทนกรรมการ และสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนวันละเทศบาลตาํ บลกุดจับ อาํ เภอกุดจับ จงั หวัดอดุ รธานี จาํ นวน จาํ นวนสมาชิก 398 คน ในการตอบแบบสอบถาม และสงแบบสอบถามกลบั คืนผวู ิจัย ตลอดจน คาํ ขอบคุณ

164 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 4. การวเิ คราะหข อมลู โดยใชระบบคอมพวิ เตอรโปรแกรมสาํ เร็จรูป สถิตทิ ่ใี ช สถิติเชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) โดยวิเคราะหคา สถิติ คือ คารอ ยละ (Percentage) คาความถ่ี (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ระยะท่ี 2 กําหนดแนวทางการพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชมุ ชนในอําเภอกดุ จบั จังหวัด อุดรธานี 1. กลมุ เปาหมาย ไดแ ก ประธาน และเลขานุการคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จงั หวัดอุดรธานี จาํ นวนกองทุนละ 2 คน 7 กองทุน รวม 14 คน และหนวยงานทเ่ี ก่ียวของ 2 คน รวมท้ังสิ้น 17 คน 2. เครื่องมือท่ีใชใ นการวิจัย ไดแ ก แบบสมั ภาษณก่ึงโครงสรา ง (Semi-Structured) ใชก ารต้ังแนวคําถาม 5 หวั ขอ และแตละขอมี 5-6 คําถาม ในประเด็นตา ง ๆ พรอมเปดกวา งกบั ประเด็นที่อาจเกิดข้ึนกบั การสนทนา 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล 3.1 ดําเนินการโดยมีหนังสือนาํ ประกอบดวย ช่ือและนามสกุล ผูวิจัย หรอื หัวหนาโครงการวิจัย สถานศึกษา คาํ ช้ีแจงเกี่ยวกบั การสัมภาษณ ไดแก ช่ือเรอ่ื งวิจยั วัตถุประสงคใ นการเกบ็ รวบรวมขอมลู การนําขอมูลไปใช ประโยชน การจัดเก็บขอ มูลท่ีเปนความลบั 3.2 ลงพื้นทเี่ พื่อสัมภาษณ วิธีการถาม จะนั่งคุยกบั ผใู หขอมูล โดยใชแบบสัมภาษณกงึ่ โครงสรางเปนกรอบ คําถาม โดยเริ่มจากสนทนาทว่ั ไป และใชคาํ ถามเพอ่ื นาํ เขาสปู ระเด็น พรอ มทงั้ ถามรายละเอียดตาง ๆ ใหไดข อมูลท่ีชดั เจน โดยพยายามรักษาโครงสรา งของการสัมภาษณบนพื้นฐานการสัมภาษณท ี่ดี คอื มีความรใู นเร่อื งที่ถาม มีความสามารถ ในการถามคาํ ถาม และการฟง และมีความสามารถในการสรา งสมั พันธกบั ผูตอบ รวมท้งั การสงั เกตพฤตกิ รรมตา ง ๆ 3.3 ขออนุญาตจดบันทึก และบันทกึ เทปสัมภาษณ 4. การวิเคราะหข อมลู วิเคราะหเ ชิงเนอ้ื หา (Content Analysis) และทําการตรวจสอบขอมลู เม่อื ไดขอมลู เรียบรอ ยแลว นําขอมลู ไปตรวจสอบตามเนือ้ หา ระยะที่ 3 ประเมินแนวทางการพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชุมชน ในอาํ เภอกุดจบั จงั หวดั อดุ รธานี 1. ประชากร ไดแก คณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจบั จังหวดั อุดรธานี จาํ นวน 30 คน 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแ ก แบบสอบถามเพอ่ื ประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดข องแนวทาง การพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทนุ สวัสดกิ ารชุมชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานเี ปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดบั 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล ดาํ เนินการโดยมีหนังสือนาํ ประกอบดวย ช่ือและนามสกลุ ผูวิจัย หรือหวั หนา โครงการวิจัย สถานศึกษา คาํ ช้ีแจงเก่ียวกบั การสัมภาษณ ไดแก ชื่อเรอ่ื งวิจยั วตั ถปุ ระสงคในการเก็บรวบรวมขอมูล การนาํ ขอมูล ไปใชป ระโยชน การจัดเก็บขอ มูลทเ่ี ปนความลับ การนําเสนอผลการวจิ ัยโดยภาพรวม รวมทงั้ ขอความรว มมอื จากผูทรงคณุ วฒุ ิ ในการประเมินและสง แบบประเมินกลับคืนใหผูว ิจัย ตลอดจนคําขอบคณุ 4. การวิเคราะหข อมลู วิเคราะหขอ มูลท่ีได โดยใชหลักเกณฑการประเมินแบบองคเ กณฑ นาํ คะแนนท่ไี ด ไปหาคา เฉลี่ย และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แลว จงึ นําเสนอในรปู ตารางประกอบคาํ กาํ หนดการยอมรบั ความเหมาะสม และความเปนไปได บรรยาย โดยกําหนดเกณฑใ นการแปรความหมายคาเฉล่ีย สรุปผล จากผลการวิจัยเรอื่ งแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจับ จังหวัด อดุ รธานี สรปุ ผลการวิจยั ดงั น้ี 1. ผลการศึกษาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จงั หวัดอุดรธานี ผตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 389 คน จาํ แนกตามสถานภาพ พบวาสวนใหญเปนเพศชาย จาํ นวน 229 คน คดิ รอยละ 57.50 อายุ 51-60 ป จํานวน 115 คน คิดรอยละ 28.9 สถานภาพสมรส จาํ นวน 270 คน คดิ รอยละ 67.9 ระดบั การศึกษา ตํา่ กวาปริญญาตรี จํานวน 270 คน

Journal of Roi Et Rajabhat University 165 Volume 14 No.3 September - December 2020 คิดรอยละ 87.9 และระยะเวลาทเี่ ปนกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน 5-10 ป จาํ นวน 178 ป คดิ รอ ยละ 44.70 ระดบั ศกั ยภาพ คณะกรรมการกองทนุ สวัสดกิ ารชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จงั หวัดอุดรธานี ภาพรวมมรี ะดับศักยภาพมาก (X̅= 3.79, S.D.= 0.98) พจิ ารณาเปนรายดาน เรียงลาํ ดบั คา เฉล่ียศักยภาพจากมากไปนอย ไดแก 1) ดานการพฒั นาขีดความสามารถขององคกร (X̅= 3.91, S.D.= 0.98) 2) ดา นความสามารถของบุคคล (X̅= 3.77, S.D.= 0.99) 3) ดานการจัดการและเงินทุน (X̅= 3.68, S.D.= 0.93) และ 4) ดานโครงสรางและกระบวนการทํางาน (X̅= 3.51,S.D.= 1.01) 2. ผลการกาํ หนดแนวทางการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จังหวัด อุดรธานี จํานวนท้งั ส้ิน 4 ดา น 1) ดานโครงสรางและกระบวนการ จํานวน 9 กิจกรรม ไดแ ก 1.1) กจิ กรรมการจัดทาํ ฐานขอมลู ความรูตา ง ๆ ขององคก ร 1.2) กิจกรรมการประเมินและตรวจสอบประสบการณและขา วสารความรูทไี่ มถกู ตองของผปู ฏบิ ัติ 1.3) กิจกรรมการสอน การติวเขม การเปนพ่ีเล้ยี งใหเพ่ือนรว มงาน และการพดู คุยอยางเปด เผยกบั เพื่อนรว มงาน 1.4) กิจกรรม การเขียนรายงาน และการเตรียมรายงานใหกับเพื่อนรวมงาน 1.5) กิจกรรมการใหขอ แนะนําและขอสงั เกตอยางเปดเผย ท่เี ปนประโยชน แกเพื่อนรวมงาน 1.6) กิจกรรมการจัดทําเอกสารเกี่ยวกบั การเขียนลําดบั ขั้นตอนของการทํากจิ กรรม ในการ ปฏบิ ตั งิ าน 1.7) กิจกรรมการจัดทําหนังสือคูมอื การปฏิบตั ิงานในระหวางทก่ี ําลงั ทํางานในกระบวนการพัฒนาและปรับปรงุ งาน 1.8) กิจกรรมการใชฐานขอมูลความรทู ่ีมอี ยูใ นการทํากิจกรรมหรือภารกิจตาง ๆ 1.9) กิจกรรมการผลิตสอื่ สําหรบั ถา ยทอด และแลกเปล่ยี นเรยี นรูแกสมาชิก 2) ดา นการจัดการและเงนิ ทุนจาํ นวน 9 กิจกรรม ไดแก 2.1) กิจกรรมการจัดทําเอกสาร การรบั -จา ยเงิน ที่โปรงใสและตรวจสอบได 2.2) กิจกรรมการใหค วามรเู ก่ียวกบั เอกสารหลักฐานการจายเงินท่ีถูกตอ ง 2.3) กิจกรรมการใหความรูเกี่ยวกับบญั ชรี บั เงนิ ทุนสนบั สนุนตา ง ๆ 2.4) กิจกรรมใหความรูในการจัดเก็บหลักฐานการเงิน 2.5) กิจกรรมอบรมการบันทึกรายการขอ มูลการจายเงินและรายงานการใชจายเงิน 2.6) กิจกรรมอบรมการบริหารจดั การ ดา นการเงนิ 2.7) กิจกรรมการจัดทําคูมอื การจัดการดา นการเงนิ 2.8) กิจกรรมอบรมการเปดบัญชีเงินฝากธนาคาร การถอน- ฝากเงิน 2.9) กิจกรรมการอบรมการวางแผนลงทุน เพ่ือดําเนินกิจกรรมนอกเหนือจากไดเงินสวสั ดิการชุมชมชน เชน เงินดอกเบี้ยรับ จากบญั ชธี นาคาร เงินหรอื รายรับอนื่ ๆ 3) ดา นความสามารถของบุคคล จาํ นวน 10 กิจกรรม ไดแก 3.1) อบรมผนู ําทีป่ ระสบ ความสาํ เร็จ ไดแก ผูนําในดวงใจ สาํ รวจภาวะผูนาํ ของตนเอง 3.2) กิจกรรมการสรางทมี งานที่เปนเลิศ 3.3) กิจกรรมสัญญาใจ เพ่ือความสําเร็จในการทาํ งาน 3.4) กิจกรรมการฝกระดมสมองอยา งอิสระ 3.5) กิจกรรมทศั นคติเชิงบวกท่ีสง ผลตอความสาํ เร็จ ในการทาํ งาน 3.6) กิจกรรมรวมกําหนดวินัยในการทาํ งาน 3.7) กิจกรรมรว มกาํ หนดพฤติกรรมอันพงึ ประสงคใ นการทํางาน 3.8) กจิ กรรมการมีสวนรวมกาํ หนดหลกั การและคานิยมท่ดี ีในการทํางาน 3.9) กิจกรรมการประเมินตนเอง ระบุปญ หาและอุปสรรค วิธกี ารแกไ ขปรบั ปรุง เพื่อใหเ กิดการพัฒนาอยา งตอเนอ่ื ง 3.10) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในทาํ งาน ดว ยการรกั ษาระเบียบวินัยในการทาํ งาน และ 4) ดานการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร จํานวน 3 กิจกรรม ไดแก 4.1) กิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูโดยการศึกษาดงู านจากองคกรทป่ี ระสบความสาํ เร็จ 4.2) กิจกรรมการสง เสริมใหคณะกรรมการ ไดพฒั นาความสามารถดา นตา ง ๆ จากหนว ยงานภาครัฐและเอกชน 4.3) กิจกรรมการสรางเครอื ขา ยคูพฒั นาดา นตาง ๆ 3. ผลการประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดของแนวทางการพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุน สวสั ดิการชุมชนในอําเภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี พบวา ผลการประเมินความหมาะสมโดยภาพรวมอยูในระดับมาก (X̅= 3.94, S.D.= 0.79) พิจารณารายดา น 1) ดา นโครงสรา งและกระบวนการ (X̅= 4.06, S.D.= 0.96) 2) ดานการจัดการและเงนิ ทุน (X̅= 3.97, S.D.= 0.73) 3) ดานความสามารถของบุคคล (X̅= 3.87, S.D.= 0.71) และ 4) ดานการพฒั นาขดี ความสามารถ ขององคก ร (X̅= 3.89,S.D.= 0.72) และผลการประเมินความเปนไปไดโดยภาพรวมอยูในระดับมาก (X̅= 3.99, S.D.= 0.80) พจิ ารณารายดาน 1) ดานโครงสรา งและกระบวนการ (X̅= 4.07, S.D.= 0.75) 2) ดานการจัดการและเงินทุน (X̅= 3.93, S.D.= 0.79) 3) ดานความสามารถของบคุ คล (X̅= 3.96, S.D.= 0.78) และ 4) ดา นการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร (X̅= =4.00, S.D.= 0.86) เมอ่ื นาํ เอาคา เฉล่ยี ท่ีไดจากการประเมินความเหมาะสม และความเปนไปไดไปเทียบกับเกณฑ การประเมินท่ีกําหนดไว คือ คา เฉล่ียตง้ั แต 3.51 ขึ้นไป (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 39) พบวา ผลการประเมินสงู กวาเกณฑ ทกี่ ําหนดไวท ุกดาน จึงถอื วาแนวทางการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวสั ดิการชมุ ชนในอาํ เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี สามารถนาํ ไปปฏิบัติจริงได

166 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 อภปิ รายผล ผูวจิ ัยอภิปรายผลการศึกษาวิจัยท่ีคนพบที่สําคัญเกี่ยวกับแนวทาง การพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการ ชมุ ชนในอาํ เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ดังนี้ 1. ผลการศึกษาพบวาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอําเภอกดุ จับ จงั หวัดอุดรธานี คณะกรรมการ กองทุนสวัสดิการชุมชนอยูใ นระดับมาก ไดแก ดา นการพัฒนาขีดความสามารถขององคกร ทเี่ ปนเชนน้ีเน่อื งจากการทํางาน ขององคกรจะยินยอมใหคนในองคกรไดใ ชศกั ยภาพหรือสติปญญาระดับบุคคลอยางเต็มท่ี หรือไมจะเปนเคร่ืองชี้วัดกบั การปฏิบตั ิงาน ในองคกรเองวามผี ลงานสูงหรือต่าํ เพราะระดับองคกรจําเปนท่ีจะตองมีกระบวนการ หรือวัฒนธรรมในการสง เสริมบุคคล ในองคกรไดใชศักยภาพอยางเต็มทใี่ นการทํางาน ซึง่ สอดคลองกบั งานวิจัยของปยะดา พิศาลบุตร และ คณะ (2559 : 1315- 1326) ซ่ึงศึกษาเร่อื งแนวทางการเพ่มิ ขีดความสามารถขององคการดานการพัฒนาสมรรถนะทรพั ยากรมนษุ ย พบวา แนวทาง การเพิ่มขีดความสามารถององคกรมี 3 ข้ันตอน 1) การพัฒนาระบบศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในองคกรท่ีตอ งการเพือ่ ให สอดคลองกับวิสัยทัศน วัตถุประสงค เปา หมายและพันธกิจขององคกร 2) การสํารวจและวิเคราะหความสามารถของบคุ ลากร 3) เสนอแนะแนวทางและวิธีการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย และสอดคลอ งกบั แนวคิดของ สุจิตรา ธนานันท (2550 : 78) ทร่ี ะบวุ า ศักยภาพของพนักงานในแตละระดบั หรอื ตาํ แหนงงาน (Managerial Competency) ถือวา เปน ความสามารถเฉพาะ ตําแหนงตามระดบั ความรบั ผิดชอบ ที่สะทอนถึงความคาดหวังขององคก รในมมุ กวา งและลกึ ท่ีตอ งมกี อนเขารบั ตาํ แหนง 2. ผลการกาํ หนดแนวทางการพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน พบวา 1) การพัฒนาศักยภาพ ดา นโครงสรา งและกระบวนการ 2) การพัฒนาศักยภาพดานการจัดการและเงินทุน 3) การพฒั นาศักยภาพดา นความสามารถ ของบคุ คล และ 4) การพฒั นาศักยภาพดานการพัฒนาขดี ความสามารถขององคกร ท่ีเปนเชน น้ีเนอ่ื งจากคณะกรรมการกองทุน สวัสดิการชมุ ชน มีบทบาทหนา ทีม่ ุงเนนใหเกิดกระบวนการจัดการตนเอง จึงจําเปนตองมีการกําหนดโครงสรางและกระบวนการ ดาํ เนินงานทีช่ ัดเจน รวมถึงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการดา นการจัดการและเงินทุน เนื่องจากวัตถปุ ระสงคห ลักประการหนึ่ง ของการจัดสวัสดิการชุมชน ไดแก การระดมเงินสมทบ (เงนิ ออม) เพื่อนํามาจัดสวัสดิการตาง ๆ บริหารจัดการเงนิ ที่เก่ียวพันกบั ชวี ิตของคนในชุมชน ซงึ่ มชี าวบา นเปนตัวจักรสาํ คญั ในการพัฒนาทองถิ่น รวมถงึ การพฒั นาขีดความสามารถของบุคคล และองคกร เนื่องจากหากบุคคลไดรบั การพฒั นาศกั ยภาพจะสงผลใหอ งคกรบรรลุเปา หมายแหงความสําเรจ็ ซ่งึ สอดคลองกบั มาลี โชคเกิด (2550 : 77-89) ทาํ การวจิ ัยเรื่องการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ และระบบสุขภาพอาํ เภอ เพ่อื ดแู ลสขุ ภาพผสู ูงอายุจงั หวัดอุตรดติ ถ พบวา การพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบอําเภอ (District Health Board : DHB) กระบวนการพัฒนาใหความสาํ คญั กบั การพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร ซงึ่ จะทําใหเกิดผลลัพธ การเปลีย่ นแปลง ไดแก บุคคลมีความพรอ ม มีความรู มีความเชอื่ มั่นในศักยภาพมากขึ้น เรียนรคู วามลมเหลวและเรยี นรู การพัฒนาการทาํ งานใหม มีแรงจูงใจในการทาํ งาน ปฏิบัติงานไดเต็มศักยภาพมากขึ้น 3. ผลการประเมินความเหมาะสมและความเปนไปไดของแนวทางการพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุน สวสั ดิการชุมชนในอาํ เภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี พบวา 1) ดานโครงสรา งและกระบวนการ 2) ดานการจัดการและเงนิ ทุน 3) ดา นความสามารถของบุคคล และ 4) ดานการพัฒนาขีดความสามารถขององคกรที่เปน เชนน้ีเนอ่ื งจากการประเมินศกั ยภาพ ของบคุ ลกร เปนการประเมินการปฏิบตั งิ านตามโครงสรา งและกระบวน ประเมินการจัดการและเงนิ ทุน ประเมินความสามารถ ของบุคคล และประเมินการพฒั นาขดี ความสามารถขององคกร เพือ่ ไหไดคุณภาพของการประเมินทเี่ ช่ือถือได การประเมินงาน ประเมินอยางถูกตอง และเสนอผลการประเมินตอ สาธารณะ ของคณะกรรมการของคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชุมชน ในอาํ เภอกุดจบั จังหวัดอุดรธานี ซ่ึงสอดคลอ งกับแนวคิดของ ณรงคว ิทย แสนทอง (2550 : 75) อธบิ ายวา การประเมินศักยภาพ สามารถทาํ ได 4 แนวทาง คอื 1) การที่ผปู ระเมินใชดุลพินิจของตัวเองในการแยกวาผถู ูกประเมินจะอยูในระดับใด 2) การทผ่ี ูประเมิน คนเดียวประเมินโดยการบันทึกพฤติกรรมเดน ๆ ท้ังดานบวกและดานลบของผูถูกประเมินไวเ ปนหลักฐานแบบเปนคะแนนที่ให 3) การประเมินแบบหลายทิศทาง คือ การใชหลายคนมาเปนผูประเมิน ซึ่งอาจเปน ผบู ังคบั บญั ชาโดยตรงและเหนือขึ้นไป หรืออาจเพ่ิมเพ่ือนรว มงานดวย 4) การประเมินแบบ 360 องศา คือ การใชผูประเมินหลายคน ท้ังผบู ังคบั บัญชา เพอื่ นรวมงาน ลกู คา และผใู ตบ ังคบั บญั ชา และสอดคลอ งกับงานวิจยั ของ นวคม เสมา และบุษกร สขุ แสน (2562 : 1-17) วิจัยเร่ืองแนวทาง การพฒั นาการมสี ว นรวมของประชาชน และองคการบริหารสวนตาํ บลโพนงาม ในการพฒั นาแหลงทองเท่ียวหนองทงุ ยงั้ อาํ เภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี พบวา ผลการประเมินแนวทางการพฒั นาความรวมมอื ของประชาชน และองคการ บรหิ ารสว นตาํ บลโพนงาม ในการพฒั นาแหลงทอ งเที่ยวหนองทุงยั้ง การประเมนิ อยูใ นระดบั มากท้งั ความเปนไปได

Journal of Roi Et Rajabhat University 167 Volume 14 No.3 September - December 2020 และความเหมาะสม ผลการประเมินสามารถนําสูการจัดทําแผนพัฒนาแหลง ทองเท่ียวหนองทุงย้ัง ตาํ บลโพนงาม ผา นเวที ประชาคม เพื่อบรรจุเปนแผนชุมชน แผนพฒั นาประจําปองคการบริหารสวนตําบลโพนงาม อาํ เภอหนองหาน ตอ ไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช กองทุนสวัสดกิ ารชุมชนในอําเภอกดุ จับ จังหวัดอุดรธานี ควรเลือกนําเอาการพัฒนาศักยภาพท้งั 4 ดาน มาประยุกตใ ชและพฒั นาองคกรดังน้ี 1.1 ดานการพฒั นาขีดความสามารถขององคกร โดยสนับสนุนใหกรรมการไดเพ่ิมพูนความรู โดยการศึกษาดงู าน อบรม และจัดเวทีในการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางองคกรเดยี วกัน จากพื้นท่ีอื่นหรอื หนว ยงานอื่น ๆ เพือ่ พฒั นากองทุน สวัสดิการชุมชน 1.2 ดา นความสามารถของบุคคล โดยจัดกิจกรรม/โครงการ พัฒนาความสามารถของบุคคลอยา งสม่าํ เสมอ เพือ่ เปนการกระตุนใหเกดิ ความคดิ ริเร่มิ สรา งสรรค และกระตือรือรน ในการทํางานอยูเสมอ 1.3 ดา นการจัดการและเงนิ ทุน จัดอบรมใหกับกรรมการกองทุนสวัสดกิ ารชุมชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ในการจัดทําเอกสารการเงิน/การบญั ชี และเปดโอกาสใหห นวยงานอื่นเขามาใหคําแนะนาํ ดานเงนิ ทุน เพ่อื ใหกรรมการมีความรู ความสามารถในการบรหิ ารการเงนิ ขององคก รไดอ ยางคลอ งตัว 1.4 ดา นโครงสรา งและกระบวนการทํางาน เปด โอกาสใหสมาชิกแสดงออกทางความคิด และเขามามีสวนรว ม ดาํ เนนิ งานในการจัดสวสั ดิการกองทนุ สวสั ดิการชุมชน ไดแก มีสว นรว มในการสรา งหลักการ อุดมการณข องสวัสดิการชุมชน และเขามามีสวนรว มในการกาํ หนดแนวทางการดําเนินงานขององคกร 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจยั คร้ังตอ ไป 2.1 การพัฒนาโครงสรา งและกระบวนการทํางานของคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชน 2.2 การจดั การและเงนิ ทุนของคณะกรรมการกองทนุ สวัสดิการชมุ ชน 2.3 การพัฒนาความสามารถของคณะกรรมการกองทนุ สวสั ดิการชุมชน 2.4 การพฒั นาขีดความสามารถองคก รของคณะกรรมการกองทุนสวัสดกิ ารชุมชน เอกสารอางองิ กฤตญิ า กรี ติกอบมณี และคณิต เขียววชิ ัย. (2560). รูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนเชงิ บรู ณาการระดับเมอื งทมี่ ีประสิทธิผล. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), 252-265. ณรงควิทย แสนทอง. (2550). มารูจัก Competency กันเถอะ (พมิ พครั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ: เอช อาร เซน็ เตอร. นวคม เสมา และบษุ กร สุขแสน. (2562). แนวทางการพฒั นาการมีสวนรว มของประชาชน และองคการบริหารสวนตาํ บล โพนงาม ในการพฒั นาแหลงทองเทีย่ วหนองทุงย้ัง อําเภอหนองหาน จงั หวัดอุดรธานี.วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฎอดุ รธานี, 7(1), 1-17. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบ้อื งตน (พมิ พคร้งั ที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. ปย ะดา พิศาลบุตร และคณะ. (2559). แนวทางการเพ่ิมขดี ความสามารถขององคการดา นการพัฒนาสมรรถนะทรพั ยากร มนษุ ย. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 1315-1326. มาลี โชคเกิด. (2550). การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการพฒั นาคุณภาพชวี ิตและระบบสขุ ภาพอาํ เภอเพื่อดูแลสขุ ภาพ ผูสูงอายุจังหวดั อุตรดิตถ. วารสารโรคและภัยสุขภาพ, 11(2), 77-89. สถาบนั พฒั นาองคกรชุมชน. (2558). เอกสารรายงานผลการดําเนินงานกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดชัยนาท. กรงุ เทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย. สกุ ัญญา รัศมธี รรมโชติ. (2549). แนวทางการพัฒนาศกั ยภาพมนุษยดวย Competency Based Learning (พิมพคร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: ศิรพิ ฒั นาอินเตอรพ ริ๊นท. สุจิตรา ธนานันท. (2550). การพฒั นาทรพั ยากรณม นุษย (พิมพค รง้ั ที่ 2). กรงุ เทพฯ: สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร. อาภรณ ภวู ิทยพันธ. (2548). Competency Dictionary. กรุงเทพฯ: เอช อาร เซ็นเตอร.

168 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 การศึกษาการรูวิทยาศาสตรข องนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 4 ในสังกัดเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา มัธยมศึกษาเขต 26 จงั หวัดมหาสารคาม The Study of 10th Grade Students Scientific Literacy In the Secondary Education Service Area 26, Mahasarakham Province จตุรภัทร มาศโสภา1 และ มนตรี วงษสะพาน2 Received : 1 พ.ย. 2562 Chaturapat Massopha1 and Montree Wongsaphan2 Revised : 1 มี.ค. 2563 Accepted : 2 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยคร้งั น้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเพอ่ื ศึกษาและเปรียบเทียบการรูว ทิ ยาศาสตรข องนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 4 ในเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 กลุมตัวอยางคอื นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 จาํ นวน 100 คน จาก 4 โรงเรยี น ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2562 ไดมาโดยวธิ ีการสุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน เครอ่ื งมือทใ่ี ชในการวจิ ยั ไดแก แบบทดสอบ การรวู ทิ ยาศาสตร มีคา ดัชนีความสอดคลอ ง (IOC) ระหวา ง 0.67-1.00 การวิเคราะหข อมูลใชส ถิติ ไดแก รอ ยละ, คาเฉลยี่ , สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคาเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบวา นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีระดับการรวู ทิ ยาศาสตร อยูท่ีระดับ 2 คอื รอยละ 42.30 ซ่ึงตํ่ากวา ระดบั มาตรฐานของ OECD และมีระดับการรวู ิทยาศาสตรไมแตกตางกันทั้ง 4 โรงเรยี น คําสําคญั : เขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26, การรูว ิทยาศาสตร, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 Abstract This research aimed to study and compare scientific literacy of 10th grade students from 4 schools In the Secondary Education Service Area 26, Mahasarakham province. The sample was 100 tenth grade students from the 4 schools who enrolled in the first semester of the academic year 2019. They were selected by multi - stage random sampling method. The research instruments for data collection included scientific literacy test with item objective congruence index (IOC) ranged between 0.67-1.00. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and F-test. The findings were as follows: Scientific literacy of 10th grade students was at level 2 or at 42.30 percent which represented lower than standard level of OECD’s criterion. There was no significance difference (p >.05) in scientific literacy among these students from the 4 schools. Keywords : The Secondary Education Service Area 26, Scientific Literacy, Grade 10 Student บทนาํ ในอดีตจนถงึ ปจจุบันเปาหมายหลักของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรค อื การสงเสริมการรวู ทิ ยาศาสตร (Scientific literacy) ทั้งนี้เพือ่ ใหนักเรียนทุกคนสามารถดํารงชวี ิตและมีสวนรวมในสังคมท่ีเตม็ ไปดว ยอิทธิพลของวิทยาศาสตรไ ด (OECD, 2013 : 3) การนาํ เทคโนโลยีมาประยุกตใชทาํ ใหเกิดการเปล่ยี นแปลงวิถีชวี ิตทั้งดานการทํางาน การศึกษา เกิดการเรยี นรู ใหมีประสทิ ธภิ าพและสะดวกสบายมากขึ้นและเพื่อเปนการพฒั นาประเทศใหกาวทันตอ การเปล่ียนแปลงนี้ รฐั บาลจึงไดว างนโยบาย 1 นิสติ ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อเี มล: [email protected] 2 อาจารยภ าควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 1 Master Student Program in Teaching of Science and Mathematics, Faculty of Education, Mahasarakham University, Email: [email protected] 2 Lecturer in Department of Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Mahasarakham University

Journal of Roi Et Rajabhat University 169 Volume 14 No.3 September - December 2020 การพฒั นาของประเทศใหมีความไดเปรียบในเชิงแขง ขัน โดยการเติมเต็มดวยวิทยาการ นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวจิ ัยและพัฒนา (สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 : 1) กระทรวงศึกษาธิการไดป ระกาศใชหลักสูตรการเรียนรขู ้ันพื้นฐานแกนกลาง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ที่มีการปรับปรุง ทงั้ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร เพ่ือใหสอดคลอ งกับทิศทางการพัฒนาทางสังคมเศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ ม ท้งั ในประเทศและระดับโลกเหมาะสมกบั ยุคสมัยและใหเปนตามนโยบายของรฐั บาลทตี่ อ งการขบั เคล่อื น ประเทศไทยที่เรยี กวา ไทยแลนด 4.0 ซง่ึ จาํ เปนตองสรา งกําลังคนทม่ี ีความเขมแขง็ ในองคความรูดา นวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ทั้งในดา นเน้ือหาสาระและดา นกระบวนการเรยี นรูท่ีผูเรยี นตองเปลย่ี นจากเชิงรับไปสเู ชิงรุก ซ่ึงเปนกระบวนการ เรียนรทู ีต่ อ งสบื เสาะแสวงหา และสรา งความรูดว ยตนเองผานประสบการณจริง จากการลงมอื ปฏิบัตแิ ละมีปฏสิ ัมพันธรวมกบั ผูอ ่ืน การเรยี นเชิงรุกจงึ สงเสริมการพฒั นาทักษะการเรียนรสู ําหรับผเู รยี นในศตวรรษที่ 21 อยางแทจ ริง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 3) จงึ กําหนดใหการรูวิทยาศาสตรเปนเปา หมายหลกั ของการจัดการศึกษาวิทยาศาสตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Yuenyong & Narjaikaew, 2009 : 335) การรูวิทยาศาสตร (Scientific Literacy) เปนส่ิงสําคัญสําหรับยุคสมยั ในปจจบุ ันเพราะการรูวิทยาศาสตรเ ปน สว นหน่ึง ในชวี ิตประจําวัน เปน รากฐานสาํ คัญของความกา วหนา ทางเศรษฐกิจ เปนส่งิ ทบี่ ง บอกถงึ ความสามารถในการคิดตดั สินใจ ตระหนักถงึ ปญหาของวิทยาศาสตร ความสามารถในการแกปญหาใหเหมาะสมโดยใชกระบวนการประชาธิปไตย (Lin & Mintzes, 2010 : 8) เปนกุญแจสาํ คัญหรือเปา หมายหลักของการจดั การเรียนรูวิทยาศาสตรใ นโลกปจจบุ ัน เพือ่ เตรยี ม ความพรอมใหผูเรียนไดใ ชความรูทางวิทยาศาสตรไ ดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพสูงสุดในอนาคต การรูวิทยาศาสตรย ังเปนสมรรถนะหนึ่ง ทโ่ี ครงการประเมินผลนักเรยี นรวมกบั นานาชาติ หรอื PISA ใชในการประเมินคณุ ภาพการศึกษาแตล ะประเทศวาไดเ ตรียม ความพรอ มใหกับประชาชนสําหรบั การใชชวี ิตและการมีสว นรว มกบั สงั คมในอนาคตเพียงพอหรอื ไม เนนประเมินความรู เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตรแ ละการใชความรูใ นการระบปุ ระเด็นปญ หาเพือ่ หาความรใู หม อธบิ ายปรากฏการณ และตัดสินใจเรื่อง ท่เี ก่ยี วกบั วิทยาศาสตรบ นพ้ืนฐานของประจักษพ ยานทางวิทยาศาสตร ตระหนักวาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชวยทําใหเ กิด ส่งิ ใหมตลอดจนทาํ ใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมอยางไร รวมถึงเต็มใจที่จะมีสวนรวมในงานวิทยาศาสตรและเปน พลเมอื งทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบ (Sadler & Zeidler, 2009 : 2) สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (2551 : ออนไลน) กลาววา จุดเนนของ PISA คอื ใหค วามสาํ คัญกับศักยภาพของนักเรียนในการใชว ิทยาศาสตรทเี่ กี่ยวของในชวี ิตจรงิ ในอนาคต เพอื่ จะศึกษาวา เยาวชนวัยจบการศึกษาภาคบังคับจะสามารถเปนประชาชนที่รบั รูป ระเด็นปญหา รบั สาระ ขอ มลู ขาวสาร และสามารถตอบสนองอยางไร อีกท้งั เปนผบู ริโภคท่ีฉลาดเพียงใด ซึ่งประเทศไทยไดใ หความสาํ คัญกับ การรูว ทิ ยาศาสตร โดยเนนเกี่ยวกบั ความรทู างวิทยาศาสตร ธรรมชาตวิ ิทยาศาสตร ความสัมพันธร ะหวา งวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีโดยมงุ ไปที่ ความสามารถของประชาชนใหเขาใจคาํ ถามและปญหาท่สี ามารถตรวจสอบผา นกระบวนการวทิ ยาศาสตรการระบุหลักฐาน หรือขอมูลที่ใชใ นการสบื เสาะ รวมไปถงึ การใหคําอธบิ ายท่ีมีเหตผุ ล โดยอา งขอ มลู เชิงประจักษห รอื หลักฐาน มีการสอื่ สาร อธบิ ายประเด็นที่เกี่ยวกับวทิ ยาศาสตรร วมไปถึงเขา ใจหลักการและแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร (Yuenyong & Narjaikaew, 2009 : 331) กรอบโครงสรา งการประเมินผลของ PISA ประเทศไทยจึงครอบคลุมแงม ุมตาง ๆ ตอ ไปน้ี 1) บรบิ ทของ วทิ ยาศาสตร 2) ความรูท างวิทยาศาสตร 3) สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร 4) เจตคติเชิงวิทยาศาสตร การประเมินของ PISA จะเนนการประเมินในดานสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรทเี่ ปนดา นทน่ี ักเรียนแสดงออกไดถ ึงการรูวิทยาศาสตร (สถาบันสงเสริม การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 : 1) ประกอบดวยการใชความรูวิทยาศาสตรในสามดานหลกั ๆ ไดแก การระบุ ประเด็นทางวิทยาศาสตร (Identifying Scientific Issues) การอธบิ ายปรากฏการณในเชงิ วิทยาศาสตร (Explain Phenomena Scientifically) และการใชป ระจักษพยานทางวทิ ยาศาสตร (Using Scientific Evidence) จากผลการประเมินการรวู ิทยาศาสตรข องโครงการประเมินผลนักเรียนรวมกบั นานาชาติ หรอื PISA นักเรียนไทย ยังคงมีการรวู ทิ ยาศาสตรไมเ ปนที่นาพอใจ ตง้ั แตป ค.ศ. 2000, 2003, 2006, 2009 2012 และ 2015 พบวานักเรยี นไทย มีคะแนนเฉล่ยี ดา นการรวู ทิ ยาศาสตรตํา่ กวา คะแนนเฉล่ียมาตรฐาน OECD อยูหน่ึงระดับท่ีไดกําหนดไวท่ี 501 คะแนน โดยนักเรียนไทยไดคะแนนการรวู ิทยาศาสตรเฉล่ีย 436, 429, 421, 425 ,444 และ 421 ตามลาํ ดบั และมีแนวโนมคะแนน โดยรวมจะลดต่าํ ลงอยา งตอ เนื่อง (สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 : 72 - 89) แสดงใหเห็นถึง คณุ ภาพการศึกษาไทย ท่ีนักเรียนขาดกระบวนการคิดแบบวทิ ยาศาสตร ไมสามารถพฒั นาวธิ ีการคิดเพ่อื นาํ ไปใชในชวี ิตจรงิ ได (สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 : 2) และอาจไมเปนไปตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560- 2579 ที่ต้ังเปา หมายใหเด็กไทยมีคะแนน PISA อยูในระดบั มาตรฐานสากลหรอื ระดบั คา เฉล่ียของประเทศ OECD (สาํ นักงาน

170 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 เลขาธิการสภาการศึกษา, 2560 : 10) ดว ยเหตุน้ีหลักสูตรและการจัดการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรใ นโรงเรียน จึงจาํ เปนตองไดร บั การปรับปรุง พัฒนา และยกระดับจากผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวทิ ยาศาสตรไปสูการรวู ิทยาศาสตร (สถาบันพฒั นาคณุ ภาพ วิชาการ (พว.), 2561: 2) จากหลักการและเหตผุ ลดังกลาวขางตนผวู ิจัยจึงสนใจที่จะศกึ ษาและเปรยี บเทยี บการรูวทิ ยาศาสตรของนักเรยี น ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม เพ่ือจะนาํ ไปสูการพัฒนากจิ กรรม การจัดการเรยี นรทู ส่ี ามารถสงเสริมใหผเู รียนเกิดการรวู ิทยาศาสตร วัตถปุ ระสงค เพอื่ ศึกษาและเปรยี บเทยี บการรวู ทิ ยาศาสตรข องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม กรอบแนวคิด ในการวิจยั ครงั้ น้ี ผูวิจัยแสดงกรอบแนวคิดการศึกษาการรวู ิทยาศาสตร ตามกรอบการประเมินการรูว ิทยาศาสตร ท่ีปรับปรงุ แบบทดสอบจากโครงการประเมินผลนักเรยี นรว มกับนานาชาติ หรอื PISA ประเทศไทย สถาบนั สง เสรมิ การสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2555 : 23-104) กับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 4 เพ่อื นําคะแนนท่ีไดเ ทียบกบั ระดบั การรู วิทยาศาสตร ซึ่งเปนสง่ิ บง ถึงวาผสู อนไดเตรียมความพรอ มใหกับผูเรียนในการดาํ รงชวี ิตในอนาคตมากนอ ยเพียงใด และใชเ ปน แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื สงเสริมการรูวทิ ยาศาสตร ซ่งึ เปนเปาหมายหลกั ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ในปจจบุ ันรวมถงึ เปนแนวทางในการวจิ ัยในช้ันเรยี นตอไป โดย PISA ประเทศไทย สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี (2560 : 21) กลาววาการรวู ิทยาศาสตรป ระกอบดว ย 4 ดาน ไดแก สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร ความรู ทางวทิ ยาศาสตร เจตคติตอ วิทยาศาสตร สถานการณและบรบิ ท โดยการประเมินจะเนนประเมินการรูวทิ ยาศาสตร ในดา นสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตรเปนหลัก ไดแก 1) การระบปุ ระเด็นทางวิทยาศาสตร 2) การอธิบายปรากฏการณ ในเชิงวทิ ยาศาสตร 3) การใชประจักษพ ยานทางวิทยาศาสตร เนอ่ื งจากนักเรียนที่มีการรูวทิ ยาศาสตรจ ะแสดงออกถึง ดา นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร ตามกรอบการประเมินการรวู ิทยาศาสตร ดังภาพประกอบ 1 สถานการณและบริบท กระตุน สมรรถนะทางวิทยาศาสตร ความรูทางวทิ ยาศาสตร 1) ระดบั บุคคล 1) การระบุประเดน็ ทางวิทยาศาสตร 1) ความรทู างวิทยาศาสตร 2) ระดบั ทอ งถ่นิ /ประเทศ 2) การอธบิ ายปรากฏการณใ นเชงิ 2) ความรูเ ก่ียวกับวทิ ยาศาสตร 3) ระดบั โลก วทิ ยาศาสตร 3) การใชป ระจักษพ ยานทาง สง ผลตอ วทิ ยาศาสตร เจตคติตอวทิ ยาศาสตร 1) ความสนใจในวทิ ยาศาสตร แสดงใหเห็นถงึ 2) การใหความสาํ คญั กับวธิ ีการทาง การรวู ทิ ยาศาสตร (Scientific literacy) วทิ ยาศาสตรในการสบื เสาะหา ความรู 3) ความตระหนักถึงสิ่งแวดลอ ม ภาพประกอบ 1 กรอบการประเมินการรวู ทิ ยาศาสตร ดัดแปลงจาก : PISA ประเทศไทย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2560 : 21)

Journal of Roi Et Rajabhat University 171 Volume 14 No.3 September - December 2020 วิธีดาํ เนนิ การวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใชในการวจิ ัย ไดแก นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 4 ในสังกดั เขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 จงั หวัดมหาสารคาม ปการศึกษา 2562 จาํ นวน ทงั้ ส้ิน 4,910 คน (สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26, 2562 : ออนไลน) 1.2 กลุมตัวอยา ง กลุมตัวอยา งทใี่ ชในการวิจัย ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 ในเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม ไดมาโดย วิธกี ารสุมตัวอยา งแบบหลายข้ันตอน (Multi-stage random sampling) รวมท้ังสน้ิ 100 คน โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ ข้ันที่ 1 รวบรวมขอมลู ประชากร นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 4 ท่กี าํ ลังศึกษาในปการศึกษา 2562 จํานวน 35 โรงเรียน ไดจาํ นวนประชากรทงั้ หมด 4,910 คน ขั้นที่ 2 จําแนกขนาดของโรงเรยี นตามเกณฑข องสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 (2562 : ออนไลน) แบง ได 4 คือโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ ข้ันท่ี 3 สมุ ตวั อยางโรงเรียนโดยวิธีการสุมตัวอยา งแบบกลุม (Cluster Random Sampling) ไดแก โรงเรียนขนาดใหญ พเิ ศษ คอื โรงเรียนผดงุ นารี โรงเรียนขนาดใหญ คอื โรงเรียนบรบอื โรงเรยี นขนาดกลาง คือ โรงเรียนช่นื ชมพิทยาคาร โรงเรียนขนาดเลก็ คอื โรงเรียนมหาวิชานุกลู ขั้นท่ี 4 สมุ ตวั อยางหอ งเรียนของแตละขนาดโรงเรียนละ 1 หองโดยวิธีการสุมตัวอยา งแบบกลุม (Cluster Random Sampling) ไดแก โรงเรียนผดุงนารี 1 หอ งเรยี น 34 คน โรงเรียนบรบอื 1 หอ งเรียน 28 คน โรงเรียนช่ืนชมพทิ ยาคาร 1 หองเรียน 24 คน โรงเรียนมหาวชิ านกุ ูล 1 หอ งเรยี น 14 คน รวมทงั้ สิน้ 100 คน ซงึ่ เปนนักเรียนทส่ี ายวทิ ย - คณติ ท้ังหมด 2. เคร่ืองมือทีใ่ ชในการวิจัย แบบทดสอบการรูวิทยาศาสตร ท่ปี รบั ปรงุ จากโครงการประเมินผลนักเรียนรวมกับนานาชาติ หรือ PISA ประเทศไทย สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2555 : 23-104) การประเมินจะเนนประเมินการรวู ทิ ยาศาสตร ในดา นสมรรถนะ ทางวิทยาศาสตรซ่ึงเปนดานที่นักเรียนสามารถแสดงออกไดถึงการรวู ิทยาศาสตร ดังที่ PISA ประเทศไทย สถาบันสง เสริมการสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2560 : 21) ไดกลา วไว ไดแก 1) การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร 2) การอธิบายปรากฏการณ ในเชิงวทิ ยาศาสตร 3) การใชประจักษพยานทางวิทยาศาสตร โดยผวู ิจัยไดส รา งดานละ 10 ขอ รวมจํานวน 30 ขอ ลักษณะของ ขอ สอบเปนแบบปรนัยจํานวน 4 ตัวเลอื ก แลวเสนอตออาจารยท ่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธนํามาปรบั ปรุงแกไข แลว เสนอตอ ผเู ช่ียวชาญ 5 ทาน เพ่ือพิจารณาความถูกตองของเนอื้ หา นาํ มาวิเคราะหหาคา ดัชนีความสอดคลอง (IOC) พบวาแบบทดสอบ มีคา IOC ระหวาง 0.67-1.00 ไดจาํ นวน 20 ขอ ประกอบดวย 1) การระบปุ ระเด็นทางวิทยาศาสตร จํานวน 6 ขอ 2) การอธิบาย ปรากฏการณในเชิงวิทยาศาสตร จํานวน 7 ขอ และ 3) การใชประจักษพ ยานทางวทิ ยาศาสตร จาํ นวน 7 ขอ 3. การเกบ็ รวบรวมขอมลู 3.1 การดําเนินการเก็บรวบรวมขอ มูล ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2562 ใหนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 4 ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จังหวดั มหาสารคาม จํานวน 4 โรงเรยี น ไดแก โรงเรยี นผดุงนารี โรงเรยี นบรบอื โรงเรียนช่ืนชมพิทยาคาร โรงเรียนมหาวิชานุกูล รวมนักเรียนทั้งสิ้น 100 คน ซงึ่ เปนนักเรียนท่สี ายวิทย-คณติ ทั้งหมดทําแบบทดสอบ การรวู ทิ ยาศาสตรจาํ นวน 20 ขอ โดยกําหนดเวลาในการทาํ แบบทดสอบ 1 ช่วั โมง 3.2 นาํ ขอมูลไปวิเคราะหข อมูลทางสถิติโดยใชโดยใชคา เฉล่ีย รอ ยละ และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบคา F (F-test) 4. การวิเคราะหข อมูล ผวู ิจัยนําคะแนนจากแบบทดสอบการรวู ทิ ยาศาสตรของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 4 ในสงั กัดเขตพนื้ ที่ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 จงั หวัดมหาสารคาม วิเคราะหข อมลู ทางสถิติโดยใชคาเฉลี่ย รอยละ และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

172 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปท่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 การทดสอบคา F (F-test) และเทียบคารอยละคะแนนที่ทาํ ไดกบั เกณฑก ารรวู ิทยาศาสตรของ PISA ป 2015 โดยแบงออกเปน 6 ระดบั (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 ก: 59 - 60) ดงั น้ี ทาํ คะแนนไดร อยละ 25.00 ถงึ 36.99 เทากับที่ระดบั 1 หมายถึง นกั เรียนสามารถใชความรูดานเนื้อหา และกระบวนการสามัญเพื่อเลอื กบอกคาํ อธิบายของปรากฏการณว ิทยาศาสตรอ ยา งงา ย ท่ตี อ งการการคิดไมมาก สามารถทํา การสํารวจตรวจสอบทางวทิ ยาศาสตรอยางเปนแบบแผน ทีม่ ีตัวแปรไมเกินสองตัวแปรได เม่อื ไดรบั ความชว ยเหลอื สามารถระบุ ความสัมพันธหรือบอกถึงสาเหตุแบบงา ยได และแปลความขอมลู ที่เปน ภาพหรือกราฟท่ตี อ งใชการคิดเพียงเล็กนอย สามารถเลือก คาํ อธิบายหรือขอ มลู ทเี่ ห็นไดชดั เจน จากท่ีกาํ หนดมาใหใ นบริบททค่ี ุนเคยหรือเกย่ี วของตรง ๆ กับชีวิตสว นตวั ทองถิ่น หรอื โลก ทําคะแนนไดร อยละ 37.00 ถึง 49.99 เทากบั ทรี่ ะดับ 2 หมายถึง นกั เรียนสามารถดึงเอาความรดู า นเนื้อหา จากชีวิตประจําวันและความรูดา นกระบวนการพ้ืนฐาน มาใชเพือ่ บอกถึงคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตีความขอมูล และตั้งปญหา ของเรือ่ งเพอ่ื ออกแบบการทดลองอยางงา ย นักเรียนสามารถใชค วามรทู างวทิ ยาศาสตรท ่วั ไป เพือ่ บอกขอสรุปจากขอมลู ชดุ ทีไ่ มซบั ซอน นักเรียนท่ีระดบั 2 สามารถแสดงวา มีความรูเก่ียวกบั การไดมาของความรู หรอื วิธหี าความรู เพอ่ื ระบุปญหา ท่สี ามารถตรวจสอบไดโดยวธิ ีทางวทิ ยาศาสตร ทําคะแนนไดรอ ยละ 50.00 ถึง 61.99 เทา กบั ท่ีระดับ 3 หมายถึง นักเรียนสามารถใชความรูดา นเน้ือหาท่ีคอนขาง ซับซอ นข้ึน เพื่อระบบุ อกประเด็นหรือสรา งคาํ อธิบายปรากฏการณเ ชิงวทิ ยาศาสตรท ่ีรูจักคนุ เคย ถา เปนสถานการณท ่ีไมคุนเคย นักเรียนสามารถสรา งคาํ อธบิ ายท่ีสมเหตุสมผล โดยอาศยั ตัวชี้นาํ ท่ีเหมาะสมบางอยาง สามารถใชค วามรเู กี่ยวกับการไดมา ของความรูหรอื ความรดู านกระบวนการในการหาความรู เพื่อออกแบบและดาํ เนินการทดลองหาขอมูลในสถานการณ ท่มี ีขอจํากัดได นักเรียนท่ีระดับ 3 สามารถแยกแยะอยางชัดเจนไดว าประเด็นใดเปนวิทยาศาสตร (อธิบายได มีประจักษพ ยาน ตรวจสอบไดต ามกระบวนการวทิ ยาศาสตร) และประเด็นใดไมเปนวิทยาศาสตร ทาํ คะแนนไดร อยละ 62.00 ถึง 74.99 เทา กับทร่ี ะดบั 4 หมายถึง นักเรียนสามารถใชความรูดา นเน้ือหาสาระ ทย่ี ากข้ึน ซ่ึงอาจเปนความรทู ่ีบอกใหในขอความหรือเปนความรทู ่ีเรียกคืนออกมาไดเอง เพื่อนํามาใชสรางคําอธบิ ายในเหตกุ ารณ หรือกระบวนการที่ซับซอนมากข้ึนและไมคุนเคยมากอน สามารถทําการทดลองเกบ็ ขอ มลู ท่ีเก่ียวของกับตวั แปรอิสระมากกวา สองตัวแปรขึ้นไปในบริบทท่มี ขี อจํากัดตาง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผลในการออกแบบ การทดลองไดดว ยความรูดานกระบวนการ และความรูเก่ียวกับการไดมาของความรู นักเรียนที่ระดบั 4 สามารถแปลความหมายขอมูลที่มาจากขอมลู ท่ีมีความซบั ซอ น ระดบั กลาง หรอื ขอ มูลทไ่ี มคุนเคยและสรางขอสรปุ ทส่ี มเหตสุ มผลและทขี่ ยายออกไกลกวา ท่ีไดจ ากขอมลู เฉพาะหนา ทําคะแนนไดรอยละ 75.00 ถึง 86.99 เทา กับท่ีระดับ 5 หมายถึง นักเรียนสามารถใชกรอบความคิดทางวิทยาศาสตร ทเ่ี ปนนามธรรมเพือ่ อธบิ ายปรากฏการณ กระบวนการ หรือเหตุการณท ี่ไมคุนเคยและมคี วามซบั ซอ นมากขึ้น สามารถใชความรู เก่ยี วกบั การไดมาของความรทู ่มี ีความซบั ซอ นในการประเมิน การออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรูท างวทิ ยาศาสตร สามารถใหเหตุผลท่ีเลือกวิธีการทดลองวิธีใดวธิ หี นงึ่ และสามารถใชความรตู ามทฤษฎีมาตีความหรอื ทํานายผล นักเรียนทีร่ ะดบั 5 สามารถประเมินวธิ ีการสาํ รวจตรวจสอบของปญหาทก่ี าํ หนดใหในเชิงวทิ ยาศาสตร และระบขุ อ จํากัดในการแปลความขอมูล รวมถงึ แหลงที่มา และผลกระทบจากความไมแนนอนของขอมูลทางวิทยาศาสตร ทาํ คะแนนไดรอยละ 87.00 ขนึ้ ไป เทากบั ท่รี ะดับ 6 หมายถึง นักเรียนสามารถทําภารกิจวทิ ยาศาสตรท่ียาก ๆ ไดสําเรจ็ สมบูรณเกือบทุกขอ นั กเรียนสามารถดึงเอาความสัมพันธร ะหวา งความรู กรอบแนวคดิ ทางวิทยาศาสตรกายภาพ ชีวภาพ และโลกและอวกาศ มาสัมพันธกัน สามารถใชความรูดานเน้ือหาดานกระบวนการ และความรเู ก่ียวกบั การไดม า ของความรใู นการใหคําอธบิ ายทางทฤษฎีหรือคาดคะเนปรากฏการณ เหตุการณ หรือกระบวนการท่ไี มคุนเคย หรอื ทาํ นายผล ของเหตุการณ ในการตีความ แปลความขอมลู และประจักษพ ยาน กส็ ามารถแยกแยะสาระที่สอดคลองและไมส อดคลอ ง กับขอ มูลออกจากกันได และสามารถดงึ เอาความรูภ ายนอกเขามาใชก บั เรอื่ งที่เรียนรไู ด สามารถบอกความแตกตางของ ขอ โตแยงไดว า ขอโตแยง ใดมีพื้นฐานบนประจักษพ ยานและทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร กบั ขอใดทอี่ ยูบนพื้นฐานของความคิดเห็น หรือขอพิจารณาของผูอื่น นักเรียนที่ระดับ 6 สามารถประเมินความเหมาะสมของการออกแบบเพอื่ การทดลอง การสาํ รวจ ตรวจสอบ การเกบ็ ขอ มูลภาคสนาม หรือการจําลองสถานการณท ่ีซับซอ นได และสามารถใหเหตผุ ลที่เหมาะสมเพอื่ ประกอบ การตัดสนิ ใจ

Journal of Roi Et Rajabhat University 173 Volume 14 No.3 September - December 2020 สรุปผล ผลการศึกษาการรวู ทิ ยาศาสตร ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 จํานวน 4 โรงเรยี น ไดแก โรงเรยี นผดงุ นารี โรงเรียนบรบือ โรงเรียนชนื่ ชมพิทยาคาร โรงเรียนมหาวิชานุกูล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม แสดงดงั ตาราง 1 ตาราง 1 ผลการทดสอบการรูว ิทยาศาสตรของกลุมตวั อยางนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 จาํ นวน 4 โรงเรียน ไดแก โรงเรยี นผดุงนารี โรงเรยี นบรบือ โรงเรียนชื่นชมพิทยาคาร โรงเรยี นมหาวชิ านุกลู โรงเรียน หอ งเรยี น จาํ นวนนักเรียน คา เฉล่ีย S.D รอยละ ระดับ SL โรงเรียนผดงุ นารี 1 34 9.98 3.08 49.93 ระดบั 2 โรงเรียนชื่นชมพทิ ยาคาร 1 24 8.78 3.34 43.93 ระดบั 2 โรงเรียนบรบอื 1 28 8.29 3.16 41.42 ระดับ 2 โรงเรียนมหาวชิ านุกูล 1 14 6.78 2.39 33.93 ระดบั 1 4 100 8.45 2.99 42.30 ระดบั 2 โดยภาพรวม จากตาราง 1 ผลการศึกษาการรูวิทยาศาสตรของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 ในสังกัดเขตพื้นท่ีการศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต 26 จังหวดั มหาสารคาม โดยภาพรวมท้งั 4 โรงเรียน มีคาเฉลีย่ , สว นเบีย่ งเบนมาตรฐานและรอ ยละ การรวู ทิ ยาศาสตร คอื 8.45, 2.99 และ 42.30 มีระดบั การรวู ิทยาศาสตรใ นระดับที่ 2 โดยมีคาเฉลี่ยการรวู ิทยาศาสตรสงู ที่สุด คือ 9.98 คดิ เปนรอ ยละ 49.93 เมื่อเปรยี บเทียบการรวู ทิ ยาศาสตรจ ากผลการทดสอบการรวู ิทยาศาสตรของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 4 ของกลมุ ตัวอยา งท้งั 4 โรงเรียน โดยใชคาสถิตการทดสอบคา F (F-test) พบวามีผลการทดสอบการรูวิทยาศาสตร แสดงดังตาราง 2 ตาราง 2 เปรยี บเทียบการรวู ทิ ยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 4 ในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม ไดแ ก โรงเรียนผดงุ นารี โรงเรียนบรบือ โรงเรียนช่ืนชมพทิ ยาคาร โรงเรียนมหาวิชานุกูล ความแปรปรวน sum of squares df Mean Square F Sig. ระหวา งกลมุ 31.599 2 15.800 2.089 .130 ภายในกลุม 604.936 80 7.562 636.536 82 รวม จากตาราง 2 แสดงผลการเปรียบเทียบการรวู ทิ ยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ในเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 26 ของกลมุ ตวั อยา ง พบวาจาก 4 โรงเรียนไมแตกตางกัน โดยนักเรียนมีการรวู ิทยาศาสตรในระดบั ท่ี 2 ประกอบดว ย ดา นสมรรถนะทางวิทยาศาสตรทั้ง 3 ขอ ท่ีแสดงออกไดถงึ การรวู ทิ ยาศาสตร ไดแก 1) การระบุประเด็น ทางวิทยาศาสตร 2) การอธิบายปรากฏการณใ นเชงิ วิทยาศาสตร 3) การใชประจักษพยานทางวิทยาศาสตร คอื นกั เรยี น สามารถดงึ เอาความรูดา นเนื้อหาจากชวี ิตประจําวัน และความรูดา นกระบวนการพน้ื ฐานมาใช เพ่ือบอกถงึ คําอธิบาย ทางวทิ ยาศาสตร ตีความขอมูล และตงั้ ปญหาของเร่ืองเพื่อออกแบบการทดลองอยางงา ย นักเรียนสามารถใชความรู ทางวิทยาศาสตรท ั่วไป เพอื่ บอกขอสรุปจากขอมลู ชดุ ที่ไมซบั ซอน นักเรียนจะสามารถแสดงวา มีความรเู ก่ียวกบั การไดมา ของความรหู รือวิธีหาความรู เพือ่ ระบุปญ หาท่ีสามารถตรวจสอบไดโดยวิธที างวทิ ยาศาสตร

174 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 อภปิ รายผล 1. ผลการวิจัยพบวา การรูว ทิ ยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 ในเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 ทเี่ ปนกลุมตัวอยางทั้ง 4 โรงเรยี น อยทู ี่รอยละ 42.30 ซ่งึ เปนการรวู ิทยาศาสตรใ นระดบั ท่ี 2 เปนระดับพื้นฐานท่ีนักเรียนสามารถ ดึงเอาความรดู า นเนื้อหาจากชีวติ ประจําวัน และความรูดา นกระบวนการพื้นฐานมาใช เพอ่ื บอกถึงคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตีความขอมูล และต้ังปญหาของเรื่องเพอ่ื ออกแบบการทดลองอยางงาย นักเรียนสามารถใชค วามรทู างวทิ ยาศาสตรท วั่ ไป เพือ่ บอกขอสรุปจากขอมลู ชดุ ทไ่ี มซบั ซอ น มคี วามรเู กี่ยวกบั การไดม าของความรหู รอื วิธีหาความรู เพ่อื ระบปุ ญหาที่สามารถ ตรวจสอบไดโ ดยวิธีทางวิทยาศาสตร แตอยา งไรกต็ ามยงั คงถือวา เปนระดบั ที่ตาํ่ กวาคา เฉลี่ยมาตรฐานของ OECD ท้งั นี้การที่ นักเรียนมีคะแนนการรวู ิทยาศาสตรตํา่ กวาระดับมาตรฐานน้ัน อาจเปนเพราะบรบิ ท สภาพแวดลอ มของการจัดการเรียนการสอน ยังไมเหมาะสมและเออื้ อํานวยตอ การจัดการเรียนรเู พียงพอ รวมถงึ นักเรียนไมไดใ ชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การปฏิบัติ ทดลองเพยี งพอ และขาดการใชกระบวนการสืบเสาะหาความรูดว ยตนเอง นกั เรียนสวนมากยังเรยี นรแู บบทองจํา ไมส ามารถ เชือ่ มโยงความรูเขากับสถานการณใ นชวี ิตทหี่ ลากหลาย ดงั นั้นครูผูสอนจึงตองศึกษาหาแนวทางในการพฒั นาความสามารถ ของผูเรยี น เกิดการรวู ทิ ยาศาสตรในระดับที่เปนมาตรฐาน และนาํ แนวคดิ วิธีการเช่ือมโยงองคความรูใ นชีวิตประจาํ วัน และใชห ลักการคิดอยางมีเหตุ (DeBoer, 2000 : 15) จากผลการวิจัยสอดคลองกบั งานวิจัยของผลการประเมินการรวู ทิ ยาศาสตรของ OECD ทพ่ี บวานักเรียนไทย มีคะแนนการประเมินการรวู ทิ ยาศาสตรตาํ่ กวาคะแนนเฉล่ียมาตรฐานโดยในป 2012 และ 2015 นักเรียนมรี ะดับการรูวิทยาศาสตร ในระดบั ท่ี 2 และตาํ่ กวามาตรฐานอยู 1 ระดบั (สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2560 ก : 4) และสอดคลอ งกับงานวิจัยของพุทธริธร บรู ณสถิตวงศ และคณะ (2560 : 1019–1031) ท่ไี ดศึกษาสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร ซึ่งเปนหน่งึ ในองคป ระกอบของการรวู ิทยาศาสตร พบวา นกั เรียนมีสมรรถนะอยูในระดบั ทตี่ า่ํ กวา มาตรฐาน OECD เชนเดียวกัน ดังน้ันผูสอนควรเลือกแนวทางการจดั การเรียนรู และสง เสริมใหผูเรียนรูวิทยาศาสตร ใหผ ูเรยี นมีศักยภาพ หรอื ความสามารถพ้ืนฐานที่จาํ เปนตอ การดาํ รงชวี ิต แขงขันกับนานาประเทศไดในอนาคต รวมถึงใชและรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ มสามารถดาํ รงชวี ิตในสังคมแหงศตวรรษท่ี 21 2. ผลการวิจัยพบวาระดบั การรวู ิทยาศาสตรของทั้ง 4 โรงเรยี น ไมแ ตกตา งกันอาจเปนเพราะหลักสตู รสถานศึกษา มีความใกลเคยี งกัน บรบิ ทของโรงเรียน รวมถึงระยะทางของโรงเรียนไมไ กลกันมาก อยใู นพื้นท่ีจังหวัดเดียวกัน ดังน้ันสภาพแวดลอมที่เออื้ ตอ การเรียนรจู ึงมคี วามคลา ยคลึงกันอยา งมาก ทําใหนักเรียนมีสังคมและวัฒนธรรมและเจตคติ ทางวิทยาศาสตรไ มแตกตางกัน คือ นักเรียนสวนใหญมองวา วทิ ยาศาสตรไ มไดเกี่ยวของกับชวี ิตประจาํ วันหรือบริบทของสังคม ท่ีตนอาศัยอยู จึงขาดแรงจงู ในการเรียนวทิ ยาศาสตรอ ยา งจริงจัง สงผลใหนักเรยี นมีการแสดงออกถึงการรวู ิทยาศาสตร โดยมคี ะแนนที่ใกลเคยี งกันและอยูในชวงระดับการรูว ทิ ยาศาสตรไมแตกตางกัน ดังน้ันจึงควรสง เสรมิ การเรยี นรูและเจตคติ ของนักเรียนมิใชเฉพาะความรแู ละทักษะในหองเรียน แตร วมถึงสง เสริมใหนักเรียนเขา ถงึ กิจกรรมวิทยาศาสตรท่เี กีย่ วของกบั ชีวติ อยา งกวา งขวาง และทาทายนักเรียนในดา นอาชีพการงานวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ทําใหว ทิ ยาศาสตรเปนสวนหน่ึง ของสังคมและวฒั นธรรมของนักเรียน (โครงการ PISA ประเทศไทย สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2561 : 115-116) ระดบั การรวู ทิ ยาศาสตรของนักเรียนท่ีไมแตกตางกัน สอดคลองกับผลการวิจัยของ โครงการ PISA ประเทศไทย ในป 2015 (2561 : 110 -117) ทไ่ี ดมีสรุปเปรียบเทียบคะแนนการรูวิทยาศาสตรตามกลุมของโรงเรียนและบรบิ ทของโรงเรียน สรุปไดว า การที่นักเรียนแตละกลมุ ทม่ี รี ะดบั การรวู ิทยาศาสตรอยูในระดบั เดยี วกันน้ัน มผี ลมาจาก เศรษฐกิจ ปญหาสงั คม ของพ้ืนท่ีมีความใกลเ คียงกัน ทาํ ใหนักเรียนขาดแรงจูงใจและความสนใจในการเรียนวทิ ยาศาสตร ตัวแปรสาํ คัญ คอื ดานสังคม และวฒั นธรรม มีผลอยา งมากตอการรวู ิทยาศาสตร เพราะนักเรยี นสวนมากไมเห็นความสําคัญของวิทยาศาสตรตอการประกอบอาชพี ในอนาคต นอกจากนี้ความไมเทา เทยี มของการศึกษา ของแตละโรงเรียนในการเรียนวทิ ยาศาสตร สงผลตอ ระดับการรวู ิทยาศาสตร ของนักเรียนดว ยเชนกัน

Journal of Roi Et Rajabhat University 175 Volume 14 No.3 September - December 2020 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 จากผลการศึกษาการรวู ิทยาศาสตรอยูใ นระดับท่ี 2 ซึ่งตํ่ากวา ระดับมาตรฐาน OECD ครูผสู อนควรเรงศึกษา แนวทางในการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม และเขากบั สภาพแวดลอมบริบทของโรงเรยี นนาํ สถานการณจริงและใกลตัว ผูเรียนมาใชในการจัดการเรียนรกู ระตุนใหผ ูเรยี นไดลงมือปฏบิ ตั จิ ริง 1.2 ควรสง เสริมใหผเู รียนสรา งองคความรูดวยตนเองรวมถึงกระตุนใหผูเรียนนาํ ความรูเชอื่ มโยงแนวคิด ทางวิทยาศาสตรท ี่มีมาใชในสถานการณใ นชวี ิตประจําวันใหมากย่ิงขึ้น เพ่อื ใหการรวู ิทยาศาสตรข องนกั เรียนมรี ะดับท่สี ูงขึ้น 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครงั้ ตอไป 2.1 ควรทําการวิจัยเพือ่ สรางแบบสอบถามหรือแบบสมั ภาษณ เพือ่ ใหท ราบถึงเจตคตใิ นเชิงวิทยาศาสตร ทีต่ รงกบั ปรากฏการณใ นเชิงลึกมากยง่ิ ขึ้น ซ่ึงเปนหนง่ึ ในองคป ระกอบสาํ คัญของการรวู ิทยาศาสตร เพ่ือใหท ราบขอ มลู พื้นฐาน ของแนวคิดนักเรยี นตอ วทิ ยาศาสตร 2.2 ควรสาํ รวจกลุมตัวอยางโรงเรียนท่ีมีบรบิ ท สภาพแวดลอ ม และสงั คมท่ีตางกัน เพื่อใหทราบวา มีตวั แปร สาํ คัญอน่ื ๆ อะไรบาง ท่ีจะสงผลตอ การรวู ิทยาศาสตรของนักเรียน เอกสารอางองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กัด. โครงการ PISA ประเทศไทย สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2561). ผลการประเมิน PISA 2015 วทิ ยาศาสตร การอาน และคณิตศาสตร ความเปนเลิศและความเทา เทยี มทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ซัคเซสพับลเิ คช่ัน จํากัด. พทุ ธรธิ ร บูรณสถิตวงศ, สรุ ียพ ร สวางเมฆ และปราณี นางงาม. (2560). การสาํ รวจสมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ ในเชิงวิทยาศาสตรแ ละสมรรถนะการแปลความหมายขอ มลู และประจักษพยานในเชิงวทิ ยาศาสตรต ามกรอบ การประเมินของ PISA 2015 ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาป ท่ี 4 แหงหนึง่ ในจังหวัดพิษณุโลกนเรศวร. วารสารกลุมมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร, 21(1), 1019–1031. สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2551). การรูเร่ืองวิทยาศาสตร กรอบการประเมินผลวิทยาศาสตร ของ PISA 2006. สบื คนเมื่อ 6 กุมภาพนั ธ 2562, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/about-pisa/scientific- literacy/ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2555). ตัวอยางขอสอบการประเมินผลนานาชาติ PISA และ TIMSS วิทยาศาสตร (พิมพค รงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท). สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2560). สรุปผลการประเมนิ PISA 2015. สืบคนเม่ือ 6 กุมภาพันธ 2562, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/news-8/ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2560). ประเด็นหลกั และนยั ทางการศกึ ษาจาก PISA 2015: บทสรุปสาํ หรบั ผูบรหิ าร. สืบคนเม่ือ 6 กุมภาพันธ 2562, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/isbn- 9786163626011/ สถาบันพฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.). (2561). โครงการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา Thailand 4.0 ท่เี นน Active learning แบบย่งั ยืน. สืบคนเม่ือ 10 กุมภาพันธ 2562, จาก http://www.matthayom13.go.th/site/files/new/2561/12/910.pdf สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26. (2562). ขอ มลู พืน้ ฐานโรงเรียน สังกดั สพม. เขต 26 (มหาสารคาม). สืบคนเมอ่ื 5 กรกฎาคม 2562, จาก https://data.boppobec.info/emis/school.php?Area_CODE=101726 สาํ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศึกษาแหงชาติ 20 ปกับการบรู ณาการสูแผนยุทธศาสตรพฒั นาการศกึ ษา จังหวัด. สบื คน เมอ่ื 3 มีนาคม 2562, จาก http://www.ubu.ac.th/web/files_up/03f2017041 813215099.pdf

176 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 DeBoer, G. E. (2000). Scientific Literacy: Another Look at Its Historical and Contemporary Meanings and Its Relationship to Science Education Reform. Journal of Research in Science Teaching, 37(6), 582-601. Lin, S. and Mintzes, J. (2010). Learning argumentation skills through instruction in socio scientific issues: The effect of ability level. International Journal of Science and Mathematics Education, 8(6), 993-1017. OECD. (2013). PISA 2015 Draft science framework. Paris. Paris: OECD. Retrieved February 5, 2019, from http://www.oecd.org/pisa/ pisaproducts/pisa2015draftframeworks.htm Sadler, T. and Zeidler, D. L. (2009). Scientific literacy, PISA, and socioscientific discourse: Assessment for progressive aims of science education. Journal of Research in Science Teaching, 46(8), 909-921. Yuenyong, C. and Narjaikaew, P. (2009). Scientific Literacy and Thailand Science Education. International Journal of Environmental and Science Education, 4(3), 335–343.

Journal of Roi Et Rajabhat University 177 Volume 14 No.3 September - December 2020 การสรางความเปน ตัวตนของชาวนาอินทรีย The Self-construction of Organic Farmers วรฉัตร วรวิ รรณ1 Received : 10 ม.ค. 2563 Warachart Wariwan1 Revised : 15 เม.ย. 2563 Accepted : 17 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ บทความวจิ ัยนี้ มีวัตถุประสงคเ พือ่ ศึกษาการสรางความเปนตวั ตนของชาวนาอินทรีย ใชการวิจัยเชิงคณุ ภาพ ในแนวทางการศึกษาเร่ืองเลาแบบฟโู กตเดียน โดยทําการศึกษาในพื้นท่ีชุมชนนาดี (นามสมมต)ิ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด ใชแบบสัมภาษณแบบก่ึงโครงสรา งเปนเคร่อื งมอื ในการเขาถึงเรื่องเลา เพ่ือการสนทนาเชิงลึกกับชาวนาอินทรีย จํานวน 13 คน จากน้ัน จึงนาํ ขอ มูลจากการสนทนามาสรา งเปนมโนทัศนและเชือ่ มโยงมโนทัศนตาง ๆ เขาดว ยกันตามประเด็นของเรอ่ื งเลา และนาํ ไปสูการสรางความรผู านเรื่องเลา ผลการศึกษาพบวา ชวี ิตการทาํ นาท่ีปรับเปล่ยี นสวู ถิ ีแบบอินทรียน้ัน ถูกสรา งผา นอาํ นาจ ความรู และความจริง เกีย่ วกับเกษตรอนิ ทรีย อยา งไรก็ตาม ในมิตขิ องการสรา งความเปนตัวตนน้ัน ชาวนาสามารถทํานาอินทรยี ท่ีสมั พันธไ ปกบั เง่ือนไขและบริบทของการดาํ รงชีวิต โดยมีวิธีการเขาถึงความจริงของความเปนอินทรียที่แตกตางหลากหลาย สามารถเลอื กสรร วิธกี ารทาํ นาอินทรยี อยางเหมาะสมภายใตเ ปาหมายทางสังคมวา ดว ยการผลิตอาหารปลอดภัย คําสําคัญ : ชาวนาอินทรีย, อํานาจ, เทคโนโลยีแหงตัวตน Abstract The objective of this research was to study the self-construction of organic farmers. This study was a qualitative research through Foucauldian Narrative Approach, done by conducting semi-structured interview and in-depth discussion with 13 organic farmers. This research was held at Nadee Community (assumed name) in Selaphum District, Roi Et Province. The data from the group discussion were created the concept and connected the various concepts together according to the narrative issues and led to knowledge creation through narrative. The study found that farming life that have changed to organic way was created through the power, knowledge and truth of organic agriculture. However, organic farmers in the dimension of organic self-construction have designed organic farming on relationships with the conditions and contexts of living, and have different ways to access the truth of organic-ness and can choose the suitable organic farming methods under the social goals on safe food production. Keywords : Organic farmers, Power, Technologies of the Self บทนํา แมการพฒั นาประเทศจะกา วไปในทิศทางใด สังคมไทยก็เปนสังคมท่ีไมเคยละท้ิงอาชีพการทาํ นา และหากมองในแง ยุคสมัยของการทํานาแลว ในอดีตชาวนามีการปลูกขาวเพอ่ื การยังชีพและบริโภคในครัวเรอื น บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง เปนสําคญั แตเมื่อการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย (modernization) อาชีพชาวนาถูกผูกโยงกับคณุ คาใหมในเชิงการผลิต เพอ่ื การคาบนพ้ืนฐานของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ทาํ ใหการทํานาแบบพอยังชีพไมส ามารถตอบสนองเปา หมาย 1 ผูชว ยศาสตราจารย ดร., อาจารยสงั กดั คณะนิติรัฐศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด อีเมล: [email protected] 1 Assistant professor Dr., Faculty of Law and Politics, Roi Et Rajabhat University, Email: [email protected]

178 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ของการพัฒนาได จากการผลติ แบบด้ังเดิมที่พ่ึงพาธรรมชาติ สูการจัดการไรนาแบบเกษตรกรรมสมัยใหม (modern agriculture) มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่เนนการสรา งผลผลิตใหมีคุณภาพในปริมาณตอไรท่ีมากขึ้น มีการนาํ ปจจัยการผลติ ที่เรียกวา “สารเคมี” มาใชอยางเปนระบบ ตั้งแตกระบวนการเตรียมดิน การเพาะปลูก และการบาํ รงุ ดูแลตนขา ว ซ่งึ ผลพวงจากระบบ เกษตรกรรมเคมี ทําใหชาวนาตอ งพ่ึงพาทั้งองคความรสู มัยใหมและปจจัยการผลิตจําพวกปุยเคมี ยาฆาแมลง สารควบคมุ และกาํ จดั ศัตรูพชื เปนจํานวนมากขึ้นในทุกฤดกู าลเพาะปลูก ซ่ึงการลงทุนไปกับการใชสารเคมีทางการเกษตรก็ทาํ ใหชาวนา มีรายจายเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันสารเคมียังสง ผลกระทบตอ สขุ ภาพของชาวนาและผูบริโภค และยังกอความสูญเสีย ตอระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมเปนอยา งมาก จากปญ หาของระบบเกษตรกรรมสมัยใหม/เกษตรกรรมเคมที ่ีสงผลกระทบตอ ชาวนาท้งั ในดา นตนทุนการผลิต สขุ ภาพของตนเองและผูบรโิ ภค และตอ ส่ิงแวดลอ มน้ี แนวคิดทางการเกษตรทเ่ี รียกวา “เกษตรกรรมอินทรยี ” (organic agriculture) ถูกพฒั นาขน้ึ บนฐานความรทู างวิทยาศาสตร อันมีเปา หมายเพื่อการฟนฟูระบบนิเวศและส่ิงแวดลอม การสราง ความหลากหลายทางชีวภาพ ทําใหเกดิ การปรับปรุงดินใหม คี วามอุดมสมบูรณต ามธรรมชาติ เพือ่ การผลติ อาหารปลอดภัย อนั เปนการปกปองชวี ิตผูคนและส่ิงมีชีวติ อ่ืน ๆ ในหว งโซการผลิตอาหารใหสามารถอยรู ว มกันและพึ่งพาอาศัยกันได (Kristiansen, Taji and Reganold, 2006 : 12-13) ดว ยหลักการเชนน้ี จึงทําใหวิธีคดิ ของเกษตรกรรมอินทรียเขา มาสรา ง ปฏิบัตกิ ารทางการเกษตรในสังคมเกษตรกรรมไทย จนทําใหสังคมชาวนาจาํ นวนหนึ่งสามารถปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต จากการทาํ นา ท่ใี ชสารเคมอี ยางเขมขนสูการทาํ นาแบบปลอดสารเคมี ที่เรยี กวา “การทํานาอินทรยี ” ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน จึงทําใหผ ูวิจัยสนใจศึกษากลมุ คนทํานาอินทรยี  เพราะเปน กลุมคนที่เปนเปาหมายสําคญั ของการขับเคล่ือนวถิ ีเกษตรอินทรยี ของสังคมไทย ในฐานะผูผลิตอาหารปลอดภัยสูผูบริโภคทั้งในระดับครัวเรอื น ชุมชน และสังคมประเทศชาติ ซ่ึงงานวจิ ัยน้จี ะใชคาํ แทนกลุมคนที่ทาํ นาอินทรียวา “ชาวนาอินทรีย” (organic farmers) ทัง้ น้เี พ่ือ ตอบคาํ ถามการวจิ ัยวา การสรางตัวตนในความเปนชาวนาอินทรียเกิดขึ้นอยา งไร และเกิดขึ้นภายใตสถานการณ บริบท และวถิ ีการผลิตแบบใด วตั ถปุ ระสงค เพอื่ ศึกษาการสรางความเปนตวั ตนของชาวนาอินทรีย ในพื้นที่ชุมชนนาดี (นามสมมต)ิ อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอ ยเอ็ด กรอบแนวคิด งานวิจัยน้ี มีการนาํ แนวคิดของมิเชล ฟูโกต วา ดวยอาํ นาจ ความรู ความจริง และเทคโนโลยีแหงตวั ตน มากาํ หนด กรอบแนวคดิ ในการวิจัย โดยเปนการชี้ใหเห็นวา ระบบความสมั พันธของอาํ นาจและความรไู ดสรา งความจริงของการเปน ชาวนาอินทรีย โดยชาวนาอนิ ทรยี มีการสรางเทคโนโลยีแหงตัวตน ซ่ึงเปนวธิ ีการของอัตบุคคลในการเขาถงึ ความจริง วาดวยความเปนชาวนาอินทรยี  โดยการออกแบบวถิ ีการทาํ นาทสี่ ัมพนั ธไปกับบริบทและเปาหมายของการดํารงชวี ิต จนนําไปสู การสรางความเปนตวั ตนในวถิ ีนาอนิ ทรีย อาํ นาจ + ความรู ความจรงิ ความเปนตวั ตน ของชาวนาอินทรีย เทคโนโลยีแหงตวั ตน วิธดี าํ เนนิ การวจิ ัย การศึกษาการสรางความเปนตัวตนของชาวนาอินทรยี นี้ ดําเนินการวจิ ัยดว ยวิธีวิทยาเรื่องเลา แนวฟูโกตเดียน (Foucauldian Narrative Approach) ซ่งึ เกิดจากการปรับปรุงความคิดทางการวิจยั ที่พัฒนาวิธีการศึกษาเรื่องเลา ในแบบชีวประวัติ (biography) และอัตชีวประวัติ (auto-biography) ซึ่งศึกษาประวัติศาสตรของบคุ คลในแบบวงศาวิทยา (genealogy) มาเปนวิธีการศึกษาท่ีประยุกตความคิดของฟูโกต (Foucault) เขา มาใชในการศึกษาเร่อื งเลา ดังนั้นเร่อื งเลา แนวฟูโกตเ ดียน จงึ ใหความสําคญั กับการวเิ คราะหความสัมพันธเชิงอํานาจ (relation of power) ซ่ึงถอื ไดว า เปนหวั ใจหลัก

Journal of Roi Et Rajabhat University 179 Volume 14 No.3 September - December 2020 ของความคิดแบบฟูโกต โดยวิเคราะหไปที่การมปี ฏิสัมพันธตอ เทคโนโลยีแหงตวั ตน (technologies of the self) (Tamboukou, 2013 : 90-94) ซึ่งมนุษยเปนผปู ฏิบัติตอ รางกาย จิตวิญญาณ ความคดิ และกํากับวิถที างดาํ เนนิ ชีวิตของตนเอง ซึ่งอาจจะเปนวธิ ีการที่เกดิ ขึ้นโดยตวั เองหรอื ไดรับความชว ยเหลือจากอ่ืน เพือ่ เปลี่ยนผา นตัวเองไปสูความสขุ ความบริสุทธ์ิ ความสมบรู ณ การมีปญ ญา และความย่ังยืน (Foucault, 1988a :17-18) โดยเทคโนโลยีแหงตัวตนซ่ึงเปนวถิ ีปฏิบัติในเร่ืองใด เรื่องหน่ึงในชวี ิตประจําวันของมนุษยนี้ จึงมใิ ชการปฏิบตั ิท่ีปราศจากขอกาํ หนด หลักเกณฑหรือบรรทัดฐาน แตทุกวิถีปฏิบัติ อยูภายใตระบบความสัมพันธเชิงอํานาจหรือแบบแผนของอาํ นาจ (form of power) (Foucault, 1983 : 212) ทสี่ รา งกรอบ หรอื แบบแผนการนําทางแหงการปฏิบัติตาง ๆ (a conduct of conduct) (Foucault, 1980 : 133) ดังน้ันการศึกษาการสราง ความเปนตวั ตนของชาวนาอินทรีย จึงเปนการศึกษาความสัมพันธเชิงอํานาจในแงท ่ีทําใหเกิดการกระบวนการปฏิบัติตอชีวิต หรอื การจดั การชวี ิตการทํานาอินทรยี ของชาวนา ซ่ึงเปนผูกําหนด ผูเลอื กสรรวิถีการทาํ นาอินทรียอยางเหมาะสมและสอดคลอ ง ไปกับความตองการและความจําเปนในชวี ิตของตน จนนาํ ไปสูการสรา งความเปนตัวตนบนแนวทางการทาํ นาอินทรีย และการเปน ชาวนาอินทรียของตนเองได 1. สนามการวจิ ัยและผใู หขอมูลหลัก ผวู จิ ัยใชแนวคิด/ทฤษฎีเขามากาํ หนดสิ่งที่ตองการศึกษา (theoretical base) หรอื เปนแนวทางในการเลอื ก สนามการวิจัยและผูใหขอมูลหลัก จึงทําใหผูว ิจัยดําเนินการศกึ ษากระบวนการสรา งความเปนตัวตนของชาวนาอินทรีย ณ ชุมชน “นาดี” (นามสมมต)ิ ซ่ึงอยูใ นเขตพ้นื ท่ีอําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอ ยเอ็ด โดยชุมชนแหงนี้ มีการทาํ นาอินทรียเปนระยะเวลา มากกวา 10 ป มีการปรับเปลี่ยนวถิ กี ารทาํ นาซ่ึงไมเพยี งแคการลด ละ เลิก การใชสารเคมีทางการเกษตรเพือ่ ดูแลสขุ ภาพ ของตนเทานั้น แตย ังสามารถพัฒนาวิถีการทาํ นาอินทรียสูการพ่ึงพาตนเองท้ังในกระบวนการผลิต การใชปจจยั การผลติ และการขายผลผลติ ตามความจําเปนในการดํารงชวี ติ โดยมีผูใหขอมูลหลัก (key informant) ท่ีรว มสนทนาเพอื่ สรา งความรู ผา นเร่อื งเลา จาํ นวน 13 คน ใชวิธกี ารเลอื กผูใหขอมูลหลักแบบเจาะจง (purposive sampling) และแบบบอกตอ (snowball sampling) โดยคณุ สมบัติของผูใหขอมลู หลัก คือเปนบุคคลทีม่ ีประสบการณในการทํานาอินทรียจนสามารถปรับเปลย่ี นตวั เอง โดยไมใ ชส ารเคมีทางการเกษตรในการทํานาโดยสมบูรณ ซ่ึงการกาํ หนดจาํ นวนของผูใ หขอมูลหลักนี้ เปน ไปตามความเพียงพอ ของขอ มูลตอการวิเคราะหท่ีสามารถตอบคําถามการวิจัย และเปนไปตามหลักเกณฑความเพียงพอของขอมูลตามแนวทาง การศึกษาของทฤษฎีฐานราก (grounded theory) ซึ่งมีการกําหนดผใู หข อมูลหลกั โดยประมาณ 12-15 คน ซึ่งการอางอิง แนวทางการศึกษาของทฤษฎฐี านรากนี้ ก็เปนผลมาจากการที่ผูวิจัยไดนาํ วิธีการวเิ คราะหขอมูลของทฤษฎีฐานรากมาใชในการ สรางประเด็นของเร่ืองเลา (Bold, 2012 : 141) จึงทาํ ใหค วามเพยี งพอของขอมูลผา นการศึกษาเร่อื งเลา แนวฟูโกตเดียน มีความเชอื่ มโยงไปกับการกาํ หนดผูใหข อ มูลหลักตามแนวทางของทฤษฎีฐานรากดวยเชนกัน 2. การเขาถึงเรื่องเลา “การเขา ถึงเร่ืองเลา ” หรอื อีกนัยยะหน่ึงคือ “การเก็บรวบรวมขอมูล” ในงานวิจยั น้ัน ผูวิจัยไดใ ชว ิธีการสมั ภาษณ (Interview) ซ่งึ เปนกระบวนการสอื่ สารระหวา งกันของชาวนาอินทรียและนักวิจัยเพ่ือสรา งความรใู นงานวิจัย ซ่ึงโดยท่วั ไปแลว การเขาถึงเรือ่ งเลาสามารถเกิดขึ้นในหลากหลายชองทาง เชน การสนทนา การจดบันทึกประจําวัน จดหมาย ภาพเขยี น หรอื แมแตการเขียนประวัตชิ ีวิตของตนเองผา นหนังสือหรือเอกสารตา ง ๆ ก็สามารถนําไปสูก ารศกึ ษาเร่ืองเลาได (Savin-Baden and Niekerk, 2007 : 463) แตผูวจิ ัยไดเ ลอื กแนวทางการสนทนา (Dialog) เพราะเห็นวา เปนแนวทางที่เหมาะสมในการเขาถึง เรอ่ื งเลา ซ่ึงผูใหขอมูลหลักไมไดเปนเพียงวัตถุแหง การศึกษา แตเปนผูส รางความรรู ว มกับนักวิจัยผา นปฏสิ ัมพันธระหวา งกัน ในกระบวนการสนทนา โดยเปนการเปดโอกาสใหผ ูเลา เรื่องไดสะทอนประสบการณอ ยางเปนอิสระ และนักวิจยั ทําหนา ท่ี ในการเออื้ อํานวยใหเ กิดประเด็นของเรอ่ื งเลา ทําใหผ ูเลา เกดิ กระบวนการสะทอ นคิดและการตีความตนเองผานประสบการณ ท้ังน้ี จะทําใหผูเลาซ่ึงเปนชาวนาอินทรยี ไดจัดระเบียบประสบการณของตนเอง มีการสรา งคณุ คา ความหมาย และตัวตน 3. การวิเคราะหขอมูลเร่ืองเลา ขอมูลที่เกิดจากกระบวนการสนทนาซ่ึงนักวิจัยไดทําการสอื่ สารและแลกเปลยี่ นทัศนะตาง ๆ กับชาวนาอนิ ทรีย จนทําใหการวิจัยไดตวั บทของเรือ่ งเลา (narrative texts) ซึ่งเปนคาํ พดู และประโยคท่ีเช่ือมโยงกันในเร่ืองตาง ๆ ที่เกีย่ วขอ งกับ ประเด็นการสนทนานั้น ผวู ิจัยจะนําตัวบทมาแยกยอ ยและจัดการขอ มูลหรือนาํ มาถอดเปนขอ มลู ของเรื่องเลา (narrative data) เพอื่ นําไปสกู ารวิเคราะหและตีความตอไป โดยกระบวนการวิเคราะหขอ มลู เรอ่ื งเลา ไดเลอื กใชแนวทางการวเิ คราะหประเดน็ ของเรอ่ื งเลา (narrative thematic analysis) ซ่ึงใหค วามสาํ คัญกับวิเคราะหประสบการณ (experience) ของผูเ ลา ท่ีเกิดขึ้น บนความสัมพันธกับบริบทแวดลอม (contexts) นัน้ ๆ ซ่งึ นักวิจัยตองทําการคนหาและระบุประเด็นท่ีเกิดขึ้นภายในเร่ืองเลา

180 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 (Bold, 2012 : 129) ซึ่งประเดน็ ตาง ๆ น้ี เปน การสรางความเขา ใจตอ ประสบการณท่ที ําใหเหน็ กระบวนการสรางความเปนตวั ตน ของชาวนาอินทรีย ดังน้นั วิเคราะหประเด็นของเร่ืองเลา จึงตองสรางชุดของประเด็น (set of themes) โดยในแตละชุดของประเด็น จะเปนชุดของประสบการณการเปนชาวนาอินทรยี  ซ่ึงประกอบไปดวยประเด็นหลัก (core theme) ทีท่ ําใหมองเหน็ วา ชาวนาอินทรียส รางประสบการณใ นเรื่องใดบา ง หลังจากนน้ั จึงแยกยอ ยใหเ ห็นประเด็นรอง (sub theme) ท่ีสะทอนใหเ ห็นวา ตัวตนชาวนาอินทรียถูกประกอบสรา งจากของประสบการณยอ ยในเร่อื งใดบา ง สรปุ ผล จากกระบวนการวเิ คราะหข อ มลู เรื่องเลา จึงนาํ มาสผู ลการวิจยั ที่กําหนดชุดของประเด็นเร่อื งเลา (set of narrative themes) การสรา งความเปนตัวตนของชาวนาอินทรยี  ไดแก 1) จากชาวนาเคมีสชู าวนาอินทรีย 2) ชาวนานักจดั การดิน ปลอดสารเคมี 3) ชาวนานกั จัดการพันธุขาวอินทรยี บ นฐานการพึ่งพาตนเอง 4) ชาวนานกั จัดการนํา้ เพื่อการทํานาอินทรีย บนพื้นฐานของการดาํ รงชวี ิต 5) ชาวนานักปกดําเพื่อปลูกชีวิตขา วอินทรยี  6) ชาวนานักพัฒนานํา้ หมักชวี ภาพ ดังรายละเอียด ตอไปน้ี 1. จากชาวนาเคมีสชู าวนาอินทรีย กวา 50 ปท่ผี านมา ชาวนาไทยไดรจู ักกับสารเคมีทางการเกษตร และใชเปนปจจัยการผลิตที่ทรงประสทิ ธภิ าพ ของการเพ่ิมผลผลิตในการทํานา อยา งไรก็ตาม สารเคมีทางการเกษตรก็ไดสงผลกระทบตอ สขุ ภาพ ตนทุนการผลิต และความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอ มการทํานา จนทาํ ใหชาวนาหลายคนเร่มิ ตระหนักถึงผลกระทบท่ีสั่งสมมาหลายทศวรรษ และหันหลังใหกับวถิ ีการทาํ นาเคมีสูวถิ ีนาอินทรีย บนความคาดหวังวา ตนเองและครอบครวั จะมีสุขภาพที่ดีไมเจ็บปวย จากสารเคมี มตี นทุนการผลติ ที่ลดลง และสามารถพลิกฟนผืนดินทาํ นาใหอุดมสมสมบรู ณตามธรรมชาติ “เพราะสขุ ภาพเปน เร่ืองสาํ คัญของชีวิต” ชีวิตท่ีผูกติดกับการใชส ารเคมีของชาวนานั้น เปนเพราะ ความสะดวกสบายในการเพ่ิมผลผลติ เพียงแคใชปุย เคมีและสารเคมีสตู รสาํ เรจ็ ก็ทาํ ใหชาวนามีตนขา วงอกงามและเติบโต อยางสมบูรณ แตในขณะเดียวกัน การใชป ุยเคมีและสารเคมีชนดิ ตาง ๆ นํามาซ่ึงการสะสมสารพิษในรางกาย สขุ ภาพของชาวนา กลับย่ําแย ซึ่งชีวติ ที่ขาดการรเู ทาทันพิษภัยจากสารเคมีนี้ ไดกอวิกฤตสิ ุขภาพดังท่ีเกิดกับคนในครอบครวั ของ พร (นามสมมติ) ซึ่งพอ ของเขาตอ งกลายเปน อมั พฤกษจ ากการใชส ารเคมีทางการเกษตรในการทาํ นามายาวนาน “พอมสี ารเคมีเขา ในเสนเลอื ด จนเปนอัมพฤกษ อัมพาต 5 ป เกือบจะเอาชีวติ ไมรอด ทานใชยาฉีด พนยา สารเคมเี ยอะ ลุยแบบไมกลวั เลย ก็เลยไดนอนโรงพยาบาล 4 เดอื นแบบไมไ ดอ อกมาเลย เงินท่ีสะสมไวก ็เอามารักษาจนเกอื บ จะไดข ายไรข ายนา พอออกมาก็มาเปนอัมพฤกษ อยู 5 ป น่ลี ะคือบทเรียนถึงเลิกใชสารเคมี กเ็ ลยคิดวา ทาํ ไดกินกไ็ ดกิน ไมไดกินก็ไมเปนไร พูดถึงแรงผลักดันสูการทาํ นาอินทรียกค็ ือสขุ ภาพของคนในครอบครัว” คําถามตอ การใชสารเคมวี าจะสงผลตอ สุขภาพอยา งไรน้ัน เปนส่ิงท่ี พร ไมเคยไดฉุดคิด เพราะการเติบโตมาจาก ครอบครวั ชาวนาท่ีใชส ารเคมีเปนเร่ืองปกตวิ สิ ัยของวิถีการทาํ นา จนกระท่ังเกิดเหตุการณไมคาดฝนกับพอ ของเขา เมื่อสารเคมี ที่สะสมในรา งกายมาหลายสิบป ทําใหพ อ ตอ งลม ปวยและเขารบั การรักษาตัวที่โรงพยาบาล ซึ่งแพทยวินิจฉัยวา สารเคมีสะสม ในกระแสเลอื ด จนทายท่สี ดุ พอของเขาตอ งกลายเปนอัมพฤกษ ดวยผลกระทบท่ีรุนแรงตอความรูสึกและการดําเนินชีวิต ของครอบครวั ซ่งึ ไมร เู ทาทันพิษภยั ของสารเคมเี ชนนี้ จึงทําให พร ไดฉุกคิดและทบทวนตนเอง เพราะถาหากเขายังคงใชส ารเคมี ทางการเกษตรอยูตอไป สักวันหน่ึงเขาก็คงตองเจ็บปวยจากสารเคมีเชนกัน เขาจึงตัดสินใจหันหลังใหกับการใชสารเคมีอยางเด็ดขาด โดยเลง็ เหน็ แลว วา สุขภาพเปนเร่ืองสําคญั ท่ีจะตองใสใจ และพยายามจะมองหาหนทางอื่น ๆ ท่ีจะยังรักษาอาชีพการทํานา สืบตอจากพอไวใ หไ ด เขาจึงตัดสินใจเขาไปเรียนรูวถิ ีการทํานาอินทรียกับชาวนาที่เคยทํานาอินทรียมากอ น ซึ่งการสวมรับ ความคิดของการปลูกขาวอินทรียเขา มาในชีวิต แมจะยังไมมั่นใจวา จะสามารถนาํ มาซึ่งการมผี ลผลิตท่ีงอกงามหรอื ไม แตอยา งนอย เขาก็ไมตอ งเผชญิ กับปญหาดานสขุ ภาพท่ีไมรูวาเมือ่ ไรจะเกิดข้ึนกับตนเอง การเผชิญวิกฤติสุขภาพอยางรนุ แรงของคนในครอบครัว จึงกลายเปนจุดเปลย่ี นสําคญั ในชีวิตของ พร จากชาวนาเคมีมาสูการเปนชาวนาอินทรยี  “เพราะตน ทุนการผลติ ที่เพิ่มขึ้น” หากการลงทุนซ้ือสารเคมีในการทํานา นํามาซ่ึงการขายขา วอยา งมีกําไรไปตลอด ทุกอยา งก็คงดาํ เนนิ ไปอยางราบรื่น ชาวนาคงรา่ํ รวยจากการขายผลผลิตและมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดีข้ึน แตเมื่อหันกลับมามอง สภาพความเปนจรงิ วถิ ีของการใชสารเคมีทางการเกษตรทวี่ นเวียนซํ้าไปซํ้ามาในทุกรอบฤดูกาลผลติ กลับไมไ ดสรางความมั่นคง ตอการมีรายไดจากการขายผลผลิตแมแ ตนอย เมอ่ื ชาวนาใชสารเคมีอยางตอเนือ่ ง ดินท่ีใชป ลูกขา วก็เร่ิมเสอ่ื มคุณภาพ ธาตอุ าหารตา ง ๆ ตามธรรมชาติไดถูกทาํ ลายลงไปดวยกระบวนการทางเคมี และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติท่ีเคยเกอื้ กูล

Journal of Roi Et Rajabhat University 181 Volume 14 No.3 September - December 2020 การทํานาก็ถูกทําใหไรประสิทธภิ าพ คงมีเพียงแตสารเคมเี ทานนั้ ที่ชาวนาตอ งใชอ ยา งไมม ีทางเลอื ก ย่ิงเมื่อใชส ารเคมีในปริมาณ ท่ีมากข้ึน เพอื่ ทดแทนความเสือ่ มโทรมของธาตุอาหารตามธรรมชาติ ชาวนาก็ตอ งแบกรับตน ทุนการผลติ ท่ีมากขึ้นในทุกฤดูกาล ทํานาเชนกัน ดังสงิ่ ที่เกดิ ขึ้นกับ ลํา (นามสมมต)ิ ที่ไดส ะทอ นใหเห็นถงึ วิกฤตขิ องตนทุนการผลิต จนกลายเปนจุดเปลี่ยนสาํ คัญ ในชวี ติ สูการเปนชาวนาอินทรีย “นาสมัยใหมลงทุนมาก แลวก็เปลืองทุน คา ปุยกแ็ พง แตถ าไมใสเยอะกวาเกา ก็ไมไดกินขาวเฮ็ดใหม ๆ ก็ไดหลายอีหลี เฮ็ดไดงา ย ขาวงามอีหลี ทีแรกกใ็ ชคนละกระสอบตอไร ก็รูปดี รปู งาม ขา วกห็ ลาย คนนน่ั ก็วาเอาไปใสแลว ไดหลาย ไดนั่นไดน ่ี ก็ใสม าเร่อื ย ๆ ตอมาก็เพมิ่ เปนสองกระสอบ แลวก็สามกระสอบเพิ่มขึ้นมา ถา เปนแบบนีม้ ันก็บไหว ตน ทุนมันหลาย ขา วมันได หลายอยู แตตนทุนหลายกวา เกา ตนทุนสิเพ่ิมขึ้นเทาตวั เฮาใชปุยปหน่ึงๆ สองตันสามตัน ยาฉีดนี่ซ้ือเปนหมื่นกวาบาท ซ้ือมาฉดี สุดทา ยก็แคคืนทุน เลยมาน่ังคิดวา เฮด็ แบบพอ แมล องเบ่ิงจะไดกินบ ปุยก็อยา ใส ยากอ็ ยาฉีดมันสิเปนอยา งไร” ความต่ืนตัวของการใชสารเคมี เกิดจากการที่ไดเห็นขา วมีความอุดมสมบูรณและไดผลผลิตจํานวนมาก เมื่อใชสารเคมี ในชว งแรกทาํ ใหเ ขาสามารถขายผลผลิตไดอ ยา งมกี ําไร เขากลายเปนชาวนาทท่ี ันสมยั และกาวทันโลกของการเปลี่ยนแปลง และรสู กึ วาตนเองกลายเปนผูลขิ ิตชะตาชีวิตของตนเองโดยไมตองพ่ึงพาใคร เพียงแคมุงม่ันใชสารเคมีอยา งเขมขน ก็สามารถยืนหยัด ในการประกอบอาชีพไดดวยตนเอง แตเม่ือกาลเวลาผา นไปนานวันปแลวปเลา ความคาดหวังของ ลาํ กลับเปน ไปในทิศทาง ตรงกันขาม แมการทํานาเคมจี ะนํามาซึ่งผลผลิตท่ีเต็มเม็ดเต็มหนวยและสามารถขายผลผลิตเพื่อแลกเปล่ียนเงินตรา แตก ารใช สารเคมีในปริมาณเทาเดิมกลับทําใหข า วมีผลผลิตท่ีลดลง แตกตางไปจากที่เคยใชในชวงแรกเร่มิ และยาฆาแมลงก็ตองเพิ่มปริมาณ การใชข้ึนเรื่อย ๆ จากการปรับตวั ตามธรรมชาติของแมลงดวยเชนกัน การแบกรับตนทุนการผลิตจึงเปนสิ่งทเี่ ขาตอ งเผชิญ จนทา ยท่ีสุด การปลูกขาวไมไดนาํ มาซึ่งกําไรเหมอื นท่ีเคยเปน การขายขาวจงึ เปนไปเพียงการนาํ เงินมาซ้ือสารเคมีในรอบฤดูกาล ถดั ไป เม่อื เปนเชนนี้ เขาจึงเริ่มหันกลับมาคดิ ทบทวนในสิ่งท่ีเกิดขึ้นวา การปลูกขา วโดยการพึ่งพาสารเคมีไมไ ดส รางความกินดี อยูดี หรอื ทาํ ใหค รอบครัวของเขามีรายไดทม่ี ่ันคง แตกลบั ตอ งแบกรับตนทุนการผลิต และถาชวี ิตตองดาํ เนินตอ ไปเชนนี้ การทํานา ก็คงตอ งขาดทุนและตอ งขายทนี่ าหรือใหนายทุนเชา ดว ยปญหาที่เกิดขึ้น จึงทําใหเขายอนนึกถึงการทาํ นาที่เคยเรียนรูจากพอแม ซึ่งในอดตี แมไมเ คยใชสารเคมีก็สามารถปลูกขา วเลี้ยงดูลูกหลานได พรอมกับแสวงหาลูทางใหม ๆ ในการทาํ นา เรียนรวู ถิ ีการทํานา อนิ ทรียโ ดยการศึกษาหาความรูจากเพ่ือนชาวนาอินทรียใ นชุมชน และแหลงเรียนรตู า ง ๆ จนทาํ ใหเขามองเห็นวิธีการใหม ๆ ในการปรับปรุงผลผลติ โดยไมต องพ่ึงพาสารเคมี “เพราะดนิ ท่ีไรชีวิต” การทํานาท่ีตอ งคลกุ คลอี ยูกบั สารเคมใี นตลอดฤดูกาลทํานา ไมใ ชเ พียงชวี ติ ของชาวนาเทา นั้น ที่จะตอ งเผชิญกับปญหาสุขภาพและความเจ็บปวย แตการทาํ นาเคมีอยา งตอเนื่องเปนระยะเวลาหลายป ยงั ทําใหดินที่เคยมีชีวิต มสี ภาพรว นซุย มไี สเ ดอื นท่ีชว ยพรวนดินในวิถธี รรมชาติ กลายเปนดินท่ีไรช ีวติ เปนดินที่มคี วามกระดา ง มีแตความแหงแลง ดินที่ตรากตราํ กับการใชส ารเคมีกลบั ไมม ีเวลาในการฟนฟูสภาพตนเองตามธรรมชาติ และนาํ มาซ่ึงการสญู เสียธาตุอาหาร ตามธรรมชาติไปโดยปริยาย เมือ่ สภาพของดินเปลีย่ นแปลงไปอยา งไมมีวันหวนกลับ แมช าวนาจะทุมเทใชปุยเคมีมากขึ้นเพียงใด เพ่อื ทดแทนธาตุอาหารในดนิ ทเ่ี สอ่ื มสลาย ก็ไมส ามารถนําความอุดมสมบูรณข องดินที่เคยมีในอดีตกลับคืนมาได ดงั ที่ บุญ (นามสมมติ) เลา ประสบการณเ ก่ียวกับปญหาเรื่องดินวา “ปุยเคมีเขา มามนั ก็ตื่นเตนอยากจะใชจึงเริม่ ใชมา พอใชไ ปเห็นวา ไดขาวเยอะ เลยคิดวาปุย เขาน้ันมันดี ก็เลยทํามา เร่อื ย ๆ พอทํามาเรื่อย ๆ มันเกิดดินกระดาง ตอนนั้นใชควายไถ ไถยาก พอป 2536 มรี ถไถนาเดินตาม กเ็ ลยใชร ถไถ พอทาํ ไป ทํามาจนมันไถไมได กเ็ ริ่มสงสัยวา ทาํ ไมนาเริ่มเปนแบบน้ี ไถขึ้นจะปกดําไมได แตกอนใชค วายไถก็จะปกดาํ ตามหลัง เลยมาน่ัง คดิ วา มันไมใ ชแลว ทํามาเรอ่ื ย ๆ แลวมันเร่ิมเห็นวา ดินมนั แยล งเร่อื ย ๆ” ปุยเคมีกลายเปนความแปลกใหมในชีวิตของ บุญ เม่อื ภาครฐั ไดเขามาสงเสริมใหชาวนาในชุมชนใชปุยเคมกี ันโดยทั่วหนา จึงทาํ ใหเขากลายเปนคนหนึ่งท่ีไดทดลองใชปุยเคมีในไรนา และเห็นวาปุยเคมไี ดเขามาเปล่ยี นแปลงและอํานวยความสะดวก ในการทาํ นาเปนอยา งมาก เพอ่ื แคหวานปุยลงไปในนาขาวอยา งตอเนอื่ ง ตามคาํ แนะนําท่ีไดเรยี นรูมาจากผูรูทเ่ี ขา มาสงเสรมิ ใหช าวนาใชปุยเคมี เขาก็สามารถสรางผลผลิตไดอยา งมากมายตางไปจากการทาํ นาในอดีต แตเมื่อใชป ุยเคมีไปเปนระยะเวลา หลายป ดินที่เคยไถอยา งงา ยกลับเริม่ ไถยากข้ึน จากท่ีเคยใชแรงงานควายไถดินกลับไมสามารถดําเนนิ การเชนเดิมได และดิน ก็เส่อื มสภาพลงไปในทุก ๆ ป เมื่อสภาพดินท่ีเส่อื มโทรมรนุ แรงน้ี เขาจึงตอ งการยุติการใชป ุยเคมีในการทาํ นา เพือ่ ทีฟ่ นฟูดิน ใหกลับมาไถงา ยเชนเดิม จดุ เปลี่ยนสาํ คัญน้ี จึงทาํ ให บุญ เลอื กท่ีจะเปล่ียนตนเองไปสูการเปนชาวนาอินทรีย บนความมงุ ม่ัน ที่จะฟนฟูดินใหกลบั มามีชวี ิต เพื่อสงตอผืนดินที่พรอมตอการทาํ นาในมติ ิใหมส ลู ูกหลานของเขาตอไป

182 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 2. ชาวนานกั จัดการดินปลอดสารเคมี วิถกี ารทํานาอันมี “ดิน” เปนทรัพยากรรากฐานสําคญั ของการปลูกขาวนั้น หากชาวนาสามารถปรับปรุงดิน ใหม ีคุณภาพก็จะทําใหผ ลผลิตมีคุณภาพตามไปดว ย ยิ่งสําหรับชาวนาอินทรียดวยแลว ความใสใ จเกี่ยวกับการพัฒนาและปรบั ปรุง คณุ ภาพของดินที่จะตองปลอดการปนเปอ นสารเคมีทางเกษตร ไดก ลายเปนเงื่อนไขสําคัญของการสรา งตวั ตนในความเปน ชาวนาอินทรีย “จากนกั เผาสูผูรักษาและใชตอฟางขาวบาํ รุงดิน” หากยอ นกลับไปกอนที่ชาวนาจะปรับเปล่ียนสูก ารทํานา อนิ ทรียนั้น ชาวนามักพูดเปนเสียงเดียวกันวา ตอฟางขา วเปนส่ิงท่ีไมม ีประโยชน และมักจะเผาตอฟางขา วเพอ่ื ใหแปลงนาโลง เตียน งา ยตอการไถดิน เชนเดยี วกับ หนู (นามสมมุติ) ท่ีไมเคยรเู ลยวา ตอฟางขา วเกี่ยวของกับการปรับปรุงดินอยางไร เพราะในอดตี ทีผ่ านมาในทุกฤดูกาลทํานา เขาจะเผาตอฟางขา วเพอื่ ทําใหเกดิ ความสะดวกสบายในการไถดิน และยังคิด อยูเสมอวา การปรบั ปรงุ ดินโดยใชปุยเคมีก็สามารถท่ีจะทาํ ใหดนิ มีธาตอุ าหารท่จี ําเปนสําหรับการเจรญิ เติบโตของตนขา ว ไดเปนอยางดี แตภ ายหลงั จากท่ีเขามีโอกาสเรียนรูแ นวทางการทํานาอินทรีย ท้ังการแลกเปลี่ยนเรยี นรูกับกลุม ชาวนาอินทรยี  ในชมุ ชน การไดร ับคาํ แนะนําจากเพ่ือนบานท่ีทาํ นาอินทรียม ากอน เขาจึงตดั สินใจท่ีจะทาํ นาอินทรีย และทําใหเขาเปลี่ยน ความคิดและวิถีปฏิบัติเกี่ยวกับการเผาตอฟางขา วไปตลอดกาล “แตกอ นเราไมเห็นความสาํ คญั เพราะเราไมร ู เราก็เผาทิง้ ไมส นใจจะไดไถงา ย แตพอเรารหู ลังจากท่ไี ปศึกษา จากคนที่เขาทาํ อินทรีย เขาก็บอกวา ตอฟางก็จะทาํ ใหดินคณุ ภาพดี มันรกั ษาหนา ดนิ ทําใหดินไมแ หงไมแข็ง ตอฟางมันกจ็ ะมี จลุ นิ ทรียเปนปยุ ท่ีสามารถทาํ ใหยอยสลายเปนพืชบํารุงดิน เรากเ็ ลยลองทาํ และมันก็ไดผลจริง ๆ ดินมันคอ ยๆ ดขี ึ้น เร่ิมเห็น ความเปลี่ยนแปลงหลังจากทาํ อยูสองสามป ตั้งแตน้ันมาก็ไมเ คยเผาฟางอีกเลย เห็นเขาเผาฟางที่ไหนก็นึกถึงแตนาตัวเอง กลวั นาขา งๆ เขาเผาแลว มันลามมา” การเรียนรูจากผอู ื่นและการลงมือทําดว ยตนเอง ทําให หนู มีความคิดและการปฏิบตั ิตอ ตอฟางขาว ท่ีแตกตาง ไปจากอดีต เขาทําความเขาใจความหมายของดนิ แบบอินทรีย และนาํ ไปสูการปรับเปล่ยี นวิธีการดูแลดินกอนเริ่มฤดูกาลเพาะปลูก เขาหยุดการเผาตอฟางขาว คอยระแวดระวังไมใ หเกิดไฟไหมตอฟาง คอยสังเกตการเผาจากแปลงอื่นซ่งึ อาจมีการลุกลามมาถึง แปลงนาของตนเอง เพราะเขาตระหนักแลววา หากเผาตอฟางขา วจะเปนการทําลายความชุมช้ืนในหนาดินใหหมดไป และเม่ือ ใกลถึงชวงฤดูกาลเพาะปลกู จึงดําเนินการไถกลบตอฟางขาวในแปลงนา เขาทําเชนน้ีอยสู องถงึ สามปจึงไดส ังเกตความเปล่ยี นแปลง ท่ีเกิดขึ้นกับดินวา มสี ภาพที่ดขี ึ้น ดนิ ออ นตัวลง ไมแข็งและมีสภาพท่ีแหงเหมอื นดนิ ที่เคยเผาฟางมาในอดีต ต้ังแตน้ันมาเขาจึง ปฏิบัตเิ ชนน้ีมาอยางตอเนือ่ ง บนการเล็งเหน็ คณุ คาและความจําเปนของตอฟางขาวตอวิถีการปรับปรงุ ดินแบบอินทรยี  วถิ ีปฏิบตั ิ ของ หนู จึงทําใหเขาเปล่ียนตวั เองจาก “การเปนนักเผาสูการเปนผูรกั ษาและใชต อฟางขาวบาํ รุงดิน” และเปนมิติหนึ่ง ของการสรางตัวตนใหตนเองกลายเปนชาวนาอินทรยี  เชนเดียวกับชาวนาอินทรียคนอ่ืนในชุมชนเลก็ ๆ ของเขา “ปลูกถว่ั เขียวเพื่อปรบั ปรงุ ดินและบริโภคในครัวเรือน” นอกจากการไถกลบตอฟางขาวแลว การปลูก “พืชตระกูลถ่วั ” ยังเปนแนวทางสําคญั ประการหน่ึงที่ชาวนาตอ งดําเนินการในกระบวนการปรับปรุงบํารุงดิน เพราะในมิติ ของความรทู างวิทยาศาสตรสมัยใหมไดชี้ใหเห็นวา พืชตระกลู ถ่วั ชวยเพมิ่ ธาตไุ นโตรเจนและเปนอินทรยี วัตถใุ หแกดิน ทําใหดิน มีความรวนซุยและทาํ ใหโครงสรา งดนิ มีการปรบั ปรงุ ไดเรว็ ขึ้น ดว ยความจริงเชน นี้ ชาวนาอินทรียจึงจําเปนตอ งเรียนรูและจัดการ การปรับปรุงบํารุงดินโดยใชพ ืชตระกูลถว่ั ดังท่ี เพ็ญ (นามสมมตุ )ิ ไดเลา ประสบการณในประเด็นดังกลาวนวี้ า “ทางราชการเขามาสงเสริม เขาก็บอกปลูกพืชตระกูลถัว่ พวกถัว่ พรา ถั่วลิสง ปอเทือง ถ่วั เขียว อะไรพวกน้ีแหละ เขาบอกวาแลว แตใครจะปลูกอะไร ขอใหเ ปนพืชตระกูลถั่ว ของเราก็เลยเลือกปลูกถ่วั เขียว เปาหมายก็คอื ก็จะไดกินเมล็ดดวย เอามาตม ดวย แลวก็ใบที่เหลอื ก็จะเปนปุย เดอื นเมษายน พฤษภาคม กเ็ ก็บลูกเอามาไวทําพันธุ และไถกลบอีกรอบ เพราะตอน แรกเราไถกลบตอฟางใชไ หม เราก็ไถกลบก็หวานถัว่ ไปดว ย กลมุ ของพวกเราน่ี ไถกลบตอซังขาวและใชถ ่ัวเขยี วปรับปรุงบาํ รุงดิน ตลอด” เพญ็ ผูซ่ึงเคยรว มกิจกรรมการสงเสริมและฝก อบรมการทาํ นาอินทรียในรูปแบบตา ง ๆ จนเขาใจและตระหนัก ท่ีจะนาํ วิธีการใชพ ชื ตระกูลถั่วมาปรบั ใชใ นกระบวนการปรับปรุงดิน ซ่ึงเขาเห็นวา ชาวนาอินทรียมักจะปลูกปอเทืองซงึ่ เปนพชื ตระกูลถ่ัวชนิดหน่ึงเพอื่ การปรับปรุงดิน แตสาํ หรับ เพ็ญ เขาเลอื กใชพ ืชตระกูลถ่ัวบนเปา หมายท่ีเปนมากกวาการเปนปยุ ใหกับดนิ โดยการปลูก “ถั่วเขียว” เพราะสามารถเกบ็ ผลผลิตมาบริโภคในชีวิตประจําวันได ดวยความรูคิดตอ การดําเนินชวี ิตเชนนี้ จึงทําให ทุกรอบฤดูกาลทาํ นาของเขา จะทําการหวานเมล็ดพันธุถว่ั เขียวลงไปในแปลงนาที่มตี อซังขา วพรอ มกับไถกลบในชวงเดอื น ธันวาคมและรอใหถั่วเขียวมีการเจรญิ เติบโตเต็มท่ี และทําการสังเกตเมล็ดถว่ั ท่ปี ลูกวาความอดุ มสมบูรณเ พียงพอหรอื ไม และ

Journal of Roi Et Rajabhat University 183 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในชวงเดือนเมษายน พฤษภาคม กจ็ ะเก็บเมล็ดถ่วั เอาไปบริโภคและเก็บเมล็ดพันธุไวปลูกในฤดูกาลถดั ไป จึงทาํ การไถกลบ ใหกลายเปน ปุยพืชสดบํารงุ ดิน ดังน้ัน การปลูกถ่วั เขียวจึงเปนแนวปฏิบัติบนฐานคิดของการพึ่งพาตนเอง ในดา นการใชปุยบํารุงดิน และการผลิตอาหารปลอดภัยเพ่ือการบริโภคในครวั เรือน “พฒั นาคุณภาพดินดว ยปุยคอกคุณภาพสูง” การพฒั นาคุณภาพดนิ บนความสัมพันธกับความเปนอนิ ทรียนั้น นอกจากชาวนาไดนําแนวทางการปลูกพชื ตระกลู ถัว่ มาใชใ นการสรา งธาตุอาหารในดินแลว กระบวนการเพิ่มความสมบูรณ ของธาตุอาหารกอ นการไถเพาะปลกู ก็เปน แนวปฏิบัติอยางหนึ่งที่จะตองดาํ เนินกา รเพอ่ื ทําใหดินใหมีคุณภาพมากที่สุด ซึ่งปุยคอก กลายเปนปุยท่ีสรา งความสมบูรณของธาตุอาหาร ท่ีสงผลตอการมีผลผลติ ที่มีคุณภาพ ดังเร่อื งเลาของ ชัย (นามสมมุต)ิ ที่เขาไดใช ปุยคอกในการเพิ่มธาตุอาหารใหแกดิน “เราก็มานั่งคดิ วา ทาํ ยังไงดินจะมีธาตอุ าหารมาก ๆ เรากเ็ ลยมาใชปุยขี้วัวขี้ควายปรับปรุงดิน ท่ีบา นก็เล้ยี งวัว เปนอาชีพเสริมอยูแลว และเหตผุ ลอยา งหน่ึงที่เลย้ี งกเ็ พราะตองการขี้ววั มาใชเปนปุย น่ีแหละ เอามาผสมกับฟางขา ว เศษหญา แกลบใหมันเหยยี บยํา่ ในคอก เมอ่ื มันผสมกับขี้ เราก็จะไดป ุยอินทรียที่มีคุณภาพมากข้ึน” การเปนชาวนาอินทรียท่ีสามารถสรางประสบการณเก่ียวกบั การจัดการดนิ ทาํ ให ชัย สามารถทํานาอินทรียโดยใช ปุยคอกในการปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพดนิ ตามแนวทางของบรรพบุรุษ และดว ยความเปนผูท่ีใฝหาความรอู ยูตลอดเวลา จากการเขารวมฝก อบรม ศึกษาดูงานการทํานาเกษตรอินทรียอ ยูบอยคร้ัง เขาจึงกลายเปนผูทีม่ ีความรูความเขาใจในการเตรียมการ และวางแผนการไดมาซึ่งปุยคอกท่ีมีคณุ ภาพสูง ซึ่งไมใชเพียงการเล้ียงววั เพือ่ ใหไ ดม ูลววั เฉกเชนการกระทําในอดีตเทาน้ัน แตวิถี แบบอินทรียทีเ่ ขาเขา ใจ คอื การเพ่ิมพูนความสามารถในการจัดการธาตอุ าหารจากธรรมชาติท่ดี ีกวาในอดตี ดังนั้น การไดมา ซึ่งปุยคอกมลู ววั ท่ีมีคณุ ภาพจึงเปนการผสมผสานวถิ อี ดตี เขากับวธิ ีการใหม โดยนําฟางขา ว เศษหญา และแกลบ เขา ไปผสม ในคอกวัวเพื่อใหว ัวไดเหยียบยาํ่ สวนผสมเหลาน้ันจนกลายเปนปุยช้ันดีและเปนปุยคอกที่มีคณุ ภาพ ซึ่งการหนั กลับมาใชปุย คอก อยา งจริงจัง และมีการเฝาสังเกตความเปล่ยี นแปลงของดินในแตละปของการเพาะปลูก เขาจึงมีดินที่มธี าตุอาหารสมบูรณ เพียงพอตอการเจริญเตบิ โตของขา ว การสรา งประสบการณบนฐานคิดจากอดีต และการจัดการดินในแบบอินทรียท่ีชัยไดเรียนรูมา นาํ มาซึ่งแนวทางการใชปุยอินทรยี ท่ีเหมาะกับตนเอง เขาสามารถเล้ียงวัวเปนอาชพี เสริมและใชประโยชนจ ากมลู ววั ใหเ กิด ประสิทธิภาพสูงสดุ สามารถพึ่งพาตนเองในดา นปุยโดยไมหันหลังกลับไปพึ่งพาปยุ เคมอี ีกตอไป 3. ชาวนานักจัดการพันธุขา วอินทรียบนฐานการพึ่งพาตนเอง การเลอื กพันธขุ า วที่ดีกลายเปนขอ พจิ ารณาสําคญั อีกประการหน่งึ ของการทํานา ซ่ึงโดยท่วั ไปชาวนามักจะเลอื ก พันธุขา วท่ีสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอ ม ใหผลผลิตตอ ไรสงู มีความแข็งแรงและตานทานโรค และเปนที่ตองการของตลาด อยา งไรก็ตาม หวั ใจสําคัญของการปลูกขาวอินทรยี น้ัน คงไมใชเพียงขอพิจารณาดังกลาวขางตน หากแตมีเงื่อนไขสาํ คัญคือการใช “เมล็ดพันธุอ ินทรีย” เพ่ือสงตอความเปนอินทรียที่สมบูรณตอการสแู ปลงปลูก ดงั นั้น ชาวนาอินทรียจึงมีความจําเปนตองเพาะปลกู และพฒั นาพันธุขา วอินทรยี เพือ่ นาํ ไปสูการพ่ึงพาตนเองดานเมลด็ พันธไุ ดอ ยา งสมบูรณ “คน หา พัฒนา และเกบ็ รกั ษาเมล็ดพันธุขา วจากแปลงปลูก” เพราะพันธุขาวอินทรีย คอื จุดเรม่ิ ตน ของขา ว อนิ ทรียที่สมบรู ณ ชาวนาจึงตอ งสรา งความตระหนักตอ ตนเองในเร่ืองดังกลา วน้ี ดังเร่อื งเลาของ สุ (นามสมมุต)ิ ที่เขาสามารถ ใชเมล็ดพันธุอินทรยี อ ันเกิดจากความมุงม่ันที่จะเก็บเมล็ดพันธุจากแปลงเพาะปลูกของตนเอง พรอ มกันนี้เขายังคนหาและพฒั นา สายพันธุขาวที่เหมาะสมกับพื้นท่ีการเพาะปลูก เพ่ือใหสามารถปลูกขาวที่มีคุณภาพ มีผลผลติ ที่ดี และสัมพันธไ ปกับแนวทาง การทําเกษตรอินทรยี ที่สามารถพึ่งพาพาตนเองในการใชปจจัยการผลติ “เมล็ดพันธุเปนเหมอื นเขม็ ทิศทจ่ี ะนาํ ไปสูเปาหมายได ถา เมลด็ พนั ธุยังเปนของบริษัทใหญ ๆ เปนของบริษัท ขา มชาติ หรอื เปนของกลุมทุนอยูน่ี เกษตรกรในกลุมเรากไ็ ปไมได ถาชาวนาไมเกบ็ รักษาพันธุโดยใชแ ปลงนาของตนเอง เปนพ้ืนท่ศี ึกษาวิจัยแลว ในอนาคตคุณกต็ อ งมปี ญหา เพราะคณุ ตองพึ่งเมลด็ พันธุจากภายนอก เมลด็ พันธุจากภายนอก เขาปลูกท่ีพื้นทข่ี องเขา มันไมใชพ ื้นทีข่ องเรานะ มันมาปลูกพื้นทีข่ องเรา มันอาจจะมีปญหากไ็ ด เพราะฉะน้ันแปลงนาเรา น่ีแหละ มนั คือพื้นที่ศึกษาวิจัยทดี่ ีที่สดุ ท่ีจะพฒั นาพันธุข าวและทาํ การเก็บรกั ษาเมล็ดพันธุ” การซ้อื พันธุข าวทผี่ ลิตโดยบริษัทธุรกิจการเกษตรมาปลูกน้ัน นานวันย่ิงทาํ ให สุ รสู ึกถึงภาวะของการพึ่งพา และการสูญเสียความสามารถในการเปนเจาของเมลด็ พันธุขาว โดยจดุ เปล่ียนสาํ คัญที่ทาํ ใหเขาหันกลับมาตระหนัก ตอ การใช พนั ธขุ าว คือ การซือ้ พันธุขาวจากบริษัทธรุ กิจการเกษตรมาปลูกนั้น ไมม ีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมการทาํ นาของเขา เลยแมแตน อย ตนขา วไมแข็งแรงและไมไดใหผลผลติ ตอไรในปริมาณทเี่ ขาพอใจ จึงทาํ ใหเขาหันกลับมาพิจารณาวา แปลงนา ของตนควรเปนพนื้ ท่ีของการทดลองคนหาสายพันธุที่เหมาะสมกับแปลงเพาะปลูก บนความหวังวา จะสามารถผลิตเมลด็ พันธุ

184 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 อนิ ทรียอ ันเปนรากฐานของความปลอดภัยและความม่ันคงทางอาหาร และมพี ันธุข าวทเี่ หมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีการเพาะปลกู เหมาะสมกับดินทใี่ ชปลูก และเปนการสรา งความมั่นใจใหกับตนเองวา ถา ตอ งเตรียมพันธขุ าวไวเพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป เขาจะมีพันธุขาวอินทรียท่ีมคี ุณภาพ โดยไมต อ งพึ่งพาเมลด็ พันธุจากภายนอกอีกตอ ไป “ใชพันธขุ าวท่เี หมาะสมกบั พืน้ ที่” เมอ่ื ความคิดเกี่ยวกับการใชแปลงนาตนเองเปนแหลงคนหาและพัฒนา พันธุขาวที่เหมาะสมของ สุ ไดก อ ตวั ข้ึน เขาจึงนําพันธุขาวชนิดตา ง ๆ ซ่ึงเปนพันธขุ าวท่ไี มเคยผานกระบวนการปรับปรุงพันธุ มาทดลองปลูกในผืนนาของตนเอง ซ่งึ การลงมือทดลองใชแปลงนาตนเองเปนแหลง คนหาพันธุขา วท่ีเหมาะสม ทําใหเขาคนพบ พนั ธุขาวทเ่ี หมาะสมกับพ้ืนที่เพาะปลูกของตนเอง “โดยในสว นตัวนลี่ องหาพันธุขาวพื้นบา นมาปลูกหลายสายพันธุ มันทําใหเราพบวา นาของเราเหมาะที่จะปลูก ขา วหอมมะลิแดงมากท่ีสุด ปลูกออกมาไดผ ลผลติ เยอะ แลว ก็กอใหญร วงดก หาสิบพวงกม็ ี สว นพันธุท่ีปลูกออกมาแลว ไมคอย เหมาะก็คอื ขาวขี้ตมใหญ เพราะขาวขี้ตมใหญถ า ปลูกในนาดินทราย ขา วจะแข็งบออ น บน่มิ ปนบตดิ กัน ตางกับนาของเพือ่ น ทอี่ ยูลุมนํ้า อยใู กลลุมน้ํายัง ถา เอาไปปลูกตรงนั้นจะออน” เมื่อความคดิ เก่ียวกับการใชแปลงนาตนเองเปนแหลงคนหาและพฒั นาพันธขุ าวที่เหมาะสมของ สุ ไดกอตัวข้ึน เขาจึงนําพันธขุ าวชนิดตาง ๆ ซ่งึ เปนพันธุขาวที่ไมเคยผานกระบวนการปรับปรุงพันธุมาทดลองปลูกในผืนนาของตนเอง ซึ่งการลงมือทดลองใชแปลงนาตนเองเปนแหลงคนหาพันธขุ า วที่เหมาะสมน้ี ทําให สุ เห็นวา พ้ืนที่การทํานาของเขาซึ่งมสี ภาพ เปนดินทรายน้ันเหมาะสมทีจ่ ะใชขาวพันธุ “หอมมะลิแดง” มากที่สุด สว นพันธุพื้นบานที่ชุมชนเรียกวาขาวพนั ธุ “ขต้ี มใหญ” กลับเหมาะสมและเจริญเติบโตไดด ใี นสภาพแวดลอมทีพ่ ื้นที่การเพาะปลูกตดิ ลุมน้ํา ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีของเพอ่ื นชาวนาในกลุมชาวนา อินทรียดวยกันเอง ผลจากประสบการณในการเพาะปลูกนี้ ทําให สุ เขาใจการใชพันธขุ าวท่ีเหมาะสมกับพื้นที่มากขึ้น เขาเกดิ ความเช่ือมั่นและมีความมั่นใจวา หากตอ งเตรียมพันธุไวปลูกในแตละฤดูกาล ก็จะตองเตรียมขาวพันธุหอมมะลิแดง เปนหลักในการเพาะปลูก อันจะนําไปสูการสรา งประสิทธิภาพในการจัดการพันธขุ าว และไมตองพ่ึงพาเมลด็ พันธุจากภายนอก อีกตอ ไป 4. ชาวนานกั จัดการนํ้าเพ่ือการทํานาอินทรียบนพ้ืนฐานของการดํารงชีวิต หากพิจารณาขอคาํ นึงเกี่ยวกับ “น้ํา” เพื่อการปลูกขา วอินทรยี น้ัน ขอปฏิบัติของมาตรฐานเกษตรอินทรยี  ไดกําหนดใหชาวนาตอ งควบคุมคุณภาพนาํ้ อยา งเครงครัด โดยเฉพาะอยางย่ิง ในมิตขิ องการตรวจสอบคุณภาพนาํ้ เพ่อื ยืนยัน การปลอดการปนเปอนจากสารเคมี อันจะเปนการรับรองวา น้าํ ท่ีใชปลูกและดูแลขาวคือน้ําที่ผานเกณฑม าตรฐานการควบคุม อยางไรก็ตาม บริบทการดาํ รงชวี ิตของชาวนาอินทรยี ในชุมชนแหงน้ี พวกเขากลับสรางทางเลอื ก กาํ หนดความหมาย และมี แนวปฏิบัติที่แตกตา งออกไป ที่สะทอนใหเห็นถึงการตอรอง ความหมายบางประการเก่ียวกบั การจัดการนํ้าเพ่ือการทํานาอินทรีย “จดั การน้ําใหป ลอดภัยในวิถแี บบพออยูพอกิน” ในประเด็นการจัดการนํ้าเพื่อการทาํ นาอินทรียน้ี ลํา (นามสมมต)ิ มมี ุมมองเก่ียวกับการประเมนิ และตรวจสอบคุณภาพนาํ้ ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย วาเปนวถิ ีทางความเปนอินทรียท่ีไมสัมพันธ ไปกับวถิ ีการดาํ รงชีวิตแบบพออยูพอกิน ท่ีผลิตขา วเพ่ือการบริโภคในครัวเรือนเปนหลัก โดยประเด็นความปลอดภัยจากสารเคมีน้ี ลํา ม่ันใจวา พื้นที่เพาะปลูกของเขาสามารถจัดการน้ําอยา งเหมาะสม และมีความปลอดภัยเพียงพอ จนเขาสามารถนํานาํ้ ที่ใช ในการทํานานั้นมาบริโภคด่มื กินไดเชนกัน “ชว งเอาน้ําเขา นานี่ อยูนามีนาํ้ บาดาล สระก็มี นา 5 ไรม ีหมดทุกอยาง มีน้ําบาดาล มสี ระ สระก็ใหญบยากนํานํ้า (สระใหญไมย ุงยากในการใชนํา้ ) แตวาอันดับแรกก็ตองใชนา้ํ ฝนธรรมชาติแหละถาจะดํานา ถาปใ ดฝนดกี ็บไดใชนา้ํ นี้ แตว าปกลาย (ปท่ีแลว) นี่ใชตลอด ใชแตบาดาล สูบใชตลอด กลวั ขา วจะตาย สว นเรือ่ งวา นํ้ามันปลอดภยั บน ี้ (ปลอดภยั หรอื ไม) แมก็วา มัน ปลอดภัยนะ เขาวาเอาน้าํ ไปตรวจ แมกะบไดเอาไปตรวจจักเทอ่ื (ไมไดเอานํ้าไปตรวจสักท)ี จักสิเอาไปตรวจเฮด็ หยัง (ไมรูจะเอา ไปตรวจทําไม) มนั อยูในพ้ืนท่ีของเฮาอยูแลว บมีไผมาใช มีแตเฮา (ไมม ีใครมาใช มแี ตเรา) แมก็วาน้าํ มันก็ดีนะ น้ําขาวใส กินก็ไดนะนาํ้ แมยังกินเลย” กฎเกณฑเร่ืองนา้ํ ตามมาตรฐานเกษตรอินทรยี  เปนกฎเกณฑของการสรางความเปนชาวนาอินทรียบนความเครง ครดั ของกฎระเบียบ หากแตใ นบริบทของการดาํ รงชีวิตของ ลํา เขากลับเลอื กท่ีจะเปนผูใหความหมายของความปลอดภัยเรอ่ื งน้ํา ในมุมมองท่แี ตกตางออกไป เพราะตัวเขาเองไมมุงหวังที่จะทํานาอินทรยี เพื่อการคา ในตลาดระดับประเทศหรือตลาดสากล ท่ีจะตอ งมีตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย เขาจึงไมมีความจําเปนใด ๆ ที่ตอ งตรวจรับรองแหลงนํ้า ประกอบกับการตรวจสอบ คุณภาพนา้ํ ก็มขี ั้นตอนที่ท่ีคอ นขางยุง ยากและมีคา ใชจา ยสูง ลาํ จึงเลือกที่จะปฏิเสธคุณคาความปลอดภัยของน้ําในโลกทางการคา แตไ ดสรางความหมายของนํ้าปลอดภัยซึ่งสรา งคุณคาบนความสมเหตุสมผลกับการทํานาอินทรีย เพื่อการบริโภคในครวั เรือนเปนหลัก

Journal of Roi Et Rajabhat University 185 Volume 14 No.3 September - December 2020 5. ชาวนานักปก ดาํ เพื่อปลูกชวี ิตขาวอนิ ทรีย สําหรับการปลกู ขาวน้ัน ชาวนาไทยสวนใหญใชวิธีการปลูกขาวใน 2 วิธีหลักๆ คือการทาํ นาหวานและการทํานาดํา ซึ่งในบริบทของการทํานาอินทรียในชุมชนแหงน้ี เลอื กที่จะทํานาดําภายใตความจริงทวี่ า การปลูกขาวดวยการปกดาํ ตนกลา จะทําใหตนขา วสามารถเจริญเติบโตไดดี มีระยะแตกกอดี และมีรวงขาวท่ีสมบูรณ ดวยเหตุน้ี การปกดําจงึ กลายเปนวิถีปฏิบัติ ของชาวนาอินทรยี อันเกิดจากการทบทวนประสบการณบนความเขาใจ ในวิถีของการปลูกขา วที่ตอ งสัมพันธกับระบบธรรมชาติ “ปกดํากลาตนเดียว เพ่ิมผลผลติ ” การปก ดําซึ่งเปนวถิ ีการปลกู ขา วอินทรยี ของชาวนาในชุมชนน้ัน ชาวนา ไดส่ังสมประสบการณการเพิม่ ผลผลิตและคนพบวา “การปกดาํ ตนกลา ตนเดียว” จะทําใหชาวนามผี ลผลิตท่ีสูงกวาการปกดาํ ตนกลา 2-3 ตนตอ หลุมปลูก ดังท่ี ลาํ (นามสมมต)ิ ไดส ะทอนประสบการณใ นเรือ่ งน้ีวา “แมว ามันตองดําเอา ถาเฮาหวานน่ีแมว าขา วมันบง าม เพราะเฮาบไดใ สป ุยเคมีเด ถาใสปุยเคมีมันกะเรงมัน กะไดอ ยู แตว าเฮาเฮ็ดอินทรียนี้ เฮาดําเอาดกี วา ใหตนขาวมันใหญแบบมีหมอ งหายใจ บต องแยงอาหารกัน จั่งซี่มันสดิ ี แลว ท่ีสาํ คญั อกี อยา งหนึ่ง คอื ใหดํากลีบเดยี ว (ปกดาํ ตน กลา เดียว) ดําตนเดียวเลย ผเู พิ่นเคยเฮด็ มากอน เพิ่นบอกวาใหลองเบิ่ง เดอแมใ หญ มันประหยัดกลาเด บตองใสกลา หลาย เฮากะบเม่อื ยนาํ (คนที่เคยทํามากอนบอกใหเราลองทาํ เขาบอกวา เปน การประหยดั ตนกลา และตวั เราก็ไมเหน็ดเหน่อื ย) แมกะเลยไดมาลองเฮ็ดนําเขา อาว! มันกะแมนความเขานะ (แมเ ลยลองทาํ ตามเขา และมันก็เหมือนเขาวา ) ขาวมันแตกกอดี ตนมันสมบรู ณกวา เพราะบมีไผแยงอาหาร ก็เลยพากันดาํ ตนเดียว มันก็ดี หลายอยาง มันจัดการได” ลํา ผูมีประสบการณการปลูกขาวแบบปกดาํ มาอยางยาวนาน เขามีความเขาใจเกี่ยวกับขอไดเปรียบของการปลูก ขาวแบบปกดําท่ีสัมพนั ธไ ปกับการทาํ นาอินทรียอยางถอ งแท แมการปกดาํ จะมขี ั้นตอนในการปลูกขาวที่สลับซับซอนมากกวา การทํานาหวานและเพ่ิมเวลาในการทํานาก็ตาม แตเขายงั เห็นวา เปนวิธกี ารท่ดี ีท่ีสุดท่ีจะทาํ ใหเขาสามารถปลกู ขาวอินทรีย ไดอ ยา งประสบผลสาํ เร็จ แมจะไมสอดคลอ งกับวถิ ขี องการปลูกขาวสมัยใหมท่ีคาํ นึงถึงความสะดวก รวดเรว็ และลดข้ันตอน แตกลับเปนการบมเพาะความเปนชาวนาอินทรียในตวั เขาใหเติบโตขึ้นไป พรอ มกับการแตกกอของตนขาวที่แพรข ยาย ความอุดมสมบูรณง อกงามภายใตวิถีการพึ่งพาธรรมชาติ อยา งไรก็ตาม การส่ังสมประสบการณยังตองการการเรียนรูเพ่ือเติมเต็ม ความสมบูรณงอกงามในความเปนชาวนาอินทรีย ซึ่งเขาไดร ับคาํ แนะนําจากชาวนาคนอื่นในชุมชนเก่ียวกับ “การปกดาํ ตนกลา ตนเดียว” เพอื่ เพ่ิมผลผลิต ซ่ึงการเปดใจเรยี นรูและเปด รบั ความคิดใหม ๆ ทําใหเขาประสบความสาํ เรจ็ ในวธิ ีการเพ่ิมผลผลิต นาอินทรีย จนสามารถจัดการนาอินทรียใหม ีประสทิ ธิภาพและสามารถลดตนทุนการผลติ จากการลดปริมาณตนกลา ท่ีใช ในการปกดาํ ดวยเชนกัน 6. ชาวนานักพัฒนานาํ้ หมักชวี ภาพ ภายใตบรบิ ทการทาํ นาอินทรยี ของคนในชมุ ชน ความรเู ร่ืองการทําปุยนา้ํ หมักชีวภาพ เกิดขึ้นจากการถายทอด ประสบการณระหวางกันและการสงเสริมจากภายนอก เพ่อื ใหชาวนามองเห็นการพ่ึงพาตนเองดา นการใชปจจัยการผลติ และเปนหนทางที่จะชวยจัดการพัฒนาผลผลิตใหมีคุณภาพ ปุยนา้ํ หมักชวี ภาพกลายเปนปจจัยการผลิตสําคัญของการเพิ่มผลผลิต หลายคนสามารถนําแนวทางของผูอ ่ืนในชมุ ชน หรอื แนวทางจากการฝกอบรมมาปรับใช จนเกิดการประยกุ ตใ ชกับแปลงนา ของตนอยา งเหมาะสม “ใชนํ้าหมักชวี ภาพรกหมู” ภายใตก ระบวนการทํานา้ํ หมักชีวภาพที่เปดทางใหแตละคนไดเรยี นรูและทดลอง ทาํ น้ําหมักไวใชเองน้ัน ชาวนาจึงเปนผูเลอื กวาจะใชส วนผสมจากอะไรและดาํ เนนิ การแบบใด ดวยเหตุน้ี ประสบการณท่ีเกิดจาก การลงมอื ปฏิบตั แิ ละเรียนรกู ับตนเอง จงึ กลายเปนชอ งทางของการประกอบสรา งความเปนตัวตน ดังที่ เพญ็ (นามสมมติ) ไดทดลองทําน้าํ หมักในหลายๆ รูปแบบ จนคนพบวา นาํ้ หมักท่ีเกิดจาก “การหมกั รกหมู” สามารถนาํ มาใชประโยชนในการสรา ง ความอดุ มสมบรู ณใหข าวไดเปนอยางดี “ผักมันก็เฮ็ด (ทาํ ) อยูแลวประจาํ มะมว งสุกเฮาก็เฮด็ (ทํา) แตวา ลักษณะการหมักไปฉีดพนมันจะมีปญ หาอุดตัน กรองไมดกี ็มีฝุนเล็ก ๆ อุดตันทอฉีด เฮาก็เลยมาคดิ วา พวกน้าํ หมักนี่ มันก็เอาพวกซากสัตวมาทําเปนน้ําหมักได ชวงน้ันกเ็ ลย้ี งหมู ก็เลยเอารกหมูมาทํา เพราะคิดไปวามันเปนแมลูกออน เฮาเรยี นมาวาสัตวมนั สะสมอาหารไวในรกไวเล้ียงลกู ออน มนั ซเิ ปนฮอรโ มน ก็เลยวามันนาสิมีอาหารมาก พอเรมิ่ ศกึ ษามันก็ศึกษาหมด รกหมมู นั สิใส ฉีดงา ย พวกหอยเชอรเ่ี ขาก็หมักอยู แตเ ฮาเลย้ี งหมู เฮาก็คดิ วารกหมมู ันใชได ใชไปใชมาคนเอาขาวไปกินเขาบอกวา ขาวเฮามนั หอม หอมกวา ขา วคนอื่น เขาเลยถามวาใชอะไรบํารุง เฮาก็บอกวา รกหมูนหี่ ละ ก็ใชมาเรื่อย ๆ ทุกวันนี้ก็หมักกใ็ ชอ ยูต ลอด”

186 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 เพ็ญ เปนหน่ึงคนท่ีผา นการฝกอบรมและฝกปฏิบตั ิเกี่ยวกับการนําสวนผสมจากพชื ผัก เศษอาหาร ผลไมสุก มาทําปยุ นํ้าหมักชวี ภาพ แตจุดเชื่อมตอของการตอ ยอดความคิดอันสําคัญ ในการใชปุยหมกั ชวี ภาพที่แตกตางไปจากคนอื่นน้ัน กลบั เกิดขึ้นภายใตบริบทของการดํารงชวี ิตของตนเอง เขาเปน เกษตรกรท่ีไมไดเ พียงยึดอาชพี การทาํ นาเทาน้ัน แตย ังเล้ยี งหมู เปนอาชพี เสริม เม่ือหมูคลอดลูกออกมาเขาจึงเกิดการตั้งคําถามเก่ยี วกบั รกหมู ซึ่งโดยทั่วไปจะตอ งนํารกไปทงิ้ หรอื นาํ ไปฝงดิน แตความรใู หมท่ไี ดจ ากการสะสมประสบการณเก่ยี วกับรกของสงิ่ มีชวี ิต จึงทาํ ใหเขาสรางความเขาใจกับตนเองวา รกหมู คือ ท่ีเก็บสารอาหารสําคัญในการเล้ียงตัวออ นในครรภหมู ในรกหมูจะมีสารอาหารที่จาํ เปนตอ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เม่ือคดิ ไดเชนนน้ั เขาจึงนาํ รกหมูมาทดลองหมักใหเปน ปุยนาํ้ หมักชวี ภาพ บนความคาดหวังวา ถาสามารถหมักรกหมูได สารอาหารท่ีอยใู นรกหมูคงเปนปุยชน้ั ดีเมือ่ มีการนําไปบาํ รุงตนขา ว การสรา งความรูคดิ และลงมอื ปฏิบัติดว ยตนเอง ทําใหเขา พบวา ปุยนํา้ หมักจากรกหมูมีการยอ ยสลายไดด ีกวาพืชผักหรือผลไม และเม่ือนําไปฉีดพนในไรนาก็สามารถลดปญ หาการอุดตัน ของหัวฉีด การหมักรกหมูก็สามารถทําไดงา ย เพราะไมตอ งใชสวนผสมหลายอยาง และรกหมูก็ไมมีกลนิ่ เหม็นคาวหากสามารถ ผสมกบั กากนา้ํ ตาลในปริมาณทพี่ อเหมาะ นอกจากนี้ ขาวที่เกิดจากนํ้าหมักชีวภาพรกหมูยังทําใหขาวมีกลิ่นหอมเปนที่พึงพอใจ แกผูบรโิ ภค การสรางประสบการณกับตนเองของ เพ็ญ กลายเปนกระบวนการสรา งความรูในการใชป ุยน้ําหมักชวี ภาพท่ีสอดคลอง ไปกับบรบิ ทการดาํ เนนิ ชีวิตของตนเอง อภิปรายผล หากมองการสรา งความเปน ตัวตนชาวนาอินทรียใ นฐานะของการสรางความเปนนายตนเอง (self-mastery) ที่สามารถกาํ หนดวิถีการทาํ นาของตนเองแลว ความเปนนายตวั เองดังกลา วกไ็ มอาจกอ เกดิ อยา งเปนอิสระผา นการดาํ เนิน วิถีนาอินทรียเชนใดกไ็ ด หากแตวิถนี าอนิ ทรียเ ปนผลของความสมั พันธเชิงอาํ นาจ ในมติ ิหนึ่งที่เปดทางใหช าวนาสามารถกาํ หนด แนวทางการทํานาของตนเองบนพรมแดนของวิถีเกษตรกรรมอินทรีย ซึ่งการกลายเปนนายตวั เองน้ี หากระบบความสมั พันธ เชิงอํานาจดังกลา ว ไมไดอาศยั ความรใู นการสรางความจริง และเปดทางเลือกใหเ ทคโนโลยีแหงตัวตน หรือปฏิบัติการสรางตัวตน บนพ้ืนทข่ี องความจรงิ ในการเปน ชาวนาอินทรยี แลว ตวั ตนในความเปนความอินทรยี ยอ มไมส ามารถเกิดขึน้ ได ดังการอภิปราย 1. จากประเด็นเร่ืองเลา “จากชาวนาเคมีสชู าวนาอินทรยี ” ของ พร ลาํ และบุญ สะทอ นใหเห็นถึงกระบวนการ ทํางานของอํานาจและความรูทีส่ รางความจริงเก่ียวกับการทาํ นาอินทรยี  มีการแจกจา ยไหลเวยี นบนความสมั พันธทางสงั คม ในรูปแบบตาง ๆ ที่ทําใหช าวนาเปลยี่ นแปลงตนเองไปตามความจริงดังกลาว และเปดทางใหค วามเปนตัวตนกอ เกิด ดังนั้น การกลายเปนชาวนาอินทรีย จึงเปน ผลลัพธข องเกมสแหงความจริง (game of truth) ซง่ึ คําวา “เกมส” ไมใ ชกจิ กรรม ที่สะทอนถึงความบันเทิงหรอื ความสนุกสนาน แตเกมสคอื ชุดของกฎเกณฑ/ชุดของกระบวนการที่ทาํ ใหความจริงถูกผลติ และนําไปสูการสรางผลลพั ธบางอยางอันแนน อน (Foucault, 1997 Cited in Danaher, Schirato and Webb, 2000 : 40) ซึ่งความจริงมีฐานะเปนวาทกรรม (discourse) ท่ีจัดระเบียบความคิดและวิถีปฏิบัติของผูคน และเกมสแ หงความจริงก็มีฐานะ เปนปฏิบัติการ (practices) ท่ีทําใหผ ูคนจัดการความคิดและวิถีปฏิบัติของตนเองผานระบอบของความจรงิ เหลาน้ัน (Peter, 2003 : 208) เชนน้ี จึงสะทอนใหเห็นวาชาวนาท่ีไดรับผลกระทบจากการทํานาเคมี ท้ังปญหาดานสุขภาพ ตน ทุนการผลิตท่ีสูงข้ึน และดินที่ไรช ีวิต คอื ผูทสี่ ามารถจัดระเบียบความคิดและเปลย่ี นแปลงวิถีปฏิบตั ิของตนสูระบอบความจริงของการทํานาอินทรยี  2. จากประเด็นเร่ืองเลา “ชาวนานักจัดการดนิ ปลอดสารเคมี” ของ หนู เพ็ญ และ ชัย น้ัน วิเคราะหไดว า ความจริง ของการปรบั ปรุงดินเพ่ือการทํานาอนิ ทรีย ไดกอปฏิบัติการกบั ชาวนาในชุมชนผา นวถิ ีทางตา ง ๆ ในกิจกรรมการปรับปรุงดิน โดยชาวนามีการสรา งตวั ตนผา นกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การใชตอฟางขาวบาํ รุงดินของ หนู อันเปนผลจากการเรียนรกู ับผอู ่ืน ท่ีเห็นวาบังเกิดผลและสงผลดตี อการปรับปรุงดินโดยปราศจากการใชส ารเคมี ทําใหเขาเกิดความตระหนักตอการรักษา และใชประโยชนจากตอฟางขาวใหไดมากท่ีสุด เพญ็ ซึ่งปลูกถ่วั เขียวปรับปรุงดิน ซ่ึงเขาทราบแนวทางการปลูกพืชตระกลู ถวั่ ปรับปรุงดินที่แพรม ายังชุมชนผานกิจกรรมท่หี นว ยงานตา ง ๆ เขามาสงเสริมในฐานะที่เปนกิจกรรมที่กอความสัมพันธเชิงอํานาจ และทาํ ใหเขากาํ กับตนเองใหลงมอื ปลกู พืชตระกลู ถว่ั อยา งไรก็ตาม เขาไดสรา งเทคโนโลยีแหงตัวตน โดยการไดเลือกที่จะปลูก ถ่ัวเขียวเพ่ือใชในการบริโภคในครัวเรอื นมากกวาเลือกปลูกพืชตระกูลถั่วชนิดอื่น เชนเดียวกับ ชัย ที่ขบคิดและสรางประสบการณ เกี่ยวกับการปรบั ปรุงปุยคอกใหมีคุณภาพสูง เพ่ือสรางดินใหม ีคุณภาพและเหมาะสมตอการปลูกขา วมากย่ิงข้ึน จากเร่อื งเลา ของชาวนาอินทรียทั้ง 3 คนดังกลาวมีความสอดคลองกับแนวคิดของฟูโกต ซ่ึงมีทัศนะวา “อํานาจ” ไมไดมีศูนยกลาง แตกระจายตัว อยบู นความสมั พันธทางสังคมและเครือขายของอํานาจ ที่สลบั ซับซอนในการผลติ สรางตัวตนประชากร ซ่ึงหากจะวิเคราะห ความสัมพันธเชิงอํานาจ จึงตองมองไปท่ีความสัมพันธเชิงยุทธศาสตรของอาํ นาจ ผานการท่ีปจเจกชนและ/หรือกลุมคน

Journal of Roi Et Rajabhat University 187 Volume 14 No.3 September - December 2020 ไดสรางแนวทางแหงการปฏิบตั ิ ซ่ึงเปนกระบวนการกํากับตนเองและผอู ื่นภายในสถาบัน ชุมชน หรอื สังคมที่มีลักษณะเฉพาะ ของตนเอง (Foucault, 2001 cited in Malette, 2010 : 59) มากไปกวา น้ัน อาํ นาจยังทํางานสอดประสานไปกับ “ความร”ู เพอื่ ทําหนา ที่ในการบอก “ความจรงิ ” วามนุษยควรปฏิบตั ิตวั อยางไร (Foucault, 1980 : 52) โดยมนษุ ยอาจเปนผูที่ตกอยู ภายใตภาวะพึ่งพาหรอื อาจกลายเปนผูท ี่สามารถสรา งความเปนตวั ตนโดยใชเงื่อนไขของความรูเพือ่ การรูจักตนเอง (Foucault, 1983 : 212) ดังนั้นการสรา งความเปนตวั ตนผา นการรจู ักตนเอง หรือการเปนผูมีแนวทางเฉพาะตนจงึ เปน “เทคโนโลยีแหงตัวตน” (Danaher, Schirato & Webb, 2000 : 129) ซ่งึ เปนปฏิบตั ิการของเสรีภาพทเ่ี กิดขึ้นภายใตความสัมพนั ธเชิงอํานาจ หรอื ความสัมพันธท างสังคมหน่ึง ๆ ท่ีเปด พื้นที่ใหบุคคลไดตระหนักตอความตอ งการของตนเอง (Foucault, 1988b: 50–51) 3. จากประเด็นเรอื่ งเลา “ชาวนานักจดั การพันธขุ าวอินทรียบนฐานการพึ่งพาตนเอง” ผานเรอ่ื งเลา ของ สุ ในฐานะ ชาวนาอินทรียผ ูสรา งอสิ รภาพในเร่ืองพันธุขา วนั้น ไดสะทอนใหเห็นถึงกระบวนการสรา งความเปนตวั ตนบนความสัมพันธ เชิงอํานาจอันมีกฎเกณฑการปลูกขาวที่ตอ งใชเมล็ดพันธุอ ินทรีย โดยเขาสามารถนาํ กฎเกณฑดังกลาว มาพิจารณาสรางการรูค ดิ และรเู ทาทันในปญหาของตนเอง สามารถจดั การพันธขุ าวอยางเปนอิสระบนความสัมพันธทต่ี นดาํ รงอยู Kjellström (2005, cited in Fejes and Nicoll, 2008 : 71) ซ่ึงความสัมพันธของอํานาจและตวั ตนนี้ ตองการการตรวจสอบตนเอง (self-examination) ซึ่งเปน กระบวนการของการกอรปู ความคดิ และการไตรตรองตนเอง บนความสมั พันธกับระบอบความจริง (Foucault, 1988a : 46) เพ่ือการรูจักตนเอง (know yourself) อันนําไปสกู ารสรางความรูเฉพาะตน (self-knowledge) และการเปนนายตัวเอง (self-mastery) ไปในที่สดุ (Foucault, 1997 : 87) ดังนั้น การจัดการพันธุข าวของ สุ จึงเปนปฏบิ ัติการสรา งความเปนตวั ตน ชาวนาอินทรียบนฐานคิดของการพึ่งพาตนเองดา นเมลด็ พันธุ 4. จากประเด็นเรอื่ งเลา “ชาวนานักจดั การนา้ํ เพอ่ื การทํานาอินทรียบนพื้นฐานของการดํารงชีวติ ” หากพิจารณาวถิ ี การจัดการน้ําเพ่ือการทาํ นาอินทรียของ ลํา อยา งลึกซึ้งแลว แมเขาจะปฏิเสธกฎเกณฑข องมาตรฐานเกษตรอินทรียท่ีจะตองมี การตรวจสอบการปนเปอนสารเคมใี นแหลงนาํ้ แตว ธิ ีการจดั การน้าํ ในการทํานาภายใตบริบทของการดํารงชีวิต ก็เปนการสรา ง ความหมายและคุณคาของการทาํ นาอินทรียในอีกมิติหนึ่ง ที่เขาจะตองดูแลระบบการใชนํ้าใหปลอดภัยจากการปนเปอน ของสารเคมใี หไดม ากที่สุด การจัดการน้าํ เพื่อการเพาะปลูกของ ลํา จึงยังคงเปนกิจกรรมภายใตค วามสมั พันธเชิงอํานาจ ซ่ึงเปนความพยายามท่ีดาํ เนินชวี ิตในบริบทของการทาํ นาแบบอินทรีย กลา วคือเขายังคงสรางขอคาํ นึงถึงการใชนา้ํ ที่ปลอดสารเคมี อยูเ สมอในแนวทางของตนเอง จึงสอดคลองกับสิง่ ท่ีจะฟูโกต เนน ย้ําเสมอวา แมเ ทคโนโลยีแหงตัวตนคือปฏิบตั ิการของเสรีภาพ (technologies of the self as practices of freedom) แตช ีวิตมนุษยก็ไมไ ดเปนอสิ ระไปจากความสัมพันธเชิงอาํ นาจ ดังน้ัน หากมีการตอตาน (resistance) ใด ๆ เกิดข้ึน การตอตานนั้น ๆ กไ็ มเคยอยูภายนอกความสมั พันธเชิงอาํ นาจ หมายความวา แทนท่ีการตอตานจะเปนการปฏิเสธหรือการปฏวิ ัตขิ องบุคคลหรอื กลุมบุคคลในความเขา ใจแบบอืน่ ๆ แตกลับเปนการเปล่ียนแปลง หรอื ปรบั เปล่ยี นตนเองบนเสน ทางของความสัมพันธเชิงอาํ นาจ อันเน่ืองมาจากอํานาจไดเขาไปมสี ว นรวมในการปฏิบัตขิ องเสรีภาพ (Foucault, 1978 cited in Markula & Pringle, 2006 : 146-147) 5. จากประเดน็ เร่อื งเลา “ชาวนานักปกดําเพื่อปลูกชีวิตขาวอินทรีย” ผา นเรื่องเลา ของ ลํา ท่ีเขาเปดทางใหความรู จากผูอ ื่นหรอื แหลง อื่นไดกอ ปฏิบัติการกับตนเอง ผานการจัดการแนวทางการปลูกขาวอยา งเหมาะสมนี้ จึงทําใหเขาประกอบ สรา งตัวตนในความเปนชาวนาอินทรียไดอยางสมบูรณมากข้ึน กลายเปนภาพสะทอ นของการสรางเทคโนโลยีแหงตวั ตน ซ่ึงหมายถึง การท่ีมนุษยส ามารถปฏิบัติตอรา งกาย จิตวิญญาณ ความคิด มีการกาํ กับตนเอง และการมีวิถีทางดําเนินชีวิต ของตนเอง ซ่งึ อาจจะเปนวิธีการท่ีเกดิ ขึน้ โดยตวั เองหรอื ไดรับความชวยเหลือจากผูอื่น เพอื่ เปล่ยี นผา นตวั เองไปสูความสุข ความบริสุทธิ์ ความสมบูรณ การมีปญญา และความยั่งยืน (Foucault, 1988a : 18) 6. จากประเด็นเรอ่ื งเลา “ชาวนานักพฒั นานํ้าหมักชวี ภาพ” ซึ่งการทําปุยเพิ่มผลผลติ บนความสัมพันธกบั วถิ ี การดํารงชพี ของ เพญ็ วเิ คราะหไดว า การพฒั นานาํ้ หมักชวี ภาพเปน ผลลัพธที่เกิดจากอํานาจ ความรู และความจริงของการใช ปุยอินทรีย โดยเขาเปนผูออกแบบวิธกี ารในการเขาถึงความจริงน้ันดวยตนเอง ความเปนไปเชนนี้ จึงสอดคลองกับงานศึกษาเรอ่ื ง Green Governmentality : insights and opportunities in the study of nature's rule ของสเตฟานนี่ รัธเทอรฟอรด (Rutherford, 2007 : 291) เขาไดชใ้ี หเหน็ วา อาํ นาจและความรสู ิ่งแวดลอม เปนระบบความสัมพันธข องกระบวนการสรางตัวตน ใหเปนนักภมู ิศาสตร (geographers) ทใ่ี สใจส่ิงแวดลอม ท้ังนี้ อํานาจและความรูไดผ ลิตความจริงหรือกฎของธรรมชาติ (nature’rule) ทนี่ ําไปสูการสรางแนวปฏิบัติตา ง ๆ เพื่อใหนักภมู ิศาสตรสามารถทํางานบนพื้นฐานของการอนุรักษสิ่งแวดลอมได ดังน้ัน พ้ืนท่ี (space) ของการจัดการสิ่งแวดลอม จึงเปดชอ งทางใหนักภูมิศาสตรส รา งเทคโนโลยีแหงตวั ตน โดยเปนผูทีส่ ามารถ

188 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ตคี วามกฎของธรรมชาติ และแสวหาแนวทางในการจดั การเก่ียวกับอากาศ (spatiality) ขนาดพ้ืนที่ (scale) และดินแดน (territory) ซ่งึ เปนความเกี่ยวของของความสมั พันธระหวา งมนุษยและธรรมชาติ บทสรปุ สําหรับการศกึ ษาเร่อื งเลา ที่นํามโนทัศนของมิเชล ฟูโกตเกี่ยวกับความสัมพันธของอํานาจ ความรู และความจรงิ ที่เปดชอ งทางใหเทคโนโลยีแหงตวั ตน ซ่ึงชาวนาเปนหรอื เลือกเปนชาวนาอินทรียผานปฏิบัติการทางสงั คม มาเปนกรอบ ของการสรางความรูในงานวิจยั น้ี แสดงใหเห็นวาการสรา งความเปนตวั ตนของชาวนาอินทรีย ไมใ ชเ พียงการทาํ ใหต นเอง กลายเปนผลผลิตของความคิดที่มาจากภายนอก หากแตการสรา งความคิดกับตนเองจากภายในและการสรา งประสบการณ ของการเปนชาวนาอินทรยี  ไดทําใหชาวนากําหนดเปาหมายแหงชวี ิต หรอื กาํ หนดจดุ ยืนของการเปนชาวนาอินทรียของตน ดังนั้น ชาวนาจึงเปนผูเลอื กสรรคุณคาและสามารถสรา งความรูการทาํ นาอนิ ทรีย บนความรูคดิ ในการกําหนดแนวทางการทํานา อินทรียท่ีเหมาะสม ซ่ึงการเปนผูเลือกสรรหรอื ออกแบบวิถีการทํานาอนิ ทรียน ี้ ทําใหวิถีนาอินทรียเกดิ ข้นึ บนความสมคั รใจ ความปรารถนา และการมีเสรีภาพในการกาํ หนดชะตาชวี ิตของตนเอง เพ่ือปลูกขาวอินทรียบนความสมดลุ ของชีวติ ท้ังในมติ ิ สุขภาพ การพ่ึงพาตนเอง การสรา งเศรษฐกจิ ภาคครัวเรือนโดยไมบีบค้ันตนเอง ไปตามกระแสการตลาดขาวอินทรียอันเขมขน จากผลการวิจัย ทําใหมองเห็นเงื่อนไขสาํ คัญของการสรา งความเปนตวั ตนชาวนาอินทรยี  ซ่ึงมที ้ังเง่ือนไขภายนอก และเง่อื นไขภายในที่ทําใหช าวนาอนิ ทรียม ีการตอรองตนเองภายใตเงอื่ นไขตาง ๆ เพอ่ื กาํ หนดตนเองวาการเปนชาวนาอินทรีย ท่ีเหมาะสมกับวถิ ีการดํารงชีวิตควรจะดาํ เนินไปตามเงอ่ื นไขใดบาง ท่ีจะทาํ ใหตนเองมีความสมบูรณใ นวิถีของอาชีพ การมีความสขุ มีปญญา และพ่ึงพาตนเองไดภ ายใตการสรางความม่ันคงทางอาหาร สขุ ภาพ และสงิ่ แวดลอม ดังผังมโนทัศนดังนี้ เงือ่ นไขภายนอกของการสรางความเปนตัวตน การสรา งความ เงอ่ื นไขภายในของการสรางความเปนตวั ตน ชาวนาอินทรีย เปนตัวตนของ ชาวนาอินทรีย  ความรูทางวิทยาศาสตรเกษตรอินทรีย ชาวนาอนิ ทรยี   ภูมิปญ ญาการทํานาปลอดสารเคมี  นโยบายเกษตรอินทรียของภาครฐั  ความตองการลดตนทุนทางการผลิต  มาตรฐานเกษตรอินทรยี เพื่อการควบคุม  การดูแลสุขภาพใหหา งไกลจากสารเคมี  การคาในระบบตลาดเพื่อการสงออก  ความตองการพฒั นาคุณภาพดินและนํ้า  ความตองการดานการบรโิ ภคขา วอินทรีย  การพึ่งพาตนเองดา นการบรโิ ภค ของสังคม  ความตองการขายผลผลิตในระบบตลาด ที่หลากหลาย ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 เรอื่ งเลาท่ีเกิดจากประสบการณและการสรางความรูของชาวนาอนิ ทรียในงานวิจัยนี้ สามารถตอยอดไปสู การสรา งแนวปฏิบัติท่ีดี หรือนาํ ไปสกู ารจดั การความรอู ันเปนประโยชนสชู าวนาอินทรยี กลุมอื่น ๆ เพือ่ การสรา งสรรคพ ื้นที่ ทางสังคมชาวนาอินทรยี ใหม ๆ ใหเกดิ ขึ้น และไมใ ชเพียงชาวนาอินทรยี เทา นั้น ท่ีสามารถนําความรไู ปใชป ระโยชน หากแต เกษตรกรอินทรยี กลมุ อ่ืน ๆ ที่ผลติ อาหารอินทรียกส็ ามารถนําแนวทางท่ีเกี่ยวของ ไปปรับใชใ นงานเกษตรอินทรียข องตนได 1.2 หนว ยงานภาครฐั ในพ้ืนท่ี ควรใหการสนับสนุนและเปนตวั กลางในการสรา งเครอื ขายความรว มมอื ของกลุม ชาวนาในหมูบาน/ตําบลตาง ๆ เพื่อสรางโอกาสใหชาวนาอินทรียในแตละกลุมชมุ ชน สามารถแลกเปลี่ยนองคความรู ในการทํานา อินทรียระหวางกัน ทง้ั นี้ก็เพ่ือขยายผลใหว ถิ กี ารทาํ นาอินทรียใหแพรหลายในหมูชาวนา เพื่อรว มกันผลิตอาหารปลอดภัยตอ สังคม 1.3 นโยบายของรฐั ควรมีแนวนโยบายและแผนงานที่จะสง เสริมการตลาดของกลุมชาวนาอินทรียที่แตกตาง หลากหลาย ไมใ ชม ุงเพยี งแนวทางการสง เสริมใหชาวนาตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียเพอื่ การสง ออก ซงึ่ แนวทางดังกลา ว อาจไมเหมาะสมตอผูผลิตและผูบริโภคในประเทศบางกลุม ดังน้ัน อาจสนับสนุนหรือสรางตลาดทางเลือกใหเกิดขึ้นในแตละทองถิน่ เพอ่ื ใหผ ูผลิตในทองถิ่นสามารถขายผลผลิตใหแกผูบรโิ ภคในทองถิ่นดว ยเชนกัน มิใชเพียงขายใหกับผูบริโภคนอกชุมชนเทา นั้น

Journal of Roi Et Rajabhat University 189 Volume 14 No.3 September - December 2020 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครัง้ ตอไป ควรศึกษาการสรา งความเปนตัวตนชาวนาอินทรยี ในมิตขิ องการเปน smart farmer ซึง่ มีความนาสนใจตอ การพัฒนา วถิ ีการทาํ นาอินทรียในยุคปจ จุบัน ซึ่งคนรุนใหมหันกลับมาทําการเกษตรดวยองคความรูสมยั ใหม และใชเทคโนโลยีท่ีทนั สมัย ในการจัดการพื้นทที่ างการเกษตรมากขึ้น จะทําใหเขาใจกระบวนการสรา งตวั ตนในอีกมิติหนง่ึ และเปนการสรา งความรู จากงานวิจัยท่ีจะเปนประโยชนตอ การสรางแรงผลักสาํ คญั ใหคนรนุ ปจจุบัน มีมุมมองและทัศนคตติ อการทาํ นาที่เอื้อตอ การพฒั นา การเกษตรกรรมอินทรียข องประเทศตอ ไป เอกสารอางองิ Bold, C. (2012). Using Narrative in Research. London: SAGE Publications. Danaher, G., Schirato, T. and Webb, J. (2000). Understanding Foucault. London: SAGE Publications. Fejes, A. and Nicoll, K. (2008). Foucault and Lifelong Learning: Governing the Subject, London: Routledge. Foucault, M. (1980). Power/knowledge: selected interviews and other writings. New York: Pantheon Books. Foucault, M. (1983). The subject and power, H. Dreyfus, & P. Rabinow (Eds.). Michel Foucault: Beyond structuralism and hermeneutics. Chicago: University of Chicago Press. Foucault, M. (1988a). Technologies of the self, in L H Martin, H Gutman and P H Hutton (eds) Technologies of the self : a Seminar with Michel Foucault. London: Tavistock. 16-49. Foucault, M. (1988b). An Aesthetics of Existence, in L.D. Kritzman (ed.) Michel Foucault Politics, Philosophy, Culture: Interviews and Other Writing, 1977–1984,47-53. Foucault, M. (1997). Subjectivity and Truth, Ethics: Subjectivity and Truth, ed. P. Rabinow. NewYork: New Press. Kristiansen, P., Taji, A., Reganold, J. (2006). Organic Agriculture: A Global Perspective. Collingwood: CSIRO Publishing. Malette, S. (2010). Green Governmentality and its Closeted Metaphysics: Toward an Ontological Relationality. Victoria: University of Victoria. Markula, P., & Pringle, R. (2006). Foucault, sport and exercise: Power, knowledge and transforming the self. London: Routledge. Peters, M.A. (2003). Truth-telling as an educational practice of the self: Foucault, Parrhesia and the ethics of subjectivity. Oxford Review of Education, 29(2), 207-223. Rutherford, S. (2007). Green governmentality: insights and opportunities in the study of nature’s rule. Progress in Human Geography. 31(3), 291–307. Savin-Baden and Niekerk. (2007). Narrative inquiry: Theory and practice. Journal of Geography in Higher Education, 31(3), 459-472. Tamboukou, M. (2013). Foucauldian approach to narrative, In Doing Narrative Research. London: Sage.

190 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอด็ ปท ่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 ขอเสนอกลยุทธการพัฒนาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสําหรบั ครูในโรงเรยี น สงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน The Proposed Strategies for the Development of Teacher Ethical Leadership in the Basic Education Schools วาสนา ภักดี1, ประดิษฐ ศลิ าบุตร2, สวสั ดิ์ โพธวิ ฒั น3 และ พงษศกั ดิ์ ทองพันช่ัง4 Received : 25 พ.ย. 2562 WassanaPukdee1, Pradit Silabut2, Sawat Potiwat3and Pongsuk Tongpunchung4 Revised : 15 เม.ย. 2563 Accepted : 17 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ การวจิ ัยในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค 1) เพ่ือศึกษาขอ มลู พ้ืนฐานที่จาํ เปนสาํ หรับขอ เสนอกลยุทธการพัฒนาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสาํ หรับครูในโรงเรียน สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2) เพ่ือสรางและพัฒนาขอเสนอ กลยุทธการพัฒนาภาวะผูนําทางจริยธรรมสาํ หรับครู และ 3) เพอ่ื ประเมินขอเสนอกลยุทธ เครือ่ งมือในการวิจัยประกอบดวย 1) แบบวิเคราะหเอกสาร 2) แบบสัมภาษณ 3) แบบสอบถาม 4) แบบประเมินสภาพแวดลอม และ 5) แบบประเมินกลยทุ ธ แบบสอบถามมีคา ความสอดคลองเชงิ เนือ้ หาอยรู ะหวา ง 0.60-1.00 และคา ความเช่ือมั่น 0.98 กลมุ ตัวอยา งทใี่ ชใ นการศึกษา ขอมูลพ้ืนฐานคือ ผอู ํานวยการโรงเรยี น 36 คน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 36 คน ครู 299 คน รวมทั้งสิ้น 371 คน และพหุกรณีศึกษาเปนโรงเรียนดีเดนระดับประเทศ จํานวน 3 โรงเรยี น สถิติท่ใี ชใ นการวิเคราะหขอ มูล ไดแก คาความถี่ คา รอ ยละ คา เฉลี่ย คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะหเชิงเน้ือหา ผลการวิจัยพบวา 1. ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานท่ีจําเปน สําหรับขอเสนอกลยุทธการพัฒนาภาวะผูนําทางจริยธรรมสําหรับครู ประกอบดวย ดานวิสัยทัศน ดา นพันธกิจ ดา นเปา ประสงค ดา นประเด็นกลยทุ ธ 4 ดาน คือ 1) การพฒั นาครูใหมีความรู คูคุณธรรม เปนแบบอยา งที่ดีแกผ ูเรียน 2) การปลูกฝงคณุ ธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทย และวถิ ีชีวติ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3) การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานวิชาชพี ครู และความสามารถดานเทคโนโลยี เพ่ือเปนเครอื่ งมอื ในการเรียนการสอน และ 4) การมสี ว นรว มจากทุกภาคสวนและความรวมมอื กับองคกรปกครองสว นทองถิ่น เพื่อสงเสริม และสนบั สนุนการ 2. ขอ เสนอกลยุทธการพัฒนาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสาํ หรับครู มี 5 ดาน คือ 1) การพฒั นาครู ใหมีคณุ ธรรม นําความรู เปนแบบอยางที่ดีแกผูเรยี น เนนการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรมอยา งตอ เน่ือง และปฏิบัติตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 2) การพฒั นาครใู หเปนผูนาํ ทางดานจริยธรรมในโรงเรยี นและชุมชน เนนการสงเสริมใหการพฒั นาครู ใหเ ปนผูนาํ ทางจริยธรรม ในโรงเรียน และชุมชน และการแสวงหาความรู 3) การพฒั นาและสงเสรมิ ความสามารถดา นเทคโนโลยี เพื่อเปนเคร่ืองมือ ในการเรียนการสอน เนนการพัฒนาครูใหมีความรพู ื้นฐานในการใชคอมพิวเตอร เพอ่ื การสืบคนขอมูล สารสนเทศ และการสอ่ื สาร 4) การปลูกจติ สํานึกในความเปนชาตไิ ทย และดาํ เนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนนการสงเสริมใหครูมีความรัก ตอสถาบันหลักของชาติ และดาํ เนินชวี ิตอยางพอเพียง และ 5) การพฒั นาครสู ูการพฒั นาผเู รียนใหเปนมนุษยท ่ีสมบรู ณ เนนการสง เสรมิ ใหครจู ัดกิจกรรมการเรยี นรูโดยเนนคุณธรรม จริยธรรม 3. ผลการประเมินขอเสนอกลยุทธ ดา นความเหมาะสม ดานความเปนไปได และดานความมปี ระโยชน โดยภาพรวม พบวามีคาเฉล่ียอยูใ นระดับมากทุกดาน คําสาํ คัญ : กลยุทธ, ภาวะผูนําจริยธรรม, การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 1 นักศกึ ษาหลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏศรีสะเกษ อีเมล: [email protected] 2 ประธานกรรมการที่ปรกึ ษา ผูชวยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ 3 กรรมการท่ีปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 4 กรรมการท่ีปรึกษา ผชู วยศาสตราจารย ดร. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 1 Doctoral Student Program in Education Administation, SisaketRajaphat University, Email: [email protected] 2 Chairman, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, SisaketRajaphat University 3 Advisor, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, SisaketRajaphat University 4 Advisor, Assistant Professor Dr., Faculty of Education, SisaketRajaphat University

Journal of Roi Et Rajabhat University 191 Volume 14 No.3 September - December 2020 Abstract The objectives of this research were 1) to survey basic information needed to create strategies for the development of teacher ethical leadership in the Basic Education schools, 2) to create and improve strategies for the development of teacher ethical leadership, and 3) to evaluate the proposed strategies. The research tools consisted of a documentary form, an interview questionnaire, a questionnaire, an environment assessment form, and the strategy evaluation form. The consistency of content index of the questionnaire were between 0.60- 1.00 and the reliability of 0.98. The survey sample included 36 school directors, 36 chairmen of the board of basic education schools and 299 teachers, totally 371. Multiple case studies consisted 3 national distinguished schools. Statistics employed for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings were summarized as follows; The proposed strategies revealed 5 areas, namely 1) Develop teachers on morality over knowledge and by setting good examples for learners, emphasizing on teachers’ training on morality and ethics continuously, and following teachers’ professional code conducts. 2) Develop teachers to become ethical leaders in both schools and community, emphasizing on promoting of teachers’ ethical leadership training in the school and community, and knowledge finding. 3) Develop and promote teachers’ ability on technology as tools for instruction, emphasizing on developing teachers’ basic skills using computer for information searches and for information and technological communication. 4) Foster the conscience of Thai traditional and lifestyle according to the philosophy of sufficiency economy, emphasizing on promoting teachers’ love of national principal institutions and living based on sufficiency economy philosophy. 5) Develop teachers on developing learners to become perfect human-beings, emphasizing on promoting teachers to use learning activities focusing on morality and ethics. Keywords : Strategy, Leadership Ethic, Basic Education บทนํา กระแสโลกาภิวัตน (Globalization) และความกาวหนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) กอใหเกิดความเปล่ียนแปลงตา ง ๆ ขน้ึ ในโลก นาํ มาซง่ึ ปญหาสังคมตาง ๆ ตามมามากมาย ท้งั ทางตรงและทางออ ม โดยเฉพาะ ความเสอื่ มโทรมดา นจรยิ ธรรมของสงั คม (สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ, 2556 : 1) จากการเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเร็วทําใหคนไทย เผชิญกบั ความเส่อื มถอยดานคุณธรรมจริยธรรมซ่ึงสะทอ นไดจาก คนในสังคมมีความถใ่ี นการใชความรุนแรงในการแกไ ขปญหามากขึ้น ทั้งปญหาครอบครัว ชุมชนและความคิดเห็นแตกตาง ทางการเมือง การใชค วามรุนแรง ขาดความยบั ย้งั ชัง่ ใจ มีพฤติกรรมเลียนแบบ ขาดความเอ้ือเฟอเอื้ออาทร สงผลใหความมีคุณธรรม และจรยิ ธรรมของคนในสังคมลดนอยลง (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ, 2555 : 15) ไมเปนไปตามกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) ท่ีตอ งการใหคนไทยมีคณุ ลักษณะ เปนคนไทยทส่ี มบูรณมีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทดั ฐานท่ีดขี องสังคม มีความเปนพลเมอื งต่ืนรู มีความสามารถ ในการปรบั ตัวไดอ ยางรเู ทาทันสถานการณ มคี วามรบั ผิดชอบและทําประโยชนตอสว นรวม มีสขุ ภาพกายและใจที่ดมี ีความเจริญ งอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิตท่ีพอเพียง และมีความเปนไทยโดยมวี ัตถปุ ระสงคและเปาหมาย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 20) ทั้งน้ีจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ ขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ใหความหมาย ของการศึกษาเอาไวในมาตรา 4 วรรคแรกวา “การศึกษา หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพ่อื ความเจริญงอกงามของบคุ คล และสงั คม………” ในการสรางความเจรญิ งอกงามของบุคคล และสงั คมตามเจตนารมณข อง พ.ร.บ. การศึกษาแหง ชาติ ฉบบั นี้ คอื การเสริมสรา งคุณธรรม จริยธรรม นั่นเอง ซงึ่ เห็นไดจากการกลา วถึงการจัดการศึกษาในลักษณะของกระบวนการเรียนการสอน การเสริมสรางคุณธรรม จรยิ ธรรม เอาไวอยา งเปนระบบ เพื่อใหบรรลเุ ปาหมายประการหนึ่งของขอเสนอการปฏิรูปการศึกษา

192 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2542-2561) ท่ีมีเปาหมาย คอื การใหคนไทยยุคใหมมีศีลธรรม คุณธรรมจรยิ ธรรม คา นิยมและจิตสาํ นึก และความภูมิใจในความเปนไทย (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2545 : 17-20) การจัดการแกป ญ หาดงั กลา ว จงึ ตองเร่ิมจากการสรางภาวะผูนําทางจรยิ ธรรมสําหรบั ครใู นโรงเรียน ซง่ึ เปนผูกาํ หนด ชะตากรรมของนักเรียน และเปนตวั ผูนาํ ผตู ามขององคกร ถาองคกรใดมีผูนาํ ท่เี ปยมไปดวยภาวะผูนาํ ทางจรยิ ธรรม (Ethical Leadership) องคก รน้ัน ๆ ยอมมีแตความเจริญรุงเรอื ง แตถาการณกลบั เปนในทางตรงกนั ขา มองคกรน้ัน ๆ ก็ยอมจะพบแต ความลม เหลว ซึง่ ครยู อ มตอ งรูและเขาใจสถานการณใ นกระแสโลกาภิวัตนท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ใชประโยชนจากโอกาส ทเี่ กิดข้ึน หรอื สรา งโอกาสใหเกดิ ข้ึนตามความเหมาะสม โดยคาํ นงึ ถึงประโยชนของหมูคณะ สงั คม และประเทศชาติเปนหลักสาํ คัญ ไมมงุ แตหาประโยชนสว นตนโดยมองขา มซึง่ คณุ ธรรม จริยธรรม อันดีงามแหงสังคมและประเทศชาติ ดังนั้นครูท่มี ีภาวะผูนาํ ทางจริยธรรม จะสามารถทาํ ใหองคก รสามารถเจริญกา วหนาอยา งย่ังยืน และม่ันคงตลอดไป ภาวะผูนําทางจรยิ ธรรมสาํ หรบั ครู จงึ เปนสวนหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ ารการศึกษา เพ่อื นําไปสูการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และมีความจาํ เปน อยางย่ิง วัตถปุ ระสงค เพ่อื ใหการศกึ ษาวิจัยในครั้งน้ีมีความชดั เจนสอดคลองกบั ขอคาํ ถามของการวจิ ัย จึงกาํ หนดวัตถปุ ระสงคของการวจิ ัย ไวด งั นี้ 1. เพอ่ื ศกึ ษาขอ มูลพ้ืนฐานที่จาํ เปน สําหรับการพฒั นาขอ เสนอกลยทุ ธก ารพัฒนาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสําหรบั ครู ในโรงเรยี น สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาพ้ืนฐาน 2. เพือ่ สรางและพฒั นาขอเสนอกลยทุ ธการพัฒนาภาวะผูน าํ ทางจริยธรรมสําหรบั ครใู นโรงเรยี น สงั กัดสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาพ้ืนฐาน 3. เพอ่ื ประเมินขอเสนอกลยทุ ธการพัฒนาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสําหรบั ครใู นโรงเรียน สงั กัดสาํ นักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาพ้ืนฐาน กรอบแนวคดิ ในการวิจัยคร้งั นี้มวี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือสรา งขอเสนอกลยุทธการพฒั นาภาวะผูนาํ ทางจริยธรรมสาํ หรับครู ในโรงเรยี น สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาพ้ืนฐาน ซง่ึ ไดศึกษาคนควาจากแนวคิดทฤษฎขี องนักการศึกษาและ ผลงานวิจัยเก่ียวกบั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมมาเปนกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยมีการนาํ เอาทฤษฎตี าง ๆ และปรบั ปรงุ การพฒั นา ภาวะผูนําทางจริยธรรมสาํ หรบั ครูในโรงเรียน ใหดียิ่งข้ึนและผูวิจัยไดสงั เคราะหเ ปนกรอบแนวคิดในการวจิ ัยจากสาํ นักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคการมหาชน), (2548 : 42; ประทปี มากมติ ร, 2550: 176 – 177; พระมหาไกรวรรณ ปุณขันธ, 2555: 77; มาศโมฬี จติ วิริยธรรม, 2552: 171-172; กมลทิพย ทองกําแหง, 2554: 239 -242; Fullan, 2003; Sergiovanni, 1992; Dessler, 2002; และรังสรรค ประเสรฐิ ศรี, 2544 ดังภาพประกอบ 1