Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ่านสร้างสุข 26 : 1,009 เล่ม วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เกื้อกูลมนุษย์ เล่มที่ 1

อ่านสร้างสุข 26 : 1,009 เล่ม วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เกื้อกูลมนุษย์ เล่มที่ 1

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-06-25 20:54:07

Description: อ่านสร้างสุข 26 : 1,009 เล่ม วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เกื้อกูลมนุษย์ เล่มที่ 1

Search

Read the Text Version

อย่างแดง ไบเล่ ไมร่ รู้ จู้ ักกันหรอื เปล่า เขียนอะไรมาแสบสัน กวนมาก ของสังคม เป็นส่วนใหญ่ทข่ี ับเคลอ่ื นคน เหมอื นเรามองวา่ คน ๆ น้จี ะ มีอีกโซนพวกตลกเซอร์อย่าง จิก ประภาส ชลศรานนท์, ปินดา มาน่ังอยู่ตรงนี้จากหนังสือของเขา ถ้าเขาอ่านหนังสือมามากกว่านี้ โพสยะ, ดอนเขียน ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ เราไมช่ อบอัศศริ ิแล้ว แตร่ สู้ กึ วา่ มอี ีก เขาก็อาจจะไมน่ ง่ั อย่ตู รงนี้ แตไ่ ปนง่ั อกี ท่ีหนงึ่ กไ็ ด้” แนวที่เราพบ ไม่ค่อยมีคนสนใจมาก เราก็จะติดตาม ศกึ ษา และชวน เขามาทำงาน มนั กห็ ลากหลาย” “ถือได้ว่าถา้ เราอ่านอะไรจะมอี ทิ ธพิ ลกับเราด้วย” “คิดว่า เพราะคนดูอะไร ไม่มีอิทธิพลมากเท่าการอ่าน เพราะ “หนังสอื ทีพ่ ี่จ้ยุ อยากแนะนำให้เยาวชนอายุ ๑๒-๑๘ ปี ไดอ้ า่ น” การอา่ นไมไ่ ดใ้ ช้สายตา แต่เป็นเรื่องของการใช้สมอง ใชจ้ ิตใจอา่ น คน “กง็ านของประภาส ชลศรานนท์ เปน็ งานทกี่ ลมกลอ่ มและไมต่ ิด ตาบอดก็ยงั อ่านหนงั สอื ได้ แต่คนตาดีอาจจะอา่ นไมไ่ ด้เพราะสมองไม่ ไปทางใดทางหนึง่ ไม่ตลกเลอะเทอะ ไม่ตดิ เพอื่ ชีวติ และมเี อกลกั ษณ์ ทำงาน มันไมต่ คี วามตาม ไมจ่ ินตนาการตาม การอ่านจึงกระตุ้นสว่ น ท่ีเฉพาะมาก ถ้าแนะนำก็น่าจะอ่านงานของประภาส อย่าง นิทาน ที่สำคัญท่ีสุดของมนุษย์ได้ เมื่อคุณนั่งลงอ่าน คุณจะอ่านหนังสือได้ ล้านบรรทัด เพราะในน้ันมันมีความคิด เอาเป็นว่าหนังสือที่ดีควรมี คือข้างในคุณต้องทำงาน ไม่ง้ันคุณก็แค่กวาดสายตา เป็นแค่การมอง อะไรบ้าง มีความคิดท่ีดี แก่นท่ีดี การนำเสนอท่ีดี แล้วมีรูปลักษณ์ ต่อให้ไม่มีตาแต่ใช้มือคลำ (อักษรเบล) แล้วคิดตาม มันก็จะได้อะไร จากการอ่าน” ของหนังสือท่ีเย้ายวนเด็ก ถ้ามีลูกก็ คงใหล้ กู อ่านเลม่ นก้ี อ่ น” ศุ บุญเล้ียง บอกผลดีของการอ่านได้อย่างคมคาย สมความคิด จนอยากหยิบหนังสือข้ึนมาอ่านทันที เพราะการอ่านช่วยขัดเกลา “คุณค่าของหนังสือในสายตา ความคดิ และจติ ใจ พีจ่ ุย้ ” “คิดว่ามันส่งผลต่อโลกน้ี อย่างสูงมาก มันเหมือนคนที่อยู่ ข้างหลัง เหมือนผู้กำกับที่อยู่เบ้ือง หลังวิธีคิดของคน เป็นส่วนหน่ึง 300 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เกื้อกลู มนุษย์

คุณอรสิ รา ธนาปกิจ (ครูพี่แนน) ครรู นุ่ ใหม่ ขวัญใจเด็กเรียน เพราะหนังสือมีเสนห่ ์ “ย่ิงอา่ น ยง่ิ หายสงสัย ยงิ่ อา่ น ยง่ิ ไดค้ วามรู้ใหม่ จะเรยี กวา่ ‘ตกหลมุ รกั ‘ เลยกว็ ่าได”้ บทสมั ภาษณ์ | 301

คุณอริสรา ธนาปกิจ หรอื “ครูพ่แี นน” ครแู ละผ้อู ำนวยการของ อยากรเู้ ต็มไปหมด ยงิ่ อา่ นยงิ่ หายสงสยั ยิ่งอา่ นยิง่ ไดค้ วามรใู้ หม่ จะ เด็ก ๆ กว่า ๙ หม่ืนคน จาก ๓๕ สาขาของโรงเรียนกวดวิชา และ เรยี กว่า “ตกหลมุ รัก” เลยก็วา่ ได”้ สอนภาษาเอ็นคอนเสป็ ท์ (Enconcept) ดว้ ยความรกั ในภาษา ทเี่ ร่ิม จากการรักการอ่าน ทำให้เธอประสบความสำเร็จในชีวิตอย่าง “หนังสือท่ีเริ่มต้นอ่าน เป็นประเภทใด และเล่มที่ชอบเป็น งดงาม หนังสอื ในดวงใจ คอื หนังสือเล่มใด” “สมัยเด็ก ๆ แนนเร่ิมต้นอ่านหนังสือการ์ตูนเหมือนท่ีเด็ก ๆ “เรมิ่ อา่ นหนงั สอื เมอื่ อายุเทา่ ไหร่” ท่ัวไปชอบกันเลยค่ะ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่จะสนับสนุนให้อ่านหนังสือทุก “ต้ังแต่เร่ิมต้นจำความได้ พอเร่ิมสะกดคำได้ อ่านหนังสือออก อย่าง อ่านถุง อ่านฉลาก อ่านได้หมด แม้แต่การ์ตูนท่านก็ไม่ห้าม นิดหน่อย แนนก็เร่ิมอ่านหนังสือเลย สาเหตุท่ีเป็นเช่นน้ีก็ต้องขอ เพราะช่วยให้ฝึกการอ่านและผสมคำได้เร็ว ท่านก็ปล่อยให้อ่านไป ขอบคุณคุณพ่อและคุณแม่ที่ท่านมีนิสัยรักการอ่าน ท่ีบ้านเลยมี ตามวัย แต่มีวิธีการควบคุมไม่ให้อ่านมากเกินไปด้วยการไม่ห้าม แต่ หนังสืออยู่เยอะมาก ทุกวันพอมีเวลาว่างก็เห็นท้ังสองท่านน่ังอ่าน ไม่สนับสนุน คือถ้าอยากอ่านการ์ตูนต้องเก็บเงินซ้ือเอง แต่ถ้าเป็น หนังสือตลอด ดังนั้นวัยเด็กของแนนก็เลยรายล้อมไปด้วยหนังสือเต็ม หนังสือที่คุณพ่อคุณแม่เห็นว่าดี ท่านก็จะซื้อมาอ่านเองด้วย แล้วก็ ตูไ้ ปหมด ท้งั หนงั สือพิมพ์ นติ ยสาร นยิ าย รวมทงั้ หนงั สือสอดแทรก เกบ็ เข้าตทู้ ีบ่ า้ น ซง่ึ แปลวา่ เราสามารถอ่านหนังสือดี ๆ เหล่าน้ไี ดฟ้ ร ี ความรู้ แนวคิด ปรัชญาต่าง ๆ แนนกไ็ ลอ่ า่ นไปเรือ่ ย ๆ เพราะรู้สกึ วา่ “พอโตข้ึนมาหน่อยเร่ิมอยู่มัธยมก็จะเร่ิมขยับมาอ่านวรรณกรรม หนังสือมีเสน่ห์ เวลาที่เราเปิดอ่านหน้าแรก จะกระตุ้นให้เราอยากรู้ เยาวชนและนวนิยาย ซ่ึงชอบมากเพราะมีการใช้ภาษาท่ีสวยงาม หนา้ ตอ่ ๆ ไปเร่ือย ๆ ท่สี ำคญั ทส่ี ุดคอื แนนเปน็ โรคบ้ายอค่ะ พออา่ น และเนื้อหาก็สร้างแรงบันดาลใจ แนนมักพูดถึงหนังสือเล่มนี้เสมอคือ หนังสอื ก็จะไดร้ บั คำชมจากคณุ พอ่ คุณแม่ ก็ยิง่ อยากอ่านเพราะอยาก รักเร่ ของโสภาค สุวรรณ เพราะเป็นนิยายที่แนะนำให้แนนรู้จัก ได้คำชมอีก และที่สำคัญท่านไม่เคยเบื่อท่ีจะตอบคำถาม พออยากรู้ อาชีพล่าม UNESCO ซ่ึงได้ใช้ท้ังความสามารถทางภาษา ซึ่งเรามีใจ อะไรมาก ๆ คุณพ่อคุณแม่ก็จะหาซ้ือหนังสือเรื่องที่เราสนใจมาให้ ชอบอยู่แล้ว และได้ช่วยเหลือคนด้วย ก็เป็นแรงบันดาลใจให้แนน ทำให้การอ่านหนังสือเป็นเรื่องท่ีสนุกมาก ๆ เพราะมีแต่เร่ืองท่ีเรา 302 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกอ้ื กูลโลก เกือ้ กลู มนษุ ย ์

มุ่งม่ันอยากจะเรียนต่อด้านอกั ษรศาสตร์ อยากพูดภาษาองั กฤษ และ หนังสือโปรด จึงเป็นหนังสือธรรมะของครูบาอาจารย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะ ภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ ให้เกง่ ๆ จะไดท้ ำงานชว่ ยชาติ ช่วยโลก เปน็ หลวงตาบวั หลวงปมู่ นั่ ฯลฯ รวมทงั้ การมพี จนานกุ รมพทุ ธศาสนา “จุดเปล่ียนอีกครั้งในชีวิตของแนนก็เกิดจากการอ่านหนังสือเช่น ตดิ บา้ นไว้ กท็ ำใหเ้ ราอา่ นหนงั สอื ธรรมะ และทำความเขา้ ใจไดถ้ อ่ งแท้ กนั ชอ่ื วา่ เกดิ มาทำไม ของทา่ นพทุ ธทาส เปน็ หนงั สอื ทอี่ ่านสมัยเร่ิม และถกู ต้องมากยิง่ ข้ึนดว้ ย เข้ามหาวิทยาลัย และพยายามหาคำตอบให้กับตัวเองว่า เราเรียน “หนังสือสร้างจุดเปล่ียน ความฝัน และแรงบันดาลใจให้แนน หนงั สืออยา่ งเต็มท่ีเพอ่ื อะไร เราเรยี นจบแลว้ จะทำอะไร ทำเพือ่ อะไร ตลอด ดังนั้นแนนจึงเห็นคุณค่าของการให้เด็กได้อ่านหนังสือดี ๆ สัก พออ่านหนังสือเล่มนี้เหมือนเป็นการเจอคำตอบของคำถามท่ีเฝ้าวน เล่มเป็นอย่างมาก เพราะหนังสือเป็นเหมือนเพื่อน เป็นเหมือนครู ถามตวั เองมาตงั้ แตเ่ ด็ก ณ ปจั จบุ นั และเป็นเหมือนแผนที่ จะชี้นำเราไปในทางท่ีดีก็ได้ ทางที่ร้ายก็ไม่ “ส่วนหนังสือเล่มโปรดก็เปล่ียนไปตามวัย ตอนน้ีแนนสนใจและ อยากจะพลิกอ่านต่อหรือจะปิด แล้ววางทิ้งไว้ ก็อยู่ท่ีมือเรา เลือกได้ ให้ความสำคัญกับการศึกษาพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เองเลย” “หนังสือท่ีอยากแนะนำให้เยาวชนอายุ ๑๒-๑๘ ปี ได้อ่านคือ เลม่ ใด” “สำหรบั นอ้ ง ๆ ที่กำลังเร่ิมตน้ อยากจะสัมผัสเสน่ห์ของการอ่าน แนะนำว่า ควรเริ่มจากเรื่องใกล้ตัว เร่ืองท่ีเราชอบ เช่น น้องชอบดู บอล อาจจะเร่ิมตน้ จากการอ่านหนงั สอื ประวตั ินักบอล หรือโค้ชดงั ๆ ที่เราช่ืนชอบ แล้วค่อยขยายความสนใจไปยังเร่ืองต่าง ๆ จะช่วย ให้การอ่านหนังสือเป็นเรือ่ งสนุก ไม่น่าเบ่อื อย่างท่ีคดิ “หนังสือเล่มหน่ึงที่แนนชื่นชอบ และมีโอกาสได้รับเกียรติให้ เขียนคำนิยมลงในฉบับแปลภาษาไทยด้วย คือหนังสือสัญชาติเกาหลี บทสมั ภาษณ์ | 303

ท่ีขายดิบขายดีเป็นแสน ๆ หนังสือทุกเล่ม ทุกหน้า ทุกบท ทุกตอน ย่อมมีคุณค่าในตัวมันเอง เล่มไปทั่วโลก คือ เพราะ การอ่านหนังสือสักเล่มหนึ่งนั้นเหมือนผู้อ่านได้เรียนรู้และเก็บ เป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด ของ ประสบการณ์นับสิบ ๆ ปีของผู้เขียนได้โดยไม่ต้องเสียเวลา และ คิมรันโด เป็นการเขียน เสียแรงลงมือเอง” คำแนะนำการใช้ชีวิตของ ดังคำกล่าวที่ว่า “Once you learn to read, you will be วัยรุ่น จากประสบการณ์ forever free.” — Frederick Douglass หนังสือจึงเป็นเหมือน ของครเู กาหลคี นหนงึ่ ทเี่ คย ประตูสู่อิสรภาพทางความคิดที่ผู้อ่านสามารถค้นพบโลกใหม่ ความรู้ เป็นท้ังนักเรียน นักศึกษา ใหม่ สร้างสรรค์จินตนาการ และส่งเสริมแรงบันดาลใจ ส่วนประต ู เป็นครูที่ปรึกษา และเป็น บานน้จี ะเปิดออกหรือปิดไว้ อำนาจตัดสนิ ใจยอ่ มอยู่ในมอื ของเราเอง พ่อคนด้วย การมองโลก และคำแนะนำจึงโดนใจ และเป็นจริง ไม่ใช่แค่สำหรับเด็กเกาหลีเท่าน้ัน แต่แนนเชื่อว่า เด็กไทยก็ประสบชะตากรรมไม่ต่างกัน หนังสือเล่มนี้ช่วยให้น้องๆ เตรียมพร้อมเผชิญชีวิตวัยรุ่นด้วยความเข้าใจ จะได้ไม่เจ็บปวดเกินไป โดยไมจ่ ำเปน็ ” “สรปุ คุณคา่ ของหนงั สอื และคณุ ค่าการอา่ นในความคิด” “จากบทบาทของนักอ่านสู่นักเขียน แนนพบว่ากว่าจะเป็น หนังสือสักเล่มหนึ่งในมือเรา คนเขียนจะต้องรวบรวมสะสมประสบ- การณ์ และกลั่นกรองความรู้ทั้งหมดท่ีมีออกมาอย่างมาก ดังน้ัน 304 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เกือ้ กลู มนุษย์

ดร.ชัยวฒั น์ วิบูลยส์ วัสด์ิ (วินนี่ เดอะ ป)ุ๊ อดีตผวู้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย และนกั เขยี น คณุ ค่าของหนังสืออยู่ที่การพัฒนา ความคดิ และอารมณ์ “ดา้ นความคดิ นั้นครอบคลมุ ทง้ั ความรู้ ความคิดและจนิ ตนาการ สว่ นการพัฒนาอารมณม์ คี ณุ ค่ามาก สำหรับเยาวชน” บทสมั ภาษณ์ | 305

ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย พระคลังหน มีผลให้ตามอ่านงานเขียนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์แทบทุก ผู้คร่ำหวอดในวงการการเงินมากกว่า ๒๕ ปี อีกมุมหน่ึงคือนักเขียน เรอ่ื ง นกั เขยี นอีกคนหน่ึงที่ตามอ่านผลงานจนหมดไดท้ กุ เรือ่ งเพราะมี สารคดีแนวสาระบันเทิง มีผลงานมากกว่า ๑๐ เล่ม เจ้าของ ไม่มากคือ ดอกไม้สด เพราะประทบั ใจจากหนังสอื เร่อื ง ผดู้ ี นามปากกา “วินน่ี เดอะ ปุ๊” เพราะชอบอ่านหนังสือมาก จึงอยาก “เพราะชอบอ่านหนังสือมาก จึงอ่านหนังสือทุกประเภทตั้งแต่ เขียนหนงั สือบา้ ง เดก็ คอื นวนิยาย สารคดี และกวนี พิ นธ์ อา่ นหนงั สือในหอ้ งสมุดของ โรงเรียนหมดเป็นตู้ ๆ และยังตระเวนอ่านตามห้องสมุดสาธารณะ “ประสบการณ์การอ่านในวัยเดก็ เป็นอยา่ งไรบ้าง” (บางครงั้ ไปแนะนำหนงั สอื ให้บรรณารักษด์ ว้ ย) หากไปเยี่ยมญาตบิ า้ น “นบั วา่ โชคดที เี่ กดิ ในบา้ นทชี่ อบหนงั สอื และมหี นงั สอื ในบา้ นมาก ไหนท่ีมีตู้หนังสือ ก็จะไปมองดูว่ามีเรื่องอะไรที่ไม่เคยอ่าน แล้วขอยืม จึงเร่ิมอ่านหนังสือต้ังแต่อ่านออก คุณพ่อชอบเล่าเรื่องต่าง ๆ จาก มาอ่าน หรืออย่างน้อยก็พลิกดูเพื่อให้รู้ว่าเป็นหนังสือเก่ียวกับอะไร หนังสือให้ฟังตั้งแต่เด็ก จึงอยากอ่านหนังสือให้ได้ความสนุกและรู้ อีกท้ังชอบไปร้านเช่าหนังสือด้วย จนเจ้าของร้านรู้จักดีว่าชอบมา เรื่องมาก ๆ เร่ิมอา่ นหนังสอื ง่าย ๆ สำหรบั เด็กก่อน คือหนังสือการ์ตนู พลกิ ดเู ล่มนัน้ เลม่ นีน้ าน ๆ ก่อนจะลงมือเช่าไปอา่ น ความจริงเป็นการ ต่อมาก็ขยับเป็นวรรณคดีไทยและวรรณกรรมสำหรับเด็ก เล่มที่ แอบอ่านโดยไม่ต้องเช่าให้เสียเงินน่ันแหละ จึงเป็นการฝึกให้เป็น ประทับใจจนถึงทุกวันน้ีคือ เร่ือง ดวงใจ แปลโดย ซิม วีระไวทยะ คนอ่านหนังสือเร็วมาก พลิกอ่านเร็ว ๆ ก็จับใจความในหนังสือได ้ จากนั้นก็เป็นนวนิยายแบบพาฝันที่อยู่ในนิตยสารและรวมเล่ม เม่ือ จนลกู สาวชอบล้อเลียนว่าพ่อชอบดมหนงั สือ” อายุประมาณ ๑๓ ปี ไดอ้ า่ นหนงั สอื สามกก๊ ฉบับนายทุน ตอนโจโฉ นายกตลอดกาล ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นหนังสือ “หนังสือในดวงใจและหนังสือแนะนำของ ดร.ชัยวัฒน์ คือ ที่จุดประกายให้เข้าใจความหมายของคำว่ามุมมองและการตีความ เล่มใด” เรื่องราว รู้สึกสนุกมากกับท่ี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ นำเร่ืองมาเขียนใหม ่ “หากจะต้องเลือกหนังสอื ทชี่ อบมากทสี่ ดุ ขอเลือก ๒ เลม่ เล่ม โดยให้โจโฉเป็นตัวเอกและตีความให้เห็นใจพฤติกรรมของโจโฉ แรกคอื The Story of Civilization เขยี นโดย Will Durant เป็น ว่าไม่ใช่ตัวร้ายแบบท่ีเชื่อกันจากวรรณกรรมสามก๊กฉบับเจ้าพระยา หนงั สือสารคดีชุด ๑๐ เลม่ หนาเล่มละประมาณ ๑,๐๐๐ หนา้ อ่าน 306 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้ือกลู โลก เกื้อกูลมนุษย ์

ต้ังแต่สมัยท่ีเรียนมหาวิทยาลัยท่ีเมืองนอก ประทับใจมากเพราะได้ เร่ือง Winnie the Pooh หรือวินนี่ เดอะพูห์ แต่งโดย เอ.เอ.มิลน์ ความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการอารยธรรมของโลกต้ังแต่เอเซียคือจีน อ่านมาต้ังแต่เร่ิมเรียนเมืองนอกเพ่ือฝึกภาษาอังกฤษ แล้วประทับใจ อินเดยี และญป่ี นุ่ ตามดว้ ยอียปิ ต์ กรกี โรมนั และยโุ รป ครอบคลมุ กับเรื่องราวที่สนุกสนานของหมีพูห์ผู้มีน้ำใจและผองเพ่ือนตุ๊กตาสัตว์ ถึงทุกมิติของประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และความก้าวหน้า หนงั สือเขียนไดอ้ ย่างมีอารมณข์ นั เลน่ กับภาษา และแฝงความหมาย ทางวิชาการ จนถึงเด๋ียวนี้ หากสงสัยเร่ืองอะไรก็ยังไปค้นคว้าข้อมูล ให้ตีความ แม้เป็นหนังสือสำหรับเด็ก แต่มีผู้ใหญ่และนักวิชาการนำ จากหนังสือชุดน้ี โดยเฉพาะหากได้อ่านหนังสืออิงประวัติศาสตร์ มาเขียนต่อหรือเขียนล้อเลียนด้วยความเอ็นดูมากมาย หนังสือเล่มนี้ หรือดูหนังอิงประวัติศาสตร์ จะรีบกลับไปอ่านดูข้อเท็จจริงเพื่อ อยากแนะนำใหผ้ ใู้ หญใ่ ช้เล่าให้เดก็ ฟงั เด็กจะไดเ้ ข้าใจว่า แมแ้ ตต่ ุ๊กตา เปรยี บเทยี บดูว่าได้มกี ารดัดแปลงไปอยา่ งไร หมี (หรือของเล่นอ่ืน) ก็มีเร่ืองราวเป็นหนังสือได้ และมีให้เด็กอ่าน “หนังสือเล่มโปรดเล่มที่สองเป็นหนังสือแนวตรงกันข้ามกับเล่ม เองเป็นฉบับแปลภาษาไทย แต่ควรให้เด็กอ่านฉบับจริงเป็นภาษา แรกเพราะเป็นหนังสือแบบเบาๆ คือ วรรณกรรมเยาวชนคลาสสิก องั กฤษเม่อื โตขน้ึ จะได้อรรถรสตามท่ผี ้เู ขยี นนำเสนอไว้ “ในเรื่องการแนะนำหนังสือดีให้เยาวชนอ่านนั้น เม่ือปี ๒๕๕๒ ไดจ้ ดั ทำโครงการอา่ นหนงั สือดสี ำหรับเยาวชน (และผใู้ หญ)่ ขึน้ โดย คัดเลือกหนังสือดีด้วยตัวเอง ๑๒๔ เล่ม จัดทำบรรณนิทัศน์และ จัดหาหนังสือท้ังหมดทำเป็นตู้หนังสือส่งให้โรงเรียนในทุกจังหวัดรวม ประมาณ ๑๕๐ โรงเรียน และมอบให้องค์กรอ่ืนอีกด้วย และยัง ตระเวนไปแนะนำหนังสือเหลา่ นี้ด้วยตนเอง และหลายครงั้ ชวนเพ่ือน นักเขียนไปช่วยกันแนะนำหนังสือด้วย โดยเฉพาะนักเขียนที่อยู่ใน จังหวัดน้ัน และตามด้วยการจัดค่ายนักเขียนให้นักเรียน ครู และ ผ้ใู หญ่อีกหลายครั้ง บทสมั ภาษณ์ | 307

“แนวคดิ ในการจดั ทำรายชอ่ื หนงั สอื ชดุ นี้ คอื ๑. ตอ้ งการแนะนำ วาริณ เช่น นวนิยายเรื่อง ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน เรื่องสั้นเรื่อง หนังสือดีสำหรับอ่า นตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ เริ่มจากวรรณกรรม สงิ่ มีชีวิตท่ีเรียกว่าคน เยาวชนแล้วตามด้วยวรรณกรรมทั่วไป เด็ก ๆ อาจจะยังไม่ต้องรีบ ๒. วรรณกรรมเยาวชนต่างประเทศระดับคลาสสิกท่ีแนะนำให้ อ่านหนังสือทั่วไปในทันที แต่ควรรับรู้รายช่ือหนังสือสำหรับผู้ใหญ่ไว้ อา่ น มอี าทิ วินน่ี เดอะ พูห์ แมงมมุ เพอื่ นรกั และ เจ้าชายน้อย ด้วยเพอื่ หาอ่านในภายหลงั เมอ่ื เตบิ โตขึ้น ๒. ควรอา่ นวรรณกรรมทกุ ประเภท ทัง้ สารคดแี ละบันเทงิ คดี (นวนยิ าย เรอ่ื งสน้ั และกวนี ิพนธ)์ “คณุ ค่าของหนงั สือในมุมมองของ ดร.ชัยวฒั น์ คืออะไร” ๓. ควรสนใจอ่านวรรณกรรมของไทยควบคู่ไปกับวรรณกรรมสากล “คุณค่าของหนังสืออยู่ท่ีการพัฒนาความคิดและอารมณ์ ด้าน และ ๔. ควรสนใจอ่านหนงั สอื ทุกยุค ทัง้ ยุคเก่า ยุคกลาง และยุครว่ ม ความคิดนน้ั ครอบคลุมทงั้ ความรู้ ความคดิ และจนิ ตนาการ สว่ นการ สมัย จากแนวคดิ ดงั กล่าวสามารถสรุปประเภทของหนงั สอื ทีค่ ดั เลือก พัฒนาอารมณ์มีคุณค่ามากสำหรับเยาวชน เมื่อประกอบกับการเป็น ได้ว่าเป็นหนังสือไทย ๙๘ เล่ม และต่างประเทศ ๒๖ เล่ม เป็น หนังสือท่ีอ่านสนุกและเขียนดีแล้ว จะเป็นหนังสือชั้นดีที่ควรอ่านเป็น วรรณกรรมเยาวชนของไทย ๒๓ เล่ม และของนานาชาติ ๑๗ เล่ม อย่างยิง่ ” เปน็ หนงั สอื ไทยทีอ่ ายมุ ากกวา่ ส่สี บิ ปี ๑๕ เล่ม ระหวา่ งสบิ เอ็ดถึงส่สี ิบ ปี ๓๑ เล่ม และอายุตำ่ กว่าสบิ ปอี ีก ๕๓ เล่ม เพราะการอ่านคือการพัฒนาเยาวชน ผู้ใหญ่จึงควรชักชวนให้ สำหรับรายชือ่ หนังสือบางเล่มที่ขอกลา่ วถึงไวเ้ ป็นพเิ ศษ คอื เด็กอา่ นหนังสอื กนั ตัง้ แต่วันน้ ี ๑. หนังสือของนักเขียนแนะนำ นักเขียนยุคเก่า คือ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช เช่น นวนยิ ายเรื่อง สี่แผ่นดนิ เรื่องส้ันชดุ เพอ่ื นนอน และสารคดีเรื่อง ห้วงมหรรณพ นักเขียนยุคกลางคือ ชมัยภร แสง- กระจ่าง เช่น นวนิยายเร่ือง อ่านหนังสือเล่มน้ีเถอะท่ีรัก ซึ่งผูกเร่ือง แนะนำหนังสือดีไว้หลายเล่ม วรรณกรรมเยาวชนเร่ือง ขวัญสงฆ ์ ซึ่งเขียนเป็นคำกลอนทั้งเล่ม ส่วนนักเขียนยุคใหม่ คือ วินทร์ เลียว- 308 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกอื้ กลู โลก เกอื้ กลู มนษุ ย ์

คุณวศิ ิษฏ์ ศาสนเที่ยง ผกู้ ำกับภาพยนตร์และนกั เขยี นภาพยนตร์ การอ่านเปน็ จนิ ตนาการ สำหรบั ผมอย่างไม่มีอะไรเทียบ “เม่ือผมอา่ น ภาพมันจะออกมา ผมสรา้ งภาพในหวั ตลอดเวลา เมื่อผมอา่ นไปเร่อื ยๆ” บทสมั ภาษณ์ | 309

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร ์ “แล้วพออ่านมาเรื่อยๆ เร่ิมพบแนวหนังสือท่ีตัวเองชอบ ที่ไม่ได้ ผู้ได้รับการยกย่องเรื่องความคลาสสิกในภาพยนตร์ ได้รับรางวัล อ่านตามคนอื่นตอนไหนคะ” เกียรติยศ ท้ังจากในประเทศและต่างประเทศ ผลงานสร้างช่ือ คือ “มัธยมต้นก็จะเริ่มชอบอ่านพวกกำลังภายใน โกวเล้ง, กิมย้ง, การเขียนบทเรื่อง ๒๔๙๙ อันธพาลครองเมือง และกำกับเร่ือง น.นพรตั น”์ ฟา้ ทะลายโจร เป็นอกี คนหนงึ่ คนทร่ี ักการอา่ นมาต้งั แต่เดก็ “จากป. อินทรปาลติ สู่กำลังภายใน” “อยากให้คุณวิศิษฏ์ช่วยเล่าประสบการณ์การอ่านในวัยเด็กว่า “ตอนน้นั กย็ งั อา่ น ป. อนิ ทรปาลติ อย่นู ะครบั ทุกวันนค้ี ดิ ถึงก็ยงั เริ่มตัง้ แต่ตอนไหนคะ” หยิบมาอ่าน แต่สมัยก่อนหนังสือกำลังภายในไม่มีปัญญาซ้ือหรอก “จำรายละเอียดชัด ๆ มากไม่ได้ จำไดว้ า่ ทบ่ี า้ นชอบอา่ นหนงั สอื ครบั ต้องไปรา้ นเช่า หนงั สอื อาจจะเก่าหนอ่ ย สกปรกหน่อย แตไ่ ม่มี กัน มีพี่เรียนสวนกุหลาบ มีหนังสือเยอะ อะไรก็อ่านหมด ถุงกล้วย ทางเลอื ก กเ็ ราอยากอา่ น” แขกก็ยังอา่ นเลย” “จำได้ไหมคะว่าเร่ืองอะไรบา้ งทอ่ี ่านตามพ่ีชาย” “ของกอร์กี จำเรื่อง แม่ ได้ แล้วก็มี ความรักของวัลยา ปีศาจ ของเสนีย์ เสาวพงศ์ ถึงตอนน้ันเราจะอ่านไม่รู้เรื่องก็อ่านจนจบ เพราะไมม่ สี อื่ อะไรให้เสพ ทีวที บ่ี ้านก็ไม่มี สว่ นตัวถ้าชอบก็จะเป็น ป. อินทรปาลิต ตอนเด็ก ๆ ก็จะชอบไปสนามหลวงกับพี่ชายเพื่อไปซ้ือ หนังสือลดราคา อย่าง พล นิกร กิมหงวน เสือใบ เสือดำ ก็อ่าน หลากหลาย เพราะพ่อก็เป็นนักหนังสือพิมพ์จีน จะมีหนังสือไทยที่ พอ่ เอามาแปลเป็นภาษาจนี ลงหนังสอื พมิ พ์ ซง่ึ เรากอ็ ่านตามเขา” 310 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกือ้ กลู โลก เก้ือกลู มนษุ ย์

“ชอบเล่มไหนเป็นพเิ ศษคะ” หนังก็ด้วย หนังสือกด็ ว้ ยใช่ไหมคะ “หนังสือกำลังภายในที่ชอบของ “หนังสือบางเล่มก็ไม่นะครบั ” โกวเลง้ เรื่อง ฤทธิ์มีดส้ัน” “แล้วตอนนใ้ี นแง่ของการอ่าน ตอนเดก็ เราอ่านเพราะความชอบ “แล้วอย่างน้ีถือว่า พล นิกร กิม แต่ตอนนีก้ ารอ่านเป็นอยา่ งไรคะ” หงวน กับ ฤทธ์ิมีดส้ัน เป็นหนังสือใน “ตอนเด็ก ๆ เราไม่มที างเลอื กมาก เพราะรา้ นเช่าก็จะมีแตน่ ยิ าย ดวงใจได้ไหมคะ” กำลงั ภายใน แนวรักโรแมนตกิ แต่พอโตขึน้ เราก็มที างเลอื กมากข้ึน ก็ “หนังสือน่ีตอบยากเหมือนกัน หันไปสนใจหนังสือแปล ช่วงมัธยมเข้ามหาวิทยาลัยจะบ้าหนังสือ มันเป็นเรื่องของวัย ในวัยหนึ่งเราอาจ แปลมาก จะอ่านพวกโรเบิร์ต ลัดลัม ก็อดฟาเธอร์ งานแปลของ จะคิดว่าหนังสือเล่มน้ีเป็นสุดยอดที่สุดในชีวิตเราแล้ว แต่พอโตขึ้นมา นกั แปลอยา่ ง นภดล เวชสวสั ด”ิ์ เราผ่านชีวิต ผ่านอะไรมา พอกลับไปอ่านมันก็จะรู้สึกอีกแบบ อย่าง เร่ือง ต้นส้มแสนรัก สมัยเด็ก ๆ อ่านนี่เป็นหนังสือ อู้หู เป็นอะไรที่ “แลว้ งานญี่ปุ่นละคะ” ประเสริฐ อ่านไปน้ำตาร่วง อ่านสิบคร้ังก็ร่วงสิบครั้ง แต่พอโตขึ้น “ญี่ปนุ่ นี่มาอา่ นชว่ งหลังๆ แนวสยองขวัญ ซึ่งดีมาก” ผ่านชีวิต เราอาจจะพ้นวัย พออ่านอีกครั้งก็ยังโอเคอยู่ แต่ไม่ได้รู้สึก สุดยอดในบรรณพิภพเหมือนตอนเดก็ ” “การอา่ นถอื ว่ามอี ทิ ธพิ ลในการทำงานปจั จุบนั ไหมคะ” “กถ็ อื วา่ มี เพราะอยา่ งงานหนงั ผมจะเขยี นบทเอง จะตดิ สำนวน “ไมน่ ้ำตาไหลพราก ๆ” ยุคก่อนมา ภรรยาจะบอกเสมอว่านี่มันสำนวน ป.อินทรปาลิตน่ี คือ “ใช่ บางเล่มไม่กล้ากลับไปอ่านอีกด้วยซ้ำ กลัวความรู้สึกจะ สำนวนมันจะดูรุ่มร่ามบ้าง เพราะใช้ภาษายุคโน้น อย่างทำหน้า เปล่ียนไป หนังบางเรื่องก็เหมือนกัน สุดยอดตอนเด็ก ๆ แต่พอกลับ ปเู ลย่ี นๆ ซ่งึ สมัยน้ีเขากไ็ มใ่ ช้กนั แลว้ (หวั เราะ) ทำให้ดเู ชยสำหรับคน ไปดูมนั แยม่ าก ๆ จนคดิ วา่ เคยชอบไปไดไ้ ง (หัวเราะ)” บทสมั ภาษณ์ | 311

สมัยนี้ แต่อิทธิพลทางความคิดมันก็ตอบไม่ได้เหมือนกัน มันมาจาก อุดมคติท่ีเสียสละได้ทุกอย่าง กระทั่งร่างกาย วิญญาณ และชีวิต ทุกทศิ ทาง เพราะยคุ หน่ึงเราชอบแบบน้ี อกี ยคุ เราก็ชอบอีกอย่าง” ทุง่ มหาราช ก็ชอบ ถ้าใหบ้ อกหมดคงยาวเหยียด ของคุณชายคกึ ฤทธ์ิ ก็เคยชอบมาก อ่านทุกเร่ือง อย่าง ห้วงมหรรณพ ก็ชอบมาก” “มีเล่มไหนเปน็ หนงั สือในดวงใจบา้ งคะ” “ให้เลือกยากมาก (ลากเสียงยาว) แต่เอาเล่มท่ีอ่านแล้วรู้สึก “หนังสือมีการเล่าเร่ือง งานหนังมีการเล่าเรื่อง คล้ายกันไหม ภูมิใจทีอ่ า่ นจบ ก็คอื Les miserable หรอื เหยื่ออธรรม ฉบบั แปล คะ” ของจูเลียต ก็เป็นเล่มที่อ่านจบแล้วความคิดมันเปลี่ยนในช่ัวพริบตา “ผมคิดว่าเสน่ห์ของตัวอักษรมันเหนือกว่านะ เพราะภาพยนตร์ รู้สกึ เลยว่ามองโลกเปลยี่ นไป” คนเสพตอ้ งใช้จินตนาการเองแค่บางส่วน ยงั มีภาพ มเี พลง มีตวั แสดง เป็นส่วนช่วยให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม แต่หนังสือมันมีแค่ตัวหนังสือ “พอจะบอกเป็นรปู ธรรมไดไ้ หมคะ วิธีการมองโลกเปลย่ี นไปเป็น ลว้ นๆ แตก่ ส็ ามารถทำใหเ้ รานำ้ ตารว่ งได้” อยา่ งไร” “เรารู้สึกว่าโลกน้ีมีความอยุติธรรมเยอะมาก มันซ่อนตามหลืบ “ดูจากผลงานภาพยนตร์ของคุณวิศิษฏ์ อย่าง ฟ้าทะลายโจร มุมต่าง ๆ แล้วถูกฉาบด้วยความสวยงามจนทำให้เราไม่เห็น อย่าง หมานคร เหมือนเป็นคนมองหนังแบบมีสี แล้วมองหนังสือมีสีบ้าง ชีวิตของคนจนท่ีอาศัยอยู่ใต้สะพาน อะไรแบบนั้น ซ่ึงก็ส่งอิทธิพลมา ไหมคะ” ถึงงานหนังบ้าง ท่ีเราอยากพูดเร่ืองของคนท่ีซ่อนอยู่ในหลืบมุมต่างๆ “ผมเป็นคนชอบสะสมหนังสือ แต่จะสะสมหนังสือเก่า อย่าง ซ่งึ คดิ ว่าชวี ิตของคนตัวเลก็ ๆ เหล่าน้ีน่าสนใจ” นิยายที่ปกเป็นภาพวาด บางทีไม่ได้อ่านนะครับ (หัวเราะ) แต่สะสม เพราะปก อยา่ งปกทีว่ าดโดย อาจารยเ์ ฉลมิ วุฒิ (เฉลมิ วฒุ โิ ฆษิต) ครู “มีเล่มอื่นอีกไหมคะ” เหม เวชกร หรือที่วาดโดยศิลปินท่ีไม่มีชื่อเสียงก็สะสมนะครับ แต่ “ฤทธิ์มีดส้ัน ก็ใช่ ของครูมาลัย ชูพินิจ ก็ชอบ แผ่นดินของเรา หนงั สอื ท้ังหมดนนั้ มนั ไปหมดแลว้ ครบั หลงั จากนำ้ ท่วม” ชอบมาก รู้สึกว่าครูมาลัยทันสมัยมากในยุคน้ัน เขียนถึงความรักใน 312 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกื้อกลู โลก เก้อื กูลมนุษย ์

“โธ่ เสยี ดาย เอาเปน็ วา่ ชว่ ยแนะนำหนงั สอื สำหรบั เดก็ วยั ๑๒ ถงึ สำหรับผม มันเกิดเมื่อผมอ่าน พออ่าน ภาพมันออกมา ผมสร้าง ๑๘ ปี ดว้ ยคะ่ ” ภาพในหัวตลอดเวลาเมื่อผมอา่ นไปเร่ือย ๆ” “ผมขออนุญาตแนะนำวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง ครุฑน้อย ของ คุณคอยนชุ นะครับ หนังสอื ทอี่ ยากแนะนำสำหรับเดก็ วยั ๑๒ ผมคดิ “ถือไดว้ ่าการอา่ นมอี ทิ ธพิ ลในเร่อื งของชวี ติ บ้างไหมคะ” วา่ น่าจะเปน็ วยั ทีก่ ำลังคน้ หาตัวตน แต่เรือ่ งนไ้ี ม่ไดถ้ ึงขนาดชี้แนะ แต่ “การอ่านก็เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เหมือนการเสพวัฒนธรรม จะบอกให้รู้ว่าความแปลกแยกไม่ได้แย่เสมอไป ทำไมเราไม่เหมือน เสพศิลปะหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะผมเป็นพวกไม่ชอบเข้าสังคม เพอื่ น สำหรบั เดก็ อาจจะเปน็ ปม แตไ่ มจ่ ำเปน็ ตอ้ งเหมอื นใคร เรามที าง จะชอบอยู่คนเดียวซะเยอะ อาจจะเวอรไ์ ปหนอ่ ย แต่การอยู่คนเดยี ว ของเรา แต่เราเจอทางนั้นหรือเปล่า ก็ช่วยให้เด็กได้ค้นหาอัตลักษณ์ ของผมมันทำให้เกิดพุทธิปัญญา (หัวเราะ) พออยู่คนเดียวในช่วง ตวั เองได”้ ขณะทค่ี วามคดิ ในหวั วา่ ง ๆ ผมชอบอา่ นหนังสือ โดยเฉพาะตอนดึก ๆ ทที่ กุ คนหลบั หมดแลว้ เพราะผมเป็นคนสมาธิไม่คอ่ ยดี อ่านเวลามคี น “คุณคา่ การอา่ นในมมุ มองคุณวิศิษฏ์เปน็ ยงั ไงคะ” อยู่ด้วยไม่ได้ ต้องแบบเงยี บ ๆ ถงึ จะทำให้เกิดความคดิ ใหม่ ๆ ขึน้ ได”้ “การอ่านเป็นจินตนาการ สำหรับผม ไม่มีอะไรเทียบ อย่าง ละครวิทยุยังมีเสียง มีอย่างอื่น ภาพยนตร์ก็มีภาพ มีอะไรจน “คณุ วศิ ษิ ฏม์ องอนาคตการอา่ นตอ่ ไปจะเปน็ ยงั ไงคะ” จินตนาการเราไม่ได้ถูกใช้ เพราะเขาสร้างมาให้สำเร็จแล้ว ป้อนให้ “สำหรับคนรุ่นผม คิดว่าการอ่านก็น่าจะยังคงอยู่ในรูปแบบ หมด แตก่ ารอ่าน เราต้องจนิ ตนาการเองทงั้ หมด ไม่ง้นั เรากจ็ ะอ่านไม่ หนังสือเล่มอยู่นะครับ เพราะต้ังแต่เกิดก็อ่านมาแบบน้ี แต่ก็เข้าใจ สำเร็จ ทำให้เด็กยุคนี้หลายคนมีปัญหา เพราะมีส่ิงสำเร็จรูปป้อนเข้า เด็กรุ่นนี้ว่า เขาเกิดมาพร้อมคอมพิวเตอร์ ทำให้การอ่านสื่อของเขา มาให้ เขาจึงไม่ชอบจินตนาการเอง คิดว่าลำบาก เลยไม่ชอบอ่าน ไม่ลำบากเท่ารุ่นเรา แต่คิดว่ารูปเล่มก็น่าจะยังอยู่ เหมือนกระดาษก็ อะไรยาว ๆ ชอบอ่านอะไรส้ัน ๆ แต่จินตนาการ สำหรับผม มันคือ ยังอยู่ แต่คิดว่าการอ่านหนังสือแบบ E Book ใน Kindle จะแพร่ การต่อยอดไปสู่ทุกอย่าง ถ้าเราสามารถจินตนาการเห็นหน้าพระเอก หลายข้ึน ซึ่งข้อดีคือ เราไม่ต้องพกไปเยอะ อย่างเมื่อก่อนเดินทาง นางเอก เราก็จะอินไปกับมันได้จนจบ ยกตัวอย่าง ภาพยนตร์ แบกหนังสือไปเปน็ สบิ เลม่ แตไ่ มว่ ่างอ่าน กต็ อ้ งแบกกลับ แตอ่ นั น้ีจะ บทสมั ภาษณ์ | 313

สะดวกกว่า แต่อารมณ์การอ่านของคนรุ่นเราก็น่าจะพอใจกับการ พลิก การจับหนังสือมากกว่า การอ่านในคอมพิวเตอร์มันไม่ค่อยให้ อิสระกับเรา อย่างผมจะชอบพลิกหนังสือกลับไปมา พับมุม แหวะ กลางคว่ำท้งิ ไว้ แต่ในคอมพวิ เตอร์มันทำไมไ่ ด้ มันไมเ่ ป็นอสิ ระอยา่ งที่ เราตอ้ งการ” จากการอ่านท่ีทำให้เกิดจินตนาการ น่ีอาจเป็นส่วนหน่ึงท่ีทำให้ วงการภาพยนตร์ของไทยเรา มีผู้กำกับและนักเขียนบทภาพยนตร ์ มือฉมังอย่างคุณวศิ ษิ ฐ์ ศาสนเที่ยง 314 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้อื กูลโลก เกอื้ กลู มนุษย ์

คณุ สุชาติ สวสั ด์ิศร ี นักคิดและนักเขียน ศลิ ปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พ.ศ. ๒๕๕๔ หนงั สอื ติดปีกให้มนษุ ย์ (Book give people wings)* “เมอื่ ติดปีกเสยี แล้ว เราจะบนิ ไป ณ ท่ีใดก็ไดต้ ามใจเรา” *ฟบโี อทดสอัมรภ์ากษลณา้ ์ด|ค อฟ3 15

สุชาติ สวัสด์ิศรี เจา้ ของนามปากกา “สงิ ห์ สนามหลวง” ศิลปิน ราษฎร์ (พ.ศ. ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐) ผมใช้เวลา ๑ ปีเต็มกับประสบการณ์ แห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นนักคิด นักเขียน ครูโรงเรียนราษฎร์ในสมัยน้ันท่ีโรงเรียนแห่งน้ีได้ช่ือว่ามีแต่เด็ก นักศิลปะ บรรณาธิการนิตยสาร บรรณาธิการสำนักพิมพ์ และ เอาเร่ือง เข้าสอนวันแรกก็ถูกลองของทันที คือมีเด็กคนหน่ึง ผู้ก่อตั้งรางวัลช่อการะเกด ผลงานมากมายเป็นท่ีประจักษ์ต่อสังคม “พกปืน” มาอวดถึงในห้อง “ครูคับ...ครูคับ...ครูเคยเห็นปืนม้ัย เร่มิ ตน้ จากการอา่ นหนงั สอื ตั้งแต่เด็ก โดยพ่ีสุชาติเปิดเผยให้ฟงั ดงั น้ี ครับ!” การลองของในครั้งนั้นผมถือเป็นการแนะนำตัวมากกว่า เปน็ การข่มขู่ “ประสบการณ์การอ่านในวัยเด็ก เร่ิมอ่านหนังสือเม่ืออายุเท่า แต่สุดท้ายผมก็ “เอาไม่อยู่” กับชีวิตการเป็นครูโรงเรียนราษฎร์ ไหร”่ ท้ังท่ีมใี จรักอยากสอนหนงั สอื แตเ่ มื่อสอบไลเ่ ทอมปลายผา่ นพ้น ช่วง “ยอ้ นกลับไปทบทวน ผมคิดว่าผมอา่ นหนงั สือออกกอ่ นเขา้ เรยี น ปิดเทอมใหญ่ปลายเดือนกุมภาพันธ์ของปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ผมก็ได้พบ ช้ันประถมฯ ๑ เม่ืออายุ ๖ หรือ ๗ ขวบ ท่ีเป็นเช่นนั้นเพราะท่ ี กับเหตุประหลาดใจครั้งแรก กล่าวคือได้รับ ซองขาวไล่ออกจากงาน บ้านเก่าหลังสถานีรถไฟดอนเมือง พ่อเป็นผู้ก่อตั้งและเป็นเจ้าของ ด้วยข้อหาจากเจ้าของโรงเรียนว่า “กระด้างกระเด่ืองกับผู้บังคับ โรงเรยี น สวัสดศ์ิ ึกษามาตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๗ คอื ใช้บ้าน ๒ ชน้ั ๓ คหู า บัญชา” นี่คอื ซองขาวครั้งแรกในชวี ติ เปดิ เป็นโรงเรยี น จ้างครูมาสอนเดก็ ช้นั มลู สมัยน้ีเรยี กว่าอนบุ าล มันทำให้ผมนึกแว่บไปเห็น “ปืน” ในกระเป๋าของลูกศิษย์คนน้ัน เส้นทางยาวไกลต้ังแต่โรงเรียนช้ันมูลของพ่อเม่ืออายุ ๖ ขวบ อยู่เรื่อย พร้อมกับนึกเห็นภาพของ “เมอโซ” ที่ยิงชาวอาหรับคนน้ัน (พ.ศ. ๒๔๙๔) จนได้เป็นศิลปศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก ของคณะ ตาย เพราะบังเอิญมีแสงจ้าจากดวงอาทิตย์ส่องมาเข้ากระทบจน ศิลปศาสตร์ ธรรมศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๐๘) และออกมาเป็นครูโรงเรียน ตาพร่า ผมมาอ่านเรอื่ ง คนนอก ของอลั แบร์ กามู ในภายหลงั และ 316 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกื้อกูลโลก เก้อื กูลมนษุ ย์

เข้าใจทันทีว่าถูกแล้วท่ีเขาให้ “ซองขาว” แก่ผม ผมควรต้องรีบออก ใคร ๆ ก็แปลกใจที่ผมเกิด นึกย้อนกลับไปผมคิดเอาเองว่า เวลา ไปให้พ้นจากแสงจ้าของดวงอาทิตย์ท่ีมันอาจเผาผลาญผมจนมอด พ่อเดินหรือนั่งรถรางไปเรียนท่ีศิริราชและใช้ชีวิตวัยหนุ่มวัยกลางคน ไหม้! อยู่แถวน้ัน บางทีพ่อคงอาจเดินสวนกับพวกนักเขียนคณะสุภาพบุรุษ ตั้งแต่อายุ ๖ ขวบ จนถึงช่วงนาทีท่ีผมเห็นปืน ในกระเป๋าของ และอีกหลายคณะท่ีมีโรงพิมพ์อยู่ใกล้ ๆ กันนั้นก็เป็นได้ แต่น่าแปลก เด็กนักเรียนคนน้ัน ผมใช้เวลาในการก้าวล่วงจากวัยเด็กสู่วัยเติบใหญ่ ทพี่ อ่ ไม่ใชห่ นอนหนังสอื ในบ้านทผ่ี มเตบิ โตหลงั สถานีรถไฟดอนเมือง ประมาณ ๑๕ ปี ในสมัยนั้นถือว่าคนหนุ่มสาวบรรลุนิติภาวะที่อายุ จึงไม่มีหนังสือจำพวกวรรณกรรมเอาเลย พ่อเองก็ไม่ทันได้เล่าอะไร ๒๐ ปี ต่างจากสมัยน้ีที่เล่ือนขึ้นเป็นอายุ ๑๘ ปี ซึ่งก็เหมาะสมแลว้ ให้ฟังเพราะอยู่ด้วยกันเพียงแค่ ๑๑ ปี พ่อก็ตาย จำได้ว่าพ่อเคยต ี ดังน้ันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่เรียกกันว่า นิสิต นักศึกษา ผมเบา ๆ อยู่คร้ังเดียว เพราะมัวไปเล่นกับพวกเด็กตลาดจนมืดค่ำ มหาวิทยาลัย จึงควรต้องเข้มแข็งทางการอ่านเสียตั้งแต่อายุ ๑๘ ปี แตเ่ บา ๆ ครั้งเดียวกก็ ลวั จนเย่ยี วเล็ดแล้ว สว่ นแม่นนั้ ตหี นกั และตีอยู่ เช่น อา่ นหนังสือในระดับ สงครามชวี ติ และ รักของผู้ยากไร้ จบแล้ว หลายคร้ังเวลาถูกจับได้ว่าขโมยสตางค์ ตอนน้ันผมขโมยสตางค์แอบ พ่อกับแม่คือชาวนา พ่อผมเกิด พ.ศ. ๒๔๓๘ ดังน้ันจึงเป็นรุ่นพ่ี ซอ้ื หนังสอื อา่ นเล่นมาซ่อนไว้ใตเ้ สอื่ น้ำมันท่ีต้งั ห้งิ พระ ใครมาไหว้พระ ของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ท่ีเกิดเม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๘ คือแก่กว่ากัน ก็เหมือนมาไหว้หนังสืออ่านเล่นท่ีผมซ่อนไว้ แต่ความก็แตกจนได้ ๑๐ ปี สมัยเป็นเสนารกั ษ์ทหารบก (สร.ทบ.) เข้าใจวา่ พอ่ คงเรยี นเกง่ เพราะหนังสือที่ซ่อนไว้ใต้เส่ือน้ำมันคอ่ ย ๆ ซอ้ นเพมิ่ มากขน้ึ จนนนู ผดิ จึงได้รับเลือกให้ไปเรียนวิชาแพทย์แผนปัจจุบันท่ีศิริราช พี่ชายเล่าให้ สงั เกต เรอ่ื งจงึ จบลงแบบ “ไอแ้ อ๊ด” รอ้ งไหเ้ ปน็ เผาเตา่ ไม่ทราบมใี คร ฟงั วา่ เม่อื พ.ศ. ๒๔๘๐ กอ่ นผมเกิด ๘ ปี สมัยนนั้ พอ่ เคยซ้ือบา้ นพกั ในรุ่นน้ีรู้จักสำนวน “ร้องไห้เป็นเผาเต่า” หรือไม่ เวลานั้นก็ไม่รู้ เล็ก ๆ ไว้หลังหนึ่งในราคา ๑,๐๐๐ บาท บ้านหลังน้ีอยู่ใกล้ ๆ กับ เหมือนกันว่าทำไมผมจึงติดใจอ่านหนังสือถึงกับยอมเสี่ยงเป็นขโมย วัดชนะสงคราม ดังน้ันก็คงไม่ไกลจากบ้านครูอบ ท่ีเม่ือปี พ.ศ. พ่อแม่ก็ไม่ได้สั่งสอน จำได้ว่าก่อนพ่อตาย ในบ้านมีแต่ตำราแพทย์ ๒๔๗๒ ถูกใช้เป็นสำนักงานของกลุ่มนักเขียน นักประพันธ์ “คณะ และหนังสือพวกสารศิริราช และ ข่าวทหารอากาศ เท่านั้น แต่ไม่มี สุภาพบุรุษ” ตอนนั้นพ่ออยู่กับแม่แล้ว และมีลูกด้วยกัน ๔ คน แต่ หนังสือจำพวกวรรณคดีเลย ในยุคน้ันผมไม่รู้จักคำว่า วรรณกรรม ผมยังไม่เกิด ผมมาเกิดเป็นลูกหลงคนสุดท้อง ตอนเม่ือพ่ออายุ ๕๐ เยาวชนหรอกครบั คำ ๆ น้ยี ังไมเ่ กิด สมัยนน้ั ก็เรยี กกนั แบบเหมาโหล บทสมั ภาษณ์ | 317

ว่าเป็น หนังสืออ่านเล่น ส่วนคำว่าวรรณกรรมก็ยังไม่เกิด มีแต่คำว่า สุรชัย จันทิมาธร, วีระประวัติ วงศ์พัวพันธ์, บริสุทธิ์ บูรณสัมฤทธิ์, วรรณคดี เท่านั้น และในช่วงวัยเด็กวัยรุ่นผมไม่รู้จักทั้งนั้น ไม่ว่าจะ คำรณ คุณะดิลก, วินัย อุกฤษณ์, วิทยากร เชียงกูล, เทพศิร ิ เปน็ วรรณกรรมหรอื วรรณคดี หรอื ถ้าร้คู รา่ ว ๆ กค็ งจะเป็นพวกนยิ าย สุขโสภา, ประวัติ เล้าเจริญ และแม้แต่รุ่นท่ีสอง เช่น มโนภาษ ภาพ ที่เอาเรอื่ งมาจากวรรณคดี หรอื ไมก่ ็จากลิเกทแ่ี ม่จำมาเลา่ ให้ฟัง เนาวรงั สี, คมศร คุณะดลิ ก, วีระศกั ดิ์ สุนทรศร,ี วสิ า คัญทพั , บัณฑิต เช่น จันทโครพ นางสบิ สอง หรือไมก่ ็ สงั ขท์ อง เองนิลรัตน์ “สนานจิตต์ บางสะพาน” อย่าคิดว่าทุกคนมาสำมะเล บ้านทุ่งสีกันเป็นเหมือนความทรงจำในอดีตท่ีผ่านมา และที่บ้าน เทเมากันไปทั้งหมดนะครับ ท่ามกลางการข้ามคืนกันนั้นยังมีอยู่ ทุ่งสีกันแห่งนี้ แม่ของผมทันได้เห็นลูกสะใภ้ที่จู่ ๆ ผมก็พามาแนะนำ ๒ คน คือ เทพศิริ สุขโสภา และวทิ ยากร เชยี งกูล ท่ไี ม่สบู บหุ ร่ี ไมส่ ูบ อยา่ งไมม่ พี ธิ รี ตี อง จำไดว้ า่ แมเ่ อา “หมู งุ้ ” มาทำเปน็ แหวนใหล้ กู สะใภ้ กัญชา ไม่ด่ืมเหล้า นอกจากเพื่อน ๆ ในกลุ่ม “พระจันทร์เส้ียว” อย่างมอี ารมณ์ขัน (กม็ คี นเดยี ว-คนนน้ั แหละครับ) บ้านทุ่งสกี ันท่ีเป็น แล้ว บ้านทุ่งสีกันหลังนี้ยังเคยได้ต้อนรับผู้มาแวะมาเยือนและพักค้าง คดคี วามกนั นนั้ มคี วามทรงจำทเี่ ปน็ “เรอ่ื งเลา่ ” ทง้ั ดแี ละรา้ ยมากมาย อกี หลายคน เช่น ดร.เบเนดกิ ต์ แอนเดอร์สนั (ผแู้ ปลและเขยี น “บท เป็นทั้งความสำเร็จและความล้มเหลวหลายอย่างในชีวิต บ้านไม้ชั้น กล่าวนำ” เร่ือง ในกระจก: วรรณกรรมและการเมืองสยามยุค เดียวใต้ถุนสูงหลังเล็ก ๆ ท่ีแม่ปลูกไว้ให้ แต่มาต่อเติมเป็น ๒ ชั้น อเมริกัน) ดร.เค้าส์ โรเชนแบร์ก กับภรรยา (ปัจจุบันคือ อรัญญา ในภายหลัง บ้านไม้หลังน้ีเคยมีผู้มาเยือนและพักค้างคืนมากหน้า พรหมนอก ผู้แปลนิยายเร่ือง กลองสังกะสี ของกึนเทอร์ กรัสส์) หลายตา เชน่ เพ่ือนในกลุม่ “พระจนั ทร์เสี้ยว” ทบี่ างครง้ั กแ็ วะมาขอ ดร.เรโช แฮริสัน แห่ง SOAS มหาวิทยาลัยลอนดอน ผู้ทำปริญญา “ประชมุ ขา้ มคนื ” กันที่นี่ ตอนน้นั ผมยงั เปน็ โสด อยบู่ ้านคนเดยี ว ใช้ เอกเร่ือง ชีวิตและงานของ ‘ศรีดาวเรือง’ และผู้แปลเร่ืองสั้นชุด ชีวิตเสรีเต็มที่ ความจริงก็เสรีมาต้ังแต่สมัยเป็น “เด็กตลาด” “เด็ก A Drop of Glass and Other Stories เวาน์ เพลงเออ หน้าโรงหนัง” และ “เด็กขายโอเล้ียงหน้าสถานีรถไฟ” แล้ว เพ่ือน นักวรรณกรรมชาวเดนมาร์กผู้รวบรวมมุขปาฐะของชาวเหนือเรื่อง พ้องแห่งวันวารที่เคยมาเย่ียมเยือน ก็มีตั้งแต่ ประเสริฐ จันดำ, ด้วยปัญญาและความรัก และผมเคยเป็นบรรณาธิการให้สมัยที่ เธียรชัย ลาภานันต์ (นามปากกา “นัน บางนรา” และ “เพี้ยน ทำงานอยกู่ ับสมาคมสงั คมศาสตร์แห่งประเทศไทย หลุยส์ เซต็ ติ หรือ พุ่มชะมวง”) ตั๊ก วงศ์รัฐปัญญา, ธัญญา ผลอนันต์, นิคม รายยวา, “ลูเซ็ตติ” (ผู้ประสานงานองค์การการศึกษาโลก) เพื่อนของ ดร. 318 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกอ้ื กลู โลก เก้อื กูลมนษุ ย ์

เอกวิทย์ ณ ถลาง และชูเกียรติ อุทกะพันธ์ุ เขาเป็นเพื่อนท่ีแสนดี ภาษาเยอรมัน ตอนนั้นเธอแวะมาพร้อมกับวัฒน์ วรรลยางกูร และ ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอเมริกัน แต่มาบอกข้อมูลเรื่อง เหมือนเธอจะตกใจเม่ือทราบว่ามี “ผัดเผ็ดหนู” รวมอยู่ในรายการ ฐานทัพอเมริกาในประเทศไทยใหผ้ มทราบ เชน่ สง่ Hearing ตา่ ง ๆ อาหาร วันนนั้ ผมยังไดย้ ินเสยี ง Rat! Rat! ของเธอได้จนบดั นี้ แตเ่ ธอ ของรฐั สภาอเมรกิ นั ใหผ้ มเอามาใช้ประโยชน์ใน สังคมศาสตรป์ ริทัศน์ ก็ลองชิมผัดเผ็ดหนู เพราะอยากรู้รสชาติว่าเป็นอย่างไร สำหรับผู้มา และสมัยหลังเหตุการณ์ ๖ ตลุ า ๒๕๑๙ ผมยังไปใชบ้ ้านของเขาแถว ขอค้นข้อมลู จากหนังสอื เกา่ ในบา้ นกม็ ีเช่น ดร.เรโช แฮริสนั , ดร.เค้าส ์ ซอยอารีสมั พนั ธ์เปน็ “เซฟเฮ้าส”์ อยู่พักใหญ่ นอกจากน้ันยังมอี ิวากิ โรเชนแบร์ก, ดร.สดช่ืน ชัยประสาส์น, ดร.เกษียร เตชะพีระ และ ยจู ิโร (นกั เขียนนักแปลบทกวแี ละเร่อื งสั้นไทยนบั รอ้ ยเรื่อง ผมเคยตั้ง หรือทีเ่ ป็นนกั คิดนักเขยี น นกั หนังสือพมิ พ์ เชน่ นพพร สุวรรณพานิช, ช่ือไทยให้เขาว่า “วีรชัย” เขาเป็นเพื่อนกับผมมาตั้งแต่สมัยก่อน “ส.ศวิ รักษ์”, คำสิงห์ ศรนี อก, พนั ศกั ด์ิ วญิ ญรัตน์, อนชุ อาภาภิรม, เหตกุ ารณ์ ๑๔ ตุลา ๒๕๑๖) คาซึเอะ อิวาโมโตะ (ผู้ประสานงานของ รังสรรค์ ธนะพรพันธ์, สุจิตต์ วงษ์เทศ, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, มูลนิธิโตโยต้าท่ีญี่ปุ่น) บุคคลผู้น้ีมีส่วนทำให้วรรณกรรมไทยสมัยใหม่ ดาราวัลย์ เกษทอง, “คมทวน คันธนู”, เสถียร จันทิมาธร, นันทะ ไดร้ บั การแปลเป็นภาษาญป่ี ุ่นเกอื บ ๕๐ เลม่ ว่ากนั มาต้งั แต่ ขา้ งหลัง เจรญิ พนั ธ,ุ์ “แกป๊ ” กญั จนา สปินดเ์ ลอร์ ฯลฯ” ภาพ, แลไปข้างหน้า, ส่ีแผ่นดิน หลายชีวิต, ปีศาจ, นายพันใต้ดิน, ฟ้าบก่ ั้น, เขาช่ือกานต์, คกู่ รรม, จดหมายจากเมอื งไทย, คำพพิ ากษา, “หนังสือท่ีเร่ิมต้นอ่านเป็นประเภทใด เล่มท่ีชอบเป็นหนังสือใน ผีเส้ือและดอกไม้ ฯลฯ และแม้แต่งานวิชาการเล่มสำคัญของจิตร ดวงใจคอื เล่มใด” ภูมศิ กั ด์ิ เรอ่ื ง ความเป็นมาของคำวา่ สยาม, ไทย, ลาว และขอม และ “ผมเริ่มต้นอ่านแบบค้นหาเอง คืออ่านที่พบทุกอย่างต้ังแต่ ลักษณะทางสังคมของช่ือชนชาติ ผู้แปลเป็นศาสตราจารย์ทาง หนังสือการ์ตูนที่สมัยน้ันเรียกว่า “นิยายภาพ” มาจนถึงหนังสืออ่าน ภาษาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโตเกียว เคยเดินทางมาขอคำปรึกษาผม เป็นเลม่ ๆ ประเภท Pulp Story หรอื Pulp Fiction ท้งั หลาย ที่บ้านทุ่งสีกันแห่งนี้ จำได้ว่าเธอชื่อ ซาคะโมโตะ “สนานจิตร ขอเล่าถึงหนังสือการ์ตูน หรือที่สมัยนั้นเรียกว่านิยายภาพไว้เป็น บางสะพาน” รับอาสาเป็นไกด์พามาถึงบ้าน นอกจากน้ันก็มี ขอ้ มูลสักเล็กน้อย คำว่า นิยายภาพ ถา้ ให้โก้ในสมัยนี้กค็ งไม่ต่างจาก ดร.เฮลลา คอทแมน ผู้แปลเรื่องสั้นบางเรื่องของ “ศรีดาวเรือง”เป็น คำว่า มังงะ ในภาษาญ่ีปุ่น หรือถ้าเป็นภาษาอังกฤษที่เรียกให้ดูมี บทสัมภาษณ์ | 319

ระดับก็คือ Graphic Novel เร่ืองน้ีก็คงไม่ต่างจากเด็กสมัยน้ีที่อ่าน ต้อง “สมาธิสั้น” เมื่อน้ัน ผิดกับสมัยผมท่ีอ่านจนจบเร่ืองในทันที มังงะ แต่ของผมพอข้ึน ม.๑ - ม.๒ ก็หันไปอ่านหนังสือเป็นเรื่อง ๆ หรอื ไม่ถา้ เปน็ เรือ่ งแบบ “ซีรยี ”์ ก็จะตามอา่ นไปจนจบ บางเรอ่ื ง ๑๖ แล้ว หนังสือเป็นเรื่อง ๆ บางทีก็มีท่ีนำมาดัดแปลงเป็นนิยายภาพ หน้ายก บางเร่ือง ๘ หน้ายก ความหนาประมาณ ๒๐ – ๔๐ หน้า หนังสืออ่านเล่นเล่มไหนขายดี หรือติดตลาด ก็มักจะถูกนำไปเป็น แต่ละ “ซีรยี ”์ จะซ้อื มาอ่านตอ่ เนอื่ งกันแบบ ๔๐ – ๕๐ เลม่ จบ นิยายภาพหลายสิบเลม่ จบ ไมว่ า่ จะเป็น เสือใบ - เสอื ดำ หรอื ซูเปอร์ ขอย้อนไปวัยเด็ก (๖ – ๑๐ ขวบ) ตอนอ่านหนังสือการ์ตูน แมนแกละ ของ “ป.อินทรปาลิต” รวมทั้งเร่ืองจากวรรณคดี เช่น จำพวกนิยายภาพทง้ั หลาย สมัยเป็นเด็กผมไม่ทนั เห็นลายเสน้ การ์ตูน จนั ทโครพ หรอื พระอภยั มณี ในวัยเด็กของผม ลายเส้นของหนงั สือ ท่ีเป็นแบบไทยของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรป่ิน พ่อของ การ์ตูนหรือนิยายภาพมีความเป็นตัวของตัวเองมากกว่าลายเส้นของ “จ.ไตรป่ิน”) ผู้ได้ช่ือว่าเป็นนักเขียนภาพการ์ตูนล้อการเมืองคนแรก นิยายภาพในปัจจุบันที่ได้อิทธิพลมาจาก มังงะ ของญ่ีปุ่น (ต่อไป ของไทย ไม่ทัน “ธัญญ” (นามจริงคือ ธัญญะ อุทธกานนท์ บุคคล ก็ไม่แน่ว่าจะกลายพันธ์ุเป็นลายเส้นแบบจีนและเกาหลีหรือเปล่า) ผู้น้ีคือผู้วาดภาพปกหนังสือ สุภาพบุรุษรายปักษ์ ฉบับปฐมฤกษ ์ อย่างไรก็ตาม เนื้อหาของหนังสือการ์ตูนในวัยเด็กของผมก็หาได้ ของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๒) ไม่ทันลายเส้นของ ปลอดพ้นจากอทิ ธพิ ลของเนื้อหาท่มี าจาก การ์ตูนวอลท์ ดิสนีย์ และ “เฉลิมวุฒิ” (นามจริงคือ เฉลิม วุฒิโฆสิต ผู้เป็นทั้งนักวาดภาพและ การต์ นู มารเ์ วลทเ่ี ปน็ พวก Super– hero ไม ่ บรรณาธิการผู้ก่อตั้งหนังสือรายปักษ์ชื่อ สมานมิตรบรรเทอง เม่ือ ดังน้ันจึงคิดว่าไม่เสียหายอะไรถ้าวัยเด็กในสมัยน้ีจะโตมากับ พ.ศ. ๒๔๗๐) แม้จะทันไดพ้ บตวั จรงิ เสยี งจรงิ ของทา่ นกอ่ นเสยี ชวี ติ แต่ มังงะ ของญี่ปุ่น แต่ มังงะ ของญี่ปุ่นก็มีหลากหลายจนแทบเลือกไม่ กไ็ มเ่ คยรบั รมู้ าก่อนวา่ ท่านเป็นท้ังนักวาดภาพปก ภาพประกอบ และ ถูก และมีเป็นซีรีย์จำนวนร้อย ๆ เล่ม ร้อย ๆ เรื่อง ทำให้การอ่าน เป็นบรรณาธิการผู้ก่อต้ังนิตยสารหลายฉบับในสมัยก่อน โดยมีช่ือ มังงะ ของญี่ปุ่นเลยพ้นจากวัยเด็กไปสู่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่จนแทบ เสยี งมาพรอ้ ม ๆ กับ เหม เวชกร และ สวสั ด์ิ จุฑะรพ ผมเคยนำภาพ แยกไม่ออก แม้แต่เข้าเรียนมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังถอนตัวไม่พ้นจาก ปกหนังสือ สุภาพบุรุษรายปักษ์ จากฝีมือการวาดภาพของ “เฉลิม มังงะ เหล่านนั้ กลายเปน็ วา่ มงั งะ คอื การอ่านท่ีติดหนบึ จนแทบไมร่ ู้ วฒุ ิ” มาทำเป็นแบบปกหนงั สือวรรณมาลัย เพ่ือนพ้องแห่งวันวาร : จักการอา่ นจริง ๆ ว่าเปน็ อย่างไร หยบิ หนงั สอื จริง ๆ ขน้ึ มาเมือ่ ใดเป็น เร่ืองสั้น “สุภาพบุรุษ” ใครอยากเห็นฝีมือของศิลปินผู้ถูกลืมท่านนี ้ 320 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเก้อื กูลโลก เกื้อกูลมนุษย์

กไ็ ปหาดูได้จากวรรณมาลัยเรื่องนี้ นอกจากน้ันผมไม่ทนั ภาพวาดของ บางทีเรยี กวา่ วรรณวิจิตร ถา้ ผมจะไดส้ มั ผสั อย่บู า้ งกถ็ ือวา่ เรม่ิ มาจาก เสน่ห์ คล้ายเคลื่อน ไม่ทันภาพวาดของ “มิสเตอร์” ไม่ทันภาพวาด “ภาพ” ไมใ่ ชเ่ ริ่มมาจาก “เร่อื ง” อายุ ๑๐ หรอื ๑๑ ขวบ ผมตื่นเตน้ ของ ฟ้ืน รอดอริห,์ ฉนั ท์ สุวรรณะบุณย์ ไม่ทนั ภาพวาดลอ้ การเมือง ไปกับภาพวิจิตรพวกน้ีแล้ว และมาค้นพบภายหลังว่า ภาพวิจิตร ของ “เทอดเกียรติ”และ “เอ๊กซเรย์” ท่ีเขียนเป็นการ์ตูนช่องใน เหล่าน้ี เช่น เรื่อง ราชาธิราช เหม เวชกร วาดพิมพ์คร้ังแรกใน หนงั สือพมิ พ์รายวัน หนังสอื พมิ พ์รายวนั โดยเป็นภาพ ๒ แถว แถวละ ๒ ภาพ และวาด การ์ตูนล้อการเมืองท่ีผมพอทันในสมัยวัยรุ่นและวัยหนุ่มก็เห็น ส่งพิมพ์ทุกวัน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๕ – ๒๔๙๖ ข้อมูลจากหนังสือ จะมแี ค่ “ศุขเลก็ ” (นามปากกาของ ประยูร จรรยาวงษ)์ เทา่ นน้ั แต่ ตำนานการ์ตูน ของ จุลศักด์ิ อมรเวช (นามปากกาเวลาเขียนนิยาย กระน้ันก็พอทันเห็นภาพลายเส้นของ เหม เวชกร, สวัสดิ์ จุฑะรพ, ภาพคอื จกุ เบย้ี วสกุล) จลุ ศกั ด์ไิ ด้ใหข้ ้อมลู ว่า เหม เวชกร เขียนภาพ สุรินทร์ ปิยานันท์, ชอบ ศรีสุกปล่ัง, “อาภรณ์” (นามปากกาของ วิจิตรในงานชุด ราชาธิราช ไว้ถึง ๒,๖๖๒ ภาพ ใครจะเชื่อว่า อาภรณ์ อนิ ทรปาลิต น้องชาย “ป.อนิ ทรปาลติ ”) มีจำนวนมหาศาลถึงขนาดนั้น ปัจจุบันใครมีภาพต้นแบบของเหม ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๗ – ๒๔๙๙ จำได้ว่าขโมยสตางค์จากเชี่ยน เวชกร จากเร่อื งชุดนี้เกบ็ ไว้ครบ ถอื กนั วา่ มีของขวญั ล้ำค่าย่งิ ยวดเกบ็ หมากของแม่ไปซ้ือนิยายภาพ เร่ือง ชูชก, เมืองแม่หม้าย และ ไวใ้ นชวี ิต ผมจำรายละเอยี ดเหล่านีไ้ มไ่ ด้เลยถา้ ไม่มหี นงั สือ พระอภยั มณี ตอน “อวสานผเี สื้อสมุทร” ของ สวัสด์ิ จุฑะรพ จำได้ ตำนานการ์ตูน ของจุลศักดิ์ อมรเวช มาช่วยเตือนความจำ ติดตาวา่ นิยายภาพเรือ่ ง เมืองแม่หม้าย ของสวัสดิ์ จุฑะรพ มภี าพกึง่ คุณจุลศักด์ิได้ให้ข้อมูลไว้อีกว่า ภาพวิจิตรเร่ือง ราชาธิราช เมื่อรวม เปลอื ยท่คี อ่ นขา้ ง “เซก็ ซี่” เอามาก ๆ เล่มเป็นหนังสือขนาด ๘ หน้ายกธรรมดา หนา ๔๘ หน้าไม่รวมปก จำได้ว่าตอนอยู่ช้ันมัธยม ผมเคยซื้อนิยายภาพเร่ือง กากี และ ราคา ๒.๕๐ บาท ขนาดรูปเล่มและราคาน้ีคือมาตรฐานของหนังสือ พระลอ ที่เขียนเรื่องแบบร้อยแก้วโดย “นายตำรา ณ เมืองใต้” การต์ นู ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๔๙๙ เปน็ ตน้ มา ตอ่ มาจำนวนหนา้ ไดล้ ดลงเหลอื (นามปากกาของ เปล้ือง ณ นคร) และวาดภาพประกอบโดย เหม ๓๒ หน้า และราคาได้เพ่ิมขึ้นเป็น ๓ บาท และ ๓.๕๐ บาท คิด เวชกร ดูแล้วกันว่าทำไมผมต้องขโมยเงินจากเช่ียนหมากของแม่ เพราะตอน นิยายภาพจากวรรณคดี หรือที่สมัยนั้นเรียกว่า ภาพวิจิตร หรือ อยู่ ม.๑ ม.๒ ผมได้เงนิ ติดกระเป๋าไปโรงเรยี นวันละ ๒ บาทเท่านัน้ ! บทสัมภาษณ์ | 321

ซูเปอร์ฮีโร่แบบไทย-ไทยที่ก็คงจะได้อิทธิพลมาจากการ์ตูนวอลท์ เมอ่ื ตดิ ตลาดแล้วจึงมผี ู้เอาไปทำเปน็ “ภาพ” ในภายหลงั ซึ่งก็มีทีม่ า ดิสนีย์ และการ์ตูนมาร์เวลของฝร่ังก็มี เช่น กัปตันเอ ซูเปอร์แมน ท้ังจากนิทานไทยและเร่ืองจักรๆ วงศ์ๆ ท่ีแต่งขึ้นใหม่ เช่น ขวานฟ้า มนุษย์ค้างคาว สไปเดอร์แมน ฯลฯ ที่ผมจำได้ติดใจในวัยนั้นก็มี หนู หน้าดำ ดาบเจ็ดสี มณเี จ็ดแสง ท่ีเขยี นเรอื่ งโดย เสรี เปรมฤทัย หรือ เล็ก-ลงุ โกร่ง วาดภาพโดย “อดเิ รก” (นามปากกาของ อดเิ รก อบั ดลุ แม้แต่ เสือใบ-เสือดำ, ซุปเปอร์แมนแกละ, เจ้าชายกาลี, พล นิกร ราฮิม ต่อมาเปลี่ยนนามสกุลเป็น อารยะมนตรี) หนูเล็ก-ลุงโกร่ง ได้ กิมหงวน เหล่านี้มีผู้นำเนื้อหาบางตอนมาทำเป็นนิยายภาพในภาย อิทธิพลตัวละครมาจากการ์ตูนของวอลท์ ดิสนีย์ เร่ือง มิคก้ีส์ เม้าส์ หลังทั้งสิ้น จอมอภินิหาร ท่ีมาจาก Captain Marvel สมัยเด็กเรา กับกูฟฟี่ ตัวละคร “ลุงโกร่ง” น้ัน ถอดแบบมาจาก กูฟฟ่ี โดยแท้ เรียกว่า “กัปตันเอ” การ์ตูนมาเวลเรื่องนี้ก็คือตัวแบบของเรื่อง จอม ส่วน “หนูเล็ก” นนั้ ก็คอื มิคกี้ส์ เมา้ ส์ นัน่ เอง การ์ตนู หนูเล็ก – ลงุ อภินิหาร ที่แต่งเรื่องและวาดภาพโดย “หลังฉาก” (นามปากกาของ โกร่งได้ทำให้เกดิ การต์ นู ในชอื่ ชุด “หลาน” กับ “ลุง” ตามมาอีกเปน็ ชุมพร แก้วสาร) จึงเปลย่ี นชือ่ และเปล่ียนอักษรตัว เอส ทห่ี น้าอกมา ขบวน เช่น การ์ตูนชุด หนูป้อม – ลุงเป๋อ วาดภาพโดย ปรีชา ชวน เป็นอักษรตัว เอ นิยายภาพในวัยเด็กเรื่องอื่น ๆ ยังมีอีก เช่น มณี เสถียร นอกจากน้ันก็มีหนังสือการ์ตูนท่ีได้อิทธิพลมาจากค่ายมาร์เวล โสภา เจ้าชายดำรงฤทธิ์ เดชดำผจญภัย เจ้าชายจักรา ดวงทินกร เช่น จอมอภินิหาร ที่ได้ตัวแบบมาจาก Captain Marvel และต่อ ตะเพียนทอง ขุนศึกม้าดำ สันธยา -ภาณุมาศ นอกจากน้ันก็มีท่ีเอา จาก จอมอภนิ ิหาร กม็ ี อัศวนิ สายฟา้ นยิ ายภาพในวัยเด็กทผี่ มยังจำ เรือ่ งอิงประวตั ิศาสตรม์ าวาดเปน็ นิยายภาพ เชน่ พนั ท้ายนรสิงห์ วาด ได้อีกเร่ืองหนึ่งคือ ซุปเปอร์แมนแกละ นิยายภาพเร่ืองน้ีเอาเน้ือเรื่อง ภาพโดย “อนุราช” มาจากนิยายเล่มของ “ป.อินทรปาลิต” แต่ก็ต้องถือว่า “ป.อินทร- นิยายภาพเร่อื งทไ่ี ดอ้ ทิ ธพิ ลมาจาก Captain Marvel ซเู ปอร์ฮีโร่ ปาลิต” ได้ต้นธารมาจากการ์ตูนมาร์เวลเร่ือง Superman เช่น ตัวแรกในแวดวงของการ์ตูนอเมริกันนั้น นอกจากจะมีเร่ือง เดยี วกนั จอมอภินิหาร ที่วาดโดย “หลังฉาก” แล้ว ยังมีเร่ือง อัศวินสายฟ้า การอ่านนิยายภาพถือเป็นหนังสืออ่านเล่นสำหรับวัยเด็กและ ของ “พ.บางพลี” (นามจรงิ คอื วีรกลุ ทองนอ้ ย) ด้วย โดยแปลงโฉม วยั รุ่นท่หี าได้ท่วั ไปในสมยั น้ัน ซงึ่ ก็คงไมผ่ ดิ แผกไปจากมงั งะของญีป่ ่นุ เครื่องแบบจากตัวอักษร เอ ที่หน้าอกกลายมาเป็น “เคร่ืองหมาย ในสมัยน้ี แต่สมัยนั้นมีบางเรื่องอ่านจากหนังสือท่ีเป็น “เร่ือง” ก่อน รูปสายฟ้า” แทน เน้ือหาก็เป็นจักร ๆ วงศ์ ๆ แบบไทย เรื่องน้ีได้รับ 322 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้อื กูลโลก เกือ้ กูลมนษุ ย์

ความนิยมจากวัยเด็กในยุคน้ันอยู่นาน ถ้าจำไม่ผิดผมคิดว่าเป็นนิยาย (นามปากกาของ สมพ้อง ศิริวงศ)์ นติ ยา นาฏยะสุนทร ธดิ า บนุ นาค ภาพทจ่ี ัดพิมพโ์ ดยสำนกั พิมพบ์ างกอกในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๐๐ รวมทัง้ อรชร (นามปากกาของศรี ชัยพฤกษ)์ บุคคลเหลา่ นี้น่าจะเป็น หนังสือการ์ตูนหรือนิยายภาพสมัยนั้นส่วนใหญ่มาจากสำนัก หมดุ หมายตามลำดบั เวลากอ่ น-หลังท่ยี ังมีชวี ิตอยู่ คร้งั หนง่ึ ในคอลมั น์ พิมพ์แถวเว้ิงนาครเขษม ต่อมาก็มีรุ่นใหม่ท่ีเติบใหญ่ข้ึนแถวถนน “สิงห์สนามหลวง” ผมเองยังเคยเสนอชื่อแบบผ่านตาเอาไว้ เช่น ผ่านฟ้า เช่น สำนักพิมพ์บรรลือสาส์น และสำนักพิมพ์ผ่านฟ้าพิทยา “ส.บุญเสนอ” วิลาศ มณีวัต “แข ณ วังน้อย” และ ต่วย’ตูน แต่ที่เป็นเจ้าประจำในวัยเด็กของผมทั้งนิยายภาพและนิยายเล่ม (นามปากกาของ วาทิน ป่ินเฉลียว) พวกเขาเหล่านี้ล้วนเป็น “หมุด น่าจะมาจากสำนกั พมิ พบ์ างกอก ท่ีมโี ลโกเ้ ป็นรปู ไข่ เจ้าของสำนักคือ หมาย” (Milestone) ของวงวรรณกรรมไทยระดับต่าง ๆ ท้ังสิ้น วิชติ โรจนประภา (พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๕๔๒) และกุนซือคนแรก ๆ ของ และเหมาะควรทจ่ี ะประกาศเกยี รตใิ ห้เป็นศิลปนิ แห่งชาติไดท้ ้ังสิ้น ที่น่ีเข้าใจว่าช่ือ อรชร (นามปากกาของ ศรี ชัยพฤกษ์) พวกเขา สำหรับ ศรี ชัยพฤกษ์ ผมไม่แน่ใจว่าท่านเสียชีวิตไปแล้วหรือยัง เหล่านี้เหมาะควรที่จะได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็น ศิลปินแห่ง แต่ทันได้พบตัวจรงิ เสยี งจรงิ ของทา่ น และเคยไดท้ ำบทสมั ภาษณล์ งใน ชาติ “ตวั จริง” มาเสยี ตัง้ แต่ปีแรก ๆ โลกหนงั สือ ผมยังเล่าให้ฟังว่าเคยเป็นแฟนประจำของนิตยสาร ส่ีรส ในเวลาต่อมา บุคคลที่เคยได้รับการเสนอช่ือเหล่านี้มีท้ังที่ยังมี รายสัปดาห์ ในช่วงเป็นวัยรุ่น และเคยเขียนเรื่องส้ันเรื่องแรกมาลง ชีวิตอยู่และเสียชีวิตไปแล้ว ที่เสียชีวิตไปแล้วก็อย่างเช่น มนัส ตะกร้าท่ีนี่ ใครจะเช่ือว่าผมเคยเป็นศิษย์เก่า บางกอก มาก่อน จรรยงค,์ “ไม้ เมืองเดิม” , “ลพบุรี” จันตรี ศริ บิ ุญรอด “วิตตมิน” ทงั้ หมดนีก้ เ็ ดินตามรสนิยม “น้าหมาน” ของผมนนั่ แหละครับ ถ้าผม (นามปากกาของ วิตต์ สุทธเสถียร) “ส.บุญเสนอ” (นามปากกาของ ไม่มีโอกาสเข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุดมหาวิทยาลัย เข้าใจว่า เสาว์ บุญเสนอ) “อิงอร” (นามปากกาของศักดิ์ เกษม หุตาคม) บางทีรสนิยมของผมก็คงจะหยุดอยู่แค่ บางกอก เท่านั้น หรือไม่คง “อษุ ณา เพลงิ ธรรม” (นามปากกาของ ประมลู อณุ หธปู ) “จ.ไตรปน่ิ ” ต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะหลุดออกไปจากตรงน้ัน แม้ผมจะเรียกร้อง (นามปากกาของ จิตต์ ไตรปิน่ ) “ฉางกาย” (นามปากกาของ วิลาศ- ให้คนไทยอ่านวรรณกรรม “ระดับโลก” แต่ผมก็ไม่เคยรังเกียจ มณีวัต) “อ.ไชยวรศิลป”์ (นามปากกาของ อำพัน ไชยวรศิลป์) และ วรรณกรรม “ระดับล่าง” ก็รสนิยมระดับนี้แหละครับท่ีปูพื้นฐานให้ แม้ทยี่ ังมชี วี ติ อยใู่ นปัจจุบนั เช่น นิลวรรณ ปิน่ ทอง “แข ณ วงั น้อย” ผมมนี สิ ยั รกั การอา่ นจนกา้ วขา้ มพน้ มนั ไปได้ ตอ้ งขอขอบคณุ บางกอก บทสัมภาษณ์ | 323

และ “น้าหมาน” ไว้ ณ ทน่ี ี้ ผมไม่เคยลืมเรื่องบนั เทิงเรงิ ใจในชว่ งวยั ๑๖ หนา้ ยก และ ๘ หน้ายก ทัง้ ของสำนกั พิมพเ์ พลินจิตต์ บางกอก เด็กและวัยรุ่นท่ีมาจากพวก Pulp Fiction เหล่าน้ี เสียดายท่ีข้อมูล ผดุงศึกษา ประมวญสาส์น บรรลือสาส์น ซึ่งมีทั้งปกอ่อนปกแข็ง ชั้นต้นของผมหายไปหมด ไม่รู้ว่าพ่ีชายคนไหนเอาหนังสือเหล่าน้ีไป กเ็ พราะ “นา้ หมาน” คนน ้ี ขายเลหลังช่วงที่ผมเข้ามาสอบควบ ม.๗-๘ (พ.ศ. ๒๕๐๔) และใช้ชวี ติ ส่วนใหญ่เป็นพวก Pulp Story หรือ Pulp Fiction ระดับล่าง เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๐๕ – ๒๕๐๘) เขาคงจะเห็นว่า ท้ังสิ้น คำว่า ระดับล่าง หรือ ตลาดล่างอย่าคิดว่าเป็นเรื่องเสียหาย มันรกบ้าน หรือไม่ก็เป็นแค่ “หนังสืออ่านเล่น” ไม่มีราคาค่างวด เพราะความหมายของมันคือ “หนังสือราคาถูก” ที่ในสมัยของผมว่า อะไร กันมาตัง้ แต่ราคา ๕๐ สตางค์ จนถึง ๓ บาท ๕๐ สตางค์ ประมาณ ก็อย่างท่ีเล่าแหละครับ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นต้นมา ผมก้าว ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เม่ืออาจินต์ ปัญจพรรค์ ทำหนังสือพ็อคเก็ตบุ๊ค ข้ามอย่างที่ฝร่ังเรียกว่า coming-of-age มาอยู่ในวัยเติบใหญ่ “เขียนเอง ขายเอง” ก็ราคาโอเลี้ยง ๕ แก้ว เท่าน้ัน คือ พ.ศ.น้ัน เรียบร้อยแล้ว แม้จะถวิลหาอยู่บ้าง แต่ก็ไม่ได้กลับไปหารสนิยมแบบ โอเล้ียงแก้วละ ๑ บาท ๕ แก้วก็ ๕ บาท รสนิยมการอ่านท่ีทำให ้ เดิมอีกเลย มันเป็นเหมือนช่วงวัยที่ผ่านพ้น แม้แต่ เพชรพระอุมา ผม “ตดิ ใจ” ในชว่ งวยั เดก็ และวยั รนุ่ จงึ มาจากเรอ่ื งแบบ “ระดบั ล่าง” ผมก็ยังไม่เคยอ่านจนบัดนี้ ผมเปล่ียนรสนิยมการอ่านมาเป็น ทั้งส้ิน ถ้าไม่เป็นรสนิยมจากค่ายเพลินจิตต์ก็เป็นรสนิยมจากค่าย “ศรีบูรพา” “หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง” “ยาขอบ” “แม่อนงค์” บางกอก หนังสือจากค่ายบางขุนพรหม ค่ายถนนประมวญหรือค่าย “ส.ธรรมยศ” “อบ ไชยวส”ุ ฯลฯ และนยิ ายแปลประเภทต่าง ๆ นึก สีลมผมแทบไม่รู้จักเลย ท้ังที่ก็มีงานเขียนงานประพันธ์ของนักเขียน ย้อนกลับไปในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่น ถ้าจะมีผู้เริ่มต้นให้ ผมก็คงต้อง นักประพันธ์ในกล่มุ นี้ปรากฏอย ู่ ให้เครดิต “น้าหมาน” คนนี้ไม่ใช่ครูสอนภาษาไทยคนไหนท้ังนั้น ในสมัยเดยี วกนั แลว้ จนจบ ม.๖ ก็ยังไมร่ ้จู ัก ละครแห่งชวี ิต และ “น้าหมาน” ซื้อหนังสืออ่านเล่นมาอ่านเอง อ่านจบแล้วก็เอามาขาย ข้างหลังภาพ ดังน้ันอย่าไปหวังเลยว่าผมจะรู้จัก “น.ม.ส.” “แม่วัน” ต่อหรือไม่ก็ให้เช่าอ่าน จนกว่าจะติดใจและซ้ือไปสะสมเก็บไว้เป็น “ครเู หลย่ี ม” และหรอื แม้แต่ ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช หนังสือจำพวก สมบัติของตน “น้าหมาน” โฆษณาสรรพคุณว่าเล่มนั้นดีเล่มน้ีดี วรรณคดตี า่ ง ๆ ทเ่ี ป็นฉบับจรงิ ผมก็ไม่รู้จัก ถา้ รจู้ ักอย่างมากกเ็ ป็นแค่ ราคาก็มีต้ังแต่ ๒ บาทจนถึง ๕ บาท ผมรู้จักนิยายเป็นเล่มขนาด นิยายภาพ หรือไม่ก็ฟังมาจากเรื่องลิเกที่แม่จำมาเล่า เช่น พระรถ – 324 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกอ้ื กูลโลก เกอื้ กลู มนษุ ย์

เมรี หรือ ยอพระกลิ่นกินแมว ทำไมต้องกินแมว ตอนน้ันก็ยังไม่รู้ “ไซ-ไฟ” ในนติ ยสาร วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์ของจันตรี ศิริบุญรอด เพ่ิงมารู้เอาจากคนใกล้ตัวเมื่อเร็ว ๆ นี้ว่า เพราะนางร้ายเอาเลือดมา ผมยังทันเห็นนิยายภาพเร่ือง พิภพมหัศจรรย์ มนุษย์น้ำ รากษสใต้ ป้ายท่ีปาก ยอพระกลิ่น ความจริง “ยอพระกล่ิน” ไม่ได้กินแมว บาดาล และ มนุษย์ล่องหน จำได้ว่า พิภพมหัศจรรย์ แต่งเรื่องโดย แต่ถูกใส่ร้ายไปตามฟอร์มของเรื่องแบบจักร ๆ วงศ์ ๆ ซ่ึงปัจจุบัน “ส.เนาวราช” (คนเดยี วกับท่ีแต่งนิยายเรอื่ ง เหยย่ี วราตรี) นยิ ายภาพ ตรงนี้ก็ยังวนเวียน “ใส่ร้าย” กันไม่จบ แต่กลายมาเป็นเน้ือหาแบบ “ไซ-ไฟ” เรื่องนี้วาดโดย “อภิรมย์” ซ่ึงก็ไม่ทราบประวัติว่าเป็นใคร “ตบกนั ” ของละครโทรทศั น์ หรอื ไม่กเ็ ป็นเรือ่ ง “เมโลดรามา” และ นอกจากการ์ตูน “ไซ-ไฟ” ท่ีวาดโดย “อภิรมย์” แล้วยังมีนักวาด เร่ือง “กอธิค” แบบนิยายในศตวรรษที่ ๑๙ ของฝร่ัง ซ่ึงก็เห็นว่าไม่ คบู่ ุญของจนั ตรี ศริ ิบุญรอด อีกคนหนึ่ง คอื ชอบ ศรีสกุ ปล่งั ใครเป็น น่าจะเสียหายถ้าโครงเร่ืองมีความริเริ่มแบบใหม่ ๆ และพัฒนาให้ก้าว สมาชิกนิตยสาร วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์รายเดือน ก็จะได้เห็นนิยาย ไปจนกลายพันธุ์เปน็ ของตนเอง ภาพ “ไซ-ไฟ” ของชอบ ศรสี กุ ปลง่ั ไปพร้อมกนั เหลา่ นี้คอื ประสบ- หนงั ไทยสว่ นใหญ่ในสมัยนน้ั กม็ าจากนยิ ายลกู ทงุ่ ของ “ไม้ เมือง การณท์ ศั นศลิ ปแ์ บบ “ครพู กั ลกั จำ” ของผมทง้ั นน้ั เดมิ ” เชน่ รอยไถ, ค่าน้ำนม, ชายสามโบสถ์ เหลา่ น้ีคือประสบการณ์ ท่ีจำได้แม่นอีกเรื่องหน่ึงก็คือบางคร้ังต้องหิ้วปิ่นโตตามแม่ไปวัด ท่ีเร้าใจในชว่ งวยั เดก็ และวยั ร่นุ ของผม และผมยงั เคยแว่บไปดูเขาถา่ ย ไม่ได้ไปทำบุญไหว้พระอะไรหรอกครับ ผมชอบไปเดินดูภาพเร่ือง หนังไทยแถว ๆ ทุ่งบางเขน เวลาผู้ร้ายถูกแทงก็เอาลูกฟักซ่อนไว้ใต้ ทศชาติ จากฝีมอื ของ เหม เวชกร หรอื ของใครกจ็ ำไมไ่ ด้ บางทีกเ็ ป็น เส้อื หรือท่รี ักแร้ แลว้ เอาดาบปักคาไว้ท่ลี กู ฟัก เอาสีแดงเทราดลงไป ภาพสั่งสอนประเภท “นรก-สวรรค์” เช่น ภาพนรกท่ีมีคนปีนต้นง้ิว ก่อนจะตะโกนว่า “แอคชน่ั !” ถูกหนามแหลมทิ่มแทง หญิงชายผ้าผ่อนหลุดลุ่ยและเลือดไหลโทรม ที่ติดใจเป็นพิเศษอีกอย่างหนึ่งก็คือประสบการณ์ทางทัศนศิลป์ เพราะถูกหนามง้ิวเก่ียวหรือไม่ ก็มีหมาดำตัวใหญ่คอยไล่งับอยู่ใต ้ คร้ังแรก นอกจากภาพปกหนังสืออ่านเล่นและนิยายภาพต่าง ๆ ตน้ งิ้ว บางทีก็มพี วกยมบาลถือ “สามง่าม” คอยทม่ิ ก้น ภาพวาดลงสี ที่วาดโดยเหม เวชกร “เฉลิมวุฒิ” สวัสด์ิ จุฑะรพ “สุรินทร์” เหล่านี้ใส่กรอบกระจกแขวนเรียงรายไว้รอบศาลาวัด ผมเคยคิด “พ.บางพล”ี และ “เทพา” (นามแฝงของสมบุญ สว่างจันทร์ ผู้วาด ย้อนหลงั ไปว่าน่ีกระมังคอื สง่ิ ท่ีเรียกว่าแกลเลอรร์ ีแ่ หง่ แรกของผม ภาพนยิ ายภาพเรอ่ื ง ดาบเจด็ สี ของ เสรี เปรมฤทยั ) กม็ ที เ่ี ปน็ การต์ นู บทสัมภาษณ์ | 325

เม่ือย้อนกลับไปในช่วงรอยต่อของวัยเด็กกับวัยรุ่นนอกจาก เสือ ผมก็ไม่ได้ติดตามนิยายภาพในยุคต่อมาอีกเลย ด้วยเหตุน้ีผมจึงไม่รู้ ใบ เสือดำ พล นิกร กิมหงวน ขวญั ใจนักเรยี น ดำทมิฬ ซุปเปอรแ์ มน จักนิยายภาพของ “ราช เลอสรวง” (นามแฝงของ นิวัฒน์ ธารา แกละ ขุนพลกาฬสีห์ ของ “ป.อินทรปาลิต” แล้วก็ยังมีหนังสือ พรรค์) “จุก เบี้ยวสกุล” (นามแฝงของ จุลศักด์ิ อมรเวช เจ้าของ ประเภท เด็กเหลอื ขอ ลกู คนใช้ นำ้ ตาแมค่ ้า ของ “จ.ไตรป่นิ ” หนกั นิยายภาพลือล่ันชุด เพ่ือนแท้ และ เจ้าชายผมทอง) แม้จะพอทัน ข้ึนมาหน่อยในช่วงวัยรุ่น ม.๓ – ม.๖ ก็จะเป็น เหย่ียวราตรี อินทรี การ์ตูน หนูจ๋า ของพิมล กาฬสีห์ อยู่บ้าง แต่การ์ตูน หรรษา ของ แดง เล็บครุฑ ศิวาราตรี สามสิงห์ อกสามศอก ล่องไพร แผลเก่า “จุ๋มจ๋ิม” (นามแฝงของ จำนูญ เล็กสมทิศ) และการ์ตูน เบบ้ี ของ สายแดง ผู้ร้ายผ้ดู ี เรอ่ื งหลังเปน็ งานแปลของ “มาคสิริ” นามปากกา “อาวัฒน์” (นามแฝงของวัฒนา เพ็ชรสุวรรณ) รวมท้ังนิยายภาพ ของ สมุท ศิริไข นยิ ายแปลเร่อื งนี้คอื การเรม่ิ ตน้ “ใสห่ น้ากาก” ใหต้ ัว ชุด ล่าหัวใจยักษ์ มนุษย์ลมกรด เจ้าชายอัศวิน ของ “ระย้า” และ ละครในช่วงสมัยวัยรุ่นของผม แต่เร่ืองผู้ร้ายผู้ดี ตัวละครท่ีใส่หน้า “จั๊กจั่น” (นามแฝงของคนคุ้นเคยกันภายหลัง คือ สัมพันธ์ ก้อง กากเป็นผู้ร้าย ส่วนตัวละคร “ใส่หน้ากาก” ท่ีเป็นพระเอกเพิ่งมา สมุทร) ซ่ึงถอื เปน็ นิยายภาพในชว่ งรอยตอ่ แหง่ ทศวรรษ ๒๕๑๐ และ เริ่มต้นท่ี เหยีย่ วราตรี ของ “ส.เนาวราช” และ อนิ ทรีแดง ของ “เศก ๒๕๒๐ เหล่าน้ีผมไม่ได้สัมผัสเลยเพราะไปมีรสนิยมกับการอ่านแบบ ดุสิต” ใหม่ ๆ ในชว่ งที่ สัมพนั ธ์ ก้องสมทุ ร วาดการ์ตูน เขยี นภาพประกอบ ความจริงตัวละครใส่หน้ากากก็มีมาก่อนในรุ่นบุกเบิกแล้ว คือ แบบเรียน และภาพปกหนังสอื ใหบ้ รษิ ทั ไทยวัฒนาพานิช นิยายเรื่อง แพรดำ และ หน้าผี ของหลวงสารานุประพันธ์ เม่ือ ผมเลิกอ่านการ์ตูนไปโดยเด็ดขาดแล้ว เพราะชีวิตต้องยุ่งกับ พ.ศ. ๒๔๗๐ และ พ.ศ. ๒๔๗๑ ท่ีผมเข้าใจว่า “ตัวแบบ” คงมาจาก หน้าท่ีการงานในฐานะผู้ช่วยบรรณาธิการและบรรณาธิการบริหาร นิยายเร่ือง Phantom of the Opera และ Fantomas สังคมศาสตร์ปริทัศน์ (พ.ศ. ๒๕๑๒ - ๒๕๑๙) และในช่วงเป็น แต่มันก็มาเป็นนิยายประเภทตัวละคร “ใส่หน้ากาก” ที่ดังระเบิด นักศกึ ษาของคณะศลิ ปศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ผมกเ็ ริ่มนิสยั ชอบคน้ หา เถิดเทิงอีกคร้ังในช่วงผมเป็นวัยรุ่น ผมจบการอ่าน “พนมเทียน” ท่ี หนังสือเก่าตามแผงหนังสือ “แบกะดิน” และเริ่มรสนิยมการอ่าน เลบ็ ครฑุ และ ศวิ าราตรี ในสมยั ชน้ั มธั ยม แตไ่ มท่ นั อา่ น เพชรพระอมุ า เร่ืองแปลที่มาจากโอ เฮนร่ี กีย์เดอ โมปัสซังต์ เออร์เน็ส เฮ็มมิงเวย์ เมื่อสอบควบ ม.๗ ม.๘ และเข้ามหาวิทยาลัยตอนอายุย่างเข้า ๑๖ จอห์น สไตน์เบ็ค เกรซ เมตาเลียซ และที่ชอบมากก็คือนิยายรักใน 326 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกือ้ กลู โลก เก้ือกูลมนุษย์

ราชสำนักฝ่ายใน (ถ้าจำช่ือไม่ผิด) ท่ี อบ ไชยวสุ แปลมาจากงาน การจบเร่ืองในแบบ “มอื ท่ีมองไม่เหน็ ” นี้ ผมมารบั รู้ในภายหลงั เขียนเก่ียวกับรัชกาลท่ี ๔ ของแหม่มแอนนา ที.เลียวโนเวนซ์ นี่คือ ว่ามีศัพท์การละครเรียกว่า deus ex machina (เคร่ืองจักรของ เร่ืองแปลเล่มแรก ๆ สมัยเป็นนักศึกษาเทอมแรกที่มาพร้อมกับงาน พระเจ้า) หมายถึง “อำนาจหรือเหตุการณ์ที่ช่วยกู้สถานการณ์ เขียนเรื่อง พระเจ้ากรุงสยาม ของ “ส.ธรรมยศ” (นามปากกาของ คับขัน” นักเขียนบทละครและนักแต่งนิยายรุ่นโบราณชอบนำมาใช้ แสน ธรรมยศ) ผมเร่ิมสนใจ ประวัติศาสตร์ไทย ก็เพราะหนังสือ เมื่อหาทางออกให้สถานการณ์ในเรื่องของตนไม่ได้ (หรือแม้แต่พวก เหล่านี้ นักเขียนสมัยใหม่ท่ีชอบให้ตอนจบของเรื่องเป็นแบบ “ตื่นจากฝัน”) นึกย้อนกลับไปอีกครั้งในช่วงวัยรุ่น นิตยสารที่ผมซื้อเป็นประจำ ดงั นั้นกต็ ้องว่าผมใชก้ ลวิธี deu sex machina มาตัง้ แตส่ มยั ท่ียงั ไม ่ ก็มี ดาราภาพยนตร์ และ ส่ีรสรายสัปดาห์ และที่ ส่ีรสรายสัปดาห์ รู้จักศัพท์การละครคำน้ี เร่ืองสั้นท่ีชื่อ สงคราม – สันติ เขียนด้วย ของค่ายบางกอกน่ีเอง ที่ผมส่งเร่ืองส้ันเรื่องแรกชื่อ สงคราม-สันต ิ ลายมือประมาณ ๑๐ หน้า เสียดายที่ไม่มีสำเนาต้นฉบับเก็บไว ้ ไปประกวด ไม่แน่ใจว่าตอนน้ันอายุ ๑๓ หรือ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๐๑ - เพราะสมัยนั้นยังไม่รู้จักกระดาษก็อปป้ีและเครื่องถ่ายเอกสาร ๒๕๐๒) แต่แปลกใจก็คือ ผมยังไม่รู้จัก สงครามและสันติภาพ ของ เร่ืองส้ันเร่ืองแรกของผมลงตะกร้าไปตามระเบียบ แต่เขาก็ประกาศ ลีโอ ตอลสตอย ทำไมตั้งช่ือเร่ืองส้ันว่า สงคราม – สันติ ก็ไม่ทราบ ให้เห็นชื่อว่าได้รับเร่ืองอะไรของใครมาบ้าง ต้องขอบคุณ ส่ีรสราย เหมือนกัน เข้าใจว่าน่าจะเป็นอิทธิพลที่มาจากเร่ืองจักร ๆ วงศ์ ๆ สปั ดาห์ ในความทรงจำไว้ ณ ท่ีน ี้ ในสมัยวัยเด็กเสียมากกว่า เน้ือหาท่ีเขียน เล่าถึงเมือง ๒ เมือง ที่ นอกจากรสนิยมในแบบ ส่ีรสรายสัปดาห์ แล้ว ในช่วงวัยรุ่นท ่ี รบราฆ่าฟันกันไม่เลิกมาหลายชั่วอายุคน เข้าทำนองสีน้ันสีน้ี รบกัน จำได้ว่าหาญกล้ามากขึ้นก็คือสมัครเป็นสมาชิกประจำของนิตยสาร อยู่ได้ ผมคงไมร่ ้จู ะจบยงั ไง จึงบนั ดาลให้เกิดอัครมหาพายุและฝนตก วิทยาศาสตร์ – มหัศจรรย์ ของ จันตรี ศิรบิ ุญรอด สมยั น้ันจัดทำโดย ห่าใหญ่สามเดือนสามปี น้ำบ่าไหลท่วม (คงไม่ต่างจากสมัยนี้ท่ีเรียก ไทยวัฒนาพานิช และมีผู้นำมาจำหน่ายถึงโรงเรียน และนี่กระมังท่ี ว่า สึนามิ) จนกระทั่งมีฟ้าพิโรธผ่าลงมากลางเมือง แยกพวกท่ีรบกัน ทำให้ผมชอบอ่านนิยาย “ไซไฟ” มาตั้งแต่นั้น นิตยสารรายเดือนที่ ตกลงไปในมหานทีกวา้ งใหญแ่ บง่ เมืองออกเปน็ สองฝง่ั รบกนั ไม่ไดอ้ ีก เป็นแฟนประจำในชว่ งแตกเน้อื หนุม่ ยังมีอีกเล่มหนึ่งคือ วิทยาศาสตร์ ต่อไป สนั ติสขุ จงึ เกิดดว้ ยประการฉะนี้ ! ทางเพศ จำไดว้ ่ามี ดร.มาโนช ชมุ สาย เปน็ บรรณาธิการ บทสมั ภาษณ์ | 327

รสนิยมประกอบการอ่านและการดูท่ีมาถึงผมพร้อมกันในช่วงวัย วัยรุ่นของผมมีรสชาติเพราะได้อ่านเรื่องผีของเหม เวชกร นิยายบู๊ เด็กและวัยรุ่นก็คือการฟังเพลง ผมก็ฟังว่ามาเรื่อยต้ังแต่เพลงแขก ของ “สีเ่ รอ่ื ง” (นามปากกาของ เลยี ว ศรเี สวก ทีม่ คี ำว่า “เรือง” เชน่ จนถงึ เพลงของคลฟิ รชิ ารด์ เอลวสิ เพรสลยี่ ์ และแฮงค์ วลิ เลยี ม ฯลฯ “เรืองฤทธ์ิ” “เรืองเดช” “เรืองศักดิ์” “สี่เรือง”) นิยายลูกทุ่งของ แตม่ าลดั เวลาฟงั เพลงคลาสสกิ ประเภทเบโธเฟน่ โมสารท์ บาค ววิ ลั ดี “ไม้ เมืองเดิม” (นามปากกาของ ก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา) และ ฯลฯ ตอนเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย และก็ชอบฟังก่อนนอนแทน “บรรเลง” (นามปากกาของ บรรพต สิงห์พันธ์ ที่ติดใจในวัยน้ันคือ เพลงแขกมาตั้งแต่นั้น ส่วนหน่ึงเข้าใจว่าน่าจะเป็นความบันดาลใจ เร่ือง จ้าวทุ่ง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘) นิยายผจญภัยเร่ือง ล่องไพร ของ ทม่ี าจากหนังสอื เรอื่ ง จากดวงใจ ของสาทิศ อนิ ทรกำแหง และเพือ่ น น้อย อินทนนท์ (นามปากกาของ มาลัย ชูพินิจ) นิยายอิงประวัติ- นอกจากน้ันก็คงได้มาจากการอ่านบทความเรื่องเพลงคลาสสิกของ ศาสตรข์ อง “ลพบรุ ”ี (นามปากกาของ ช่มุ ณ บางช้าง) และหนงั สอื เทพ จุลดลุ ย์ ท่เี ขียนเปน็ ประจำในนิตยสาร และท่เี ปน็ แฟนประจำใน พ็อคเก็ตบุ๊คขนาดเท่าฝ่ามือทั้งของ มนัส จรรยงค์ และ“ส.บุญ ช่วงรอยต่อของวัยรุ่นกับวัยหนุ่ม ก็คือรายการเพลงคลาสสิกของ เสนอ”(นามปากกาของ เสาว์ บุญเสนอ) เข้าใจว่านิยายพวกน้ีคงจะ พิชัย วาสนาส่ง ทางวิทยุจุฬาฯ บุคคลผู้น้ีก็เหมือนกันท่ีควรได้เป็น มาจาก “สำนักเหม” “สำนักเพลินจิตต์” และ “สำนักบางกอก” “ศิลปินแหง่ ชาต”ิ แต่กไ็ มไ่ ดเ้ ป็นจนเสียชีวิตไปเมื่อเรว็ ๆ น้ี หนังสือที่จำได้ว่าไม่ได้ซ้ือต่อจาก “น้าหมาน” เห็นจะมีอยู่ประเภท เท่าท่ีเล่ามาก็ไม่ทราบจะตอบอย่างไรว่า “หนังสือในดวงใจ” เดียวคอื หนังสอื มวย ของผมคอื เร่ืองไหน ทจ่ี ำได้กวา้ ง ๆ ก็คือ ผมอา่ นทกุ อย่างเท่าที่หาได้ ส่วนเรื่องพวกวรรณคดีนอกจากจะผ่านมาจากนิยายภาพท่ีเอา จากแผงหนังสือหน้าสถานีรถไฟ ตอนนั้นถ้ามี “ศรีบูรพา” เร่ืองมาจากนิทานชาดกหรือนิทานคำกลอนจักร ๆ วงศ์ ๆ แล้ว ก็คง “ม.จ.อากาศดำเกิง” “ยาขอบ” หลงทางมา ผมกค็ งจะไดอ้ า่ นเสยี ตั้ง จะมเี ข้ามาบ้างแบบดม ๆ แต่ก่อนจบ ม.๖ แล้ว แต่ผมทำได้แค่รสนิยมของ“น้าหมาน” คนขับ หนังสือเรียนประเภทวรรณคดีในช่วง ม.ต้น ยังมีอีกเรื่องหน่ึง รถ ร.ส.พ. เท่านน้ั ครับ เฝา้ รอทุกเยน็ ตอนกลบั จากโรงเรียน เมอ่ื ไรแก คือ บทดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า ท่ีพระยาอุปกิตศิลปสาร (น่ิม จะกลับจากงานเสียที และวันนั้นแกมีหนังสืออะไรติดมาบ้าง แกไม่รู้ กาญจนาชีวะ) แปลงมาจากบทกวีของโธมัส เกรย์ เข้าใจว่าเด็กรุ่นน้ี จัก “เสนีย์ เสาวพงษ์” หรือ “นายผี” หรอกครับ แต่แกทำให้ช่วง คงจะไมร่ ู้จกั แลว้ รำพงึ ในป่าชา้ แมจ้ ะเห็นเปน็ ภาพ “ปา่ ชา้ ฝร่ัง” แต่ 328 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกือ้ กลู โลก เกือ้ กลู มนษุ ย ์

มันก็ทำให้เด็ก ๆ อย่างผมในสมัยน้ันตระหนักเร่ืองความจริงของชีวิต ก็ได้ แต่ มังงะ ไม่ใช่การอ่าน ในความเข้าใจของผม มังงะ คือการดู หรือแบบเรียนเรื่อง นกกางเขน น่ันก็ใช่เพราะปลูกฝังค่านิยมให้อ่อน ผสมการอา่ น การอา่ นของผมคอื “การอา่ นในใจ” จากตวั อกั ษร จะ โยนกบั ส่ิงแวดลอ้ ม อ่านช้าอา่ นเร็วไมส่ ำคัญ และไม่จำเป็นตอ้ งอ่านหนังสอื ใหห้ มดท้งั โลก หนังสือเรียนเรื่อง กามนิต – วาสิฏฐี ของ “เสฐียรโกเศศ-นา- ด้วย คะประทีป” ท่ีตัดมาเฉพาะภาคพื้นดินนั่นก็ใช่ จำได้ว่าเคยใช้เป็น การอา่ นหนงั สอื มรี ะดบั ของรสนยิ มตา่ งๆ กนั แตต่ อ้ งคอ่ ยๆ ไปให้ คู่มือเขียนจดหมายรักส่งสาว ม.๔ คนหนึ่งอย่างที่เล่าลอกประโยค ถงึ ระดบั คณุ ภาพคำวา่ คณุ ภาพ จะมเี สน้ แบง่ แบบไหนคงมมี าตรฐาน เท่ ๆ แบบเข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้าง เช่น “ฉันคิดถึงเธอจนเห็นแสงฉัพ หลากหลายในระดับต่างๆ มากมาย แต่ระดับ “อุดมศึกษา” ใน พรรณรังสี” ผมเอาคำสูง ๆ พวกนี้มาผูกเข้ากับโวหารแบบลูกทุ่งของ มหาวิทยาลัยน้ันไม่ใช่ “เด็ก” อีกต่อไปแล้ว การอ่านจึงควรเข้มแข็ง หนังสือตลาดที่หาได้ทั่วไปในสมัยน้ัน เช่น คู่มือการเขียนจดหมายรัก และเขม้ ขน้ เม่อื ถงึ วัยนน้ั ของ “ก.แก้วประเสริฐ” “ตา ส.” หรือไม่ก็ “อุษา เข็มเพ็ชร” สอง มังงะ เป็นวัฒนธรรมป๊อบท่เี ข้ามาแทนนิยายภาพ และเรอื่ งอ่าน คนหลังนี้จำไดว้ า่ เขยี นทัง้ “เรือ่ งผ”ี และ “เร่อื งยวนสวาท” จนป่าน เลน่ จำพวก เสอื ใบ-เสอื ดำ ท่ีเป็นเหมอื น “ฮีโร่” ในรนุ่ ของผม มังงะ นก้ี ย็ ังไม่ทราบว่าเปน็ ใคร” จากญปี่ นุ่ มเี นอ้ื หาหลากหลายท่ี “เอาอย”ู่ ทง้ั เดก็ และผใู้ หญ่ ผมไมไ่ ด้ ปฏิเสธมังงะในรุ่นน้ี ผมเองก็เติบโตมาจากนิยายภาพหรือพวกท ี่ “หนงั สอื ทอี่ ยากแนะนำให้เยาวชนอายุ ๑๒ – ๑๘ ปไี ด้อ่าน” เรียกว่า วรรณวิจิตร ต่าง ๆ แต่มันก็เป็นเพียงช่วงเปล่ียนผ่านจาก “ไม่ทราบจะแนะนำอย่างไร ผมไม่มีมาตรฐานชัดเจนคิดว่าถ้า วัยเดก็ มาสูว่ ัยเติบใหญ่ทมี่ กี ารอา่ นจริง ๆ รออยู่ แมใ้ นยคุ นี้จะ “อ่าน เยาวชนอายุ ๑๒ – ๑๘ ปี ในสมัยน้ีสามารถอ่านหนังสือที่ไปพ้นจาก จากจอ” ก็ไมว่ ่ากนั มังงะได้ ก็ถือว่าเริ่มต้นการอ่านอย่างจริงจังแล้ว ความติดใจอ่านคง ในสมัยของผม การอ่านหนังสือเป็นเล่มถือเป็นมนต์ขลังอัน ต้องเร่ิมจากการมีนิสัยรักการอ่านก่อน เร่ิมจากเร่ืองที่ชอบแบบไม่ วิเศษ บางคนอาจคิดว่าพ้นสมัยไปแล้ว แต่สำหรับผมยังร่วมสมัยอยู่ ตอ้ งบงั คับ แล้วคอ่ ยขยบั ไปถงึ เร่อื งแบบจริงจัง จะเร่มิ จาก มงั งะก่อน อยา่ งไรกต็ าม ประตมู นั เปดิ แล้ว จะเปดิ แบบแง้ม หรือเปดิ แบบถ่างก็ บทสมั ภาษณ์ | 329

ถือว่า “เปิด” แล้ว จะไป “แช่แข็ง” มันไม่ได้หรอก ไม่ว่าเร่ืองอะไร “คุณภาพ” ไว้ให้เลือกมากมาย อย่างน้อยก็ควรเลือกอ่านเร่ืองท่ีตน ทั้งนั้น เด็กในรุ่นปัจจุบันก็คงมีการอ่านในแบบของเขา เขามีเสรีภาพ พอใจให้จบสักเล่มหนึ่งก่อน แล้วค่อยถามตัวเองว่าจะไปต่อหรือไม่ ทจ่ี ะ เลอื ก หรอื ไม่เลือก การอ่านต้องไม่ติดอยู่ที่เดิม ต้องเขยิบไปเรื่อย ท้ังเรื่องบันเทิงเริงใจ เพราะโลกปัจจุบันมันเข้าไปอยู่ใน “อวกาศ” หมดแล้ว ผู้ใหญ่ และเรอ่ื งคุณภาพ ในชว่ งวยั เดก็ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งรบี อ่านเรอื่ งวรรณคดใี ห้ ควรแนะนำหรือช่วยให้เขามีภูมิคุ้มกันโดยเทศนาในส่ิงท่ีตัวเองเชื่อ ปวดเศียรไปด้วยราชาศัพท์ แต่ก็ไม่ควรเพลิดจนเห็นอะไรต่อมิอะไร เพื่อสร้างพลังทางปัญญาให้เกิดแก่พวกเขาน่าจะเหมาะกว่า และ เป็นไทยบันเทิงไปหมด! หนังสือแต่ละประเภทมีพันธกิจ (คำของ ภูมิคุ้มกันที่ถูกต้องก็คือ “เปิดใจ” ให้อย่างหลากหลาย ถ้าไม่เชื่อก็ ม.ล.บญุ เหลอื เทพยสวุ รรณ) แตกตา่ งกนั อย่าเพ่ิงเทศนา เวลารับ “ศีล ๕” แก่จนอายุป่านน้ีแล้วผมยังตรอง รสนิยมการอ่านนั้นสามารถยกระดับให้เข้มขึ้นได้ถ้ามี habit of ทุกคร้ังว่าจะรับหรือไม่รับศีลข้อไหน ผมไม่ใช่คนดีอะไรนักหรอก reading ที่ต่อเน่ืองจริงจัง การขโมยสตางค์จากเช่ียนหมากของแม่ ไหน ๆ ก็จะเป็น “เมืองหนังสือแห่งโลก” แล้ว ก็ต้องพิสูจน์ให้เห็น คือการสรา้ ง habit of reading ให้ผมโดยไม่รู้ตวั ต้องขอบคณุ เชีย่ น อยา่ งมีรปู ธรรมตอ่ เนอ่ื งวา่ การอา่ นนน้ั เป็นเหมอื นลมหายใจของชีวิต หมากของแมไ่ ว้ ณ ทน่ี ี้ การอา่ นต้องค้นหา แสวงหา และเปิดโลกการ ครับ...การอ่านของผมคือการอ่านที่มีอิสระทุกรูปแบบเนื้อหา อ่านให้เข้มแข็ง แล้วต่อไปจึงจะรู้เองว่า “หนังสือในดวงใจ” ของตน และตอ้ งไปให้พน้ ความคุ้นชนิ แบบเดิม ๆ รนุ่ ผมอายุ ๑๒ – ๑๘ ปี ยัง เป็นประเภทไหน ไม่มีหนังสือหลากหลายให้เลือกมากเหมือนสมัยน้ี ผมต้องขวนขวาย ผมไม่มีมาตรฐานท่ีปักใจอยู่กับหนังสือเล่มใดเล่มหนึ่ง แต่การ เอง หรอื ไม่กล็ องผิดลองถกู ไปเร่อื ย อ่านหนังสือเพียงเล่มเดียวเป็นอันตรายต่อสุขภาพการอ่าน หนังสือ ดังนั้นผมจึงมีเสรีภาพในการอ่านเต็มที่ เลือกเอง รับผิดชอบเอง ในดวงใจชว่ งวยั เดก็ และวยั รนุ่ ของผมเปน็ หนงั สอื ในแบบ Pulp Fiction และมาอ่านแบบ “ลัดเวลา” ตอนเป็นนักศึกษา ซึ่งก็ลองผิดลองถูก ทงั้ นน้ั ซึง่ ก็คงไมต่ ่างไปจากเรอื่ ง แฮร์ร่ี พอตเตอร์ และ ลอร์ด ออฟ เอาเอง ท้ังแบบใจภักด์ิ และใจปอง (สำนวนจากเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ เดอะ ริงส์ ในสมัยนี้ แต่ผมไม่ได้หยุดแค่น้ัน ผมค่อย ๆ ไต่ระดับมา ของ “ยาขอบ”) หอสมุดของมหาวิทยาลัยแต่ละแหง่ ในปจั จบุ ันเขา้ ใจ อ่านหนังสืออีกหลายประเภท ท้ังงานแปลของนักเขียนต่างประเทศ ว่าคงมีหนังสือท้ังของนักเขียนไทยและนักเขียนต่างประเทศในชั้นเชิง และงานเขียนของนักเขียนไทย ผมคงไม่ต้องยกตัวอย่างเรื่องจาก 330 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้อื กูลโลก เกอ้ื กลู มนุษย ์

ต่างประเทศ แต่ก็เห็นว่าการอ่านเร่ืองแปลที่มีคุณภาพจะเป็นต้นทุน นิมติ ร (“เรียมเอง” – “แม่อนงค์” – นอ้ ย อินทนนท)์ ทางวรรณกรรมให้กับอีกหลายสิ่งหลายอย่างตามมา ข้อสำคัญก็คือ • ระยา้ , คนื ปฏิวตั ิ, เลือดสนี ำ้ เงิน (สด กูรมะโรหติ ) เราจะควักกล่องดวงใจที่เป็นงาน “ชั้นหนึ่ง” ของเขามาแปลเป็น • ความฝันของนักอดุ มคติ (นมิ ิตรมงคล) ภาษาไทยอย่างมีคุณภาพไดอ้ ยา่ งไร • พัทยา, จดุ ดำ (“ดาวหาง”) เยาวชนอายุ ๑๒ – ๑๘ ปีในรุ่นปัจจุบัน สำหรับตั้งแต่อายุ • ก่อนฟา้ สาง (ชวน รัตนวราหะ) ๑๘ ปีข้นึ ไป ผมถือว่าอายุ ๑๘ ในสมยั นี้บรรลนุ ิติภาวะแลว้ เลอื กต้ัง • ผ้ชู นะสิบทศิ , มุมมดื , เพ่ือนแพง (ยาขอบ) ได้แล้ว รู้จกั ผิดชอบชว่ั ดใี นระดับหน่ึงแลว้ การอ่านจึงควรเข้มแขง็ พอ • ดรรชนีนาง, โนรี (อิงอร) สมควร ผมขอแนะนำกวา้ ง ๆ เทา่ ที่นกึ ได้ ดงั นี ้ • พอ่ แดง, อันเปน็ ทร่ี ักแหง่ เหมนั ต ์ • ความไมพ่ ยาบาท (นายสำราญ) • ประชาทณั ฑ์ (“สันต์ เทวรักษ์”) • นิทานโบราณคดี (กรมพระยาดำรงราชานุภาพ) • อวสานสวนกหุ ลาบ, ผชู้ ายคนที่สาม (ร.จันทพมิ พะ) • นิทานเวตาล (“น.ม.ส.”) • ดาหวัน (อมราวด)ี • ลูกผู้ชาย, ข้างหลังภาพ, สงครามชีวิต, ป่าในชีวิต, แลไปข้าง • ดวงใจ (ซิม วรี ะไวทยะ) หน้า,ขอแรงหน่อยเถอะ, คำขานรบั (“ศรีบูรพา”) • นำ้ ใจของนรา (สง่ เทพาสติ ) • ละครแหง่ ชวี ิต (ม.จ.อากาศดำเกงิ รพพี ัฒน)์ • เธออยากทำหนงั สือพิมพ์ (“องค์อภริ ดี”) • ดำรงประเทศ (“เวทางค”์ ) • ฉยุ ฉาย (ลมลู อติพยคั ฆ)์ • ผู้ดี นแี่ หละโลก (“ดอกไมส้ ด”) • หอเยน็ สเี ทา (“น.ประภาสถติ ”) • ยาย, หญิงคนชัว่ , บ้านทรายทอง (ก.สุรางคนางค์) • โศกนาฏกรรมของสตั วเ์ มือง, เมอื งทาส (ศรีรัตน์ สถาปนวฒั น)์ • มมุ มดื จากชีวติ จริง, เรอื นใจ, เขาพาหนฉู าย (ป.บรู ณศลิ ปนิ ) • ทงุ่ รวงทอง, ชีวติ มดื , สองฝง่ั คลอง (แขไข เทวณิ ) • ปรศิ นา, นกิ กบั พมิ (ว.ณ ประมวญมาค) • ริมฝ่งั แม่ระมงิ (อ.ไชยวรศิลป์) • ทุ่งมหาราช, แผ่นดินของเรา, ช่ัวฟ้าดินสลาย, แม่ลาด, เมือง บทสัมภาษณ์ | 331

• ตะรางดวงใจ, พรานชีวิต, ชู้ทางใจ, ฟ้าแลบบนสาปไตย • ทตุ ิยวิเศษ, สุรัตนารี (“บญุ เหลอื ”) (แข ณ วงั น้อย) • นางพราย, เฒา่ โพล้งกบั ปรมาณู (ช.แสงเพ็ญ) • เจา้ ขนุ มลู นาย (ถวลั ย์ วรดิลก) • เพชรพระอุมา (“พนมเทยี น”) • ร้อยพิศวาส, รักร้อยรส, บาปที่ ๓, มุมมืดของดิฉัน (ธิดา • เหมอื งแร่ ฉบับสมบรู ณ์ (อาจนิ ต์ ปญั จพรรค์) บุนนาค) • ลกู อีสาน (คำพนู บญุ ทว)ี • ปศี าจ, ความรกั ของวลั ยา, ทานตะวนั ดอกหนง่ึ , คนดศี รอี ยธุ ยา • ครบู ้านนอก (คำหมาน คนไค) (เสนีย์ เสาวพงศ์) • พริ าบแดง, พิราบเมนิ (สวุ ัฒน์ วรดลิ ก) • พลายมลิวัลย์ (ถนอม มหาเปารยะ) • ลกู ทาส (“รพพี ร”) • ท่งุ พลายงาม (น้อย อภิรุม) • พ่อข้าเพ่งิ จะย้ิม (“สนั ติ ชธู รรม”) • จำปนู (เทพ มหาเปารยะ) • จดหมายจากเมืองไทย, ผูห้ ญงิ คนนนั้ ชือ่ บญุ รอด (“โบต๋นั ”) • ซาเก๊าะ, จับตาย, ท่อนแขนนางรำ, ครูแก, มรสุม (มนัส • เขาช่ือกานต์, สวนสตั ว์, ความรักครงั้ สดุ ท้าย (สุวรรณี สุคนธา) จรรยงค)์ • คนกบั หมา, นำ้ ใจไหลเชีย่ ว (มน.เมธี) • แผลเกา่ , เรือเพลงเรือเร่, อ้ายขุนทอง, ชายสามโบสถ,์ ขุนศึก • เพลงรักริมหว้ ย, ดารางามเมอื ง (เพญ็ แข ศกู รสูยานนท์) (“ไม้ เมอื งเดิม”) • ภเู ขียว, ตุ๊กแกผี, เงาอุบาทว์ (ปกรณ์ ป่นิ เฉลยี ว) • หลายชีวิต, ส่ีแผ่นดิน, มอม, คนรักหมา (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ • ฟา้ บก่ ้ัน, แมว (“ลาว คำหอม”) ปราโมช) • มนษุ ย์ค,ู่ ผู้ดบั ดวงอาทติ ย์, สู่อนาคต (จันตรี ศริ บิ ญุ รอด) • รถเท่ยี วสดุ ทา้ ยจากตองยี (สมบรู ณ์ วรพงษ์) • เถา้ อารมณ,์ บางลำพูสแควร์, สนิมสรอ้ ย (’รงค์ วงษส์ วรรค์) • โทน เทวดา, กัปตันเครียว, นายพนั ใต้ดิน, ปุยนนุ่ และดวงดาว • อาถรรพส์ ยาม, พลับพลามาลี (รตั นะ ยาวประภาษ) (รมย์ รตวิ นั ) • เรอื โยง (ประทปี โกมลภสิ ) • เราชนะแลว้ ..แมจ่ า๋ , (“นายผี”) • ผหู้ ญงิ หนนี ้ำ (เตมีย์ วทิ ยะ) 332 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเก้อื กลู โลก เกือ้ กลู มนุษย์

• กอ่ นถึงอนิ ซูลีน (นล นริ ันดร) • ผีเสือ้ และดอกไม,้ เด็กชายจากดาวอ่นื (มกุฎ อรฤด)ี • สบตน่ื (สุรพงษ์ บนุ นาค) • รองเทา้ กงเตก๊ , เต็นท์ประตูแดง, (นน รัตนศุปต์) • ท้องนาขา้ งกรุง (ประเสรฐิ พจิ ารณ์โสภณ) • ตล่งิ สงู ซุงหนกั , คนบนตน้ ไม้ (นิคม รายยวา) • แก้วตาพี,่ ชีวติ มใิ ชด่ อกกหุ ลาบ (นิตยา นาฏยสนุ ทร) • อยูก่ บั กง๋ (หยก บูรพา) เทพธิดาโรงแรม (ณรงค์ จันทร์เรือง) • จันทร์หอม, ล.ว.สดุ ทา้ ย (วสษิ ฐ เดชกญุ ชร) • เขียนด้วยปืน, กระสนุ นดั ทส่ี าม, แหลมตะลุมพกุ (มนสั สตั ยา • การเดินทางกลบั จากถ้ำคา้ งคาว (พชิ ยั ภรู ิพงษ์) รกั ษ)์ • ขอบฟา้ ขลบิ ทอง (อุชเชน)ี • นายอำเภอปฏวิ ตั ิ (บุญโชค เจยี มวิรยิ ะ) • เพยี งแคเ่ มด็ ทราย (นิด นรารกั ษ์) • บนั ทกึ ของคนแซป่ งึ , เรามใิ ชด่ อกไม้ เราคอื ชวี ติ (กรณ์ ไกรลาศ) • ผู้ใหญ่ลีกับนางมา (กาญจนา นาคนนั ท)์ • เด็กชายทอง อบเชย, บฮ่ กั บต่ อ้ งสงสาร, ศึกเจา้ พระยา (มานพ • แดค่ ณุ ครูด้วยคมแฝก, สรอ้ ยทอง (นิมิตร ภมู ถิ าวร) ถนอมศรี) • ปลน้ , ผางซอ้ื หมวก (ศรศี กั ด์ิ นพรันต์) • ทะเลรมุ่ ร้อน (วนิ ัย อกุ ฤษณ)์ • วารีดรุ ยิ างค,์ จากอาทติ ยถ์ ึงจันทร์ (เนาวรตั น์ พงษไ์ พบูลย)์ • กบฏ (โกสมุ พสิ ัย) • กวีนพิ นธ์, ภูกระดงึ (อังคาร กลั ยาณพงศ์) • ซบั แดง, ก่อนลงจากภู (ประเสรฐิ จันดำ) • ขุนเดช, หนมุ่ หนา่ ยคัมภรี ์, นางนาก (สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ) • สวนผัก, เฒา่ เสยี ม, แมว ชายชรา รองเท้าสีน้ำตาล (ตกั๊ วงศ์ • มาจากท่ีราบสูง, ความบ้ามาเยือน, ก่อนฟ้าสาง (สุรชัย รัฐปัญญา) จนั ทมิ าธร) • คนของทะเล, ไอโ้ ก๊ะ (นัน บางนรา) • ฉันจึงมาหาความหมาย, ฝันของเด็กชายชาวนา (วิทยากร • ประชาธิปไตยฝดื , การต่อสู้ (วิวฒั น์ รจุ ทิฆัมพร) เชียงกลู ) • การเดินทางของผู้หญงิ ช่อื ร่ืน (แน่งนอ้ ย ปัญจพรรค์) • ฉันจงึ มาหาความหงอย (ไพบูลย์ วงษ์เทศ) • คล่ืนหัวเดง่ิ , เด็กชายชาวเล (สถาพร ศรีสัจจงั ) บทสมั ภาษณ์ | 333

• คำพพิ ากษา, มดี ประจำตวั (ชาติ กอบจติ ติ) • คนไม่เอาไหน, กนุ ซอื (นรนติ ิ เศรษฐบุตร) • ผูค้ นสีเทา (สมศักดิ์ วงศร์ ัฐฯ) • รฐั มนตรหี ญงิ (“ดวงใจ”) • เกมอำนาจ, อ้อมอกภูเขา, เรือนหลังใหญ่ (เฉลิมศักดิ์ แหงม • ขา้ วนอกนา, ทำไม, สายโลหติ (“สฟี ้า”) งาม) • คู่กรรม (“ทมยนั ต”ี ) • ขนำน้อยกลางทุ่งนา, สีของหมา, นายกรัฐมนตรีไปธนาคาร • เรือมนุษย์, ตะวันตกดิน, ระหว่างบ้านกับถนน (กฤษณา (จำลอง ฝั่งชลจติ ร) อโศกสิน) • หมู่บา้ นอาบจนั ทน,์ เจา้ จนั ทร์ผมหอม (มาลา คำจนั ทร์) • เจา้ ขนุ ทองจะกลบั มาเมอื่ ฟา้ สาง, เหมอื นทะเลมเี จา้ ของ (อศั ศริ ิ • ใบไมท้ ่หี ายไป (จิระนนั ท์ พิตรปรชี า) ธรรมโชติ) • มอื น้ันสีขาว, สบตากบั อาเซยี น (ศักด์สิ ิริ มสี มสืบ) • หุบเขาแสงตะวัน, ดอกไม้ที่เธอถือมา,บ้านไร่ปลายแคว • ม้าก้านกลว้ ย, ไหมแท้ทแี่ มท่ อ (ไพวรินทร์ ขาวงาม) (พบิ ลู ศักดิ์ ละครพล) • ดฉิ ันไมใ่ ชโ่ สเภณี (ผกามาศ ปรีชา) • สงครามบนหลุมศพ (สุขสนั ต์ เหมือนนิรุทธ)์ • ลูกชา่ งแกะสลกั , ทรายไหลแลง้ (วงเดอื น ทองเจียว) • นำ้ นน้ั ย่อมชะตลงิ่ (ธงชัย สุรการ) • คนทรงเจ้า, อมตะ (วมิ ล ไทรนมิ่ นวล) • การเดินทางเขา้ สขู่ า้ งใน (ทะนง พศิ าล) • พญาโหงบนโลงแกว้ , ฉันมา ฉนั เห็น ฉนั เขา้ ใจ (ชชั รินทร์ ไชย • คำอา้ ย (ยงค์ ยโสธร) วัฒน์) • ดว้ ยรักและหวงั , สาวน้อยตกนำ้ , ลกู พ่อคนหนึ่งถากไมเ้ หมือน • ซ้มิ ใบ,้ เรอื กระดาษ, อำนาจ (ประภสั สร เสวกิ ุล) หมาเลยี (วัฒน์ วรรยางกรู ) • คนสเี หลอื ง, ใครเลยจะเข้าใจ, ถนนนอกเมือง (นเิ วศน์ กนั ไทย • เราจะฝ่าขา้ มไป, ตำนานลิงยุคมดื , เรอื ลำใหม,่ (วสิ า คัญทพั ) ราษฎร)์ • รอยรา้ วในสายรัก (ไพโรจน์ บุญประกอบ) • คนอยูว่ ัด, ฉนั คอื ต้นไม้ (ไมตรี ลิมปชิ าติ) • ก่อกองทราย, ตุลาคม (ไพฑรู ย์ ธัญญา) 334 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้อื กลู โลก เกอื้ กูลมนุษย ์

• อญั มณแี หง่ ชวี ิต, มือท่ีมองไม่เห็น (“อญั ชัน”) • จัน ดารา, หล่อนขี่ม้าของเขาไป, ประถมบท (อุษณา เพลิง • ครอบครัวกลางถนน (ศลิ า โคมฉาย) ธรรม) • ออ่ นกัลยาประพรี ์, ผู้หญิงพิเศษ (ศิเรมอร อณุ หธูป) • มันเปน็ เพยี งไอ้พิน (ทนง ศรัทธาทิพย์) • ซอยเดียวกัน, กา, ผาติกรรม (วาณชิ จรุงกจิ อนนั ต)์ • ตึกกรอส, สัญชาตญาณมดื , บนผืนดินไทย (อ.อุดากร) • หยดหมกึ หา้ มติ ิ (นิรนั ศักด์ิ บญุ จนั ทร)์ • วีรบรุ ษุ เมืองหลา้ (นเรศ นโรปกรณ)์ • เงาสเี ขียว (“ชยั คปุ ต์”) • ต่อตระกูลหมอ, ความยตุ ธิ รรม (อัศนี พลจนั ทร)์ • พรานคนสดุ ทา้ ย, หอมกล่นิ ป่า (วัฒนา บญุ ยัง) • บึงหญ้าป่าใหญ่, ชายสามคน (เทพศิริ สขุ โสภา) • นักมวยดัง (ขจรฤทธ์ิ รกั ษา) • พ่อเปน็ หมอ, (ธาดา เกดิ มงคล) • ฝง่ั แสงจนั ทร์, โลกหา้ เหลีย่ ม (ประชาคม ลุนาชัย) • นาฏกรรมบนลานกวา้ ง, นายขนมต้ม (คมทวน คนั ธน)ู • สญั ชาตญาณ (เทศ จินนะ”) • ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน, เดือนช่วงดวงเด่นฟ้า ดาดาว • คาราโอเกะ, ความเลิศลอยอันจอมปลอม (ชาตวิ ุฒิ บุณยรกั ษ์) (วินทร์ เลยี ววารณิ ) • หนังสือมอื สอง, ชา่ งสำราญ (เดือนวาด พิมวนา) • เงาสีขาว, คืนฟา้ คลัง่ (แดนอรญั แสงทอง) • ดอกไผ,่ ฤดูกาล, คนกับเสือ (เสกสรรค์ ประเสริฐกุล) • มรสุมและรอยเทา้ (สมใจ สมคดิ ) • แผ่นดนิ อื่น, โลกใบเล็กของซลั มาน (กนกพงศ์ สงสมพนั ธ์) • โลกของจอม (ทินกร หุตางกูร) • ครูลือผู้ซื่อสัตย์, กำดินกำดาบ, เทพบุตรเทียม (เจญ เจตน- • แม่มดบนตึก (ปรทิ รรศ หุตางกูร) ธรรม) • ของฝาก (กร ศิริวฒั โน) • เขาตะโกนเรียกหารัฐมนตรี, เพชฌฆาตท่ีเส้นขนาน ๓๘, • พันธ์พุ นื้ เมอื ง (อตั ถากร บำรุง) เหว.่ .ใครใชใ้ ห้มึงคดิ กบฎ (อิศรา อมันตกุล) • ใบหน้าอ่ืน, หิ่งห้อยในสวน, ความโดดเด่ียวทั้งมวลที่ไม่มีใคร • โสเภณรี อ้ งไห,้ ภูเขาตรงนั้นขาด, อสิ รภาพท่ลี องเบียน (คณุ า- สงั เกตเห็น (นวิ ตั พุทธประสาท) วุฒิ) บทสมั ภาษณ์ | 335

• ร่างแหแห่งวิหค, สายลมบนถนนโบราณ (มาโนช พรหมสิงห์) • นยิ ายในราชสำนักฝ่ายใน (แอนนา ท.ี เลยี วโนเวนซ์ เขยี น อบ เงาฝันของผีเสอื้ (เอ้ือ อญั ชลี) ไชยวสุ แปล) • ประเทศใต,้ ชายผมู้ ีเทวดาประจำตวั (ชาครติ โภชะเรือง) • เทสส์ผบู้ ริสุทธิ์ (โธมัส ฮารด์ ้ี) • กระดูกของความลวง, ชีวิตสำมะหาอันใด, แม่น้ำเดียวกัน • สาวทรงเสน่ห์ (เจน ออสเตน) (เรวัตร์ พันธพุ์ ิพฒั น)์ • พระเจ้ากรุงสยาม, สี่ดรุณี, กระท่อมน้อยของลุงทอม, • แดดเชา้ ร้อนเกนิ กว่าจะนง่ั จิบกาแฟ (จเด็จ กำจรเดช) เงาบาป (นิยายแปลของ “อ.สนิทวงศ์”) • โลกประหลาดในประวัตศิ าสตรแ์ ห่งความเศร้า, กรณีฆาตกรรม • วมิ านลอย (จากนยิ ายเรอ่ื ง Gone With the Wind ของมาร์ โต๊ะอิหม่าม อับดุล การ์เด, ความว้าเหว่แห่งเอเชีย (ศิริวร แก้ว กาเรต มิทเชล “รอยโรจนานนท์” แปล) กาญจน์) • ทรพั ยใ์ นดนิ , สายโลหติ , ชาตหิ รอื ช,ู้ พนั ธมุ์ งั กร (เพริ ล์ เอส.บคั ) • เมืองมุมฉาก, ความน่าจะเป็น, พาไรโดเลียรำลึก (ปราบดา • เหมาโหลถูกกวา่ (บญุ เน่อื ง บณุ ยเนตร แปล) หยนุ่ ) • ต้นรกั ดอกโศก (เอมลิ ่ี บรอนเต)้ • เราหลงลมื อะไรบางอยา่ ง (วัชระ สัจจะสารสิน) • รีเบคกา้ (ดัฟเน่ ดู มอรเิ ย่) • ลับแลแก่งคอย, ลกั ษณ์อาลัย (อุทศิ เหมะมูล) • ปรชั ญาชวี ติ (คาลิล ยบิ ราน) • คนแคระ, คนหัวหมา (วิภาส ศรีทอง) • โมนผจญโลก (อแล็ง ฟูนเิ ยร์) • ซ่อนกล่ิน, บรรพสตรี (“ศรดี าวเรอื ง”) • โจนาธาน ลิฟวงิ สตนั นางนวล (อีริค ซกี ัล) • คณุ ปู่แว่นตาโต (ชมัยภร แสงกระจา่ ง) • พระนางสองพนั ป,ี สมบตั พิ ระศุลี (เซอร์ ไรเดอร์ แฮกการ์ด) ฯลฯ • เสียงเพรียกจากพงไพร, ไอเ้ ขยี้ วขาว (แจ็ค ลอนดอน) เรอื่ งแปลจากวรรณกรรมต่างประเทศ เช่น • ชวี ติ มใิ ชเ่ ศษขยะ, ระฆงั แหง่ อดาโน (แปลโดย อดศิ ร เทพปรชี า) • ความพยาบาท (มารี คอเรลลิ อา่ นทง้ั ฉบับแปลของ “แมว่ ัน” • แล้ววนั นัน้ จะมาถงึ , ไทมแ์ มคชนี (เอช.จี.เวลล์) และ “ว.วนิ ิจฉัยกุล”) • หมอลามก (รอเบริ ต์ หลยุ ส์ สตเี วนสนั ) 336 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกอื้ กูลโลก เก้อื กลู มนษุ ย ์

• ใต้ทะเล ๒๐,๐๐๐ โยชน์ (จนู เวิรน์ ) • แดรก๊ คลู ่า (บราม สโตก๊ เกอร)์ • สถาบันสถาปนา, จดุ ดับแหง่ นริ ันดร์ (ไอแซค อาซิมอฟ) • แฟรงเก็นสไตน์ (แมรี เชลลยี ์) • จอมจกั รวาล ๒๐๐๑ (อาร์เธอร์ ซ.ี คล้าก) • แมวผี (เอ็ดการ์ อลั เลน โพ) • ฟาเรนไฮต์ ๔๕๑ อณุ หภมู เิ ผาหนงั สือ (เรย์ แบรดบวิ ล่)ี • ชว่ั ชวี ติ ของผม (เจ.ด.ี ซาลงิ เจอร)์ • ดอกไม้สำหรับอัลเจอนอน (ดาเนียล คียส์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ • จันทร์เส้ียว, เหมอื นหน่งึ นกทจ่ี ากรัง (รพนิ ทรนาถ ฐากรู ) แปล) • เจา้ ชายน้อย, เที่ยวบินกลางคืน, ไปรษณีย์ใต,้ แผ่นดินของเรา • มนุษย์สองรอ้ ยปี (ไอแซค อาซิมอฟ “ชัยคุปต”์ แปล) (แซงเตก็ ซูเปรี) • ๑๙๘๔, แอนนิมอล ฟารม์ (ยอร์จ ออร์เวลล์) • ราโชมอน, ขปั ปะ (รวิ โนะสเุ กะ อะกูตางาวะ) • บา้ ก็บ้าวะ (เคน เคซีย่ ์ เขียน กิตกิ ร มีทรพั ย์ แปล) • คืนฝั่ง (ยูโกะ มิชมา) • ฤทธม์ิ ดี สัน้ (โก้วเลง้ ) • โชกุน, ไทปัน (เจมส์ คาเวลล์) • คนื สขี าว, รักของผู้ยากไร้, สาวน้อยคนน้ัน (ดอสโตเยฟสกี้) • ช่างทาส,ี ตกึ คนไขห้ มายเลข ๖, ฆ่าปรศิ นาวันลา่ สัตว์ (อันตนั • เสื้อโค๊ต, จมกู , ภาพเหมอื น, มูมู่ (นโิ กไล โกโกล) เชคอฟ) • รักแรก (อีวาน ตรู เกเนฟ) • หลับไมต่ ื่น (เรย์มอนด์ แชนด์เลอร์) • ม่ิงมิตรในหม่มู าร (วี.จี.โคโรเลนโก เขียน “ร.จนั เสน” แปล) • บรุ ุษผูม้ าจากต่างดาว (วอลเตอร์ เทวสิ ) • ไขม่ ุก, เพอื่ นยาก, โลกยี ชน (จอหน์ สไตนเ์ บค็ ) • ความสขุ แหง่ ชีวิต, ฟา้ กวา้ งทางไกล (วิลเลียม ซาโรยนั ) • ฮคั เคนเบอร์รี่ ฟนิ น์ (มารค์ ทะเวน) • เหมอื งนรก (เฮาเวิรด์ ฟาสต์ เขยี น ทวปี วรดลิ ก แปล) • การเดินทางของกัลลเิ วอร์ (โจนาธาน สวฟิ ฟ์) • พอ่ (แอเวอรี่ คารแ์ มน) • รอบนิ สนั ครูโซ (แดเนียล เดโฟ) • แผ่นดินน้ีเราจอง, ตกกระไดพลอยโจน (ริชาร์ด เพาเวลล์ • เกาะมหาสมบัติ (รอเบริ ต์ หลุยส์ สตเี ฟนสนั ) เขยี น) • เชอร์ลอ็ กโฮลม์ (อาเธอร์ โคแนน ดอยส)์ • ขุนคลงั ข้างถนน (ร.ก.นารยัน) บทสัมภาษณ์ | 337

• มาจากสองฝง่ั ฟ้า (เอมี่ ตนั เขียน “จติ ราภรณ์” แปล) • คนไทยไม่ได้มาจากไหน, ร้องรำทำเพลง, ควายให้กำเนิดคน • ไฟศลิ ป์ (เออร์วิงสโตน เขียน กติ ิมา อมรทัต แปล) (สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ) • ติสตู คนปลูกต้นไม้ (โมริส ดูรอง เขียน อำพรรณ โอตระกูล • พ้นื บา้ นพื้นเมือง (ปราณี วงษเ์ ทศ) แปล) • คนปลูกตน้ ไม้ (ฌ็อง ฌโิ อโน) • เหมือนหน่ึงนกท่ีจากรัง (รพินทรนาถ ฐากูร เขียน กรุณา- • การปฏวิ ตั ิสยาม ๒๔๗๕ (นครนิ ทร์ เมฆไตรรตั น)์ เรอื งอไุ ร กศุ ลาสัย แปล) • ชวี ประวตั ขิ องข้าพเจ้า (มหาตมะ คานธี เขียน กรณุ า กุศลาสยั • แด่คุณครูด้วยดวงใจ (“นายตำรา ณ เมืองใต้” แปลจากเร่ือง แปล) To Sir, With Love) • จากดวงใจ (คตี กร จ.มงคลขจร สาทสิ ) • ความรื่นรมย์ครั้งสุดท้าย (เรื่องสั้นรัสเซีย : แปลและบรรณา- • บทเพลงแห่งความหลัง (รวบรวมและเรยี บเรยี ง โดย เรืองอไุ ร ธกิ ารโดย สชุ าติ สวัสดศ์ิ ร)ี กศุ ลาสยั ) ฯลฯ • เพลงนอกศตวรรษ และงานคน้ คว้าต่างๆ (เอนก นาวกิ มลู ) • คำถาม – คำตอบเกี่ยวกบั ศิลปะไทย – ตะวันตก ของ “น.ณ Non-Fiction สำหรับอายุ ๑๗ - ๑๘ ปีข้ึนไปขอแนะนำทั้ง ปากนำ้ ” (ฉบบั สำนกั พิมพ์เมืองโบราณ) งานเขียนและงานแปล • ร้อยแก้วแนวใหม่ของไทย (สมาคมภาษาและหนังสือฯ สุมาลี • เงาคนบนเวลาและปฏมิ าการ (ศกั ดิ์ชยั บำรุงพงษ์) วรี ะวงศ์ บรรณาธิการ) • แสงและเสยี งของอกั ษร (กรสั นัย โปรชาติ) • อัญมณีแห่งวรรณกรรมไทย, พลานุภาพแห่งวรรณกรรมไทย • คิดอย่างผู้หญิง, บุคลิกภาพ, งามมารยาท, วงเวียนชีวิต ความ (พทิ ยา วอ่ งกลุ ) เรียง ของสมศรี สุกุมลนันทน์ (มีชื่อต่างๆ ท่ีสำนักพิมพ์ม่ิงมิตร จัด • ทอ่ งอดตี กับสามเกลอ (พรี ะพงศ์ ดามาพงศ์) พมิ พ์) • นกั เขยี นไทย ๑ – ๒ (เรงิ ไชย พทุ ธาโร) • นกั เขียนสยาม, เลา่ เรอ่ื งนักเขียนดังในอดตี ๑ – ๒ (“ส.พลาย 338 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเก้ือกูลโลก เก้อื กลู มนุษย ์

น้อย”) • คอมมวิ นสิ ต์ลาดยาว (อัตชวี ประวตั ิ โดย ทองใบ ทองเปาด)์ • ละครแห่งรัก, ละครแห่งโลก (เล่าเร่ืองหนังสือเก่า โดย • จดหมายจากลาดยาว (อตั ชีวประวตั ิ โดย “ศวิ ะ รณชิต”) “ศรดี าวเรอื ง”) • ลมหายใจแหง่ อดตี อัตชีวประวตั ิ “หมอเมอื งพรา้ ว” (อภิเชษฎ์ • จดหมายจากนายแพทย์ถึงลูกสาว (ความเรียงเรื่องเพศศึกษา นาคเลขา) โดย นพ.ประยูร เวชพงศ์) • ละครชีวิต เจ้าชายนักประพันธ์ (ชีวประวัติหม่อมเจ้าอากาศ • การสร้างสรรค์สติปัญญาอย่างไทย, สรรพสาระสำหรับ ดำเกิงฯ เรียบเรียงโดย อรสม สิทธิสาคร) ยังเฟื้อ ชีวิตและงานของ ผแู้ สวงหา “ส.ศวิ รักษ์”) เฟ้ือ หรพิ ิทักษ์ (ชวี ประวตั ิเรียบเรียงโดย “นรา”) • ชีวิตศิลปิน (ชีวิตศิลปินอิมเพรสช่ันนิสต์ เขียนโดย สุรพงษ์ • วรรณสาสน์ สำนกึ ๑ – ๒ (สภุ า ศิริมานนท)์ บนุ นาค) • ความสขุ ของสตรี (ม.ล.บุญเหลอื เทพยสวุ รรณ) • ราชาปารีส ชีวติ นักประพันธ์ของอเลก็ ซานเดอร์ ดูมาร์ (“นาย • วนั กอ่ นคนื เกา่ , แม่น้ำลำคลอง (“ส.พลายน้อย”) ตำรา ณ เมืองใต”้ แปล) • ศลิ ปะไทย (วบิ ูลย์ ลี้สวุ รรณ) • ประสบการณแ์ ละความเหน็ ของรัฐบุรษุ อาวโุ ส ปรีดี พนมยงค์ • สงิ่ พมิ พค์ ลาสสกิ , สงิ่ พมิ พส์ ยาม, นกั วาดชนั้ ครู (อเนก นาวกิ มลู ) (สมั ภาษณ์โดย ฉตั รทพิ ย์ นาถสุภา) • เดก็ คลองบางหลวง (“กาญจนาคพนั ธ์ุ”) • ชีวติ ทเ่ี ลือกไมไ่ ด้ (อัตชีวประวัติ โดย กรณุ า กศุ ลาสัย) • ตามรอยลายสอื ไทย (“ส.บญุ เสนอ”) • ฟน้ื ความหลงั (อตั ชวี ประวัติ โดย “เสฐยี รโกเศศ”) • คืออิสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา (ตรีศิลป์ บุญขจร บรรณา- • เล่าไว้เม่ือสนธยา อัตชีวประวัติพุทธทาสภิกขุ (สัมภาษณ์โดย ธิการ) พระประชา ปสนฺนธมโม) • เม่ือคุณตาคณุ ยายยงั เด็ก (ทิพย์วาณี สนทิ วงศฯ์ ) • แม่น้ำแม่น้ำยามศึก, การหลงทางอันแสนสุข (อัตชีวประวัติ • สนิ ในหมึก (“ยาขอบ”) โดย อาจินต์ ปัญจพรรค)์ • ถนนไปสู่กอ้ นเมฆ (ธญั ญา ผลอนันต)์ • สู่อสิ รภาพ (อัตชวี ประวัติ โดย จารึก ชมพูพล) บทสมั ภาษณ์ | 339

• ความทรงจำเร่อื งการเขียนกลอนของ เนาวรตั น์ พงษไ์ พบูลย์ • แด่หนุม่ สาว (กฤษณะมรู ติ ฉบบั แปลโดย พจนา จนั ทรสนั ต)ิ • ชีวประวัติ ๕ นาที (เดล คาลเนลกี ฉบับแปลโดย อาษา ขอ • ชีวประวัติพระพุทธเจา้ (เรยี บเรียงโดย สันตสิ ขุ โสภณศริ ิ) จิตต์เมตต์) • พทุ ธศาสนากับสทิ ธมิ นุษยชน (เสนห่ ์ จามรกิ ) • ชีวิตของฉนั ลูกกระทิง (บญุ ส่ง เลขะกุล) • พทุ ธศาสนากับสังคมไทย (พระไพศาล วิสาโล) • ธรรมะสำหรับคนนอกวัด, โฉมหน้าของนักประพันธ์ (วิลาศ • หนุ่มสาวคือชวี ิต (อนุช อาภาภิรม) มณีวตั ) • มหาวิทยาลัยชีวิต, ตัวตนและจิตวิญญาณ, วิหารท่ีว่างเปล่า • ชีวิตและงานของปรีดี พนมยงค์, กุหลาบแห่งแผ่นดิน : ชีวิต (เสกสรรค์ ประเสริฐกุล) และงานของ กุหลาบ สายประดษิ ฐ์ (ทง้ั ๒ เร่ือง เขียนโดย ชมัยภร • ตะวันตก – ตะวนั ออก (นพพร สวุ รรณพานชิ ) แสงกระจ่าง) • ชวี ิตและงานของนกั ประพนั ธ์แหง่ โลก (“คณุ าลยั ”) • นักเขียนไทยในวงวรรณกรรม, นักเขียนไทยในสวนหนังสือ • นักดนตรีเอกของโลก, แพทย์เอกของโลก, นักวิทยาศาสตร์ (อาจณิ จนั ทรมั พร) ของโลก (ทวี มุขธระโกษา) • นักเขยี นไทย ๑ – ๒ (เริงไชย พทุ ธาโร) • ป่าระบดั สัตว์สลวย (คมทวน คนั ธนู) • เหม เวชกร, หลวงสารานุประพันธ์, ป.อินทรปาลิต (เริงไชย • เดินไปใหส้ ุดฝัน (วินทร์ เลยี ววารณิ ) พทุ ธาโร) • จดหมายจากหมู่เกาะชเลจร (ฌาคส์ เฟร์แวรต์ เขียน วัลยา • ร้สู ึกนึกคดิ (ระวี ภาวิไล) วิวัฒน์ศร แปล) • วิถแี ห่งเตา๋ (ฉบับแปลโดย พจนา จันทรสันต)ิ • จดหมายจากนกั เขยี นหนุ่ม (กนกพงศ์ สงสมพันธ์ุ) • คลืน่ ลกู ทส่ี าม (อัลวนิ ทอฟเลอร์ เขยี น) • ความน่าจะเป็นบนเส้นขนาน (จดหมายโต้ตอบระหว่างวินทร์ • เปดิ โลก ๒๐๐๐ จินตนาการสโู่ ลกอนาคต (ชยั วัฒน์ คปุ ตะกลุ ) เลียววาริณ และ ปราบดา หยุน่ ) • โลกทั้งผองพ่ีนอ้ งกัน (มหาตมะคานธี เขียน กรณุ า – เรืองอุไร • สมมุติสถาน (ปราบดา หยุ่น) กุศลาสยั แปล) 340 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกอื้ กูลโลก เกอื้ กูลมนุษย์

• คนเล็กๆ (ขวัญใจ เอมใจ) • โลกทัศน์เหนือลุ่มน้ำวอลก้า (คำคมจากประสบการณ์นักคิด • คนนอก (วิวัฒน์ พันธวุฒิยานนท)์ นกั เขียนรสั เซีย : ปรีชา ชอ่ ปทมุ มา แปล) • มหาสมุทรศิลป์ ศึกศิลปินโลก : เลโอนาร์โด VS มิเคลันเจโล • เขียนไว้เมื่อเป็นไม้ใกล้ฝั่ง (อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขียน กำพล (นพมาส แววหงส์ แปล) ศรีถนอม แปล) • เกร็ดความคิดบนก้าววิ่ง (ฮารูกิ มูราคามิ เขียน นพดล • คำคมคนรักหนังสือ คำคมเพื่อแรงบันดาลใจ, คำคมว่าด้วย เวชสวัสดิ์ แปล) ความรกั และมติ รภาพ (วิทยากร เชียงกลู แปล) • จัณฑาล (นเรนทรา จาดฮาฬ เขยี น วีระยทุ ธ เลิศพูนผล แปล) • วรรคทองจากวรรณคดไี ทย (อาจิณ จันทรมั พร รวบรวม) • ๓๐ บาทรกั ษาทกุ โรค อตั ชวี ประวตั ิ (นพ.สงวน นติ ยารมั ภพ์ งษ)์ • งานเขียนความเรียง งานเขียนคอลัมน์ และบทปาฐกถาใน • มองอนาคต หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (นพ.วิชัย โชค ประเดน็ ตา่ งๆ จากนติ ยสารและวารสาร เชน่ เนช่ันสดุ สปั ดาห์ สยาม วิวฒั น) รัฐสัปดาหวิจารณ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศิลปวัฒนธรรม สารคดี WAY • บทกวีในเสียงเพลง, ผีเพลง : ดนตรีขบถท่ีเปล่ียนแปลงโลก วิภาษา VOTE อักษรศาสตร์ รฐั ศาสตร์สาร ฟ้าเดยี วกนั ปาจารยสาร (“สเิ หร”่ ) ฅ.คน สานแสงอรุณ อ่าน ฯลฯ แนะนำให้อ่านกว้างขวาง พยายาม • ฤา จะร้อนเรา่ เทา่ แจส๊ (ประทักษ์ ใฝ่ศภุ การ) อา่ นให้ครบทุกสีจงึ จะร้คู วามหลากหลายของ “สี” สเปคตรมั ในทาง • แจส๊ : อิสรภาพทางดนตรีของมนษุ ยชาติ (อนันต์ ลือประดษิ ฐ์) วิทยาศาสตรม์ ีอยู่ ๗ สี คอื ม่วง คราม น้ำเงนิ เขยี ว เหลือง แสด แดง • บทเพลงแห่งภาวนา (เจ กฤษณะมูรติ เขียน โสรีซ์ โพธ์ิแก้ว อายุ ๑๘ ปีในระดับ “อุดมศึกษา” ขึ้นไปถ้าไปจำกัดการอ่านอยู่แค่ แปล) “ส”ี เดยี ว มันจะเกิด “แสงมดื ” มากกวา่ “แสงสวา่ ง”! • ไม่มีคำว่าล้มเหลว : คำคมเพื่อแรงบันดาลใจ (“ส.สุวรรณ” ฯลฯ แปล) สำหรับอายุ ๑๒ - ๑๕ ขวบ ขอแนะนำวรรณกรรมเยาวชน • คำคมบ่มชวี ติ , อมตวจนะคานธี (กรุณา – เรืองอไุ ร แปล) เชน่ • นทิ านแอนเดอร์สัน (อาษา ขอจติ ต์เมตต์ แปล) บทสมั ภาษณ์ | 341

• นิทานพ่นี ้องกรมิ ส์ (อาษา ขอจติ ต์เมตต์ แปล) • นักดาราศาสตร์น้อย (เยเฟรม ลีวติ ัน เขียน “เยาวนิจ”แปล) • นิทานแอนเดอร์สัน และ นิทานสองพ่ีน้องกริมส์ ฉบับแปลมี • โต๊ะโต๊ะจัง, นางสาวโต๊ะ (คุโรยานางิ เท็ตสิโกะ เขียน ผุสดี หลายสำนวน เช่นนิทานบางเรื่องของคริสเตียน แอนเดอร์สัน และ นาวาวิจติ ร แปล) นทิ านพน่ี อ้ งกริมส์ (มฉี บับเยาวชนท่ี “ศรดี าวเรอื ง” แปล) • พอ่ มดอ๊อซ (แฟงค์ โบหม์ เขยี น ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แปล) • อลิซในแดนมหัศจรรย์ (ลวิ อสิ แครอล เขยี น ระวี ภาวิไล แปล) • เมนกิ ี้ ลูกชา้ งนอ้ ย (แนนซ่ี เกรซ เขียน “น.พ.ศ.” แปล) • เมาคลลี ูกหมาป่า (รัดยารด์ คปิ ลงิ เขยี น “อ.สนิทวงศ์” แปล) • มงั กร (แอน มัคคัฟฟี่ เขียน สนิ นภา สารสาส แปล) • คุณพ่อขายาว (จีน เวบ็ สเตอร์ เขยี น มีฉบับแปลของ “อ.สนิท • มุกหน็อก (จำไม่ได้ว่าใครเขียน เป็นบทละครสำหรับเยาวชน วงศ์” และ สังวร ไกรฤกษ์) สำนักพมิ พ์ดวงกมลจดั พิมพ์) • นกเค้าแมวรอ้ งสองครง้ั ท่แี ค็ทฟชิ เบ็นด์ (รฐั จวน อินทรกำแหง • เด็กๆ บ่ายวันเสาร์ (เอลิซาเบท เอนไรต์ เขียน “ฝนบ่าย” แปล) แปล) • ต้นส้มแสนรัก (วานคอนซิลอส ฉบบั แปลของ มทั นี เกษกมล) • ย่า, อิรโิ ก้, อลิ ลาริอัน และผม (โนดาร์ คมุ บัดเซ่ เขยี น “วนั ยา • โรงงานชอ็ คโกแล็ตมหัศจรรย์ (โรอลั ด์ ดาห์ล) อนู ” แปล) • เดก็ กระปอ๋ ง, หมีเล็กท่องโลก (อำภา โอตระกลู แปล) • รวมเรื่องสั้นเยาวชนลาวยุคใหม่ (สันตสิ ขุ โสภณสริ ิ แปล) • ไพศาลแสนซน (นิยายเยาวชนจากสวเี ดน ลมลุ รตั ตากร แปล) • ครอบครวั มทิ แชลล์ (“เนื่องนอ้ ย ศรัทธา” แปล) • เกมชีวิตของเจา้ หนู (เยาวนนั ท์ เชฎฐรัตน์ แปล) • บา้ นท่มี ีพอ่ หกสิบคน (“เนือ่ งนอ้ ย ศรทั ธา” แปล) • จว๋ิ ลกู ทุ่ง (แมร่ี นอร์ตัน เขียน สุทธิ โสภา แปล) • เจ้าป่าซีโอนอี (รัดยาร์ด คิปลิง เขียน “เน่ืองน้อย ศรัทธา” • หาสมบัติ (“อ.ี เนสบิท”) แปล) • ฉันกับฬา ปลาเตโร่ (ฆวน รามอน ฆิเมเนซ สถาพร ทพิ ยศักด์ิ • เด็กหญิงน็อนจังกับลูกหมาจ้ิงจอก (มัตสุทานิ มิโยโกะ เขียน แปล) ผสุ ดี นาวาวิจติ ร แปล) • กบผูว้ า้ เหว่และเร่อื งสตั วอ์ น่ื ๆ (อำภา โอตระกลู แปล) • อนุทินของจงิ้ หรีด (โต หว่าง เขยี น สุวิมล กนกศลิ ป์ แปล) 342 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกือ้ กลู โลก เก้ือกูลมนษุ ย์

• นางนวลกับมวลแมวผู้สอนใหน้ กบนิ (หลยุ ส์ เซปุลเบดา้ เขียน • ฮอบบิท และนิยายแปลชุด ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ (เจ.อาร์. สถาพร ทพิ ยศกั ด์ิ แปล) อาร์.โทลคีน) • เธอคอื ชวี ิต (วทิ ยากร เชียงกูล แปล) • นยิ ายแปลชดุ แฮรร์ ่ี พอตเตอร์ (เจ.เค.โรว์ลิง่ ) • ญามิลายอดรัก (เชงกิซ ไวต์มาตอฟ เขียน ธนิต ธรรมสุคติ • เพื่อนช่ือก้อง (วิลเลียม เอช.อาร์มสตอง เขียน “สุธัชริน” แปล) แปล) • ย.ร.ด. (โรอลั ด์ อาหล์ เขียน “ลางชาง” แปล) • ครอบครัวคงกระพัน (“อี.เนสบิท” เขียน “สุพรรณิการ์” • สัตว์โลกทีแ่ สนยงุ่ (เจมส์ แฮเรียต เขียน สดุ จิต ภญิ โญยงิ่ แปล) แปล) • ดว้ ยดวงใจท้งั เจ็ดดวง (พอล กาลลิโก เขยี น “ฤดูรอ้ น” แปล) • บรษิ ทั รบั เลย้ี งเด็กไม่จำกัด (คีท โรเบิร์ตสัน เขยี น “พลแุ ดด” • ดอกไม้สำหรับมิสซิสแฮริส (พอล กาลลิโก เขียน กิติกร แปล) มที รัพย์ แปล) • มิสเตอรเ์ มนเดลสัน (โจน เอเคน็ เขียน “อคั รวรรณ” แปล) • ย้ิมก่อนเหา่ (เจมส์ เฮอร์เรยี ต เขียน ปาริฉัตร เสมอแข แปล) • ซองดรนี (อูแกต็ ต์ การแี ยร์ เขียน “วรรณประไพ” แปล) • ชุดประดาน้ำและผีเส้ือ (ฌอ็ ง-โดมนิ กิ โบบี้) • คณุ แมค่ นใหม่ (แพตตริเซยี แมค็ แลน เขียน “แอ๊ดดี้” แปล) • กวา่ จะไดเ้ ปน็ เดก็ ดี (แอล.พานเทลฟิ เขยี น “อนวิ รรตน”์ แปล) • วันวารอันอบอุ่น (อเล็กซานเดอร์ ดอฟเชนโก เขียน “วันยา • มตั เตยี กับปู่ (โรแบรโ์ ต ปอี ูมนิ ี เขียน นันธวรรณ์ ชาญประเสริฐ อูน” แปล) แปล) • สุภาพบรุ ษุ แหง่ ทุง่ หญ้า (แจน วอฮ์ล เขยี น “วันยา อนู ” แปล) • เวลาเพียงเล็กน้อย (แอนน์ นอร์ริส บอลด์วิน เขียน “กันย • ดอน กีโฆเต้ ฉบบั อนบุ าล, นทิ านฮาวาย (“ศรดี าวเรือง”แปล) รัตน์” แปล) • นทิ านฮาวาย (“ศรดี าวเรือง” แปล สำนกั พมิ พ์รักลกู จัดพิมพ)์ • ไม่มใี ครร้ายเทา่ น้องเล็ก (จลู ี่ บลูม เขียน “ธารพาย”ุ แปล) • การผจญภัยของลงุ ป๋วย (มอรสิ เซนเด๊ก เขยี น “ศรดี าวเรือง” • ลอรด์ น้อย ฟอนเต้ิลรอย (“เนอื่ งน้อย ศรทั ธา” แปล) แปล สำนกั พมิ พด์ วงกมลจัดพิมพ์) • นิยายแปลชุดนารเ์ นยี (ซ.ี เอส.ลูอสิ ) • หนังสือปกเขียว (โรเบิร์ต เกรฟ เขียน “ศรีดาวเรือง” แปล บทสมั ภาษณ์ | 343

สำนักพิมพ์ดวงกมลจดั พิมพ)์ • แม่ถ้อยน้ำคำ จากเรื่อง Time and Again Stories (โดนัลด์ สำหรับอายุ ๑๘ ข้ึนไป โดยเฉพาะนักศึกษา “เอกภาษาไทย” บัสเส็ท เขียน “ศรีดาวเรอื ง”แปล สำนักพมิ พห์ มกึ จนี จดั พมิ พ์) “เอกบรรณารักษ์” “เอกนิเทศศาสตร์” “เอกประวัติศาสตร์” ฯลฯ • แม่ไม้จากเร่ือง The Giving Tree (เซล ซิลเวอร์สไตน์ เขียน และหรอื ผ้ทู ีล่ งเรยี นวชิ า “งานเขียนสรา้ งสรรค์” (Creative Writing) “ศรีดาวเรือง” แปล จดั พิมพ์เป็นหนังสอื มอื ทำ) วรรณกรรมของนักเขียนไทยท้ังอดีตและปัจจุบันท่ีไม่ได้เอ่ยยังมีอีก • โลกของหนแู หวน (“ศราวก” เขียน) มาก ขอแนะนำเฉพาะวรรณกรรมแปลคุณภาพเท่าที่นึกช่ือได้อย่าง • พุทธทาสภิกขุ, ปัญญานันทภิกขุ ฉบับการ์ตูน (วาดภาพโดย น้อยถ้าได้อ่านคนละ ๕ – ๑๐ เล่ม หรือมากกว่านั้น จึงจะถือว่ามี ศักดา วมิ ลจนั ทร์) การอ่านที่เข้มแข็ง และ coming – of – age มาอยู่ในโลกการอ่าน • ปรดี ี พนมยงค์ ฉบับการ์ตนู แบบผใู้ หญ่ • กหุ ลาบ สายประดษิ ฐ์ ฉบบั การต์ ูน • สามก๊ก (ฉบับแปลโดย เจา้ พระยาพระคลงั หน) • จติ ร ภูมศิ กั ด์ิ ฉบับการ์ตูน • กามนิต (ฉบับแปลของ “เสฐียรโกเศศ-นาคะประทปี ”) • นทิ านปญั จะตันตระ (แปลและเขยี นภาพประกอบ โดย ศกั ดา • อาหรับราตรี (ชำระโดย “เสฐียรโกเศศ-นาคะประทปี ) วมิ ลจนั ทร)์ • เจ้าผูค้ รองนคร (มาคเิ วลลี) • วรรณวิจติ ร : พระลอ กากี ราชาธริ าช (“นายตำรา ณ เมอื ง • โอดีสซี (โฮเมอร)์ ใต้” เร่ือง เหม เวชกร ภาพ จัดพิมพ์ใหม่โดยสำนักพิมพ์ไทยวัฒนา • ยโู ทเปยี (เซอร์ โธมสั มอร)์ พานชิ พ.ศ. ๒๕๓๘) • เมตามอร์โฟซิส, ในความน่ิงนึก, แดนลงทัณฑ์, คดีความ, วรรณกรรมเยาวชนเชิงคุณภาพท้ังท่ีเป็นเรื่องแปลและเร่ืองเขียน ปราสาท (ฟรนั ซ์ คาฟคา) ในร่นุ ปจั จุบันยังมีอกี มากกวา่ น ้ี • แม่ (แม็กซิม กอร์ก้ี เขยี น จิตร ภมู ิศกั ดิ์ แปล) ฯลฯ • โคทาน (“เปรมจันท์” เขียน ภิรมย์ ภูมศิ ักด์ิ แปล) • ร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว, ไม่มีจดหมายถึงผู้พัน (กาเบรียล 344 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกอ้ื กลู โลก เกื้อกูลมนษุ ย์

การ์เซยี มารเ์ กซ๊ ) เมรยั พฆิ าต (ออเนเร่ เดอ บลั ซัค) • หญงิ สองผวั (จอร์จ อมาโด) • กราวิทัตผจญภยั (แปลโดย เกษยี ร เตชะพีระ) • จ้าวแหง่ แมลงวัน (วิลเลียม โกลดิ้ง) • โคะโคะโระ (นัทซเึ มะ โซเซเกะ) • กอ็ งดดิ ด,์ ซาดิก (วอลแตร์) • ฮาคิอิ (ซิมาซาคิ โทซอง เขียน “พัชรนิ ทร์” แปล) • ความเบาหวิวเหลือทนของชีวิต, อมตะ, ความเขลา, แช่มช้า, • เมยี หมอ (โอซามุ ดาไซ เขยี น กิติมา อมรทตั แปล) ตวั ตน (มลิ าน คนุ เดอรา) • เลอื ดรกั ชาติ (มชิ ิมา่ ยกู ิโอะ เขียน รื่นฤทัย สจั จพันธ์ แปล) • ชู้รักเลด้แี ชตเตอรเ์ ลย,์ ในห้วงรัก (ดี.เอช.ลอร์เรนซ์) • คนลากรถ (“เนยี น” แปล) • ความฝันในหอแดง (เฉาเสวี่ยฉนิ ) • ไอ้เหลอื บ (“นารียา” แปล) • บ้าน, ใบไม้ผลิ (ปาจนิ ) • เรือโรงงาน (วทิ ยากร เชยี งกูล แปล) • แม่ (แมก็ ซิม กอร์กี)้ • เสียงแห่งขุนเขา, กรุงเก่า, เมืองหิมะ, ทะเลสาบ, วิมานมายา • พชื พนั ธ์แุ ห่งการต่อสู้ (เอมลิ โซลา่ ) (ยาสนึ าริ คาวะบาตะ) • พรากจากแสงตะวัน (อซิ คั ดนิ เี สน) • นางบนเนนิ ทราย (โกเบ อบั เบ) • เสนห่ ต์ ะวนั ออก (ออ็ งเดร มาลโรซ์) • รอยชวี ติ , บา้ นสมานใจ (เคนซาโบโระ โอเอะ) • คอื พจนาซาราทสุ ตรา (เฟรดรชิ นิทเช่) • เฟอร์ดีเดอกร์ (วโิ ทลด์ กอมโบรวีช) • สงครามและสันติภาพ, อนั นา คาเรนนนิ า, คำสารภาพ, บนั ทึก • คณุ นายโดโลเวย์ (เวอร์จเิ นยี วลู ์ฟ) ของคนบ้า (ลีโอ ตอลสตอย) • สมญั ญาดอกกหุ ลาบ (อมุ แบรโ์ ต เอโก) • แนวรบด้านตะวันตกเหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง (เอริช มาเรีย • พน่ี ้องคารามาซอฟ, บันทกึ จากใต้ถนุ สังคม, นักพนัน, สามีชั่ว เรอมารก์ ) ชีวติ (ฟโิ อดอร์ ดอสเยฟสะก)้ี • พ่อกอริโยต์, เออเฌนี กร็องเด้ต์, สามสามสิบ, หญิงรักร้าง, • คนนอก, มนุษยส์ องหน้า, ผบู้ รสิ ุทธ,์ิ ศิลาทัณฑ์, มนุษย์คนแรก บทสัมภาษณ์ | 345

(อลั แบร์ กามสู )์ • จอห์นน่ีไปรบ (ดลั ตนั ทรัมโบ) • ฆา่ (เรือ่ งส้นั ของ ฌอง-ปอล ซาร์ต และ อลั แบร์ กามสู )์ • นายแพทยช์ ิวาโก (บอรสิ ปาสเตอรแ์ น็ค) • จารก์ ารต์ ้ายามสนธยา, เสอื (ม็อคตาร์ ลบู ิส) • เม่อื ๒๕ น. (วีรจ์ ิล เกเออร์กวิ วิชา ฐติ ะวัฒน์ แปล) • แผ่นดินของชวี ติ , รอยย่างกา้ ว, ผูส้ ืบทอด (ปราโมทยา อนนั ตา • แวรเ์ ธอรร์ ะทม (โยฮันห์ ฟอน เกอเต้) ตูร์) • เมื่อโธมสั มันน์ เล่าเร่อื ง (เรื่องสน้ั ขนาดยาวต่างๆ ของ โธมัส • คนข่ีเสอื , พระแม่เจา้ ทองคำ, ร้อยหิว (ภวานี ภัฏฏาจารย์) มันน)์ • อาคิว (หลู่ซน่ิ ) • กลองสงั กะสี (กึนเตอร์ กัสส)์ • สิทธารถะ, บทเรียน, สเต็ปเปนวูลฟ์, นาซิสซัสและโกลมุนด์ • คนของประชาชน (ชนิ ัว อเชเบ) (เฮอรม์ าน เฮสเส) • อนั ล่วงละเมิดมไิ ด้ (โฮเซ รซิ ัล) • มาดามโบวารี, ซาลามโบ (กสุ ตาฟ โฟลแบรต์) • หญิงสองสะดือ (นคิ จาวควนิ ) • เสนห่ ์ชีวติ (ซอมเมอรเ์ ซท มอห์ม) • มวลชน (เอฟ.ซอิ อนลิ โฮเซ) • นางกลางโรม (อัลเบอร์โต โมราเวยี ) • ภเู ขาอาถรรพ์ (ชาห์นอน อาหมัด) • ฟอนตามารา่ (อินาซิโอ ซิโลเน่) • วมิ านมายา (เค.เอ.อับบาส เขียน ทวปี วรดลิ ก แปล) • รักระหว่างรบ, ศึกสเปน, ในโลกกว้าง, สนามชีวิต (เออร์เนส • ปาปญิ อง (ธนิต ธรรมสุคติ แปล) เฮ็มมงิ เวย)์ • เวโรนิก้าขอตาย (เปาโล คาเอลโย) • ละครโรงใหญ,่ วมิ านมนุษย์, เสนห่ ์ปารสี (กยี ์ เดอ โมปัสซังต)์ • ถนนยาสูบ (เออรส์ กิน คอลเวลล)์ • ประกายดาว, ประกายพฤกษ์ (โอ เฮนร)ี่ • โลลิต้า (วราดิมีร์ นาโบคอฟ) • ผลพวงแหง่ ความคบั แค้น, วมิ านคนยาก (จอหน์ สไตน์เบค็ ) • เหมืองนรก (เฮาเวริ ์ด ฟาสท์) • ท็อปบ๊ตู ทมิฬ, มารต์ นิ อเี ด็น (แจ็ค ลอนดอน) • ฤดูเพลงิ (แอนดรู เรฟกนิ ) • สปาตาคัส (เฮาเวิร์ด ฟาสท์) • วอลเดน, ตา้ นอำนาจรฐั (เฮนรี่ เดวิด ธอโร) 346 | ๑,๐๐๙ เลม่ วรรณกรรมเกอ้ื กูลโลก เก้ือกลู มนษุ ย์

• รักแรกและเร่ืองสั้นอ่นื ๆ (ซามเู อล เบคเกตต์) • เหยื่ออธรรม ฉบับสมบูรณ์ (วิกตอร์ อูโก เขียน วิภาดา กิตติ • มิสซสิ บลมู อยากรูจ้ ักคนสง่ นม (เพเตอร์ บคิ เซล) โกวิท แปล) • น้ำหอม, พิราบ (พทั ริค ซสึ กินท์) • ฝังหัวใจข้าไว้ที่วูนเด็ดนี (ดี บราวน์ เขียน ไพรัช แสนสวัสดิ์ • ฟริคเกอร์ ศาสตร์แห่งแสง (ธโี อดอร์ รอสแสค) แปล) • โรงงานฆ่าสัตว์หมายเลขห้า, อเมริกา..กำเนิดอดัม (เคิร์ต • สีแดงกบั สดี ำ (“สตองดลั ”เขยี น อำพรรณ โอตระกลู แปล) วอนเนกัต) ฯลฯ • คร่ึงทางชวี ติ (ว.ี เอส.ไนพอล) นิยายและเร่ืองสั้นต่าง ๆ ของ “ฮารูกิ มูราคามิ” มีผู้แปลต่อ • มาสเตอร์กับมาร์การติ า (มิคาอิล บลู กาคอฟ) เนื่องจำนวนหลายเร่ือง เร่ืองสั้นแปลของ “นักเขียนรางวัลโนเบล • ออล เดอะ เนม (โฮเซ่ ซารามาก)ู สาขาวรรณกรรม” มีงานแปลในชุดช่ือต่าง ๆ ของ สำนักพิมพ์นาคร • ฝนสีดำ (นยิ ายแปลเก่ยี วกับผลกระทบของระเบดิ ปรมาณ)ู นิยายแนวทาง รหัสคดี มีงานแปลเชิงคุณภาพของสำนักพิมพ ์ • ปลาย่าง (แปลโดย มนตรี อมุ ะวชิ นี) รหสั คดีงานแปลนยิ ายในระดับเร่ืองท่มี ีคณุ ภาพ • ฟา้ สาง ดาวสญู , แดนมคิ สญั ญี (นาร์กบิ มาหฟ์ ูซ) • หากคำ่ คนื หนึ่งในฤดหู นาว นักเดินทาง (อิตาโล คลั วิโน) สำหรับ Non Fiction ท่ีน่าจะเป็นความบันดาลใจเกี่ยวกับ • เพลงรัตติกาลในอนิ เดีย (อนั ตอนโิ อ ตาบคุ คี) หนงั สอื และนกั เขียนขอแนะนำสำหรับอายุ ๑๘ ขนึ้ ไป เชน่ • ห.ส.ร.หุ่นยนตส์ ากลราวี (คาเรล คาเพ็ค) • สามกก๊ (เจา้ พระยาพระคลงั (หน) แปล) • คนไขลาน (แอนโธนี เบอรเ์ จสส์) • ชุดประเพณไี ทยเกิด – ตาย – ปลูกเรอื น – แตง่ งาน (เสฐียร- • โรคแหง่ ความตาย (มาร์การ์ต ดรู าส) โกเศศ) • หอสมดุ แห่งบาเบล (ฆอรเ์ ฆ หลยุ ส์ บอรเฆส) • กามนิต (เสฐยี รโกเศศ-นาคะประทีป แปล) • รุกสยามในนามของพระเจ้า (มอร์กาน สปอร์แตช เขียน • เล่าเร่ืองขุนช้างขุนแผน (กาญจนาคพันธ์ุ และ “นายตำรา ณ กรรณิกา จรรย์แสง แปล) เมืองใต้”) บทสัมภาษณ์ | 347

• ฟืน้ ความหลัง (อัตชีวประวตั ิ :เสฐียรโกเศศ) โรแลนด์ สมิธ เขยี น ศิระประภา ธนากิจ “เชน อภชิ น” แปล) • สันติประชาธรรม, จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน (ป๋วย • ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว (มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ เขียน อง๊ึ ภากรณ์) รสนา โตสติ ระกูล แปล) • โครงกระดกู ในตู้ (อตั ชีวประวัติ : ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช) • ปาฏหิ ารยิ แ์ ห่งการตน่ื , เดนิ (ติช นัท ฮันห์ เขียน รสนา โตสิ • โสเครตสิ , แนวคิดปรัชญาตะวนั ตก (“ส.ศวิ รกั ษ”์ ) ตระกูล แปล) • โลกในมือนักอ่าน (A History of Reading อลั เบรโ์ ต มงั เกล • ชีวิต, เสรีภาพ, ซัมเมอร์ฮิล (เอ.เอส.นีล เขียน เตือนตา เขียน กษมา สตั ยานุรกั ษ์ แปล) สุวรรณจนิ ดา สมบูรณ์ ศภุ ศลิ ป์ แปล) • บันทึกรักนักอา่ น (A Reading Diary อัลเบร์โต มงั เกล เขยี น • ทางทรายใกล้ทะเลสาบ (อัตชีวประวัติ โดย “เขมานันทะ” จิระนนั ท์ พิตรปรชี า แปล) นพิ ทั ธ์พร เพ็งแกว้ สัมภาษณ์) • วอลเดน, Walking, ตอ่ ตา้ นอำนาจรฐั (เฮนรี่ เดวดิ ธอโร เขียน • ตำนานเสรไี ทย (วิชิตวงศ์ ณ ปอ้ มเพชร) สรุ ิยฉัตร ชยั มงคล, พจนา จนั ทรสันติ แปล) • ประวัติศาสตร์ฉบบั ยอ่ ของเอกภพ (สตีเฟน ฮอรก์ น้ิ เขียน) • บันทึกแห่งจิตวิญญาณ (Wartime Diary ๑๙๓๕ - ๑๙๔๔ • ปารีส พำนัก คน รัก หนังสือ (A Paris Sojourn at แซงเตก๊ ซเู ป รี เขียน “ศกั ด์ิ บวร” แปล) Shakespeare& Co เจอเรมี เมอรเ์ ซอร์ เขยี น “ศรรวรศิ า” แปล) • โลกของโซฟี (Sophie’s Word โยสไตน์ กอร์เดอร์ เขียน • ศลิ ปะเพื่อชีวิต, โฉมหน้าศักดนิ าไทย (จิตร ภมู ิศกั ด์ิ เขียน) สายพณิ ศพุ ทุ ธมงคล แปล) • ทฤษฎีเบ้ืองต้นแห่งวรรณคดี, ทางไปสู่วัฒนธรรมแห่งการ • ประวตั ศิ าสตร์คืออะไร (What is History อ.ี เอช.คาร์ เขยี น) วิจารณ์, จากแผ่นดินแม่สู่แผ่นดินอ่ืน, พลังปัญญาทางมนุษยศาสตร์ • ศิลปะคืออะไร? (What is art ? ลีโล ตอลสตอย เขียน (เจตนา นาควชั ระ) ดลสทิ ธ์ิ บางคมบาง แปล) • วิเคราะห์รสวรรณคดีไทย, แว่นวรรณกรรม (ม.ล.บุญเหลือ • ม้ือเช้ากับโสเครติส (Breakfast with Socratis โรเบิร์ต เทพยสวุ รรณ) • ศิลปะแขนงที่เจ็ด, ระหว่างกระจกกับตะเกียง (บุญรักษ์ 348 | ๑,๐๐๙ เล่ม วรรณกรรมเกอ้ื กูลโลก เก้ือกลู มนุษย ์

บุญญะเขตมาลา) ไทยสู่ไทยๆ, ดีไซน์ + คัลเจอร์ ๑ – ๓ (“เรณปู ัญญาดี” และประชา • ถนนหนงั สือ (รังสรรค์ ธนะพรพนั ธ)ุ์ สวุ รี านนท)์ • สายธารวรรณกรรมเพอื่ ชวี ิตของไทย (เสถียร จนั ทมิ าธร) • ยงั มคี วามหวงั , ฝรง่ั คลงั่ ผ,ี ฝรง่ั หายคลง่ั แลว้ (ไมเคลิ ไรท เขยี น) • อ่าน (ไม่) เอาเรอ่ื ง (ชศู กั ด์ิ ภทั รกุลวณิชย์) • ก้าวข้ามใหพ้ น้ ประชาธปิ ไตยแบบหลงั ๑๔ ตุลา (ธงชยั วนิ จิ - • ยอกอกั ษร ย้อนความคดิ (นพพร ประชากลุ ) จะกุล) • เลน่ แร่แปรธาตุ, ในเขาวงกต, อ่านผดิ (มุกหอม วงษ์เทศ) • บรรเลงรมย์ ๑ – ๒ (“จ๋ิว บางซือ่ ”) • สุนทรียรสแห่งวรรณคดี, สุนทรียภาพแห่งชีวิต (ร่ืนฤทัย • วาทกรรมวรรณกรรม (พเิ ชฐ แสงทอง) สัจจพนั ธ์)ุ • ถึงรอ้ ยดาวพราวพรายกระจายแสง (จิตร ภูมิศกั ดิ์ เขยี น วิชยั • ชีวิตและงานของ ปรดี ี พนมยงค์ (สพุ จน์ ดา่ นตระกลู ) นภารัศมี บรรณาธกิ าร) • ลอกคราบวัฒนธรรมฝรั่ง, พุทธศาสนาในเมืองไทยท่ีเต็มไป • จติ ร ภมู ศิ กั ด์ิ ที่ผมร้จู ัก (ทวีป วรดลิ ก) ด้วยขวากหนาม (“ส.ศิวรกั ษ”์ ) • ใจคะนึง ตำนานชีวิต ๑๐๐ ปี ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ • ปรัชญาประวัติศาสตร์, ประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ (วาณี สายประดษิ ฐ์ บรรณาธกิ าร) (วรรณมาลยั โดย ชาญวิทย์ เกษตรศริ ,ิ สุชาติ สวสั ด์ศิ ร)ี • จดหมายเหตุลาลูแบร์ (“ลาลูแบร์” เขียน สันต์ ท.โกมลบุตร • วีรชนเอเชีย (วรรณมาลัย โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, สุชาติ แปล) สวสั ดศ์ิ ร)ี • อยธุ ยา (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธกิ าร) • วรรณสาส์นสำนกึ (สภุ า ศิรมิ านนท์) • ออง ซานซูจี วีรสตรีประชาธิปไตย (ออง ซานซูจี เขียน • ชีวติ กับความใฝ่ฝัน (บรรจง บรรเจิดศิลป์) พันธมุ วดี เกตะวันดี แปล • สภาพอีสาน : ย้อนอดีตชนบทอีสาน (ฟรานซิส คริปส์ เขียน • ความเรียบง่ายไร้กาลเวลา (จอห์น เลน เขียน สดใส ขันติ “ตลุ จนั ทร์” แปล) วรพงษ์ แปล) • เรณู ปัญญาดี แบบเรยี น (ก่ึง) สำเร็จรปู อตั ลกั ษณไทย : จาก • มนุษย์ไม่ได้กินแกลบ, เรื่องส้ันสันติภาพ (วรรณมาลัย โดย บทสมั ภาษณ์ | 349