หนังสือเรยี นสาระความรูพ ืน้ ฐาน รายวชิ า คณิตศาสตร (พค31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หามจําหนา ย หนังสือเรียนเลม น้ีจัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธ์ิ เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 12 /2554
หนงั สือเรยี นสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชา คณติ ศาสตร (พค31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ลิขสทิ ธ์ิเปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 12/2554
คํานาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียน ชุดใหมนี้ข้ึน เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ทีม่ ีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเ รียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเ รียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเ รยี นอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปล่ียนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรแู ละจากสื่ออื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเ กี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเน้ือหาสาระจากสื่อตางๆ เพ่ือใหไดส่ือท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเ รียนที่อยูน อกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานกั งาน กศน.
สารบัญ 1 คาํ นาํ 15 คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื โครงสรา งวิชาคณิตศาสตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 29 บทท่ี 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ บทท่ี 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ 53 บทท่ี 3 เซต บทท่ี 4 การใหเหตผุ ล 65 บทท่ี 5 อตั ราสวนตรีโกณมิติและการนําไปใช บทท่ี6 การใชเครื่องมือและการออกแบบผลิตภัณฑ 89 บทท่ี 7 สถิตเิ บื้องตน บทท่ี 8 ความนาจะเปน 114 เฉลยแบบฝกหัด 145 เฉลยบทที่ 1 เฉลยบทที่ 2 164 เฉลยบทที่ 3 165 เฉลยบทที่ 4 171 เฉลยบทที่ 5 175 เฉลยบทที่ 6 180 เฉลยบทที่ 7 184 เฉลยบทที่ 8 195 205 214
คําแนะนาํ การใชแ บบเรียน หนังสอื เรียนสาระความรูพ ้นื ฐาน รายวชิ า คณิตศาสตร (พค 31001) ระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย เปน หนงั สือเรยี นท่จี ัดทาํ ข้ึน สาํ หรบั ผเู รียนท่ีเปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสอื เรยี นสาระความรูพื้นฐาน รายวิชา คณติ ศาสตร ผูเรียนควรปฏบิ ัติดังน้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและ ขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กาํ หนด ถาผเู รยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศึกษา และทําความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใหเ ขา ใจกอนท่ีจะศึกษาเรอื่ งตอไป 3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทา ยเรื่องของแตล ะเร่ือง เพื่อเปนการสรุปความรูความเขาใจของ เน้อื หาในเร่ืองน้ันๆอกี ครงั้ และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตละเน้อื หาในแตละเรื่อง ผเู รียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกับครแู ละเพ่ือนๆท่รี วมเรียนในรายวิชาและระดับ เดยี วกนั ได แบบเรียนเลม น้มี ี 8บทคือ บทที่ 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ บทที่ 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทที่ 3 เซต บทที่ 4 การใหเ หตุผล บทที่ 5 อัตราสวนตรีโกนมิติและการนําไปใช บทท6ี่ การใชเครื่องมอื และการออกแบบผลติ ภณั ฑ บทที่ 7 สถิติเบื้องตน บทที่ 8 ความนาจะเปน
โครงสรา งรายวชิ าคณิตศาสตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสําคัญ มคี วามรคู วามเขาใจเกย่ี วกบั จํานวนและตัวเลข เศษสวน ทศนยิ มและรอ ยละ การวัด เรขาคณิต สถิติ และความนาจะเปนเบื้องตน ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั ๑. ระบุหรือยกตัวอยางเกี่ยวกับจํานวนและตัวเลข เศษสวน ทศนยิ มและรอ ยละ การวดั เรขาคณิต สถิติ และความนาจะเปนเบื้องตนได ๒. สามารถคิดคาํ นวณและแกโจทยปญ หาเก่ียวกับจํานวนนบั เศษสวน ทศนิยม รอยละ การวดั เรขาคณิตได ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 จาํ นวนและการดาํ เนินการ บทที่ 2 เลขยกกําลังที่มีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ บทที่ 3 เซต บทที่ 4 การใหเ หตุผล บทที่ 5 อัตราสวนตรีโกนมิติและการนําไปใช บทที6่ การใชเ ครื่องมือและการออกแบบผลิตภัณฑ บทที่ 7 สถติ เิ บอ้ื งตน บทที่ 8 ความนาจะเปน ส่อื การเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนังสอื เรยี น
1 บทที่ 1 จํานวนและการดาํ เนินการ สาระสําคัญ 1. โครงสรางของจํานวนจรงิ ประกอบไปดวย จํานวนตรรกยะ จาํ นวนอตรรกยะ และ จาํ นวนเตม็ 2. สมบตั ขิ องจํานวนจริงทีเ่ ก่ียวกบั การบวกและการคณู ประกอบไปดวยสมบัตปิ ด สมบัตกิ ารเปลยี่ นกลมุ สมบตั กิ ารสลับที่ การมีอนิ เวอรส การมีเอกลักษณและสมบัติ การแจกแจง 3. สมบัติการเทากันจะใชเครื่องหมาย “=” แทนการมีคาเทากัน 4. สมบัติการไมเทากันจะใชเครื่องหมาย “ ≠ , < , >, ≤ , ≥” 5. คาสัมบรู ณใชส ญั ลักษณ “ | |” แทนคาสัมบรู ณซ ง่ึ x ถา x >0 x = 0 ถา x = 0 - x ถา x < 0 ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั 1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริงได 2. อธิบายความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารจาํ นวน จรงิ ได 3. อธิบายสมบัตขิ องจํานวนจริงที่เกยี่ วกับการบวก การคูณ การเทากัน การไมเทากนั และนาํ ไปใชไ ด 4. อธิบายเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสมบูรณของจํานวนจริงได ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองท่ี 1 ความสัมพันธของระบบจํานวนจริง เร่ืองท่ี 2 สมบตั ขิ องการบวก การลบ การคณู และการหารจํานวนจรงิ เรื่องท่ี 3 สมบัติการไมเทากัน เร่ืองท่ี 4 คา สมั บรู ณ
2 เรื่องที่ 1 ความสมั พนั ธข องระบบจาํ นวนจริง 1.1. โครงสรา งของจาํ นวนจรงิ จาํ นวนจรงิ จาํ นวนอตรรกยะ จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนท่ีเขยี นใน ทศนิยม จาํ นวนเตม็ ทศนิยมซาํ้ เศษสว น ไมร ูจบไมซ า้ํ รูปของกรณฑ หรือเรียกวา จาํ นวนนบั หรือ ศนู ย จาํ นวน รากหรือรูต จาํ นวนเตม็ บวก เตม็ ลบ จาํ นวนจรงิ ( Real number ) ประกอบดวยจาํ นวนตรรกยะและจาํ นวนอตรรกยะ 1. จาํ นวนตรรกยะ ( Rational number ) ประกอบดว ย จํานวนเตม็ ทศนิยมซํ้า และเศษสว น 1. จํานวนเต็ม ซึ่งแบงเปน 3 ชนิด คือ 1.1 จาํ นวนเตม็ บวก (I+) หรอื จาํ นวนนบั (N) ∴ I+ = N = {1, 2, 3, …} 1.2 จํานวนเต็มศูนย มีจาํ นวนเดียว คือ {0} 1.3 จาํ นวนเตม็ ลบ (I-) ∴ I- = {-1, -2, -3, …} 2. เศษสว น เชน 3 , 3 3 , - 5 เปน ตน 4 47 3. ทศนิยมซา้ํ เชน 0.6 , 0.12 , 0.532 2. จาํ นวนอตรรกยะ ( irrational number ) คือจํานวนที่ไมใชจ าํ นวนตรรกยะ เขยี นไดใ นรปู ทศนยิ มไมซ้ํา เชน 2 มีคา เทา กบั 1.414213… 3 มีคา เทา กับ 1.7320508… π มีคาเทากับ 3.14159265… 0.1010010001… มีคาประมาณ 1.101
3 แบบฝกหดั ที่ 1 1.จาํ นวนทก่ี าํ หนดใหต อไปนจ้ี าํ นวนใดเปน จาํ นวนนบั จํานวนเตม็ จาํ นวนตรรกยะ หรือ จาํ นวนอตรรกยะ ขอ จาํ นวนจรงิ จาํ นวนนบั จาํ นวนเตม็ จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนอตรรกยะ 1) − 9,− 7 ,5 2 , 2,0,1 23 2) 5,−7 7 ,3,12, 5 34 3) 2.01,0.666...,-13 , 4) 2.3030030003..., 5) − π ,− 1 , 6 , 2 ,−7.5 33 2 6) 25,−17,− 12 , 9,3,12, 1 π 52 2. จงพจิ ารณาวา ขอความตอ ไปนี้เปนจริงหรอื เท็จ 1) 0.001001001001…เปน จํานวนตรรกยะ 2) 0.110110110110… เปน จํานวนตรรกยะ 3) 0.767667666766667… เปน จาํ นวนตรรกยะ 4) 0.59999…. เปน จาํ นวนตรรกยะ 5) 0 เปน จาํ นวนจรงิ 6) จํานวนทเ่ี ขียนไดใ นรปู ทศนยิ มซํา้ ไมเปน จาํ นวนตรรกยะ
4 2. สมบตั กิ ารบวก การลบ การคณู และการหารจาํ นวนจรงิ สมบตั ิของจํานวนจรงิ คือ การนาํ จํานวนจรงิ ใด ๆ มากระทาํ ตอ กันในลกั ษณะ เชน การบวก การลบ การคณู การหาร หรือกระทาํ ดวยลกั ษณะพิเศษท่ีกําหนดขน้ึ แลวมีผลลัพธที่ เกิดขึ้นในลักษณะหรือทํานองเดยี วกนั สมบัตทิ ใ่ี ชใ นการบวก การลบ การคูณ และการหาร มีดังน้ี 2.1 สมบตั กิ ารเทา กนั ของจํานวนจริง กาํ หนด a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ สมบัติการสะทอน a=a สมบัติการสมมาตร ถา a = b แลว b = a สมบัติการถายทอด ถา a = b และ b = c แลว a = c สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากันทั้งสองขาง ถา a = b แลว a + c = b + c สมบัตกิ ารคณู ดวยจํานวนท่ีเทากนั ท้ังสองขา ง ถา a = b แลว ac = bc 2.2 สมบตั ิการบวกและการคูณในระบบจาํ นวนจรงิ เมอ่ื กําหนดให a, b และ c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ 2.2.1 สมบัติการบวก สมบตั ปิ ด ถา a ∈R และ b ∈R แลว a + b ∈ R สมบัติการสลับที่ a+b= b+a สมบัติการเปล่ียนกลุม a + (b + c) = (a + b) + c สมบัติการมเี อกลกั ษณก ารบวก คือ 0 0+a = a+0 = a สมบัติการมีอินเวอรสการบวก a มอี ินเวอรส การบวก คอื − a และ − a มอี ินเวอรส การบวก คอื a จะได a + (−a) = (−a) + a = 0 นนั่ คือจาํ นวนจริง a จะมี − a เปน อนิ เวอรส ของการบวก 2.2.2 สมบตั กิ ารคูณ ถา a ∈R และ b ∈R แลว ab ∈ R สมบตั ปิ ด ab = ba สมบัติการสลับที่ a(bc) = (ab)c สมบัติการเปลี่ยนกลมุ 1. a = a .1 = a สมบัติการมีเอกลักษณการบวก คือ 1 สมบัติการมอี นิ เวอรส การคณู a มอี นิ เวอรส การคณู คือ 1 และ (ยกเวน 0 เพราะ 1 ไมมีความหมาย) a 0 1 มอี นิ เวอรสการคูณ คือ a a
5 สมบตั กิ ารแจกแจง จะได a 1 = 1 a = 1 ; a ≠ 0 a a นัน่ คือ จํานวนจรงิ a จะมี 1 เปน a อินเวอรสการคูณ a(b + c) = ab + ac (b + c)a = ba + ca จากสมบัติของจํานวนจริงสามารถใชพิสูจนทฤษฎีบทตอ ไปนไี้ ด ทฤษฎบี ทท่ี 1 กฎการตัดออกสําหรบั การบวก เมอ่ื a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ ถา a + c = b + c แลว a = b ถา a + b = a + c แลว b = c ทฤษฎบี ทท่ี 2 กฎการตัดออกสําหรบั การคูณ เมอ่ื a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ ถา ac = bc และ c ≠ 0 แลว a = b ถา ab = ac และ a ≠ 0 แลว b = c ทฤษฎบี ทท่ี 3 เม่ือ a เปน จาํ นวนจริงใดๆ a·0=0 0·a=0 ทฤษฎบี ทท่ี 4 เมื่อ a เปน จาํ นวนจริงใดๆ (-1)a = -a a(-1) = -a ทฤษฎีบทที่ 5 เม่อื a, b เปน จาํ นวนจริงใดๆ ถา ab = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0 ทฤษฎบี ทท่ี 6 เมือ่ a เปน จาํ นวนจริงใดๆ a(-b) = -ab (-a)b = -ab (-a)(-b) = ab
6 การลบและการหารจํานวนจรงิ • การลบจาํ นวนจรงิ บทนิยาม เมอ่ื a, b เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ a - b = a + (-b) นั่นคอื a - b คือ ผลบวกของ a กับอินเวอรสการบวกของ b • การหารจาํ นวนจรงิ บทนิยาม เมอ่ื a, b เปน จาํ นวนจริงใดๆ เมอ่ื b ≠ 0 a = a( b−1) b น่นั คอื a คือ ผลคูณของ a กับอินเวอรสการคูณของ b b
7 แบบฝกหัดท่ี 2 1. ใหผเู รยี นเติมชองวา งโดยใชสมบตั ิการเทากัน 1. ถา a = b แลว a +5 = ………………………………………………………..…………… 2. ถา a = b แลว -3a = …………………………………………………………………..… 3. ถา a + 4 = b + 4 แลว a =……………………………………………………….………… 4. ถา a +1 = b +2 และ b +2 = c -5 แลว a +1………………………………….…..……… 5. ถา x2 + 2x +1 = (x +1)2 แลว (x +1)2 = .…………………………………………… 6. ถา x = 3 y แลว 2x = ………………………………………………………….………… 2 7. ถา x2 +1 = 2x แลว (x −1)2 = ……………………………………………….….……… 8. ถา ab = a + b แลว 1 (ab)= ……………………………………………….…………. 2 2. กาํ หนดให a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ จงบอกวาขอความในแตละขอตอไปนี้เปนจริงตาม สมบัตใิ ด 1) 3 + 5 = 5 + 3 2) (1+2)+3 = 1+(2+3) 3) (-9)+5 = 5 +(-9) 4) (8 X 9) เปน จาํ นวนจรงิ 5) 5 X 3 = 15 = 3 X 5 6) 2(a+b) = 2a +2b 7) (a + b) + c = a+( b + c) 8) 9a +2a = 11 a = 2a + 9a 9) 4 X (5 + 6) = (4 X 5) + (4 X 6) 10) c(a +b) = ac +bc 3 . เซตทก่ี าํ หนดใหในแตละขอ ตอไปนี้ มีหรือไมมีสมบัติปดของการบวกหรือสมบัติปดของการคูณ 1) { 1 , 3 , 5 } 2) { 0 } 3) เซตของจาํ นวนจรงิ 4) เซตของจาํ นวนตรรกยะ 5) เซตของจาํ นวนทห่ี ารดว ย 3 ลงตวั
8 4. จงหาอินเวอรสการบวกของจํานวนจรงิ ในแตล ะขอ ตอไปน้ี 1) อินเวอรสการบวกของ 8 2) อนิ เวอรส การบวกของ - 5 3) อนิ เวอรส การบวกของ - 0.567 4) อินเวอรสการคณู ของ 3 − 2 5) อนิ เวอรส การคณู ของ 1 5− 3
9 3. สมบัตกิ ารไมเ ทา กนั ใหผ เู รียนทบทวนเรอื่ งสมบตั ิการเทากนั ในเรื่องทผี่ า นมาเพือ่ เปน ความรูเ พิ่มเติม สว นใน เร่ืองนจ้ี ะเนน เร่ืองสมบัติการไมเ ทา กนั เทานน้ั ประโยคคณิตศาสตรจะใชส ัญลักษณ > , < , ≥ , ≤ , ≠ แทนการไมเทากัน เรยี กการไมเ ทากนั วา “อสมการ” (Inequalities) บทนิยาม a < b หมายถึง a นอ ยกวา b a > b หมายถึง a มากกวา b กาํ หนดให a, b, c เปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ 1. สมบัตกิ ารถา ยทอด ถา a > b และ b > c แลว a > c 2. สมบตั ิการบวกดวยจํานวนที่เทา กนั ถา a > b แลว a + c > b+ c 3. จาํ นวนจรงิ บวกและจาํ นวนจรงิ ลบ a เปนจาํ นวนจริงบวก กต็ อเมื่อ a > 0 a เปน จํานวนจรงิ ลบ กต็ อเมือ่ a < 0 4. สมบัตกิ ารคณู ดว ยจาํ นวนเทากันทไี่ มเทา กับศนู ย กรณีที่ 1 ถา a > b และ c > 0 แลว ac > bc กรณีที่ 2 ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc 5. สมบัตกิ ารตดั ออกสําหรับการบวก ถา a + c > b + c แลว a > b 6. สมบตั กิ ารตัดออกสําหรับการคณู กรณีท่ี 1 ถา ac > bc และ c > 0 แลว a > b กรณีที่ 2 ถา ac > bc และ c < 0 แลว a < b บทนิยาม a≤b หมายถึง a นอ ยกวา หรอื เทากบั b a≥b หมายถึง a มากกวาหรอื เทากับ b a<b<c หมายถึง a < b และ b < c a≤b≤c หมายถึง a ≤ b และ b ≤ c
10 ชว ง (Interval) ชวง หมายถึง เซตของจาํ นวนจริงที่เปน สว นใดสวนหนึง่ ของเสน จาํ นวน 3.1 ชว งของจาํ นวนจรงิ กาํ หนดให a, b เปน จาํ นวนจรงิ และ a < b 12 1. ชวงเปด (a, b) (a, b) = { x | a < x < b } 2. ชวงปด [a, b] [a, b] = { x | a ≤ x ≤ b } 3. ชวงครึ่งเปด (a, b] (a, b] = { x | a < x ≤ b } 4. ชวงครึ่งเปด [a, b) [a, b) = { x | a ≤ x < b} 5. ชวง (a, ∞) (a, ∞) = { x | x > a} 6. ชวง [a, ∞) [a, ∞) = { x | x ≥ a} 7. ชวง (-∞, a) (-∞, a) = { x | x < a} 8. ชวง (-∞, a] (-∞, a] = { x | x ≤ a}
11 แบบฝกหัดท่ี 3 1. ใหผูเรยี นบอกสมบัตกิ ารไมเ ทากนั (เม่ือตวั แปรเปน จาํ นวนจรงิ ใดๆ) 1. ถา x < 3 แลว 2x <6 ……………………………………………………………….. 2. ถา y>7 แลว -2y < 14 ……………………………………………………………….. 3. ถา x+1 > 6 แลว x+2 > 7 ………………………………………………………….. 4. ถา y+3 < 5 แลว y< 2 ……………………………………………………………… 5. ถา x< 7 และ 7< y แลว x<y ………………………………………………………. 6. ถา a > 0 แลว a+1 > 0 +1 …………………………………………………………. 7. ถา b< 0 แลว b + (-2) < 0+(-2) …………………………………………………… 8. ถา c> -2 แลว (-1)c < (-1)(-2) ……………………………………………………. 2. จงใชเสนจํานวนแสดงลักษณะของชวงของจํานวนจริงตอไปนี้ 1) (2,7) 2) [3,6] 3) [-1,5) 4) (-1,4]
12 5) (2, ∞ ) 6) (- ∞ ,4) 7) (0,8) 8) [-5,4)
13 4. คา สมบรู ณ คา สมั บรู ณข องจํานวนจรงิ หมายถึง ระยะหา งจากจดุ ศูนยบ นเสนจํานวน พิจารณาคา สมั บูรณของ 4 และ -4 –6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6 4 อยูหา งจาก 0 4 หนวย คาสัมบูรณข อง 4 คือ 4 - 4 อยหู า งจาก 0 4 หนวย คา สัมบูรณของ -4 คอื 4 น่ันคือ คา สัมบูรณของจํานวนจรงิ ใดๆ ตองมีคา มากกวา หรือเทากับศนู ยเ สมอ สัญลักษณแ ทนคาสมั บรู ณค อื | | เชน คาสมั บรู ณของ 4 คือ |4| คาสัมบูรณของ – 4 คือ |-4| บทนยิ าม กําหนดให a เปน จํานวนจรงิ 4.1 สมบตั ิของคา สมั บรู ณ 1. | x | = | -x | 2. | xy | = | x||y | 3. x = x yy 4. | x - y | = | y - x | 5. | x |2 = x2 6. | x + y | ≤ | x | +| y | 6.1 ถา xy > 0 แลว | x + y | = | x | + | y | 6.2 ถา xy < 0 แลว | x + y | < | x | + | y | 7. เมอ่ื a เปน จาํ นวนจรงิ บวก | x | < a หมายถึง -a < x < a | x | ≤ a หมายถึง -a ≤ x ≤ a 8. เมอ่ื a เปน จาํ นวนจรงิ บวก | x | > a หมายถึง x < -a หรือ x > a | x | ≥ a หมายถึง x ≤ -a หรอื x ≥ a
14 1) | x | ≥ 2 แบบฝก หัดท่ี 4 เซตคําตอบของอสมการ คอื ................................................................................................................... -3 < X < 3 เซตคําตอบของอสมการ คอื ................................................................................................................... เซตคาํ ตอบของอสมการ คอื ................................................................................................................... -x ≤ -3 -2 หรอื -x ≥ -3 -2 -x ≤ -5 หรอื –x ≥ 1 -x ≥ 5 หรือ x ≤ -1 เซตคาํ ตอบของอสมการ คอื ...................................................................................................................
15 บทท่ี 2 เลขยกกําลงั ทีม่ ีเลขชก้ี าํ ลงั เปนจาํ นวนตรรกยะ สาระสําคัญ อานวา a ยกกําลงั n โดยมี a เปน ฐาน และ n เปนเลขช้กี ําลงั 1. 2. อานวา กรณฑท ี่ n ของ a หรืออา นวา รากท่ี n ของ a 3. จํานวนจรงิ ที่อยูใ นรปู เลขยกกาํ ลังทีม่ เี ลขชก้ี ําลังเปน จํานวนตรรกยะจะมีความสมั พันธกบั จาํ นวนจรงิ ที่อยูในรูปของกรณฑหรอื ราก ( root ) ตามความสัมพันธดังตอไปนี้ และ 4. การบวก ลบ คณู หาร จาํ นวนท่ีมีเลขชกี้ าํ ลังเปนจาํ นวนตรรกยะโดยใชบทนิยามการบวก ลบ คูณ หาร เลขยกกาํ ลงั ของจํานวนเตม็ ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั 1. อธิบายความหมายและบอกความแตกตางของจํานวนตรรกยะและอตรรกยะได 2. อธิบายเก่ียวกบั จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลงั ท่มี เี ลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะ และ จํานวนจริงในรูปกรณฑได 3. อธบิ ายความหมายและหาผลลพั ธท เี่ กิดจากการบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนจรงิ ท่ี อยูในรปู เลขยกกาํ ลงั ท่มี ีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจรงิ ในรูปกรณฑได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 จํานวนตรรกยะและอตรรกยะ เร่ืองท่ี 2 จํานวนจริงในรปู กรณฑ เรื่องท่ี 3 การบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนทม่ี ีเลขชกี้ ําลังเปนจํานวนตรรกยะและ จาํ นวนจรงิ ในรปู กรณฑ
16 เร่อื งท่ี 1 จํานวนตรรกยะ และจาํ นวนอตรรกยะ 1.1 จาํ นวนตรรกยะ หมายถึง จาํ นวนทเ่ี ขยี นแทนในรปู เศษสว น a เมอ่ื a และ b เปน จาํ นวนเตม็ b และ b ≠ 0 ตัวอยา ง จาํ นวนท่เี ปนจํานวนตรรกยะ เชน จํานวนเตม็ , เศษสว น , ทศนิยมซ้าํ เปนตน 1.2 จาํ นวนอตรรกยะ หมายถงึ จํานวนที่ไมสามารถเขียนใหอยใู นรูปของเศษสวน a เม่ือ a และ b b เปน จาํ นวนเตม็ และ b ≠ 0 จาํ นวนอตรรกยะประกอบดวยจาํ นวนตอ ไปน้ี เปนทศนิยมแบบไมซา้ํ เชน 1.235478936... 5.223322233322223333... ความแตกตางระหวา งจาํ นวนตรรกยะ และจาํ นวนอตรรกยะ จํานวน จาํ นวนเตม็ เศษสวน ความแตกตาง คาทางพีชคณิต ตรรกยะ มี มี ทศนยิ ม อตรรกยะ - คาทางพีชคณิตที่หาคาได ไมมี ไมมี - ทศนยิ มรจู บ ลงตัว หรือไดคําตอบเปน - ทศนยิ มรูจบแบบซาํ้ เศษสว น - ทศนิยมไมร ูจบ - คาทางพีชคณิตที่มีคา เฉพาะ เชน 2, 3, 5,π ,e เปน ตน 1.3 เลขยกกําลงั ทม่ี ีเลขชีก้ าํ ลงั เปนจาํ นวนเตม็ นิยามเลขยกกําลัง an หมายถึง a ×x a × a ×a…………….. × a n ตวั เมอื่ a เปนจาํ นวนใด ๆ และ n เปน จาํ นวนเตม็ บวก เรยี ก an วาเลขยกกาํ ลงั ทีม่ ี a เปน ฐาน และ n เปนเลขช้ีกาํ ลงั เชน 54 = 5 × 5 × 5 × 5 = 625 ถา a,b เปน จาํ นวนจรงิ ใด m และ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไดกฎของการยกกําลัง ดังนี้ กฎขอ ท่ี 1 =a m ⋅ b n a m+n กฎขอที่ 2 (ab)n = a nbn กฎขอ ท่ี 3 ( ) =am n a mn
17 กฎขอที่ 4 เม่ือ x ≠ 0 am = 1 ถา m = n bn = a m−n ถา m > n =1 ถา n > m กฎขอท่ี 5 a n−m เมอ่ื y ≠ 0 x n = xn y yn นิยาม a = 1 เมอ่ื a เปน จาํ นวนจริงใด ๆ ทไี่ มเทา กบั ศูนย นิยาม a−n = 1 เมอ่ื a เปน จํานวนจรงิ ใด ๆ ท่ไี มเทากบั ศนู ยแ ละ n เปน จาํ นวนเตม็ บวก an
18 แบบฝก หัดท่ี 1 1. จงบอกฐานและเลขชก้ี าํ ลงั ของเลขยกกาํ ลงั ตอ ไปน้ี 1) 63 ฐานคือ.....................................เลขชี้กาํ ลังคอื ................................. 2) (1.2) −5 ฐานคือ.................................เลขช้ีกําลงั คือ................................. 3) ( − 5)0 ฐานคือ.................................เลขช้ีกาํ ลังคือ................................... 3 4) 1 ฐานคือ.....................................เลขชกี้ ําลังคอื ................................. 2 2. จงหาคา ของเลขยกกาํ ลังตอ ไปน้ี 1) ( − 4)5 = ………………………. 4 2) 1 = ………………………..…. 5 3) (1.2)3 = …………………………. 4) ( 3)6 = …………………………. 3. จงทําใหอยใู นรปู อยางงายและเลขช้ีกําลงั เปน จาํ นวนเตม็ 1) (a2 )4 = …………………………. ( )2) 5 3 4 = …………………………. = …………………………. 3) 4 5 = …………………………. 2 3 4) ( )(1.1)5 3 ( )5) x−2 −5 = ………………………….
19 เรื่องท่ี 2 จํานวนจริงในรปู กรณฑ การเขียนเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะสามารถทําไดโดยอาศัยความรูเรื่อง รากที่ n ของจํานวนจริง a ( ซง่ึ เขียนแทนดวยสญั ลกั ษณ a ) และมบี ทนยิ ามดงั น้ี นยิ าม ให n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1 a และ b เปน จาํ นวนจรงิ a เปนรากท่ี n ของ b ก็ตอ เมอ่ื an = b ตวั อยา ง กต็ อเม่ือ a=n b an = b 2=3 8 ก็ตอ เม่ือ 23 = 8 − 3 = 5 − 243 กต็ อเม่ือ (− 3)5 = −243 ลองทาํ ดู 9 = 3×3 3 เปนรากที่ 2 ของ 9 3 8 = ………….……………………….. 4 81 = …………………………………… 5 −32 = ……………………………………. สมบตั ขิ องรากท่ี n ของจาํ นวนจรงิ เมอ่ื n เปนจาํ นวนเต็มบวกท่ีมากกวา 1 1 n a = an ( )1. a เมอ่ื a ≥ 0 เมอื่ a < 0 และ n เปน จาํ นวนค่ี 2.) n an = a 3) n ab เมื่อ a < 0 และ n เปนจํานวนคู | a | = n a•n b 4). n a = n a ,b≠0 b nb
20 ตัวอยาง 1 24 = 16 และ (-2)4 = 16 2 เปน รากท่ี 4 ของ 16 เพราะ 24 = 16 -2 เปนรากที่ 4 ของ 16 เพราะ (-2)4 = 16 ∴รากท่ี 4 ของ 16 คือ 2 และ -2 ตวั อยา ง 2 23 = 8 2 เปน รากที่ 3 ของ 8 เพราะ 23 = 8 แต -2 ไมใ ชเปน รากที่ 3 ของ 8 เพราะ (-2)3 = -8 ∴รากท่ี 3 ของ 8 คือ 2 นยิ าม ให a เปน จาํ นวนจรงิ และ n เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1 จะเรียก n a วา รากที่ n ของ a หรือ กรณฑอันดบั ที่ n ของ a โดยท่ี 1. ถา n เปน จาํ นวนคูแลว a ตอ ง ≥ 0 2. ถา n เปน จาํ นวนค่ีแลว a เปน จาํ นวนจรงิ หมายเหตุ 1. เครื่องหมาย “ ” เรียกวา เคร่ืองหมาย กรณฑ เขียน “n” วา เปน อันดบั ท่ี 2. เมอ่ื a เปนจาํ นวนจริงใด ๆ จํานวนจริงท่ีเขยี นในรูป n a เรียก กรณฑ เชน 5, 3 25, 3 − 64
21 แบบฝก หัดที่ 2 1. จงหาคาของรากที่ n ของจํานวนจริงตอไปนี้ 1) 25 = ………………………. 2) 64 = ………………………. 3) 5 −243 = ………………………. 4) 3 −125 = ………………………. 5) 8 = ………………………. 3 27 6) 4 16 = ………………………. 7) 3 125 = ………………………. 8) −64 = ………………………. 9) 3 −8 = ………………………. 10) 4 −16 = ………………………. 2. จงเขียนจํานวนตอไปน้ีใหอยูใ นรูปอยา งงาย โดยใชสมบัติของ รากที่ n 1) 52 = ……………………..………… 2) 3 23 = ………………….……….. 3) 3 (−2)3 = ……………………………. 4) 5 (−2)5 =……………….……….. 5) (−3)2 = ………………..…………… 5) 4 (−2)4 =……………………….. 6) 200 = …………………………… 7) 75 = …………………..………. 8) 3 240 = …………………………… 9) 45 = …………………..………. 10) 5 15 = …………….……………. 11) 3 81⋅ 3 32 = ……………………. 12) 4 = 4 = ……………………. 13) 5 = ………………………….. 3 99 8
22 เร่ืองท่ี 3 การบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนท่ีมเี ลขชกี้ าํ ลงั เปน จาํ นวนตรรกยะและ จาํ นวนจริงในรปู กรณฑ 3.1 การบวก และการลบจํานวนทอ่ี ยูในรูปกรณฑ สมบัติของการบวกจํานวนจริง ขอหนึ่งที่สําคัญและมีการใชมาก คือ สมบัติการแจกแจงในการ บวก พจนคลา ย ดังตัวอยาง 1) 3x + 5x = (3 + 5)x = 8x สมบัติของการแจกแจง 2) 8a − 3a = (8 − 3)a = 5a ดวยวิธีการเชน นเ้ี ราสามารถนาํ มาใชในเร่ืองการบวก การลบ ของจาํ นวนที่อยใู นรปู กรณฑที่ เรยี กวา “พจนคลาย” ซึ่งเปนกรณฑอ ันดบั เดยี วกัน จํานวนที่อยภู ายในเครือ่ งหมายกรณฑเ ปน จํานวน เดยี วกนั เราทราบวา 3 2 = 3× 2 และ 5 2 = 5× 2 ( ) ( )ดังนั้น 3 2 + 5 2 = 3× 2 + 5× 2 = (3 + 5) 2 (สมบตั กิ ารแจกแจง) =8 2 ตัวอยางท่ี 1 จงหาคา ของ 12 + 27 − 3 วธิ ที ํา 12 + 27 − 3 = 4 × 3 + 9 × 3 − 3 ตวั อยา งที่ 2 จงหาคาของ = 2 3+3 3− 3 = (2 + 3 −1) 3 = 43 20 + 45 − 125 วธิ ีทํา 20 + 45 − 125 = 4 5 + 9 5 − 25 5 = 2 5+3 5−5 5 = (2 + 3 − 5) 5 =0 5 =0 ตัวอยางท่ี 3 จงหาคาของ 3 20 + 2 18 − 45 + 8 วธิ ที าํ 3 20 + 2 18 − 45 + 8 = (3)(2) 5 + (2)(3) 2 − 3 5 + 2 2 = 6 5+6 2−3 5+2 2 = 6 5−3 5+6 2+2 2 = 3 5+8 2
23 3.2 การคูณ และการหารจํานวนท่อี ยูใ นรูปกรณฑ การคูณ จากสมบตั ขิ อที่ 3 ของรากที่ n ท่กี ลา ววา n ab = n a • n b เม่ือ n a และ n b เปน จาํ นวนจริง ∴ ตัวอยางท่ี 2 (3 8)(5 2) = 3⋅ 8 ⋅ 5 ⋅ 2
24 การหาร ใชส มบัตขิ อ 4 ของรากท่ี n ที่กลาววา n a = n a เมอ่ื b ≠ 0 nb b หรือใชสมบตั ขิ อ 3 ของรากที่ n ทีก่ ลา ววา =2 หรือใชส มบัติท่ีวา ดวยการคูณตัวเศษและตวั สวนดว ยจํานวนเดียวกัน = 20 ⋅ 5 = 100 = 10 5 55 =2
25 จงทาํ จาํ นวนตอไปนีใ้ หอ ยใู นรูปอยางงาย แบบฝกหัดที่ 3 1) 8x2 2) 4 256 3) 3 8y 6 4) 5 − 32 5) 3 8 − 2 + 32 6) 3 5( 10 + 2 5) 7) 3 2a 2 ⋅ 3 4a 8) 3 54 ⋅ 3 4
26 3.2 เลขยกกาํ ลงั ท่ีมีกําลงั เปนจาํ นวนตรรกยะ บทนิยาม เมอื่ a เปน จาํ นวนจรงิ n เปน จาํ นวนเตม็ ทีม่ ากกวา 1 และ a มีรากท่ี n จะไดว า 1 an = n a ตวั อยา งท่ี 1 1 1 93 = 3 9 32 = 3 1 1 73 = 3 7 82 = 8 บทนิยาม ให a เปน จาํ นวนเต็มที่ n > 0 และ m เปน เศษสว นอยา งตา่ํ จะไดวา n
27 แบบฝกหัดท่ี 4 1. จงทําจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปอยางงาย 1) 8x2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 2) 3 3 − 27 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 3) ( 2 + 8 + 18 + 32)2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. 4) 5 −32 + 26 3 27 3 (64) 2 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………
28 21 5) 8 3 ⋅ 18 2 4 144 6 …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….
29 บทท่ี 3 เซต สาระสําคัญ 1. เซต โดยท่วั ไปหมายถึง กลมุ คน สตั ว สิ่งของ ที่รวมกันเปน กลมุ โดยมีสมบตั ิบางอยา ง รว มกัน และบรรดาสงิ่ ทั้งหลายที่อยใู นเซตเราเรยี กวา “ สมาชิก” ในการศึกษาเรื่องเซตจะ ประกอบไปดว ย เซต เอกภพสมั พทั ธ สบั เซตและเพาเวอรเซต 2. การดําเนินการบนเซต คือ การนาํ เซตตา ง ๆ มากระทํารวมกันเพอื่ ใหเ กิดเปน เซตใหม ซึ่ง ทาํ ได 4 วิธีคือ การยเู นย่ี น การอินเตอรเซคชนั่ ผลตางระหวางเซต และการคอมพลีเมนต 3. แผนภาพเวนน – ออยเลอร จะชว ยใหก ารพิจารณาเกย่ี วกบั เซตไดงายขน้ึ โดยใชห ลกั การคอื 3.1 ใชรปู สี่เหลีย่ มผนื ผาแทนเอกภพสมั พัทธ “U” 3.2 ใชวงกลมหรือวงรีแทนเซตตาง ๆ ที่เปนสมาชิกของ “U” และเขียนภายในสีเ่ หลี่ยมผนื ผา ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง 1. อธิบายความหมายเกี่ยวกับเซตได 2. สามารถหายูเนย่ี น อินเตอรเซกชัน่ คอมพลเี มนต และผลตางของเซตได 3. เขียนแผนภาพแทนเซตและนําไปใชแกปญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซตได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 เซต เร่ืองท่ี 2 การดาํ เนนิ การของเซต เร่ืองท่ี 3 แผนภาพเวนน - ออยเลอรแ ละการแกป ญหา
30 เร่อื งที่ 1 เซต (Sets) 1.1 ความหมายของเซต เซต หมายถึง กลมุ สิ่งของตางๆ ไมวาจะเปน คน สัตว สิ่งของหรือนิพจนทางคณิตศาสตร ซงึ่ ระบุ สมาชิกในกลมุ ได ยกตวั อยา ง เซต เชน 1) เซตของวิทยาลัยเทคนิคในประเทศไทย 2) เซตของพยัญชนะในคําวา “คณุ ธรรม” 3) เซตของจาํ นวนเตม็ 4) เซตของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจงั หวดั สกลนคร เรียกส่งิ ตาง ๆทอ่ี ยใู นเซตวา “สมาชิก” ( Element ) ของเซตน้ัน เชน 1) วิทยาลัยเทคนิคดอนเมืองเปนสมาชิกเซตวิทยาลัยเทคนิคในประเทศไทย 2) “ร” เปนสมาชิกเซตพยัญชนะในคําวา “คณุ ธรรม” 3) 5 เปนสมาชิกของจํานวนเต็ม 4) โรงเรียนดงมะไฟวิทยาเปนสมาชิกเซตโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด สกลนคร 1.2 วธิ ีการเขียนเซต การเขยี นเซตเขยี นได 2 แบบ 1. แบบแจกแจงสมาชิกของเซต โดยเขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมายวงเล็บ ปกกาและใชเครื่องหมายจุลภาค (,) คน่ั ระหวางสมาชิกแตละตวั น้ัน ตัวอยางเชน A = {1, 2, 3, 4, 5} B = { a, e, i, o, u} C = {...,-2,-1,0,1,2,...} 2. แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต โดยใชตัวแปรแทนสมาชิกของเซต และบอก สมบัติของสมาชิกในรูปของตัวแป ตัวอยางเชน A = { x | x เปนจํานวนเตม็ บวกที่มีคานอยกวาหรอื เทากับ 5} B = { x | x เปน สระในภาษาอังกฤษ} C = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ } สญั ลกั ษณเซต โดยทั่ว ๆ ไป การเขยี นเซต หรอื การเรียกช่อื ของเซต จะใชอักษรภาษาอังกฤษ ตวั พิมพใหญไดแก A , B , C , . . . , Y , Z เปนตน ทง้ั น้ีเพอื่ ความสะดวกในการอางอิงเมอื่ เขียนหรือ กลาวถึงเซตนน้ั ๆ ตอ ไป สําหรับสมาชกิ ในเซตจะเขยี นโดยใชอ ักษรภาษาองั กฤษตัวพิมพเ ล็ก
31 มสี ญั ลกั ษณอ กี อยางหนงึ่ ท่ใี ชอ ยเู สมอ ๆในเร่ืองเซต คือสัญลกั ษณ ∈ ( Epsilon) แทนความหมายวา อยใู น หรอื เปนสมาชิก เชน กําหนดให เซต A มีสมาชิกคือ 2 , 3 , 4 , 8 , 10 ดงั นนั้ 2 เปนสมาชิกของ A หรืออยูใ น A เขยี นแทนดว ย 2 ∈ A 10 เปนสมาชิกของ A หรืออยใู น A เขยี นแทนดว ย 10 ∈ A ใชสัญลกั ษณ ∉ แทนความหมาย “ไมอยู หรือไมเปนสมาชิกของเซต เชน 5 ไมเปนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย 5 ∉ A 7 ไมเปนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย 7 ∉ A ขอ สงั เกต 1. การเรียงลําดับของแตล ะสมาชิกไมถือเปน ส่ิงสาํ คญั เชน A = { a , b , c } B = {b,c,a} ถอื วาเซต A และเซต B เปนเซตเดยี วกนั 2. การนับจาํ นวนสมาชิกของเซต จํานวนสมาชิกทเี่ หมือนกนั จะนับเพยี งครัง้ เดยี ว ถึงแมจะเขียนซ้ํา ๆ กัน หลาย ๆ ครงั้ เชน A = { 0 , 1 , 2 , 1 , 3 } มีจํานวนสมาชิก 4 ตวั คือ 0 , 1 , 2 , 3 เปน ตน 1.3 ชนดิ ของเซต 1.3.1 เซตวา ง ( Empty Set or Null Set ) บทนิยาม Ø หรือ { } แทนเซตวา ง เซตวาง คอื เซตที่ไมมีสมาชิก ใชสัญลกั ษณ (φ เปน อกั ษรกรกี อานวา phi) ตวั อยา ง เชน A = { x | x เปนชื่อทะเลทรายในประเทศไทย } ดงั นนั้ A เปนเซตวาง เนื่องจากประเทศไทยไมมีทะเลทราย B = { x | x ∈ I+ และ x + 2 = x } ดังน้นั B เปนเซตวาง เนื่องจากไมมีจํานวนเต็มบวกที่นํามาบวกกับ 2 แลว ได ตัวมนั เอง เซต B จึงไมมีสมาชิก ขอ สังเกต 1. เซตวางมีจํานวนสมาชิก เทากับศนู ย ( ไมมีสมาชิกเลย ) 2. 0 ≠ Ø 3. { 0 } ไมเปนเซตวาง เพราะมีจํานวนสมาชิก 1 ตวั
32 1.3.2 เซตจาํ กดั ( Finite Set ) บทนิยาม เซตจาํ กัด คือ เซตที่สามารถระบุจํานวนสมาชิกในเซตได ตวั อยา งเชน A = { 1 , 2 , {3} } มีจํานวนสมาชิก 3 ตัว หรือ n(A) = 3 B = { x | x เปน จาํ นวนเต็มและ 1 ≤ x ≤ 100 } มีจํานวนสมาชิก 100 ตัว หรือ n(B) = 100 C = { x | x เปน จาํ นวนเต็มที่อยรู ะหวา ง 0 กบั 1 } ดังนน้ั C เปน เซตวา ง มีจํานวนสมาชิก 0 ตวั หรือ n(C) = 0 D = { 1 , 2 , 3 , . . . , 99 } มีจํานวนสมาชิก 99 ตัว หรือ n(D) = 99 E = { x | x เปน วันในหน่ึงสปั ดาห } มีจํานวนสมาชิก 7 ตัว หรือ n(E) =7 หมายเหตุ จํานวนสมาชิกของเซต A เขยี นแทนดว ย n(A) 1.3.3 เซตอนนั ต ( Infinite Set ) บทนิยาม เซตอนันต คือ เซตท่ไี มใชเ ซตจํากดั ( หรือเซตทีม่ ีจํานวนสมาชิกไมจํากัด น่ันคอื ไมส ามารถนบั จาํ นวนสมาชิกไดแ นน อน ) ตวั อยา งเชน A = { -1 , -2 , -3 , … } B = { x | x = 2n เม่ือ n เปน จาํ นวนนบั } C = { x | x เปน จาํ นวนจริง } T = { x | x เปน จาํ นวนนับ } ตวั อยาง จงพิจารณาเซตตอไปนี้ เซตใดเปน เซตวาง เซตจาํ กดั หรือเซตอนนั ต เซต เซตวา ง เซตจํากดั เซตอนนั ต 1. เซตของผูที่เรยี นการศึกษานอกโรงเรียน / / / ปการศึกษา 2552 2. เซตของจํานวนเต็มบวกคี่ 3. เซตของสระในภาษาไทย / 4. เซตของจาํ นวนเตม็ ทห่ี ารดว ย 10 ลงตวั 5. เซตของทะเลทรายในประเทศไทย / /
33 1.3.4 เซตทเ่ี ทา กนั ( Equal Set ) เซตสองเซตจะเทา กนั กต็ อเม่ือท้ังสองเซตมีสมาชิกอยางเดียวกัน และจํานวนเทากัน บทนิยาม เซต A เทา กับเซต B เขยี นแทนดว ย A = B หมายความวา สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกทุกตัวของเซต B และสมาชิกของเซต B เปนสมาชิกทุกตัวของเซต A ถาสมาชิกตวั ใดตัวหน่งึ ของเซต A ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือสมาชิกบางตัวของเซต B ไมเปนสมาชิกของเซต A เซต A ไมเ ทา กบั เซต B เขยี นแทนดว ย A ≠ B ตวั อยางเชน A = { 0 , { 1,2 } } B = { { 2 ,1 } , 0 } ดงั นน้ั A = B ตัวอยาง กาํ หนดให A = { 2 , 4 , 6 , 8 } B = { x | x เปนจํานวนเต็มบวกเลขคูที่นอยกวา 10 } วิธที าํ A = { 2 , 4 , 6 , 8 } พิจารณา B เปนจํานวนเตม็ บวกคูท ี่นอ ยกวา 10 จะได B = { 2 , 4 , 6 , 8 } ดงั น้นั A = B ตัวอยาง กาํ หนดให A = { 2 , 3 , 5 } , B = { 5 , 2 , 3 , 5 } และ C = { x | x2– 8x + 15 = 0 } วิธที าํ พจิ ารณา x2 - 8x + 15 = 0 ( x – 3 ) (x – 5 ) = 0 X = 3,5 C = {3,5} ดังนั้น A = B แต A ≠ C เพราะ 2 ∈ A แต 2 ∉ C B ≠ C เพราะ 2 ∈ B แต 2 ∉ C
34 1.3.5 เซตท่ีเทียบเทากัน ( Equivalent Set ) เซตที่เทียบเทากัน เซตสองเซตจะเทียบเทากันก็ตอเมื่อทั้งสองเซตมีจํานวนสมาชิก เทากนั บทนิยาม เซต A เทียบเทากับเซต B เขยี นแทนดว ย A ~ B หรือ A ↔ B หมายความวา สมาชิกของ A และสมาชิกของ B สามารถจบั คูห น่งึ ตอหน่ึงไดพอดี ตวั อยางเชน A = { 1 , 2 , 3 } B = {4,5,6} จะเห็นวา จํานวนสมาชิกของเซต A เทากับจํานวนสมาชิกของ B ดังน้นั A ↔ B C = { xy , ab } D = {0,1} ดังน้นั C ~ D เพราะจํานวนสมาชิกเทากัน ตัวอยา ง จงพจิ ารณาเซตแตละคูตอไปนวี้ า เซตคใู ดเทา กัน หรือเซตคใู ดเทียบเทา กัน 1) A = { x / x เปนจาํ นวนเต็ม x2 – 10x + 9 = 0 } B = {1,9} 2) C = { a , { b, c } , d } D = {1,2,{3}} 3) E = { 1 , 4 , 7 } F = {4,1,7} วิธีทาํ 1) A = B และ A ∼ B เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน และสมาชิกเหมือนกันทุกตัว 2) C ∼ D แต C ≠ D เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน แตส มาชกิ แตละคูไมเหมือนกนั ทุกตวั 3) E = F และ E ∼ F เพราะมีจํานวนสมาชิกเทากัน และสมาชิกเหมือนกันทุกตัว ขอสงั เกต 1. ถา A = B แลว A ∼ B 2. ถา A ∼ B แลว A ไมจาํ เปนตอ งเทากับ B
35 1.3.6 เอกภพสัมพทั ธ บทนิยาม เอกภพสัมพทั ธ คอื เซตทกี่ ําหนดขนึ้ โดยมขี อตกลงกันวาจะไมก ลาวถึง สิง่ อน่ื ใด นอกเหนอื ไปจากสมาชกิ ของเซตท่กี าํ หนด ใชส ญั ลกั ษณ U แทน เอกภพสัมพัทธ ตวั อยา งเชน กาํ หนดให U เปน เซตของจาํ นวนนบั และ A = {x | x2 = 4 } จงเขยี นเซต A แบบแจกแจงสมาชิก ตอบ A = {2} กาํ หนดให U = {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10} และ A เปน จาํ นวนคู ตอบ A = {2,4,6,8,10} ขอ สงั เกต ถาไมม กี ารกาํ หนดเอกภพสมั พัทธ ใหถ อื วา เอกภพสัมพทั ธนน้ั เปน เซตของจาํ นวนจริง
36 แบบฝกหัดที่ 1 1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 1) เซตของจงั หวดั ในประเทศไทยทมี่ ีช่อื ขนึ้ ตน ดว ยพยัญชนะ “ส” 2) เซตของสระในภาษาอังกฤษ 3) เซตของจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลัก 4) เซตของจาํ นวนคบู วกที่มีคา นอยกวา 20 5) เซตของจํานวนเต็มลบที่มีคานอ ยกวา – 120 6) { x|x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 5 และนอ ยกวา 15 } 7) { x|x เปนจาํ นวนเต็มทอ่ี ยูระหวา ง 0 กับ 0 } 2. จงบอกจํานวนสมาชิกของเซตตอไปนี้ 1) A = {3456} 2) B = {a,b,c,de,fg,hij,} 3) C = { x|x เปน จํานวนเต็มบวกทอี่ ยูระหวาง 10 ถึง 35 } 4) D = { x|x เปนจาํ นวนเตม็ บวกท่ีนอยกวา 9 } 3. จงเขยี นเซตตอ ไปนแ้ี บบบอกเงอ่ื นไข 1) K = { 2,4,6,8} 2) P = { 1,2,3,...} 3) H = { 1,4,9,16,25,...} 4. จงพจิ ารณาเซตตอไปน้ี เปน เซตวา งหรือเซตจาํ กดั หรือเซตอนันต 1) เซตของสระในภาษาไทย 2) เซตของจํานวนเตม็ ที่อยรู ะหวา ง 21 และ 300 3) A = { x | x เปน จาํ นวนเต็มและ x < 0 } 4) B = { x | x เปนจาํ นวนเต็มคูท่นี อ ยกวา 2 } 5) C = { x | x = 9 และ x – 3 = 5 } 6) A = { x | x เปน จาํ นวนนับทน่ี อ ยกวา 1 } 7) E = { x | x เปน จาํ นวนเฉพาะ 1 < x < 3 } 8) F = { x | x เปน จาํ นวนเต็ม 4 < x < 5 } 9) B = { x | x เปน จาํ นวนนับ x2 + 3x + 2 = 0 } 10) D = { x | x เปน จาํ นวนเต็มทห่ี ารดว ย 5 ลงตวั }
37 5. เซตตอไปน้เี ซตใดบางท่เี ปน เซตที่เทา กัน 1) A = { 2,4,6,8,10 } B = {x| x เปนจาํ นวนคูบวก 2 ถงึ 10 } 2) D = { 7,14,21,28,......343} E = {x|x = 7r และ r เปนจํานวนนับท่มี คี า นอ ยกวา 50 } 3) F = { x|x =3n และ n และ n } G = { 3,6,9} 4) Q = {4} H = { x|x เปน จาํ นวนเตม็ และ x2= 16 }
38 เร่อื งที่ 2 การดาํ เนนิ การของเซต การดําเนินการที่สําคัญของเซตที่จําเปนตองรูและทําความเขาใจใหถองแทมี 4 ชนดิ ไดแก 1. การยเู นยี นของเซต 2. การอนิ เตอรเซคชน่ั ของเซต 3. คอมพลีเมนทของเซต 4. ผลตางของเซต 2.1 การยเู นียนของเซต ใชส ญั ลกั ษณ “ ∪ ” บทนิยาม A ∪ B = { x | x ∈ A ∨ x ∈ B } เรียกวา ผลบวก หรือผลรวม (union) ของ A และ B ตวั อยาง 1. ถา A = {0 , 1 , 2 , 3} และ B = {1 , 3 , 5 , 7} จะได A ∪ B = {0 , 1 , 2 , 3 , 5 , 7} ตัวอยาง 2. ถา M = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ บวก} และ L = {1 , 2 , 3 , 4} จะได M ∪ L = M ตวั อยาง 3. ถา W = {a , s , d , f} และ Z = {p , k , b} จะได W ∪ Z = {a , s , d , f , p , k , b} ตวั อยาง 4 A ={1,2,3} , B= {3,4,5} จะได A ∪ B = {1,2,3,4,5} 2.2 การอนิ เตอรเ ซคชัน ใชสญั ลักษณ “ ∩ ” บทนิยาม A ∩ B = { x|x∈ A ∧ x∈B } เรยี กวา ผลตัด หรือผลทีเ่ หมอื นกนั (intersection) ของ A และ B ตวั อยาง 1. ถา A = {0 , 1 , 2 , 3} และ B = {1 , 3 , 5 , 7} จะได A ∩ B = {1 , 3}
39 ตัวอยาง 2. ถา M = {x | x เปน จาํ นวนเตม็ บวก} และ L = {1 , 2 , 3 , 4} จะได M ∩ L = L ตวั อยา ง 3. ถา W = {a , s , d , f} และ Z = {p , k , b} จะได = { } 2.3 คอมพลีเมนตข องเซต ใชสัญลักษณ “ / ” บทนิยาม ถา U เปน เอกภพสัมพัทธ คอมพลีเมนตของ A คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิก ท่ีอยูใน ∪ แตไมอยูใน A เขยี น A′ แทนคอมพลีเมนทของ A ดงั นั้น A′ = { x | x ∉ A } ตวั อยา ง 1. ถา U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} และ A = {0 ,2} จะได = {1, 3,4, 5} ตวั อยา ง 2. ถา U = {1, 2, 3, ... } และ C = { x|x เปน จาํ นวนคู} จะได = { x |x U และ x เปนจาํ นวนค่ี } 2.4 ผลตา งของเซต ใชส ัญลักษณ “ – ” บทนยิ าม ผลตางระหวา งเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซงึ่ ไมเปนสมาชิกของเซต B ผลตา งระหวางเซต A และ B เขยี นแทนดว ย A – B ซึ่ง A - B = { x | x ∈ A ∧x∉B}
40 ตวั อยาง 1. ถา A = {0, 1, 2, 3, 4} และ B = {3 , 4 , 5 , 6 , 7} จะได A - B = {0, 1, 2} และ B - A = {5 , 6 , 7} ตัวอยาง 2. ถา U = {1, 2, 3, ... } และ C = { x|x เปน จาํ นวนคบู วก} จะได U – C = {x|x เปน จาํ นวนคบ่ี วก} สมบตั ิของเซตท่ีควรทราบ ให A,B และ C เปน สบั เซตของเอกภพสัมพัทธ U สมบตั ิตอ ไปน้ีเปน จริง 1) กฎการสลับที่ A∪B = B∪ A A∩B = B∩ A 2) กฎการเปลยี่ นกลมุ A ∪ (B ∪ C) = (A ∪ B)∪ C A ∩ (B ∩ C) = (A ∩ B)∩ C 3) กฎการแจงแจง A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B)∩ (A ∪ C) A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B)∪ (A ∩ C) 4) กฎเอกลักษณ φ ∪ A = A∪φ = A U ∩ A = A∩U = A 5) A ∪ A′ = U 6) φ′ = U และ U ′ = φ 7) (A′)′ = A 8) A ∪ A = A และ A ∩ A = A 9) A − B = A ∩ B′ 10) A ∩φ = φ และ A ∪φ = A
41 แบบฝกหัดที่ 2 1) ถา A = { 0,1,2,3,4,5}, และ B { 1,2,3,4 } จงหา 1) A ∪ B ……………………………. 2). B ∪ A …………………………..…… 3). A ∩ B ............................................. 4). B ∩ A ……………………………..… 5). A – B……………………..…………. 6). B – A……………………………….…. 2). กาํ หนดให U = { 1,2,3, ... ,10 } A = { 2,4,6,8,10 } B = { 1,3,5,7,9} C = { 3,4,5,6,7 } จงหา 1. A ∩ B ……………………………………………………………………………………… 2. B ∪ C ……………………………………………………………………………………… 3. B ∩ C …………………………………………………………………………………….… 4. A ∩ C ..………………………………………………………………………………..…… 5. C′..………………………………………………………………………………..…………. 6. C′ ∩ A ………………………………………………………………………………..…….. 7. C′ ∩ B ..………………………………………………………………………………..…… 8. (A ……………………………………………….…………………………………
42 เร่อื งท่ี 3 แผนภาพเวนน - ออยเลอรแ ละการแกป ญ หา 3.1 แผนภาพเวนน - ออยเลอร การเขียนแผนภาพแทนเซตชวยใหเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเซตชัดเจนยิ่งขึ้น เรยี ก แผนภาพแทนเซตวา แผนภาพของเวนน-ออยเลอร เพอ่ื เปน เกยี รติแกนักคณิตศาสตรชาวองั กฤษ จอหน เวนน (John Venn พ.ศ.2377-2466) และนกั คณิตศาสตรช าวสวสิ เลโอนารด ออยเลอร (Leonard Euler พ.ศ. 2250-2326) ซึง่ เปน ผคู ดิ แผนภาพเพื่อแสดงความสัมพันธร ะหวางเซต การเขยี นแผนภาพของเวนน-ออยเลอร (Venn-Euler) เพอ่ื แสดงความสมั พนั ธระหวา งเซตนยิ ม เขยี นรปู สเ่ี หลย่ี มมุมฉากแทนเอกภพสัมพัทธ (U) และใชรูปวงกลม วงรี หรือรปู ปด ใด ๆ แทนเซต ตางๆ ซึ่งเปนสับเซตของ U ลกั ษณะตา ง ๆ ของการเขียนแผนภาพ มีดงั น้ี ซง่ึ แผนภาพเวนน-ออยเลอร เมอ่ื นํามาใชกบั การดําเนนิ การบนเซตแลว นั้นจะทาํ ใหผูเรียนเขาใจ ในเรื่องการดําเนินการบนเซตมากขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้ ยเู นยี น (Union) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเ ห็นกรณีตาง ๆ ของเซตใหมท ่ีเกิด จาก ไดจากสว นทแ่ี รเงา ดงั น้ี (ระบายพื้นที่ของทั้งสองเซตไมวาจะมีพื้นที่ซ้ํากนั หรือไมซาํ้ กนั )
43 อินเตอรเซกชนั (intersection) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเหน็ กรณีตาง ๆ ของเซตใหมทีเ่ กิดจาก ไดจากสวนทีแ่ รเงา ดังนี้ คอมพลีเมนต (Complement) กาํ หนดให เซต A เปน สบั เซตของเอกภพสัมพทั ธ U คอมพลเี มนตข อง A คือ เซตทป่ี ระกอบดวย สมาชิกของเอกภพสัมพัทธ (U) แตไมเปนสมาชิกของ A เขยี นแทนดว ย (อา นวา เอไพรม) และ เพอื่ ใหมองภาพไดชัดขน้ึ อาจใชแ ผนภาพของเวนน-ออยเลอรแ สดงการคอมพลเี มนตข องเซต A ได ดงั น้ี A′ คอื สว นท่แี รเงา ผลตาง (Relative Complement or Difference) สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร แสดงใหเ หน็ กรณตี า ง ๆ ของเซตใหมท ี่เกิดจาก A - B ไดจ ากสว นทแ่ี รเงา ดงั น้ี (ระบายสีเฉพาะพื้นที่ของเซต A ทีไ่ มใชพื้นทขี่ องเซต B)
44 3.1 การหาจํานวนสมาชกิ ของเซตจาํ กัด • ถา เซต A และ B ไมมีสมาชิกรวมกันจะได n (A ∪ B) = n (A) + n (B) • ถา เซต A และ B มีสมาชิกบางตัวรวมกันจะได n (A ∪ B) = n (A) + n (B) – n (A ∩ B) พิจารณาจากรูป ตัวเลขในภาพแสดงจํานวนสมาชิกเซต จะได 1) n (A) = 16 2) n (B) = 18 2) n (A ∩ B) = 6 4) n (A ∪ B) = 28 5) n ( A/ ) 6) n ( B / ) = 12 = 10 7) n (A ∩ B)/ = 22 8) n ( A/ ∪ B/ ) = 22 ตวั อยา งที่ 3 กาํ หนดให A มีสมาชิก 15 ตัว B มีสมาชิก 12 ตัว A ∩ B มีสมาชิก 7 ตัว จงหาจํานวนสมาชิกของ A ∪ B วธิ ที ํา n (A) = 15 , n (B) = 12 , n (A ∩ B ) = 7 จากสูตร n ( A ∪ B ) = n ( A ) + n (B) - n ( A ∩ B) = 15 + 12 – 7 = 20 ดงั น้ัน จาํ นวนสมาชิกของ A ∪ B เทา กบั 20 ตวั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227