Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย

หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย

Published by Zamithy Channel, 2021-10-31 10:41:45

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย

Search

Read the Text Version

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยนรู้วชาภาษาไทย โรงเรยนทวธาภิเศกบางขุนเทียน สำนักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทยี น พทุ ธศักราช 2553 (ฉบบั ปรับปรุง 2564 ) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทียน สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

คำนำ ส ำนั ก งาน ค ณ ะ ก รรม ก ารก ารศึ ก ษ าขั้ น พ้ื น ฐ าน ได้ ป ระ ก าศ ใช้ ห ลั ก สู ต รแ ก น กล างก ารศึ ก ษ าข้ั น พื้ น ฐ าน พุทธศักราช 2551 โดยกำหนดให้โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนท่ีมีความพร้อมเร่ิมใช้หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั น้ี 1. ปีการศึกษา 2552 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 และ 4 ในโรงเรียนต้นแบบการใชห้ ลักสตู รฯ 2. ปี ก ารศึ ก ษ า 2553 ให้ ใช้ ห ลั ก สู ต รแ ก น ก ล างก ารศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุ ท ธ ศั ก ราช 2551 ในชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ในโรงเรียนทัว่ ไปและชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 และ 5 3. ปกี ารศึกษา 2554 เป็นต้นไป ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทกุ ชนั้ เรียน โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ดำเนินการจัดทำ หลกั สูตรสถานศึกษาโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแกนหลักเพ่ือกำหนดการ จัดทำโครงสร้างและสาระหลักสูตรสถานศึกษาและสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ซ่ึงในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาครั้งน้ี เป็นการสร้างหลักสูตรท่ีอาศัยการมีส่วนร่วมของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถขับเคลือ่ นไปสู่การจัดการเรียนรู้ท่ีส่งผลให้ผเู้ รียนมีคุณภาพด้านความรู้และ ทกั ษะท่ีจำเป็นในการดำรงชีวติ ในสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพอื่ พฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต ตามคำส่ังสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ 30/2561 เร่ือง ให้เปลย่ี นมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป และมีความทันสมัย มุ่งผลประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นสำคัญ และเพ่ือให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ในการจัดการศึกษาตาม มาตรฐานการศกึ ษาทีก่ ำหนดในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในปีการศึกษา 2563 นี้ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้ร่วมกันจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2563) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563) เพ่ือเป็นกรอบทิศทางในการนำหลักสูตรไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพและเพ่ือให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีศักยภาพ ความสามารถในการปรบั ตัวให้อยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุขท้ังในสังคมไทยและสังคมโลกต่อไป ขอขอบคุณผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้องทุกภาคสว่ นที่ใหค้ วามรว่ มมอื และมสี ่วนร่วมในการพัฒนาหลกั สูตรฉบับน้ีให้มี ความสมบรู ณ์และเหมาะสมตามบริบทต่อการจดั การศึกษาในโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทยี น ตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2563 เปน็ ตน้ ไป

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย หนา้ 2 สารบญั 4 เรอื่ ง 6 คำนำ คำสง่ั กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ 293/2551 ลงวนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2551 8 เร่ือง ใหใ้ ช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 8 9 คำสัง่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ 922/2561 ลงวนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2561 9 เรือ่ ง การปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรยี น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 9 2551 10 วสิ ัยทศั น์กล่มุ สาระ 11 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 15 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 100 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตร คำอธิบายรายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ า ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ า ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย









วสิ ัยทัศน์หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ ความเข้าใจในภาษาไทย วรรณกรรมไทยและวรรณกรรม โลก มที ักษะสื่อสารและนำทักษะภาษาไทยไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิต มีความรักและภาคภูมิใจในภาษาไทยอัน เป็นภาษาประจำชาติ เป้าประสงคก์ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนทกุ คนใช้ภาษาไทยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและดำรงตนในสังคมอยา่ งมีความสุข 2. เพอ่ื ให้ผู้เรียนร้จู กั วรรณกรรมไทยและวรรณกรรมต่างประเทศอย่างหลายหลาก 3. เพ่อื ให้ครภู าษาไทยในสถานศกึ ษาสามารถจัดการเรียนรู้แบบเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญและกา้ วทันยคุ 4.0 4. เพอ่ื ให้กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยมรี ะบบการบริหารและการจัดการศกึ ษาที่มปี ระสิทธภิ าพ 5. เพอื่ ให้ผู้เรียนมีทกั ษะทางภาษาไทยที่มีคุณภาพตามมาตรฐานของชาตแิ ละมีทักษะของศตวรรษท่ี 21 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลกั สูตรโรงเรียนทวธี าภิเศก บางขุนเทียน พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2564) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563) มุ่งให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธกี ารส่อื สาร ทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรูม้ าใชใ้ นการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา และ มีการตัดสินใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล กระทบต่อตนเองและผู้อนื่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563) มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สัตย์สุจรติ 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดำเนินชวี ิตและ มนี ิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราว ในรปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความร้สู ึกในโอกาส ตา่ ง ๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนำมา ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง

โครงสร้างเวลาเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมธั ยมศกึ ษา • กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ม. 1 ระดบั มธั ยมศกึ ษา - ภาษาไทย ตอนต้น ตอนปลาย รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 120 (3 นก.) ม. 2 ม. 3 ม. 4-6 • รายวิชาเพ่ิมเติม 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) รวมเวลาเรียน 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)

โครงสร้างรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ม.1 ช้ัน ม.2 ชั้น ม.3 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. พน้ื ฐาน พ้นื ฐาน พื้นฐาน พื้นฐาน พ้ืนฐาน พนื้ ฐาน ท21101 1.5 ท21102 1.5 ท22101 1.5 ท22102 1.5 ท23101 1.5 ท23102 1.5 ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย

ชนั้ ม.1 ชน้ั ม.2 ชน้ั ม.3 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. เพ่ิมเติม เพิ่มเติม เพมิ่ เติม เพมิ่ เติม เพม่ิ เติม เพิ่มเติม ท20201 0.5 ท20202 0.5 ท22201 1.0 ท22202 1.0 ท23201 1.0 ท23202 1.0 การใช้ การใช้ การอา่ น การส่ือสาร ห้องสมุด 1 ภาษาไทยใน การพูด วรรณกรรม ภาษาไทยใน หอ้ งสมุด 2 บันเทิงคดี ชีวิต บทเพลง ท22204 1.0 ท21201 1.0 ท21202 1.0 ท22203 1.0 นิทาน ทกั ษะ พน้ื ฐานการ ทักษะการ ภาษาไทย พ้ืนบ้าน ท23203 1.0 ท23204 1.0 ใช้ภาษาไทย นิทานและ ตำนาน เขียนเบ้ืองต้น เพื่อการ 1.0 เทพปกรณมั พื้นบ้าน ในวรรณคดี แสดง ท22205 วรรณกรรม การแสดง ท23205 1.0 1.0 วรรณคดี ท23206 วจิ ักษณ์ คตชิ าวบา้ น ท23207 1.0 1.0 วาทศิลป์ ท23208 การเขียน วชิ าการ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 12

โครงสรา้ งรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ัน ม.4 ช้ัน ม.5 ช้นั ม.6 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. พืน้ ฐาน พืน้ ฐาน พ้ืนฐาน พ้นื ฐาน พน้ื ฐาน พืน้ ฐาน ท31101 1.0 ท31102 1.0 ท32101 1.0 ท32102 1.0 ท33101 1.0 ท33102 1.0 ภาษาไทย ภาษาไทย พื้นฐาน พื้นฐาน ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาไทย พ้ืนฐาน พน้ื ฐาน พน้ื ฐาน พน้ื ฐาน เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หนา้ ท่ี 13

ชน้ั ม.4 ชัน้ ม.5 ชน้ั ม.6 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. สาระ น.ก. เพ่ิมเติม เพ่มิ เติม เพมิ่ เติม เพ่มิ เติม เพมิ่ เติม เพิ่มเติม ท30201 1.0 ท30202 1.0 ท30208 1.0 ท30210 1.0 ท30207 1.0 ท30204 1.0 การใช้ การใช้ ประวัติ ศลิ ปะการเลา่ การใช้ การอ่านและ หอ้ งสมุด 1 วรรณคดี เรอื่ ง ภาษาไทย พจิ ารณา หอ้ งสมุด 2 วรรณกรรม ท30203 1.0 ท30205 1.0 ท30211 1.0 ท30213 1.0 การเขยี น กรองกานท์ วรรณกรรม วรรณกรรม ท30209 1.0 ท30206 1.0 การพดู ในที่ วรรณคดี สำหรบั เด็ก ภาพยนตร์ ประชมุ ชน มรดก ท30221 1.0 ท30219 1.0 หลัก การแต่งคำ ภาษาไทย ประพันธ์ ท30220 1.0 ท30216 1.0 ววิ ัฒนาการ วรรณกรรม ท30212 1.0 1.0 ต่างประเทศ 1.0 ของ สิง่ แวดล้อม ท30214 ใน ภาษาไทย ภาษาไทย วรรณกรรม สรา้ งสรรค์ 1.0 1.0 ท30216 1.0 ท30218 ท30215 การทำ การวิเคราะห์ ท30222 เขียนเชงิ หนงั สือเล่ม เล็ก วรรณกรรม ภาษาไทย สร้างสรรค์ (สายศลิ ป์) วิเคราะห์ (สายศิลป)์ (สายศลิ ป์) (สายศิลป)์ (สายศิลป)์ (สายศลิ ป)์ หมายเหตุ วิชาเพิ่มเติมระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถเลอื กเรียนได้ทกุ ภาคเรยี นและทกุ ระดบั ชนั้ เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภิเศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 14

โครงสรา้ งหลกั สูตร รายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น คาอธิบายรายวิชาและโครงสร้าง รายวิชา ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ที่ 15

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 16

รหัสวชิ า ท21101 คำอธบิ ายรายวชิ า ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ 1 รายวิชา ภาษาไทย เวลา 60 ชัว่ โมง ฝึกทกั ษะการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ประเภทบรรยายและบทร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ และ กลอนสักวา อา่ นจบั ใจความสำคัญ ระบุเหตุและผล ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็นจากการอา่ นวรรณคดี ในบทเรียน นิทานชาดก อธิบายคำเปรียบเทียบและคำทีม่ ีหลายความหมาย และมีมารยาทในการอ่าน ฝึกคดั ลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั เขยี นสอ่ื สารแนะนำตนเอง เขยี นบรรยายประสบการณ์ ย่อความ และเขยี นเรยี งความ เชงิ พรรณนา มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทกั ษะการพูดสรปุ ความ เลา่ เร่อื ง พูด แสดงความรู้ความคิดอยา่ งสร้างสรรค์จากเร่ืองท่ีฟงั และพดู พูดประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของส่ือท่ีมเี น้ือหา โนม้ นา้ วใจ มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ศกึ ษาเร่อื งเสยี งและการสรา้ งคำในภาษา วิเคราะห์ ความแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขียน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเกีย่ วกบั เหตุการณ์ ประวัตศิ าสตร์ บันเทงิ คดี โดยสรุปเนือ้ หาวเิ คราะหว์ จิ ารณ์และอธิบายคุณคา่ ท่องจำบทอาขยานและบท รอ้ ยกรองท่มี ีคณุ ค่า โดยใช้กระบวนการทางการสื่อสารและกระบวนการคิดเปน็ เคร่อื งมือการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนนิ ชีวิต มวี นิ ัย เปน็ ผู้ใฝเ่ รียนรู้ มคี วามมงุ่ มั่นในการทำงานใน ตนเอง รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ อันเปน็ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทจี่ ะนำไปดำรงชวี ติ อยา่ งสนั ติสุขใน สังคมไทยและสังคมโลก รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม.1/1, 1/2, 1/3, 1/4, 1/9 ท 2.1 ม.1/1, 1/2, 1/3, 1/4, 1/5, 1/9 ท 3.1 ม.1/1, 1/2, 1/3, 1/4, 1/6 ท 4.1 ม. 1/1, 1/2, 1/4 ท 5.1 ม.1/1, 1/2, 1/3, 1/4, 1/5 รวมทั้งหมด 24 ตัวช้ีวดั เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 17

รหัสวชิ า ท21101 โครงสร้างรายวชิ า ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี 1 รายวชิ า ภาษาไทย 1 เวลา 60 ชวั่ โมง ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก คะแนน การเรียนรู้ เรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั (ชัว่ โมง) 6 1 สุนทรภพู่ า ท 5.1 กาพยเ์ ร่ือง พระไชยสรุ ยิ า สนุ ทรภู่ 6 4 เพลิน ม.1/1, 1/2, แตง่ กาพย์พระไชยสรุ ิยา ในสมัย 1/3, 1/4, 1/5 รชั กาลที่ 3 เพอ่ื ใชส้ อนหนงั สือ เป็น ท 2.1 แบบฝึกหดั อา่ นและหดั เขียนคําที่ ม. 1/1 สะกดตามมาตราต่างๆ ลกั ษณะคํา ประพันธ์ แตง่ กาพย์ยานี 11 กาพย์ ฉบัง 16 และกาพย์ สรุ างนางค์ 28 2 อ่านให้แตก ท 1.1 การอา่ น การเขียนและเรยี นรู้คำศัพท์ 2 เขยี นให้ ม.1/1, 1/4, 1/9 ชว่ ยให้อา่ นเรือ่ งราว เนอ้ื หาบทเรยี น คลอ่ ง ท 2.1 ได้ดี ถือเป็น การพัฒนาทางภาษา ทัง้ การอา่ นและการเขียน ม.1/2, 1/9 3 สอนใจ ท5.1 โคลงโลกนิติ และสภุ าษติ พระรว่ ง 8 8 6 6 เยาวชน ม.1/1, 1/2, เป็นวรรณคดที ่ีสอนให้รจู้ กั ดำรงอยูใ่ น 6 6 1/3, 1/4, 1/5 ซ่งึ ความดี ใหท้ ุกคนมศี ีลธรรม เพอ่ื ยกระดับจิตใจของผูศ้ กึ ษาไดเ้ พ่ิมมาก ขึ้น 4 สอ่ื สารดว้ ย ท 1.1 การอา่ นเพื่อจบั ใจความสำคญั เปน็ สง่ิ ปลาย ม. 1/2 สำคัญทท่ี ำใหผ้ อู้ า่ นเข้าใจในเน้ือหา ปากกา ท 2.1 ว่าใคร ทำอะไร ท่ีไหน อย่างไร ม. 1/5 เมอ่ื ไหร่ ส่งผลใหก้ ารเขยี นสื่อความ ต่อผูร้ บั สารได้เข้าใจมากขึ้น 5 ฟงั และดใู ห้ ท 3.1 มนษุ ย์เกิดมาเรียนรู้จากประสาท เขา้ ใจ ม. 1/1, 1/2, สมั ผสั ต่าง ไมว่ า่ จะเปน็ การฟงั การดู 1/4, 1/6 การอา่ น รวมถึง การสมั ผสั การ ฟังและการดจู ึงเป็นทักษะสำคัญทจ่ี ะ รับสาร เพ่อื การรบั สารอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ผฟู้ งั แลว้ ดตู อ้ งรู้จัก พนิ จิ พเิ คราะหส์ ารท่ีได้ฟงั และดู อยา่ งมีวิจารณญาณ สอบกลางภาค เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าที่ 18

2 20 ท 2.1 การเขยี นเพ่อื ส่ือสารเรอื่ งราวเชงิ 4 4 6 พรรณนาให้ ม. 1/2, 1/3, พรรณนา ทำให้ผรู้ บั สารมองเหน็ 6 6 เรือ่ งราวเป็นภาพ โดย งานเขียนมัก 6 6 เจิดฉาย 1/4 เกิดจากการกล่ันกรองของผ้เู ขียน ท 3.1 ส่อื สารถงึ ผูฟ้ ังโดยการอ่าน การพูด 6 6 7 พ้นื บา้ นเล่า ม. 1/3 รวมไปถึงการแลกเปลย่ี นความรู้เพ่ือ 6 8 มัน ท 3.1 ตกตะกอนความคิด 8 บรรยายสื่อ ม. 1/1, 1/2, ใจ 1/5, 1/6 นทิ านพืน้ บ้าน เป็นนิทานที่เล่าสืบต่อ กันมาตัง้ แต่อดีตกาล เนือ้ หามีความ 9 พืน้ ฐาน ท 5.1 เปลย่ี นแปลงแตโ่ ครงเรอื่ งยังคงสบื ด้านเสียง ม.1/1, 1/2, ทอดมาส่คู นปัจจบุ ัน โดย การเล่ากนั 1/3, 1/4, 1/5 ปากต่อปาก และสามารถแบง่ นทิ าน 10 สร้างคำ ไดต้ ามเรื่องเล่า แก่นเรอ่ื ง รวมไปถึง เขา้ ใจคำ ท 1.1 ม. 1/3, 1/9 การแบ่งนิทานจากภูมิศาสตร์ ท 2.1 การเลา่ ประสบการณ์ โดยการเขียน ม. 1/2, 1/3, บรรยายเปน็ เร่ืองเปน็ ราวต้องอาศัย ทักษะการเขียน ความคิดสรา้ งสรรค์ 1/9 รวมไปถงึ เทคนคิ การเขียนเร่ืองราวให้ ท 3.1 น่าสนใจ รวมไปถึงเลือกเร่ืองที่มี ม. 1/3, 1/6 ความนา่ สนใจ และผ่านกระบวนการ ท 4.1 คดิ อยา่ งมเี หตแุ ละผลเพ่ือ ม. 1/1 ประกอบการเขียน การเลา่ เหตุการณ์ ท 4.1 ตามท่ีได้เขียนบรรยายไว้ รวมถงึ ม.1/2, 1/4 การพูดแสดงความคดิ เหน็ งานของ ผูอ้ น่ื อยา่ งมีวิจารณญาณ เสียงในภาษาไทยประกอบด้วยเสยี ง พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ เป็น พน้ื ฐานในการสรา้ งคำและประโยค การเข้าใจพืน้ ฐานของภาษามีสว่ น ช่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถออกเสียงได้ ถูกต้อง และเขา้ ใจในภาษามากขึน้ การเข้าใจด้านเสยี งเป็นพ้ืนฐานใน การเขา้ ใจ การสรา้ งคำ และประโยค รวมไปถึงการสรา้ งคำด้วยวิธีต่าง ๆ รวมไปถงึ เข้าใจชนดิ ของคำและ หนา้ ที่ของคำตา่ ง ๆ เพื่อใชใ้ นการ สร้างและวเิ คราะห์ประโยคเพื่อการ ส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วย เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ที่ 19

วจิ ารณญาณ 2 20 2 20 สอบปลายภาค 60 100 รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 20

รหัสวชิ า ท21102 คำอธิบายรายวชิ า ช้ั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี 1 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ท1ี่ 1/1 รายวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วประเภทบรรยายและบทร้อยกรองประเภทกาพย์และโคลง สี่สุภาพ อ่านจับใจความสำคัญ ระบุเหตุผลและข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข่าวและบทความ การ ตีความจากงานเขียน เอกสารคู่มือ และวิเคราะห์งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ วิเคราะห์คณุ ค่าที่ได้รบั จากงานเขียน นำข้อคิดจากการอ่านไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดำเนินชีวิต มีมารยาทใน การอ่าน เขียนส่ือสารแนะนำสถานที่ เขยี นบนส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เขียนแสดงความคิดเห็น เขยี นจดหมาย ส่วนตัวและจดหมายกิจธุระ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้ามีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการพูดสรุป ความ เล่าเรอื่ งย่อ พูดรายงานจากการศึกษาค้นควา้ มีมารยาทในการฟัง ดูและการพูด วเิ คราะห์ชนิดและ หน้าที่ของคำในประโยค การจำแนกสำนวนคำพังเพยและสภุ าษติ แตง่ กาพย์ยานี 11 และศึกษาวรรณคดี และวรรณกรรมเกี่ยวกับสุภาษิตคำสอน บันเทิงคดี โดยสรุปเน้ือหาวิเคราะห์และอธิบายคุณค่า ท่องจำ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ คา่ โดยใช้กระบวนการทางการสื่อสารและกระบวนการคิดเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิในการดำเนินชีวิต มีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีเหมาะสม เกิดความรัก ชาติ ศาสน์กษตั รยิ ์ เปน็ ผู้ใฝ่เรียนรู้ มวี ินัย มุ่งม่ันในการทำงาน ซื่อสัตยส์ จุ ริตและรกั ความเปน็ ไทย อันเป็น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีจะนำไปดำรงชีวติ อย่างสนั ตสิ ขุ ในสังคมไทยและสงั คมโลก รหสั ตวั ช้ีวดั ท 1.1 ม.1/1, 1/2, 1/3, 1/5, 1/6, 1/7, 1/8, 1/9 ท 2.1 ม. 1/2, 1/6, 1/7, 1/8, 1/9 ท 3.1 ม. 1/1, 1/5, 1/6 ท 4.1 ม.1/3, 1/5, 1/6 ท 5.1 ม. 1/1, 1/2, 1/3, 1/4,1/5 รวมทั้งหมด 24 ตัวช้ีวดั เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวธี าภิเศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าที่ 21

รหสั วชิ า ท21102 โครงสร้างรายวิชา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี1 จำนวน 1.5 หน่วยกิต 1 รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง ที่ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก เรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน 1 นริ าศเพลนิ ใจ ท 5.1 นิราศภเู ขาทอง 65 ม. 1/1, 1/2, 1/5 นิราศภูเขาทองเปน็ นิราศทสี่ นุ ทรภู่ แตง่ ในสมัยรัชกาลท่ี 3 ถอื ว่าเปน็ นริ าศทไี่ ด้รบั การยกยอ่ งจาก วรรณคดีสโมสรวา่ เปน็ ยอดแห่ง กลอนนริ าศ นริ าศภูเขาทองมี เนื้อหาเกยี่ วกับชวี ติ ของผู้คนท่ีอาศยั อยู่ริมนำ้ และชมุ ชนต่าง ๆ ที่อย่ใู น ไทย รวมทัง้ วิถชี ีวติ และวัฒนธรรม ของคนในยคุ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ ตอนตน้ 2 เสนาะหู ท 1.1 อ่านบทร้อยกรอง ทํานองเสนาะ 4 5 บนั เทิงใจ ม.1/1, 1/2, 1/3, เป็นการอ่านท่ีทาํ ให้คนอ่ืนรับรู้ 1/9 เรอื่ งราวท่อี ่านไดด้ ้วย ผูอ้ ่านควร อา่ นให้ถูกต้องตามหลักการอ่าน ทง้ั อ่านออกเสียงและอา่ นทํานอง เสนาะ ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี อา่ นออกเสยี ง ดังฟังชดั ไม่ตะกกุ ตะกกั จึงจะทําให้ การสื่อสารด้วยการอา่ นเปน็ ไปอยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ เกิดประโยชนท์ ้ังผสู้ ง่ สารและผรู้ บั สาร 3 อ่านอย่าง ท 1.1 การอา่ นแปลความ ตีความ ขยาย 4 5 พเิ คราะห์ ม.1/5, 1/6, 1/7, ความ การอา่ นแปลความ การ 1/8 อา่ นตีความ การอ่านเพื่อขยาย ความ เป็นการอ่านทม่ี ีความสัมพนั ธ์ โดยการอา่ นแปลความ เปน็ ทักษะ พ้นื ฐาน ของการอา่ นตคี วาม และ การอา่ นเพ่ือขยายความ ถา้ สามารถ เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าที่ 22

4 ทักษะ ท 1.1 แปล ความของเร่อื งทอ่ี ่านได้แล้ว 2 5 วรรณคดี ม.1/1 ย่อมชว่ ยสง่ เสรมิ ใหส้ ามารถตีความ 4 3 ท 5.1 ม. 1/1 เรอ่ื ง ทอี่ ่านและสามารถขยายความไดใ้ น 5 ร้อยกรอง ท 5.1 1/5 จำเปน็ ท 4.1 1/5 ทส่ี ุด การท่องจําบทประพันธ์ การทอ่ งจําบทประพันธ์ที่ไพเราะ เพ่ือให้ผูท้ ่องจําไดเ้ ห็นความงดงาม ของบทร้อยกรองทั้ง วรรณศลิ ป์ การใชภ้ าษา เนอื้ หา วิธีการประพันธ์ การคัดลายมือ คือ การเขียนหนังสือดว้ ยตวั บรรจงให้ เกิด ความสวยงาม มีการเว้นวรรค เว้นชอ่ งไฟให้ถูกต้อง คาํ ประพันธ์ประเภทกาพย์ 1.กาพย์ยานี 11 2.กาพย์ฉบัง 16 3.กาพยส์ ุรางคนางค์ 28 6 พงศาวดาร ท 5.1 ราชาธิราช 6 3 สดุ เพลิน ม. 1/1, 1/3, 1/4 ราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา 2 4 แตง่ โดยเจา้ พระยาพระคลัง (หน) 2 4 7 สำนวน ท 1.1 ราชาธริ าชเป็นงานประพนั ธบ์ ันทึก หรรษา ม.1/5 เหตกุ ารณ์เชงิ ประวัตศิ าสตร์ เหมอื น ท 4.1 8 ย่อเรือ่ งอย่าง ม.1/6 พงศาวดาร แต่งคาํ ประพนั ธ์ ง่าย ประเภทร้อยแกว้ เชิงบรรยายโวหาร ท 2.1 ม. 1/2, 1/6, 1/9 คาํ ศัพท์และสำนวน การเรยี นรู้ความหมายของคาํ ศพั ท์ ทําใหง้ ่ายต่อการแปล ความหมาย ของคําศัพทจ์ ากเร่อื งทอ่ี ่าน สำนวน คือ กลุ่มคำหรอื ประโยคที่มี ความหมายไม่ตรงตวั แต่ใช้ในการ เปรียบ การเขียนเรื่องยอ่ การเขียนเรื่องยอ่ เป็นการอ่านเรื่อง ให้เข้าใจท้ังหมด แล้วนาํ มาย่อเอา ใจความสาํ คญั หรือเนอ้ื หาสําคัญของ เรือ่ งให้ส้ันท่ีสดุ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวีธาภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หนา้ ที่ 23

สอบกลางภาค 2 20 2 5 9 คำยากแปล ท 1.1 การอา่ นตีความจากคาํ ยาก (เรื่อง ง่าย 5 2 ม. 1/5, 1/6, 1/9 ราชาธิราช) การอ่านแปลความ การ 10 ฟงั ดู อยา่ งมี 2 2 วจิ ารณญาณ ท 5.1 อ่านตคี วาม การอ่านเพ่ือขยาย 5 5 11 อา่ นเพื่อพนิ ิจ ม. 1/1, 1/2, 1/3, ความเป็น การอ่านที่มีความสัมพันธ์ 2 2 12 คำและ 1/4,1/5 โดยการอา่ นแปลความ เป็นพื้นฐาน ประโยคควรรู้ ของการอ่านตีความและการอ่าน 13 บรรยายให้ เพลิดเพลิน เพือ่ ขยายความ ถา้ สามารถแปล ความของเร่อื งทอ่ี ่านได้แล้ว ย่อม ช่วยส่งเสริมให้สามารถตีความ เร่ือง ทอ่ี า่ นและสามารถขยายความไดใ้ น ทีส่ ดุ ท 3.1 การฟังและดู เปน็ ทักษะการรับสาร ม. 1/1, 1/5, 1/6 ทง้ั วัจนภาษาและอวจั นภาษา ท่ใี ช้ ในชวี ิตประจําวนั มากท่สี ุด เป็น ทักษะพน้ื ฐานของการพัฒนา ศลิ ปะภาษาด้านอื่น ผู้รบั สารจึงควร มีหลกั เกณฑ์และมารยาทใน เลอื กดู ส่ือตา่ ง ๆ เพื่อประโยชนต์ อ่ ตนเอง และสงั คมมากท่สี ดุ ท 1.1 การอ่านในใจ การอ่านในใจเปน็ การ ม.1/1, 1/2 อ่านท่เี ขา้ ใจเร่ืองราวไดเ้ พยี งคน เดียว ผอู้ ่านตอ้ งใชส้ มาธิ สตใิ นการ อา่ น ตงั้ จุดหมายในการอ่าน อา่ น อย่างพินจิ พิจารณา จะทําใหจ้ ับใจ ความสาํ คญั ของเร่ืองท่ีอ่าน และ สามารถตอบคาํ ถาม ลาํ ดับ เหตุการณ์ของเรื่องได้ ท 4.1 คำและประโยค คำ คือ พยางค์ท่ี ม.1/3 เปลง่ เสยี งออกมาแล้วมคี วามหมาย โดยแบ่งเป็นประเภทของคำได้ 7 ชนิด เมอ่ื นำคำมารวมกนั จะได้ หน่วยทใ่ี หญ่ขนึ้ คือ กลุ่มคำ หรือ วลี ประโยค ท 2.1 การเขียนบรรยาย ม. 1/2, 1/6, การเขยี นบรรยาย เป็นการเขียน เพอ่ื เล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนงึ่ ท่ีเกดิ ขนึ้ เพอ่ื ให้ผู้อา่ นเหน็ ภาพ เหตกุ ารณ์น้ันทั้งหมดและเขยี น เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หน้าที่ 24

14 เปรยี บเทยี บ ท 2.1 จดหมายกิจธุระได้ 2 1 กับภาษา ม. 1/2, 1/7, 1/9 การใช้ความเปรียบ 4 2 การใชค้ วามเปรยี บ เป็นกลวิธีการใช้ 6 5 15 อา่ นให้แตก ท 5.1 ม. 1/1 ภาษาทที่ าํ ใหผ้ ู้ฟังหรอื ผู้อ่าน เหน็ ท 1.1 ม. 1/1 2 20 ภาพท่ีบรรยายไดช้ ดั เจน เขา้ ใจ 60 100 16 รายงานควรรู้ ท 2.1 อารมณ์และความร้สู กึ ของผู้เขียน ม. 1/ 8 การอ่านหนังสือในชวี ติ ประจาํ วนั เพือ่ ความรอบรู้และเพอ่ื ความ บนั เทงิ การอา่ นเพื่อใหเ้ กดิ ผล สมั ฤทธติ์ รงตามวตั ถุประสงค์ การเขยี นรายงาน เขยี นรายงานได้ครบถ้วนถูกต้องท้ัง ในดา้ นองค์ประกอบและวิธีการเพื่อ ทำรายงานการศึกษาค้นควา้ ได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ สอบปลายภาค รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวีธาภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หน้าที่ 25

รหสั วิชา ท20201 คำอธบิ ายรายวิชา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี 1 รายวิชา การใชห้ ้องสมุด 1 เวลา 20 ช่ัวโมง ศึกษาการใชห้ ้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ เข้าใจมารยาทการใชห้ อ้ งสมดุ สามารถใช้บรกิ ารและ กจิ กรรมของห้องสมดุ ใชท้ รัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ร้วู ธิ กี ารจดั เกบ็ ทรัพยากร สารสนเทศ สามารถสบื ค้นทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมดุ รูจ้ ักเกีย่ วกบั หนังสอื และสว่ นต่างๆ ของ หนังสือ เข้าใจวิธีการรักษาและถนอมหนงั สือได้อย่างถกู วธิ ี สามารถใช้อินเทอรเ์ นต็ ในการสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ งๆ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ใชห้ นังสอื อ้างอิงในการคน้ หาคําตอบ เขา้ ใจวธิ ีการอา่ นหนงั สือ และมีทักษะในการอ่านหนังสือ การเขยี น และการศกึ ษาค้นคว้าอย่างต่อเน่ือง เขยี นรายงานจากการศกึ ษา คน้ คว้าได้อยา่ งถูกต้อง ร้จู ักการใชห้ ้องสมดุ และแหลง่ เรยี นรู้ มารยาทการใช้ ห้องสมุด การใชบ้ ริการและกจิ กรรมของ หอ้ งสมดุ ทรัพยากรสารสนเทศ และมีทักษะในการอ่านหนังสอื การเขยี น และ การศกึ ษาค้นคว้า โดยใช้ทักษะการใชห้ ้องสมุดและแหลง่ เรยี นรู้ มีคุณธรรมการใช้บริการห้องสมดุ รจู้ ักเลือกใช้ สารสนเทศประเภทต่างๆ รู้จักการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมอื ในการสืบคน้ ข้อมูลสารสนเทศ เหน็ ความสําคญั ของการอ่าน การเขียน เพื่อนาํ เสนอขอ้ มูล เชน่ การเขียนรายงาน สามารถนําความรู้ไปพัฒนา ตนเอง และใช้เปน็ พืน้ ฐานการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั 1. ศึกษาห้องสมุดและแหล่งเรียนรเู้ พื่อการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง 2. เข้าใจมารยาทในการใชห้ ้องสมดุ ได้อย่างถูกต้อง 3. อธบิ ายการใชบ้ ริการและกิจกรรมของหอ้ งสมุดไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4. ศึกษาการใช้ทรัพยากรและสารสนเทศในหอ้ งสมดุ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เขา้ ใจวธิ กี ารจดั เกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศและรู้วธิ ีการสืบคน้ ได้อย่างถูกต้อง 6. วเิ คราะห์เกยี่ วกบั หนังสือและสว่ นต่าง ๆ ของหนังสือ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวีธาภิเศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หนา้ ที่ 26

รหัสวชิ า ท20201 โครงสร้างรายวชิ า ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี 1 รายวิชา การใช้ห้องสมดุ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง ที่ ชอ่ื หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก เรียนรู้ ที่คาดหวัง (ชวั่ โมง) คะแนน ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวม ความรู้ 1 ห้องสมุด ขอ้ 1 และให้บริการข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ 5 10 ขอ้ 1 เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคน ศึกษา 5 2 แหล่งการ หาความรู้ โดยการใช้ ห้องสมุดและ 5 เรียนรู้ ข้อ 2 แหล่งการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ 5 ขอ้ 3 แหล่งข้อมูล ขา่ วสาร สารสนเทศเพ่ือ 5 10 ระเบียบและ เสริมสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ใน 3 มารยาทการ ขอ้ 3 โรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 3 2 ข้อ 4 และแหล่ง เรียนรู้ท่ีอยู่ภายนอก ใช้หอ้ งสมดุ โรงเรียน เป็น แหล่งการศึกษาตลอด ชีวิตท่ีมี ประชาชนสามารถหาความรู้ งานบรกิ าร ตา่ งๆ ไดด้ ้วยตนเองตลอดเวลา 4 และกจิ กรรม ร ะ เบี ย บ แ ล ะ ม า ร ย า ท ก า ร ใช้ หอ้ งสมดุ ห้องสมดุ การใช้ห้องสมดุ ผใู้ ช้ห้องสมุด มีหน้าที่ จะต้องปฏิบัติตนตาม ระเบียบและ 20 มารยาทในการเข้าใช้หอ้ งสมุด ระเบียบการ งานบริการและกิจกรรมห้องสมดุ การให้บริการเป็นหัวใจสําคัญ ของ 5 ยืม คืน งานห้องสมุดและแหล่งการ เรียนรู้ หนังสอื ทําให้เกิดประโยชน์แก่ ผู้ใช้บริการ การจัดกิจกรรมของ ห้องสมุดและ ทรัพยากรสร แหล่งการเรยี นรู้ เปน็ การส่งเสริมให้ผู้ 6 สนเทศ มาใช้บริการ สอบกลางภาค ระเบยี บการยืม-คนื หนงั สือ 5 5 ระเบียบการยืม-คืนหนังสือ และสื่อ 5 10 อื่นๆในห้องสมุด วิธีการยืม คืน หนังสือและสือ่ อ่นื ๆ ในห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศ การรู้จักเลือกทรัพยากร สารสนเทศ เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวีธาภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 27

7 การจดั เกบ็ ท่ีห้องสมุดจัดหามา เพื่อให้บริการ 5 5 ทรัพยากร ความรู้ ข้อมลู ขา่ วสารแกผ่ ูใ้ ช้ สารสนเทศ 3 10 ข้อ 4 การจัดเกบ็ ทรพั ยากรสารสนเทศ 2 20 8 ระบบการจดั การรู้จักเลือกทรัพยากร สารสนเทศ 20 100 หมวดหมู่ ที่ห้องสมุดจัดหามา เพื่อให้บริการ หนงั สือ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารแก่ผู้ใช้ใน รูปแบบวัสดุ ตีพิมพ์และวัสดุไม่ ตพี ิมพ์หรอื สือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ ข้อ 5 ระบบการจัดหมวดหมู่ หนังสือจะ ขอ้ 6 ช่วยให้ผู้ใชห้ ้องสมดุ ค้นหาหนังสอื ได้ สะดวกและ รวดเร็ว ทําให้ผู้ใช้ได้รับ ประโยชนใ์ นการคน้ หาข้อมูล สอบปลายภาค รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 28

รหสั วชิ า ท20202 คำอธบิ ายรายวชิ า ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า การใชห้ อ้ งสมุด 2 เวลา 20 ช่ัวโมง ศกึ ษาการใช้ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ เข้าใจมารยาทการใชห้ อ้ งสมุด สามารถใชบ้ ริการและ กจิ กรรมของห้องสมดุ ใชท้ รัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวู้ ธิ กี ารจดั เกบ็ ทรัพยากร สารสนเทศ สามารถสบื ค้นทรัพยากรสารสนเทศในหอ้ งสมดุ รจู้ กั เกี่ยวกับหนงั สือและส่วนต่างๆ ของ หนงั สอื เข้าใจวธิ กี ารรักษาและถนอมหนงั สือได้อยา่ งถกู วิธี สามารถใช้อินเทอร์เน็ตในการสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ใชห้ นงั สอื อา้ งอิงในการค้นหาคําตอบ เข้าใจวธิ กี ารอ่านหนงั สือ และมที ักษะในการอา่ นหนังสอื การเขียน และการศึกษาค้นคว้าอยา่ งต่อเนื่อง เขียนรายงานจากการศึกษา ค้นคว้าได้อย่างถูกต้อง ร้จู กั การใชห้ ้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ หนงั สอื ใหมวดหมตู่ า่ ง ๆ สารานุกรม หนังสืออา้ งอิง ทรัพยากรสารสนเทศ และมที ักษะในการอา่ นหนังสือ สามารถจดั ทำบันทึกรักการอ่าน บรรณานิทัศน์ การ เขียน และ การศึกษาค้นคว้า โดยใชท้ กั ษะการใช้ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ มีคุณธรรมการใช้บริการห้องสมุด ร้จู ักเลือกใช้ สารสนเทศประเภทตา่ งๆ รู้จักการใช้เทคโนโลยีเปน็ เครือ่ งมอื ในการสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ เห็น ความสาํ คญั ของการอ่าน การเขียน เพ่ือนาํ เสนอข้อมูล เช่น การเขยี นรายงาน สามารถนําความรู้ไปพัฒนา ตนเอง และใชเ้ ปน็ พืน้ ฐานการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง 1. ศึกษาห้องสมดุ และแหลง่ เรียนร้เู พอ่ื การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 2. ศึกษาการใชท้ รัพยากรและสารสนเทศในหอ้ งสมดุ อย่างมีประสิทธภิ าพ 3. เข้าใจวธิ กี ารจดั เก็บทรัพยากรสารสนเทศและรูว้ ธิ กี ารสืบค้นได้อย่างถูกต้อง 4. แยกแยะหนงั สือประเภทต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 5. จัดทำสมดุ รักการอา่ นและทำบรรณานิทัศนไ์ ด้ 6. เขยี นรายงานท่ีมีการการอ้างอิงไดถ้ ูกตอ้ ง รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้ เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ท่ี 29

รหัสวชิ า ท20202 โครงสร้างรายวิชา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 0.5 หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า การใชห้ อ้ งสมุด 2 เวลา 20 ชัว่ โมง ที่ ชื่อหน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั เรยี นรู้ ท่คี าดหวงั (ชัว่ โมง) คะแนน 1 การสบื คน้ ข้อมูล ขอ้ 1 ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ส า ร ส น เท ศ 4 10 สารสนเทศ ขอ้ 2 แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ส า ร ส น เท ศ จ า ก 2 หนังสอื อ้างอิง ขอ้ 3 อิ น เท อ ร์ เน็ ต เป็ น ก า ร สื บ ค้ น 3 การเขยี น สารสนเทศท่ีมีความสําคัญยิ่งในยุค บรรณานุกรม ปัจจบุ นั การบนั ทกึ การ 4 อ่าน ผ้ใู ช้จงึ จาํ เป็นต้องมีทกั ษะ การทำบรรณา ขอ้ 4 หนังสืออ้างอิงและวิธีการใช้หนังสือ 2 10 5 นิทัศน์ 6 การเขยี น อ้างอิงเป็นหนังสือที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ รายงาน ใ ช้ ใ น ก า ร ค้ น ค ว้ า ห า คํ า ต อ บ ข้ อ มู ล โดยเฉพาะ ข้อ 6 การเขียนบรรณานุกรม 2 10 การเขียนบรรณานุกรมจะต้องเขียนให้ ถูกต้อง เนื่องจากเป็นหลักสากลที่ ใช้ ในการทํารายงาน สอบกลางภาค 2 20 ข้อ 5 ก ารบั น ทึ ก ก ารอ่ าน ก ารบั น ทึ ก 2 10 เร่ื อ ง ร า ว จ า ก ก า ร อ่ า น ล ง ใ น บ ร ร ณ นิทัศน์ จะช่วยให้จดจํา หนังสือที่อ่าน ที่ค้นคว้าได้และช่วยเตือนความจํา เรอ่ื งท่ีอา่ นดว้ ย ขอ้ 5 การทําบรรณานิทศั น์ 2 10 ก า ร แ น ะ นํ า ห นั ง สื อ ใ ห ม่ ให้ ผู้ อื่ น ได้ ทราบเก่ยี วกับหนงั สอื เลม่ นน้ั ๆ ขอ้ 6 การเขียนรายงาน 4 10 การเขียนรายงานเป็นการเป็นการ เสนอข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าเร่ือง ใดเรื่องหน่ึง การทํารายงานจะต้องทํา ถกู ต้อง สอบปลายภาค 2 20 รวม 20 100 เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าที่ 30

คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวชิ า ท21201 รายวชิ า ทกั ษะพนื้ ฐานการใชภ้ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ฝกึ ทักษะการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับลักษณะของภาษาไทย คำ กลุ่มคำ และประโยคชนิดต่างๆ ศึกษา หลักภาษาไทยเรื่องเสียง และอักษรไทย เพ่ือให้มีความรู้ และความเข้าใจหลักภาษาไทย สามารถนำ ความรู้ไปใช้วิเคราะห์การใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม อันจะนำไปสู่การอนุรักษ์และพัฒนา ภาษาไทย โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ และความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เพื่อใหเ้ กิดการศึกษาค้นคว้า จนเข้าใจ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั อยา่ งมคี ุณธรรม ผลการเรยี นรู้ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับลกั ษณะของภาษาไทย คำ กลุ่มคำ และประโยคชนดิ ต่างๆ 2. นำความร้ไู ปใช้วิเคราะหก์ ารใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ใชภ้ าษาพูด และภาษาเขียนในการสื่อสารได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาไทย 4. ใช้ภาษาอย่างสร้างสรรคเ์ ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม มวี ฒั นธรรม และคณุ ธรรม ในการใช้ภาษาไทย รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 31

รหสั วชิ า ท20201 โครงสร้างรายวิชา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี 1 รายวิชา ทักษะพืน้ ฐานการใช้ภาษาไทย ที่ ชื่อหน่วยการ เวลา 40 ชวั่ โมง เรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั 1 ลักษณะของ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด (ช่วั โมง) คะแนน ภาษาไทย ลกั ษณะของภาษาไทย ขอ้ 1 ภาษาไทยเป็นภาษาที่มี 5 10 2 เสียงใน ภาษาไทย ขอ้ 1 ลกั ษณะเฉพาะตัวคอื เปน็ ภาษา 4 5 ขอ้ 1 ตระกูลคำโดด มีมาตรา 4 5 3 การผันอกั ษร ตวั สะกด คำควบกลำ้ อักษรนำ ขอ้ 1 ลักษณะของคำเปน็ คำตาย ซ่ึง 2 5 4 คำและพยางค์ เปน็ ลักษณะของภาษาไทย ข้อ 1 เบอ้ื งตน้ 3 5 5 การสร้างคำ เสียงในภาษาไทย เสียงของมนษุ ย์ทเี่ ปลง่ ออกมาเพือ่ ใช้ในการสื่อสาร เสยี งในภาษาไทยประกอบดว้ ย เสยี งพยัญชนะ เสยี งสระ และ เสียงวรรณยกุ ต์ การผันอกั ษร ในภาษาไทยเสยี งวรรณยกุ ต์ จะปรากฏทุกคร้งั ที่มีการออก เสยี ง คำไทยทกุ คำจะปรากฏ เสยี งวรรณยุกตก์ ำกับเสมอ คำ บางคำอาจมรี ูปวรรณยุกต์ กำกบั หรือไม่มีก็ได้ คำและพยางค์ คำเกดิ จากการนำเสียง ในภาษา มาประสมกนั คำที่ ประสมแล้วไม่มีความหมาย เรยี กว่า พยางค์ ถา้ พยางค์หน่ึง พยางค์หรือสองพยางค์ข้ึนไปมา รวมกนั แลว้ มคี วามหมาย เรยี กวา่ คำ การสรา้ งคำ คำมูลซ่ึงเป็นคำดั่งเดิมใน เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวธี าภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 32

ภ า ษ า ไท ย มี ไม่ เพี ย ง พ อ ท่ี จ ะ นำไปใช้ จึงจำเป็นต้องมีการ สร้างคำใหม่ด้วยการประสมคำ ซอ้ นคำ และซำ้ คำเพ่ือเพิ่มคำใน การสือ่ สารมากข้นึ สอบกลางภาค 6 ก ลุ่ ม ค ำแ ล ะ ขอ้ 1 กล่มุ คำและประโยค 10 5 ประโยค การนำคำหลายคำมา 5 5 เรียงกันจะเกิดเป็นกลมุ่ คำท่มี ี ความหมายแต่ยังไมส่ มบรู ณ์เรา รียกว่า วลี ถา้ กลุ่มคำนัน้ ชัดเจนวา่ ใครทำอะไร ทำแก่ใคร ทำใหเ้ ราเข้าใจชัดเจนย่ิงขน้ึ เรียกวา่ ประโยค 7 ความแตกต่าง ข้อ 1 ความแตกตา่ งของภาษา ของภาษา ข้อ3 ภาษาพูดเป็นการสื่อสาร 3 โดยใช้ถ้อยคำน้ำเสียง รวมทั้ง กิริยาอาการ ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกและความ ต้องการของผพู้ ูด ภ าษ าเขี ย น เป็ น ก า ร บันทึกความรู้ ความคิด ความ เข้ า ใ จ ต่ า ง ๆ เป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อักษร ซึ่งสามารถขัดเกลาให้ สละสลวย สุภาพ ถูกต้องตาม ระดบั ภาษา 8 การอ่านใน ขอ้ 1 การอ่านในชวี ติ ประจำวนั 4 ชวี ิตประจำวนั ขอ้ 4 ในชวี ติ ประจำวนั การ รับรขู้ ้อมลู ข่าวสารมีหลายวิธี การอา่ นจงึ เปน็ การรบั ข้อมูล ขา่ วสารทแี่ ละควรฝึกฝนทักษะ ท้ังการอา่ นจับใจความสำคัญ คอื อ่านมุ่งเน้นสาระสำคัญของ ขอ้ ความ บทความ หรือหนงั สือ การอ่านตีความ คือการอ่าน เพื่อพจิ ารณาความหมายทผี่ สู้ ง่ สารส่อื ความหมายได้อย่าง ถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวธี าภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าที่ 33

โดยพจิ ารณาจากความหมาย ของถ้อยคำต่างๆ และควร ปลูกฝังนิสยั รักการอ่าน การศกึ ษาคน้ ควา้ เสมอ 9 การเขยี น ขอ้ 1 การเขยี นส่ือสารด้วยถอ้ ยคำ 3 5 ส่อื สารดว้ ย ข้อ 3 การเขยี นสอ่ื สารผเู้ ขยี น ถอ้ ยคำ ข้อ 4 ต้องรหู้ ลกั เกณฑ์ วิธีการเขยี น ตลอดจนหลักการใชภ้ าษา เพ่ือ เลอื กสรรถ้อยคำมาใชไ้ ด้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม ทั้งการคัด ลายมอื เป็นการฝึกเขียน เบื้องต้นการใชภ้ าษา ประกอบการเขียนคือการ เลอื กใชค้ ำให้ถกู ต้องและมี น้ำหนกั เพื่อสามารถสือ่ สารได้ ถูกต้อง 10 การฟัง ดู และ ข้อ 1 การฟงั ดู และพูดใน 35 พดู ใน ข้อ 3 ชวี ติ ประจำวัน ชีวิตประจำวนั ข้อ 4 การฟัง การดู และการพูด เป็นทักษะที่ใชค้ วบคูก่ นั เสมอใน ชวี ิตประจำวัน เพ่อื ใหผ้ ู้พดู เกิด ความเข้าใจตรงกนั จำเป็นต้อง มหี ลักการ การฟงั การดู และ การพูดอยา่ งสร้างสรรคน์ ั้นตอ้ ง หมน่ั ปฏบิ ัติเสมอ และควร สังเกตพิจารณาเลือกดูและฟงั ในสิ่งท่ีเป็นประโยชนเ์ พื่อเก็บ รวบรวมความรู้ และสามารถ เรยี งเรยี งออกมาเป็นคำพูดท่ี เหมาะสมกับเจตนาในการ สอื่ สาร สอบปลายภาค 2 20 รวม 40 100 เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าท่ี 34

รหสั วิชา ท21202 คำอธิบายรายวิชา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า ทักษะการเขยี นเบ้อื งตน้ เวลา 40 ช่ัวโมง ฝึกทักษะการเขียนเบื้องต้นใช้ข้อมูลอ้างอิงประกอบการเขียนบทสนทนาแสดงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ โดยใช้จินตนาการหรือกำหนดสถานการณ์ข้ึน ฝึกเขยี นบทความส้ันๆ แสดงความคิดเห็น และการประเมิน งานเขียน การเขียนย่อความการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าโดยใช้ข้อมูลในท้องถ่ิน การเขียน บรรยายประสบการณ์ การเขียนพรรณนาทัศนียภาพ และฝึกแต่งคำประพันธ์ตามความคิดและหัวข้อที่ กำหนดให้ และเขียนเรื่องสั้น เป็นร้อยกรองตามความพอใจโดยมีเนื้อหาสาระ น่าอ่าน ใช้ถ้อยคำสำนวน สละสลวยกอ่ ใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลนิ และช่วยพัฒนาความคิด โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ และใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าจนเข้าใจ เพ่ือให้มี คุณลักษณะเปน็ คนใฝ่เรยี นรู้ ใฝเ่ รียนอยอู่ ยา่ งพอเพียง มคี วามม่งุ ม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย และ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอยา่ งมีคุณธรรม จรยิ ธรรมตลอดไป ผลการเรียนรู้ 1. เขียนบทสนทนาแสดงความรู้สึกในน้ำเสียงโดยใชจ้ ินตนาการหรือกำหนดสถานการณ์ได้ 2. เขยี นบทความแสดงความคิดเห็นโดยใชข้ ้อมูลอ้างอิงประกอบการเขยี น 3. เขียนรอ้ ยแก้ว บรรยายประสบการณ์ และพรรณนาทศั นยี ภาพ 4. เขยี นยอ่ ความจากส่ือทมี่ รี ูปแบบและเนอ้ื หาหลากหลาย 5. แต่งคำประพนั ธต์ ามความถนัดและหวั ข้อท่กี ำหนดให้ 6. เขยี นเร่อื งสั้นเปน็ ร้อยกรองท่ีช่ืนชอบได้ 7. ประเมินงานเขียนของผอู้ ่นื ได้ถูกต้องตามหลักวิชา แล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง 8. เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นควา้ เรือ่ งราวในท้องถ่ินไดต้ ามหลักการเขยี นเชิงวิชาการ และใช้ขอ้ มูล สารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง รวมท้ังหมด 8 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวธี าภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าที่ 35

รหัสวิชา ท20201 โครงสรา้ งรายวชิ า ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ 2 รายวิชา ทักษะการเขยี นเบื้องต้น เวลา 40 ช่วั โมง ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก การเรยี นร/ู้ (ชัว่ โมง) คะแนน ตัวช้ีวดั 1 ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกับ ข้อ 1 ถงึ ความร้เู บอ้ื งต้นเกยี่ วกับการเขียน 4 5 การเขียน ข้อ 8 เป็นการความรู้พื้นฐานเก่ียวกับ องค์ประกอบ สําคัญต่างๆ ในการ เขียน ทั้งลักษณะของเน้ือหา การ ใช้ภาษา การสะกดคํา การลําดับ ใจความสําคัญ รูปแบบของการ เขียนและส่วนประกอบอ่ืนๆที่ช่วย พัฒนางานเขียนให้มีประสิทธิภาพ การเขยี นยอ่ ความ 2 การเขยี นยอ่ ความ ข้อ 4 การเขยี นย่อความ 25 การเขียนย่อความเป็นทักษะจําเป็น ที่ ต้ อ ง ใ ช้ | อ ยู่ เ ส ม อ ใ น ชีวิตประจําวัน จึงต้องเรียบเรียง ด้วย ภาษาที่สั้น กะทัดรัด และส่ือ ความหมายไดอ้ ยา่ ง ชดั เจน การเขียนบรรยายและ ขอ้ 3 ก า รเขี ย น บ ร รย าย แ ล ะ เขี ย น 4 5 3 เขยี นพรรณนา พรรณนา การเขียนบรรยาย เป็นการเขียนถึง เหตุการณ์ท่ี | เกิดขึ้นอยู่โดยการ แ ส ด งให้ เห็ น ส ถ าน ท่ี เกิ ด เห ตุ สภาพแวดล้อม บุคคล ตลอดจนผล ท่ีเกิดขึ้นจาก เหตุการณ์น้ันๆการ เขียน พ รรณ น า คือ การเขียน บรรยายอย่างละเอียดและประณีต โดยมุ่งเน้นให้ ผู้อ่านเกิดความรู้สึก ทางอารมณ์ เกดิ มโนภาพ การเขียนอธิบายและ ขอ้ 3 การเขียนอธิบายและมารยาทใน 4 5 4 มารยาทในการเขยี น การเขียน การอธิบายเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนเสมอใน เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขนุ เทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หน้าท่ี 36

การเขยี นแสดงความ การส่ือสาร | โดยมีจุดประสงค์เพื่อ 4 10 5 คดิ เหน็ อธิบายให้มีรายละเอียดท่ี ชัดเจน ย่ิงข้ึน การเขียนอธิบายจึงเป็นการ 2 20 การเขยี นรายงาน เขียนเพ่ือ ไขความให้ความหมาย 4 10 6 ก ร ะ จ่ า ง ผู้ เขี ย น จึ ง ต้ อ ง รู้ จั ก เลือกสรรถ้อยคําที่จะทําให้ผู้อ่าน 4 5 เขยี นเพอ่ื การส่อื สาร เข้าใจสารได้ตรง ตามจดุ ประสงค์ 7 ข้อ 2 การเขยี นแสดงความคิดเหน็ เป็นกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก ความคิดเห็น ของผู้ส่งสารไปให้ผู้รับสาร เข้าใจ ทําได้ กระบวนการเขียนท่ีสามารถ ทําให้ผู้รับ สารเช่ือถือต้องมีข้อมูล หลักฐาน และเหตุผล ประกอบ อย่างชัดเจน ผู้เรียนจึงต้องหมั่น ฝึกฝนการ เขียนอยูเ่ สมอเพื่อพฒั นา ตนเอง สอบกลางภาค ขอ้ 8 การเขยี นรายงาน การเขียนรายงาน เป็นการนําเสนอ ผล การศึกษาค้นคว้า รวบรวม สํารวจ หรือแสดงผล การปฏิบัติ เก่ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงอย่างเป็น ระเบียบแบบแผน โดยใช้ทักษะทาง ภ า ษ า ท่ี ถู ก ต้ อ ง เห ม า ะ ส ม ผู้รายงานจึงต้องศึกษาให้มีความรู้ ค ว าม เข้ าใจ ใน เรื่ อ งรู ป แ บ บ องค์ประกอบ กระบวน การศึกษา ค้นคว้ารายงาน และการนําเสนอ อย่าง ถูกต้อง เพื่อให้รายงานนั้น เปน็ งานวชิ าการทีม่ ี คณุ คา่ ภาษา ข้อ 1 ถึง เขียนเพือ่ การส่อื สาร ขอ้ 8 ภาษาเขียน เป็นภาษาท่ีมีความ เคร่งครัดต่อ การใช้ถ้อยคํา เพราะ เป็นภาษาที่ปรากฏเป็นลาย ลักษณ์ อักษรจึงมีแบบแผนกําหนคภาษา เขียนในแต่ ละประเภทอยา่ งชดั เจน ดังนั้น การใช้ภาษาเขียน จึงควร ตระห นั กถึงความถูกต้องและ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวีธาภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หนา้ ท่ี 37

เหมาะสมใน การใช้ภาษาระดับ ภาษาอยา่ งเคร่งครดั เขยี นเรื่องส้นั ข้อ 6 เขยี นเร่อื งสัน้ 4 5 2 5 8 เร่ืองส้ันมีองค์ประกอบท่ีสําคัญท้ัง 4 5 การวาง โครงเร่ือง เนื้อเรื่อง ตัว 2 20 ละคร ฉากและบรรยากาศ การ 40 100 เขียนเรื่องส้ันจงึ ตอ้ งเขยี นให้มีความ น่าสนใจ และมีข้อคิด คุณค่า คติ สอนใจ หลกั การแต่งบทร้อย ขอ้ 5 หลักการแตง่ บทร้อยกรอง 9 กรอง บทร้อยกรอง เป็นคําประพันธ์ท่ี แต่งขึ้นตาม ลักษณะบังคับของ ฉันทลักษณ์ บทร้อยกรองของ ไทย ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ฯลฯ การ แต่งคําประพันธเ์ ป็น ภูมิปัญ ญ า และเป็นมรดกทาง ภาษาของชาติที่คนไทยควรอนุรักษ์ ด้วยความภมู ใิ จ การพจิ ารณาคณุ คา่ งาน ขอ้ 7 การพิจารณาคณุ ค่างานเขยี น 10 เขยี น งานเขียนแต่ละชนิดมีคุณค่าควรแก่ การอ่าน และการพิจารณาในหลาย ด้าน คุณค่าทางอารมณ์ คุณค่าด้าน ส ติ ปั ญ ญ า สั ง ค ม ก า ร เมื อ ง จินตนาการ จริยธรรม และภาษา ซึ่งสามารถนําคุณค่าเหล่านี้มา ใช้ พฒั นางานเขียนตนเอง สอบปลายภาค รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หน้าท่ี 38

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 39

รหสั วิชา ท22101 คำอธบิ ายรายวิชา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี 1 รายวิชา ภาษาไทยพนื้ ฐาน เวลา 60 ชว่ั โมง ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน เขียนแผนผัง ความคิด แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งจากการอ่าน ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียน บรรยาย พรรณนา เรียงความ ย่อความ พูดสรุปใจความสำคัญจากการฟังและการดู วิเคราะห์ ข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ วิจารณ์เร่อื งทฟ่ี ังและดูได้อย่าง มีเหตผุ ล สร้างคำสมาส วเิ คราะห์โครงสร้าง ของประโยค ฝึกการใช้คำราชาศัพท์ สรุปเน้ือหา วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน ที่อา่ น สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอา่ นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสืบค้นความรู้ การจดบันทึก ใช้ความสามารถในการคิด การอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรยี นรู้ ใชค้ วามสามารถในการส่อื สารกบั ผูอ้ ื่นให้เข้าใจ ตรงกันเห็นคุณค่าของภาษาไทย นำความรู้ไปในการแกป้ ัญหาให้เกิดประโยชน์ในชีวติ เป็นผู้มีคณุ ลักษณะ อันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณค่าภาษาไทยซ่ึงเป็น เอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ย์สุจริต มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งมั่นใน การทำงาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาคภูมิใจใน ภาษาไทย และรักษาไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ รหัสตัวชี้วดั ท 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ท 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ท 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ท 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/4 ท 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 รวม 17 ตัวชวี้ ดั เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวีธาภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ที่ 40

รหัสวชิ า ท22101 โครงสร้างรายวิชา ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี 1 รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน เวลา 60 ชัว่ โมง ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก เรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 1 สมบัติทาง ท 1.1 ม.2/1-2 วรรณคดีและวรรณกรรมเปน็ 12 15 วรรณกรรมไทย ม.2/4 สมบตั ทิ ี่มีคุณค่าย่ิงของไทยที่ ม.2/7-8 เกดิ จากภมู ปิ ัญญาไทย ซึ่งได้ ท 2.1 ม.2/1 ถา่ ยทอดความรู้สึกนึกคิด ท 3.1 ม.2/4 คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี ม ท 5.1 ม.2/1-4 ประเพณี เรือ่ งราวของสังคมใน อดีตและความงามของภาษา การเรยี นรู้ โดยผ่านทกั ษะการ อา่ นฟังดูพดู และเขยี น การ วเิ คราะหว์ ิจารณ์และ กระบวนการทำงานรว่ มกนั จะ ทำใหผ้ ู้เรยี นได้รับความรู้ความ เข้าใจวรรณคดีและวรรณกรรม จะทำให้เกิดความบนั เทิงใจ ความซาบซ้ึงและภมู ิใจในบรรพ บรุ ุษทีไ่ ด้ส่งั สมสืบทอดมาจนถึง ปัจจุบัน 2 โคลงภาพพระราช ท 1.1 ม.2/1-2 การเขยี นบรรยายเปน็ 18 15 พงศาวดาร ม.2/7-8 การเขียนบอกเล่าข้อมลู หรือ ท 2.1 ม.2/2 เร่ืองราวมีประโยชนใ์ นการ ท 3.1 ม.2/1-3 อธิบายความ ทำให้ผู้อา่ นเข้าใจ ม.2/6 เร่อื งราว สว่ นการเขียน ท 4.1 ม.2/1 พรรณนาเป็นการเขยี นทแี่ สดง ท 5.1 ม.2/1-4 รายละเอียด ความคดิ ความรู้สกึ ของผู้เขียนและยังเปน็ ศิลปะ การเขยี นเพ่ือให้ผอู้ ่าน เกิดความประทับใจและ จนิ ตนาการการเขยี นบรรยาย และการเขียนพรรณนาจงึ เป็น ศิลปะในการเขียนทต่ี ้องไดร้ ับ การฝึกฝนเพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถ เขยี นงานเขียนแต่ละประเภทได้ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรงุ 2564) หน้าที่ 41

3 บทเสภาสามัคคี ท 1.1 ม.2/1-2 ถกู ต้องตามลักษณะการเขยี นอนั 2 20 เปน็ ประโยชน์ในการศึกษาและ 18 15 เสวก ตอนวศิ วกรรม ม.2/7-8 ใช้สอื่ สารในชวี ิตประจำวนั ได้ อยา่ งถูกต้อง 12 15 มาและสามคั คเี สวก ท 2.1 ม.2/3-4 คำราชาศัพท์เป็นการ ท 3.1 ม.2/4 กำหนดคำและภาษาทสี่ ะท้อน ให้เหน็ วัฒนธรรมอนั ดงี ามของ ม.2/6 ไทย การท่ผี เู้ รยี นได้เรียนรคู้ ำ ราชาศัพทช์ ่วยใหผ้ เู้ รียนใช้ภาษา ท 4.1 ม.2/2-3 ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมตาม กาลเทศะ สถานท่ี บุคคลและ ท 5.1 ม.2/1-5 โอกาส การอา่ นจบั ใจความ สำคัญเปน็ ทักษะพน้ื ฐานที่ควร 4 ศิลาจารึกหลักท่ี 1 ท 1.1 ม.2/1-2 ฝกึ ฝนให้เกิดความชำนาญ ม.2/8 ผู้เรียนท่ีมคี วามสามารถในการ อา่ นจบั ใจความสำคญั จะช่วย ท 2.1 ม.2/5 ให้เขา้ ใจเร่ืองราวและสามารถ ท 3.1 ม.2/3 นำความรู้ แนวคิดท่ีไดไ้ ปปรับใช้ ในชวี ิตประจำวันได้ สอบกลางภาค การเขียนเรียงความเปน็ รูปแบบ หนงึ่ ของการเขยี นทผี่ ูเ้ ขียน สามารถใช้กระบวนการอา่ น การเขียน การฟัง ดแู ละพดู การวิเคราะหว์ รรณกรรม ตลอดจนการแต่งการท่องจำคำ ประพันธ์มาพฒั นา กระบวน การเขียนอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อแสดงความรู้ ความคดิ ของผูส้ ่งสารไปยังผ้รู บั สารไดต้ รงเจตนาของการสื่อสาร ก่อให้เกดิ ประสิทธิและ ประสิทธผิ ลในการส่ือสาร นำไปสกู่ ารปรบั ประยกุ ต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน การเขียนรายงานการศึกษา ค้นควา้ เป็นการเขียนทเ่ี รยี บ เรยี งข้อมูลจากการอา่ นคน้ คว้า อยา่ งเปน็ ระบบสมเหตสุ มผล เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 42

ท 4.1 ม.2/2 เปน็ การใช้ภาษาอย่างมหี ลกั การ ท 5.1 ม.2/1-4 มกี ารคน้ ควา้ อา้ งอิง นำสู่การ นำเสนอในรปู แบบท่หี ลากหลาย ท้ังการพดู และการเขียนโดยใช้ 2 20 ระดบั ภาษาและรูปแบบท่ี 60 100 ถูกต้อง สอบปลายภาค รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวธี าภเิ ศก บางขุนเทยี น พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ท่ี 43

รหสั วชิ า ท22102 คำอธบิ ายรายวิชา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ 2 รายวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน เวลา 60 ชัว่ โมง ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง จับใจความสำคัญของเร่ืองที่อ่าน เขียนแผนผัง ความคิด แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งจากการอ่าน ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียน บรรยาย พรรณนา เรียงความ ย่อความ พูดสรุปใจความสำคัญจากการฟังและการดู วิเคราะห์ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น วิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดูได้อย่าง มีเหตุผล สร้างคำสมาส วิเคราะห์โครงสร้าง ของประโยค ฝึกการใช้คำราชาศัพท์ สรุปเน้ือหา วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมท้องถ่นิ ที่ อ่าน สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสืบค้นความรู้ การจดบันทึก ใช้ความสามารถในการ คิด การอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ใช้ความสามารถในการสื่อสารกับผู้อ่ืนให้ เข้าใจตรงกันเห็นคุณค่าของภาษาไทย นำความรู้ไปในการแก้ปัญหาให้เกิดประโยชน์ในชีวิต เป็นผู้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณค่า ภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย และรกั ษาไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ รหัสตวั ช้ีวัด ท 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ท 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 ท 3.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ท 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/4 ท 5.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 รวม 17 ตัวชี้วัด เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หนา้ ท่ี 44

รหสั วิชา ท22102 โครงสร้างรายวิชา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 1.5 หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ 2 รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน เวลา 60 ชัว่ โมง ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั จำนวน น้ำหนัก (ชวั่ โมง) คะแนน เรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั วรรณคดีและวรรณกรรม เปน็ สมบัตทิ ่ีมีคุณค่ายิง่ ของ 12 15 1 บทละครเรอ่ื ง ท 1.1 ม.2/1-2 ไทยทีเ่ กดิ จากภมู ิปญั ญาไทย ซึง่ ได้ถ่ายทอดความร้สู กึ นึก 18 15 รามเกียรติ์ ม.2/4 คิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เร่ืองราวของสงั คม ตอนนารายณ์ ม.2/7-8 ในอดีตและความงามของ ภาษา การเรียนรู้ โดยผ่าน ปราบนนทก ท 2.1 ม.2/1 ทักษะการอ่านฟังดูพดู และ เขียน การวเิ คราะหว์ จิ ารณ์ ท 3.1 ม.2/4 และกระบวนการทำงาน ร่วมกนั จะทำใหผ้ เู้ รียน ท 5.1 ม.2/1-4 ได้รบั ความรู้ความเขา้ ใจ วรรณคดแี ละวรรณกรรม 2 กาพย์ห่อโคลง ท 1.1 ม.2/1-2 จะทำใหเ้ กดิ ความบนั เทิงใจ ความซาบซ้งึ และภมู ใิ จใน ประพาสธาร ม.2/7-8 บรรพบรุ ุษที่ไดส้ ั่งสมสบื ทอด ทองแดง ท 2.1 ม.2/2 มาจนถึงปัจจุบัน ท 3.1 ม.2/1-3 การเขียนบรรยาย เปน็ การเขยี นบอกเลา่ ข้อมูล ม.2/6 หรอื เรอ่ื งราวมีประโยชนใ์ น การอธิบายความ ทำให้ ท 4.1 ม.2/1 ผูอ้ ่านเขา้ ใจเรื่องราว สว่ น การเขยี นพรรณนาเปน็ การ ท 5.1 ม.2/1-4 เขียนทีแ่ สดงรายละเอียด ความคดิ ความรสู้ ึกของ ผูเ้ ขยี นและยังเปน็ ศลิ ปะ การเขียนเพื่อให้ ผ้อู า่ นเกดิ ความประทับใจ และจนิ ตนาการการเขียน บรรยายและการเขยี น พรรณนาจึงเป็นศิลปะใน เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรียนทวธี าภิเศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรงุ 2564) หนา้ ท่ี 45

ท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ จำนวน นำ้ หนัก เรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั (ชวั่ โมง) คะแนน การเขยี นที่ต้องไดร้ ับการ ฝกึ ฝนเพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถ 2 20 เขยี นงานเขียนแตล่ ะ ประเภทได้ถกู ต้องตาม ลกั ษณะการเขยี นอนั เปน็ ประโยชนใ์ นการศึกษาและ ใชส้ ื่อสารในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง คำราชาศัพท์เป็น การกำหนดคำและภาษาท่ี สะท้อนใหเ้ ห็นวฒั นธรรมอัน ดีงามของไทย การท่ผี เู้ รยี น ไดเ้ รยี นร้คู ำราชาศัพท์ชว่ ย ให้ผเู้ รียนใช้ภาษาได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมตาม กาลเทศะ สถานที่ บุคคล และโอกาส การอา่ นจบั ใจความสำคญั เป็นทักษะ พน้ื ฐานทีค่ วรฝึกฝนใหเ้ กิด ความชำนาญ ผเู้ รยี นท่ีมี ความสามารถในการอ่านจับ ใจความสำคัญ จะชว่ ยให้ เขา้ ใจเรอ่ื งราวและสามารถ นำความรู้ แนวคดิ ที่ไดไ้ ป ปรับใช้ในชวี ิตประจำวันได้ สอบกลางภาค เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ท่ี 46

ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั จำนวน นำ้ หนัก (ชั่วโมง) คะแนน เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด การเขียนเรยี งความเป็น รปู แบบหนง่ึ ของการเขยี นท่ี 18 15 3 โคลงสภุ าษิต พระ ท 1.1 ม.2/1-2 ผเู้ ขียนสามารถใช้ กระบวนการอ่าน การ 12 15 ราชนพิ นธ์ ม.2/7-8 เขียน การฟงั ดูและพูด การวเิ คราะหว์ รรณกรรม 2 20 พระบาทสมเดจ็ พระ ท 2.1 ม.2/3-4 ตลอดจนการแต่งการทอ่ งจำ 60 100 คำประพนั ธ์มาพฒั นา จุลจอมเกลา้ ท 3.1 ม.2/4 กระบวน การเขยี นอยา่ ง เป็นระบบ เพ่ือแสดงความรู้ เจ้าอยหู่ ัว ม.2/6 ความคดิ ของผ้สู ง่ สารไปยัง ผรู้ ับสารได้ตรงเจตนาของ ท 4.1 ม.2/2-3 การส่อื สาร ก่อใหเ้ กิดประ สทิ ธแิ ละประสทิ ธิผลในการ ท 5.1 ม.2/1-5 ส่อื สาร นำไปสู่การปรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั 4 กลอนดอกสร้อย ท 1.1 ม.2/1-2 การเขยี นรายงานการศึกษา ค้นควา้ เป็นการเขียนทเ่ี รียบ รำพงึ ในปา่ ช้า ม.2/8 เรียงขอ้ มลู จากการอา่ น คน้ คว้าอยา่ งเป็นระบบ ท 2.1 ม.2/5 สมเหตสุ มผล เปน็ การใช้ ภาษาอยา่ งมีหลักการ มกี าร ท 3.1 ม.2/3 คน้ ควา้ อา้ งองิ นำสู่การ นำเสนอในรูปแบบที่ ท 4.1 ม.2/2 หลากหลาย ท้ังการพดู และ การเขียนโดยใชร้ ะดับภาษา ท 5.1 ม.2/1-4 และรปู แบบที่ถูกต้อง สอบปลายภาค รวม เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรียนทวธี าภเิ ศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หน้าที่ 47

รหัสวชิ า ท22201 คำอธิบายรายวชิ า ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี 1 รายวชิ า ภาษาไทยในบทเพลง เวลา 40 ช่วั โมง ฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ การฟัง ดู พูด จากบทเพลง ประเภทต่าง ๆ เช่น เพลงท้องถิ่น เพลงพ้ืนบ้าน เพลงในวรรณคดี เพลงพื้นเมือง การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แนวคิด คติ คุณค่า ความไพเราะของท่วงทำนอง หลักภาษา การใช้ภาษา จุดประสงค์ ความรู้สึกของผู้แต่ง เหตุการณ์ สภาพสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม วิถีชีวิต หลักวิเคราะห์วรรณคดี การใช้ ถ้อยคำ สำนวน ความหมายของคำในบทเพลง มารยาททางสังคมจากการแสดงออกทางดนตรี - นาฏศลิ ป์ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะหก์ ารฟัง ดู พูด ให้เกดิ การศึกษาค้นควา้ จนเข้าใจ มีคุณลักษณะเป็นผู้ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อบูรณาการความรู้และประสบการณ์ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในฐานะทเ่ี ป็นเครอ่ื งมือรกั ษาและสืบทอดวัฒนธรรมไทยได้ ผลการเรยี นรู้ 1. บอกความสำคญั และจดุ มุ่งหมายและประโยชนข์ องการฟังเพลงได้ 2. บอกความสมั พนั ธ์ของบทเพลงในภาษาไทยทีใ่ ชส้ บื ทอดวฒั นธรรมไทยได้ 3. อธิบายคุณค่าของบทเพลงทั่วไป และบทเพลงท้องถ่ินได้ 4. วเิ คราะหส์ ภาพสงั คม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความเชื่อ คา่ นยิ มและวิถีชีวิตจากบทเพลงได้ 5. วิเคราะหก์ ารใชถ้ ้อยคำ สำนวน ความหมายของคำในบทเพลงได้ 6. วิเคราะหข์ ้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจากบทเพลงได้ 7. เข้าใจและเหน็ คุณค่าของภาษาในฐานะเป็นเคร่ืองมือรักษาและสบื ทอดวัฒนธรรมไทย รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบหลกั สตู ร โรงเรยี นทวีธาภเิ ศก บางขุนเทียน พ.ศ. 2553 (ปรบั ปรุง 2564) หน้าที่ 48

รหัสวชิ า ท22201 โครงสร้างรายวิชา ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี 1 รายวชิ า ภาษาไทยในบทเพลง เวลา 40 ชัว่ โมง ท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั เรียนรู้ ตวั ช้วี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน มนต์ขลังแห่ง ขอ้ 1 การฟังเพลงที่ดีต้องมีหลักการฟัง 5 5 1 เพลง เพลง และเห็นความสําคัญของการ ฟังเพลงรวมไป ถึงการศึกษาถึง ประโยชน์ของการฟังเพลง ประเภท ต่ า ง ๆ ที่ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย แ ล ะ สุนทรียภาพท่ีแทรกผ่านมาจากบท เพลงท่ีทํา ให้ผู้ฟังซาบซ้ึงในเน้ือหา และท่วงทํานองอัน ไพเราะของบท เพลงดว้ ย การบรรเลง ขอ้ 2 ภาษาไทยในบทเพลงไทยเดิมน้ันมี 3 10 เพลงไทยได้ ท่ วงทํ าน อ งก ารแ ต่ งที่ ไพ เราะ 2 คณุ ค่า น่าสนใจ และในการแต่งเพลงน้ันผู้ แ ต่ งได้ ส อ ด แ ท ร ก ค ว าม รู้สึ ก อารมณ์ แนวคิด คติ คุณค่า และ การแสดงออกทางนาฏศิลป์ ซึ่งผู้ฟัง ควร วิเคราะห์ถึงความงามท่ีส่งผ่าน บทเพลงท่ี ทรงคุณค่าน้ี เพื่อให้การ ฟังเพลงทรงคณุ ค่า มากขึ้น ขนบธรรมเนียม ข้อ 4 บทเพลงนั้นเป็นการแต่งเพลงท่ีต้อง 5 5 ประเพณีสอื่ เลือกสรรถ้อยคําที่ไพเราะ ผู้ฟังจึง 3 ผา่ นบทเพลง ต้ อ ง วิ เค ราะ ห์ ก ารใช้ ถ้ อ ย คํ า สํานวน ภาษา ความหมายของคํา ในบท วิเคราะห์บทเพลง ในเชิง วรรณ ศิลป์ ตามห ลักวรรณ คดี วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ สั ง ค ม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเช่ือ ค่านิยม และวิถีชีวิต ท่ี ส่ือผ่านบท เพลงด้วย เพลงลกู ทุ่งเพมิ่ ข้อ 2 ภาษาไทยในเพลงลกู ทงุ่ มีการแสดง 5 10 4 คณุ คา่ ทาง ขอ้ 3 และ สอดแทรกความร้สู ึกของผู้แต่ง สังคม ข้อ 5 วิ เค ร า ะ ห์ คุ ณ ค่ า ค่ า นิ ย ม ท่ ว งทํ าน อ ง ถ้ อ ย คํ า สํ าน ว น เอกสารประกอบหลักสตู ร โรงเรยี นทวธี าภิเศก บางขนุ เทียน พ.ศ. 2553 (ปรับปรุง 2564) หนา้ ท่ี 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook