Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา

รวมกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา

Published by flowerz_uk, 2019-12-23 23:06:14

Description: รวมกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา

Search

Read the Text Version

สารบัญ พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ ๑ กฎ ก.ร. ๓๓ - กฎ ก.ร. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจดั ประเภทตาแหน่งและระดับตาแหนง่ ๓๘ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔๑ - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยการใหข้ า้ ราชการรัฐสภาสามญั ไดร้ บั เงินเดือน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔๕ - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญไดร้ ับเงินประจาตาแหน่ง 47 พ.ศ. ๒๕๕๔ และทีแ่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ 53 - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยโรค พ.ศ. ๒๕๕๔ ๖๙ ๗6 - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการและการพฒั นาข้าราชการ ๘0 รัฐสภาสามัญท่ีอยู่ระหว่างทดลองปฏิบตั หิ น้าท่ีราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ 106 - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยการยา้ ย การโอน หรอื การเล่อื นข้าราชการรัฐสภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๖ 111 - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยการเลอ่ื นเงนิ เดอื น พ.ศ. ๒๕๕๕ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ 115 - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยวนิ ัยขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๕ - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยการดาเนนิ การทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๗ - กฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารการให้บาเหน็จความชอบ การกนั เป็นพยาน การลดโทษ และการใหค้ วามคุ้มครองพยาน พ.ศ. ๒๕๕๕ - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการสั่งใหข้ ้าราชการรฐั สภาสามัญออกจากราชการ กรณเี จ็บป่วยไมอ่ าจปฏบิ ัติหนา้ ทรี่ าชการของตนไดโ้ ดยสม่าเสมอ พ.ศ. ๒๕๕๖ - กฎ ก.ร. วา่ ด้วยการส่ังใหข้ ้าราชการรฐั สภาสามัญออกจากราชการ กรณสี มคั รไปปฏบิ ตั งิ านใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๗

- กฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยการสง่ั ใหข้ ้าราชการรฐั สภาสามัญออกจากราชการ กรณีขาดคณุ สมบัตทิ ่ัวไปหรือมลี กั ษณะตอ้ งหา้ ม กรณหี ย่อนความสามารถ บกพร่องในหน้าที่ หรอื ประพฤติตนไมเ่ หมาะสม กรณีมีมลทนิ หรือมัวหมอง และกรณีตอ้ งรบั โทษจาคุกในความผดิ ทไ่ี ด้กระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ หรือต้องรบั โทษจาคุกโดยคาส่ังของศาล พ.ศ. 2556 118 - กฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยการสั่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญออกจากราชการ 122 กรณที างราชการเลิกหรือยุบหนว่ ยงานหรอื ตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๕๗ - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการสงั่ ใหข้ ้าราชการรัฐสภาสามัญออกจากราชการ 125 กรณไี มส่ ามารถปฏบิ ัตริ าชการใหม้ ีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล พ.ศ. ๒๕๕๕ - กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการอุทธรณแ์ ละการพิจารณาวินจิ ฉัยอทุ ธรณ์ ๑28 พ.ศ. ๒๕๕๗ และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ - กฎ ก.ร. ว่าด้วยการรอ้ งทุกขแ์ ละการพิจารณาวินจิ ฉัยเรือ่ งร้องทกุ ข์ 134 พ.ศ. ๒๕๕๗ ประมวลจรยิ ธรรม 141 - ประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการรฐั สภา ระเบียบ ก.ร. 151 - ระเบียบ ก.ร. ว่าดว้ ยการขอยกเวน้ ให้เข้ารบั ราชการกรณมี ีลกั ษณะต้องห้าม เปน็ ขา้ ราชการรัฐสภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๕ 153 - ระเบยี บ ก.ร. วา่ ด้วยการจ่ายเงินเดือนและเงนิ ประจาตาแหนง่ 154 ของข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ 157 - ระเบียบ ก.ร. ว่าด้วยค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดอื นของข้าราชการ ๑63 รฐั สภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ระเบยี บ ก.ร. ว่าดว้ ยเงนิ ค่าตอบแทนพิเศษของขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ระเบยี บ ก.ร. วา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๕๕

- ระเบียบ ก.ร. วา่ ด้วยการลาออกจากราชการของข้าราชการรัฐสภาสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๕ 195 - ระเบยี บ ก.ร. ว่าด้วยการรายงานเก่ียวกบั การดาเนินการทางวนิ ัย 200 และการสง่ั ให้ออกจากราชการของข้าราชการรัฐสภาสามญั พ.ศ. ๒๕๕๗ - ระเบยี บ ก.ร. ว่าด้วยวันออกจากราชการของขา้ ราชการรัฐสภาสามัญ 205 พ.ศ. ๒๕๕๕ - ระเบยี บ ก.ร. วา่ ด้วยการกาหนดตาแหนง่ นกั กฎหมายนิตบิ ญั ญัติ พ.ศ. ๒๕๖๑ 207 ประกาศ ก.ร. 215 - ประกาศ ก.ร. เรอื่ ง นโยบายเกี่ยวกับความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัด 217 รฐั สภา - ประกาศ ก.ร. เรอ่ื ง กาหนดเวลาทางานและวันหยดุ ราชการของขา้ ราชการ รฐั สภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศรัฐสภา 219 - ประกาศรฐั สภา เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการเลอื กผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 221 เปน็ กรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) - ประกาศรฐั สภา เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์และวิธีการเลอื กผู้แทนขา้ ราชการรัฐสภา สามัญเป็นกรรมการขา้ ราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศประธานรฐั สภา - ประกาศประธานรัฐสภา ว่าดว้ ยเครอื่ งแบบขา้ ราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ 224 - ประกาศประธานรัฐสภา ว่าด้วยเครอ่ื งแบบเจ้าหน้าท่ีตารวจรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๖ 235 - ประกาศประธานรัฐสภา เรอ่ื ง คณุ สมบตั ิ ลกั ษณะต้องหา้ ม 248 วาระการดารงตาแหนง่ และการพน้ จากตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ดา้ นกฎหมายและกรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ดิ ้านการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ในคณะกรรมการพัฒนาและรักษามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ของนกั กฎหมายนิตบิ ัญญัติ พ.ศ. ๒๕๖๑

พระราชบญั ญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นปที ่ี ๖๖ ในรัชกาลปจั จบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยท่เี ปน็ การสมควรปรับปรงุ กฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บข้าราชการฝ่ายรฐั สภา พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บัญญตั ิใหก้ ระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอม ของรัฐสภา ดงั ตอ่ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินีเ้ รียกวา่ “พระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๕๔” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ (๑) พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ (๒) พระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๑ (๓) พระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการฝา่ ยรัฐสภา (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๑ (๔) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ (๕) พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการฝ่ายรฐั สภา (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๓๘ (๖) พระราชบัญญัตริ ะเบยี บข้าราชการฝา่ ยรัฐสภา (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ “ข้าราชการรัฐสภา” หมายความว่า บุคคลซ่ึงได้รับการบรรจุและแต่งต้ังให้เป็นข้าราชการ ตามพระราชบญั ญตั ินี้ “ประธานรัฐสภา” หมายความว่า ประธานรัฐสภาตามบทบญั ญัตแิ หง่ รัฐธรรมนญู ๑ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒๘/ตอนที่ ๓๔ ก/หนา้ ๘/๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ -1-

-๒- “รองประธานรฐั สภา” หมายความว่า รองประธานรฐั สภาตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนญู “ก.ร.” หมายความวา่ คณะกรรมการข้าราชการรฐั สภา “รฐั สภา” หมายความว่า สภาผ้แู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภาตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนญู มาตรา ๕ ใหป้ ระธานรัฐสภารกั ษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ หมวด ๑ บทท่ัวไป มาตรา ๖ การจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภาต้องเป็นไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของ ทางราชการ ความมีประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า โดยให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพคุณธรรม และมีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี มาตรา ๗ ข้าราชการรฐั สภา มี ๒ ประเภท (๑) ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ได้แก่ ข้าราชการรฐั สภาซ่ึงรบั ราชการโดยได้รับบรรจุและแต่งตั้ง ตามทีบ่ ัญญตั ิไว้ในหมวด ๓ (๒) ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภาซ่ึงรับราชการในตาแหน่ง การเมืองของรัฐสภาตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นหมวด ๔ มาตรา ๘ วันเวลาทางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจาปี และการลาหยุดราชการของขา้ ราชการรัฐสภา ให้เป็นไปตามท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๙ เครื่องแบบของข้าราชการรัฐสภาและระเบียบว่าด้วยการแต่งกายของข้าราชการ รัฐสภา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเครอ่ื งแบบขา้ ราชการฝา่ ยรฐั สภา มาตรา ๑๐ การขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์สาหรับข้าราชการรัฐสภาให้เป็นไป ตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการน้นั มาตรา ๑๑ บาเหน็จบานาญข้าราชการรัฐสภาให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการน้นั มาตรา ๑๒ มาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการรัฐสภา ให้เป็นไปตามประมวลจริยธรรม ที่ ก.ร. กาหนด มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหน่ึงจะต้องมีกลไกและระบบในการดาเนินงานเพ่ือให้ การบงั คับใชเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้งั กาหนดขั้นตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระทา การฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามวรรคหน่งึ ให้ถอื ว่าเป็นการกระทาผิด ทางวนิ ัย -2-

-๓- หมวด ๒ คณะกรรมการข้าราชการรฐั สภา มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา” เรียกโดยย่อว่า “ก.ร.” ประกอบด้วย ประธานรัฐสภาเป็นประธานกรรมการ รองประธานรัฐสภา เป็นรองประธานกรรมการ เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการวุฒิสภา ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนแปดคนซ่ึงสภาผู้แทนราษฎรเลือกจานวนสี่คน วุฒิสภาเลือกจานวนส่ีคน และผู้แทนข้าราชการรัฐสภา สามัญจานวนสี่คนซ่ึงข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเลือกกันเอง จานวนสองคน และข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสานักงานเลขาธิการวุฒิสภาเลือกกันเองจานวนสองคน เป็นกรรมการ ให้ประธานรัฐสภาแต่งตั้งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหรือเลขาธิการวุฒิสภาคนใดคนหน่ึง เป็นเลขานกุ าร ก.ร. มาตรา ๑๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๓ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ตอ้ งห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือตาแหน่งเทียบเท่ามาแล้วหรือเคยดารง ตาแหน่งกรรมการขา้ ราชการประเภทใดประเภทหนึ่งมาแลว้ (๒) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา ข้าราชการการเมือง ข้าราชการ รัฐสภาฝา่ ยการเมือง สมาชกิ รัฐสภา กรรมการพรรคการเมอื ง หรอื เจา้ หนา้ ท่ีในพรรคการเมือง มาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญมีวาระ อยู่ในตาแหน่งคราวละส่ีปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งพ้นจากตาแหน่ง ตามวาระให้ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญ ซง่ึ ไดร้ ับเลอื กใหมเ่ ขา้ รับหน้าที่ มาตรา ๑๖ เม่ือตาแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิว่างลงเพราะพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ตามมาตรา ๑๕ หรือเพราะพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๑๙ ให้สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภา แล้วแต่กรณี เลือกผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔ ขึ้นแทนภายในส่ีสิบห้าวันนับแต่ วนั ท่ีตาแหนง่ ว่าง หรือวันเปิดสมยั ประชมุ รฐั สภา แล้วแต่กรณี ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับสาหรับกรณีท่ีตาแหน่งว่างเพราะการพ้นจากตาแหน่ง ตามมาตรา ๑๙ และวาระของกรรมการทีเ่ หลอื ไมถ่ ึงหนง่ึ รอ้ ยแปดสิบวนั หรอื เมอื่ สภาผู้แทนราษฎรส้ินอายุหรือถูกยุบ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงได้รับเลือกแทนตาแหน่งที่ว่างเพราะพ้นจากตาแหน่งตาม มาตรา ๑๙ อยู่ในตาแหน่งตามวาระของกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิซึง่ ตนแทน รฐั สภาอาจเลอื กกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิซง่ึ ออกจากตาแหน่งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ ได้อีกแต่จะดารงตาแหน่งตดิ ตอ่ กนั เกนิ สองวาระมไิ ด้ -3-

-๔- มาตรา ๑๗ เม่ือตาแหน่งกรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญว่างลงเพราะพ้นจาก ตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ หรือเพราะพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๒๐ ให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในสังกัดสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรหรือข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา แลว้ แต่กรณี เลือกผแู้ ทนข้าราชการรัฐสภาสามัญข้นึ แทนภายในสสี่ ิบห้าวนั นบั แต่วนั ทต่ี าแหน่งวา่ งลง ให้กรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่ึงได้รับเลือกแทนตาแหน่งท่ีว่างเพราะพ้น จากตาแหนง่ ตามมาตรา ๒๐ อยู่ในตาแหนง่ ตามวาระของกรรมการผแู้ ทนข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่งึ ตนแทน กรรมการผูแ้ ทนขา้ ราชการรฐั สภาสามญั จะดารงตาแหนง่ ติดตอ่ กันเกนิ หน่งึ วาระไม่ได้ มาตรา ๑๘ การเลือกผู้ทรงคุณวุฒิและการเลือกผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญ เปน็ กรรมการใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่ประธานรฐั สภากาหนด มาตรา ๑๙ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจากตาแหนง่ เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๔ (๔) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ กรรมการ ผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามญั พ้นจากตาแหน่ง เมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) พ้นจากการเปน็ ข้าราชการรัฐสภาสามญั (๔) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้ กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ มาตรา ๒๑ การประชุมของ ก.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทง้ั หมดเทา่ ทมี่ อี ยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนินการพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุมของ ก.ร. โดยอนุโลม เว้นแต่กรณี ตามมาตรา ๓๗ วรรคสอง มาตรา ๒๒ ให้ ก.ร. มีอานาจหนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี (๑) เสนอแนะและใหค้ าปรกึ ษาแกส่ ว่ นราชการสังกัดรัฐสภาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ การบริหารทรัพยากรบุคคลในด้านมาตรฐานค่าตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดทั้งการวางแผนกาลังคนและด้านอื่น ๆ เพ่ือให้ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาใช้เป็นแนวทาง ในการดาเนินการ -4-

-๕- (๒) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของขา้ ราชการรฐั สภาเพ่ือให้ส่วนราชการสังกดั รัฐสภาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ (๓) ออกกฎ ก.ร. และระเบียบเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมตลอดทั้งการให้คาแนะนาหรือวางแนวทางในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.ร. เมื่อไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ชบ้ ังคบั ได้ (๔) ตีความและวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจากการใช้พระราชบัญญัติน้ี รวมตลอด ทงั้ กาหนดแนวทางปฏบิ ัตใิ นกรณที ่ีเป็นปัญหา (๕) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพ่ือรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร วิชาชีพ หรือคุณวุฒิอย่างอ่ืน เพ่ือประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการรัฐสภา และการกาหนด อัตราเงนิ เดอื นหรอื ค่าตอบแทน รวมทง้ั ระดบั ตาแหน่งและประเภทตาแหนง่ สาหรับคณุ วฒุ ดิ งั กลา่ ว (๖) กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลของข้าราชการ รัฐสภาในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา เพื่อรักษาความเป็นธรรมและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมท้งั ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญัติน้ี (๗) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเก่ียวกับวัน เดือน ปีเกิด และการควบคมุ เกษียณอายุของขา้ ราชการรฐั สภา (๘) กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามพระราชบัญญัตินี้ (๙) กาหนดเรอ่ื งการจดั สวสั ดิการ การสงเคราะห์อน่ื และเงนิ ค่าตอบแทนพิเศษแก่ขา้ ราชการรัฐสภา (๑๐) ปฏบิ ตั กิ ารอื่นใดตามท่กี ฎหมายกาหนดใหเ้ ป็นอานาจหน้าท่ีของ ก.ร. มาตรา ๒๓ ก.ร. มีอานาจแต่งต้ังอนุกรรมการข้าราชการรัฐสภา เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.ร.” เพือ่ ทาการใด ๆ แทนได้ การประชุมของ อ.ก.ร. ให้นาบทบัญญตั ิมาตรา ๒๑ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม หมวด ๓ ข้าราชการรฐั สภาสามญั ส่วนที่ ๑ การจดั ระเบียบขา้ ราชการรัฐสภาสามัญ มาตรา ๒๔ การจัดระเบียบข้าราชการรัฐสภาสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ให้คานึงถึง ระบบคณุ ธรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งต้องคานึงถึงความรู้ ความสามารถของบคุ คล ความเสมอภาค ความเปน็ ธรรม และประโยชนข์ องทางราชการ (๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้องคานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กร และลกั ษณะของงาน โดยไมเ่ ลือกปฏิบตั อิ ยา่ งไม่เปน็ ธรรม -5-

-๖- (๓) การพจิ ารณาความดคี วามชอบ การเลอื่ นตาแหนง่ และการให้ประโยชน์อ่ืนแก่ข้าราชการ ต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติและจะนาความคิดเห็น ทางการเมืองหรือสังกดั พรรคการเมืองมาประกอบการพจิ ารณามิได้ (๔) การดาเนนิ การทางวนิ ัย ต้องเป็นไปด้วยความยตุ ิธรรมและโดยปราศจากอคติ (๕) การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลตอ้ งมคี วามเปน็ กลางทางการเมือง มาตรา ๒๕ ข้าราชการรฐั สภาสามญั มเี สรภี าพในการรวมกลุ่มตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ท้ังน้ีต้องไม่กระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผ่นดิน และความต่อเนื่องในการจัดทาบริการ สาธารณะ และต้องไม่มีวตั ถุประสงคท์ างการเมือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการรวมกลุ่มตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ ในประกาศ ก.ร. สว่ นท่ี ๒ การกาหนดตาแหน่ง และการใหไ้ ดร้ ับเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง มาตรา ๒๖ ตาแหน่งขา้ ราชการรัฐสภาสามญั มี ๔ ประเภท ดงั ต่อไปนี้ (๑) ตาแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ ตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา รองหัวหน้า สว่ นราชการสังกดั รัฐสภา ผชู้ ่วยหวั หนา้ สว่ นราชการสังกดั รัฐสภา และตาแหน่งอ่ืนท่ี ก.ร. กาหนดเป็นตาแหน่ง ประเภทบรหิ าร (๒) ตาแหน่งประเภทอานวยการ ได้แก่ ตาแหน่งหัวหน้าส่วนราชการภายในระดับสานัก ผู้อานวยการกลุ่มงาน และตาแหน่งอนื่ ที่ ก.ร. กาหนดเปน็ ตาแหน่งประเภทอานวยการ (๓) ตาแหน่งประเภทวิชาการ ไดแ้ ก่ ตาแหน่งทีจ่ าเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามท่ี ก.ร. กาหนด เพอื่ ปฏิบตั ิงานในหน้าท่ขี องตาแหนง่ นนั้ (๔) ตาแหนง่ ประเภททั่วไป ไดแ้ ก่ ตาแหน่งท่ีไม่ใช่ตาแหน่งประเภทบริหาร ตาแหน่งประเภท อานวยการ และตาแหน่งประเภทวิชาการ ท้ังน้ี ตามที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๒๗ ระดบั ตาแหนง่ ข้าราชการรัฐสภาสามัญ มดี งั ต่อไปน้ี (๑) ตาแหน่งประเภทบรหิ าร มีระดับ ดงั ต่อไปนี้ (ก) ระดับตน้ (ข) ระดับสูง (๒) ตาแหน่งประเภทอานวยการ มรี ะดับ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ระดบั ตน้ (ข) ระดับสูง (๓) ตาแหน่งประเภทวชิ าการ มรี ะดบั ดังต่อไปนี้ (ก) ระดับปฏิบตั ิการ (ข) ระดบั ชานาญการ (ค) ระดับชานาญการพเิ ศษ -6-

-๗- (ง) ระดบั เชย่ี วชาญ (จ) ระดบั ทรงคุณวฒุ ิ (๔) ตาแหน่งประเภทท่วั ไป มีระดับ ดงั ต่อไปนี้ (ก) ระดับปฏบิ ัติงาน (ข) ระดับชานาญงาน (ค) ระดับอาวุโส (ง) ระดับทักษะพิเศษ การจัดประเภทตาแหนง่ และระดบั ตาแหนง่ ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๒๘ ตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญจะมีในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด และเปน็ ตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามท่ี ก.ร. กาหนด โดยต้องคานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ่ า้ ซ้อน และประหยัดเป็นหลกั และต้องเปน็ ไปตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งตามมาตรา ๒๙ มาตรา ๒๙ ให้ ก.ร. จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง โดยจาแนกตาแหน่งเป็นประเภท และสายงานตามลักษณะงาน และจัดตาแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันท่ีคุณภาพของงาน เทา่ กันโดยประมาณเปน็ ระดับเดียวกนั ทง้ั นี้ โดยคานึงถงึ ลักษณะหน้าท่ี ความรบั ผิดชอบ และคุณภาพของงาน ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งให้ระบุช่ือตาแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคณุ สมบตั ิเฉพาะสาหรับตาแหน่งไวด้ ว้ ย มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภาตาแหน่งใด บังคบั บัญชาขา้ ราชการรัฐสภาสามัญในสว่ นราชการสงั กดั รัฐสภาในฐานะใด ใหเ้ ปน็ ไปตามที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๓๑ ให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับเงินเดือนตามตาแหน่งในแต่ละประเภท ตามที่กาหนดไว้ในบัญชเี งนิ เดอื นขั้นตา่ ขั้นสงู ของขา้ ราชการรฐั สภาสามญั ทา้ ยพระราชบญั ญัตนิ ้ี ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินเดือนเท่าใด ตามบัญชีเงินเดือน ข้ันตา่ ขั้นสงู ของขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. ข้าราชการรัฐสภาสามัญอาจได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ ง ของขา้ ราชการรฐั สภาสามัญท้ายพระราชบญั ญตั นิ ี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละเง่อื นไขที่ ก.ร. กาหนด ผู้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตรา เงินประจาตาแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญท้ายพระราชบัญญัตินี้ในอัตราใด ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด ในกฎ ก.ร. เงินประจาตาแหน่งตามมาตรานี้ ไม่ถือเป็นเงินเดือนเพ่ือเป็นเกณฑ์ในการคานวณบาเหน็จ บานาญตามกฎหมายว่าดว้ ยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ มาตรา ๓๑/๑๒ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น เพื่อเป็นการเยียวยาให้ข้าราชการ รัฐสภาสามัญได้รับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งที่เหมาะสมและเป็นธรรม ก.ร. อาจกาหนดให้ข้าราชการ รัฐสภาสามัญได้รับการเยียวยาโดยให้ได้รับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งตามท่ีเห็นสมควรเป็นกรณี ๆ ไป ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่คี ณะรัฐมนตรีกาหนดไว้ ๒ มาตรา ๓๑/๑ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการรัฐสภา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ -7-

-๘- มาตรา ๓๒ เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาการปรับเงินเดือนขั้นต่าขั้นสูงหรือเงินประจาตาแหน่ง ของขา้ ราชการพลเรอื นสามัญตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้ ก.ร. พิจารณาปรับเงินเดือน ขัน้ ต่าขนั้ สูงหรือเงนิ ประจาตาแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญให้สอดคล้องกับการปรับเงินเดือนข้ันต่าขั้นสูง หรือเงินประจาตาแหน่งของข้าราช การพลเรือนสามัญตามที่กาหนด ในพระราชกฤษฎีกาโ ดยให้กระทา เป็นประกาศรัฐสภา และให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนาม และให้ถือว่าเงินเดือนข้ันต่าข้ันสูงและ เงินประจาตาแหน่งตามประกาศรัฐสภาดังกล่าวเป็นเงินเดือนขั้นต่าขั้นสูงและเงินประจาตาแหน่ง ทา้ ยพระราชบญั ญตั ิน้ี เม่ือมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจาตาแหน่งตามวรรคหน่ึง การปรับเงินเดือน หรือเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการรัฐสภาสามัญที่ได้รับอยู่เดิมเข้าสู่อัตราในบัญชีท่ีได้รับการปรับใหม่ ให้ ก.ร. กาหนดตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการที่คณะรัฐมนตรกี าหนดไว้ ประกาศรัฐสภาตามวรรคหน่ึง และหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ร. กาหนดตามวรรคสอง ใหป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาและใหม้ ผี ลใช้บงั คบั ตง้ั แตว่ นั ทีพ่ ระราชกฤษฎีกาใช้บงั คบั มาตรา ๓๓ การจ่ายเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญให้เป็นไป ตามระเบียบที่ ก.ร. กาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๓๔ ข้าราชการรัฐสภาสามัญอาจได้รับเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่งในบางสายงาน หรือตาแหน่งท่มี ีเหตุพิเศษ ตามระเบียบท่ี ก.ร. กาหนด ข้าราชการรัฐสภาสามัญอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพช่ัวคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๓๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๔ เพื่อประโยชน์แก่การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ด้านกฎหมายของรัฐสภา ให้มีตาแหน่งนักกฎหมายนิติบัญญัติในสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ซ่ึงเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญท่ีมีความรู้และมีประสบการณ์ ในทางนิติศาสตร์ การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย การบริหารราชการแผ่นดินและระบบงาน ด้านนิติบัญญัติ เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีในงานด้านกฎหมายและติดตามประเมินผลการบังคับใช้กฎหมาย ตามความรับผิดชอบของรฐั สภา ใหน้ กั กฎหมายนิตบิ ัญญัติไดร้ ับเงนิ เพม่ิ สาหรับตาแหน่งในอตั ราตามระเบียบที่ ก.ร. กาหนด คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าสู่ตาแหน่ง การแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งนักกฎหมาย นติ บิ ญั ญตั ิ ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบท่ี ก.ร. กาหนด ส่วนท่ี ๓ การสรรหา การบรรจุ และการแตง่ ต้ัง มาตรา ๓๖ การสรรหาเพื่อให้ได้บุคคลมาบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคล ดงั กล่าว ตลอดจนประโยชนข์ องทางราชการ ทัง้ นี้ ตามทกี่ าหนดในส่วนนี้ -8-

-๙- มาตรา ๓๗ ผู้ท่ีจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ดังตอ่ ไปน้ี ก. คุณสมบัติทัว่ ไป (๑) มีสัญชาติไทย (๒) อายุไมต่ ่ากวา่ สิบแปดปี (๓) เป็นผู้เล่ือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมขุ ด้วยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ ข. ลักษณะตอ้ งห้าม (๑) เปน็ ผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง (๒) เป็นกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าท่ีในพรรคการเมือง (๓) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟ่ันเฟือน ไมส่ มประกอบ หรอื เปน็ โรคตามทีก่ าหนดในกฎ ก.ร. (๔) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกส่ังพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตามพระราชบัญญัตนิ ้ีหรือตามกฎหมายอ่นื (๕) เป็นผูบ้ กพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดีจนเปน็ ทร่ี ังเกยี จของสงั คม (๖) เปน็ บุคคลลม้ ละลาย (๗) เป็นผู้เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษ สาหรบั ความผดิ ที่ไดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ (๘) เป็นผูเ้ คยถกู ลงโทษให้ออก ปลดออก หรอื ไลอ่ อกจากรฐั วิสาหกจิ หรือหน่วยงานอน่ื ของรฐั (๙) เป็นผู้เคยถกู ลงโทษใหอ้ อกหรอื ปลดออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรอื ตามกฎหมายอื่น (๑๐) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทาผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามกฎหมายอ่ืน (๑๑) เป็นผู้เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการหรือเข้าปฏิบัติงาน ในหน่วยงานของรฐั ผู้ท่ีจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่ึงมีลักษณะต้องห้ามตาม ข. (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) หรือ (๑๑) ก.ร. อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการได้ แต่ถ้าเป็นกรณีมีลักษณะต้องห้าม ตาม (๘) หรือ (๙) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปีแล้ว และในกรณีมีลักษณะ ต้องห้ามตาม (๑๐) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสามปีแล้ว และต้องมิใช่เป็น กรณีออกจากงานหรือออกจากราชการเพราะทุจริตต่อหน้าที่ มติของ ก.ร. ในการยกเว้นดังกล่าวต้อง ไดค้ ะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ สีใ่ นห้าของจานวนกรรมการที่มาประชุม การลงมติให้กระทาโดยลบั การขอยกเวน้ ตามวรรคสอง ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบที่ ก.ร. กาหนด ในกรณีตามวรรคสอง ก.ร. จะยกเว้นให้เป็นการเฉพาะราย หรือจะประกาศยกเว้นให้ เป็นการท่วั ไปกไ็ ด้ -9-

- ๑๐ - มาตรา ๓๘ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญเพื่อแต่งต้ัง ให้ดารงตาแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตาแหน่งนั้น โดยบรรจุและแต่งตั้งตามลาดับที่ ในบญั ชผี ู้สอบแขง่ ขันได้ การสอบแข่งขัน การข้ึนบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเก่ียวกับการสอบแข่งขัน ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขท่ี ก.ร. กาหนด ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตามมาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ มาตรา ๓๙ ผู้สมัครสอบแข่งขันในตาแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติท่ัวไปและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามหรือได้รับการยกเว้นในกรณีที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๗ และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ สาหรับตาแหนง่ หรือได้รับอนุมัตจิ าก ก.ร. ตามมาตรา ๔๕ ดว้ ย สาหรับผู้มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๗ ข. (๑) หรือ (๒) ให้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขันได้ แต่จะมีสิทธิได้รับบรรจุเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญที่สอบแข่งขันได้ต่อเม่ื อพ้นจากการเป็นผู้ดารงตาแหน่ง ทางการเมืองหรือกรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ ในพรรคการเมือง แลว้ แตก่ รณี มาตรา ๔๐ ในกรณีท่ีมีเหตุพิเศษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งโดยไม่ต้องดาเนินการสอบแข่งขัน ตามมาตรา ๓๘ กไ็ ด้ ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๔๑ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาใดมีเหตุผลและความจาเป็นอย่างยิ่งจะบรรจุบุคคล ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และความชานาญงานสู ง เข้ารับราชการและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตาแหน่งประเภทท่ัวไป ระดับทักษะพิเศษกไ็ ด้ ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๔๒ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ และการแต่งต้ัง ใหด้ ารงตาแหนง่ ใหผ้ ูม้ ีอานาจดงั ตอ่ ไปน้ี เปน็ ผสู้ ัง่ บรรจุและแตง่ ตงั้ (๑) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ให้ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา แล้วแต่กรณี นาเสนอ ก.ร. เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ เม่ือได้รับความเห็นชอบจาก ก.ร. แล้ว ให้ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา แลว้ แต่กรณี เป็นผมู้ อี านาจส่งั บรรจแุ ละนาความกราบบังคมทลู เพอื่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั (๒) การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ให้ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา แล้วแต่กรณี นาเสนอ ก.ร. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก ก.ร. แล้ว ให้ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา แล้วแตก่ รณี เปน็ ผู้มีอานาจสง่ั บรรจแุ ละนาความกราบบังคมทูลเพอื่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้ง (๓) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งอื่นนอกจาก (๑) และ (๒) ให้เลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการวุฒิสภา หรือหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภาที่เรียกช่ืออย่างอ่ืน แล้วแต่กรณี เปน็ ผู้มอี านาจสง่ั บรรจุและแต่งต้งั - 10 -

- ๑๑ - มาตรา ๔๓ ผู้ได้รับบรรจุและแต่งต้ังตามมาตรา ๓๘ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๔๐ ให้ทดลอง ปฏิบัติหน้าท่ีราชการและให้ได้รับการพัฒนาเพื่อให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการและเป็นข้าราชการท่ีดี ตามท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. ผู้ทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการตามวรรคหน่ึงผู้ใดมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. ไม่ต่ากว่ามาตรฐานท่ีกาหนด ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตาม มาตรา ๔๒ สั่งให้ผู้น้ันรับราชการต่อไป แต่ถ้าผู้นั้นมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนด ก็ให้ส่ังให้ผู้นั้นออกจากราชการได้ไม่ว่าจะครบกาหนดเวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการแลว้ หรอื ไม่กต็ าม ผใู้ ดถกู ส่ังให้ออกจากราชการตามวรรคสอง ให้ถือเสมือนว่าผู้น้ันไม่เคยเป็นข้าราชการรัฐสภา สามัญ แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผู้น้ันได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือการรับเงินเดือน หรือผลประโยชน์อื่นใดท่ีได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับจากทางราชการในระหว่างผู้นั้นอยู่ระหว่างทดลอง ปฏิบัตหิ น้าที่ราชการ ผอู้ ยู่ในระหว่างทดลองปฏิบตั ิหน้าท่รี าชการผูใ้ ดมกี รณีอนั มมี ลู ทีค่ วรกลา่ วหาว่ากระทาผิดวินัย ใหผ้ ูบ้ งั คับบัญชาดาเนินการทางวินัยตามท่ีบัญญัติไว้ในส่วนท่ี ๕ วินัยและการดาเนินการทางวินัย และถ้าผู้นั้น มกี รณีท่ีจะตอ้ งออกจากราชการตามวรรคสองกใ็ หผ้ ู้บงั คบั บญั ชาดาเนนิ การตามวรรคสองไปก่อน ความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามให้ใช้บังคับกับข้าราชการหรือพนักงาน ส่วนท้องถน่ิ ซ่ึงโอนมาตามมาตรา ๔๗ ในระหว่างที่ยังทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๔๔ การแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญให้ดารงตาแหน่งในสายงานท่ีไม่มีกาหนดไว้ ในมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ จะกระทามไิ ด้ มาตรา ๔๕ ผู้ได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญตาแหน่งใด ตอ้ งมีคณุ สมบัติตรงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะสาหรับตาแหน่งนัน้ ตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็น ก.ร. อาจอนุมัติให้แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญ ซ่งึ มีคณุ สมบัตติ ่างไปจากคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ ตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ ก็ได้ ใน ก ร ณี ที่ ก . ร . กา ห น ด ใ ห้ ป ริ ญ ญ า ปร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ ห รื อ คุ ณ วุ ฒิ ใ ด เปน็ คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง ให้หมายถงึ ปริญญา ประกาศนียบัตรวชิ าชพี หรือคณุ วุฒทิ ี่ ก.ร. รบั รอง มาตรา ๔๖ การย้าย การโอน หรือการเลื่อนข้าราชการรัฐสภาสามัญไปแต่งต้ังให้ดารง ตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญในหรือต่างส่วนราชการสังกัดรัฐสภา แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามที่กาหนด ในกฎ ก.ร. การยา้ ยหรือการโอนขา้ ราชการรัฐสภาสามัญไปแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งในระดับท่ีต่ากว่าเดิม จะกระทามไิ ด้ เว้นแต่จะไดร้ ับความยนิ ยอมจากขา้ ราชการรัฐสภาสามัญผ้นู น้ั การบรรจุขา้ ราชการรัฐสภาสามัญที่ได้ออกจากราชการไปเน่ืองจากถูกส่ังให้ออกจากราชการ เพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติจาก ก.ร. ให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างน้ันสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญเหมือนเต็มเวลาราชการหรือออกจากราชการไป ท่ีมิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ กลับเข้ารับราชการในส่วนราชการ สังกัดรัฐสภา ตลอดจนจะสั่งบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับ เงนิ เดอื นเท่าใด ให้กระทาได้ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่ ก.ร. กาหนด - 11 -

- ๑๒ - เพ่ือประโยชน์ในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัติน้ีและตามกฎหมายว่าด้วย บาเหน็จบานาญข้าราชการ ข้าราชการรัฐสภาสามัญที่ได้ออกจากราชการไป เน่ืองจากถูกส่ังให้ออก จากราชการเพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารหรือได้รับอนุมัติจาก ก.ร. ให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างน้ันสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญเหมือนเต็มเวลาราชการ เม่ือได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการ ให้มีสิทธินับวันรับราชการก่อนถูกส่ังให้ออกจากราชการรวมกับวัน รับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือวันที่ได้ปฏิบัติงานใด ๆ ตามท่ีได้รับอนุมัติ จาก ก.ร. แล้วแต่กรณี และวันรับราชการเมื่อได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการเป็นเวลาราชการติดต่อกั น เสมือนว่าผู้นัน้ มิได้เคยถูกสง่ั ให้ออกจากราชการ สาหรับผู้ซ่ึงออกจากราชการไปที่มิใช่เป็นการออกจากราชการ ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ซึ่งได้รับบรรจุกลับเข้ารับราชการตามวรรคสาม ให้มีสิทธินับ เวลาราชการกอ่ นออกจากราชการเพอื่ ประโยชนใ์ นการนบั เวลาราชการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๔๗ การโอนข้าราชการตามกฎหมายอื่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นหรือ การโอนเจ้าหนา้ ทข่ี องหน่วยงานอืน่ ของรัฐที่ ก.ร. กาหนด มาบรรจุเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ อาจกระทาได้ ถ้าเจ้าตัวสมัครใจ โดยผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ แล้วแต่กรณี ทาความตกลงกับ เจา้ สังกัด แล้วเสนอ ก.ร. เพอ่ื พิจารณาอนมุ ตั ิ ทัง้ น้ี จะแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และให้ได้รับเงินเดือนเท่าใด ให้ ก.ร. เป็นผู้พิจารณากาหนด แต่เงินเดือนที่จะให้ได้รับจะต้องไม่สูงกว่า ขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ท่ีมคี ุณวุฒิ ความสามารถ และความชานาญงานในระดับเดยี วกัน เพ่ือประโยชน์ในการนับเวลาราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลาทางานของผู้ท่ีโอน มารับราชการตามวรรคหนงึ่ เปน็ เวลาราชการของขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ตามพระราชบัญญตั ินดี้ ้วย มาตรา ๔๘ พนักงานส่วนท้องถ่ินซ่ึงไม่ใช่ออกจากงานในระหว่างทดลองปฏิบัติงาน หรือข้าราชการซง่ึ ไมใ่ ชข่ ้าราชการรัฐสภาสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี และไม่ใช่ข้าราชการการเมืองข้าราชการ วิสามัญ หรือข้าราชการซึ่งออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ผู้ใดออกจากงาน หรือออกจากราชการไปแล้ว ถ้าสมัครเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญและทางราชการต้องการ จะรับผูน้ น้ั เขา้ รบั ราชการ ให้ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเสนอ ก.ร. เพ่ือพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ จะแต่งต้ังให้ดารง ตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด และได้รับเงินเดือนเท่าใด ให้ ก.ร. เป็นผู้พิจารณากาหนด แตเ่ งินเดอื นท่จี ะให้ไดร้ บั จะต้องไมส่ ูงกว่าข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่ึงมีคุณวุฒิความสามารถ และความชานาญงาน ในระดับเดียวกนั เพือ่ ประโยชนใ์ นการนบั เวลาราชการ ใหถ้ ือเวลาราชการหรอื เวลาทางานของผู้เข้ารับราชการ ตามวรรคหนึ่งในขณะท่ีเป็นข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาราชการของข้าราชการรัฐสภา สามญั ตามพระราชบัญญตั ิน้ดี ้วย มาตรา ๔๙ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งตามมาตรา ๔๕ แล้ว หากภายหลังปรากฏว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนั้น ให้ผู้บังคับบัญชา ซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ แต่งตั้งผู้น้ันให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอ่ืน ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แต่ท้ังนี้ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไป ตามอานาจและหน้าที่ และการรับเงินเดือน หรือผลประโยชน์อื่นใดท่ีได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับอยู่ก่อนได้รับ คาสง่ั ให้กลบั ไปดารงตาแหน่งตามเดิมหรอื ตาแหน่งอื่นในประเภทเดยี วกันและระดับเดียวกนั - 12 -

- ๑๓ - การรับเงินเดือน สิทธิและประโยชน์ของผู้ท่ีได้รับแต่งต้ังให้กลับไปดารงตาแหน่งตามเดิม หรือตาแหน่งอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่ี ก.ร. กาหนด ใ น ก ร ณี ท่ี ไ ม่ ส า ม า ร ถ แ ต่ ง ต้ั ง ใ ห้ ก ลั บ ไ ป ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ต า ม เ ดิ ม ห รื อ ต า แ ห น่ ง อื่ น ในประเภทเดียวกนั และระดบั เดียวกนั ตามวรรคหนึง่ ได้ ไมว่ ่าด้วยเหตใุ ด ให้ ก.ร. พจิ ารณาเป็นการเฉพาะราย มาตรา ๕๐ ผู้ได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญและแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งใดตามมาตรา ๓๘ วรรคหน่ึง มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ หากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติท่ัวไปหรือมีลักษณะต้องห้ามโดยไม่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา ๓๗ หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งน้ันโดยไม่ได้รับอนุมัติจาก ก.ร. ตามมาตรา ๔๕ อยู่ก่อนก็ดี มีกรณีต้องหาอยู่ก่อนและภายหลังเป็นผู้ขาดคุณสมบัติเนื่องจากกรณีต้องหาน้ันก็ดีให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึง มีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการโดยพลัน แต่ทั้งน้ีไม่กระทบกระเทือนถึงการใด ท่ผี ้นู นั้ ได้ปฏบิ ตั ิไปตามอานาจและหน้าที่ และการรบั เงนิ เดือนหรือผลประโยชน์อน่ื ใดท่ีได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับ จากทางราชการก่อนมีคาส่ังให้ออกน้ัน และถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดยสุจริตแล้วให้ถือว่าเป็นการ สัง่ ใหอ้ อกเพ่อื รบั บาเหน็จบานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าดว้ ยบาเหน็จบานาญข้าราชการ มาตรา ๕๑ ในกรณีที่ตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญว่างลง หรือผู้ดารงตาแหน่ง ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ และเป็นกรณีท่ีมิได้บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ ฝ่ายรัฐสภา ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ มีอานาจส่ังให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ทเี่ หน็ สมควรรักษาการในตาแหน่งนัน้ ได้ ผู้รักษาการในตาแหน่งตามวรรคหน่ึง ให้มีอานาจหน้าท่ีตามตาแหน่งท่ีรักษาการนั้น ในกรณีท่ีมีกฎหมายอื่น กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติ ก.ร. หรือคาส่ังผู้บังคับบัญชา แต่งตั้งให้ผู้ดารงตาแหน่งนั้น ๆ เป็นกรรมการ หรือให้มีอานาจหน้าที่อย่างใด ก็ให้ผู้รักษาการในตาแหน่งทาหน้าที่กรรมการ หรือมีอานาจ หน้าท่ีอยา่ งนน้ั ในระหว่างท่ีรักษาการในตาแหนง่ แลว้ แตก่ รณี มาตรา ๕๒ ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตาม มาตรา ๔๒ มอี านาจส่ังขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ให้ประจาส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเป็นการชั่วคราว โดยให้พ้น จากตาแหน่งหน้าทเ่ี ดมิ ได้ตามทกี่ าหนดในกฎ ก.ร. การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งตั้ง การเลื่อนเงินเดือน การดาเนินการทางวินัยและ การออกจากราชการของข้าราชการรฐั สภาสามญั ตามวรรคหนงึ่ ให้เป็นไปตามทก่ี าหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๕๓ ในกรณีที่มีเหตุผลความจาเป็น ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตาม มาตรา ๔๒ มีอานาจส่ังให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญพ้นจากตาแหน่งหน้าที่และขาดจากอัตราเงินเดือน ในตาแหนง่ เดิมโดยให้รับเงินเดือนในอัตรากาลังทดแทนโดยมีระยะเวลาตามท่ี ก.ร. กาหนดได้ ทั้งน้ี ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. การให้พ้นจากตาแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือน การแต่งต้ัง การเลื่อนเงินเดือน การดาเนินการ ทางวินัย และการออกจากราชการของข้าราชการรัฐสภาสามัญตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กาหนด ในกฎ ก.ร. - 13 -

- ๑๔ - ในกรณีที่หมดความจาเป็นหรือครบกาหนดระยะเวลาการให้รับเงินเดือนในอัตรากาลัง ทดแทนให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ส่ังให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้น้ันพ้นจาก การรับเงนิ เดอื นในอตั รากาลงั ทดแทนและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งตามเดิมหรือตาแหน่งอื่นในประเภทเดียวกัน และระดับเดียวกนั มาตรา ๕๔ ในกรณีที่ศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดสั่งให้เพิกถอนคาสั่งแต่งตั้ง ขา้ ราชการรฐั สภาสามัญ ให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาโดยความเห็นชอบของ ก.ร. ในการสั่งการ ตามสมควรเพอื่ เยียวยาและแกไ้ ขหรอื ดาเนนิ การตามทเ่ี ห็นสมควรได้ ส่วนท่ี ๔ การเพมิ่ พูนประสิทธภิ าพและเสริมสรา้ งแรงจูงใจในการปฏิบตั ิราชการ มาตรา ๕๕ ให้ส่วนราชการสังกัดรัฐสภามีหน้าท่ีดาเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพ และเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการรัฐสภาสามัญ เพื่อให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของทางราชการ ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๕๖ ผู้บังคับบัญชาต้องปฏิบัติตนต่อผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาอย่างมีคุณธรรม และเทย่ี งธรรมและเสรมิ สรา้ งแรงจูงใจให้ผู้อยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชาดารงตนเป็นข้าราชการทด่ี ี มาตรา ๕๗ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดประพฤติตนอยู่ในประมวลจริยธรรมและ ระเบียบวินัยและปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของทางราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ตามควรแก่กรณีตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. และจะให้บาเหน็จ ความชอบอย่างอ่ืนซ่งึ อาจเปน็ คาชมเชย เคร่ืองเชดิ ชูเกยี รตหิ รอื รางวลั ด้วยก็ได้ มาตรา ๕๘ การให้ข้าราชการรฐั สภาสามัญไปศึกษาเพ่ิมเติม ฝึกอบรม ดูงานหรือปฏิบัติการ วิจยั ในประเทศหรือต่างประเทศ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๕๙ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพอื่ ใช้ประกอบการพจิ ารณาแตง่ ตั้งและเล่ือนเงินเดือน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ ก.ร. กาหนด ผลการประเมินตามวรรคหนึ่ง ให้นาไปใช้เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาและเพ่ิมพูน ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ริ าชการดว้ ย มาตรา ๖๐ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพ่ือประโยชน์ในการคานวณบาเหน็จบานาญ หรือใหไ้ ดร้ บั สทิ ธิประโยชนอ์ ่ืนตามระเบียบท่ี ก.ร. กาหนด - 14 -

- ๑๕ - สว่ นท่ี ๕ วินยั และการดาเนนิ การทางวนิ ัย มาตรา ๖๑ ข้าราชการรัฐสภาสามัญต้องรักษาวินัยตามท่ีกาหนดไว้ในกฎ ก.ร. ผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม ถอื ว่าผ้นู ้นั กระทาผิดวินยั จะต้องไดร้ ับโทษตามทีบ่ ญั ญตั ไิ วใ้ นมาตรา ๖๓ มาตรา ๖๒ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย และปอ้ งกนั มใิ หผ้ ู้อย่ใู ตบ้ ังคบั บญั ชากระทาผิดวนิ ัย ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๖๓ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย จะต้องได้รับโทษทางวินัย เวน้ แต่มีเหตุอนั ควรงดโทษตามทีบ่ ญั ญตั ิไว้ในสว่ นนี้ โทษทางวินยั มี ๕ สถาน ดังต่อไปนี้ (๑) ภาคทณั ฑ์ (๒) ตัดเงินเดือน (๓) ลดเงนิ เดือน (๔) ปลดออก (๕) ไลอ่ อก มาตรา ๖๔ การลงโทษข้าราชการรัฐสภาสามัญให้ทาเป็นคาส่ัง ผู้สั่งลงโทษต้องส่ังลงโทษ ให้เหมาะสมกับความผิด และต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติโดยในคาสั่งลงโทษ ใหแ้ สดงว่าผู้ถกู ลงโทษกระทาผิดวินัยในกรณีใดตามทีก่ าหนดไวใ้ นกฎ ก.ร. ตามมาตรา ๖๑ มาตรา ๖๕ เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใด กระทาผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ทราบโดยเร็ว และให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยเร็วด้วยความยตุ ธิ รรมและโดยปราศจากอคติ ผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ ผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติ หน้าท่ตี ามวรรคหนง่ึ หรือปฏิบัตหิ น้าทีโ่ ดยไมส่ จุ ริตใหถ้ ือว่าผู้นน้ั กระทาผิดวนิ ัย อานาจหนา้ ทข่ี องผบู้ งั คบั บญั ชาซึ่งมอี านาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๔๒ ตามส่วนนี้ ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ จะมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาระดับต่า ลงไปปฏิบัติแทนตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ร. กาหนดก็ได้ มาตรา ๖๖ เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๖๕ หรือความดังกล่าวปรากฏต่อผู้บังคับบัญชา ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ รีบดาเนินการ หรือสั่งให้ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบ้ืองต้นว่ากรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าผู้น้ันกระทาผิดวินัยหรือไม่ ถ้าเห็นวา่ กรณีไมม่ มี ูลทค่ี วรกลา่ วหาวา่ กระทาผดิ วนิ ัยก็ให้ยุตเิ รอื่ งได้ ในกรณีท่ีเห็นว่ามีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย โดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยูแ่ ล้ว ให้ดาเนินการต่อไปตามมาตรา ๖๗ หรือมาตรา ๖๘ แล้วแต่กรณี - 15 -

- ๑๖ - มาตรา ๖๗ ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๖๖ ปรากฏว่ากรณีมีมูล ถ้าความผิดน้ันมิใช่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ พร้อมทั้งรับฟังคาช้ีแจงของผู้ถูกกล่าวหาแล้ว ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๔๒ เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ผู้บังคับบัญชาส่ังลงโทษตามควรแก่กรณี โดยไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้ ในกรณีตามวรรคหน่ึง ถ้าผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ เห็นว่า ผูถ้ กู กลา่ วหาไมไ่ ดก้ ระทาผดิ ตามข้อกล่าวหา ใหผ้ ู้บังคับบญั ชาดงั กล่าวสง่ั ยุติเรือ่ ง มาตรา ๖๘ ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๖๖ ปรากฏว่ากรณีมีมูล อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ แต่งต้ังคณะกรรมการ สอบสวน ในการสอบสวนต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบพร้อมทั้งรับฟัง คาช้ีแจงของผู้ถูกกล่าวหา เม่ือคณะกรรมการสอบสวนดาเนินการเสร็จ ให้รายงานผลการสอบสวน และความเห็นต่อผูบ้ ังคบั บญั ชาซงึ่ มีอานาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๔๒ ถ้าผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิด ตามข้อกล่าวหา ให้สั่งยุติเรื่อง แต่ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้ดาเนินการต่อไป ตามมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๒ แลว้ แตก่ รณี มาตรา ๖๙ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสาหรับกรณีท่ีข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตาแหน่งต่างกัน หรือต่างส่วนราชการสังกัดรัฐสภากันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกัน ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) สาหรับข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงหรือ ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกับข้าราชการรัฐสภาสามัญ ซึ่งมิได้ดารงตาแหน่งประเภทและระดับดังกล่าวในส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเดียวกัน ให้ประธาน สภาผแู้ ทนราษฎรหรือประธานวฒุ สิ ภา แล้วแตก่ รณี เป็นผสู้ ัง่ แต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวน (๒) สาหรับข้าราชการรัฐสภาสามัญตา่ งส่วนราชการสังกัดรัฐสภากันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิด วินัยร่วมกัน ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่เป็นกรณีท่ีมีผู้ถูกกล่าวหาดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงหรือดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคณุ วุฒิร่วมดว้ ย ใหป้ ระธานรฐั สภาเปน็ ผูส้ ่งั แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (๓) สาหรบั กรณีอื่น ให้เปน็ ไปตามท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๗๐ หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเก่ียวกับการดาเนินการทางวินัยให้เป็นไป ตามท่กี าหนดในกฎ ก.ร. ในกรณีท่ีเป็นความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้งตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. จะดาเนินการทางวินัย โดยไมต่ ้องสอบสวนกไ็ ด้ มาตรา ๗๑ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงให้ผู้บังคับบัญชา ซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณี ใหเ้ หมาะสมกบั ความผดิ - 16 -

- ๑๗ - ในกรณีมีเหตุอันควรลดหย่อน จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้แต่สาหรับ การลงโทษภาคทัณฑ์ให้ใชเ้ ฉพาะกรณีกระทาผดิ วินยั เลก็ น้อย ในกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดยให้ทาทัณฑ์บน เปน็ หนงั สอื หรอื ว่ากลา่ วตกั เตือนกไ็ ด้ การลงโทษตามมาตราน้ี ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ จะมีอานาจ สัง่ ลงโทษผู้อยูใ่ ตบ้ ังคบั บัญชาในสถานโทษและอัตราโทษใดได้เพยี งใด ใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๗๒ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ลงโทษปลดออก หรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แตห่ ้ามมิให้ลดโทษลงตา่ กวา่ ปลดออก ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ไม่ใช้อานาจตามมาตรา ๖๘ วรรคหน่ึงมาตรา ๖๙ หรือมาตราน้ี ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ระดับเหนือขึ้นไป มอี านาจดาเนนิ การตามมาตรา ๖๘ วรรคหนง่ึ มาตรา ๖๙ หรือมาตราน้ีได้ ผใู้ ดถกู ลงโทษปลดออก ให้มสี ิทธิได้รบั บาเหน็จบานาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออกจากราชการ มาตรา ๗๓ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดให้ข้อมูลต่อผู้บังคับบัญชา หรือให้ถ้อยคา ในฐานะพยานต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวนตามส่วนนี้ อันเป็นประโยชน์และเป็นผลดีย่ิงต่อทางราชการ ผู้บังคบั บญั ชาอาจพิจารณาใหบ้ าเหนจ็ ความชอบเปน็ กรณีพเิ ศษได้ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดอยู่ในฐานะท่ีอาจจะถูกกล่าวหาว่าร่วมกระทาผิดวินัย อย่างร้ายแรงกรณีทุจริตต่อหน้าที่ราชการกับข้าราชการอื่น ให้ข้อมูลต่อผู้บังคับบัญชาหรือให้ถ้อยคาต่อบุคคล หรือคณะบุคคลตามความในวรรคหน่ึงเกี่ยวกับการกระทาผิดวินัยท่ีได้กระทามา จนเป็นเหตุให้มีการสอบสวน พิจารณาทางวินัยแก่ผู้เป็นต้นเหตุแห่งการกระทาผิดผู้บังคับบัญชาอาจใช้ดุลพินิจกันผู้น้ันไว้เป็นพยาน หรอื พจิ ารณาลดโทษทางวนิ ยั ตามควรแกก่ รณไี ด้ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยคาในฐานะพยานตามวรรคหนึ่งหรือ วรรคสองอันเป็นเทจ็ ใหถ้ ือว่าผู้นั้นกระทาผิดวนิ ยั หลักเกณฑ์และวิธีการการให้บาเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษและ การใหค้ วามคุ้มครองพยาน ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๗๔ ให้กรรมการสอบสวนตามมาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง เป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา และให้มีอานาจเช่นเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาเพียงเท่าทเี่ กีย่ วกับอานาจและหน้าทขี่ องกรรมการสอบสวน และโดยเฉพาะใหม้ อี านาจดังต่อไปนีด้ ว้ ยคือ (๑) เรียกให้กระทรวง กรม ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอ่ืนของรัฐหรือห้างหุ้นส่วน บริษัท ชี้แจงขอ้ เท็จจรงิ สง่ เอกสารและหลกั ฐานทีเ่ กย่ี วข้อง สง่ ผ้แู ทนหรอื บุคคลในสังกัดมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคา เกี่ยวกับเรอ่ื งท่ีสอบสวน (๒) เรียกผถู้ ูกกล่าวหาหรอื บคุ คลใด ๆ มาชีแ้ จงหรือใหถ้ อ้ ยคา หรอื ใหส้ ่งเอกสารและหลักฐาน เกย่ี วกบั เร่ืองทสี่ อบสวน - 17 -

- ๑๘ - มาตรา ๗๕๓ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดซ่ึงออกจากราชการอันมิใช่เพราะเหตุตาย มีกรณี ถูกกล่าวหาเป็นหนังสือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรับราชการได้กระทาหรือละเว้นกระทา การใด อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้าเป็นการกล่าวหาต่อผู้บังคับบัญชาของผู้น้ันหรือต่อผู้มีหน้าท่ีสืบสวน สอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือเป็นการกล่าวหาของผู้บังคับบัญชาของผู้นั้น หรอื มีกรณีถกู ฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญาก่อนออกจากราชการว่า ในขณะรับราชการได้กระทาความผิด อาญาอันมิใช่เป็นความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทที่ไม่เกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ ผู้มีอานาจ ดาเนนิ การทางวินัยมีอานาจดาเนนิ การสบื สวนหรือพจิ ารณาดาเนินการทางวินัย และสั่งลงโทษตามท่ีบัญญัติไว้ ในส่วนน้ีต่อไปได้เสมือนว่าผู้น้ันยังมิได้ออกจากราชการ แต่ต้องส่ังลงโทษภายในสามปีนับแต่วันที่ผู้น้ัน ออกจากราชการ กรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกล่าวหา หรือฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาคดีอาญา หลังจาก ท่ีข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดออกจากราชการแล้ว ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยมีอานาจดาเนินการ สืบสวนหรือพิจารณา ดาเนินการทางวินัย และสั่งลงโทษตามท่ีบัญญัติไว้ในส่วนนี้ต่อไปได้เสมือนว่าผู้นั้น ยังมิได้ออกจากราชการ โดยต้องเร่ิมดาเนินการสอบสวนภายในหนึ่งปีนับแต่วันท่ีผู้น้ันออกจากราชการและ ต้องส่ังลงโทษภายในสามปีนับแต่วันท่ีผู้นั้นออกจากราชการ สาหรับกรณีที่เป็นความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้ง ตามมาตรา ๗๐ วรรคสอง จะตอ้ งส่งั ลงโทษภายในสามปนี ับแต่วันท่ผี ้นู น้ั ออกจากราชการ ในกรณีท่ีศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนคาสั่งลงโทษ หรือองค์กรพิจารณา อุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัยหรือองค์กรตรวจสอบรายงานการดาเนินการทางวินัยมีคาวินิจฉัยถึงท่ีสุดหรือมีมติ ใหเ้ พิกถอนคาสง่ั ลงโทษตามวรรคหนง่ึ หรอื วรรคสอง เพราะเหตกุ ระบวนการดาเนินการทางวินัยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ผู้มีอานาจดาเนินการทางวินัยดาเนินการทางวินัยให้แล้วเสร็จภายในสองปีนับแต่วันที่มีคาพิพากษาถึงที่สุด หรอื มีคาวินจิ ฉยั ถึงท่ีสุดหรอื มมี ติ แลว้ แต่กรณี การดาเนนิ การทางวนิ ยั ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม ถ้าผลการสอบสวนพิจารณา ปรากฏว่าผนู้ ้นั กระทาผิดวินยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงกใ็ หง้ ดโทษ ความในมาตรานี้มิให้ใช้บังคับแก่ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตามมาตรา ๗๖ มาตรา ๗๕/๑๔ ในกรณีท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติช้ีมูลความผิดข้าราชการรัฐสภา สามัญ ผู้ใดซึ่งออกจากราชการแล้ว การดาเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษแก่ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้น้ันให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขที่กาหนดไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริตหรือกฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรการของฝ่ายบรหิ ารในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แลว้ แตก่ รณี การดาเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่ง หากปรากฏว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ก็ให้งดโทษ มาตรา ๗๖ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง จนถูกต้ังกรรมการสอบสวน หรือถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิด ๓ มาตรา ๗๕ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราชการรฐั สภา (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔ มาตรา ๗๕/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการรัฐสภา (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ - 18 -

- ๑๙ - ท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ มีอานาจ สง่ั พักราชการหรือส่ังใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อนเพ่ือรอฟังผลการสอบสวนหรือพิจารณาหรอื ผลแห่งคดีได้ ถ้าภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาว่าผู้น้ันมิได้กระทาผิดหรือกระทาผิดไม่ถึ ง กับจะถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก และไม่มีกรณีที่จะต้องออกจากราชการด้วยเหตุอื่น ก็ให้ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ สั่งให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติราชการ หรือกลับเข้ารับราชการในตาแหน่ง ตามเดิมหรือตาแหน่งอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกัน หรือในตาแหน่งประเภทและระดับท่ี ก.ร. กาหนด ท้ังนี้ ผนู้ นั้ ตอ้ งมคี ุณสมบตั ิตรงตามคุณสมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งน้ัน เมื่อได้มีการส่ังให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดพักราชการหรือออกจากราชการไว้ก่อนแล้ว ภายหลังปรากฏว่าผู้นั้นมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงในกรณีอ่ืนอีก ผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ มีอานาจดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแต่งต้ังคณะกรรมการ สอบสวนตามมาตรา ๖๘ ตลอดจนดาเนินการทางวินยั ตามทบี่ ัญญัติไวใ้ นส่วนนต้ี ่อไปได้ ในกรณีท่ีสั่งให้ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนกลับเข้ารับราชการ หรือสั่งให้ผู้ถูกส่ัง ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อนออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืนที่มิใช่เป็นการลงโทษเพราะกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ก็ให้ผู้น้ันมีสถานภาพเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญตลอดระยะเวลาระหว่างที่ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน เสมือนวา่ ผู้นั้นเปน็ ผถู้ ูกส่งั พกั ราชการ เงินเดือน เงินอ่ืนที่จ่ายเป็นรายเดือน และเงินช่วยเหลืออย่างอ่ืน และการจ่ายเงินดังกล่าว ของผถู้ ูกส่งั พกั ราชการและผถู้ ูกสง่ั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบยี บวา่ ดว้ ยการนั้น การส่ังพกั ราชการให้สงั่ พักตลอดเวลาท่ีสอบสวนหรือพิจารณา เว้นแต่ผู้ถูกส่ังพักราชการผู้ใด ได้ร้องทุกข์ตามมาตรา ๘๘ และผู้มีอานาจพิจารณาคาร้องทุกข์เห็นว่าสมควรสั่งให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ ราชการก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จส้ิน เน่ืองจากพฤติการณ์ของผู้ถูกสั่งพักราชการไม่เป็นอุปสรรค ต่อการสอบสวนหรือพิจารณาและไม่ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยต่อไป หรือเนื่องจากการดาเนินการ ทางวนิ ัยได้ล่วงพ้นหนง่ึ ปนี ับแต่วันพักราชการแล้วยังไม่แล้วเสร็จและผู้ถูกสั่งพักราชการไม่มีพฤติกรรมดังกล่าว ใหผ้ มู้ ีอานาจสัง่ พกั ราชการสง่ั ให้ผนู้ ้ันกลับเขา้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทร่ี าชการก่อนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสรจ็ สนิ้ ให้นาความในวรรคหกมาใชบ้ งั คบั กับกรณถี ูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนดว้ ย หลักเกณฑ์และวิธกี ารเกีย่ วกับการสง่ั พกั ราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนระยะเวลา ให้พักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน การให้กลับเข้าปฏิบัติราชการหรือกลับเข้ารับราชการ และการดาเนินการเพอ่ื ให้เปน็ ไปตามผลการสอบสวนหรอื พิจารณาใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๗๗ เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ส่ังลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้ หรือส่ังยุติเรื่อง หรอื งดโทษแล้วให้รายงาน ก.ร. ทง้ั น้ี ตามระเบยี บที่ ก.ร. กาหนด ในกรณีที่ ก.ร. เห็นว่าการดาเนินการทางวินัยเป็นการไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม หากมีมติ เป็นประการใด ใหผ้ บู้ งั คบั บัญชาสั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามที่ ก.ร. มมี ติ ในกรณตี ามวรรคสอง ให้ ก.ร. มีอานาจสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพ่ิมเติมได้ตามหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารท่ี ก.ร. กาหนดตามมาตรา ๗๐ มาตรา ๗๘ เมอ่ื มกี รณีเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให้ผสู้ ่งั มีคาสง่ั ใหม่ และในคาส่ัง ดังกล่าวให้สั่งยกเลิกคาสั่งลงโทษเดิม พร้อมทั้งระบุวิธีการดาเนินการเกี่ยวกับโทษท่ีได้รับไปแล้ว ท้ังน้ี ตามที่ กาหนดในกฎ ก.ร. - 19 -

- ๒๐ - มาตรา ๗๙ ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งโอนมาตามมาตรา ๔๗ ผู้ใดมีกรณีกระทาผิดวินัย อยู่ก่อนวันโอนมาบรรจุ ให้ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้น้ันดาเนินการทางวินัยตามส่วนน้ี โดยอนุโลม แต่ถ้าเป็นเรื่องท่ีอยู่ในระหว่างการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของผู้บังคับบัญชาเดิม ก่อนวันโอนก็ให้สืบสวนหรือพิจารณาหรือสอบสวนต่อไปจนเสร็จ แล้วส่งเร่ืองให้ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการ รัฐสภาสามญั ผ้นู น้ั พจิ ารณาดาเนินการตอ่ ไปตามสว่ นนีโ้ ดยอนโุ ลม แตท่ ้งั นีใ้ นการสั่งลงโทษทางวินัยให้พิจารณา ตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินหรือกฎหมายว่าด้วย ระเบยี บข้าราชการที่โอนมานัน้ แล้วแตก่ รณี สว่ นที่ ๖ การออกจากราชการ มาตรา ๘๐ ข้าราชการรัฐสภาสามญั ออกจากราชการเมื่อ (๑) ตาย (๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหน็จบานาญข้าราชการ (๓) ลาออกจากราชการและได้รบั อนุญาตใหล้ าออกหรือการลาออกมีผลตามมาตรา ๘๒ (๔) ถกู สง่ั ให้ออกตามมาตรา ๔๓ มาตรา ๕๐ มาตรา ๗๖ มาตรา ๘๓ หรือมาตรา ๘๔ หรอื (๕) ถูกส่งั ลงโทษปลดออกหรือไล่ออก วนั ออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๘๑ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดเมื่ออายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ในส้ินปีงบประมาณ และทางราชการมีความจาเป็นที่จะให้รับราชการต่อไปเพื่อปฏิบัติหน้าท่ีในทางวิชาการหรือหน้าที่ที่ต้อง ใชค้ วามสามารถเฉพาะตัวในตาแหน่งตามมาตรา ๒๗ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะให้รับราชการ ตอ่ ไปอกี ไม่เกินสบิ ปีกไ็ ด้ตามทกี่ าหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๘๒ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยื่นหนังสือ ขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไปชั้นหน่ึงโดยย่ืนล่วงหน้าก่อนวันขอลาออกไม่น้อยกว่าสามสิบวัน เพ่อื ให้ผู้บังคับบญั ชาซ่งึ มอี านาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๔๒ เป็นผ้พู ิจารณาก่อนวันขอลาออก ในกรณีท่ีผู้ประสงค์จะลาออกยื่นหนังสือขอลาออกล่วงหน้าน้อยกว่ าสามสิบวัน และผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ เห็นว่ามีเหตุผลและความจาเป็นจะอนุญาตให้ลาออก ตามวันที่ขอลาออกกไ็ ด้ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ เห็นว่าจาเป็นเพื่อประโยชน์ แก่ราชการ จะยับย้ังการลาออกไว้เป็นเวลาไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันขอลาออกก็ได้ ในกรณีเช่นน้ัน ถ้าผู้ขอลาออกมิได้ถอนใบลาออกก่อนครบกาหนดระยะเวลาการยับย้ัง ให้ถือว่าการลาออกนั้นมีผล เมือ่ ครบกาหนดเวลาตามทไ่ี ดย้ บั ย้งั ไว้ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ มิได้ยับยั้งตามวรรคสาม ให้การลาออกนนั้ มีผลต้งั แต่วันขอลาออก ในกรณีท่ีข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพ่ือดารงตาแหน่ง ในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตาแหน่งทางการเมือง หรือตาแหน่งอื่นท่ี ก.ร. กาหนด หรือเพ่ือสมัคร - 20 -

- ๒๑ - รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหารท้องถ่ิ น ให้ยื่นหนังสือขอลาออก ต่อผ้บู ังคับบญั ชาตามวรรคหน่งึ และใหก้ ารลาออกมีผลนบั ต้ังแต่วันท่ีผู้นน้ั ขอลาออก หลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให้ลาออกและการยับย้ัง การลาออกจากราชการ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๘๓ ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ มีอานาจส่ังให้ข้าราชการ รัฐสภาสามัญออกจากราชการเพ่ือรับบาเหน็จบานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญ ข้าราชการได้ในกรณี ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เมื่อข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีราชการของตนได้ โดยสม่าเสมอ (๒) เม่ือข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดสมัครไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของ ทางราชการ (๓) เมื่อข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดขาดคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา ๓๗ ก. (๑) หรือ (๓) หรอื มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๗ ข. (๑) (๒) (๓) หรือ (๖) (๔) เม่ือทางราชการเลิกหรือยุบหน่วยงานหรือตาแหน่งที่ข้าราชการรัฐสภาสามัญปฏิบัติ หนา้ ทีห่ รือดารงอยู่ สาหรับผูท้ ี่ออกจากราชการในกรณนี ีใ้ ห้ได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ท่ีกระทรวงการคลงั กาหนดดว้ ย (๕) เม่ือข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลในระดบั อนั เป็นที่พอใจของทางราชการ (๖) เมื่อข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดหย่อนความสามารถในอันท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพรอ่ งในหน้าทร่ี าชการ หรอื ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ราชการ ถ้าให้ผู้นั้นรับราชการต่อไป จะเปน็ การเสยี หายแกร่ าชการ (๗) เม่ือข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดมีกรณีถูกสอบสวนว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๖๘ และผลการสอบสวนไมไ่ ดค้ วามแน่ชัดพอท่ีจะฟังลงโทษตามมาตรา ๗๒ วรรคหน่ึง แต่มีมลทิน หรอื มวั หมองในกรณีทถี่ กู สอบสวน ถา้ ให้รบั ราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ (๘) เม่ือข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดต้องรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ในความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือต้องรับโทษจาคุกโดยคาส่ังของศาล ซึ่งยงั ไม่ถึงกบั จะตอ้ งถูกลงโทษปลดออกหรอื ไล่ออก การสั่งใหอ้ อกจากราชการตามวรรคหนึ่งให้เปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. เม่ือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ ส่ังให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใด ออกจากราชการตามมาตรานีแ้ ลว้ ใหร้ ายงาน ก.ร. และใหน้ ามาตรา ๗๗ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม มาตรา ๘๔ เม่ือข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วย การรับราชการทหาร ให้ผ้บู ังคับบญั ชาซ่งึ มีอานาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๔๒ สง่ั ให้ผู้น้ันออกจากราชการ ผู้ใดถูกส่ังให้ออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง และต่อมาปรากฏว่าผู้น้ันมีกรณีที่จะต้องถูกส่ัง ให้ออกจากราชการตามมาตราอื่นอยู่ก่อนไปรับราชการทหาร ก็ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตาม มาตรา ๔๒ มอี านาจเปล่ียนแปลงคาสัง่ ใหอ้ อกตามวรรคหนง่ึ เป็นให้ออกจากราชการตามมาตราอ่นื นน้ั ได้ - 21 -

- ๒๒ - มาตรา ๘๕ ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๔๒ ไม่ใช้อานาจ ตามมาตรา ๘๓ โดยไม่มเี หตุอันสมควร ใหผ้ ู้บงั คับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๔๒ ระดับเหนือข้ึนไป มอี านาจดาเนนิ การตามมาตรา ๘๓ ได้ มาตรา ๘๖ การออกจากราชการของข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ดารงตาแหน่งท่ีทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง ให้นาความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการให้พ้นจากตาแหน่ง นบั แต่วนั ออกจากราชการ เวน้ แตอ่ อกจากราชการเพราะความตายใหน้ าความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงทราบ ส่วนท่ี ๗ การอุทธรณ์และการรอ้ งทุกข์ มาตรา ๘๗ ผู้ใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัติน้ีหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการตาม มาตรา ๘๓ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ผู้น้ันมีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.ร. ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบ หรอื ถอื ว่าทราบคาส่งั การอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามท่ีกาหนด ในกฎ ก.ร. มาตรา ๘๘ ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ใดเห็นว่าผู้บังคับบัญชาใช้อานาจหน้าที่ปฏิบัติต่อตน โดยไม่ถูกต้องหรือไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย หรือมีความคับข้องใจอันเกิดจากการปฏิบัติ ของผู้บังคับบัญชาต่อตนในกรณีตามท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. ผู้น้ันอาจร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาหรือ ก.ร. แล้วแต่กรณี ตามท่ีกาหนดไว้ในกฎ ก.ร. เพ่ือขอให้แก้ไขหรือแก้ความคับข้องใจได้ ท้ังน้ี เว้นแต่กรณีที่มีสิทธิ อทุ ธรณ์ตามมาตรา ๘๗ การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองร้องทุกข์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๘๙ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์หรือเรื่องร้องทุกข์ ก.ร. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะต้ัง อ.ก.ร. อุทธรณ์และร้องทุกข์ เพ่ือทาหน้าท่ีพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และการร้องทุกข์ก็ได้ ทง้ั นี้ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎ ก.ร. มาตรา ๙๐ เม่ือ ก.ร. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๔๒ ดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามคาวินิจฉัยนน้ั ภายในสามสิบวันนบั แต่วันท่ี ก.ร. มีคาวินิจฉัย ผู้บังคับบัญชาผู้ใดไม่ปฏิบัติตามวรรคหน่ึง ให้ถือว่าเป็นการจงใจละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมชิ อบเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเสียหายแกบ่ คุ คลอนื่ มาตรา ๙๑ ให้นามาตรา ๗๔ มาใช้บังคับกับการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และเร่ืองร้องทุกข์ ของ ก.ร. และ อ.ก.ร. อทุ ธรณแ์ ละร้องทกุ ข์ - 22 -

- ๒๓ - หมวด ๔ ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง มาตรา ๙๒ ตาแหนง่ ขา้ ราชการรัฐสภาฝา่ ยการเมือง มดี ังตอ่ ไปน้ี (๑) ท่ีปรกึ ษาประธานรฐั สภา (๒) ที่ปรึกษารองประธานรฐั สภา (๓) ทป่ี รกึ ษาประธานสภาผู้แทนราษฎร (๔) ทป่ี รกึ ษาประธานวุฒิสภา (๕) ทีป่ รึกษารองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร (๖) ที่ปรกึ ษารองประธานวุฒิสภา (๗) ท่ีปรึกษาผู้นาฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร (๘) โฆษกประธานสภาผ้แู ทนราษฎร (๙) โฆษกประธานวุฒิสภา (๑๐) โฆษกผ้นู าฝ่ายค้านในสภาผูแ้ ทนราษฎร (๑๑) เลขานกุ ารประธานรัฐสภา (๑๒) เลขานุการรองประธานรัฐสภา (๑๓) เลขานกุ ารประธานสภาผแู้ ทนราษฎร (๑๔) เลขานกุ ารประธานวฒุ ิสภา (๑๕) เลขานุการรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร (๑๖) เลขานุการรองประธานวุฒสิ ภา (๑๗) เลขานุการผ้นู าฝา่ ยค้านในสภาผแู้ ทนราษฎร (๑๘) ผูช้ ่วยเลขานุการประธานรฐั สภา (๑๙) ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารรองประธานรฐั สภา (๒๐) ผู้ช่วยเลขานกุ ารประธานสภาผ้แู ทนราษฎร (๒๑) ผชู้ ่วยเลขานกุ ารประธานวฒุ ิสภา (๒๒) ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (๒๓) ผู้ช่วยเลขานกุ ารรองประธานวฒุ ิสภา (๒๔) ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารผูน้ าฝา่ ยคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามวรรคหนึ่งจะมีจานวนเท่าใดให้เป็นไปตามอัตรา ในบัญชที า้ ยพระราชบัญญัติน้ี ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองต้องไม่เป็นข้าราชการซ่ึงมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา และใหน้ าคณุ สมบัติทั่วไปและลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง เว้นแต่ ข. (๑) และ (๒) มาใช้บังคับ กบั ข้าราชการรัฐสภาฝา่ ยการเมืองโดยอนุโลม มาตรา ๙๓ ให้ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองได้รับเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง ตามบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองและบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่งข้าราชการรัฐสภา ฝ่ายการเมอื งท้ายพระราชบัญญตั ิน้ี - 23 -

- ๒๔ - ข้ า ร า ช ก า ร รั ฐ ส ภ า ฝ่ า ย ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ส ม า ชิ ก ส ภ า ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร ด้ ว ย ถ้าได้เงินประจาตาแหน่งหรือเงินเพ่ิมสาหรับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดังกล่าวแล้ว ไม่มีสิทธิได้รับเงินเดือน และเงนิ ประจาตาแหน่งในฐานะขา้ ราชการรัฐสภาฝา่ ยการเมืองอีก การจ่ายเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองให้เป็นไป ตามระเบียบท่ี ก.ร. กาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั มาตรา ๙๔ เมื่อคณะรัฐมนตรีได้ปรับอัตราเงินเดือนให้เหมาะสมย่ิงข้ึนตามกฎหมายว่าด้วย เงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง โดยเป็นการปรับเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราสาหรับข้าราชการการเมือง หรือข้าราชการทุกประเภทและไม่เกินอัตราร้อยละสิบของอัตราท่ีใช้บังคับอยู่ ให้ ก.ร. พิจารณา ปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองให้สอดคล้องกับการปรับนั้น โดยให้กระทาเป็น ประกาศรัฐสภาซึ่งประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนาม และให้ถือว่าบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภา ฝ่ายการเมืองท้ายประกาศรัฐสภาดังกล่าวเป็นบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ท้ายพระราชบัญญัติน้ี ท้ังนี้ ในกรณีที่การปรับเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราหากทาให้อัตราหน่ึงอัตราใดมีเศษ ไม่ถึงสิบบาทให้ปรับตัวเลขเงินเดือนของอัตราดังกล่าวเพิ่มข้ึนเป็นสิบบาท และมิให้ถือว่าเป็นการปรับอัตรา ร้อยละท่แี ตกตา่ งกนั มาตรา ๙๕ การแต่งต้ังข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามมาตรา ๙๒ (๑) (๓) (๕) (๗) (๘) (๑๐) (๑๑) (๑๓) (๑๕) (๑๗) (๑๘) (๒๐) (๒๒) และ (๒๔) ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเปน็ ผ้มู อี านาจแต่งต้งั การแต่งต้ังขา้ ราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามมาตรา ๙๒ (๒) (๔) (๖) (๙) (๑๒) (๑๔) (๑๖) (๑๙) (๒๑) และ (๒๓) ใหป้ ระธานวุฒิสภาเปน็ ผู้มีอานาจแตง่ ต้งั มาตรา ๙๖ ขา้ ราชการรัฐสภาฝ่ายการเมอื งออกจากตาแหน่งเม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สาหรับข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองซึ่งได้รับแต่งต้ังตามมาตรา ๙๕ วรรคหน่ึง ผู้แต่งตั้งส่ังให้พ้นจากตาแหน่ง หรือเม่ือประธานสภาผู้แทนราษฎร รองประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือ ผนู้ าฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎรพ้นจากตาแหน่ง หรอื เมือ่ สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุหรือถูกยบุ แล้วแตก่ รณี (๔) สาหรับข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองซึ่งได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๙๕ วรรคสอง ผแู้ ต่งตั้งส่ังใหพ้ ้นจากตาแหน่ง หรอื เม่ือประธานวฒุ ิสภา หรือรองประธานวุฒิสภาออกจากตาแหน่ง แลว้ แตก่ รณี บทเฉพาะกาล มาตรา ๙๗ ให้ ก.ร. ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ซง่ึ ปฏบิ ัติหนา้ ที่อย่ใู นวนั ก่อนวนั ท่พี ระราชบญั ญัตนิ ้ีใชบ้ งั คับปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ก.ร. ตามพระราชบัญญตั ิน้ี ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภาตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา ตามพระราชบญั ญัตินี้ต่อไปจนกวา่ จะครบวาระตามพระราชบัญญตั ิระเบียบข้าราชการฝ่ายรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๑๘ - 24 -

- ๒๕ - ให้ดาเนินการจัดให้มีการเลือกกรรมการผู้แทนข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งข้าราชการ รัฐสภาสามัญในสังกัดสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และข้าราชการรัฐสภาสามัญในสังกัดสานักงาน เลขาธิการวฒุ สิ ภาเลือกตามมาตรา ๑๓ ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวนั นบั แตว่ นั ทีพ่ ระราชบญั ญัตนิ ใ้ี ช้บังคับ มาตรา ๙๘ ให้ อ.ก.ร. ซึ่งปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ่อไปจนกว่าจะได้แต่งตง้ั อ.ก.ร. ตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๙๙ ผู้ใดเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญหรือข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ใหผ้ ้นู ้นั เปน็ ข้าราชการรฐั สภาสามัญหรือข้าราชการรฐั สภาฝ่ายการเมือง แล้วแต่กรณี ตามพระราชบญั ญตั ินตี้ ่อไป มาตรา ๑๐๐ บรรดากฎหมาย ข้อบังคับ กฎ ประกาศ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี มติ ก.ร. หรือคาสั่งใดที่กล่าวอ้างถึง “ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา” ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ฝ่ายรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๑๘ หรอื พระราชบญั ญัติเครือ่ งแบบขา้ ราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ให้หมายความถึง “ข้าราชการรฐั สภา” ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา ๑๐๑ ในระหว่างท่ี ก.ร. ยังมิได้จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่งตามมาตรา ๒๙ บทบัญญัติในหมวด ๓ ข้าราชการรัฐสภาสามัญ ยังไม่ใช้บังคับ ให้นาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือนและบัญชี อัตราเงินประจาตาแหน่งขา้ ราชการพลเรือนท้ายพระราชบญั ญัตเิ งินเดอื นและเงนิ ประจาตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๓๘ มาใช้บังคับแก่ข้าราชการรัฐสภาสามัญไปพลางก่อนจนกว่า ก.ร. จะได้จัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง และจัดตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญเข้าประเภทตาแหน่ง สายงาน และระดับตาแหน่งตาม มาตรฐานกาหนดตาแหน่งแล้วเสร็จ จึงให้นาบทบัญญัติในหมวด ๓ ข้าราชการรัฐสภาส ามัญ แหง่ พระราชบญั ญตั ิน้ีมาใช้บังคับ และให้ผู้บังคับบัญชาส่ังแต่งต้ังข้าราชการรัฐสภาสามัญให้ดารงตาแหน่งใหม่ ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีจัดทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง และจัดตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาสามัญ เข้าประเภทตาแหนง่ สายงาน และระดับตาแหน่งตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่ แล้วเสรจ็ ในการจัดตาแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญตามวรรคหน่ึงหากมีเหตุผล และความจาเป็น ก.ร. อาจอนุมัติให้แต่งตั้งข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้มีคุณสมบัติต่างไปจากคุณสมบัติเฉพาะ สาหรบั ตาแหน่งตามทีก่ ฎหมายกาหนดไวเ้ ป็นการเฉพาะรายได้ ให้ ก.ร. ดาเนินการตามวรรคหนึ่งใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในหกสบิ วนั นับแตว่ นั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ช้บังคับ มาตรา ๑๐๒ ในระหว่างท่ียังมิได้ออกกฎ ประกาศ หรือระเบียบหรือกาหนดกรณีใด เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้นากฎ ประกาศ หรือระเบียบหรือกรณีท่ีกาหนดไว้แล้วซ่ึงใช้อยู่เดิม มาใช้บงั คับเทา่ ทไ่ี ม่ขัดหรอื แย้งกบั พระราชบัญญัตนิ ี้ ในกรณีที่ไม่อาจนากฎ ประกาศ หรือระเบียบหรือกรณีท่ีกาหนดไว้แล้วมาใช้บังคับได้ ตามวรรคหน่งึ การจะดาเนนิ การประการใดใหเ้ ป็นไปตามท่ี ก.ร. กาหนด มาตรา ๑๐๓ การใดที่อยู่ระหว่างดาเนินการหรือเคยดาเนินการได้ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ และมิได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือมีกรณีที่ไม่อาจ - 25 -

- ๒๖ - ดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ การดาเนินการต่อไปในเร่ืองนั้นจะสมควรดาเนินการประการใดให้เป็นไป ตามที่ ก.ร. กาหนด มาตรา ๑๐๔ การปรับเงินเดอื นและเงนิ ประจาตาแหน่งของขา้ ราชการรัฐสภาสามัญเข้าตาม บัญชที ้ายพระราชบญั ญัติน้ี ให้ ก.ร. พิจารณาดาเนินการให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะรัฐมนตรี กาหนดตามมาตรา ๑๓๘ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหน่ึง ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งได้รับเงินเดือน ยังไม่ถึงข้ันต่าของระดับตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ให้ได้รับเงินเดือนไม่ต่ากว่าข้ันต่าชั่วคราวตามบัญชี ท้ายพระราชบัญญัติน้ี และให้ได้รับการปรับเงินเดือนจนได้รับเงินเดือนในขั้นต่าของระดับตามบัญชี ท้ายพระราชบัญญตั ินี้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารทค่ี ณะรฐั มนตรกี าหนดตามมาตรา ๑๓๘ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ อภิสทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ นายกรัฐมนตรี - 26 -

- ๒๗ - บัญชีเงนิ เดอื นข้นั ตา่ ขนั้ สงู ของข้าราชการรฐั สภาสามญั ๕ ตาแหน่งประเภทบริหาร ขั้นสงู บาท บาท ขั้นต่า ๗๔,๓๒๐ ๗๖,๘๐๐ ขั้นต่าชวั่ คราว ๕๑,๑๔๐ ๕๖,๓๘๐ ระดับ ๒๔,๔๐๐ ๒๙,๙๘๐ ข้ันสงู ตน้ สูง ขน้ั ต่า ข้ันตา่ ชั่วคราว ตาแหนง่ ประเภทอานวยการ บาท ระดับ ๗๐,๓๖๐ บาท ๓๒,๘๕๐ ๕๙,๕๐๐ ๒๔,๔๐๐ ๒๖,๖๖๐ ๑๙,๘๖๐ สงู ตน้ ตาแหนง่ ประเภทวิชาการ ข้ันสูง บาท บาท บาท บาท บาท ข้ันต่า ขน้ั ตา่ ช่ัวคราว ๒๖,๙๐๐ ๔๓,๖๐๐ ๕๘,๓๙๐ ๖๙,๐๔๐ ๗๖,๘๐๐ ๘,๓๔๐ ๑๕,๐๕๐ ๒๒,๑๔๐ ๓๑,๔๐๐ ๔๓,๘๑๐ ระดับ ๗,๑๔๐ ๑๓,๑๖๐ ๑๙,๘๖๐ ๒๔,๔๐๐ ๒๙,๙๘๐ ชานาญการ ปฏิบตั กิ าร ชานาญการ พเิ ศษ เช่ยี วชาญ ทรงคุณวฒุ ิ ตาแหน่งประเภททวั่ ไป บาท บาท บาท บาท ขั้นสงู ๒๑,๐๑๐ ๓๘,๗๕๐ ๕๔,๘๒๐ ๖๙,๐๔๐ ข้นั ต่า ๔,๘๗๐ ๑๐,๑๙๐ ๑๕,๔๑๐ ๔๘,๒๒๐ ระดับ ปฏบิ ตั ิงาน ชานาญงาน อาวุโส ทกั ษะพิเศษ ๕ บัญชีเงินเดือนข้ันต่าขั้นสูงของข้าราชการรัฐสภาสามัญ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ ระเบียบขา้ ราชการรัฐสภา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ - 27 -

- ๒๘ - บัญชีอตั ราเงนิ ประจาตาแหน่งของข้าราชการรฐั สภาสามญั ๑. ตาแหนง่ ประเภทบริหาร ระดบั อตั รา (บาท/เดือน) ระดับสูง ๒๑,๐๐๐ ๑๔,๕๐๐ ระดบั ต้น ๑๐,๐๐๐ ๒. ตาแหน่งประเภทอานวยการ ระดบั อตั รา (บาท/เดือน) ระดบั สูง ๑๐,๐๐๐ ระดบั ต้น ๕,๖๐๐ ๓. ตาแหนง่ ประเภทวิชาการ ระดบั อัตรา (บาท/เดือน) ทรงคุณวฒุ ิ ๑๕,๖๐๐ เชีย่ วชาญ ๑๓,๐๐๐ ชานาญการพเิ ศษ ๙,๙๐๐ ๕,๖๐๐ ชานาญการ ๓,๕๐๐ ๔. ตาแหน่งประเภทท่ัวไป ระดบั อตั รา (บาท/เดือน) ทกั ษะพิเศษ ๙,๙๐๐ - 28 -

- ๒๙ - บญั ชีอตั ราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมอื ง๖ ตาแหนง่ จานวนตาแหนง่ อัตรา (บาท) ๕๗,๖๖๐ ที่ปรึกษาประธานรฐั สภา ๑ ๕๗,๖๖๐ ที่ปรึกษารองประธานรฐั สภา ๑ ๕๗,๖๖๐ ทป่ี รกึ ษาประธานสภาผ้แู ทนราษฎร ๒ ๕๗,๖๖๐ ที่ปรึกษาประธานวุฒสิ ภา ๒ ๔๗,๒๕๐ ท่ปี รึกษารองประธานสภา เท่าจานวนรองประธานสภา ผแู้ ทนราษฎร ผ้แู ทนราษฎร ๔๗,๒๕๐ ทป่ี รึกษารองประธานวุฒิสภา เทา่ จานวนรองประธานวุฒสิ ภา ๔๗,๒๕๐ ทป่ี รึกษาผู้นาฝา่ ยค้านในสภา ๑ ผู้แทนราษฎร โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร ๑ ๔๗,๒๕๐ โฆษกประธานวฒุ ิสภา ๑ ๔๗,๒๕๐ โฆษกผนู้ าฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร ๑ ๔๗,๒๕๐ เลขานุการประธานรฐั สภา ๑ ๔๔,๓๑๐ เลขานกุ ารรองประธานรัฐสภา ๑ ๔๔,๓๑๐ เลขานกุ ารประธานสภาผู้แทนราษฎร ๑ ๔๔,๓๑๐ เลขานุการประธานวุฒิสภา ๑ ๔๔,๓๑๐ เลขานุการรองประธานสภา เท่าจานวนรองประธานสภา ๔๔,๓๑๐ ผู้แทนราษฎร ผแู้ ทนราษฎร เลขานุการรองประธานวฒุ ิสภา เทา่ จานวนรองประธานวุฒสิ ภา ๔๔,๓๑๐ เลขานุการผ้นู าฝา่ ยค้านในสภา ๑ ๔๔,๓๑๐ ผู้แทนราษฎร ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารประธานรัฐสภา ๑ ๓๙,๗๑๐ ผู้ชว่ ยเลขานุการรองประธานรฐั สภา ๑ ๓๙,๗๑๐ ผชู้ ่วยเลขานุการประธานสภา ๑ ๓๙,๗๑๐ ผแู้ ทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานกุ ารประธานวุฒิสภา ๑ ๓๙,๗๑๐ ผชู้ ว่ ยเลขานุการรองประธานสภา เทา่ จานวนรองประธานสภา ๓๙,๗๑๐ ผแู้ ทนราษฎร ผ้ชู ว่ ยเลขานุการรองประธานวุฒสิ ภา ผแู้ ทนราษฎร ๓๙,๗๑๐ ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารผู้นาฝา่ ยค้านในสภา เท่าจานวนรองประธานวุฒสิ ภา ๓๙,๗๑๐ ผแู้ ทนราษฎร ๑ ๖ บัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศรัฐสภา เร่ือง การปรับ อัตราเงินเดือนของข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๔ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘/ตอนพิเศษ ๖๔ ง/หน้า ๖๘/ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๔) - 29 -

- ๓๐ - บญั ชีอตั ราเงินประจาตาแหนง่ ขา้ ราชการรัฐสภาฝา่ ยการเมือง ตาแหน่ง จานวนตาแหนง่ อตั รา (บาท) ๑๕,๐๐๐ ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา ๑ ๑๕,๐๐๐ ทป่ี รึกษารองประธานรัฐสภา ๑ ๑๕,๐๐๐ ที่ปรึกษาประธานสภาผ้แู ทนราษฎร ๒ ๑๕,๐๐๐ ท่ปี รึกษาประธานวฒุ สิ ภา ๒ ๑๐,๐๐๐ ท่ปี รกึ ษารองประธานสภา เทา่ จานวนรองประธานสภา ผู้แทนราษฎร ผ้แู ทนราษฎร ๑๐,๐๐๐ ท่ปี รึกษารองประธานวฒุ ิสภา เท่าจานวนรองประธานวฒุ ิสภา ๑๐,๐๐๐ ที่ปรึกษาผ้นู าฝ่ายค้านในสภา ๑ ผู้แทนราษฎร โฆษกประธานสภาผ้แู ทนราษฎร ๑ ๑๐,๐๐๐ โฆษกประธานวฒุ ิสภา ๑ ๑๐,๐๐๐ โฆษกผู้นาฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร ๑ ๑๐,๐๐๐ เลขานกุ ารประธานรัฐสภา ๑ ๔,๙๐๐ เลขานกุ ารรองประธานรัฐสภา ๑ ๔,๙๐๐ เลขานกุ ารประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ๑ ๔,๙๐๐ เลขานุการประธานวฒุ สิ ภา ๑ ๔,๙๐๐ เลขานุการรองประธานสภา เทา่ จานวนรองประธานสภา ๔,๙๐๐ ผแู้ ทนราษฎร ผู้แทนราษฎร เลขานุการรองประธานวฒุ สิ ภา เท่าจานวนรองประธานวฒุ ิสภา ๔,๙๐๐ เลขานกุ ารผู้นาฝา่ ยคา้ นในสภา ๑ ๔,๙๐๐ ผ้แู ทนราษฎร ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารประธานรัฐสภา ๑ ๓,๗๘๐ ผู้ชว่ ยเลขานกุ ารรองประธานรฐั สภา ๑ ๓,๗๘๐ ผูช้ ว่ ยเลขานุการประธานสภา ๑ ๓,๗๘๐ ผแู้ ทนราษฎร ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารประธานวุฒิสภา ๑ ๓,๗๘๐ ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานสภา เทา่ จานวนรองประธานสภา ๓,๗๘๐ ผแู้ ทนราษฎร ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานวุฒิสภา ผแู้ ทนราษฎร ๓,๗๘๐ ผชู้ ว่ ยเลขานุการผูน้ าฝา่ ยคา้ นในสภา เท่าจานวนรองประธานวุฒิสภา ๓,๗๘๐ ผแู้ ทนราษฎร ๑ - 30 -

- ๓๑ - หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ฝา่ ยรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ใชบ้ งั คับมาเปน็ เวลานาน และมีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับการบริหาร ราชการที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับได้มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ซึ่งเป็น กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารทรัพยากรบุคคลของราชการ ฝ่ายรัฐสภาสอดคล้องกับการบริหารราชการที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวโดยกาหนด ระบบตาแหน่งของข้าราชการรัฐสภาให้จาแนกตามกลุ่มลักษณะงานและให้มีบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจา ตาแหน่งของข้าราชการรัฐสภาเป็นการเฉพาะ กาหนดให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญหรือระดับทรงคุณวุฒิหรือตาแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโสหรือระดับทักษะพิเศษอาจรับ ราชการตอ่ ไปได้ และปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์และร้องทุกข์ของข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวมทั้ง เพ่ิมตาแหน่งข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองบางตาแหน่งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาให้สอดคล้องกับ ภารกิจของงานด้านนิติบัญญตั ิของรัฐสภา จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา้ ราชการรฐั สภา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘๗ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตนิ ้ีใหใ้ ช้บังคับตง้ั แตว่ ันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป มาตรา ๕ ในวาระเริ่มแรก ให้ปรับเงินเดือนของข้าราชการรัฐสภาสามัญท่ีได้รับอยู่เดิมเข้าสู่ อตั ราในบญั ชที ้ายพระราชบญั ญตั นิ ้ี ให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการและระดับ ชานาญการ และผู้ดารงตาแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงานและระดับชานาญงาน ได้รับเงินเดือนในอัตรา ท่ีสูงกว่าอัตราที่ได้รับอยู่เดิมตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้อีกร้อยละสี่ของเงินเดือนท่ีได้รับอยู่ ในกรณีท่ี การปรับเงินเดือนดังกลา่ วทาใหม้ เี ศษไม่ถงึ สบิ บาทใหป้ รับตัวเลขเงินเดือนดงั กลา่ วเพ่ิมข้นึ เปน็ สิบบาท มาตรา ๖ ให้ประธานรฐั สภารักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับอัตราเงินเดือน ของขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ให้เหมาะสม เป็นธรรม และไดม้ าตรฐาน โดยคานงึ ถึงค่าครองชีพท่ีเปลี่ยนแปลงไป ค่าตอบแทนในภาคเอกชน ฐานะการคลังของประเทศ ความแตกต่างระหว่างรายได้ของข้าราชการระดับต่าง ๆ ในประเภทเดียวกันและต่างประเภทกัน และปัจจัยอื่นที่จาเป็น สมควรปรับบัญชีเงินเดือนขั้นต่าขั้นสูงของ ข้าราชการรัฐสภาสามัญใหเ้ หมาะสมยงิ่ ข้นึ จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี ๗ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๔๓ ก/หนา้ ๔/๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - 31 -

- ๓๒ - พระราชบญั ญัตริ ะเบียบขา้ ราชการรัฐสภา (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒๘ มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ฉิ บับนี้ คอื โดยทีป่ จั จุบนั ปรากฏปัญหาความไม่สอดคล้อง กันระหว่างบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการดาเนินการทางวินัยของข้าราชการฝ่ายพลเรือนประเภทต่าง ๆ ส่งผลให้เกดิ ความไม่เป็นธรรม และไม่เสมอภาคในการดำเนนิ การทางวินัยแก่ข้าราชการซ่ึงออกจากราชการไปแล้ว นอกจากนี้ ยังมีปญั หาความแตกต่างระหว่างกฎหมายว่าด้วยการดาเนินการทางวินัยของข้าราชการฝ่ายพลเรือน กับกฎหมายขององค์กรตรวจสอบการทจุ ริต ซึ่งทาใหก้ ารดาเนินการทางวินัยเพ่ือพิจารณาลงโทษแก่ข้าราชการ ท่ีถูกองค์กรตรวจสอบการทุจริตช้ีมูลความผิดหลังออกจากราชการไปแล้ว ในบางกรณีไม่อาจดาเนินการ ตามฐานความผิดที่ช้ีมูลได้ ดังน้ัน สมควรให้การดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ซึ่งออกจากราชการเป็นมาตรฐาน เดียวกันและสอดคล้องกับกฎหมายขององค์กรตรวจสอบการทุจริต อันจะเป็นกลไกหน่ึงท่ีทาให้การป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ สัมฤทธผิ์ ลมากยิง่ ข้ึน จึงจาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้ ปรบั ปรุง พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๘ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖/ตอนท่ี ๔๓ ก/หน้า ๑๓/๕ เมษายน ๒๕๖๒ - 32 -

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หน้า ๑๓ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา กฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารจดั ประเภทตาํ แหน่งและระดับตําแหน่ง พ.ศ. ๒๕๕๔ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ (๓) มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ และมาตรา ๑๐๑ แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการรฐั สภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ก.ร. จงึ ออกกฎ ก.ร. ไวด้ งั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ กฎ ก.ร. นใี้ ห้ใชบ้ ังคบั ตั้งแตว่ นั ที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ข้อ ๒ ตําแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ ตําแหน่งท่ีมีอํานาจและหน้าท่ีในการบริหารงาน ในฐานะท่ีเป็นหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา รองหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ผู้ช่วยหัวหน้า สว่ นราชการสังกัดรฐั สภา หรอื ตําแหนง่ อน่ื ที่ ก.ร. กําหนดให้เปน็ ตาํ แหนง่ ประเภทบริหารตามหลักเกณฑ์ ในกฎ ก.ร. นี้ ข้อ ๓ ตาํ แหน่งประเภทบรหิ าร มี ๒ ระดบั ดงั ต่อไปน้ี (๑) ตาํ แหนง่ ประเภทบรหิ ารระดบั ตน้ ได้แก่ ตําแหน่งดังตอ่ ไปนี้ (ก) ผู้ช่วยหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ได้แก่ ผู้ช่วยเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และผชู้ ่วยเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา (ข) ตาํ แหน่งอน่ื ท่ี ก.ร. กําหนดเปน็ ตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดับตน้ (๒) ตาํ แหน่งประเภทบรหิ ารระดบั สูง ได้แก่ ตาํ แหน่งดังต่อไปน้ี (ก) หวั หนา้ สว่ นราชการสงั กัดรฐั สภา ไดแ้ ก่ เลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร และเลขาธิการ วฒุ สิ ภา (ข) รองหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ได้แก่ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และรองเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา (ค) ตาํ แหนง่ อ่นื ที่ ก.ร. กาํ หนดเป็นตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดับสูง ข้อ ๔ ตําแหน่งประเภทอาํ นวยการ ได้แก่ ตําแหน่งที่มีอํานาจและหน้าที่ในการบริหารงาน ในฐานะหัวหน้าส่วนราชการภายในระดับสํานักหรือผู้อํานวยการกลุ่มงาน หรือตําแหน่งอื่นท่ี ก.ร. กาํ หนดใหเ้ ปน็ ตําแหน่งประเภทอํานวยการตามหลกั เกณฑใ์ นกฎ ก.ร. น้ี ข้อ ๕ ตาํ แหน่งประเภทอาํ นวยการ มี ๒ ระดับ ดังต่อไปนี้ - 33 -

เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๕ ก หนา้ ๑๔ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) ตาํ แหน่งประเภทอาํ นวยการระดับต้น ได้แก่ (ก) ตําแหนง่ ผอู้ ํานวยการกลมุ่ งาน (ข) ตาํ แหนง่ อ่ืนที่ ก.ร. กาํ หนดเปน็ ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดบั ตน้ (๒) ตาํ แหน่งประเภทอํานวยการระดบั สูง ไดแ้ ก่ (ก) หัวหน้าสว่ นราชการภายในระดบั สาํ นกั (ข) ตําแหนง่ อน่ื ที่ ก.ร. กาํ หนดเป็นตาํ แหนง่ ประเภทอาํ นวยการระดับสงู ขอ้ ๖ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตําแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ในทาง วิชาการ ซึ่ง ก.ร. กําหนดว่าต้องใช้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเพ่ือปฏิบัติงานในหน้าท่ีของตําแหน่งน้ัน โดยมีการจําแนกตามลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเป็นหลัก หรือตําแหน่งอ่ืนท่ี ก.ร. กําหนดใหเ้ ป็นตําแหน่งประเภทวชิ าการตามกฎ ก.ร. นี้ ขอ้ ๗ ตาํ แหนง่ ประเภทวิชาการ มี ๕ ระดับ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ตําแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ความสามารถทางวชิ าการในการทํางาน ปฏบิ ตั ิงานภายใตก้ ารกํากับ แนะนาํ ตรวจสอบ (๒) ตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการระดับชํานาญการ ได้แก่ ตําแหนง่ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) ตาํ แหน่งสําหรบั ผปู้ ฏิบตั งิ านท่ีมีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชาํ นาญงานสูงในงานวิชาการ ปฏบิ ัติงานท่ตี ้องตดั สินใจหรือแก้ปัญหาท่ียาก (ข) ตําแหน่งสําหรับหัวหน้างาน ซึ่งต้องกํากับ แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ผูร้ ่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงานสูงในงานวิชาการ ปฏิบตั ิงานทตี่ ้องตดั สินใจหรือแกป้ ญั หาทยี่ าก (๓) ตาํ แหน่งประเภทวิชาการระดับชาํ นาญการพเิ ศษ ไดแ้ ก่ ตาํ แหน่งดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานท่ีมีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชาํ นาญงานสูงมากในงานวชิ าการ ปฏิบตั ิงานทตี่ ้องตัดสนิ ใจหรอื แก้ปญั หาท่ยี ากมาก (ข) ตําแหน่งสําหรับหัวหน้างาน ซ่ึงต้องกํากับ แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงานสูงมากในงาน วชิ าการ ปฏิบตั งิ านท่ีต้องตดั สินใจหรอื แก้ปัญหาทีย่ ากมาก (๔) ตําแหน่งประเภทวิชาการระดับเช่ียวชาญ ได้แก่ ตําแหน่งท่ีต้องดําเนินการศึกษา วิจัย ส่ังสมความรหู้ รอื ผลการศึกษาวิจัยในลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้มีการค้นคว้าอ้างอิงต่อไปได้ กํากับ แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงาน และสอน ฝึกอบรม หรือเผยแพร่ความรู้ในระดับส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ดงั ต่อไปนี้ (ก) ตําแหน่งสําหรบั ผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชยี่ วชาญในทางวิชาการ ปฏิบตั งิ านทต่ี ้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการ ที่ยากและซบั ซอ้ นมาก และมผี ลกระทบในวงกวา้ ง - 34 -

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หน้า ๑๕ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา (ข) ตําแหนง่ สําหรับผู้ปฏิบัติงานให้คําปรึกษาของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซ่ึงใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญในทางวชิ าการ ปฏิบัติงานทต่ี อ้ งตดั สินใจหรือแก้ปัญหา ในทางวิชาการทย่ี ากและซับซอ้ นมาก และมีผลกระทบในวงกวา้ ง (ค) ตําแหน่งสําหรับหัวหน้างาน ซึ่งต้องกํากับ แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในทางวิชาการ ปฏิบัติงานที่ตอ้ งตดั สนิ ใจหรือแกป้ ญั หาในทางวชิ าการทย่ี ากและซบั ซ้อนมาก และมผี ลกระทบในวงกวา้ ง (๕) ตาํ แหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ได้แก่ ตําแหน่งท่ีต้องดําเนินการศึกษา วิจัย สั่งสมความรู้หรือผลการศึกษาวิจัยในลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้มีการค้นคว้าอ้างอิงต่อไปได้ และสอน ฝกึ อบรม หรอื เผยแพรค่ วามรใู้ นระดับส่วนราชการสงั กดั รัฐสภา และระดับชาติ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ตาํ แหนง่ สําหรับผู้ปฏิบัติงานท่ีทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นท่ีประจักษ์ในความสามารถ เป็นท่ียอมรับในระดับชาติ ปฏิบัติงานท่ีต้องตัดสินใจ หรือแกป้ ัญหาในทางวชิ าการที่ยากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษ และมีผลกระทบในวงกว้างระดับนโยบาย สว่ นราชการสังกดั รัฐสภาหรอื ระดับชาติ (ข) ตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานให้คําปรึกษาของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซ่ึงมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถ เป็นท่ียอมรับในระดับชาติ ปฏิบตั ิงานท่ีตอ้ งตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการท่ียากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษ และมีผลกระทบ ในวงกวา้ งระดับนโยบายสว่ นราชการสังกัดรฐั สภาหรือระดบั ชาติ ข้อ ๘ ตําแหน่งประเภทท่ัวไป ได้แก่ ตําแหน่งซ่ึงมิใช่ตําแหน่งประเภทบริหาร ประเภท อาํ นวยการ และประเภทวชิ าการ แต่เป็นตําแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานซ่ึงเน้นการใช้ทักษะ ฝีมือในการ ปฏิบัติงาน โดยมีการจําแนกตามลักษณะหน้าท่ีความรับผิดชอบและคุณภาพของงานเป็นหลัก และใน กรณีที่เห็นสมควร ก.ร. จะกําหนดว่าตําแหน่งใดต้องใช้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเพ่ือปฏิบัติงาน ในหน้าท่ีของตําแหน่งน้ันด้วยก็ได้ หรือตําแหน่งอื่นที่ ก.ร. กําหนดให้เป็นตําแหน่งประเภทท่ัวไปตาม กฎ ก.ร. น้ี ข้อ ๙ ตําแหนง่ ประเภททั่วไป มี ๔ ระดบั ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ตําแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ได้แก่ ตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึง่ ปฏบิ ัติงานตามแนวทาง แบบอย่าง ข้ันตอน และวธิ กี ารทชี่ ดั เจน ภายใตก้ ารกํากับ แนะนาํ ตรวจสอบ (๒) ตําแหน่งประเภทท่ัวไประดบั ชาํ นาญงาน ได้แก่ ตําแหน่งดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ตาํ แหน่งสําหรบั ผู้ปฏบิ ัติงานทีม่ ปี ระสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชาํ นาญงาน ปฏิบัตงิ านทต่ี ้องตดั สนิ ใจหรอื แก้ปัญหาทค่ี อ่ นขา้ งยาก (ข) ตาํ แหน่งสาํ หรับหัวหนา้ งาน ซง่ึ ตอ้ งกาํ กับ แนะนาํ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วม ปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงาน ปฏิบัติงานท่ีต้องตัดสินใจ หรือแก้ปญั หาที่คอ่ นขา้ งยาก - 35 -

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หน้า ๑๖ ๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา (๓) ตาํ แหน่งประเภทท่ัวไประดับอาวุโส ไดแ้ ก่ ตําแหน่งดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ตําแหนง่ สาํ หรบั ผ้ปู ฏิบัติงานท่ีมีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงานค่อนข้างสูง ในงานเทคนิคเฉพาะด้าน หรืองานท่ีใช้ทักษะและความชํานาญเฉพาะตัว ปฏิบตั งิ านท่ตี อ้ งตัดสนิ ใจหรือแกป้ ญั หาในงานทคี่ ่อนข้างยากมาก (ข) ตําแหน่งสาํ หรับหัวหน้างาน ซึ่งต้องกํากบั แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วม ปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงานค่อนข้างสูง มีงาน ในความรับผดิ ชอบทีห่ ลากหลาย ปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งตดั สนิ ใจหรือแก้ปัญหาในงานท่ีคอ่ นขา้ งยากมาก (๔) ตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ได้แก่ ตําแหน่งสําหรับผู้ปฏิบัติงานท่ีมีทักษะ พเิ ศษเฉพาะตัว โดยมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในความสามารถ ในงานที่ใช้ทักษะและความชํานาญเฉพาะตัวสูงมาก ปฏิบัติงานที่ต้องคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ด้วยตนเอง และเปน็ ทีย่ อมรบั ในระดับชาติ ขอ้ ๑๐ ในกรณที ีม่ คี วามจําเปน็ หรือมีเหตผุ ลอนั สมควร ให้ ก.ร. มีอาํ นาจกาํ หนดให้ตาํ แหน่ง อื่นใดนอกจากทก่ี าํ หนดไว้แลว้ ในกฎ ก.ร. นี้ เป็นตําแหนง่ ประเภทใด ระดับใด ตามกฎ ก.ร. น้ี ก็ได้ ขอ้ ๑๑ การปฏิบัติงานใดที่จะเป็นการปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะหน้าท่ีความรับผิดชอบและ คุณภาพของงานสูง หรือต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญงานท่ียุ่งยาก ซบั ซอ้ น หรือต้องตัดสนิ ใจหรือแกป้ ญั หา หรอื มผี ลกระทบของงาน ในระดับใด ให้เป็นไปตามมาตรฐาน กาํ หนดตําแหน่ง ข้อ ๑๒ ขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ซ่ึงดาํ รงตาํ แหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะหรือวิชาชีพเฉพาะ ระดับ ๙ ระดับ ๑๐ หรือระดับ ๑๑ ตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ ฝา่ ยรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมอยู่แล้ว ในวันก่อนวันที่กฎ ก.ร. น้ีใช้บังคับ และได้รับ การจดั เขา้ ส่ตู ําแหนง่ ประเภทวิชาการระดบั เช่ียวชาญ หรือระดับทรงคุณวุฒิ ตามกฎ ก.ร. นี้ ให้ถือว่า ได้ปฏบิ ัตงิ านในหน้าท่ีตามกฎ ก.ร. น้ีแลว้ ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พลเอก ธีรเดช มเี พียร ประธานวฒุ ิสภาทําหนา้ ท่ีประธานรัฐสภา ประธาน ก.ร. - 36 -

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หนา้ ๑๗ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎ ก.ร. ฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ รัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๒๖ บัญญตั ใิ ห้ตําแหน่งขา้ ราชการรฐั สภาสามญั มี ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ตําแหน่ง ประเภทบริหาร ตําแหน่งประเภทอํานวยการ ตําแหน่งประเภทวิชาการ และตําแหน่งประเภททั่วไป และมาตรา ๒๗ กําหนดระดับตําแหน่งในแต่ละประเภทตําแหน่งดังกล่าวไว้ด้วย สําหรับการจัดประเภท ตาํ แหน่งและระดับตาํ แหนง่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑท์ ่ีกาํ หนดใน กฎ ก.ร. ดังน้ัน เพอื่ ใหม้ ีหลักเกณฑ์การจัด ตําแหนง่ และระดบั ตาํ แหนง่ ข้าราชการรฐั สภาสามัญในสว่ นราชการสังกัดรฐั สภา จึงจําเปน็ ต้องออกกฎ ก.ร. น้ี - 37 -

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หนา้ ๑๘ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔ ราชกจิ จานเุ บกษา กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยการใหข้ า้ ราชการรฐั สภาสามัญไดร้ บั เงนิ เดือน พ.ศ. ๒๕๕๔ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ (๓) และมาตรา ๓๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ก.ร. จึงออกกฎ ก.ร. ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ กฎ ก.ร. น้ีให้ใชบ้ งั คับตง้ั แต่วันท่ี ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๒ ข้าราชการรฐั สภาสามญั ซึง่ ได้รบั แตง่ ตัง้ ใหด้ ํารงตําแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้ได้รับเงินเดือนตามตําแหน่งประเภท สายงาน และระดับน้ันในขั้นต่ําของระดับเงินเดือนสําหรับ ตาํ แหน่งประเภท สายงาน และระดับ ที่ไดร้ บั แตง่ ตั้ง เว้นแต่กรณดี งั ต่อไปนี้ (๑) ผูน้ ั้นได้รบั ปรญิ ญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ซึ่ง ก.ร. รับรองว่าปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพนั้นเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งท่ีได้รับแต่งตั้ง และ ก.ร. กําหนดเงินเดือนท่ีควรได้รับ ในตําแหน่งประเภท สายงาน ระดับ และอัตราน้ันไว้แล้ว ให้ผู้นั้นได้รับเงินเดือนตามตําแหน่งประเภท สายงาน ระดบั และอัตราตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ร. กาํ หนด (๒) ผู้นั้นมีประสบการณ์ทํางานท่ีเกี่ยวข้องกับตําแหน่งที่ได้รับแต่งต้ัง และ ก.ร. กําหนด เงินเดือนที่ควรได้รับในตําแหน่งประเภท สายงาน ระดับ และอัตรานั้นไว้แล้ว ให้ได้รับเงินเดือน ตามตําแหนง่ ประเภท สายงาน ระดบั และอัตราตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่ี ก.ร. กาํ หนด (๓) ผู้นั้นได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเพ่ิมขึ้นหรือสูงขึ้น ซ่ึง ก.ร. รับรองว่า ปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ได้รับเพ่ิมข้ึนหรือสูงขึ้นน้ันเป็นคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่ง ท่ีไดร้ ับแตง่ ต้งั และกาํ หนดเงนิ เดือนทีค่ วรไดร้ ับในตําแหนง่ ประเภท สายงาน ระดับ และอัตราน้ันไว้แล้ว ผมู้ อี ํานาจสั่งบรรจุและแตง่ ตง้ั อาจปรบั ให้ได้รบั เงินเดอื นในตําแหน่งประเภท สายงาน ระดับ และอัตราท่ี ก.ร. กําหนดตาม (๑) ตามหลกั เกณฑด์ งั นี้ (ก) ผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าเพ่ิมขึ้น หรือสูงขึ้นจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าจะต้องดํารงตําแหน่งที่ได้รับแต่งต้ังโดยใช้วุฒิ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) หรอื เทยี บเท่ามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หนงึ่ ปี - 38 -

เลม่ ๑๒๘ ตอนที่ ๔๕ ก หน้า ๑๙ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา (ข) ผู้ไดร้ บั ปรญิ ญาโทเพ่มิ ข้นึ หรือสูงข้นึ จากปริญญาตรีจะต้องดํารงตําแหน่งท่ีได้รับแต่งตั้ง โดยใช้วฒุ ปิ ริญญาตรมี าแลว้ ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งปี (ค) ผไู้ ด้รับปรญิ ญาเอกเพ่มิ ข้นึ หรือสงู ขึ้นจากปริญญาโทจะตอ้ งดํารงตาํ แหน่งท่ไี ด้รับแต่งตั้ง โดยใช้วฒุ ปิ รญิ ญาโทมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่าสองปี (ง) ผู้ได้รับคุณวุฒิเพิ่มข้ึนและเป็นคุณวุฒิท่ี ก.ร. กําหนดให้เป็นคุณวุฒิท่ีใช้คัดเลือก เพือ่ บรรจุเข้ารบั ราชการ ปรบั ให้ไดร้ บั เงินเดอื นเพ่มิ ข้นึ ไม่กอ่ นวันท่ไี ด้รับคุณวุฒเิ พิ่มข้นึ (๔) ผู้น้ันได้รับแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่งประเภท ระดับ สายงานท่ี ก.ร. กําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราเงินเดือนท่ีจะได้รับหลังผ่านการทดลองปฏิบัติราชการไว้แล้ว ให้ได้รับเงินเดือน ตามหลักเกณฑ์ เง่อื นไข และอัตราที่ ก.ร. กาํ หนด (๕) ภายใต้บังคบั ขอ้ ๔ ผไู้ ดร้ ับแต่งต้งั ให้ดํารงตาํ แหนง่ ประเภทเดมิ หรือต่างประเภทในระดับใด ให้ไดร้ ับเงนิ เดอื นในอตั ราทีไ่ ดร้ ับอยเู่ ดมิ เว้นแต่ผนู้ ั้นไดร้ ับแตง่ ตั้งใหด้ ํารงตําแหน่งในระดับใดแต่เงินเดือนเดิม ต่ํากว่าข้นั ตาํ่ ของระดบั น้ัน ให้ได้รบั เงินเดือนในขน้ั ต่าํ ของระดับที่ไดร้ ับแต่งตั้ง (๖) ผู้ได้รับบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการระดับชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตําแหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี ก.ร. กําหนดตามมาตรา ๔๐ ให้ได้รับเงินเดือนไม่ตํ่ากว่าค่ากึ่งกลางของเงินเดือนข้ันตํ่า ขั้นสูงของระดบั ทไ่ี ด้รบั แต่งต้งั ในอตั ราท่ี ก.ร. กาํ หนด ขอ้ ๓ ขา้ ราชการรฐั สภาสามญั ผใู้ ดได้รับแตง่ ต้ังให้ดาํ รงตําแหนง่ ตามมาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ได้รับ เงินเดือนตามท่ีบญั ญตั ไิ วใ้ นมาตราน้นั ๆ ข้อ ๔ ในกรณที ีอ่ ัตราเงินเดอื นขัน้ ตา่ํ ชว่ั คราวยังมีผลใช้บังคับ ผู้ได้รับแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่ง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด ถ้าเงินเดือนที่ได้รับตํ่ากว่าข้ันต่ําของระดับที่ได้รับแต่งต้ัง ให้ได้รับ เงนิ เดือนในอัตราท่ีได้รบั อยูเ่ ดิมและไมต่ ํา่ กวา่ ขน้ั ตํา่ ชวั่ คราว ข้อ ๕ กรณอี น่ื นอกจากทไ่ี ดก้ าํ หนดไวใ้ นกฎ ก.ร. นี้ ใหเ้ สนอ ก.ร. พิจารณาอนุมตั เิ ปน็ ราย ๆ ไป ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พลเอก ธีรเดช มีเพียร ประธานวฒุ สิ ภาทาํ หน้าทีป่ ระธานรัฐสภา ประธาน ก.ร. - 39 -

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔๕ ก หนา้ ๒๐ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฎ ก.ร. ฉบับน้ี คือ โดยที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๒๖ กาํ หนดตําแหน่งข้าราชการรฐั สภาสามัญไว้ ๔ ประเภท ได้แก่ ตําแหน่งประเภท บริหาร ตําแหน่งประเภทอํานวยการ ตําแหน่งประเภทวิชาการ และตาํ แหน่งประเภทท่ัวไป และมาตรา ๒๗ กําหนดระดับตําแหนง่ ให้สอดคล้องกับประเภทตาํ แหน่งทั้ง ๔ ประเภทไว้ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ กําหนดให้ ขา้ ราชการรัฐสภาสามัญไดร้ บั เงนิ เดอื นตามตําแหน่งในแต่ละประเภทตามท่กี ําหนดไว้ในบัญชีเงินเดอื นข้ันตาํ่ ขน้ั สงู ของขา้ ราชการรัฐสภาสามญั ทา้ ยพระราชบญั ญัติดังกล่าว โดยผู้ดํารงตาํ แหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงนิ เดอื นเท่าใดตามบัญชีเงินเดือนขน้ั ต่ําขน้ั สงู ใหเ้ ป็นไปตามที่กาํ หนดในกฎ ก.ร. ดังนัน้ เพือ่ ให้การรบั เงินเดือนของข้าราชการรัฐสภาสามัญสอดคล้องกับการกําหนดตําแหน่งตามมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ และเพื่อกาํ หนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารใหข้ ้าราชการรฐั สภาสามัญได้รับเงินเดือน จึงจําเปน็ ต้องออกกฎ ก.ร. น้ี - 40 -

-๑- กฎ ก.ร. ว่าด้วยการให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับเงินประจาตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๕๔ ------------------------ อาศัยอานาจตามความใน มาตรา ๒ ๒ (๓ ) และมาตรา ๓ ๑ วรรคสามและวรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ ก.ร. จึงออกกฎ ก.ร. ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ กฎ ก.ร. น้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นไป 1 ข้อ ๒ ข้าราชการรัฐสภาสามัญอาจได้รับเงินประจาตาแหน่งตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่ึงได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในประเภท สายงาน และระดับ ตามท่กี าหนดในกฎ ก.ร. น้ี และปฏิบตั หิ น้าทหี่ ลักของตาแหนง่ ดงั กล่าวใหม้ สี ิทธไิ ดร้ บั เงนิ ประจาตาแหน่ง (๒) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซ่ึงมีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่งผู้ใด หากได้รับคาส่ังให้ไปปฏิบัติ หน้าที่อ่ืนและมิได้ปฏิบัติหน้าท่ีหลักของตาแหน่งที่ตนดารงอยู่ ไม่มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่งต้ังแต่วันท่ี ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่หลักของตาแหน่งท่ีตนดารงอยู่ เว้นแต่ในกรณีที่ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการหรือประเภท ทั่วไปและได้รับคาส่ังให้ไปปฏิบัติหน้าที่อ่ืนท่ีมีลักษณะเป็นงานวิชาชีพหรืองานเช่ียวชาญเฉพาะด้านเหมือน หนา้ ที่หลกั ของตาแหน่งที่ตนดารงอย่เู ดิม ใหไ้ ด้รบั เงินประจาตาแหนง่ ในอตั ราเดิมของตาแหนง่ ต่อไป (๓) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งที่ได้รับเงินประจาตาแหน่ง และปฏิบัติหน้าท่ีหลักของตาแหน่งนั้นไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งสาหรับเดือนนั้นตาม ส่วนจานวนวันท่ีได้ดารงตาแหน่งและปฏิบัติหน้าที่หลักของตาแหน่งดังกล่าว (๔) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่ง และได้ปฏิบัติหน้าที่หลักของตาแหน่งนั้นเกินหนึ่งตาแหน่ง ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งสาหรับตาแหน่งที่มีสิทธิ ได้รับเงินประจาตาแหน่งสูงสุดเพียงตาแหน่งเดียว (๕) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งดารงตาแหน่งที่ได้รับเงินประจาตาแหน่ง และได้รับคาสั่งให้ไป ปฏิบัติหน้าท่ีในตาแหน่งประเภทเดียวกันที่มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่ง และได้ปฏิบัติหน้าที่หลักในตาแหน่ง ท่ีตนไปปฏิบัติหน้าท่ี ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งตามอัตราเดิมของตนต่อไป 1 ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๕ ก หนา้ ๒๐ วันท่ี ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ - 41 -

-๒- ในกรณีที่ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งดารงตาแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่งได้รับคาสั่ง ให้ไปปฏิบัติหน้าที่ หรือรักษาราชการแทน หรือรักษาการในตาแหน่งที่มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่ง ต่างประเภทกัน ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตราของตาแหน่งเดิมต่อไปนับแต่วันที่เข้าปฏิบัติหน้าที่หลัก ในตาแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ หรือรักษาราชการแทน หรือรักษาการในตาแหน่ง แล้วแต่กรณี แต่ทั้งน้ีต้องไม่เกินหกเดือน (๖) ข้าราชการรัฐสภาสามัญซึ่งดารงตาแหน่งที่ได้รับเงินประจาตาแหน่ง และได้รับคาสั่ง ให้ไปปฏิบัติงานที่หน่วยงานอื่นในประเทศตามที่ ก.ร. กาหนด ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตรา ของตาแหน่งเดิมต่อไป ข้อ ๓ ให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ง ของข้าราชการรัฐสภาสามัญในอัตรา ดังต่อไปน้ี (๑) ตาแหนง่ ประเภทบรหิ ารระดบั ตน้ ใหไ้ ดร้ ับเงนิ ประจาตาแหนง่ ในอัตรา ๑๐,๐๐๐ บาท (๒) ตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ดังต่อไปน้ี ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตรา ๑๔,๕๐๐ บาท (ก) รองหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ได้แก่ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และ รองเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา (ข) ตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตามท่ี ก.ร. กาหนดให้ได้รับเงินประจาตาแหน่ง ในอตั ราเดยี วกันนี้ (๓) ตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ดังต่อไปนี้ ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตรา ๒๑,๐๐๐ บาท (ก) หัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ได้แก่ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และเลขาธิการ วฒุ สิ ภา (ข) ตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตามที่ ก.ร. กาหนดให้ได้รับเงินประจาตาแหน่ง ในอัตราเดียวกนั นี้ (๔) ตาแหนง่ ประเภทอานวยการระดบั ตน้ ให้ไดร้ ับเงนิ ประจาตาแหนง่ ในอตั รา ๕,๖๐๐ บาท (๕) ตาแหน่งประเภทอานวยการระดบั สูง ให้ได้รับเงินประจาตาแหนง่ ในอัตรา ๑๐,๐๐๐ บาท 2(๖) ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการ สายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ สายงานพยาบาล วิชาชีพ และสายงานเภสัชกรรม และดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการในแต่ละสายงานมาแล้ว ไม่น้อยกวา่ ๒ ปี ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตรา ๓,๕๐๐ บาท 3(๗) ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ สายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ สายงาน พยาบาลวิชาชีพ และสายงานเภสัชกรรม ใหไ้ ดร้ บั เงนิ ประจาตาแหน่งในอตั รา ๕,๖๐๐ บาท 2 แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎ ก.ร. ว่าด้วยการให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับเงินประจาตาแหน่ง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ - 42 -

-๓- (๘) ตาแหน่งประเภทวิชาการระดบั เชี่ยวชาญ ใหไ้ ด้รับเงนิ ประจาตาแหนง่ ในอัตรา ๙,๙๐๐ บาท (๙) ตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิตาแหน่งใด จะได้รับเงินประจาตาแหน่งในอัตรา ๑๓,๐๐๐ บาท หรืออัตรา ๑๕,๖๐๐ บาท ใหเ้ ปน็ ไปตามที่ ก.ร. กาหนด (๑๐) ตาแหน่งประเภทท่ัวไประดบั ทักษะพิเศษ ให้ได้รบั เงนิ ประจาตาแหน่งในอัตรา ๙,๙๐๐ บาท ขอ้ ๔ การกาหนดประเภทตาแหน่ง สายงาน ระดับ และจานวนตาแหน่งที่ได้รับเงินประจา ตาแหนง่ เพม่ิ ข้ึนจากทมี่ อี ยูแ่ ลว้ ในวันกอ่ นวนั ที่กฎ ก.ร. นีใ้ ชบ้ ังคับ ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก ก.ร. กอ่ น ขอ้ ๕ กรณีอน่ื นอกจากท่ไี ด้กาหนดไว้ในกฎ ก.ร. น้ี ให้เสนอ ก.ร. พจิ ารณาอนมุ ตั ิเปน็ ราย ๆ ไป ใหไว ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พลเอก ธรี เดช มเี พยี ร ประธานวฒุ ิสภาทาหน้าท่ีประธานรัฐสภา ประธาน ก.ร. 3 แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎ ก.ร. ว่าด้วยการให้ข้าราชการรัฐสภาสามัญได้รับเงินประจาตาแหน่ง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ - 43 -

-๔- กฎ ก.ร. ว่าด้วยการให้ข้าราชการรฐั สภาสามัญได้รบั เงนิ ประจาตาแหน่ง พ.ศ. ๒๕๕๔ หมายเหตุ ; โดยที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๓๑ วรรคสามและวรรคสี่ บัญญัติว่า ข้าราชการรัฐสภาสามัญอาจได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ง ของขา้ ราชการรฐั สภาสามัญท้ายพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขที่ ก.ร. กาหนด และผ้ดู ารง ตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได้รับเงินประจาตาแหน่งตามบัญชีอัตราเงินประจาตาแหน่ง ในอัตราใด ให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.ร. จงึ จาเป็นต้องออก กฎ ก.ร. น้ี กฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยการให้ข้าราชการรัฐสภาสามญั ไดร้ บั เงนิ ประจาตาแหน่ง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ หมายเหตุ ; โดยท่ี ก.ร. เห็นสมควรกาหนดให้สายงานพยาบาลวิชาชีพและสายงานเภสัชกรรม เป็นสายงาน ท่ีมีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการ และระดับชานาญการพิเศษ จึงจาเป็น ตอ้ งออกกฎ ก.ร. น้ี - 44 -

เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๖๔ ก หนา้ ๙ ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา กฎ ก.ร. ว่าดว้ ยโรค พ.ศ. ๒๕๕๔ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๒ (๓) และมาตรา ๓๗ ข. (๓) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บขา้ ราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัด สิทธแิ ละเสรภี าพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และ มาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บญั ญัตใิ หก้ ระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย ก.ร. จงึ ออกกฎ ก.ร. ไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ กฎ ก.ร. น้ีใหใ้ ช้บังคับตง้ั แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป ข้อ ๒ โรคตามมาตรา ๓๗ ข. (๓) (๑) วณั โรคในระยะแพร่กระจายเช้อื (๒) โรคเทา้ ช้างในระยะทป่ี รากฏอาการเป็นทรี่ ังเกยี จแกส่ ังคม (๓) โรคตดิ ยาเสพตดิ ให้โทษ (๔) โรคพิษสุราเร้อื รงั (๕) โรคติดตอ่ ร้ายแรงหรอื โรคเรอ้ื รังทีป่ รากฏอาการเด่นชัดหรือรุนแรงและเป็นอุปสรรคต่อการ ปฏิบัติงานในหนา้ ท่ตี ามที่ ก.ร. กาํ หนด ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พลเอก ธรี เดช มีเพียร รองประธานรฐั สภาทําหนา้ ท่ปี ระธานรัฐสภา ประธาน ก.ร. - 45 -

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๖๔ ก หนา้ ๑๐ ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎ ก.ร. ฉบับน้ี คอื โดยท่ีมาตรา ๓๗ ข. (๓) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ กําหนดให้ผู้ท่ีจะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญต้องมี คุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้าม คือ เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวกิ ลจริต หรือจิตฟั่นเฟอื นไมส่ มประกอบหรือเปน็ โรคตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.ร. จึงตอ้ งออก กฎ ก.ร. นี้ - 46 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook