80 สํานกั งานส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงึ ไม่มีการพฒั นาความรู้ พื้นฐานให้กบั นักศึกษาทหี่ ลากหลาย จากประเดน็ การพิจารณาข้อที่ 3 เกณฑ์การให้คะแนนอยู่ที่ 0.5 คะแนน ผลการ เปรยี บเทียบคา่ เปาู หมาย สถานศกึ ษามผี ลการดาํ เนนิ งาน ลกั ษณะเดมิ ๆ /ไม่แตกตา่ ง เกี่ยวกับการ พฒั นาความรู้พ้ืนฐานของผเู้ รียนตามคําอธิบายตัวบ่งช้ี 1.3 เมอื่ เทียบกับปงี บประมาณทผี่ ่านมา 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกับ นโยบายและจดุ เนน้ ของสานักงาน กศน./นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ/ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนากําลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศ ข้อ 2.2 พัฒนากําลังคนให้เป็น “Smart Digital Person (SDPs)” ท่ีมีทักษะด้านภาษา และ ทักษะดจิ ทิ ลั เพ่ือรองรบั การพฒั นาประเทศ 1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ด้าน Digital และความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์สําหรับการใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจาํ วัน รวมทัง้ การพฒั นา และการเขา้ ส่อู าชพี ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพฒั นา และเสรมิ สร้างศักยภาพคนใหม้ คี ณุ ภาพ ขอ้ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) สาํ หรบั ผ้เู รียนและประชาชนโดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์เพ่ือประยกุ ตใ์ ช้ใน ชีวิตประจาํ วันพัฒนาทักษะชีวิตส่กู ารประกอบอาชีพ ข้อ 3.7 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยการ พัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั การเรียนการสอนและกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน คุณภาพของสื่อ และนวตั กรรม รวมทง้ั มาตรฐานการวัดผลและประเมนิ ผลเพอื่ สร้างความเชื่อมั่นให้สังคมเกยี่ วกบั คุณภาพการจัดการศกึ ษาของสาํ นักงาน กศน. สอดคลอ้ งกบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ท2่ี การผลติ และพัฒนากาํ ลังคน การวจิ ัยและนวตั กรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ขอ้ 2.1 กําลังคนมที ักษะทีส่ าํ คัญ จาํ เป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 9) ประชากรวัยแรงงาน (15-59ป)ี มจี ํานวนปีการศึกษาเฉล่ียเพมิ่ ข้นึ (10)ร้อยละของประชากรวยั แรงงาน (15-49ป)ี ทม่ี ีการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าข้นึ ไปเพ่ิมข้นึ
81 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ข้อ 2.2 คนทุกชว่ งวัยมีทกั ษะความรูค้ วามสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐาน การศกึ ษาและมาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาคุณภาพชีวติ ได้ตามศกั ยภาพ 6) ประชากรวยั แรงงาน (5-49ป)ี มจี าํ นวนปีการศกึ ษาเฉล่ียเพ่มิ ข้นึ 7) ร้อยละของแรงงานทีข่ อเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์เพ่ือยกระดับ คุณวุฒกิ ารศึกษาเพ่ิมขึน้ ข้อ 2.3 สถานศึกษาทุกระดบั การศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม หลักสตู รอยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน 3) จาํ นวนสถานศกึ ษาในระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานท่ีจัดการศกึ ษาตาม หลกั สูตรทีม่ ุง่ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี21 เพิ่มข้ึน จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อท่ี 4 เกณฑ์การให้คะแนนอยู่ท่ี 1 คะแนน ผลการดาํ เนนิ งาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาํ เนนิ งานท่ีสอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสํานกั งาน กศน./นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษา/ยุทธศาสตร์และเปาู หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ไดช้ ัดเจน 5. สถานศกึ ษามผี ูเ้ รียนท่เี ป็นตัวอย่างท่ดี ีหรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช/้ ประยุกต์ใช้ในการ ดารงชวี ติ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอบางบาล ไดด้ ําเนนิ การติดตาม ผู้จบหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีพุทธศักราชการศึกษา 2551 รวมท้ัง 3 ระดบั ระดบั ประถมศึกษา,มัธยมศึกษาตอนต้น,ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สามารถพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ไดด้ ีขึ้น ได้ดงั นี้ ตารางกําหนดคา่ เปาู หมายการตดิ ตามผเู้ รียนทจ่ี บการศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2/2561 และ ภาคเรยี นที่ 1/2562 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5% จากคา่ เฉลีย่ ระดบั ชนั้ จาํ นวนผ้จู บการศึกษา คา่ เปาู หมายการติดตามผูจ้ บ 2/2561 1/2562 คา่ เฉล่ีย คดิ เป็นรอ้ ยละ 5% ประถมศกึ ษา 222 0.10 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 18 15 17 0.85 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 40 36 38 1.90 รวม 60 53 57 2.85 (แบบติดตามรอ้ ยละ 5% = ค่าเฉลี่ยx5 / 100)
82 จากตารางกําหนดคา่ เปาู หมายการตดิ ตามของผู้จบหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปพี ทุ ธศกั ราชการศึกษา 2551 ปีการศกึ ษาที่ 2/2561 และ ปีการศึกษาท่ี 1/2562 ไดค้ า่ เฉลยี่ ดงั นี้ ระดับประถมศกึ ษา = 2 คน และคิดเป็นร้อยละ 5 ของผจู้ บ = 0.10 คน, ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น = 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 5 ของผู้จบ = 0.85 คน, ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย = 38 คน และคิดเป็นร้อยละ 5 ของผูจ้ บ = 1.90 คน และไดผ้ ลรวมค่าเปาู หมายการ ตดิ ตามผู้จบทง้ั 3 ระดบั = 57 คน และคิดเป็นร้อยละ 5 ของผูจ้ บ = 2.85 คน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาล จึงได้ดาํ เนินการติดตาม จากผูจ้ บหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปพี ุทธศักราชการศึกษา 2551 ปี การศกึ ษาท่ี 2/2561 และ ปีการศึกษาที่ 1/2562 โดยกําหนดคา่ เปาู หายจาก จาํ นวนผู้จบ รอ้ ยละ 5 มาต้งั เป็นคา่ เปูาหมายในการติดตามผ้เู รียนสามารถนําความรู้พ้นื ฐานไปใชใ้ นการดาํ รงชวี ติ การทาํ งาน หรอื การประกอบอาชีพ ผลการติดตามได้ดังนี้ ตารางเปรียบเทยี บผ้จู บหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานปีพุทธศักราช 2551 สามารถนําความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจําวัน ผลการติดตามการนาความรู้ไปใช้ ค่า ผลจากการ เป้าหมาย เปรียบเทียบกบั ระดับการศึกษา การ ประกอบ รวม คา่ เปา้ หมาย ดํารงชีวติ อาชีพ ระดบั ประถมศึกษา 2 - 21 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 5 - 5 2 สูงกว่าคา่ เปูาหมาย ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 5 3 8 3 รวมท้ัง 3 ระดบั 12 3 15 5 (ค่าเปาู หมาย= ร้อยละ 5% ของการติดตามผจู้ บ เกนิ จดุ ทศนยิ มปัดขึ้น) ระดับประถมศึกษา - ผลการตดิ ตามการนาํ ความรไู้ ปใชศ้ ึกษาตอ่ จาํ นวน 2 คน) (1) นายไพรฑูรย์ แกน่ ภิรมย์ จบประถมศกึ ษาจาก กศน.ตําบลไทรนอ้ ย ศึกษาต่อใน ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตาํ บลไทรน้อย (2) นายอนุรักษ์ ทองหล่อ จบประถมศึกษาจาก กศน.ตาํ บลทางชา้ ง2 ศกึ ษาต่อในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นที่ กศน.ตําบลทางชา้ ง 2 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ผลการติดตามการนาํ ความรไู้ ปใช้ศึกษาต่อ จํานวน 5 คน (1) นายชยานนั ท์ วันแกว้ จบการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ จาก กศน.ตาํ บลไทรน้อย ศกึ ษา ตอ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ี กศน.ตําบลไทรน้อย (2) นางสาวดวงกมล พวงบรรจง จบการศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จาก กศน.ตําบลไทรน้อย ศึกษาตอ่ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายท่ี กศน.
83 ตาํ บลไทรน้อย (3) นางสาวณัฐธิดา ใจปราณี จบการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จาก กศน. ตําบลไทรน้อย ศึกษาต่อระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายท่ี กศน.ตําบลไทรนอ้ ย (4) นายณฐั วฒุ ิ ดอกแถม กลาง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จาก กศน.ตําบลบางบาล ศกึ ษาต่อระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายท่ี กศน.ตําบลบางบาล (5) นายทองสุก สขุ สารี จบการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จาก กศน.ตาํ บลสะพานไทย2 ศกึ ษาต่อระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายที่ กศน.ตาํ บลสะพานไทย2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผลการตดิ ตามการนําความรูไ้ ปใช้ในการประกอบ อาชพี จํานวน 3 คน และการนําความรูไ้ ปใช้ในการศึกษาต่อ จาํ นวน 5 คน รวมผลการตดิ ตามการ นําความรูไ้ ปใช้ในการดาํ รงชีวิต จาํ นวน 8 คน ดังน้ี ผลการตดิ ตามการนําความรู้ไปใช้ในการประกอบ อาชพี (1) นางยุทธวรรณ มีเปี่ยม นําวฒุ กิ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนปลายไปปรับฐานเงินเดอื นจาก วฒุ ิ ม.3 เปน็ ฐานเงินเดิน วุฒิ ม.6 บริษทั ศรีวัฒนาวดู ดง๊ิ (2)นายสมชาติ ซิบเข นาํ วุฒิการศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนปลายไปปรบั ฐานเงนิ เดอื นจาก วฒุ ิ ม.3 เปน็ ฐานเงินเดือน วุฒิ ม.6 นคิ ม อตุ สาหกรรมบางกะดี จงั หวดั นนทบรุ ี และ (3) นายอนิรุทร์ สังขย์ ม้ิ นําวฒุ กิ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ตอนปลาย สมัครเป็น Sale Mitsubishi Motor การนาํ ความรไู้ ปใช้ในการศึกษาต่อ จํานวน 5 คน (1) นายศุภสทิ ธ์ิ เฉลิมสาร นาํ วุฒิการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย ศึกษาต่อ วทิ ยาลยั เทคโนโลยี อยุธยา (2) นายรังสรรค์ สุขเจรญิ นาํ วุฒิการศกึ ษามัธยมศึกษาตอนปลาย ศึกษาตอ่ วิทยาลยั สารพดั ชา่ งพระนครศรอี ยุธยา (3) นางสาววนิดา พักหล่อง นาํ วฒุ ิการศึกษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย ศกึ ษาต่อ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีชัยนาท (4) นายสรุ พศ สันตติ รานนท์ นําวุฒิการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย ใช้ วุฒใิ นการฝึกทหาร และ (5) นางสาวปาณิสรา แดงโต นาํ วฒุ กิ ารศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ศึกษา ตอ่ วิทยาลยั เทคโนโลยฐี านเทคโนโลยี จากผลการติดตามผ้เู รยี นท่จี บหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปี พุทธศักราชการศึกษา 2551 ปกี ารศึกษาที่ 2562 ผู้เรยี นท่เี ป็นตัวอย่างท่ีดีในการนําความรไู้ ปใชใ้ น การดาํ รงชวี ติ ในการทาํ งานที่มกี ารพัฒนาทด่ี ขี ึน้ โดยการนําวฒุ ิการศึกษาที่ได้รับไปสมัครเขา้ งานใน ตําแหน่งท่ดี ีขึ้น จาํ นวน 2 คน ดังนี้ (1) นางยทุ ธวรรณ มเี ปี่ยม นําวุฒิการศึกษามัธยมศึกษาตอน ปลายไปปรบั ฐานเงนิ เดือนจาก วฒุ ิ ม.3 เป็นฐานเงนิ เดิน วฒุ ิ ม.6 บริษัทศรวี ัฒนาวูดดงิ๊ (2)นาย สมชาติ ซิบเข นําวุฒิการศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนปลายไปปรบั ฐานเงนิ เดอื นจาก วฒุ ิ ม.3 เปน็ ฐาน เงนิ เดือน วฒุ ิ ม.6 นิคมอุตสาหกรรมบางกะดี จงั หวัดนนทบุรี
84 ตวั บง่ ช้ี 1.3 1. ผลการเปรียบเทยี บค่าเปาู หมาย ผ้เู รยี นนําความรูพ้ ้ืนฐานตามคาํ อธบิ ายตัวบง่ ช้ี 1.3 สูงกว่าคา่ เปาู หมายทก่ี ําหนด แต่ไม่ครบทุกรายวชิ า เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนอยทู่ ี่ 0.5 คะแนน 2. ผลการเปรียบเทียบค่าเปูาหมาย ผเู้ รยี นนําความรูพ้ ้นื ฐานไปใชใ้ นการดํารงชีวติ การ ทํางานหรอื การประกอบอาชีพได้สูงกวา่ ค่าเปาู หมายที่กาํ หนด เกณฑก์ ารให้คะแนนอยู่ที่ 1 คะแนน 3. ผลการเปรียบเทยี บค่าเปาู หมาย สถานศึกษามีผลการดําเนินงาน ลักษณะเดิม ๆ /ไม่ แตกตา่ ง เกี่ยวกับการพัฒนาความรูพ้ ้ืนฐานของผู้เรยี นตามคําอธิบายตัวบ่งช้ี 1.3 เมอื่ เทียบกบั ปีงบประมาณทีผ่ า่ นมา เกณฑก์ ารให้คะแนนอยู่ที่ 0.5 คะแนน 4. ผลการดาํ เนนิ งาน สถานศกึ ษาอธบิ ายการดาํ เนนิ งานที่สอดคล้องกับ นโยบายและ จุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบาย จดุ เน้นของกระทรวงศึกษา/ยุทธศาสตรแ์ ละเปาู หมายของ แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ได้ชดั เจน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนอยู่ท่ี 1 คะแนน 5. ผลสถานศึกษามีผเู้ รียนทเี่ ปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี หรอื ตน้ แบบในการนําความรู้ไปใช/้ ประยกุ ตใ์ ช้ในการดาํ รงชีวติ เป็นไปตามค่าเปาู หมายทก่ี ําหนด เกณฑ์การให้คะแนนอยทู่ ่ี 0.5 คะแนน จากประเด็นการพจิ ารณาข้อท่ี 5 เกณฑ์การให้คะแนนอยู่ท่ี 0.5 คะแนน สถานศกึ ษา มผี เู้ รยี นทเี่ ป็นตัวอย่างที่ดี หรือตน้ แบบในการนําความรไู้ ปใช/้ ประยกุ ต์ใช้ในการดํารงชวี ิตเป็นไปตาม คา่ เปาู หมายที่กาํ หนด
85 ตัวบง่ ช้ี 1.4 ผูเ้ รยี นหรือผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบ อาชพี ผลการดาํ เนินงานของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีผลการประเมิน ตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 ตัวบ่งชี้ท่ี 1.4 ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตาม วตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร เปน็ ไปตามคา่ เปาู หมายที่กําหนด ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดบั คุณภาพดี 1.ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตรเปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายทกี่ าหนด สถานศกึ ษาได้ดาํ เนนิ การจัดการเรยี นการสอนหลกั สูตรการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชพี รูปแบบ ชนั้ เรียนวชิ าชพี จาํ นวน 40 ชวั่ โมงขน้ึ ไป วทิ ยากรใชร้ ูปแบบการสอนโดยการบรรยาย สาธิต และให้ ผูเ้ รียนได้ฝกึ ปฏิบัติจริง วทิ ยากรมกี ารประเมินความรู้ ความเขา้ ใจในเน้ือหาสาระ ทักษะการปฏบิ ัติ คุณภาพของผลงาน ความรว่ มมือความสนใจรวมถึงมีจติ อาสาของผูเ้ รยี น ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้จัดกิจกรรมโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบกลุ่มสนใจ จํานวน 6-30 ชั่วโมง รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ จํานวน 40 ชั่วโมง และ 1 อําเภอ 1 อาชีพ จํานวน 50 ชั่วโมง ในกลุ่มเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือบริการ ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและสอดคล้องกับ บริบทของพ้ืนที่ รวมท้ังมีการกํากับและติดตามและรายงานตามการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา อาชีพอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง โดยการนําข้อมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จํานวน 40 ชั่วโมง ขึ้นไป ปงี บประมาณ 2560 มาตัง้ เป็นคา่ เปาู หมาย ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรม/โครงการ ปงี บประมาณ 60 คา่ เฉลย่ี ค่าเปาู หมาย ศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 93.67 รอ้ ยละ จาํ นวนทจ่ี ดั นําความรไู้ ปใช้ 93 742 695 สถานศึกษาได้กาํ หนดค่าเปาู หมายไวด้ ังน้ี รายการ ปี 61 ปี 62 ปี 63 กาํ หนดค่าเปาู หมาย 93 94 95
86 ผลการดาํ เนินปีงบประมาณ 2562 ดงั นี้ กจิ กรรม/โครงการ ปีงบประมาณ 62 คา่ เฉลี่ย คา่ เปูาหมาย จํานวนทจ่ี ดั นาํ ความรไู้ ปใช้ ร้อยละ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน 701 697 99.42 94 ผลการดําเนินปงี บประมาณ 2562 มคี า่ เฉลย่ี 99.42 โดยมีค่าเปาู หมายท่กี าํ หนด ร้อยละ 94 จากประเดน็ การพิจารณาข้อที่ 1 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คอื ผเู้ รียนมี ความรู้ ความสามารถ ตามวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร เปน็ ไปตามคา่ เปูาหมายท่ีกําหนด 2. ผเู้ รียนนาความรู้มาใชใ้ นการลดรายจา่ ย หรือเพ่ิมรายได้ หรือประกอบอาชพี หรือพัฒนาตอ่ ยอดอาชีพหรือเพิ่มมลู คา่ ของสนิ คา้ และบริการ เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายทกี่ าหนด การกาํ หนดค่าเปูาหมายจากผลการดําเนินปงี บประมาณ 2560 โดยพจิ ารณาจากผเู้ รยี นนํา ความรมู้ าใชใ้ นการลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ ประกอบอาชพี พัฒนาต่อยอดอาชีพหรือเพิ่มมูลคา่ ของ สนิ ค้าและบริการ มดี ังนี้ ข้อมูลปี 60 กจิ กรรม/โครงการ จํานวน ลด รอ้ ยละ เพิม่ ร้อยละ ประกอบ รอ้ ยละ พัฒนา รอ้ ยละ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ท่ีจดั รายจ่าย รายได้ อาชพี ต่อยอด อาชีพ 695 630 90.65 20 2.88 22 3.17 23 3.31 จากผลการดําเนนิ งานดงั กล่าว จงึ กําหนดค่าเปูาหมายจากการพัฒนาต่อยอดอาชีพดังน้ี รายการ ปี 61 ปี 62 ปี 63 5% พฒั นาต่อยอดอาชพี 3 % 4 % ขอ้ มูลปี 62 กิจกรรม/โครงการ จํานวน ลด รอ้ ยละ เพ่มิ ร้อยละ ประกอบ ร้อยละ พฒั นาต่อ รอ้ ย ท่ีจดั รายจ่าย รายได้ อาชีพ ยอดอาชีพ ละ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน 697 635 91.10 20 5.73 13 1.86 29 4.16
87 ผลการดาํ เนินงานปี 2562 เทียบกับคา่ เปาู หมายทก่ี ําหนด มดี งั นี้ รายการ คา่ เปาู หมาย ปี62 ผลการดาํ เนินการ ปี62 สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน พฒั นาต่อยอดอาชีพ 4 4.16 สูงกวา่ ค่าเปาู หมาย สถานศึกษาได้กําหนดค่าเปูาหมาย การนาํ ไปใช้ของผเู้ รียนหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมมีผลการ ดาํ เนินการสงู กว่าคา่ เปูาหมายท่กี าํ หนดไว้ จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อท่ี 2 ตามเกณฑ์ ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คอื ผู้เรยี นนํา ความรู้มาใช้ดังน้ี ในการลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ ประกอบอาชีพ พฒั นาต่อยอดอาชพี หรือเพิ่มมลู คา่ ของสินค้าและบริการ เป็นไปตามค่าเปูาหมายท่ีกาํ หนด 3. สถานศกึ ษามีการประเมินผ้เู รียนและมกี ารตดิ ตามการนาความรไู้ ปใช้ตามคาอธบิ ายตวั บง่ ชี้ 1.4 ท่ีน่าเชอ่ื ถือ สถานศกึ ษาได้มีการติดตามผลของผู้เรยี นหลังจากจบหลักสูตรโดยการใช้แบบตดิ ตาม การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพรปู แบบชนั้ เรียนวิชาชีพ จํานวน 40 ชว่ั โมงขึน้ ไป จากทะเบียนผู้เรียน/ผู้จบ หลักสตู ร จากแบบนเิ ทศตดิ ตามโดยครูอาสาสมัครประจาํ ตําบลและคณะกรรมการนิเทศ แบบนเิ ทศ ติดตามความสนใจของผ้เู รียน การมสี ว่ นร่วมของผูเ้ รียน หลังจากผู้จบหลักสตู รได้มแี บบติดตามผูเ้ รยี น เรื่องการนาํ ไปใช้ ไดแ้ ก่ ลดรายจา่ ย เพ่มิ รายได้ การประกอบอาชพี และมีการพฒั นาอาชีพทส่ี อดคล้องกับความต้องการของตลาด และ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ จากประเดน็ การพิจารณาขอ้ ท่ี 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 0.5 คะแนน คือ สถานศึกษา มีหลกั ฐานรอ่ งรอยท่ีเป็นเหตุเป็นผล นา่ เช่ือถอื นาการประเมนิ การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นทุกคน และมีการ ติดตามผู้เรยี นไม่ครบทุกกล่มุ
88 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของ กศน./นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ความสอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ สานักงาน กศน.ปี 2562 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ข้อ 2.1 เรง่ รัดดาํ เนินการจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือยกระดับทักษะอาชีพของประชาชน สูฝ่ ีมือแรงงาน (1) จดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทําที่สอดคล้องกับศกั ยภาพของชมุ ชน และความต้องการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนาํ ไปประกอบอาชพี ไดจ้ รงิ โดยให้เน้นหลกั สูตร การศกึ ษาอาชีพชา่ งพน้ื ฐานโดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอนดา้ นอาชีพ เชน่ การ เรยี นผ่าน Youtube การเรียนผ่านFacebook Live ระบบการเรียนร้ใู นระบบเปิดสาํ หรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs)คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เปน็ ตน้ รวมถึงสนับสนนุ ให้เกิดระบบการผลติ ท่ีครบวงจร และเปดิ พ้ืนทส่ี ว่ น ราชการเป็นท่ีแสดงสนิ ค้าของชมุ ชนเพ่อื เปน็ การสร้างรายได้ใหก้ ับชุมชน ภารกิจต่อเน่ือง 1.ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.3 จดั การศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทาํ อย่างยั่งยืน โดยให้ความสาํ คญั กบั การจดั การศึกษาอาชพี เพอื่ การมงี านทาํ ในกลมุ่ อาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และ อาชพี เฉพาะทางหรือการบริการ รวมถงึ การเน้นอาชพี ช่างพื้นฐาน ทีส่ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของผูเ้ รียน ความต้องการและภารกจิ ต่อเนอ่ื ง10ศักยภาพของแตล่ ะพ้นื ท่ี ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับศนู ย์ ฝึกอาชีพชุมชน โดยจดั ใหม้ หี น่ึงอาชีพเด่นตอ่ หนงึ่ ศูนยฝ์ กึ อาชพี รวมท้ังให้มีการกํากับ ติดตาม และ รายงานผลการจดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทาํ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวัยและการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศกึ ษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตได้ตามศกั ยภาพ (8) จํานวนผู้สูงวัยที่ได้รับบริการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะ ชวี ิตเพิ่มขึน้ (9) จํานวนสาขาและวิชาชีพที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ทํางาน และถา่ ยทอดความรู้/ประสบการณเ์ พิ่มข้นึ
89 จากประเด็นการพิจารณาข้อท่ี 4 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศึกษามี การดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของ กศน./นโยบาย จุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปูาหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี 5. สถานศึกษามีผู้เรยี นท่เี ป็นตวั อย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้หรือไมอ่ ย่างไร สถานศึกษามีผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดีในด้านการพัฒนาต่อยอดอาชีพในปีงบประมาณ 2560 มาต้ังคา่ เปาู หมาย ปีงบประมาณ 2561 ดงั นี้ ข้อมูลปี 60 พฒั นา กจิ กรรม/โครงการ จานวน ลด ร้อยละ เพมิ่ รอ้ ยละ ประกอบ ร้อยละ ตอ่ รอ้ ยละ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ทีจ่ ัด รายจา่ ย รายได้ อาชีพ ยอด อาชพี 695 630 90.65 20 2.88 22 3.17 23 3.31 จากผลการดาํ เนินงานดงั กล่าว จงึ กําหนดค่าเปาู หมาย ปงี บประมาณ 2561-2563 ดังนี้ รายการ ปี 61 ปี 62 ปี 63 พฒั นาต่อยอดอาชพี 3 คน 4 คน 5 คน สถานศึกษามีผู้เรียนวิชาชีพระยะส้ัน จํานวน 40 ชั่วโมง หลักสูตรผลิตภัณฑ์จากหวายสร้าง รายได้สู่ชุมชน หลักสูตรตะกร้าแฟนซีจากหวาย หลักสูตรฝาชีจากหวาย หลักสูตรการสานตะกร้า หวาย ได้นําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการประกอบเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง มีผู้เรียนที่เป็น ตัวอย่างทดี่ ี จํานวน 4 คน คอื 1.นางชลี พุ่มระย้า ได้เรียนหลักสูตรตะกร้าแฟนซีจากหวาย โดยได้นําความรู้ที่ได้ไปเพ่ิม รายได้ให้กับครอบครัวและมีการบันทึกครัวเรือน ได้รับทําออร์เดอร์ตามท่ีลูกค้าส่ังและได้ทําส่งให้กับ วทิ ยากร 2.นางวรณัฐ ศริ ิโชติ ไดเ้ รียนหลักสูตรฝาชีจากหวาย โดยได้นําความรู้ที่ได้ไปเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัวและรบั ทําออร์เดอร์ตามท่ลี ูกค้าสัง่ 3.นางมณเฑียร ธิราพืช ได้เรียนหลักสูตรผลิตภัณฑ์จากหวายสร้างรายได้สู่ชุมชน โดยได้นํา ความรู้ท่ีได้ไปเพ่ิมรายได้ให้กบั ครอบครวั ได้รบั ทําออรเ์ ดอร์ตามทลี่ ูกค้าส่ัง
90 4.นางสุณี อรรถจรูญ ได้เรียนหลักสูตรการสานตะกร้าหวาย โดยได้นําความรู้ที่ได้ไปเพ่ิม รายได้ใหก้ บั ครอบครัว ไดร้ ับทําออรเ์ ดอร์ตามทลี่ กู ค้าสัง่ จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อท่ี 5 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 0.5 คะแนน คือ สถานศึกษา มีผู้เรียนทเ่ี ปน็ ตวั อยา่ งท่ีดี หรอื ตน้ แบบในการนาํ ความรู้ไปใช้
91 ตวั บ่งช้ี 1.5 ผู้เรียนหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการดาเนนิ งาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาล มผี ลการประเมิน ตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ าร ตวั บ่งชที้ ่ี 1.5 ผู้เข้ารับการ อบรมปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ได้คะแนน 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดมี าก ตามประเดน็ พจิ ารณา ดังน้ี การกาหนดค่าเป้าหมายแผนพัฒนาของสถานศกึ ษา 1. ตารางแสดงรายละเอียดกําหนดคา่ เปาู หมายผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ/กิจกรรม จํานวนผเู้ ขา้ ปงี บประมาณ 61 ร้อยละ รว่ มอบรม โครงการจดั การศึกษาตามหลัก ผู้เขา้ รบั การอบรมมี 91.43 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 560 ความรู้ความเข้าใจ 91 ค่าเปาู หมาย 512 2. ตารางเปรยี บเทียบคา่ เปาู หมาย กจิ กรรม ปี 61 ปี 62 ปี 63 91 93 โครงการจัดการศึกษาตามหลัก 89 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ตารางแสดงรายละเอยี ดกําหนดค่าเปาู หมาย : ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปงี บประมาณ 62 โครงการ/กจิ กรรม จํานวนผู้เขา้ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมมี ร้อยละ รว่ มอบรม ความรคู้ วามเข้าใจ โครงการจดั การศกึ ษาตามหลัก 413 383 92.74 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คา่ เปูาหมาย 93
92 4. ตารางเปรียบเทียบคา่ เปาู หมาย กจิ กรรม คา่ เป้าหมาย ผลการ การเปรียบเทียบคา่ เป้าหมาย ดาเนินงาน สงู กวา่ คา่ เปาู หมาย โครงการจดั การศกึ ษาตามหลัก 92 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 93 2562 5. ตารางแสดงรายละเอยี ดกําหนดค่าเปูาหมาย ผเู้ รียนทเ่ี ป็นตัวอยา่ งที่ดีหรือเปน็ ตน้ แบบใน ด้านนําความรคู้ วามเข้าใจ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ปงี บประมาณ 61 ปงี บประมาณ 61 การนาความรูไ้ ปใช้ จานวนผูเ้ ขา้ ร่วมอบรม จานวนผเู้ ขา้ ร่วมอบรม 335 560 การนาความรู้ไปใช้ ร้อยละ การนาความรู้ไปใช้ ร้อยละ (จานวนคน) (จานวนคน) ลดรายจา่ ย 360 66.05 215 56.14 เพม่ิ รายได้ 120 22.01 99 25.85 พฒั นาคณุ ภาพชีวติ 45 8.27 46 12.01 นําไปประกอบอาชีพ 20 3.67 23 6.00 รวม 545 100 383 100 การกาหนดค่าเปา้ หมายแผนพัฒนา การนําไปใช้ ปี 61 ปี 62 ปี 63 พัฒนาคุณภาพชวี ติ 42 44 48
93 1. ผูเ้ รียนหรือผ้เู ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายที่กาหนด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้จัดทําโครงการอบรม การจัดการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้กับประชาชนทงั้ 16 ตําบล ประจาํ ปี งบประมาณ 2562 พบว่าประชาชนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากวทิ ยากร ปราชญ์ชาวบ้าน แหล่งเรยี นร้ทู ี่มีอยู่ ในชมุ ชน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ดา้ น ต่าง ๆ จาก วิถีชีวิตและความเปน็ อยขู่ องตนเอง และชุมชน โดยใช้แบบตดิ ตามผูร้ บั การฝกึ อบรม พรอ้ มทัง้ ตดิ ตามผลโดยลงพน้ื ทกี่ ารทาํ เกษตรธรรมชาติของผูท้ ี่ได้รบั การอบรม จากประเด็นการพิจารณาข้อท่ี 1 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน ผู้เข้ารับการอบรม มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ ไปตามคา่ เปูาหมายที่กาํ หนด 2. ผ้เู รียนหรือผเู้ ข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามคาอธบิ าย ตัวบ่งช้ี 1.5 เป็นไปตามคา่ เปา้ หมายที่กาหนด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาลมีผูเ้ ขา้ รบั การอบรมนํา ความรู้ไปใช้ในการปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สามารถนําไปปฏบิ ตั ิหรอื ประยกุ ต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมตามคา่ เปาู หมายท่ีกาํ หนดไว้ร้อยละ 92 ของผเู้ ข้ารับการอบรมทง้ั หมด สามารถนําความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจําวนั โดยการทําการเกษตรปลอดสารพษิ โดยเนน้ เกษตรธรรมชาติ เพือ่ สร้างคณุ ภาพชีวิตท่ีดีขึน้ ลดรายจา่ ยในครอบครัว และสามารถเผยแพร่ความรู้ท่ีได้รบั ประเมนิ ผล โดยใช้แบบตดิ ตามผรู้ บั การอบรมพรอ้ มท้ังติดตามผลโดยลงพ้นื ที่การทําเกษตรธรรมชาติของผูท้ ่ีไดร้ ับ การอบรม จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 2 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน ผู้เรียนหรือผู้เข้า รบั การอบรม ปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ไปตามคา่ เปูาหมายทก่ี าํ หนด 3. สถานศกึ ษามกี ารประเมินผ้เู รยี นหรือผู้เขา้ รบั การอบรมและมีการตดิ ตามการนาความร้ไู ปใช้ ตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.5 ที่น่าเชอื่ ถือชดั เจน สถานศึกษามีการประเมนิ การเรียนรขู้ องผ้เู ข้ารับการอบรมทกุ คน และมกี ารตดิ ตามผู้เรยี นท่ี รับการอบรม ทุกกลุ่มในการนําความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ อาทิเช่น ด้านลดรายจ่าย เพ่ิม รายได้ พัฒนาคุณภาพชีวติ และนําไปประกอบอาชพี จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน สถานศึกษามี ร่องรอยท่ีเป็นเหตุเป็นผลน่าเชื่อถือในการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผเู้ รยี นทกุ กลุ่ม
94 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน./นโยบาย จุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความม่นั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและ สร้างความตระหนักถึงความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความ ภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนําและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดํารติ า่ งๆ ภารกิจตอ่ เนื่อง ขอ้ 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.3 การจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงและมีการ บรหิ ารจัดการความเส่ยี งอยา่ งเหมาะสมตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและยง่ั ยนื สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 จดุ เนน้ ด้านการเสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ ประชาชนทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางหลัก 5.1 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ที่ เก่ยี วขอ้ งกับการสรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจความตระหนักในการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศและ สภาพแวดล้อม โครงการขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศกึ ษา 5.2 ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างจิตสํานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อมมีคุณธรรม จริยธรรมและนํา แนวความคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ใิ นการดําเนินชีวติ 2. การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสร้างจติ สาํ นกึ สง่ิ แวดลอ้ มรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม โครงการปลูกจติ สาํ นกึ /นสิ ัยอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ข้อ 2.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสํานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรมและนําแนวคิดตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 2) รอ้ ยละของผูเ้ รยี นทกุ ระดับการศกึ ษามพี ฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความตระหนักใน ความสําคัญของการดาํ รงชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อมความมีคุณธรรมจริยธรรม และการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาํ เนินชีวิตเพ่ิมขึ้น
95 ข้อ 2.3 ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการน้อมนําแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติเพม่ิ ขึน้ ข้อ 2.2 หลักสูตรแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สิง่ แวดลอ้ ม คุณธรรมจริยธรรม แลการนาํ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ 2) จาํ นวนสถานศกึ ษา/สถาบันการศึกษาท่จี ดั การเรียนการสอนและกจิ กรรม เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และการนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ เพ่มิ ขนึ้ จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 4 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนนสถานศึกษา สามารถอธิบายการดําเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร/ยุทศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี 5. สถานศกึ ษามีผ้เู รียนหรือผ้เู ขา้ รบั การอบรมทีเ่ ป็นตวั อยา่ งทดี่ ี หรือตน้ แบบตามคาอธบิ ายตวั บ่งช้ี 1.5 สถานศกึ ษามีการส่งเสรมิ สนบั สนุน ใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมนําความรูท้ ่ีไดร้ ับไปปฏิบัติใน ชวี ิตประจาํ วันจนสามารถเป็นวทิ ยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อ่ืนและเป็นแบบอยา่ งให้กับประชาชน ในพ้ืนท่ีได้ ตามเปูาหมายที่กาํ หนดไว้ คือจํานวน 5 คือ 1. นายสิทธิศักดิ์ นวมอ่นุ เปน็ วิทยากรการทาํ เกษตรธรรมชาติ การทําปยุ๋ หมักท่ีใชใ้ นงาน เกษตร และเผยแพร่วธิ กี ารทําเกษตรธรรมชาติให้กับประชาชน 2. นางประทุม อากาศวภิ าต การปลูกผกั สวนครัว การทาํ การเกษตรแบบปลอดสารพิษโดย เนน้ เกษตรธรรมชาติ เพ่ือคุณภาพชีวิตทด่ี ีขึน้ และสามารถเผยแพร่ความรูท้ ่ีได้รับประชาสมั พันธบ์ อก กลา่ วใหก้ บั ประชาชนได้ เช่น การปลูกขา้ วโพด ปลกู ผัก ปลูกดอกไม้ ปลกู ไม้ผล โดยใชน้ ้ําหมกั ไล่ แมลง 3. นางนาตยา ตน้ ทอง จัดทําบัญชีครวั เรือนเปน็ ประจําทกุ วนั ไม่ตาํ่ กว่า 3 เดือน และ ปลูกผกั สวนครวั โดยยึดหลักการทาํ เกษตรธรรมชาติ สามารถนําไปเพมิ่ รายไดแ้ ละลดรายจา่ ยของ ครอบครัว 4. นายบรรเจษฎ์ รําพึงจิต เป็นวิทยากรสารไล่แมลง จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การเลี้ยงกบ ไก่ ชนั โรง เชือ้ ราบิวเวอรเ์ รยี 5. นางทองแท้ อังหากาบ ได้ปลูกพืชผักขายและเป็นวิทยากรให้ความรู้ เรื่อง การทํานํ้า หมกั ชีวภาพ และปุ๋ยดิน จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 5 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน สถานศึกษามี ผ้เู รยี นหรอื ผูเ้ ข้ารับการอบรมท่ีเป็นตัวอยา่ งทดี่ ีหรอื ต้นแบบในการนําความรู้ไปใช้สูงกว่าค่าเปูาหมายที่ กาํ หนด
96 ตวั บ่งชที้ ี่ 1.6 ผเู้ รียนหรอื ผ้เู ขา้ รับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม ผลการดาเนนิ งาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ตัว บง่ ชี้ 1.6 สรปุ ผลคะแนน 4.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก ด้วยการ ดาํ เนินงานของสถานศึกษา ตามประเดน็ การพจิ ารณา ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นไป ตามคา่ เปา้ หมายทีก่ าหนด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้มอบหมายให้ครู อาสาสมัคร ครู กศน.ตําบล และ ครู ศรช. ดําเนินการจัดโครงการอบรมวิทยากรแกนนํา ครู ค หลักสูตร Digital Literacy และ หลักสูตรการเปิดร้านค้าออนไลน์ E-Commerce ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ในรูปแบบการฝึกอบรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้กับประชาชนกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนท่ี บริการ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะดิจิทัล มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี โดยนาํ ผลการดาํ เนนิ งานปงี บประมาณ 2561 มาต้งั เปน็ คา่ เปูาหมาย ดังน้ี ปงี บประมาณ 2561 หลกั สูตร ผู้เรยี น จานวนนาไปใช้ คา่ เฉลยี่ พฒั นาความรู้ 43.54 ทงั้ หมด 118 41.08 1. โครงการอบรมหลกั สูตรการเขา้ ใจ 271 106 42.34 Digital Literacy เพอื่ การพัฒนาเครือขา่ ย 224 เศรษฐกิจดจิ ทิ ลั สชู่ มุ ชนในระดับตําบล ปีงบประมาณ 2561 2.โครงการชมุ ชนเปดิ รา้ นคา้ ออนไลน์ 258 E-Commerce เพ่ือการพัฒนาเครือข่าย เศรษฐกิจดิจิทัล สู่ชุมชนในระดับตําบล ปีงบประมาณ 2561 สรปุ 529
97 สถานศกึ ษาไดก้ าหนดค่าเปา้ หมายไว้ ดงั นี้ รายการ ปี 61 ปี 62 ปี 63 กําหนดค่าเปูาหมาย/รอ้ ยละ 41 42 43 ผลการดําเนินงาน ของผเู้ รยี นหรอื ผ้เู ข้ารับการอบรมได้ใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม ในปงี บประมาณ 2562 สถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล ได้ มอบหมายให้ครูอาสาสมัคร ครูกศน.ตําบล และครู ศรช. สํารวจความตอ้ งการเรยี นรู้ตามโครงการ พัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทลั สู่ชุมชนของประชาชนในพ้ืนทบ่ี รกิ ารแต่ละตาํ บล ตามบรบิ ทพ้นื ท่ีและ ศกั ยภาพของประชาชนกลุ่มเปาู หมายโดยวิธกี าร สอบถาม สัมภาษณ์ จากนั้นจัดทาํ แผนการจดั กิจกรรมตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรรซ่งึ ออกแบบการจัดการเรยี นเป็น 2 รปู แบบ ได้แกก่ ารฝึกอบรม ใหค้ วามรู้ และการฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารดาํ เนินการประสานงาน ทําสอ่ื จดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ์และ จดั ทาํ โครงการ มุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิ และลงมอื ทาํ จรงิ เช่น การสร้างเพจขายของ การสืบคน้ ขอ้ มลู เพ่อื พฒั นาอาชพี ของตนเอง การสบื คน้ ข้อมูลเพ่ือหาชอ่ งทางการจําหนา่ ยสินคา้ เป็นต้น โดย วิทยากรใหค้ วามรู้ผา่ นการอบรมโครงการอบรมวทิ ยากรแกนนํา ครู ค หลกั สูตร Digital Literacy และ หลกั สตู รการเปดิ รา้ นคา้ ออนไลน์ E-Commerce เม่อื เสร็จกจิ กรรมมีการประเมินผลงานของผู้ เข้ารบั การอบรมและให้ข้อเสนอแนะปรบั ปรงุ แกไ้ ข รวมท้ังมีการประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รับ การอบรม จดั ทําทะเบยี นผ้เู ข้ารบั การอบรม สรุปผลทาํ รายงานผู้จบหลักสตู รเสนอต่อผบู้ ริหารทราบ เพ่ือใช้เปน็ ขอ้ มูลในการพัฒนาปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมในคร้ังตอ่ ไป หลงั จากจบหลกั สูตรอยา่ งนอ้ ย 1 เดอื น ครูอาสาสมคั ร ครูกศน.ตาํ บล และครูศรช. ทจี่ ัดกิจกรรมทาํ การติดตามผเู้ รียนวา่ มีการนําความรู้ ไปใชใ้ นการแก้ปัญหาและพัฒนาการดํารงชวี ิตหรอื การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมหรอื ไม่ รวมทง้ั ตดิ ตามผเู้ รียนที่นาํ ความรู้ไปใชจ้ นประสบความสาํ เร็จและทําการคัดเลือกตวั อยา่ งที่ดีใหก้ บั ผู้อน่ื เสนอต่อผ้บู ริหารทราบ ผลการดาเนินงานปีงบประมาณ 2562 ปงี บประมาณ 2562 หลักสูตร ผู้เรียน จานวนนาไปใช้ ค่าเฉลี่ย ท้ังหมด พัฒนาความรู้ 43.65 1. โครงการอบรมหลักสูตรการ เข้าใจ Digital Literacy เพื่อการ พัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดจิ ิทลั 252 110 สชู่ มุ ชนในระดับตําบล ปงี บประมาณ 2562
98 ปีงบประมาณ 2562 หลกั สูตร ผเู้ รยี น จานวนนาไปใช้ ค่าเฉลย่ี ทั้งหมด พัฒนาความรู้ 46.87 45.26 2.โครงการชุมชนเปิดร้านค้า ออนไลน์ E-Commerce เพื่อ การพฒั นาเครือขา่ ยเศรษฐกจิ 32 15 ดิจิทัล สู่ชุมชนในระดับตําบล ปงี บประมาณ 2562 สรปุ 284 225 จากผลการดาเนนิ งานปงี บประมาณ 2562 เทยี บกับคา่ เปา้ หมายทก่ี าหนดได้ ดงั น้ี กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย ผลการ สรปุ ผลการ ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน ผู้ เ รี ย น ห รื อ ผู้ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่าง 42 45.26 สูงกวา่ ค่าเปาู หมาย เหมาะสม จากประเดน็ การพจิ ารณาขอ้ 1 ตามเกณฑ์ใหค้ ะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ ผู้เรียนหรือผู้เข้า รับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นไปตามเปูาหมายท่ี กาํ หนด 2. ผเู้ รยี นผเู้ ข้ารบั การอบรม สามารถนาความร้ไู ปใชใ้ นการแก้ปัญหาและพัฒนาการ ดารงชีวติ หรือการประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม ตามคาอธบิ ายตวั บ่งช้ี 1.6 เป็นไปตามคา่ เปา้ หมายท่กี าหนด ผลการดําเนินงานปีงบประมาณ 2561 มีผู้เรียนท่ีนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและ พัฒนาการดํารงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมีการติดตามการนําความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับการอบรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้ กาํ หนดคา่ เปาู หมาย ในปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ไวด้ งั น้ี คือ
99 ข้อมูลผ้เู ข้ารบั การอบรมปีงบประมาณ 2561 จานวนผเู้ รยี น จานวนผู้เรยี นที่ การประกอบอาชีพ ผลการจดั กิจกรรมเปน็ รอ้ ยละ ทั้งหมด นาไปใชใ้ น 3.02 ชีวติ ประจาวนั 529 208 16 สถานศึกษาไดก้ าํ หนดคา่ เปาู หมายไว้ ดงั นี้ รายการ ปี 61 ปี 62 ปี 63 ประกอบอาชีพ/รอ้ ยละ 345 ผลการดําเนนิ งานปีงบประมาณ 2562 มผี เู้ รียนหรอื ผู้ท่ีเขา้ รับการอบรมนําความรไู้ ปใช้ในการ ประกอบอาชพี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดงั นี้ ขอ้ มูลผู้เข้ารับการอบรมปีงบประมาณ 2562 จานวนผเู้ รียน จานวนผ้เู รียนท่ี การประกอบอาชีพ ผลการจัดกิจกรรมเป็นร้อยละ ท้ังหมด นาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน 284 225 12 4.26 จากผลการดาํ เนินงานปีงบประมาณ 2562 เทยี บกบั คา่ เปูาหมายท่ีกําหนดได้ ดังน้ี กิจกรรม ค่าเปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน สรุปผลการ ดาเนนิ งาน ประกอบอาชีพ/รอ้ ยละ 4 4.26 สูงกว่าค่าเปูาหมาย จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 2 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ ผู้เรียนหรือผู้ เข้ารับการอบรมสามารถนําความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดํารงชีวิตหรือการประกอบ อาชีพได้อยา่ งเหมาะสมเปน็ ไปตามค่าเปาู หมายทกี่ าํ หนด 3. สถานศกึ ษามีการประเมนิ ผ้เู รียนหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมและมีการติดตามนาความรู้ไป ใช้ตามคาอธบิ ายตัวบง่ ชี้ 1.6 ทนี่ ่าเช่อื ถือชัดเจน สถานศึกษามีหลกั ฐานร่องรอยทเ่ี ปน็ เหตุผลน่าเชอ่ื ถือในการประเมินการเรียนร้ขู องผเู้ รียนทกุ คนโดยมีการติดตามผูเ้ รียนทุกกล่มุ เปาู หมาย จากแบบติดตามผู้จบการศึกษาต่อเนื่องโดยติดตามหลงั จบการจัดกิจกรรมอบรมประมาณ 1 เดอื น และมีการรายงานให้ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาทราบ หลังจาก น้นั ครู กศน. ตาํ บล รวบรวมเอกสารเพอ่ื จัดทําสรุปรายงานผลการจดั กิจกรรม โดยประกอบดว้ ย
100 แบบรายงานผลพร้อมรูปภาพการจัดกิจกรรม แบบทดสอบกอ่ นและหลงั การอบรม แบบประเมิน ความพงึ พอใจ แบบตดิ ตามผู้จบการศึกษาต่อเน่อื ง และชนิ้ งานของผู้เข้ารบั การอบรมทนี่ ํามาใชใ้ นการ ประกอบอาชีพและดาํ เนินชวี ติ ประจําวนั อยา่ งต่อเน่ือง จากประเด็นการพจิ ารณาข้อที่ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 0.5 คะแนน คือ สถานศึกษา มหี ลกั ฐานรอ่ งรอยทเ่ี ปน็ เหตุผลน่าเชอ่ื ถือในการประเมนิ การเรียนรู้ของผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผ้เู รยี นไม่ครบทุกกลมุ่ 4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน./ นโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ความสอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นากําลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ข้อ 2.1 ขบั เคล่อื น กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ที่ เสริมสร้างศกั ยภาพของประชาชนใหส้ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาประเทศ 2) พฒั นาความรแู้ ละทกั ษะ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล การใช้ Social Media และ Application ตา่ งๆ ข้อ 2.2 พฒั นากาํ ลงั คนใหเ้ ป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ทีม่ ที ักษะดา้ น ภาษาและทักษะดจิ ิทลั เพื่อรองรบั การพฒั นาประเทศ 1) ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรดู้ ้าน Digital เพือ่ ใหป้ ระชาชน มคี วามรู้พ้นื ฐาน ด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายวา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ สาํ หรบั การใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั รวมทง้ั การพฒั นาและการเข้าสอู่ าชพี เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน การสอน ของครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) สร้างความรคู้ วามเข้าใจและทักษะพน้ื ฐานให้กบั ประชาชน เกีย่ วกบั การ ทางธุรกจิ และการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์) เพอื่ รว่ มขับเคล่อื นเศรษฐกิจดิจทิ ลั ภารกิจต่อเนื่อง ขอ้ ที่ 1 ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตําบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ ความรู้ และจัดกจิ กรรมเพ่อื เผยแพรอ่ งค์ความรู้ในชมุ ชนได้อยา่ งท่วั ถึง สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2562 3. จุดเน้นดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลกั 3.4 การส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ สื่อ ตําราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้ มคี ุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนร้ไู ด้โดยไมจ่ าํ กัดเวลาและสถานท่ี
101 4. จดุ เน้นดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมกันทางสงั คม แนวทางหลัก 4.3 สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการศกึ ษาและสําหรับคนทุกช่วงวัย สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา ข้อ 2.2 การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อการศึกษาสาํ หรับคนทุกชว่ งวยั 1) มีระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการศึกษาทีท่ นั สมยั สนองตอบความต้องการ ของผ้เู รยี นและผูใ้ ชบ้ ริการอยา่ งทว่ั ถึงและมีประสทิ ธิภาพ 6) รอ้ ยละของผ้ใู ชอ้ ินเตอร์เนต็ เพ่ือการคน้ คว้าหาความรู้เพมิ่ เติม 7) มสี ่ือดิจิทัลเพอ่ื พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการส่งเสริมการมอี าชีพเพ่ิมข้ึน จากประเด็นการพิจารณาข้อท่ี 4 ตามเกณฑ์การให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศึกษาอธิบายการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ได้อย่าง ชดั เจน 5. สถานศึกษามีผู้เรียนหรอื ผูเ้ ข้ารบั การอบรมท่ีเป็นตวั อยา่ งท่ีดี หรือตน้ แบบตามคาอธิบายตัวบง่ ชี้ 1.6 สถานศึกษามีผเู้ รียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในการนําความรู้ไปใช้สูงกว่าค่า เปูาหมายทกี่ าํ หนด ดงั ตารางรายละเอยี ดดังน้ี การกาํ หนดคณุ ลักษณะตวั อยา่ งทด่ี ี กิจกรรม ปี 61 ปี 62 ปี 63 ผล ตารางเปรียบเทยี บ ตัวอย่างที่ดีหรือ 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน สูงกวา่ เปาู หมาย ตน้ แบบ คณุ ลักษณะตัวอยา่ งท่ีดี - มคี วามร้คู วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม - สามารถนําความรู้ไปสร้างเพจขายสินค้าออนไลน์และสร้างรายได้เพ่ิมให้แก่ ตนเอง - สามารถนําความรูไ้ ปถ่ายทอดให้กบั ประชาชนทม่ี ีความสนใจได้ ตัวอยา่ งทีด่ ี 5 คน คือ - นายสามารถ ทองงาม มีหนา้ รา้ นจากการขายสนิ ค้าออนไลน์เป็นของตนเองซ่ึงดูได้จากหน้า เพจ ขนมไทยบางหลวง หรือลิงก์ https://m.facebook.com/bldoocc/ เปน็ เพจขายสินค้าประเภท
102 ขนมไทยจากการรวมตวั ของคนในชมุ ชนหลังจากงานประจําและผู้ว่างงานเพ่ือสร้างรายได้และใช้เวลา วา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ส่งเสริมภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน สร้างความเข้มแข็งแกช่ ุมชน ใหส้ ามารถคิดเองทําเองใน การพัฒนาท้องถ่ิน ซ่ึงดูได้จากหลักฐานการส่ังซ้ือภายในเพจ การโพสต์ขายสินค้าและโต้ตอบระหว่าง ผขู้ ายและผซู้ ้อื อย่างสม่ําเสมอ - นางรกั ชนก เนตรงาม หลังจากการอบรมมหี น้าร้านขายสนิ ค้าออนไลน์เปน็ ของตนเองขาย สินคา้ การเกษตรอนิ ทรยี ์ มลู ไสเ้ ดือน นา้ํ หมักมลู ไสเ้ ดือน และการขยายพันธ์ไุ ส้เดือน ต้นอ่อนผกั บุ้ง และผักปลอดสารพิษ เป็นตน้ หลกั ฐานการส่ังซ้อื ดูได้จาก การโพสต์ขายสินค้าโตต้ อบระหว่างผู้ขาย และผูซ้ ือ้ อย่างสม่ําเสมอ มหี ลักฐานการจัดส่งการโอนเงินชําระสนิ ค้า ดูได้จากเฟสบกุ๊ Rakchanok Netngam หรอื ลิงก์https://www.facebook.com/profile.php?id=100025391887422 - นางสมบัติ ไทยตรง มีหน้าร้านขายสินค้าออนไลน์เป็นของตนเองดูได้จากเฟสบุ๊กเพจ โจง กระเบนไทย หรือลิงก์ https://web.facebook.com/A2-1326222144224191 ขายสินค้าโจง กระเบนสําเร็จรูป มีหลักฐานการโพสต์ขายสินค้าโต้ตอบระหว่างผู้ขายและผู้ซื้ออย่างสม่ําเสมอ มี หลกั ฐานการจัดสง่ การโอนเงนิ หรอื ใบเสรจ็ รบั เงินอยา่ งสมา่ํ เสมอ - นางเฉลยี ว งามดี มีหน้ารา้ นขายสนิ คา้ ออนไลน์เป็นของตนเองดูได้จากเฟสบุ๊กเพจ ต้นไม้ ใบบุญ หรือลิงก์ https://www.facebook.com/profile.php?id=100005659693215 ขายฝาชี หวาย มหี ลกั ฐานการโพสตข์ ายสนิ คา้ โต้ตอบระหว่างผขู้ ายและผู้ซอ้ื อย่างสมา่ํ เสมอ - นางวรรณา ทองสีจัด มีหน้าร้านขายสินค้าออนไลน์เป็นของชุมชน ดูได้จากเฟสบุ๊กเพจ ต้นไม้ ใบบุญ หรือลิงก์ https://www.facebook.com/กลุ่มแม่บ้านประชารัฐ-ม7-ตวัดตะกู- 2017553618490025/ ขายสนิ ค้าชมุ ชน กลมุ่ แม่บา้ นประชารัฐ การทําขนมไทย มีหลักฐานการโพสต์ ขายสินค้าโตต้ อบระหวา่ งผูข้ ายและผู้ซื้ออยา่ งสม่าํ เสมอ จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 5 ตามเกณฑ์การให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอย่างท่ีดีในการนําความรู้ไปใช้สูงกว่าเปูาหมายท่ี กาํ หนด
103 ตัวช้ีวัดที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผลการดาเนินงาน จากการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น/ผู้รบั บริการ ตัว บ่งชี้ท่ี 1.7 พบวา่ สถานศึกษาดําเนินงานการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ใหผ้ ูร้ บั บริการได้รับความรู้ และ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมได้ 5 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ คณุ ภาพดีมาก ด้วยการดําเนินงานดังนี้ 1. ผูร้ บั บริการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล ได้ดําเนนิ การจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ในปีงบประมาณ 2560 นําผลข้อมูลในการจัดกิจกรรมมากําหนดค่า เปาู หมายดงั น้ี ตารางขอ้ มูลผลการดําเนินงาน ปี 2560 เพอ่ื การกาํ หนดคา่ เปูาหมายผูเ้ ขา้ รับบริการ ปี 2560 โครงการ/กิจกรรม ผู้เข้ารับบรกิ ารท่ี คา่ เฉล่ยี เป้าผเู้ ขา้ จานวนผูเ้ ข้า ไดร้ บั ความพึง รอ้ ยละ รบั บรกิ าร รับบรกิ าร พอใจ (ในระดับดี ข้ึนไป) โครงการวันเด็กแหง่ ชาติ 400 450 383 85.11 โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรสู้ ูช่ ุมชน 750 765 715 93.46 โครงการส่งเสริมการอ่านห้องสมุด 1,200 1,300 1,105 85.00 ประชาชน รวม 2,350 2,515 2,203 87.59 จากขอ้ มลู ดงั กลา่ ว สถานศึกษา ไดต้ ้ังคา่ เปูาหมายผู้เขา้ รับบรกิ าร ดังน้ี โครงการ/กิจกรรม ตัวชีว้ ัด ปี 2561 คา่ เป้าหมาย ปี 2563 ปี 2562 92.00 ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม/ ร้อยละของผู้เขา้ รับ โครงการการศกึ ษา บรกิ าร/โครงการ 88.00 90.00 ตามอธั ยาศยั การศึกษาตาม อัธยาศยั
104 ข้อมลู ผลการดําเนินงานการจัดกจิ กรรม ปี 2562 ปี 2562 ผู้เข้ารับบรกิ ารท่ี ค่าเฉล่ีย ร้อยละ โครงการ/กิจกรรม เปา้ ผู้เขา้ จานวนผเู้ ขา้ ได้รับความพงึ 87.80 รับบรกิ าร รบั บรกิ าร พอใจ (ในระดับดี 95.09 ขน้ึ ไป) 91.07 92.38 โครงการวันเดก็ แหง่ ชาติ 350 381 334 91.58 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่ 800 1,345 1,279 ชุมชน โครงการสง่ เสริมการอา่ น 1,200 2,253 2,052 ห้องสมุดประชาชน กิจกรรมห้องสมุดชาวตลาด 200 210 194 รวม 2,550 4,189 3,855 ตารางแสดงการเปรยี บเทียบผูร้ บั บรกิ ารเข้าร่วมกจิ กรรมกับค่าเปาู หมาย โครงการ/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย ผู้เข้ารบั บรกิ ารท่ี สรุปผลการดาเนินงาน ปี 2562 ไดร้ ับความพงึ เทยี บกบั คา่ เปา้ หมาย ร้อยละ พอใจ(ในระดับดี ขน้ึ ไป) ผูร้ ับบรกิ ารเขา้ ร่วมกิจกรรม 90.00 91.58 สูงกวา่ คา่ เปาู หมาย จากประเดน็ การพิจารณาข้อท่ี 1 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแลว้ ได้ 1 คะแนน คือผู้รับบริการเข้า ร่วมกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเปน็ ไปตามเปูาหมายท่ีกาํ หนด
105 2. ผู้รับบริการท่ีได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษา ตามอธั ยาศัย เป็นไปตามคา่ เปา้ หมายทีก่ าหนดหรือไม่ ตามทีส่ ถานศึกษาได้ดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในปีงบประมาณ 2560 จึง นาํ ผลขอ้ มลู จากแบบประเมินความพึงพอใจ ท่ีผู้เข้ารับบริการได้รับความรู้ หรือประสบการณ์จากการ เข้าร่วมกจิ กรรมในระดบั ดขี ้ึนไป มากาํ หนดค่าเปาู หมายดงั นี้ ตารางการกาํ หนดคา่ เปูาหมายผู้เข้ารับบริการได้รบั ความรู้และ/หรอื ประสบการณ์จากการเข้า ร่วมกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ปี 2560 ปี 2560 โครงการ/กจิ กรรม ผู้เข้ารับบรกิ ารที่ คา่ เฉลย่ี เป้าผู้เข้า จานวนผเู้ ขา้ ไดร้ ับความพงึ รอ้ ยละ รับบริการ รบั บริการ พอใจ (ในระดับดี ขึน้ ไป) โครงการส่งเสรมิ การเรียนร้สู ชู่ มุ ชน 750 765 715 93.46 คา่ เปาู หมายผูเ้ ขา้ รับบรกิ าร 94.00 สถานศกึ ษา ไดก้ ําหนดคา่ เปาู หมายผเู้ ขา้ รบั บริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการ เข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ดังน้ี โครงการ/ ตวั ชี้วดั ปี 2561 ค่าเป้าหมาย ปี 2563 กิจกรรม ปี 2562 โครงการส่งเสริม ร้อยละของผูเ้ ข้ารับ 94.00 95.00 96.00 การเรียนรู้สูช่ มุ ชน บรกิ ารโครงการสง่ เสริม การเรยี นร้สู ูช่ ุมชน
106 ตารางแสดงความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปของผู้เข้ารับบริการได้รับความรู้และ/หรือ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ปี 2562 ปี 2562 โครงการ/กิจกรรม ผเู้ ขา้ รับบริการท่ี ค่าเฉลีย่ เป้าผ้เู ข้า จานวนผู้เข้า ได้รบั ความพงึ ร้อยละ รับบริการ รบั บรกิ าร พอใจ (ในระดับดี ขนึ้ ไป) โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่ 800 1,345 1,279 95.09 ชมุ ชน รวม 800 1,345 1,279 95.09 ตารางแสดงการเปรียบเทียบความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปของผู้เข้ารับบริการได้รับความรู้ และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ปี 2562 กับค่า เปาู หมาย โครงการ/กจิ กรรม ค่าเป้าหมาย ผเู้ ข้ารบั บริการท่ี สรปุ ผลการดาเนินงาน ผรู้ ับบรกิ ารเขา้ รว่ มกิจกรรม ปี 2562 ไดร้ ับความพึงพอใจ เทียบกบั ค่าเป้าหมาย ร้อยละ (ในระดบั ดีขึ้นไป) 95.00 สงู กว่าคา่ เปูาหมาย 95.09 จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 2 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน คือผู้รับบริการ เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์ สูงกว่าค่า เปาู หมายทก่ี าํ หนด 3. สถานศกึ ษามีวิธีการหาร่องรอยหลักฐานทแี่ สดงวา่ ผู้รับบรกิ ารมีความร้แู ละหรือประสบการณ์ท่ี น่าเชื่อถอื ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล ไดด้ าํ เนนิ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โครงการส่งเสรมิ การเรียนรู้สชู่ มุ ชน โดยมกี ารเกบ็ หลกั ฐานแสดงว่า ผรู้ ับบริการมีความรู้จากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม คอื แผนการจดั กิจกรรม หนงั สือขอความอนุเคราะหจ์ ัด กิจกรรม ใบลงช่ือผู้เข้าร่วมกจิ กรรม ใบงานประจําฐานเรยี นรู้ ผลการตรวจใบงานแต่ละฐานเรยี นรู้ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ สมดุ บันทึกการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน ภาพถ่ายการดาํ เนนิ งาน รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการ
107 จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อท่ี 3 ตามเกณฑใ์ หค้ ะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน คือสถานศึกษา มหี ลักฐานร่องรอยทเี่ ป็นเหตเุ ปน็ ผล น่าเช่ือถือในการเรียนรขู้ องผู้รบั บรกิ ารทกุ โครงการ/ทุกกจิ กรรม 4. สถานศึกษามีวิธีดาเนินการที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. นโยบาย/ จุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ ของ สานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ขอ้ 3.6 เพ่ิมอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น บริการห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคล่ือนท่ี ผลักดัน ใหเ้ กิดห้องสมุดสกู่ ารเป็นห้องสมุดเสมอนจริงต้นแบบเพื่อพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับ อา่ นคล่อง เข้าใจความคดิ วิเคราะหพ์ ื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทง้ั นาํ ความรู้ท่ีได้รับไปปฏบิ ตั ิจรงิ ใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วัน ภารกจิ ต่อเนอื่ ง ข้อ 1 ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ขอ้ 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย 2) จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถใน การอ่าน และศักยภาพการเรียนรขู้ องประชาชนทกุ กล่มุ เปาู หมาย สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ 3 จุดเน้นด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก ข้อ 3.3 การส่งเสริมให้ทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนา คุณภาพชีวิต เต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกบั แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ขอ้ 2.4 (1) จํานวนแหล่งเรียนรู้ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัด กจิ กรรมการเรียนรู้ตลอดชีวติ ทมี่ ีคณุ ภาพเพิม่ ข้ึน (2) จํานวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ที่ได้รับการสนับสนุนจาก ภาคเอกชน สถานประกอบการ สถานบนั ศาสนา มูลนธิ ิ/องค์กรตา่ ง ๆ ในสงั คมเพ่มิ ขึ้น จากประเดน็ การพิจารณาขอ้ ที่ 4 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน 5. สถานศกึ ษามีผู้เขา้ รับบริการทเ่ี ปน็ ตวั อย่างทดี่ ี หรือต้นแบบตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.7 หรือไม่ ตามทีส่ ถานศกึ ษาได้ดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในปีงบประมาณ 2560 จึง นําผลข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ ท่ีผู้เข้ารับบริการได้รับความรู้หรือประสบการณ์จากการ เข้าร่วมกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป มากําหนดค่าเปูาหมายผู้รับบริการท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ดงั นี้
108 ตารางการกําหนดคา่ เปูาหมายผรู้ ับบริการท่เี ปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ี หรือต้นแบบ จากข้อมลู ปี 2560 ปี 2560 ผู้รับบริการที่ โครงการ/กจิ กรรม เปาู ผเู้ ขา้ รบั จํานวนผู้เขา้ ผู้เข้ารบั บริการท่ี เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี บริการ รบั บริการ ไดร้ บั ความพงึ พอใจ หรือต้นแบบ (ในระดับดีขน้ึ ไป) (คน) โครงการสง่ เสริมการเรียนรูส้ ูช่ มุ ชน 750 765 715 127 ผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ใช้ผลการดําเนินงานจากคะแนนรวมจากใบงาน ของผู้เข้ารับบริการ จากฐานการเรียนรู้แต่ละฐาน ท่ีมีคะแนนรวมสูงสุด จากการจัดกิจกรรมในแต่ละ คร้ัง จากข้อมูลดังกล่าวสถานศึกษา ได้กําหนดค่าเปูาหมายผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือ ตน้ แบบ ดังน้ี โครงการ/ ตัวชวี้ ดั คา่ เปาู หมาย กิจกรรม ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 โครงการส่งเสริม จํานวนของผู้รับบริการที่เป็น 128 คน 129 คน 130 การเรยี นร้สู ู่ ตัวอย่างท่ีดี หรอื ตน้ แบบ คน ชุมชน ตารางแสดงผ้รู ับบริการที่เปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ี หรือต้นแบบ ปี 2562 ดงั นี้ ปี 2562 โครงการ/กจิ กรรม จาํ นวน จํานวน ผู้เขา้ รบั บริการท่ีไดร้ ับความพึงพอใจ ผรู้ ับบรกิ ารที่เปน็ ตวั อยา่ งทีด่ ี หรือต้นแบบ (ในระดับดีขึ้นไป) (คน) (คน) โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้สู่ชุมชน 1,279 136 รวม 1,279 136
109 ตารางการเปรียบเทียบค่าเปูาหมายผู้รับบริการท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ กับผลการ ดาํ เนนิ งาน ปี 2562 โครงการ/กจิ กรรม คา่ เปูาหมาย ผลการดําเนินงาน สรุปผลการดําเนนิ งาน ปี 2562 ปี 2562 เทียบกบั ค่าเปูาหมาย โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่ 129 คน 136 คน สงู กว่าค่าเปาู หมาย ชุมชน สถานศึกษามีผู้รับบริการที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ โดยมีผู้เข้ารับบริการได้รับความรู้ และหรือประสบการณจ์ ากการเขา้ ร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีความพึงพอใจใน ระดับดีขึ้นไป จํานวน 1,279 คน มีผู้รับบริการท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบ จํานวน 136 คน ผล มาจากคะแนนรวมของใบงานของผู้เข้ารับบริการ จากฐานเรียนรู้แต่ละฐาน มีคะแนนรวมสูงสุด และ ได้รบั รางวลั จากการจัดกจิ กรรมในแต่ละครง้ั สงู กว่าคา่ เปาู หมาย ทีก่ ําหนดไว้ 129 คน จากประเด็นการพิจารณาขอ้ ท่ี 5 ตามเกณฑ์ใหค้ ะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน
110 จากผลการดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน/ผู้รบั บรกิ าร ดงั รายละเอยี ดข้างตน้ สามารถสรปุ คะแนนที่ได้ และระดบั คุณภาพจากผลการประเมนิ ตนเองของ สถานศึกษาได้ดงั รายละเอียดในตารางต่อไปนี้ มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ นา้ หนกั ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนท่ีได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน/ผูร้ ับบรกิ าร การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 35 31.00 ดีมาก ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีคุณธรรม 5 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชที้ ่ี 1.2 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานมีทักษะกระบวนการ 5 4.00 ดี คดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง และ สามารถนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ในการดาํ รงชีวิต 5 3.50 ดี ตวั บ่งชี้ท่ี 1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานมคี วามรู้พ้ืนฐาน 5 4.00 ดี การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 5 5.00 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมมีความรู้ 5 4.50 ดมี าก ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ ตวั บ่งชีท้ ี่ 1.5 ผู้เรียนหรือผู้เขา้ รับการอบรมปฏิบตั ิตนตามหลัก 5 5.00 ดีมาก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 35 31.00 ดีมาก ตวั บง่ ชี่ที่ 1.6 ผเู้ รียนหรือผรู้ บั อบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสม การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งช้ที ่ี 1.7 ผู้รบั บรกิ ารได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์ จากการเข้ารว่ มกจิ กรรม/ โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวม สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน/ผรู้ ับบรกิ าร มคี ะแนนรวม เทา่ กบั 31.00 คะแนน ซึง่ มคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดีมาก โดยมีจดุ เนน้ จดุ ทีค่ วรพัฒนา ตวั อย่างทีด่ ี หรือต้นแบบ และข้อเสนอแนะในการพฒั นา ดังน้ี
111 จดุ เด่น สถานศกึ ษามีผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น/ผูร้ บั บริการ การศึกษาข้ันพน้ื ฐานด้านคุณธรรม ไดแ้ ก่โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะนกั ศึกษา กศน.อําเภอบางบาล โครงการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เกษตรธรรมชาตติ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นด้วยกระบวนการ ลูกเสือ โครงการการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข และกฏหมายทเี่ กย่ี วข้องในชวี ิตประจาํ วัน โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ พฒั นาคุณภาพ ชีวิตให้กับนกั ศึกษา กศน. โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด โครงการเสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งเก่ยี วกับบทบาทและความสําคญั ทถ่ี ูกตอ้ งของสถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ่อ สงั คมไทย โครงการลูกเสือจิตอาสาทําความดเี พ่อื แม่ สาํ หรบั นักศกึ ษา กศน.อําเภอบางบาล ด้านการศึกษาต่อเนื่อง การจัดพัฒนาอาชพี รปู แบบกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง วชิ าชพี 40 ชว่ั โมง ขน้ึ ไป และ หน่ึงอาํ เภอหน่งึ อาชีพการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและ ชมุ ชน ดา้ นการปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการใช้เทคโนโลยีได้อยา่ ง เหมาะสม การศกึ ษาตามอัธยาศยั ผรู้ บั บริการได้รบั ความร/ู้ และประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ มกจิ กรรม /โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในระดับดีมาก เน่ืองจากมีการจัดทาํ แผนการจดั กจิ กรรมร่วมกบั ภาคี เครอื ข่ายในรปู แบบที่หลากหลาย และตอ่ เน่ือง ทําให้ผเู้ รียนได้รบั การพัฒนาได้อย่างเต็มที่ จุดทีค่ วรพฒั นา 1. ผู้เรียนการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตา่ํ กว่าคา่ เปาู หมายท่กี าํ หนด 2. ควรสง่ เสรมิ ใหค้ รนู ําผลการประเมิน มาวเิ คราะห์ ศึกษา วจิ ัย พจิ ารณากําหนดนวตั กรรม สือ่ เพ่ือการวางแผนปรบั ปรงุ พัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอน ให้ผู้เรยี นมีทักษะกระบวนการ คิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนื่อง สามารถนําไปประยุกตใ์ ช้ในการดาํ รงชีวติ ให้ มากยง่ิ ขึ้น ซง่ึ ตรงต่อความต้องการของผู้เรยี น และเปูาหมายของสถานศึกษา ตวั อยา่ งท่ีดี ตัวอย่างการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ตวั บ่งช้ีท่ี 1.3 ผูเ้ รียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมคี วามรพู้ ื้นฐาน จากการดําเนินงานของสถานศึกษา จึงมีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน/ผรู้ บั บรกิ าร ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.3 ผ้เู รยี นการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานมีความรพู้ ืน้ ฐาน คะแนน ที่ได้ 3.50 ระดับคุณภาพ ดี ผู้เรียนนําความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดํารงชีวิต การทํางานหรือการ ประกอบอาชีพได้เกินค่าเปูาหมาย ดังนี้ นักศึกษาระดับประถมศึกษา(ค่าเปูาหมาย=1 คน ผลการ
112 ติดตามการนําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิต จํานวน 2 คน) , นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ค่า เปูาหมาย =2 คน ผลการติดตามการนําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิต จํานวน 5 คน), นักศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย(ค่าเปูาหมาย=5 คน ผลการติดตามการนําความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ จํานวน 2 คน และการนําความรู้ไปใช้ในดํารงชีวิต จํานวน 5 คน รวมผลการติดตามการนําความรู้ ไปใช้ในการดํารงชวี ิต จาํ นวน 7 คน) ต้นแบบ ตัวบ่งชี้ 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมคี ณุ ธรรม สถานศึกษามีผู้เรียนเป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบด้านคุณธรรม ซึ่งเป็นไปตามค่าเปูาหมายที่ กําหนดไว้ ได้ทําการเปรียบเทียบตรวจสอบกับตารางคะแนนเกณฑ์การพิจารณา ได้ 1 คะแนน โดย พิจารณาจากเกณฑ์ประเมินคุณธรรม 11 ประการ ประกอบด้วย (1) สะอาด (2) สุภาพ (3) กตัญญู กตเวที (4) ขยัน (5) ประหยัด (6) ซื่อสัตย์ (7) สามัคคี (8) มีน้ําใจ (9) วินัย (10) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ และรกั ความเป็นไทย (12) ยดึ มนั่ ในวิถีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย สถานศึกษาจึง ได้กําหนดค่าเปูาหมายนักศึกษาท่ีจะเป็นตัวอย่างที่ดีหรือต้นแบบที่ดีด้านคุณธรรม ประจําปี งบประมาณ 2562 ไว้ท้ังหมด จาํ นวน 46 คน ตัวบ่งชี้ท่ี 1.2 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีทกั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง และสามารถนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ในการดํารงชีวติ สถานศึกษา มีผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เป็นตัวอย่างท่ีดี ด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการดํารงชีวิต คือการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักศึกษา และ การจัดประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาในระดับตําบล ผลจากการจัดการดําเนินงาน สูงกวา่ ค่าเปาู หมายท่ีกําหนด จํานวน 2 คน ค่าเปูาหมายที่กําหนดไว้ คือครู 1 คน จะต้องมีผู้เรียนท่ี เป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการดํารงชีวิต 1 คน ของระดับประถม ศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม 19 คน แต่ดําเนินการได้ จํานวน 21 คน ซ่ึงสูงกวา่ ค่าเปูาหมายท่ีกาํ หนด ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.4 ผเู้ รียนผูเ้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ ผู้เรียนมีต้นแบบในการนาํ ความรไู้ ปใช้ ตงั้ คา่ เปูาหมายไวท้ ี่ จาํ นวน 94 คน ดาํ เนนิ การได้ 94.47 คน
113 ตัวบ่งชที้ ี่ 1.5 ผเู้ รยี นหรอื ผ้เู ขา้ รบั การอบรมปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้เรียน เป็นต้นแบบในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตั้งค่าเปูาหมายไว้ที่ จํานวน 89 คน ดาํ เนินการได้ 92 คน ตัวบ่งช้ีที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม สามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ต้ังค่าเปูาหมาย ไว้ จํานวน 3 คน ดาํ เนินการได้ 3.02 คน ตัวบง่ ชที้ ่ี 1.7 ผ้รู ับบรกิ ารไดร้ บั ความรู/้ และประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการการศึกษา ตามอธั ยาศยั ต้งั ค่าเปาู หมายไว้ที่ จาํ นวน 94 คน ดําเนินการได้ 96.73 คน ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา สถานศกึ ษาตอ้ งพฒั นาครู และผู้เรยี น ใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลง โดยเฉพาะเร่ืองของการจัด กระบวนการเรียนรู้ ดา้ นส่ือ นวตั กรรม โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั โดยการจัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เริม่ จากการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร การกาํ หนดมาตรฐานผูเ้ รียนตามหลักสตู ร การ วิเคราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล การออกแบบการเรยี นรู้ ในการจัดทาํ ใบงาน แบบฝกึ หัด แบบทดสอบ ทางบทเรยี นออนไลน์ (Google Classroom) การประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผเู้ รยี น การวัดผลและ ประเมินผล
114 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บรกิ าร การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.1 คุณภาพครกู ารศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ผลการดาเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีผลประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 คุณภาพครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษาได้ทํา การเปรียบเทียบกับตารางคะแนนระดับคุณภาพ ได้ 3.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ใน ระดบั คุณภาพ ดี 1. สถานศึกษามกี ารดาเนนิ งานท่ีเปน็ กระบวนการในการส่งเสริมและหรอื พฒั นาครกู ารศกึ ษา ขน้ั พ้ืนฐานใหม้ ีคณุ ภาพ ในปงี บประมาณ 2562 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอบางบาล ไดส้ ง่ เสรมิ และพฒั นาครผู สู้ อนการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ใหม้ ีความรู้ มที ักษะและความสามารถเพ่ือจดั กระบวนเรียนรูใ้ หก้ บั ผูเ้ รยี น ตามมาตรฐานของหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยมีครใู นการจัดการเรียนการสอนขั้นพ้นื ฐาน ทั้ง 3 ระดับ จํานวน ทง้ั ส้ิน 19 คน ในครูมกี ารจดั ทาํ แฟูมประวัตเิ ก่ยี วกับคุณวุฒิทางการศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี ความ ถนัด ความชาํ นาญ และศักยภาพทเ่ี กย่ี วข้องกับการจัดการศกึ ษา นอกจากนี้ ยังสํารวจความต้องการ ของครูผู้สอนเพื่อการพฒั นาตนเอง และจดุ ทค่ี วรพัฒนาเพ่ือใหค้ รผู สู้ อนมคี ุณภาพตามเกณฑท์ ี่กําหนด โดยจัดทาํ แผนพัฒนาบุคลากรประจาํ ปี และการนเิ ทศติดตามการจดบันทึกเสนอผ้บู รหิ าร นําข้อ ปรบั ปรงุ กิจกรรมกระบวนการเรียนร้ใู หก้ ับผูเ้ รยี น ใน กศน.ตําบล ไมน่ ้อยกว่าตําบลละ 3 ครัง้ ตอ่ ภาค เรยี น และบนั ทกึ เสนอผูบ้ รหิ าร และนําเข้าวาระการประชุม นาํ ปัญหาอุปสรรคมาวเิ คราะหเ์ พอ่ื การ ปรบั ปรุง แก้ไข และพฒั นาร่วมกนั รวมถึงนาํ จุดเด่นของครูผูส้ อนแต่ละคน มาแลกเปลีย่ นเรียนร้เู พือ่ การจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพ หากมีการจัดการอบรม สถานศกึ ษาจะพจิ ารณา เพื่อคัดเลือกครูผ้สู อน ที่ยงั ไม่ได้รับการพัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้ ในหลกั สตู รตา่ งๆ จากแฟูมประวตั ิ บุคคล ทต่ี ้นสงั กดั เพ่ือ เข้ารบั การอบรม ไดแ้ ก่ โครงการอมรมเชงิ ปฏิบัติการหลกั สูตร Google Classroom ร่นุ 1 โครงการ พฒั นาบุคลากรการผลติ สื่อวีดิทศั น์เพื่อเป็นสื่อการสอนรายวิชาเลือก การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน “อาํ เภอบางบาลสืบสานมวยไทย” โครงการพฒั นาบุคลากร ครู กศน. ด้านการนาํ ส่ือไปใชใ้ นการ จดั การเรียนการสอน โครงการอมรมวทิ ยากรแกนนํา ครู ค หลกั สูตรการตลาดและการสร้างมูลคา่ ให้กับสินคา้ และหลักสตู รการโปรโมทสินคา้ เพื่อการพัฒนาและเครือขา่ ยเศรษฐกิจดิจิทัลชมุ ชนใน ระดบั ตําบล โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเกษตรธรรมชาติ เพ่อื นําความรู้มาปรบั ใช้ในการดําเนินงาน เกษตรธรรมชาตขิ องสถานศึกษา โครงการพัฒนาบคุ ลากรด้านการจัดทําบทเรียนออนไลน์ใหก้ ับครู กศน.อาํ เภอบางบาล โครงการจัดทําแผนการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์วชิ าอําเภอ
115 บางบาลสืบสานมวยไทย โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากรด้านการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กศน.อาํ เภอบางบาล ประจาํ ปี 2562 และประชุมเชิงปฏิบตั ิการแนวทางนาํ เสนอผลการ ปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Best Practice) และโครงการพฒั นาบุคลากรการทาํ วจิ ยั ในชัน้ เรยี น ประจาํ ปี 2562 จากประเดน็ การพิจารณาข้อท่ี 1 ตามเกณฑใ์ หค้ ะแนนแล้ว ได้ 0.5 คะแนน สถานศึกษา สามารถอธบิ ายกระบวนการดําเนนิ งานในการพฒั นาครูการศึกษาข้นั พื้นฐาน แต่ขาดความชัดเจน 2. สถานศึกษาทราบได้อยา่ งไรว่า ครูการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มีความรู้ตามทไี่ ด้รับการพัฒนา ครูผู้สอนของสถานศึกษามีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ มีใบประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา และใบอนญุ าตปฏิบัติการสอน ได้รับการพัฒนาผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกําหนด และ นําความรู้ที่ครูได้รับจากการอบรมมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ เช่น การจัดการเรียนการสอน ออนไลน์วิชาอําเภอบางบาลสบื สานมวยไทยให้กับผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาคเรียนท่ี 1/2562 การจัดทําแผนการสอน จัดทําส่ือ กระบวนการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และ Application ต่างๆ การทําใบงาน การทําแบบทดสอบ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน การ สอบเกบ็ คะแนนกลางภาคเรยี นที่ 1/2562 และใช้เทคโนโลยีในการจดั กจิ กรรม จากประเดน็ การพิจารณาข้อท่ี 2 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้ว ได้ 0.5 คะแนน สถานศกึ ษา สามารถอธิบายวิธกี ารให้ทราบว่าการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานมีความรตู้ ามท่ีได้รับการพฒั นา แต่ไม่ชดั เจนไม่ เป็นเหตผุ ล 3. สถานศึกษามีครกู ารศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ทม่ี ีคณุ ภาพตามสิง่ ทไี่ ดร้ ับการพัฒนา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาลครูผู้สอนทุกคนได้รับการ พัฒนา อบรม สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามรู้ ตามเกณฑ์ท่สี าํ นักงาน กศน.กําหนดไม่น้อยกว่าปีละ 20 ช่ัวโมง ใน ปีงบประมาณ 2562 มีคุณภาพ ผ่านตามเกณฑ์ท่ีหลักสูตรกําหนด คิดเป็นร้อยละ ซ่ึงดูได้จากวุฒิบัตร และเกยี รติบัตรทีผ่ า่ นการฝกึ อบรมของครผู ูส้ อนท่ีทุกคนได้รับ ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 แสดงจาํ นวนครทู ่ีเข้ารบั การฝกึ อบรมหลักสตู รต่างๆ ที่เก่ยี วข้องกับการจัด การศกึ ษาพ้นื ฐานของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล ครูผู้สอน ครผู ูส้ อนท่ี ที่ โครงการ/หลกั สตู ร วนั เดือนปี ระยะเวลา ครูผ้สู อน ทเี่ ข้ารับ ผ่านการ (วนั ) ทั้งหมด การ อบรมคิด อบรม เปน็ ร้อยละ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการ 3-4 1 เขยี นรายงานการประเมนิ ตนเอง ตลุ าคม 2 19 19 100.00 (SAR) ปี 2561 2561
116 ครูผ้สู อน ครผู ้สู อนที่ ท่ี โครงการ/หลกั สตู ร วนั เดือนปี ระยะเวลา ครูผูส้ อน ท่ีเขา้ รบั ผ่านการ (วัน) ท้ังหมด การ อบรมคิด อบรม เป็นร้อยละ โครงการอมรมเชิงปฏิบตั ิการ 17ตลุ าคม 2 หลักสตู ร Google Classroom 2561 1 19 18 94.73 รุ่น 1 โครงการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ 29-31 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน ตุลาคม 3 19 18 94.73 การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 2561 ตามอัธยาศยั กศน.อาํ เภอบางบาล ประชุมเชงิ ปฏิบัติการจดั ทําฉบับ 27-30 4 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ปิ ลาย พฤศจิกาย 1 19 2 10.53 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 น 2561 โครงการพัฒนาบุคลากรการผลิตส่อื 19-21 5 วดี ทิ ัศน์เพื่อเป็นสอ่ื การสอนรายวิชา ธันวาคม 3 19 19 100.00 เลือก การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน “อาํ เภอ 2561 บางบาลสืบสานมวยไทย” โครงการอบรมวิทยากรแกนนํา ครู 24 ข หลกั สตู รการตลาดและการสร้าง ธันวาคม 6 มลู คา่ ให้กบั สินคา้ และหลักสตู รการ 2561 1 19 1 5.26 โปรโมทสินคา้ เพื่อการพฒั นาและ เครือข่ายเศรษฐกิจดิจทิ ัลชมุ ชนใน ระดบั ตาํ บล โครงการพัฒนาบุคลากร ครู กศน. 8 มกราคม 7 ด้านการนาํ สือ่ ไปใชใ้ นการจัดการ 2562 1 19 3 15.78 เรียนการสอน โครงการอมรมวทิ ยากรแกนนํา ครู 8 ค หลกั สูตรการตลาดและการสร้าง 17 1 19 19 100.00 มูลคา่ ใหก้ บั สนิ ค้า และหลกั สูตรการ มกราคม โปรโมทสนิ คา้ เพอื่ การพฒั นาและ 2562
117 ครูผ้สู อน ครผู ู้สอนที่ ท่ี โครงการ/หลักสตู ร วันเดือนปี ระยะเวลา ครูผู้สอน ทเ่ี ข้ารบั ผ่านการ (วนั ) ท้ังหมด การ อบรมคิด อบรม เปน็ ร้อยละ เครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลชมุ ชนใน ระดับตาํ บล โครงการพัฒนาบุคลากร ศึกษาดู 18 9 งาน “งานอนุ่ ไอรักคลายความหนาว มกราคม 1 19 18 94.73 สายนํา้ แหง่ รตั นโกสนิ ทร์”ปี 2562 2562 โครงการพฒั นาบุคลากร ครู กศน. 4 10 ด้านการจดั ทาํ แผนการสอนแบบ กุมภาพันธ์ 1 19 3 15.78 บูรณาการ 2562 โครงการพฒั นาบุคลากรด้านเกษตร 5-6 11 ธรรมชาติ เพื่อนําความรมู้ าปรับใช้ กุมภาพนั ธ์ 2 19 19 100.00 ในการดําเนินงานเกษตรธรรมชาติ 2562 ของสถานศึกษา 13 12 มหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้ังที่ 21 กุมภาพนั ธ์ 2 19 3 15.78 2562 โครงการพฒั นาบุคลากรด้านการ 27-29 13 จัดทาํ บทเรียนออนไลน์ใหก้ บั ครู มีนาคม 3 19 19 100.00 กศน.อําเภอบางบาล 2562 โครงการอบรมขยายผล “สถาบัน 14 พระมหากษัตรยิ ก์ บั ประเทศไทย” 3 เมษายน 1 18 5 27.78 สาํ นักงาน กศน. 2562 โครงการอบรมเผยแพร่ความรู้การ 5 เมษายน 15 ปูองกัน และปราบปรามการค้า 2562 1 18 5 27.78 มนษุ ย์ โครงการจดั ทาํ แผนการเรียนรู้ การ 28-29 16 จัดการเรยี นการสอนออนไลน์วชิ า พฤษภาคม 2 18 2 11.11 อําเภอบางบาลสบื สานมวยไทย 2562
118 ครูผูส้ อน ครูผ้สู อนที่ ที่ โครงการ/หลักสตู ร วันเดอื นปี ระยะเวลา ครผู สู้ อน ทีเ่ ขา้ รับ ผ่านการ (วัน) ท้งั หมด การ อบรมคิด อบรม เป็นร้อยละ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตาม 4-5 17 พระราชดําริโดยประยุกต์ใช้ในการ มิถุนายน 2 18 2 11.11 เรยี นการสอน(DLTV) 2562 18 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเทคนิคการสอน 10-11 2 18 1 5.56 ภาษาองั กฤษ มิถุนายน 2562 ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการจัดทําฉบับ 11-14 19 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ลาย มิถุนายน 4 18 3 16.67 ภาคเรยี นที่ 1/2562 รายวชิ าเลอื ก 2562 และรายวชิ าบังคบั (ซอ่ ม) โครงการศาสตรข์ องพระราชาสูก่ าร 20 20 พัฒนาเกษตร ทฤษฎใี หม่ เรอ่ื งไบ มิถนุ ายน 1 18 1 5.56 โอชาร์สู่การพฒั นาคุณภาพชวี ิต 2562 โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร ดา้ นการศึกษานอกระบบและ 30-31 การศึกษาตามอธั ยาศยั กศน.อาํ เภอ กรกฎาคม 21 บางบาล ประจําปี 2562 และ 2562 2 18 18 100.00 ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ แนวทา นาํ เสนอผลการปฏิบัติงานที่ด(ี Best ractice) อบรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาศักยภาพ 1 สงิ หาคม 22 ตัวแทนศนู ย์ประสานงานฯใน 2562 1 18 5 27.78 กองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพระดับ ทอ้ งถน่ิ 23 ประชมุ ช้แี จงการดําเนนิ การจัดสอน 13-14 2 18 1 5.56 ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Exam) สงิ หาคม 2562
119 ที่ โครงการ/หลกั สตู ร วันเดือนปี ระยะเวลา ครผู สู้ อน ครูผู้สอน ครผู ู้สอนที่ (วัน) ทั้งหมด ที่เขา้ รับ ผ่านการ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารครทู ่ี 16 1 อบรมคิด สิงหาคม 1 18 การ เปน็ ร้อยละ 24 ปรกึ ษากับการแนะแนวและการ 2562 1 18 อบรม 5.56 ปรกึ ษาเชิงจิตวิทยา เพื่อพฒั นา 2 16 21 2 18 1 38.89 ผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 สิงหาคม 18 100.00 2562 3 7 11.11 ประชุมสัมมนาวิชาการ ดา้ น 18 16 100.00 22 3 2 25 วิทยาศาสตร์ ดาราสตร์ และ สิงหาคม 18 18 100.00 2562 เทคโนโลยี ประจําปี 2562 26-27 18 100.00 สงิ หาคม โครงการสรา้ งจติ สํานกึ พลเมืองดีวถิ ี 2562 18 29-30 26 ประชาธิปไตย(เพิ่มเติม/ทดแทน)รนุ่ สิงหาคม 2562 ที่ 3 4-6 โครงการการจัดการเรยี นรเู้ รียนผา่ น กนั ยายน 2562 27 สอื่ สังคมออนไลน์ สนู่ วตั กรรม 4-6 การศึกษาฯ กนั ยายน 2562 28 โครงการพฒั นาบุคลากรการทําวิจัย ในชน้ั เรยี น ประจําปี 2562 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัด กระบวนการเรียนรเู้ พื่อยกระดบั 29 การจัดการเรียนการสอนให้กับครู กศน.อาํ เภอบางบาล และศึกษาดู งานสถานศึกษาตน้ แบบ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัด กระบวนการเรียนรู้เพ่ือยกระดับ 29 การจัดการเรียนการสอนให้กับครู กศน.อาํ เภอบางบาล และศึกษาดู งานสถานศึกษาตน้ แบบ
120 ท่ี โครงการ/หลักสตู ร วันเดอื นปี ระยะเวลา ครูผ้สู อน ครูผูส้ อน ครูผู้สอนที่ (วนั ) ท้งั หมด ที่เข้ารับ ผ่านการ โครงการสรา้ งเสรมิ ชุมชนแห่งการ 10-11 อบรมคิด 30 เรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional กนั ยายน 2 18 การ เปน็ ร้อยละ 2562 อบรม Learning Community : PLC) 5.56 1 จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน ครูการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มคี ุณภาพตามสิง่ ทไ่ี ด้รบั การพัฒนามากกวา่ รอ้ ยละ 75 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน./นโยบาย จดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ / ยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ขอ้ 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตาํ แหนง่ ใหต้ รงกับสายงาน ความชาํ นาญและความตอ้ งการของบุคลากร ภารกจิ ตอ่ เนื่อง ข้อ 6 ด้านบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมสี ่วนร่วมของทุก ภาคส่วน ข้อ 6.1 การพัฒนาบุคลากร 3) พฒั นาหัวหน้ากศน.ตาํ บล/แขวง ใหม้ ีสมรรถนะสูงขน้ึ เพ่ือการบริหารจดั การ กศน.ตําบล/แขวง และการปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทภารกจิ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นการเป็นนัก จัดการความรแู้ ละผู้อํานวยความสะดวกในการเรียนรูเ้ พอื่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนร้ทู ี่มปี ระสิทธภิ าพ อยา่ งแทจ้ รงิ 4) พัฒนาครู กศน.และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถ จัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการ สอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้การวัดและประเมนิ ผล และการวิจัยต้น 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มี ความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน
121 สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อ 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน แนวทางหลัก ข้อ 3.2 การผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 3.2.3 การพฒั นาครู การอบรมครู 1) หลักสูตรในการอบรมครูให้มีความเช่ือมโยงกับการได้รับวิทย ฐานะและการได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู โดยต้องเป็นหลักสูตรที่ได้รับการอนุมัติ / เห็นชอบ รวมทั้งการพัฒนาครดู ้วยระบบ TPEP Online แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ข้อ 2.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน 1) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกรับ/ประเภท การศึกษาได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพเพมิ่ ขึ้น 2) ร้อยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับการพัฒนาให้ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงานเพ่มิ ข้ึน จากประเด็นการพิจารณาขอ้ ที่ 4 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน สถานศึกษา อธบิ ายการดําเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ ของสาํ นักงาน กศน./นโยบาย จดุ เน้นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ/ยุทธศาสตรแ์ ละเปูาหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปีได้อย่างชดั เจน 5. สถานศึกษามกี ารส่งเสรมิ และหรือพัฒนาครูการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานท่ีเปน็ ต้นแบบ จากการส่งเสริมและพฒั นาครูผสู้ อนของสถานศึกษาท่ผี ่านมา ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล มีครผู ู้สอนที่มคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการ เรยี นรใู้ ห้กบั ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พื้นฐาน งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย คอื นางวราภรณ์ ขาวเงนิ ยวง ท่ีเป็นการปฏบิ ตั ิงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ในเร่ือง การพัฒนา ศักยภาพ ครู กศน.ตําบล สามารถนาํ การปฏบิ ตั งิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) เป็นทยี่ อมรบั ของ นักศึกษา ครู กศน.อําเภอบางบาล และผ้บู รหิ าร รวมถึงเพ่ือนรว่ มงาน รางวลั ท่ีได้รับ 1) ครดู ีเด่น ประจําปี 2561 จากสํานกั งานศกึ ษาธิการ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 16 มกราคม 2562 2) ครู กศน.ตาํ บลดเี ด่น(ระดับจงั หวดั )ประจาํ ปี 2561 จากสาํ นักงานสง่ เสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 4 มกราคม 2562 3) เป็น ครดู ี ประจาํ ปีพุทธศักราช 2562 จากสํานกั งานส่งเสริมสวัสดกิ ารและบุคลากรทางการศึกษา จังหวดั
122 พระนครศรอี ยุธยา จนกระทั่งได้รับการประเมินพนักงานราชการ (ครู กศน.ตาํ บล) ในปีงบประมาณ 2562 อยูใ่ นระดับดเี ดน่ ได้คะแนนประเมนิ 95 % ขนึ้ ไป เป็นตน้ แบบ จากประเดน็ การพิจารณาข้อท่ี 5 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้ว ได้ 0.5 คะแนน สถานศกึ ษามี กระบวนการส่งเสรมิ และพัฒนาครู การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ตวั บ่งช้ี 2.2 คณุ ภาพของหลกั สตู รสถานศึกษา ผลการดาเนนิ งาน จากการการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/ การให้บริการ ตัวบ่งช้ีท่ี 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า คุณภาพการดําเนินการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา ได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก ซ่ึงมี กระบวนการการดําเนินงานดงั น้ี 1. สถานศกึ ษามีการดาเนนิ งานทเ่ี ปน็ กระบวนการในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งไร ศนู ย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการดําเนินงาน ท่เี ปน็ กระบวนการในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาโดยมีข้นั ตอนดังน้ี 1.1 จดั ทาํ คาํ สงั่ แต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1.1.1 วางแผนการดําเนินงานวิชาการ กําหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับ สถานศึกษาและแนวทางการจัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ให้ สอดคลอ้ งสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น 1.1.2 จัดทําคู่มือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กํากับ ตดิ ตาม ให้คําปรึกษา เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการแนะแนวใหส้ อดคลอ้ งและเป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 1.1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลและการแนะแนวให้เป็นไปตามจุดหมายและแนวทางการดําเนินการของ หลกั สูตร 1.1.4 ประสานความรว่ มมือจากบคุ คล หนว่ ยงาน องคก์ รต่างๆ และชุมชน เพื่อให้การใช้ หลกั สูตรเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและมีคุณภาพ 1.2 จัดประชุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และบันทึกรายงานการประชุมการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาโดยมีการประชุมร่วมกันระหว่างสถานศึกษา ชุมชน และภาคีเครือข่าย รวมทั้ง ปราชญ์ชาวบา้ น และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
123 พุทธศักราช 2551 เป็นฐาน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และส่งเสริมให้ ผู้เรียนรจู้ ักตนเอง มีชีวิตอยใู่ นสถานศึกษา ชุมชน และสังคมอยา่ งมคี วามสุข และหลักสูตรสถานศึกษา ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา และไดร้ บั การอนมุ ตั ิจากผอู้ าํ นวยการสถานศึกษา 1.3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการของกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการและได้จัดทํารายวิชาเลือก วิชาอําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย มีการ ดําเนินการดงั น้ี คือ 1.3.1 วางแผนการพฒั นาหลักสตู ร สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.3.2 พัฒนาหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้หลากหลาย สอดคลอ้ งกับความต้องการของผ้เู รยี น 1.3.3 จดั ทําทาํ เนียบหลกั สูตร ส่อื นวัตกรรมทางการศกึ ษา 1.3.4 นาํ หลักสูตร ส่ือ นวตั กรรมทางการศกึ ษาไปใช้จัดการเรยี นการสอน 1.3.5 ประเมินผลการใช้หลกั สูตร สื่อ นวตั กรรมทางการศึกษา 1.3.6 ปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร สื่อ นวตั กรรมทางการศกึ ษา 1.3.7 สรุป / รายงานผลการใช้หลกั สูตร สอื่ นวัตกรรมทางการศึกษา 1.4 มีการถอดบทเรียนขององค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษาอย่างครบถ้วน และมี คุณภาพตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และความต้องการของผู้เรียน บุคคล หรอื ชมุ ชน โดยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศึกษา ได้แก่ 1.4.1 วิสัยทัศน์ ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบาง บาล คือ กศน.อําเภอบางบาล เป็นองค์กรสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือการมีงานทํา น้อม นําเศรษฐกจิ พอเพยี ง มคี วามสามารถในการเตรยี มพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยยึดหลักคุณธรรม นาํ ความรู้ มงุ่ สกู่ ารอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ 1.4.2 พนั ธกิจของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล คอื - จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา สมรรถนะในการเรียนรู้และการแก้ปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิต และสังคม และ เตรียมความพรอ้ ม ในการเข้าส่ปู ระชาคมอาเซยี นของประชาชนอย่างท่ัวถึง - จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทําเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของ ประชาชน และชุมชนให้สามารถสร้างสรรค์ และแข่งขันด้านอาชีพได้อย่างย่ังยืน และมีคุณธรรม มีทกั ษะในการดํารงชวี ติ บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง - เสริมสร้างศักยภาพ กศน.ตําบล ให้ได้มาตรฐานและเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ให้กับประชาชนอย่างท่ัวถึง
124 - นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิด ประสิทธิภาพตอ่ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิต และการศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทาํ - พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจดั การ กศน.ตาํ บลให้มคี ณุ ภาพ - ประสานภาคเี ครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยเพื่อพัฒนาคุณภาพของประชาชน - ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ระดมทุนทางสังคมและ ทรัพยากรมาสนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั - พัฒนาหลกั สูตรท้องถ่นิ สื่อ กระบวนการเรยี นรู้ และวจิ ัยชน้ั เรยี น - ดาํ เนนิ การประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกบั ระบบและหลกั เกณฑ์ทกี่ าํ หนด - นิเทศติดตาม ประเมินผล และรายงานสรุปผลการดําเนินงาน การจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย - ปฏบิ ัตงิ านอื่นๆตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 1.4.3 อัตลักษณ์ ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบาง บาล คือ ขยนั และประหยดั 1.4.4 เอกลักษณ์ ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบาง บาล คอื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.4.5 โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
125 1.4.6 คาํ อธิบายรายวชิ า และโครงสร้างหลักสูตร วิชา สค33076 อําเภอบางบาลสืบสาน มวยไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จํานวน 3 หนว่ ยกติ 120 ชัว่ โมง - มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดับ มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสําคัญท่ีเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง สามารถนาํ มาปรับใช้ในการดาํ รงชีวติ มาตรฐานท่ี 5.2 มคี วามร้คู วามเข้าใจ เหน็ คณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพอ่ื การอยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันติสุข - ศึกษาและฝึกทักษะประวัติอําเภอบางบาลกับมวยไทย ความรู้เบื้องต้นของมวยไทย พิธี ไหว้ครูมวยไทยและท่าร่ายรํา ความรู้พ้ืนฐานและทักษะด้านมวยไทย ความรู้และทักษะไม้มวยไทย และการสบื สานมวยไทยและทา่ ไม้มวยไทย เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย สามารถปฏิบัติ ท่ามวยไทย และไม้มวยไทยได้ ตลอดจนตระหนักถึงความสําคัญของการสืบสานมวยไทย และ ภาคภูมิใจในการเป็นคนอําเภอบางบาล ท่ีสร้างช่ือเสียงเก่ียวกับมวยไทยในระดับประเทศและ ตา่ งประเทศได้ - การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ บรรยาย ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ ท่ีเก่ียวข้อง พบกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์และสรุปการเรียนในสมุดบันทึกการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (กรต.) และเขียนรายงานเรื่องอําเภอบางบาลสบื สานมวยไทย สาธิตและฝึกปฏิบัติการไหว้ ครู และไม้มวยไทย - การวัดและประเมินผล ประเมินความก้าวหน้าด้วยวิธีการ ซักถาม ตอบคําถาม สังเกต การฝึกมวยไทย ขณะจัดการเรียนรู้ ตรวจสมุดบนั ทึกการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) ตรวจรายงานเร่ือง อําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย ทาํ แบบทดสอบยอ่ ย และประเมนิ ผลรวมด้วยการให้ตอบแบบทดสอบ ความรู้ วิชาอําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย ตอบแบบสอบถามวัดทักษะกับการปฏิบัติท่ามวยไทย และท่าไม้มวยไทย ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติต่อวิชาการสืบสานมวยไทยของอําเภอบางบาล และ ครูสังเกตการสอบภาคปฏบิ ัติมวยไทยและแมไ่ ม้มวยไทย - โครงสร้างหลักสูตรรายวิชา สค33076 อําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย สรปุ สาระสาคญั 1. ประวตั ิของอาํ เภอบางบาลกบั ไม้มวยไทย 1.1 อาํ เภอบางบาลเปน็ ถิน่ กําเนดิ ของนายขนมต้มวีรบุรุษมวยไทยท่ีสร้างช่ือเสียงให้กับ คนไทย ครั้งอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ 2 ให้กับพม่า สามารถชกมวยชนะนักมวยพม่าต้ัง 9 - 10 คน
126 ในคราวเดยี วกนั และไดร้ ับรางวลั จากพระเจ้ามงั ระ เมืองอังวะกษัตริย์พม่าด้วยการปล่อยตัวเป็นอิสระ จากการเป็นเชลย 1.2 ชีวประวัติของนายขนมต้ม นายขนมต้มเกิดในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย วัน อังคาร เดือนยี่ ปีมะเมีย พ.ศ. 2293 ที่ตําบลบ้านกุ่ม อําเภอบางบาล พ่อช่ือนายเกิด แม่ช่ือยางอ่ี มีพส่ี าวช่อื นางเอือ้ ย มคี วามสามารถด้านเชิงมวย 2. ความรเู้ บื้องตน้ ของมวยไทย 2.1 มวยไทย หมายถึง เป็นศิลปะการต่อสู้ปูองกันตัวของชนชาติไทย มาเป็นเวลา หลายศตวรรษเป็นการต่อส้ทู ี่ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแทนอาวุธชนิดอื่น ๆ ได้แก่ มือ 2 , เท้า 2 , เข่า 2 , ศอก 2 และศรี ษะ ซง่ึ รวมกนั เรียกว่า นวอาวุธ 2.2 มวยไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) มวยหลักหรือมวยแข็ง และ (2) มวยเกย้ี วหรอื มวยอ่อน 2.3 มวยไทยมคี วามสาํ คัญต่อบุคคลชุมชนสังคม ประเทศชาติ นานาชาติ คู่ราชบัลลังก์ และช่วยสร้างความมั่นคงของชาติ มวยไทยมีประโยชน์ในด้านพัฒนาการของร่างกาย อารมณ์ พฒั นาการด้านจติ ใจ ช่วยให้เกดิ สวัสดิภาพแก่บุคคลและสังคม ช่วยเพิ่มสมรรถภาพและประสิทธิภาพ ของทหารและตํารวจ รวมถงึ ช่วยสรา้ งเสริมคณุ ธรรม 3. พิธไี หว้ครูมวยไทย ทา่ ร่ายราํ 3.1 การไหว้ครู หมายถึง การทําพิธีไหว้ เพ่ือระลึกถึงพระคุณของบูรพาจารย์มวย ไทยการครอบครูเพ่ือมอบตัวเป็นศิษย์ และไหว้ครูผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาศิลปะมวยไทยให้แก่ศิษย์ และสามารถดูแลศษิ ย์ 3.2 การเตรียมการพิธีไหว้ครูมวยไทยแต่โบราณ ต้องมี พานดอกไม้ ประกอบด้วย ดอกมะเขอื หญา้ แพรก และดอกเข็ม รวมทั้งข้าวตอก ธูปเทยี นดว้ ย 3.3 ขั้นตอนพธิ ไี หว้ครู มวยไทย ก่อนศึกษาผู้เรียนทุกคนต้องผ่านพิธีไหว้ครู การครอบ ครูเพือ่ มอบตวั เปน็ ศิษย์ก่อน 3.4 การไหว้ครูและการร่ายรํามวยไทย เป็นการระลึกถึงคุณของบูรพาจารย์มวยไทย บิดา มารดา ครูผู้ท่ีประสิทธิประสาทวิชาศิลปะมวยไทยให้ เพ่ือเป็นศิริมงคลแก่ตนเองและทําให้มี จติ ใจมนั่ คง ไม่หวนั่ ไหว ควบคุมสตไิ ดด้ ี 4. ความรพู้ ื้นฐานและทักษะดา้ นมวยไทยทีค่ วรรู้ คือ (1) การแต่งกาย (2) การตั้งท่าการ จรดมวย (3) ลักษณะการเคล่ือนที่ (4) ศิลปะการใช้หมัด (5) ศิลปะการใช้เท้า (6) ศิลปะการใช้ เขา่ (7) ศิลปะการใชศ้ อก (8) การตั้งรกุ และ (9) การตัง้ รับ
127 5. ความร้แู ละทักษะไมม้ วยไทย 5.1 ไม้มวยไทย หมายถึง ท่าทางของการผสมผสานการใช้หมัด เท้า เข่า ศอก เพื่อ การรุก หรือรับในการต่อสู้ด้วยศิลปะมวยไทย การใช้ไม้มวยไทยต้องมีความชํานาญในการใช้ทักษะ มวยไทยเบอ้ื งตน้ ตอ้ งผ่านการฝึกการใช้หมัด เท้า เขา่ ศอก มาอยา่ งคล่องแคล่วก่อนจึงจะฝึกการใช้ไม้ มวยผสมผสานทั้งหมัด เท้า เข่า ศอก ศิลปะการปูองกันการโต้ตอบ ศิลปะในการหลบหลีกกันให้ กลมกลนื และตง้ั ชื่อท่ามวย ตามลกั ษณะทา่ ทาง เปน็ หมวดหมู่ และคลอ้ งจองกัน ใหจ้ ดจํางา่ ย 5.2 ไม้มวยไทย แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ (1) กลมวย (2) เชิงมวย (3) แม่ไม้และ ลกู ไม้ 5.3 กลมวย หมายถึง เทคนิคเฉพาะตัวของนักมวย ซึ่งนักมวยแต่ละคนจะมีเทคนิค เฉพาะตวั แตกต่างกันไปเพอ่ื พชิ ติ คูต่ ่อสู้ให้เด็ดขาด 5.4 เชิงมวย หมายถึง วิธีการใช้เท้า เข่า หมัด และศอก เป็นท่าทางหรือแบบแผนใน การรุกและรับแบบต่างๆ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นท่าซ้ํากับ กลมวยไทย แต่ตั้งช่ือพิสดารต่างออกไปอีก ใน สว่ นนีจ้ ะเลอื กเฉาพะลกั ษณะเชิงมวยท่ีแตกต่างท้ังกระบวนท่าการจู่โจม และการปูองกันเมื่อพลาดท่า เพลย่ี งพลํา้ กลับกลายเปน็ ได้เปรียบ 5.5 แม่ไม้มวยไทย หมายถึงท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยที่สําคัญที่สุด อันเป็นพ้ืนฐาน ของการใช้ไม้มวยไทย ซ่ึงผู้ฝึกมวยไทยต้องเรียนรู้ และปฏิบัติให้ได้ก่อนท่ีจะฝึกลูกไม้ถือว่าเป็นการใช้ ไม้มวยไทยท่ีละเอียดขึ้น บูรพาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิได้จัดแบ่งแม่ไม้มวยไทยออกเป็น 15 ไม้ ประกอบด้วย คือ (1) สลับฟันปลา (2) ปักษาแหวกรัง (3) ชวาซัดหอก (4) อิเหนาแทงกริช (5) ยกเขาพระสุเมรุ (6) ตาเถรค้ําฝัก (7) มอญยันหลัก (8) ปักลูกทอย (9) จระเข้ฟาดหาง (10) หัก งวงไอยรา (11) นาคาบิดหาง (12) วิรุฬหกกลับ (13) ดับชวาลา (14) ขุนยักษ์จับลิง และ (15) หกั คอเอราวณั สว่ นลกู ไม้ 15 ท่า 5.6 ลูกไม้มวยไทย หมายถึงท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยท่ีแยกย่อยออกไปจากแม่ไม้ มี ลกั ษณะทล่ี ะเอียดอ่อนมากมายหลายอย่าง ซึ่งผู้ฝึกจะต้องผ่านการฝึกหัดแม่ไม้มวยไทยก่อน จึงจะฝึก ลกู ไม้ให้ไดด้ ี บรู พาจารย์ผูท้ รงคณุ วฒุ ไิ ด้จดั แบ่งลกู ไมม้ วยไทยออกเป็น 15 ไม้ คือ (1) เอราวัณเสยงา (2) บาทาลูบพักตร์ (3) ขุนยักษ์พานาง (4) พระรามน้าวศร (5) ไกรสรข้ามห้วย (6) กวางเหลียว หลัง (7) หิรัญม้วนแผ่นดิน (8) นาคมุดบาดาล (9) หนุมานถวายแหวน (10) ญวนทอดแห (11) ทะแยคา้ํ เสา (12) หงสป์ กี หกั (13) สักพวงมาลยั (14) เถรกวาดลาน และ (15) ฝานลูกบวบ 6. การสืบสานมวยไทยและท่าไม้มวยไทย มีแนวทางสืบสาน ได้แก่ (1) การอนุรักษ์ (2) การฟ้ืนฟูมวยไทย (3) การประยุกต์ (4) การปลุกจิตสํานึก (5) การพัฒนา (6) การถ่ายทอด (7) การส่งเสรมิ สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้เกิดเครือข่าย (8) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ และ (9) การเผยแพรแ่ ลกเปล่ียน
128 ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจประวตั ิอาํ เภอบางบาลกับมวยไทย ความรเู้ บ้ืองต้นของมวยไทย พิธี ไหว้ครูมวยไทย ความรพู้ น้ื ฐานและทกั ษะไม้มวยไทย และการสืบสานมวยไทยและท่าไม้มวยไทยของ อาํ เภอบางบาล 2. สามารถร่ายรํามวยไทยและไม้มวยไทยได้สามารถเขียนรายงานอําเภอบางบาลสืบสาน มวยไทยและเขียนรายงานสมุดบนั ทกึ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) ตามทีค่ รูมอบหมายให้ทําได้ 3. ตระหนักถึงความสําคัญและประโยชน์ของมวยไทยและตระหนักเห็นคุณค่า การสืบสาน มวยไทย ทา่ ไมม้ วยไทย ขอบข่ายเน้ือหา หวั เร่อื งท่ี 1 ประวตั ิอาํ เภอบางบาลกับมวยไทย จาํ นวน 10 ชั่วโมง หวั เร่ืองที่ 2 ความร้เู บ้องตน้ ของมวยไทย จํานวน 5 ชว่ั โมง หัวเร่ืองที่ 3 พิธีไหวค้ รูมวยไทยทา่ รายรํา จํานวน 20 ชั่วโมง หัวเร่อื งที่ 4 ความรู้พนื้ ฐานและทกั ษะด้านมวยไทย จาํ นวน 30 ชว่ั โมง หัวเร่อื งท่ี 5 ความรแู้ ละทกั ษะไมม้ วยไทย จํานวน 40 ชว่ั โมง หวั เรือ่ งที่ 6 การสบื สานมวยไทยและทา่ ไม้มวยไทย จํานวน 15 ชว่ั โมง การจดั ประสบการณ์เรียนรู้ 1. บรรยาย 2. ศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเองจากสือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 3. พบกลมุ่ อภปิ ราย แลกเปล่ียนเรียนรู้ วิเคราะห์และสรปุ การเรียนรู้ 4. บันทกึ การเรยี นร้ลู งในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) 5. เขียนรายงานเรอ่ื งอําเภอบางบาลสบื สานมวยไทย 6. สาธิตการไหวค้ รูและไมม้ วยไทย 7. ฝึกปฏิบตั กิ ารไหว้ครูและไมม้ วยไทย สื่อและแหลง่ เรียนรู้ 1. สื่อเอกสาร ไดแ้ ก่ ใบความรู้ ใบงาน หนังสอื เรยี น แผน่ พบั และ หนังสือพิมพ์ 2. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ได้แก่ ซีดี ทีวี และอนิ เตอร์เนต็ 3. แหล่งเรียนรู้ ไดแ้ ก่ กศน.ตําบลบ้านกุ่ม , อนุสาวรีย์นายขนมต้ม ตําบลบ้านกุ่ม อําเภอ บางบาล อนุสาวรีย์นายขนมต้ม สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา,ห้องสมุดประชาชนอําเภอ บางบาล,ห้องสมุดประชาชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา,สํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยธุ ยา,สถาบนั อยุธยาศึกษา
129 การวัดและประเมนิ ผล 1. ประเมินความก้าวหนา้ จาํ นวน 60 คะแนน ได้แก่ 1.1 การสังเกต 1.2 ตรวจสมุดบนั ทึกการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) จาํ นวน 40 คะแนน 1.2 ตรวจรายงาน เร่อื งอําเภอบาบาลสบื สานมวยไทย จํานวน 20 คะแนน 2. ประเมินผลรวม จํานวน 40 คะแนน ได้แก่ 2.1 ตรวจแบบทดสอบความรู้ จํานวน 20 คะแนน 2.2 สังเกตและบันทึกคะแนนในแบบสังเกตการสอบภาคปฏิบัติมวยไทย แม่ไม้มวย ไทย จํานวน 20 คะแนน 2.3 ตรวจแบบสอบถามวัดทักษะเกีย่ วกบั การปฏิบัตทิ า่ มวยไทยและท่าไม้มวยไทย 2.4 การใช้สอบถามวดั เจตคตติ ่อวิชาอําเภอบางบาลสบื สานมวยไทย 3. นาํ ผลคะแนนทไี่ ดจ้ ากขอ้ 1ข้อ 2 รวมกนั 100 คะแนน มาแปลความหมาย ของคะแนนทไี่ ดอ้ อกมาเปน็ 8 ระดับดงั น้ี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80 - 100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถงึ ดเี ย่ยี ม ได้คะแนนร้อยละ 75 – 79 ใหร้ ะดับ 3.5 หมายถึง ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70 – 74 ให้ระดบั 3 หมายถงึ ดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถึง คอ่ นข้างดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 64 ให้ระดับ 2 หมายถงึ ปานกลาง ได้คะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถงึ พอใช้ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ให้ระดับ 1 หมายถงึ ผ่านเกณฑ์ข้ันต่าํ ทก่ี าํ หนด ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ต่ํากว่าเกณฑ์ขั้นตาํ่ ทีก่ าํ หนด 4. ผลการตรวจใหค้ ะแนน ขอ้ 2.3 และ 2.4 ให้ครผู ู้สอนนํามาเปน็ ขอ้ มูลในการปรับปรุง และพฒั นาหลักสตู รรวมถึงการจดั การความรูข้ องครผู สู้ อน ในภาคเรียนต่อไป 4.1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต) กศน.อําเภอบางบาล ได้ ดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นในปงี บประมาณ 2561 ดังนี้ คอื - โครงการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนเพ่ือสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึง ประสงคใ์ หก้ บั นักศึกษา กศน.อาํ เภอบางบาล - โครงการลูกเสอื กศน.อําเภอบางบาล - โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้ันพื้นฐานให้กับ นักศึกษา กศน.อําเภอบางบาล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258