130 - โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ให้กับนักศึกษา กศน.อําเภอบางบาล ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561 4.2 เกณฑก์ ารจบหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1. ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรียนรู้รายวิชาในแต่ละระดับการศึกษา ตาม โครงสร้างหลักสูตร - ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต วิชาบังคับ 36 หน่วยกิต วิชา เลือก 12 หนว่ ยกิต - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต วิชาบังคับ 40 หน่วยกิต วชิ าเลือก 16 หน่วยกติ - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมน่ อ้ ยกวา่ 76 หนว่ ยกติ วิชาบงั คับ 44 หน่วยกิต วชิ าเลอื ก32 หน่วยกติ 2. ผ่านการประเมินกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (กพช) ไม่นอ้ ยกว่า 200 ชวั่ โมง 3. ผ่านการประเมินคณุ ธรรม ในระดับ ดี ขึ้นไป 4. เขา้ รับการประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 1 ได้คะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบาย กระบวนการดําเนินงานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างเป็นข้ันตอน มีการปฏิบัติอย่าง ชดั เจน สง่ ผลตอ่ ความสาํ เรจ็ ได้ 2. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรอื ประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษา ศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้มีการทบทวน การใช้หลกั สตู รสถานศึกษา โดยมกี ารประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือทบทวนหลักสูตรร่วมกับ บุคลากร กศน. และผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ว่าเน้ือหามีความสอดคล้องกับบริบทของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือไม่ และประเมินจาก แผนการสอน การนิเทศครูผู้สอน พบว่า สื่อการเรียนการสอนยังไม่เหมาะสม และนําข้อมูลท่ีได้มา พฒั นาสื่อใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรสถานศึกษาต่อไป จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 2 ได้คะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบายวิธีการ ท่ีให้ทราบว่าหลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพตามคําอธิบายได้อย่างชัดเจนมีความเป็นเหตุ เป็นผล เชอื่ ถอื ได้
131 3. สถานศึกษามีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่อื นาไปปรบั ปรงุ กระบวนการ ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการทบทวน ติดตาม กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยประชุมชี้แจงกับคณะกรรมการสถานศึกษา เกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีงบประมาณ 2561 เพื่อใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้ทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบันและสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ได้เพิ่มรายวิชาเลือก วิชาอําเภอ บางบาลสืบสานมวยไทย ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน บุคคลสําคัญของท้องถิ่น ศิลปะการปูองกันตัว ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในอําเภอบางบาล และวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ในการศึกษาวิชาอําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย และนํารายวิชาดังกล่าวมาจัดทํา แผนการลงทะเบียน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 และภาค เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 และดําเนินการนิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล โดยใช้แบบนิเทศของ สํานักงาน กศน.จังหวัด พระนครศรีอยุธยาผล พบว่า ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน เนื้อหาตรงตามแผนการสอน และใชส้ ื่อได้อยา่ งเหมาะสม จากประเดน็ การพิจารณาข้อท่ี 3 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบายวิธีการ ทบทวน หรือตดิ ตาม หรือประเมนิ กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรไดอ้ ย่างเป็นข้ันตอนชัดเจน 4. สถานศกึ ษามกี ารดาเนนิ งานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการ ดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบายจุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปูาหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ภารกิจต่อเน่ือง ข้อ 2 ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและ ประเมนิ ผล งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตร ท้องถน่ิ ทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของพื้นที่ และความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ท่ีเอื้อต่อการ เรยี นของกล่มุ เปูาหมายท่ัวไปและกล่มุ เปูาหมายพเิ ศษ
132 สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ 3 จดุ เน้นด้านการการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน แนวทางหลัก ขอ้ 3.1 การพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล 3.1.3 การพฒั นา ปรบั ปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน 1) หลักสูตรมีความยืดหยุ่น ชุมชนท้องถ่ินสามารถออกแบบ หลักสูตรเองได้ สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญและ เปน็ เลศิ เฉพาะดา้ น 8) จาํ นวนหลักสตู รหรือสาขาวิชาทผี่ เู้ รียนสามารถโอนย้ายหรอื ศึกษาตอ่ เนือ่ งเพิม่ ข้นึ จากประเด็นการพิจารณาข้อที่ 4 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน สถานศึกษา อธิบายการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น ของสํานักงาน กศน./นโยบาย จุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยุทธศาสตร์ และเปาู หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปีได้อยา่ งชดั เจน 5. สถานศกึ ษามกี ารพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาทเี่ ป็นตน้ แบบ ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาท่ีเป็นต้นแบบ โดยมีการสํารวจสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน เพ่ือ กําหนดจุดมุ่งหมายให้สอดคล้องกับบริบท สภาพแวดล้อมในอําเภอ คัดเลือกเนื้อหาสาระ ให้ สอดคล้องกับบริบท สภาพแวดล้อม วัย และความสามารถของผู้เรียน ซ่ึงเนื้อหานั้นต้องมีความ น่าเชื่อถอื จากน้ันจงึ จัดเนื้อหาสาระรายวิชา จึงได้จัดทาํ หลักสูตรวิชาเลือก คือ วิชาอําเภอบางบาลสืบ สานมวยไทย ได้สําเร็จได้รับการอนุติหลักสูตรตามข้ันตอนที่ถูกต้อง จึงใช้เพ่ือเป็นต้นแบบ เป็น เอกลักษณ์หลักสูตรสถานศึกษา ที่แสดงถึงความมีคุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการและบริบทของทอ้ งถ่ินได้เปน็ อยา่ งดี จากประเด็นการพจิ ารณาข้อที่ 5 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้ว ได้ 1 คะแนน สถานศึกษามี กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ต้นแบบ
133 ตวั ช้วี ดั ที่ 2.3 คุณภาพส่อื ตามหลักสตู รสถานศึกษา ผลการดาเนินงาน ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานจากการประเมินตนเองของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ตัวบ่งช้ีที่ 2.3 คุณภาพส่ือและหลักสูตรสถานศึกษา ได้ 5.00 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5.00 คะแนน ซง่ึ อยู่ในคะแนนระดับคุณภาพ ดมี าก 1 .สถานศึกษามีการดาเนินงานท่ีเปน็ กระบวนการในการจดั หาหรอื จดั ทาสื่อ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้มีการวางแผนการ จัดหาหรือจัดทําสื่อโดยมีการวางแผนการดําเนินตรวจสอบจํานวนวิชาท่ีลงทะเบียน มีการวิเคราะห์ ผู้เรียน และวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล พร้อมทั้งสํารวจสื่อแบบเรียนท่ีมีอยู่ใน กศน.ตําบล และใน ทะเบียนคุมสื่อของแต่ละตําบล รวมท้ังมีการสอบถามความต้องการในการใช้ส่ือทางด้านต่างๆ โดยมี ผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันพิจารณา คัดเลือกสื่อเพ่ือทําการจัดซื้อหรือจัดจ้างทําสื่อ ส่ิงพิมพ์ สื่อทางด้านอิเล็คทรอนิค ส่ือภูมิปัญญาท้องถ่ิน และส่ือทางด้านแหล่งเรียนรู้ ได้ทําการ ประกาศร้านท่ผี ลิตส่ือ เสนอส่ือที่เหมาะสมและเสนอราคาพร้อมตัวอย่างสื่อการเรียนการสอน มีการ ร่วมประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดหาส่ือการเรียนการสอน ประกอบด้วย ผู้อํานวยศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล คณะกรรมการสถานศึกษาครูผู้สอน และ องคก์ รนักศึกษา พจิ ารณาคดั เลือกส่ือการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกส่ือ และกลัน่ กรองสื่อท่ีเหมาะสม เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน ดําเนินการจัดซ้ือและจัดจ้างส่ือตามจํานวน ตามระเบียบงานพัสดุ พ.ศ.2560 โดยพิจารณาคุณภาพของส่ือจากส่ือท่ีผ่านการพิจารณาจาก สาํ นักงาน กศน.เทา่ น้นั ครผู ้สู อนนาํ สอื่ ไปใช้ประกอบการเรียนการสอน จากประเดน็ การพิจารณาข้อ 1 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแลว้ ได้ 1 คะแนน คือ ศนู ย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล สามารถอธบิ ายกระบวนการดําเนินงานในการ จดั หาหรอื จัดทําส่ือได้อย่างเป็นขั้นตอน มีการปฏิบตั อิ ย่างชัดเจนส่งผลต่อความสําเรจ็ ได้ 2. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรอื ติดตาม หรือประเมนิ สื่อตามหลกั สตู รสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้มีการติดตาม กระบวนกระจายสื่อไปยังผู้เรียน โดยการนิเทศ ติดตาม สอบถามและทําการสังเกตการณ์ใช้ส่ือ สภาพปัญหาความล่าช้าในการกระจายสื่อจึงได้นํามาปรับปรุงกระบวนการจัดหาโดยการกําหนด ระยะเวลาการส่งมอบสื่อ และ กศน.อําเภอบางบาล ได้มีการจัดทําส่ือหนังสือเรียนหลักสูตรวิชา อําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย เพ่ือให้ส่ือท่ีจัดซ้ือและจัดหาตรงตามความต้องการของหลักสูตร สถานศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศการเรียนการสอน และคําส่ังแต่งตั้งประเมิน การใช้ส่ือการเรียนการสอน มีคณะกรรมจัดทําแบบประเมินความพึงพอใจในการใช้ส่ือการเรียน
134 การสอนจากครูผู้สอน และนักศึกษา กศน. พร้อมนําข้อมูลผลการนิเทศการเรียนการสอนและผลการ ประเมินการใชส้ ่อื จากครผู ้สู อน และนกั ศึกษา และสรปุ ผลเพือ่ เสนอตอ่ ทีป่ ระชมุ จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อ 2 ตามเกณฑ์ใหค้ ะแนนแลว้ ได้ 1 คะแนน คือ ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล สามารถอธบิ ายวธิ ีการท่ีทําใหท้ ราบวา่ ส่อื ตาม หลักสูตรสถานศกึ ษามีคณุ ภาพตามคาํ อธิบายได้อยา่ งชดั เจนมีความเป็นเหตุเปน็ ผล เชื่อถอื ได้ 3. สถานศกึ ษามีการทบทวน หรอื ติดตาม หรอื ประเมินกระบวนการจัดหา หรือจดั ทาสือ่ ตาม หลกั สูตรสถานศึกษา เพื่อนาไปปรบั ปรุงกระบวนการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล มกี ารนาํ สรปุ ผลการ นิเทศจากฝาุ ยนเิ ทศการเรยี นการสอนและการประเมินความพงึ พอใจการใชส้ ื่อจากนักศกึ ษา เขา้ ที่ ประชุม ประกอบดว้ ยผ้อู ํานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอ บางบาล คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครผู ้สู อน และองค์กรนักศึกษา เพื่อช้ีแจงสรุปผลการใชส้ ื่อการ เรียนการสอนเพือ่ ร่วมกนั พิจารณาปรับปรงุ แก้ไข ในสว่ นท่ีไมต่ ้องปรบั ปรงุ แก้ไขเมื่อพบสภาพปญั หา ทาํ การปรบั ปรุงกระบวนการจัดหาสื่อ ด้วยการกําหนดระยะเวลาในการสง่ มอบสือ่ จากสาํ นักพิมพ์ และผ้รู ับจ้างพิมพ์ได้อยา่ งรวดเรว็ จากประเด็นการพิจารณาข้อ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล สามารถอธิบายวิธีการทบทวน หรือติดตาม หรอื ประเมิน กระบวนการจดั หาหรอื จดั ทาํ สื่อไดอ้ ย่างเป็นข้ันตอนชดั เจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่สี อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน./ นโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศกึ ษาธิการ / ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. ภารกิจต่อเน่ือง ข้อ 2 ด้านหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนเรียนรู้การวัดและ การประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ ท่ีเอ้ือต่อการ เรยี นรขู้ องผเู้ รียนกล่มุ เปาู หมายทัว่ ไปและกลมุ่ เปูาหมายพิเศษ สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ 2 ด้านการผลติ พัฒนากาํ ลังคนและสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั แนวทางหลกั 2.1 การยกระดบั มาตรฐาน พฒั นาหลกั สตู ร สอ่ื และครดู ้านภาษา 2.1.1 ยกระดับวชิ าภาษาอังกฤษรองรบั Thailand 4.0 ในสถานศกึ ษา สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานอย่างต่อเนือ่ ง และสังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา โดยจดั ทํา Eco English Vocational ซึง่ เปน็ Application ภาษาอังกฤษ สาํ หรบั
135 นักเรียนอาชวี ศึกษา และการอบรมโดย Boot Camp ตลอดจนพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษของ ประชาชนในรปู แบบต่างๆ อาทิ หลักสูตรภาษาองั กฤษระยะส้นั Application และสื่อตา่ งๆ ท่ี หลากหลาย สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ข้อที่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน แนวทางหลัก ในด้านการพัฒนาหลักสูตร ปรับปรุงหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล ได้มีการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การพัฒนาหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น เช่น การพัฒนา หนังสือเรียน เพ่ือการเรียนรู้ในห้องเรียน และ การพัฒนาส่ือ คู่มือ Application Website เพ่ือ ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่ือ ตําราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถงึ แหล่งเรียนรไู้ ด้โดยไม่จํากัดเวลาและสถานที่ การส่งเสริมการสนับสนุน ผลิต สื่อ ตํารา ส่ิงพิมพ์ สื่อวีดีทัศน์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ผ่านการรับรองมาตรฐาน มีการบูรณาการด้านสื่อและองคค์ วามรู้ พฒั นาคลงั ขอ้ มลู สือ่ และนวัตกรรมการเรียนรู้ จากประเด็นการพิจารณาข้อ 4 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแลว้ ได้ 1 คะแนน คือ ศนู ย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล สามารถอธิบายการดาํ เนนิ งานท่สี อดคล้องกบั นโยบายและจดุ เน้นของสํานกั งาน กศน./นโยบายจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ/ ยุทธศาสตร์และ เปูาหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ไดอ้ ย่างชัดเจน 5. สถานศกึ ษามกี ารจดั หาหรือจัดทาสอื่ ตามหลักสูตรสถานศึกษาทเ่ี ปน็ ตน้ แบบ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้ ครูจัดทําสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา สําหรับนําไปใช้ในกระบวนการเรียนรู้ มีการจัดทําหลักสูตร รายวิชาเลือก วิชาอําเภอบางบาลสืบสานมวยไทย เพื่อนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนนักศึกษา กศน. มีการยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยพัฒนาหลักสูตรใน รูปแบบการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของส่ือและนวัตกรรม โดยวิธีการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ Google Classroom การทําข้อสอบออนไลน์ รวมทั้งนําสื่อ เทคโนโลยี Smart Phone นํามาสืบค้นหาความรู้ และมีการส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอน แบบสะเตม็ ศกึ ษา สาํ หรับผู้เรยี นและประชาชนโดยมกี ารบรู ณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ควบคู่กับ เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันพัฒนาทักษะชีวิต สู่การประกอบอาชพี จากประเด็นการพจิ ารณาขอ้ 5 ตามเกณฑ์ใหค้ ะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ ศนู ย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล มีกระบวนการจัดหาหรือจดั ทาํ สอื่ ตามหลกั สตู ร สถานศกึ ษาท่เี ปน็ ต้นแบบ
136 ตวั บ่งชี้ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา ผลการดาเนินงาน ผลการดําเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีผลการประเมินตนองภายในสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ตัวชว้ี ัดท่ี 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้คะแนน 4 คะแนน จาก คะแนนเตม็ 5 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี 1. ครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ใี หค้ วามสาคญั กับความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผู้เรยี นอยา่ งไร ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล ครูมกี ารสาํ รวจผู้เรียน รายบคุ คล วเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบุคคล ตามความถนัด ตามอาชพี ของผ้เู รียน เปน็ ขอ้ มูลในดา้ น ส่วนตัว ข้อมลู ต้องการเรยี นรู้ และข้อมูลความรู้และประสบการณ์ ตามสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ของบุคคล โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์เชงิ ลึก ในการเก็บขอ้ มูลและนาํ ข้อมลู ท่ีได้มาวเิ คราะหห์ าความ ต้องการของผู้เรียน หลงั จากนั้นได้จดั ทําโปรแกรมการเรยี นร้ใู ห้สอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รียน เชน่ โปรแกรมการศึกษาต่อ โปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และโปรแกรมการประกอบอาชีพ ซงึ่ ผลจากาการรวบรวมข้อมูลของผู้เรยี น พบวา่ ผู้เรียนต้องการเรยี นร้ใู นแผนโปรแกรมการศกึ ษาตอ่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล จึงไดด้ ําเนนิ การจดั ทําแผนการ จัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการแบบสหรายวิชา คอื ในแตล่ ะวิชาเรานาํ เน้ือหาการเรยี นรมู้ าทําแผน ร่วมกบั เน้ือหาอีกรายวชิ าหน่ึงได้ โดยใหค้ รู อาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาํ บล และครู ศรช. ทุกคน ร่วมกนั ออกแบบการจดั การะบวนการเรยี นรู้ และทําแผนการจดั การเรียนรู้ โดยเร่ิมจากการวเิ คราะห์ สภาพปัญหาของชมุ ชน วเิ คราะหค์ วามยากง่ายของรายวิชาตามโครงสร้างหลกั สตู รแตล่ ะรายวิชาท่มี ี ลงทะเบยี นในภาคเรียนน้นั เพ่อื ใชใ้ นการจัดกระบวนการเรียนร้เู ป็นรายสัปดาห์ โดยมกี ารใชส้ ื่อ ใบ ความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน มีวิธีการวัดผล ประเมนิ ผลในรูปแบบ ทห่ี ลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การทําแบบทดสอบ การทาํ ข้อสอบ เป็น ตน้ ซง่ึ สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรยี น โดยการนาํ ผลจากการจดั กระบวนการ เรยี นรู้ สภาพปญั หาทพ่ี บ และข้อเสนอแนะที่พบ จากกระบวนการจดั การเรยี นการสอนบันทกึ ลงใน แบบบนั ทกึ หลงั สอน เสนอต่อนายทะเบียนและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาต่อไป จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 1 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ได้ 1 คะแนน ครูสามารถ อธบิ ายกระบวนการดําเนนิ การออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ท่ีให้ ความสําคญั กบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผเู้ รยี นได้อย่างเป็นขน้ั ตอน ชัดเจน
137 2. ครูการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐาน ตัวชีว้ ดั ของรายวชิ าหรอื หน่วยการเรียนรู้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาล มอบหมายให้ครูนํา แผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้กับผูเ้ รยี น ครไู ดน้ าํ เคร่ืองมือในการวัดผลประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รยี น เช่น รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น แบบบันทกึ หลังสอน นวัตกรรม การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค เพ่ือวัดความรู้ ความเขา้ ใจ และความสามารถของผ้เู รยี น โดยสอดคล้องกับตัวชีว้ ดั ตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยการ ประเมนิ จาก การสงั เกต สัมภาษณ์ สอบถาม ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น ผลการสอบ ระหวา่ งภาค และผลการสอบปลายภาค โดยครนู าํ ผลการจัดกระบวนการเรยี นรู้ในรายสัปดาห์ นํา สภาพปัญหาทพี่ บและแนวทางการแก้ไข ข้อเสนอแนะ และจดั ทําวิจยั ชน้ั เรยี น เสนอตอ่ นายทะเบยี น และผู้บรหิ ารสถานศึกษาต่อไป จากประเด็นการพิจารณา ขอ้ 2 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ได้ 1 คะแนน ครูอธิบายวิธีการ วัดและประเมินผลผู้เรียนท่ีไม่สอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานและ ตวั ชี้วดั ของรายวชิ าหรอื หนว่ ยการเรียนรู้ 3. ครูมีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวชิ าหรอื หน่วยการเรียนรู้ เพอ่ื นาไปปรบั ปรงุ กระบวนการอยา่ งไร ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล ให้ครูผู้สอนได้มกี าร ติดตาม ทบทวนหรือประเมนิ กระบวนการออกแบบและจดั กระบวนการเรยี นรูร้ ายวิชาหรอื หน่วยการ เรยี นรู้ โดยมีการประชุมครผู ู้สอน มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการการนเิ ทศตดิ ตามผล มีการสรา้ ง เคร่อื งมอื ในการนเิ ทศกระบวนการจดั การเรยี นรู้ มีการจดั ทําข้อมูลสารสนเทศของผูเ้ รียนรายบุคคล ดําเนินการนเิ ทศโดยผนู้ ิเทศตามเคร่ืองมือทส่ี ร้างขน้ึ โดยใช้แบบการสังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรยี น สอบถาม สัมภาษณ์ โดยผ้นู ิเทศเปน็ ผู้ใหค้ าํ แนะนาํ ชี้แนะ ส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรียน การสอนใหเ้ ปน็ ไปตามรูปแบบแผนการสอนที่จัดทําไว้ มีการสรปุ รายงานผลจากบนั ทึกหลงั สอน สรปุ การนิเทศติดตามเสนอต่อนายทะเบียนและผู้บริหารได้รบั ทราบ มีการประชุมทบทวนการดาํ เนินงาน การออกแบบการจดั การเรียนรู้ รวมถงึ ปัญหาจากากรใช้แผนการจดั การเรียนรแู้ ละรูปแบบการจดั กิจกรรมเพื่อหาแนวทางมาพัฒนาปรบั ปรุง จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 3 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ได้ 0.5 คะแนน ครูสามารถ อธบิ ายวิธีการทบทวนหรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ รายวชิ าหรือหนว่ ยการเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งเป็นข้ันตอนแต่ไม่ชดั เจน
138 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน./นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ความสอดคล้องของนโยบายและจุดเน้นสานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน กศน. ปงี บประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 3.2 ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งความต้องการของประชาชนและชุมชน ในรูปแบบท่ีหลากหลายให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะหไ์ ด้ ตดั สนิ ใจภายใต้ข้อมลู ท่ถี กู ตอ้ ง 3.3 พฒั นาศักยภาพคนด้านทักษะและความเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู้ ละทักษะเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ Social Media และ Application ต่างๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอน 3.8 พัฒนาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน โดยใช้ กระบวนการ “สะเตม็ ศกึ ษา” (STEM Education) 3.11 สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามา บริหารจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเปูาหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสําหรับ มหาชน (Massive Open Online Courser : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.2 พฒั นารูปแบบการจดั การศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนําไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับ กล่มุ เปาู หมายไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.5 พฒั นาหลกั สูตรการจดั การศึกษาอาชพี ระยะสน้ั ให้มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกบั บริบทของพ้นื ที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผูร้ ับบริการ สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. ดา้ นหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้การสัดและประเมินผล งาน บรกิ ารทางวิชาการ และการประกันคุณภาพสถานศึกษา
139 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตร ทอ้ งถิ่นทส่ี อดคล้องกับสภาพบรบิ ทของพ้นื ท่ี และความต้องการของกลมุ่ เปูาหมายและชุมชน แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัยและสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ข้อ 2.3 สถานศึกษาทุกระดับ การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รไดอ้ ย่างมคี ุณภาพและมาตรฐาน ข้อ 3 การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 เพ่ิมขึ้น (6) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีจัด กระบวนการเรยี นรูเ้ ชงิ บรู ณาการเพ่อื พัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์และความคิดสรา้ งสรรค์เพ่ิมเติม จากประเดน็ การพิจารณา ขอ้ 4 ตามเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ได้ 1 คะแนน สถานศึกษาอธิบาย การดําเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบายจุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ / ยทุ ธศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ไดอ้ ยา่ งชัดเจน 5. ครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วย การเรียนรอู้ ย่างไรทเี่ ป็นต้นแบบ ครูผูส้ อนการศึกษาขั้นพ้นื ฐานมีการออกแบบและจัดกระบวนการเรยี นรรู้ ายวิชาหรือหน่วย การเรียนรู้ทเ่ี ปน็ ตน้ แบบ ในการจดั กิจกรรมแบบสหรายวชิ า คอื การนําเนอ้ื หารายวิชาทีส่ ามารถสอน รวมกนั ไดน้ าํ มาจดั ทําแผนการเรยี นรู้เดยี วกนั การออกแบบการจัดการเรยี นรูใ้ นรายวิชาอําเภอบาง บาลสบื สานมวยไทย มกี ารจัดทาํ ปฏิทนิ การสอน มหี ลกั สตู รการเรียนรู้ มีแผนการเรียนรรู้ ายบคุ คล ท่ี จดั ทาํ โดยการนาํ เน้ือหาของวิชาที่ลงทะเบยี นในภาคเรยี นนี้ นํามาหาสภาพปญั หา วิเคราะหค์ วามยาก งา่ ยของหลักสูตร และได้จดั ทําหน่วยการเรียนรู้ในระดบั ม.ปลาย โดยการนาํ เน้ือหาในรายวิชา อาํ เภอบางบาลสืบสานมวยไทยเขา้ สอดแทรกไวใ้ นรายวชิ าอ่ืนด้วย เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและ ตัวชว้ี ดั ในแตล่ ะรายวชิ า และจดั ทาํ ปฏิทินการพบกลุ่ม แผนการเรียนรรู้ ายภาค และแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 5 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ได้ 0.5 คะแนน ครูการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้รายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ท่ี เป็นวิธีปฏิบัตทิ ่ีดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation)
140 ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ผลการดาเนนิ งานของ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล มผี ลการประเมนิ ตนเอง ภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบ้ ริการ ตวั บ่งชที้ ี่ 2.5 คุณภาพ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ได้คะแนน 4.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดีมาก 1. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่ีเป็นกระบวนการในการส่งเสริม หรือพัฒนาวิทยากรการศึกษา ตอ่ เน่อื งให้มีคณุ ภาพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล มกี ารดําเนินงานทเ่ี ป็น กระบวนการ ในการส่งเสริมหรือพัฒนาวิทยากร การศกึ ษาต่อเน่อื งใหม้ ีคณุ ภาพ โดยดําเนนิ การสรร หา คดั เลอื กวิทยากร ที่มปี ระสบการณ์ วิทยากรวชิ าชีพ และวิทยากรอบรมการศึกษาต่อเนื่อง พิจารณาจากผทู้ รงคุณวุฒิ ผูม้ ีความรู้ ความเช่ยี วชาญ มีประสบการณ์ในเร่ืองที่ฝึกอบรม มคี วามสามารถ ในการถ่ายทอด การนาํ เสนอ การสอื่ สารใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม มีความรู้ มที ักษะ และบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรตามท่สี ถานศกึ ษากําหนด โดยมีการประเมนิ กระบวนการ เรยี น การสอนของวทิ ยากร หลังจากสนิ้ สุดการเรยี นการสอนแต่ละหลกั สูตร/โครงการ ตามแบบ ประเมนิ โครงการ ทกุ โครงการ จากประเดน็ การพจิ ารณา ข้อ 1 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนน แล้วได้ 1 คะแนน คอื สถานศกึ ษา สามารถอธบิ ายกระบวนการในการสง่ เสรมิ หรือพฒั นาวิทยากร การศึกษาต่อเน่ืองไดอ้ ย่างเป็นข้นั ตอน และชัดเจน 2. สถานศึกษา ทราบได้อยา่ งไรว่า วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งมีความรูต้ ามท่ีได้รับการสง่ เสริม หรอื พัฒนา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาล ได้มีการตดิ ตามวิทยากร การศึกษาต่อเน่อื ง โดยการสอบถามตั้งประเดน็ คาํ ถาม ใหว้ ทิ ยากรเป็นผตู้ อบว่า วทิ ยากรนาํ ความรู้ท่ี ไดร้ ับจากการพัฒนาทปี่ ระชมุ ชี้แจงในเรื่องของการพัฒนาให้วิทยากรมีความรู้ ความเข้าใจ อย่างมี คณุ ภาพในการเปน็ วิทยากร การศกึ ษาตอ่ เน่ืองและนําไปใชป้ ระโยชน์ในการเปน็ วทิ ยากรการศึกษา ต่อเนอ่ื งหรอื เป็นวทิ ยากรจากหน่วยงานอน่ื ได้ จากประเด็นการพิจารณา ขอ้ 2 ตามเกณฑ์ให้คะแนน แล้วได้ 1 คะแนน คือสถานศกึ ษา สามารถอธบิ าย วธิ กี ารท่ีทําใหท้ ราบวา่ วิทยากรการศกึ ษาตอ่ เนื่องมคี วามรู้ตามที่ได้รบั การสง่ เสริมหรอื พฒั นาได้อย่างชดั เจน มีความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลและเช่ือถือได้
141 3. สถานศึกษา มีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการในการส่งเสริมหรือพัฒนา วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่อื งให้มคี ุณภาพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล ได้มีการนิเทศ ติดตาม วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง โดยใช้แบบประเมนิ การสังเกต ซกั ถาม ดูจากชิ้นงาน/ผลงาน ภาพถ่าย รายงานสรปุ รูปเล่มงานการศึกษาต่อเน่อื ง และทบทวนในการพัฒนาวทิ ยากร โดยการให้วิทยากรถอด บทเรียนจากท่ีไดเ้ ข้ารับการประชมุ ช้ีแจงในเรื่องการเปน็ วทิ ยากร การศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบถึง วัตถปุ ระสงค์ ของการเป็นวทิ ยากร การศึกษาต่อเน่ืองท่ีมคี ุณภาพ จากประเด็นการพจิ ารณา ข้อ 3 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนน แล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศกึ ษา สามารถอธิบาย วธิ กี ารทบทวน ตดิ ตาม หรือประเมิน กระบวนการในการส่งเสริม หรือพัฒนาวทิ ยากร การศึกษาต่อเนือ่ ง ได้อยา่ งเป็นขนั้ ตอนและต่อเน่อื ง 4. สถานศึกษา มีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ สานักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2562 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตาม มาตรฐานตําแหน่งใหต้ รงกบั สายงาน ความชาํ นาญและความต้องของบุคลากร ภารกิจต่อเน่ือง ข้อ 6 ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พฒั นาบคุ ลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มรสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่างการดํารงตําแหน่งเพ่ือให้มีเจตนคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและ บรหิ ารจัดการการดาํ เนนิ งานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ ข้าราชการในสงั กดั พฒั นาตนเองเพอ่ื เล่ือนตําแหนง่ หรือเล่อื นวิทยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะ เชิงประจกั ษ์ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการ เรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวิตของประชาชน
142 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมท้ัง ภาคีเครือข่ายท้ังในและต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการทาํ งานร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอยา่ งต่อเน่ือง สอดคลอ้ งกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ข้อที่ 2.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม มาตรฐาน (1) รอ้ ยละของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาทกุ ระดบั /ประเภทการศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาตามมาตรฐานวิชาชพี และสามารถปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพเพ่ิมข้นึ (2) ร้อยละของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและยุทธศาสตร์ของหนว่ ยงานเพิม่ ขนึ้ จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 4 ตามเกณฑ์การให้คะแนนได้ 1 คะแนน สถานศึกษาอธิบาย การดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน./นโยบายจุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ได้อยา่ งชัดเจน 5. สถานศึกษา มีการส่งเสริมหรอื พัฒนาวทิ ยากรการศึกษาต่อเนือ่ งอย่างไร ท่เี ป็นต้นแบบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการพัฒนาวิทยากร การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ท่เี ปน็ ปราชญช์ าวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน จัดเปน็ ตน้ แบบ จาํ นวน 3 คน ได้แก่ 1. นายบรรเจษฎ์ รําพึงจติ หมู่ 7 ตําบลกบเจา อาํ เภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ วิทยากร หลักสูตรเกษตรทฤษฎีใหม่ ส่งผลใหป้ จั จุบนั เป็นศนู ยเ์ พ่ิมประสิทธภิ าพด้านการเกษตร (ศพก.กบเจา) และเป็นศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจํา ตําบลกบเจา อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มีหน่วยงานของ ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ให้ความสนใจมาเย่ียมชม ศึกษาดูงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ นายบรรเจษฎ์ ราํ พึงจติ ปราชญช์ มุ ชน ด้านเกษตรทฤษฎใี หม่
143 2. นางทองแท้ หาอังกาบ หมู่ 1 ตําบลบางชะนี อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นผมู้ ีความรู้ดา้ นปราชญช์ าวบา้ น ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ท่ีเป็นต้นแบบ การปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ของสถานศึกษา เป็นวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ในการอบรมให้ความรู้ประชาชน ทวั่ ไป มีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ประสานให้เป็นวิทยากร ในการให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ ให้ประชาชน มีการใช้ส่ือเทคโนโลยีทาง Line , facebook ใช้เป็นช่องทางในการเผยแพร่ และมี เครือข่ายมาศึกษาดูงาน นางทองแท้ หาองั กาบ ปราชญช์ าวบ้าน ดา้ นเกษตรทฤษฎใี หม่ 3. นางสาวเกศณิ ี คงเจริญสขุ หมู่ 6 ตาํ บลกบเจา อาํ เภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปน็ ปราชญช์ าวบ้าน ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ที่เป็นตน้ แบบการปฏบิ ัติทดี่ ี (Best Practice) ของสถานศึกษา เป็นวิทยากร ให้ความรู้การศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่มสนใจหลักสูตรระยะส้ัน จํานวน 3, 5 ชั่วโมง และการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะส้ัน จํานวน 40 ช่ัวโมง ในการทํา ผลิตภัณฑ์จากเชือกมัดฟางในรูปแบบใหม่ๆ ที่หลากหลาย มีหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ประสานให้เปน็ วิทยากร ใหค้ วามรู้และฝึกปฏบิ ัตใิ ห้ประชาชนกลมุ่ เปูาหมายทงั้ ในพ้นื ท่ี และนอกพ้ืนท่ี อําเภอบางบาล มีการใช้ส่ือเทคโนโลยีทาง Line , facebook และYoutube ใช้เป็นช่องทางในการ เผยแพร่ และมเี ครือข่ายมาศกึ ษาดงู านท่กี ลุ่มอย่างต่อเนื่อง นางสาวเกศิณี คงเจริญสุข เปน็ ปราชญ์ชาวบา้ น ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ดา้ นศลิ ปะ ประดษิ ฐ์
144 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีการพัฒนาวิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ทีเ่ ป็นปราชญ์ชาวบ้าน ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน จัดเป็นตวั อยา่ งท่ีดี จํานวน 5 คน ได้แก่ 1. นางชจู ิตร์ สะมะโน หมู่ 2 ตําบลมหาพราหมณ์ อาํ เภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เปน็ ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นศลิ ปะประดิษฐ์ เป็นวิทยากร ให้ความรู้การศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตรระยะส้นั จํานวน 3, 5 ชั่วโมง และการศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะ ส้ัน จํานวน 40 ชั่วโมง การทําศิลปะประดิษฐ์ หลักสูตรการทํากระเป๋าผ้าด้นมือ พวงกุญแจผ้าญ่ีปุน เยบ็ มอื ยาดมสมุนไพร นางชจู ติ ร์ สะมะโน ปราชญ์ชาวบา้ น ดา้ นศลิ ปะ 2. นายสําอาง พปวรงะศดิริษิ ฐ์หมู่ 1 ตําบลวัดยม อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เป็นวิทยากรให้ความรู้การศึกษาต่อเน่ืองรูปแบบกลุ่มสนใจ จาํ นวน 5 ชวั่ โมง และหลกั สตู รระยะส้ัน การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ จํานวน 40 ชั่วโมง หลักสูตรการสานฝาชหี วาย และหลักสูตรการสานตะกร้าหวาย นายสาํ อาง พวงศิริ เป็นปราชญช์ าวบา้ น ภมู ปิ ัญญา
145 3. นายจําเรญิ ไชยสวน หมู่ 2 ตําบลทางช้าง อําเภอบางบาล จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา เป็นผู้มีความรู้ด้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ด้านเกษตรธรรมชาติและการขยายพันธ์ุพืช เป็นวิทยากรของ สถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ในการให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติ ให้กับประชาชนทั่วไป เร่ืองเกษตรธรรมชาติ เกษตรทฤษฎีใหม่ การทําปุ๋ยน้ําชีวภาพ การทําสารไล่แมลงจากสมุนไพร มีการ ใชส้ ื่อเทคโนโลยที าง Line , facebook ใช้เปน็ ช่องทางในการเผยแพร่ นายจาํ เรญิ ไชยสวน ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรธรรมชาติและการขยายพันธพ์ุ ืช 4. นายประสงค์ ไกรสิงห์ หมู่ 2 ตาํ บลบา้ นคลัง อาํ เภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยาเปน็ ผู้มคี วามรูด้ ้าน ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ นเกษตรธรรมชาตแิ ละแกะสลักผักและ ผลไม้ เป็นวทิ ยากรของสถานศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง เศรษฐกิจพอเพยี ง มหี นว่ ยงานราชการและ หน่วยงานเอกชน ประสานใหเ้ ปน็ วิทยากร ในการใหค้ วามรู้ ฝกึ ปฏิบตั ิ ใหก้ ับประชาชนท่วั ไป เรอ่ื ง เกษตรธรรมชาติ เกษตรทฤษฎใี หม่ การทําปุ๋ยนํ้าชีวภาพ การทําสารไล่แมลงจากสมุนไพร มกี ารใชส้ อื่ เทคโนโลยีทาง Line , facebook ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในการเผยแพร่ และมเี ครือข่าย มาศกึ ษาดงู านท่ี ศนู ย์ฯ อยา่ งต่อเน่ือง นายประสงค์ ไกรสิงห์ ปราชญช์ าวบ้าน ด้านเกษตรธรรมชาติและแกะสลักผักและ
146 5. นายเกริก โชติสุวรรณ หมู่ 4 ตาํ บลบ้านคลัง อาํ เภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ปราชญ์ชาวบา้ น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นวิทยากร การศึกษาต่อเน่ือง โครงการอบรมใหค้ วามรูโ้ ลกดิจทิ ัลกับผู้สงู อายุและประชาชน , โครงการอบรมหลักสูตรการเข้าใจ Digital Literacy เพ่ือการพัฒนาเครือขา่ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล สู่ชมุ ชนในระดับตาํ บล การใช้ส่อื เทคโนโลยี Application Line, facebook และ Youtube ใช้เปน็ ช่องทางในการเผยแพร่ และการเรียนการสอน ดา้ นสอื่ เทคโนโลยี นายเกริก โชตสิ ุวรรณ เป็นผมู้ ีความรู้ ด้านเทคโนโลยี จากประเด็นการพิจสาารรณสนาเทขศอ้ 5 ตามเกณฑใ์ หค้ ะแนน แลว้ ได้ 0.5 คะแนน คือ สถานศึกษา มีกระบวนการส่งเสรมิ หรือพัฒนาวิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง ทเ่ี ปน็ วิธีวิธีปฏิบัตทิ ด่ี ี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation)
147 ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2.6 คุณภาพหลกั สูตรและสอ่ื การศกึ ษาต่อเนื่อง ผลการดาเนินงาน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล มผี ลการประเมินภายใน สถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การการศึกษา/การใหบ้ รกิ าร ตัวบ่งชีท้ ่ี 2.6 คุณภาพ หลกั สูตรและส่ือการศึกษาต่อเน่อื ง ได้คะแนน 5 คะแนน จากคะแนนดบิ 5 คะแนน อยู่ในระดบั คณุ ภาพดีมาก การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ เจตคติ และมที ักษะในอาชพี ตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร ประกอบด้วย ทักษะเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงาน การ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศพ้ืนฐาน การคิดแกป้ ัญหา การส่ือสาร มคี ณุ ลักษณะที่สําคัญในเรอื่ งความ ซอ่ื สัตย์สจุ ริต ความคดิ เชงิ บวก ความมุง่ มัน่ ในการทํางาน การทาํ งานรว่ มกบั ผู้อน่ื การรักษา ส่ิงแวดลอ้ ม และการคํานึงถงึ ประโยชนส์ ่วนรวม มากวา่ สว่ นตน การจดั กระบวนการเรยี นรู้เน้นการ ปฏิบตั จิ รงิ และการเรยี นรู้จากวทิ ยากรหรอื ผรู้ ู้ทป่ี ระกอบอาชพี นั้น ในปีงบประมาณ 2562 สถานศึกษาดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง ตามนโยบาย ของสํานักงาน กศน. ซึ่งประกอบดว้ ย การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ, การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต, การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั นี้ 1.สถานศกึ ษามกี ระบวนการในการจดั หา/จัดทา/พฒั นาหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง และจดั ทาสอื่ ประกอบการเรียนการสอนโดยมขี ้นั ตอนการในการดาเนนิ งานดังน้ี 1. ศกึ ษาสภาพบรบิ ทของพืน้ ท่ี 16 ตําบลและเก็บรวบรวมข้อมูล 2. สาํ รวจตามความต้องการเรียนรูข้ องผู้สนใจใน การจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ /การ จดั การศึกษาพฒั นาสังคมและชมุ ชน/การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความ ต้องการดา้ นวิชาชีพรูปแบบชั้นเรียน จํานวน 40 ช.ม. โดยการใช้แบบสาํ รวจความต้องการของ ประชาชนในแต่ละตาํ บล 3. สถานศึกษาจดั หา หรือพฒั นาหลักสตู รท่ีโดยมการจดั ทาํ หลักสตู รแกนกลางแล้วมาปรับใช้ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน โดยมีครู วทิ ยากร ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ และผเู้ ชยี่ วชาญเพ่อื รว่ มกันพจิ ารณาและจดั ทาํ หลักสตู ร และนาํ เสนอผบู้ ริหาร เพื่อขอการอนุมตั หิ ลกั สตู ร และจงึ นาํ มา จดั การเรยี นการสอน เช่น หลกั สตู รการทาํ ขนมไทย, การสานตะกร้าหวาย, ผลติ ภณั ฑ์จากเชอื กมดั ฟางท่ีหลากหลาย ฯลฯ 4. หลักสูตรท่ี สํานักงาน กศน. จัดทําข้ึน ได้แก่ วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการค้าขาย และ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การท่องเทย่ี ว สถานศึกษาได้จัดโครงการอบรมวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการค้าขาย และ
148 ภาษาอังกฤษเพือ่ การท่องเทีย่ ว จาํ นวน 30 ชัว่ โมงน้ัน โดยนาํ หลักสูตรแกนกลางมาปรับจํานวนช่ัวโมง แลว้ นาํ มาทําแผนการจดั การเรยี นการสอน 5. เสนอคณะกรรมการสถานศึกษา ให้ความเห็นชอบตามหลักสูตร และเสนอผู้บริหาร สถานศึกษา เพอ่ื อนุมัตหิ ลกั สตู ร 6. จัดทําส่ือประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เช่นแผ่นพับที่ให้ความรู้เพิ่มเติมจาการ จัดการเรียนการสอน ตัวอย่างช้ินงานท่ีประสบผลสําเร็จ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และ ต้องการทีจ่ ะเรียนรู้ 7. นําหลกั สตู รไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ตามแผนการสอน 8. ประเมินการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพการสานตะกร้า หวาย, ผลิตภณั ฑจ์ ากเชอื กมัดฟางทหี่ ลากหลาย ฯลฯ โดยใชแ้ บบประเมินจากผูเ้ รยี น 9. ประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี นจากการเข้าอบรม โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ,ดา้ น วทิ ยากร 10. ตดิ ตามผเู้ รียนหลังจากจบหลกั สูตร โดยใช้แบบตดิ ตามผู้เรียนท่ีมีหวั ขอ้ ดังน้ี ลดรายจา่ ย, นาํ ไปประกอบอาชีพ, พฒั นาคณุ ภาพชีวิต, และใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ จากประเด็นการพิจารณาข้อ 1 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศึกษา สามารถอธิบายกระบวนการดําเนินงานในการจัดหา/จัดทํา/พัฒนาหลักสูตร และสื่อการศึกษา ตอ่ เน่อื ง อย่างเป็นขนั้ ตอน มีการปฏบิ ตั ิอยา่ งชัดเจนส่งผลต่อความสําเร็จได้ 2. สถานศึกษามีการทบทวน หรือ ตดิ ตาม หรอื ประเมินหลักสูตรและสื่อการศกึ ษาต่อเนอื่ ง สถานศกึ ษาได้มีการทบทวนติดตามประเมนิ หลักสูตร และสื่อการศึกษาต่อเน่ืองท่ีใชจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยมีคาํ ส่งั แตง่ ต้งั ใหม้ ีข้าราชการครู ครูอาสาสมัครทร่ี ับผิดชอบแต่ละ ตําบล นิเทศติดตามผลวิทยากรกับผเู้ รียน ในการใชห้ ลักสูตรและส่อื การศึกษาต่อเนื่องในแต่ละ หลักสตู ร โดยการสอบถาม สมั ภาษณ์ ในระหว่างการจดั การเรยี นการสอน ผู้เรยี นไดร้ ับความรู้ ความ เข้าใจ ตามหลกั สตู รมากน้อยเพยี งใด ดูจากช้ินงานทปี่ ระสบความสําเร็จ และแบบประเมินความพึง พอใจในการใช้หลกั สูตร พร้อมนําผลการนเิ ทศจัดทาํ บันทึกข้อความสรปุ รายงานให้ผู้อํานวยการ รบั ทราบ จากประเด็นการพิจารณาข้อ 2 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือสถานศึกษา สามารถอธิบายวิธีการที่ทําให้ทราบว่าหลักสูตร และสื่อการศึกษาต่อเน่ืองมีคุณภาพตามคําอธิบายได้ อยา่ งชัดเจน มีความเป็นเหตเุ ปน็ ผลเชื่อถอื ได้
149 3. สถานศึกษาจัดให้มีการทบทวนหรือตดิ ตาม หรอื ประเมนิ การจดั หา /จดั ทา /การพัฒนา หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่อง สถานศกึ ษาได้จัดประชุมบุคลากร และคณะกรรมการสถานศกึ ษา โดยใหบ้ ุคลากรถอด บทเรียนจากการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ืองทุกกิจกรรมและการเรียนหลักสูตรวชิ าชีพ จํานวน 40 ชว่ั โมง คอื การสานตะกร้าหวาย, ผลติ ภัณฑจ์ ากเชือกมัดฟางท่หี ลากหลาย ฯลฯ ผูเ้ รียนได้รับ ความรู้ความเข้าใจตรงตามหลกั สูตรมากน้อยเพยี งใด หลักสูตรและสือ่ ใดท่มี ีปัญหาอุปสรรค นําไปใช้ ปรับปรุงแก้ไข หาแนวทางการพัฒนาหลักสูตร และส่ือการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้ได้หลักสูตรท่ีมี คณุ ภาพและทนั สมยั เพอื่ สอดคลอ้ งตามความต้องการของชุมชน และบริบทของพ้ืนที่ จากประเดน็ การพจิ ารณาข้อ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแลว้ ได้ 1 คะแนน คือสถานศกึ ษา สามารถอธบิ ายวธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือประเมินกระบวนการจดั หา/จัดทาํ /พัฒนาหลกั สตู ร และส่อื การศกึ ษาต่อเนอื่ งได้อยา่ งเปน็ ข้นั ตอน ชดั เจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน./นโยบาย จดุ เน้น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผน การศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นของ สานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสงั คม 4.5 พัฒนาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี ระยะสั้น ให้มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพน้ื ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผูร้ ับบริการ ภารกิจต่อเนื่อง 1 ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทาํ อย่างยั่งยนื โดยใหค้ วามสาํ คญั กับการจัด การศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาํ ในกล่มุ อาชีพเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม แต่ ละอาชพี เฉาะทางหรือการบริการ รวมถงึ การเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกบั ศักยภาพของ ผู้เรียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพน้ื ที่ ตลอดจนสรา้ งความเข้มแขง็ ใหก้ ับศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน โดยจัดให้มหี นึ่งอาชีพเดน่ ตอ่ หน่ึงศูนยฝ์ ึกอาชีพ รวมท้ังให้มีการกํากับ ติดตาม และรายงานผล การจดั การศึกษาเพ่ือการมงี านทาํ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2 จัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ ให้กับทุกเลม่ กลมุ่ เปูาหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผสู้ งู อายุท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการจําเปน็ ของแต่ ละบคุ คล และมงุ่ เน้นให้กลมุ่ เปูาหมายมีทักษะการดํารงชวี ิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พึ่งพา ตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชวี ิตของตนเองให้อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ สามารถเผชิญสถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกดิ ข้ึนในชวี ิตประจําวันไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเตรียมพร้อม สําหรับการปรับตวั ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ นอนาคต
150 โดยจัดกิจกรรมที่พึงประสงค์ ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ ผ่านการศึกษารแู บบต่างๆอาทิ ค่าย พฒั นาทกั ษะชีวติ การจัดตง้ั ชมรม /ชมุ นุม การสง่ เสริมความสามารถพเิ ศษต่างๆ 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใช้หลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมจิตอาสา การสรา้ งชมุ ชนนักปฏบิ ัติ และรปู แบบอื่นๆ ทีเ่ หมาะสม กับกลมุ่ เปาู หมาย และบรบิ ทของชุมชนแต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่าง และหลากหลายทางความคดิ และและอดุ มการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒธรรม โดยจดั กระบวนการให้ บุคคลรวมกลมุ่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ่วมกนั สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสรา้ งจิตสาํ นึกความ เปน็ ประชาธปิ ไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าทคี่ วามเปน็ พลเมืองดี การสง่ เสริม คณุ ธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชนใ์ นชมุ ชน การบริหารจัดการน้ํา การรับมือกบั สาธารณภัย การอนรุ ักษ์พลงั งานธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกันในการพฒั นาสังคม 4 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ในรปู แบบ ตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน เพือ่ เสริมสร้างภมู คิ ุ้มกนั สามารถยนื หยัดอยไู่ ด้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จัดการความเส่ยี งอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ และย่งั ยืน สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ 3 จุดเน้นดา้ นการการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน แนวทางหลัก ขอ้ 3.1 การพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล 3.1.3 การพัฒนา ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร การเรยี นการสอน 1) หลักสูตรมีความยืดหยุ่น ชุมชนท้องถิ่นสามารถออกแบบ หลกั สูตรเองได้ สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ข้อ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญและ เปน็ เลิศเฉพาะดา้ น 8) จํานวนหลกั สูตรหรือสาขาวชิ าทีผ่ เู้ รียนสามารถโอนยา้ ยหรอื ศึกษาตอ่ เน่ืองเพมิ่ ข้นึ จากประเดน็ การพจิ ารณาขอ้ 4 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ได้ 1 คะแนน คือสถานศึกษา อธิบายการดาํ เนินงานท่สี อดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ ของสํานกั งาน กศน. / นโยบาย จุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ/ ยุทธศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปไี ด้อยา่ งชดั เจน
151 5. สถานศกึ ษามีการจดั หา/จัดทา/พัฒนาหลกั สูตรและสือ่ การศึกษาตอ่ เนือ่ งอยา่ งไรที่เป็นต้นแบบ 1. หลกั สตู รการสานตะกร้าหวาย เปดิ สอน จํานวน 6 ตาํ บล เน่อื งดว้ ยประชาชนมคี วามสนใจ ในการทีจ่ ะเรยี นร้กู ารสานตะกรา้ หวาย เพราะสามารถนําไปประกอบเปน็ อาชีพเสรมิ สร้างรายได้ ใหก้ บั ตนเองและครอบครัวได้ 2. หลักสตู รการทาํ อาหาร – ขนม เปิดสอน 3 ตําบล เนอื่ งดว้ ยประชาชนมีความสนใจในการ ท่ีจะเรียนรกู้ ารทําอาหาร – ขนม เพราะสามารถนําไปประกอบเปน็ อาชีพเสรมิ สรา้ งรายไดใ้ ห้กับ ตนเองและครอบครวั ได้ จากประเดน็ การพจิ ารณาขอ้ 5 ตามเกณฑ์การให้คะแนน ไดค้ ะแนน 1 คะแนน สถานศึกษา มกี ระบวนการจดั หา/ จัดทํา/พัฒนาหลักสตู ร และสื่อการศึกษาต่อเนอ่ื ง ทเ่ี ปน็ ต้นแบบ
152 ตัวบ่งชีท้ ่ี 2.7 คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเนอ่ื ง ผลการดาเนนิ งาน จากการดําเนินงาน ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล มีผลการประเมินตนเองภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การให้บรกิ าร การศึกษาต่อเนอื่ ง ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนร้กู ารศึกษาต่อเนอื่ ง จากคะแนน เต็ม 5 คะแนน ไดค้ ะแนน 4.00 คะแนน ระดับคุณภาพ อย่ใู นระดับ ดี 1. วทิ ยากรมีกระบวนการในการออกแบบและจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่อื ง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล จดั กระบวนการเรียนรูก้ ารศึกษา ตอ่ เนอื่ ง ดงั น้ี 1. การจัดการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาอาชพี มี 3 แบบคือ 1)การจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบ กลุ่มสนใจ (1-30ชั่วโมง) 2)รปู แบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 3) หนึ่งอาํ เภอหน่ึงอาชีพ โดยครูอาสาสมคั ร ฯ /ครู กศน.ตําบล สํารวจความตอ้ งการจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่อื ง ของผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ าร และสรปุ แบบสาํ รวจความตอ้ งการจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนื่อง ครูอาสาสมัคร ฯ /ครู กศน.ตําบล สรรหาคดั เลอื กวทิ ยากร ท่ีมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ตรงตามหลักสตู รท่เี ปิดสอน วิทยากรเขียน ใบสมัคร มคี ู่มอื ชแี้ จงในการดําเนินงานจดั การศกึ ษาเพื่อ พัฒนาอาชีพ เพ่ือใหว้ ทิ ยากรมี ความเข้าใจบทบาทหน้าท่ีและมีความรใู้ นการทํางานการจัด กระบวนการเรียนรู้อยา่ งมสี ว่ นร่วม การจัดกิจกรรมดังกล่าว วิทยากรเขียนหลักสูตร กําหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลา การใช้สื่อ การวัดผลประเมินผลจากทฤษฏีและปฏิบัติ มา จัดทําแผนการเรียนรู้ โดยครูอาสาสมัคร ฯ/ครู กศน.ตําบล ทําบันทึกขออนุมัติเปิดกลุ่มการจัด การศึกษาต่อเน่ืองเสนอผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย แบบขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเน่ือง บัญชีรายชื่อผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ปฏิทินการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร แผนการจัดการ เรยี นรู้ ใบสมคั รวทิ ยากร เอกสารรบั รองความรู้ความสามารถประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ สาขาท่ีประสงค์จะสมัครเป็นวิทยากรเพ่ือประกอบการพิจารณา สําเนาบัตรประชาชน /สําเนา ทะเบียนบา้ น สาํ เนาหนา้ บัญชีหนา้ ธนาคาร คาํ สงั่ แตง่ ตงั้ วทิ ยากร ใบสมคั รผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิ 2. การจดั การศึกษาต่อเนื่องรูปแบบ การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน เปน็ กระบวนการท่ี จะทาํ ให้ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมมคี วามรู้ มที ักษะและเจตคติในเร่อื งใด เร่ืองหน่ึง กลุ่มเปูาหมายได้แก่ ประชาชนท่ัวไป การดาํ เนินการจดั กิจกรรม จากการสํารวจสภาพปญั หาและความต้องการของ ประชาชนและกล่มุ เปาู หมาย โดยการจัดเวทปี ระชาคม หรือการใชข้ ้อมูลสารสนเทศในแผนจลุ ภาค แผนชมุ ชนข้อมูล จปฐ. ได้แก่
153 2.1 การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต เปน็ การจัดกระบวนการเรยี นร้เู พื่อสร้าง เสริมความรคู้ วามสามารถของบคุ คล เพ่ือให้สามารถจัดการกบั ตนเองและส่ิงแวดล้อม เพ่ือใหม้ ี ความสุขตามสภาพ และความสงบสขุ ความปลอดภัยในสงั คม การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะ ชวี ติ เป็นการให้ความสําคัญกับการพฒั นาคนใหม้ คี วามรู้ เจตคติและทักษะทจี่ ําเป็นสาํ หรับการ ดํารงชีวติ อยู่ในสงั คมปจั จบุ ันไดอ้ ย่างมคี วามสุข กระบวนการจัดกิจกรรมทักษะเน้นทักษะชีวิตพื้นฐาน ท่ีจาํ เป็น 4 ด้าน คือ 2.1.1 ด้านสขุ ภาพอนามัย มจี ุดมุ่งหมายเพ่อื ส่งเสริมให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจและ ตระหนักในการดูแลตนเองให้มสี ขุ ภาพอนามยั ท่ีดีทัง้ รา่ งกายและจิตใจ มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม รู้วธิ ี ปอู งกนั ไม่ใหเ้ กดิ โรคภยั ไขเ้ จ็บ และสามารถแก้ไขปญั หาพฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงคท์ ี่จะนําไปส่โู รคภยั ไขเ้ จ็บได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 2.1.2 ด้านความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สนิ มีจดุ มุ่งหมายเพือ่ ส่งเสริมให้มี ความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในภัยอนั ตรายทอี่ าจจะเกิดขนึ้ จากภัยอนั ตรายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 2.1.3 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มีจุดม่ังหมายเพื่อส่งเสริมให้มี ความร้คู วามเข้าใจและตระหนักในคุณคา่ ของทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม มจี ิตสาํ นกึ ในการ ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม ร้วู ิธีใช้ทรพั ยากรอย่างประหยดั และคุม้ ค่า รู้วธิ ี ปูองกนั ไม่ใหเ้ กดิ สภาพแวดลอ้ มเปน็ พษิ และสามารถแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมเป็นพษิ ในชมุ ชนได้ อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 2.1.4. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ มีจุดมงุ่ หมาย เพือ่ สง่ เสริมใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทถ่ี ูกต้อง และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของคนในสงั คมไทย รวู้ ิธปี ูองกันไม่ให้ตนเอง ครอบครวั ชุมชนเข้าไปเก่ียวข้องกับอบายมุข สามารถปฏบิ ตั ติ ัวเป็นแบบอย่างทดี่ ีของครอบครวั ชุมชน และสามารถแก้ไขปญั หาพฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงคไ์ ด้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 2.2 การศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน เปน็ ส่งเสริมการมีส่วนรว่ มในการพฒั นา สงั คมโดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน โดยให้ประชาชน ชุมชนร่วมกันรบั ผิดชอบและเห็นถึงความสําคญั ในการ ฟนื้ ฟูพฒั นาสังคมและชุมชนของตนเอง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเกดิ การเรียนรู้ บรู ณาการความรู้ ประสบการณ์ และทักษะอาชีพ เข้ามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสังคมและชุมชนโดยรวม ทําให้ เกิดสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ นาํ ไปส่สู งั คมทเ่ี ข้มแข็ง มีความเอ้ืออาทรต่อกนั และพ่ึงพาตนเองไดอ้ ย่าง ย่ังยนื
154 กิจกรรมพัฒนาสังคมและชมุ ชนมี 5 ดา้ น คือ 1. ดา้ นเศรษฐกจิ - กจิ กรรมเศรษฐกจิ ชมุ ชนพ่ึงตนเอง 2. ดา้ นการเมือง - กิจกรรมส่งเสรมิ ประชาธิปไตย 3. ดา้ นสงั คม - กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ 4. ด้านส่ิงแวดล้อม - กจิ กรรมรักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม 5. ดา้ นศิลปวัฒนธรรม - กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน 2.3 การสง่ เสริมการดาํ เนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ การ มงุ่ เน้นให้บคุ คลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างย่ังยืน และใช้จา่ ยเงนิ ให้ได้มาอยา่ งพอเพียงและ ประหยดั โดยปราศจากการกู้หนย้ี มื สนิ และถ้ามีเงินเหลือ กแ็ บง่ เก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผูอ้ ืน่ บางส่วน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทท่ี รงปรบั ปรุงพระราชทานเปน็ ที่มาของนยิ าม \"3 ห่วง 2 เงอื่ นไข\" ท่ีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพยี งสาํ นักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นาํ มาใชใ้ นการรณรงค์เผยแพร่ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ่านชอ่ งทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบนั ซง่ึ ประกอบด้วยความ \"พอประมาณ มีเหตุผล มีภมู ิคุ้มกัน\" บน เงอ่ื นไข \"ความร\"ู้ และ \"คณุ ธรรม\" การจดั กจิ กรรมดงั กล่าว ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอ บางบาล ไดด้ าํ เนินการสรรหาคดั เลือกวทิ ยากร ที่มคี วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ตรงตาม เนื้อเร่ือง การจดั อบรม วิทยากรมใี บประกาศ เขียนหลักสตู ร กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หารปู แบบการ จัดการเรยี นรู้ ระยะเวลา การใชส้ อื่ การวดั ผลประเมินผล โดยครูอาสาสมัครฯ /กศน.ตาํ บลและ วทิ ยากรรว่ มกนั จดั ทําแผนการเรียนรู้ จากความต้องการของผู้เรียน/ผ้รู ับบริการ ครอู าสาสมัครฯ/ ครกู ศน.ตาํ บลเขียนโครงการการฝึกอบรมเสนอ ผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ิตโิ ครงการ วิทยากรจดั อบรม เนน้ ความรแู้ ละทกั ษะเพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนนาํ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวนั และพัฒนาคุณภาพชีวติ จากประเดน็ การพิจารณา ข้อ 1 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คอื สถานศกึ ษาสามารถ อธิบายไดว้ า่ วิทยากรมกี ระบวนการในการออกแบบและจดั กระบวนการเรยี นรู้ การศกึ ษาต่อเนื่องเป็นขน้ั ตอนไดอ้ ย่างชดั เจน 2. วิทยากรการศกึ ษาตอ่ เน่อื งทราบวา่ ผ้เู รียนหรือผู้รบั การอบรมทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ บรรลุ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง วทิ ยากรจดั การเรยี นการสอนตามแผนท่กี ําหนด วิทยากรมีการสอนทฤษฎแี ละฝึกปฏิบัติ มใี บความรู้ ใบงาน วิทยากรจดั ทาํ แบบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง เพ่อื ให้ ผเู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจในเน้อื หาสาระตามหลักสตู รท่ีจดั วทิ ยากรมแี บบทดสอบวดั ความรู้ตามหลักสตู รท่ีจดั และทกั ษะการปฏิบัติได้อยา่ งถูกต้อง มผี ลงาน/ชน้ิ งานจากการปฏิบตั ิ และจิตอาสาช่วยเหลือผเู้ รียน
155 ดว้ ยกัน วิทยากรมีการจดบันทึกผลหลังสอน จัดทาํ ทะเบียนผูเ้ รยี นจบการศึกษาต่อเน่ือง และแบบ รายงานการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่อื ง ในระหว่างจดั กระบวนการเรียนรสู้ ถานศึกษาโดยผู้บริหาร สถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมายนิเทศตดิ ตาม และรายงานผลการนเิ ทศติดตาม และหลงั จากจบ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1 เดอื น ครูอาสาสมัครฯ และครูกศน.ตาํ บล มีการติดตามผูเ้ รียนตามแบบ ติดตามผู้เรียน และรายงานผลการตดิ ตามผูเ้ รียนตามแบบตดิ ตามผเู้ รียน การจดั การศึกษาตอ่ เน่ืองรปู แบบการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน ได้แก่ การจดั การ ศึกษาเพ่ือทกั ษะชวี ิต การจดั การศกึ ษาเพ่ือสงั คมและชมุ ชน การสง่ เสรมิ การดาํ เนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม วทิ ยากรมีการทดสอบความรู้ กอ่ นอบรมและทดสอบความรู้หลงั การอบรมเพ่ือต้องการทราบว่าผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรเู้ พิ่มขน้ึ หรือไม่ การจัดการอบรมวิทยากรมี ใบความรูใ้ นเร่ืองที่จัดอบรม ในระหว่างจัดกระบวนการเรยี นรู้ สถานศกึ ษา โดยผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายนเิ ทศตดิ ตาม และรายงานผลการนิเทศ ติดตามและหลังจากจัดฝกึ อบรม 1 เดอื น ครูอาสาสมคั ร ฯ และครู กศน.ตาํ บล มีการตดิ ตามผู้เขา้ รบั การอบรมตามแบบตดิ ตาม รายงานผลการตดิ ตามผู้เขา้ รบั การอบรม จากประเดน็ การพจิ ารณา ข้อ 2 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คอื วิทยากร การศกึ ษาต่อเนื่องสามารถอธิบายวิธีการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้หรือผเู้ ข้ารับการอบรมท่ี สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง 3. วทิ ยากรการศึกษาต่อเนอ่ื งมกี ารทบทวนหรอื ติดตามหรือประเมินกระบวนการการออกแบบและ การจัดกระบวนการเรยี นร้กู ารศึกษาตอ่ เนอื่ งเพื่อนาไปปรับปรงุ กระบวนการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอบางบาล ดําเนินการการจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง รูปแบบกลุ่มสนใจ (1-30ชัว่ โมง) รปู แบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ (31 ช่ัวโมงข้นึ ไป) หน่ึงอาํ เภอหนึง่ อาชีพ และการจดั การศึกษาต่อเนื่องรปู แบบการจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ได้แก่ การจดั การศึกษาเพื่อทักษะชวี ติ การจัดการศึกษาเพ่อื สังคมและชุมชน การส่งเสรมิ การ ดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การเรียนรูก้ ารใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม คาํ นงึ ถงึ ความต้องการ ความจําเป็นและความแตกตา่ งของผู้เรยี นแตล่ ะคน ได้ศึกษาข้อมลู และดําเนนิ การตาม กระบวนการ ฝึกกระบวนการวเิ คราะห์ตนเองใหแ้ ก่ผู้เรียน เพื่อให้ผ้เู รยี นสามารถคน้ หาสภาพปัญหา และความต้องการที่แท้จริงของตนเอง และไดด้ ําเนินการนเิ ทศติดตามผลการดําเนนิ งานการวดั และ ประเมินผลการจดั กระบวนการเรียนรู้ ของวทิ ยากรโดยได้แนะนาํ เทคนคิ การจัดการบวนการสอนและ กํากบั ติดตาม การจัดกระบวนการเรยี นการสอนของวทิ ยากรอยา่ งต่อเนือ่ ง มีผู้เรียนทไ่ี ด้นําความรู้จาก การเรียนการสอนการศึกษาต่อเนอ่ื ง สามารถนาํ ความรไู้ ปประกอบอาชีพจนประสบความสาํ เรจ็ มี อาชีพมีงานทํามรี ายได้ทีม่ ่นั คงสามารถอยู่รว่ มในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ โดยใช้วงจร การควบคุม
156 คณุ ภาพของ ( Deming Cycle PDCA ) ( P = Plan ) กาํ หนดแผน (D =DO) ทาํ แผนตามท่กี ําหนด (C= Check) ตรวจสอบ (A= Action) หากไม่บรรลุแผนใหห้ าสาเหตุและวางแผนกนั ใหม่ จากประเดน็ การพจิ ารณา ข้อ 3 ตามเกณฑ์ให้คะแนนแลว้ ได้ 0.5 คะแนน คอื สถานศึกษา สามารถอธิบายไดว้ า่ วิทยากรการศกึ ษาต่อเน่อื งมี วิธกี ารทบทวน หรอื ติดตามหรือประเมนิ กระบวนการการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ การศึกษาต่อเนือ่ ง ได้อยา่ งเป็นขนั้ ตอน แตไ่ ม่ ชดั เจน 4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นของสานกั งานกศน./นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาาธกิ าร/ยุทศธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2562 ข้อ 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ข้อ 3.3 พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้ประชานมีทักษะ ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี ดจิ ิทลั ทส่ี ามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวัน รวมทง้ั สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเอง ข้อ 3.5 ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความ เขา้ ใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสรา้ งเครอื ขา่ ยภาคประชาชน ในการเฝาู ระวัง ปูองกัน และ ควบคมุ โรค ใหก้ ับประชาชนทุกชว่ งวยั โดยเฉพาะในพื้นทห่ี า่ งไกล พื้นที่ชายแดน และชายแดนภาคใต้ โดยประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล และเจ้าหน้าท่ี อสม. ในการให้ความรู้ เก่ียวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยให้กับประชาชน รวมท้ังผลิตชุดความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพอ่ื ใช้ประกอบการเรียนรู้ในหลักสตู รการศึกษาของ กศน. ข้อ 3.7 การเตรียมความพร้อมการเข้าสสู่ ังคมสังคมผูส้ ูงอายทุ ี่เหมาะสมและมี คุณภาพ ภารกิจต่อเนื่อง ข้อ 1.3 การศึกษาต่อเนอื่ ง 1) จดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทําอย่างย่ังยนื โดยให้ความสาํ คญั กับการจัด การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทําในกลุม่ อาชพี เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉาพะทางหรือการบริการ รวมถงึ การเน้นอาชพี ชา่ งพื้นฐาน ทสี่ อดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผ้เู รยี น ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพ้นื ที่ ตลอดจนสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดใหม้ ีหน่ึงอาํ เภอเดน่ ต่อหนึง่ ศูนย์ฝึกอาชพี รวมทง้ั ให้มกี ารกาํ กับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทําอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิตให้กบั ทุกกลุ่มเปูาหมายโดยเฉพาะคนพิการ ผสู้ ูงอายุทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการจําเปน็ ของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกลุ่มเปูาหมายมที ักษะ การดํารงชีวติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พึ่งพาตนเองได้ มีความรูค้ วามสามารถในการบริหาร
157 จัดการชวี ติ ของตนเองให้อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ สามารถเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆท่เี กดิ ขึน้ ใน ชีวติ ประจาํ วนั ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และเตรยี มพร้อมสาํ หรบั การปรับตวั ใหท้ ันต่อการเปลยี่ นแปลง ของขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยสี มัยใหมใ่ นอนาคต โดยจดั กจิ กรรมที่มีเน้ือหาสาํ คัญตา่ ง ๆ เช่น สขุ ภาพกายและจติ การปูองกันภยั ยาเสพตดิ เพศศกึ ษา คณุ ธรรมและคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ ความ ปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ิน ผา่ นการศึกษารปู แบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจดั ตั้ง ชมรม/ชุมชน การสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใชห้ ลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการในรูปแบบของการฝกึ อบรม การประชมุ สมั มนา จัดเวทีแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การจัด กจิ กรรมจติ อาสาการสรา้ งชุมชนนักปฏบิ ตั ิ ลปู แบบอนื่ ๆ ท่เี หมาะสมกับกลุ่มเปูาหมายและบริบทของ ชุมชนแตล่ ะพ้นื ที่ เคารพความคิดของผ้อู ืน่ ยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคดิ และ อุดมการณ์ รวมทงั้ สงั คมพหวุ ัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบ้ คุ ลรวมกลมุ่ เพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รว่ มกัน สร้างกระบวนการรจติ สาธารณะ การสร้างจิตสาํ นึกความเป็นประชาธปิ ไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเปน็ พลเมืองดี การสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม การบาํ เพ็ญประโยชน์ใน ชุมชน การบริหารจัดการนํ้า การรับมอื กบั สาธารณภัย การอนุรกั ษ์พลงั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม ชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกันในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอยา่ งย่ังยืน 4) การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผ่าน กระบวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิตในรปู แบบต่าง ๆ ให้กบั ประชาชนเพ่ือสร้างภมู ิคมุ้ กัน สามารถยืนหยดั อยู่ได้อยา่ งม่ันคง และมีการบี ริหารจดั การความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ ความสมดุลและยั่งยืน สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 1 ด้านความม่นั คง (3) การสร้างความมน่ั คงของสถาบันหลกั ของชาติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม ขอ้ 2.2 หลกั สูตรแหล่งเรยี นรแู้ ละส่ือการเรียนรู้ทส่ี ง่ เสริมคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ รกับ สง่ิ แวดลอ้ มคุณธรรม จริยธรรม และการนาํ แนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏิบัติ (1) จํานวนสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกับการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม (2) จาํ นวนสถานศึกษาที่จดั การเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและการนําแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบัติเพิ่มขน้ึ (3) จาํ นวนแหลง่ เรยี นรทู้ ี่ไดร้ ับการพฒั นาใหส้ ามารถจัดการศกึ ษา/จดั กจิ กรรมการ เรียนรู้ทสี่ ่งเสริมในเรอื่ งการสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มเพมิ่ ขนึ้
158 จากประเดน็ การพจิ ารณา ข้อ 4 ตามเกณฑใ์ ห้คะแนนแล้วได้ 1 คะแนน คือ สถานศกึ ษาอธบิ ายการดําเนนิ งานทส่ี อดคล้องกับ นโยบายและจดุ เน้นของสาํ นกั งาน กศน./นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปูาหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ได้อย่าง ชัดเจน 5. วิทยากรมีการออกแบบและจดั กระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ทีเ่ ป็นตน้ แบบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล มีวทิ ยากรท่มี ี ความรู้ ความเช่ยี วชาญไดร้ บั การยอมรับจากสงั คมชุมชน มวี ทิ ยากรมีการออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบการเรยี นรู้ มเี หมาะสม วสั ดุอปุ กรณ์มเี พียงพอ มปี ระสบการณ์ ได้รบั เชญิ เป็นวิทยากร อยา่ งต่อเนอื่ ง และกบั หนว่ ยงานอื่นๆ ประสบความสําเร็จในการประกอบอาชพี และจดั กระบวนการ เรียนรกู้ ารศึกษาต่อเนอ่ื งทเ่ี ป็นตน้ แบบ 1. นายสําอางค์ พวงศิริ วิทยากรการศึกษาต่อเน่อื ง หลกั สตู รการสานฝาชีหวาย เป็น วิทยากรทีอ่ อกแบบผลติ ภัณฑ์ ออกแบบการเรยี นรู้ มเี หมาะสม วัสดุอุปกรณ์มเี พยี งพอต่อ ผูร้ ับบริการ มีประสบการณ์ความชํานาญและเป็นภูมปิ ญั ญาของท้องถิ่น 2. นางสาวเพยี น เนตรมณี วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ือง หลกั สตู รการทาํ กระเปา๋ แฟนซี จากหวาย เป็นวิทยากรท่ีออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบการเรยี นรู้ มีเหมาะสม วัสดุอปุ กรณ์มี เพยี งพอต่อผรู้ ับบริการมีประสบการณค์ วามชาํ นาญ จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 5 ตามเกณฑใ์ หค้ ะแนนแล้วได้ 0.5 คะแนน วทิ ยากรมี กระบวนการในการออกแบบและจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่ือง ทีเ่ ปน็ วธิ ที ่ปี ฏิบัติท่ีดี
159 ตัวบง่ ชี้ 2.8 คณุ ภาพผจู้ ัดกิจกรรมตามอธั ยาศยั ผลการดาเนิน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การ ให้บรกิ าร ตัวบ่งชที้ ่ี 2.8 คณุ ภาพผ้จู ดั กิจกรรมตามอัธยาศัย สถานศึกษาดําเนินงานจัดการศกึ ษาตาม อัธยาศัยให้ผูร้ ับบริการไดร้ ับความรแู้ ละ/หรือประสบการณ์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมได้ 4 คะแนน จาก คะแนนเต็ม 4.5 คะแนน อยู่ในระดับคุณภาพดมี าก ดว้ ยการดําเนนิ งานดงั นี้ 1. สถานศกึ ษา มีการดาเนนิ งานที่เป็นกระบวนการในการพัฒนาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศยั ให้มีคุณภาพอยา่ งไร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล มีการดาํ เนินงานทเ่ี ป็น กระบวนการในการพฒั นาผูจ้ ัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ีคุณภาพโดย สง่ บคุ ลากรเข้ารบั การ อบรมเก่ียวกบั การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เชน่ หลกั สตู ร Librarian Space ตอน Play with the Learning Environment : แนวคดิ และ วธิ งี ่าย ๆ ในการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มของการเรียนรู้ใหส้ นุกและมีชวี ิตผ่านกิจกรรมการเล่นท่ี สรา้ งสรรค์และหลากหลาย เม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๒ จดั โดย อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park เพื่อ เปน็ แนวทางในการจดั กจิ กรรมที่หลากหลายสําหรับบุคคลหลายชว่ งวัย การอบรมโครงการ Library : Care the Bear โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งตลาดหลกั ทรพั ย์ แหง่ ประเทศไทย และ สมาคมห้องสมุดแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์สมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันท่ี ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๒ เพอื่ แนวทางในการจัดห้องสมุดสี เขยี ว และแนวทางการเขา้ ร่วมโครงการห้องสมดุ สเี ขยี ว การอนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม หลักสูตร Librarian Space ตอน Internet of Things : รว่ มเรียนรแู้ นวความคดิ ความสําคญั ของ Internet และผลกระทบที่มีต่อห้องสมดุ เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๒ จัดโดย อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park เพือ่ เปน็ แนวทางในการจดั บรกิ ารห้องสมดุ โดยการนาํ Internet มาเป็น สว่ นหนงึ่ ในการดาํ เนินงาน การประชมุ TK Forum 2019 “Design Library, Engage Community”Librarian การ บรรยายพิเศษ ถ่ายทอดประสบการณแ์ ละความคดิ สรา้ งสรรค์ ในการออกแบบห้องสมุดและพน้ื ท่ีการ เรียนรู้ กับการพัฒนาเมืองและชุมชน เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2562 จดั โดย อทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park ทาํ ให้ได้แนวทาง แนวคดิ วธิ กี ารในการปรบั ปรุงพฒั นาการใหบ้ รกิ าร การจัดกิจกรรม และปรบั ปรุงภูมิ ทศั นภ์ ายในภายนอกห้องสมุดให้มีบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการบคุ ลากรดา้ นพฒั นาฐานข้อมูลการใหบ้ รกิ ารด้วยระบบ ICT ในหอ้ งสมุดประชาชน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 จดั โดยสาํ นกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เพ่อื ปรบั ปรุงเวบ็ ไซตห์ ้องสมดุ ประชาชนอาํ เภอบางบาล ในระบบเชื่อมโยงแหลง่ เรียนรู้ ให้ทนั สมยั
160 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจดั วางระบบและการประเมินผลการควบคมุ ภายในสาํ หรับ หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั สาํ นักงาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ประจาํ ปีงบประมาณ 2562 เม่ือวนั ท่ี 2 และ 18 กรกฎาคม 2562 จัดโดย สํานักงาน กศน. จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เพ่ือ การจัดทําการประกนั ความเสี่ยงสาํ หรบั การดําเนินงานการศกึ ษาตามอัธยาศยั นอกจากน้ี สถานศึกษายงั จดั ใหม้ กี ารประชุมบุคลากร เพอ่ื ช้ีแจงการจดั กิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศยั หลงั จากได้มกี ารสาํ รวจความต้องการการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในพื้นที่ เกี่ยวกับ บทบาทหนา้ ท่ีในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ด้านจัดกระบวนการเรยี นรู้ การใชเ้ ทคโนโลยี การ เข้าถงึ ชุมชน ในการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น รวมทัง้ วธิ กี ารจดั กิจกรรมในแตล่ ะฐานเรียนรู้ เช่น โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรูส้ ู่ชุมชน โครงการวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมห้องสมดุ ชาวตลาด เป็นต้น หลังจากจดั กจิ กรรมเสรจ็ สิน้ ในแตล่ ะครัง้ แลว้ จะมีการสรปุ ขอ้ ปรบั ปรงุ แก้ไข เพ่ือใช้พฒั นาการจดั กิจกรรมครั้งต่อไป จากประเด็นการพจิ ารณาข้อท่ี 1 ไดค้ ะแนน 0.5 คะแนน คือ สถานศกึ ษาสามารถอธบิ าย กระบวนการในการพฒั นาผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ได้แต่ไม่ชดั เจน 2. สถานศกึ ษาทราบไดอ้ ย่างไรว่า ผู้จดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัยมีคณุ ภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล มีผู้จดั กจิ กรรม การศึกษาตามอธั ยาศยั มีคุณภาพ โดยการพจิ ารณาคุณภาพผ้รู บั บริการ จากเนื้อหาของกิจกรรมแต่ละ ฐานเรียนรู้ ไดก้ ําหนดจุดประสงค์การเรยี นรแู้ ต่ละฐานไว้ การนิเทศการจดั กจิ กรรมการศึกษาตาม อธั ยาศยั โดยการสังเกต การสัมภาษณ์ จากสมุดบันทกึ การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น และจากแบบ ประเมินความพงึ พอใจของผู้รับบริการ โครงการส่งเสริมการเรียนรูส้ ชู่ มุ ชน ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ การประชาสัมพนั ธ์/การอธิบาย ความรทู้ ีไ่ ด้รบั การนําไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วัน สถานที่/สง่ิ อาํ นวย ความสะดวก เน้ือหากจิ กรรม วทิ ยากร/ผจู้ ดั กิจกรรม และความประทับใจโดยรวม จากการรายงาน ผลการดาํ เนนิ งานการจดั กิจกรรมของผู้จดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ซง่ึ ในภาพรวมพบว่า ผู้รับบรกิ ารสว่ นมากมีความพึงพอใจระดับมากขนึ้ ไป และจากใบงานแตล่ ะฐานเรยี นรู้ แสดงให้เห็นว่า ผู้รบั บริการสามารถนาํ ความรู้ทไี่ ด้รับไปพฒั นาตนเองได้ เช่น การใชภ้ าษาไทย คาํ ศัพท์ภาษาไทย และ การใชพ้ จนานุกรม รจู้ ักและใช้คาํ ศัพท์ภาษาอังกฤษ และการใช้Dictionary มีทักษะการคิดและรู้วิธี คดิ ตามหลักคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่อยู่รอบตวั เรา มหี ลักการคิด และจินตนาการทางความคิด ได้ รูจ้ กั สถานทส่ี าํ คัญของจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ไดร้ ู้จักหนังสอื พระราชนพิ นธ์ ของสมเด็จพระ กนิษฐาธิราช กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
161 จากประเด็นการพจิ ารณาขอ้ ท่ี 2 ได้คะแนน 1 คะแนน คือสถานศึกษาสามารถอธบิ าย วธิ ีการทท่ี ําให้ทราบวา่ ผู้จดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัยมีความรู้ท่ไี ด้รบั การส่งเสรมิ หรือพัฒนา อยา่ งชัดเจน มีความเป็นเหตเุ ป็นผล เช่อื ถือได้ 3. สถานศึกษา มีการทบทวน หรือติดตาม หรอื ประเมนิ กระบวนการดาเนนิ งานส่งเสรมิ หรอื พฒั นาผ้จู ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั และนาผลไปใช้ในการปรับปรงุ กระบวนการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล ได้มีการทบทวนตดิ ตาม หรอื ประเมินผจู้ ัดกจิ กรรม และผลการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงคณุ ภาพผจู้ ัด และการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผ้รู บั บริการ โดยการ นิเทศการจัดกจิ กรรม แบบสงั เกต จากสมุดบนั ทึกการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น แบบประเมินความ พงึ พอใจ และสรปุ การรายงานผลการปฏิบัติงาน พบวา่ ผ้จู ัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยนาํ ความรู้ ที่ไดร้ บั จากการอบรมไปออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายให้เหมาะสมกับผู้รบั บรกิ าร มีการนาํ ผลการปฏิบัตงิ านมาปรบั ปรงุ สื่อที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั ผู้รับบริการ มกี ารสรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรม และรายงานการติดตาม สามารถนําความร้ทู ี่ไดร้ บั จากการอบรมมาพัฒนา รูปแบบในการจัดกจิ กรรมให้เหมาะสมและตรงต่อความตอ้ งการของผู้รบั บรกิ าร จากประเดน็ การพิจารณาขอ้ ท่ี 3 ได้คะแนน 1 คะแนน คือสถานศกึ ษาสามารถอธบิ าย วธิ ีการการทบทวน หรือการติดตาม หรือประเมนิ กระบวนการในการส่งเสรมิ หรือพัฒนาผ้จู ัดกจิ กรรม การศึกษาตามอัธยาศยั ได้อย่างเป็นขัน้ ตอน และชดั เจน 4. สถานศกึ ษามกี ารดาเนินงานทสี่ อดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. นโยบาย/ จดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ/ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอบางบาล ไดด้ ําเนินการพัฒนาการ จดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย เชน่ การทํา web page การจดั ทาํ QR-code สือ่ ออนไลน์ การ จดั ทําภาพระบายสี 3 มติ ิ ตลอดจนการใช้ Social media และ Application ตา่ ง ๆ มาประยุกตใ์ ช้ ในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. ปงี บประมาณ 2562 - นโยบายเรง่ ด่วนเพอ่ื รว่ มขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ขอ้ 3 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ 3.6 เพมิ่ อตั ราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการในรูปแบบ ตา่ งๆ เชน่ อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน บริการห้องสมดุ ประชาชน บ้านหนังสอื ชมุ ชน หอ้ งสมุด เคล่อื นท่ี ผลักดนั ใหเ้ กดิ ห้องสมุดสกู่ ารเป็นหอ้ งสมุดเสมอนจรงิ ตน้ แบบเพื่อพฒั นาให้ประชาชนมี
162 ความสามารถในระดับอา่ นคล่อง เข้าใจความคดิ วเิ คราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรขู้ ้อมลู ขา่ วสารที่ ถกู ต้องและทันเหตกุ ารณ์ รวมทั้งนาํ ความรูท้ ่ีได้รับไปปฏบิ ัติจรงิ ใชใ้ นชีวิตประจาํ วัน ภารกจิ ตอ่ เนื่อง ข้อ 1 ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ข้อ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 2) จัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรเู้ พือ่ ปลูกฝังนสิ ยั รกั การอา่ น และพฒั นาความสามารถในการอา่ น และศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกล่มุ เปูาหมาย สอดคลอ้ งแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 2.7 ครูอาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน (1) รอ้ ยละของครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษาได้รบั การพัฒนาตาม มาตรฐานวชิ าชีพและสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขนึ้ (2) ร้อยละของครอู าจารย์ บคุ ลากรทางการศึกษาทไ่ี ด้รับการพัฒนาใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการและยทุ ธศาสตร์ของหน่วยงาน เพ่มิ ขนึ้ จากประเดน็ การพิจารณาข้อที่ 4 ได้คะแนน 1 คะแนน คือสถานศึกษาดําเนินงารสอด คล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ ของสํานักงาน กศน./นโยบายจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธการ/ ยทุ ธศาสตร์และเปาู หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ไดอ้ ย่างชดั เจน 5. สถานศกึ ษามีการพัฒนาผู้จดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งไร ที่เป็นต้นแบบ สถานศึกษาได้พฒั นาผจู้ ัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อําเภอบางบาล ในการ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านเพอื่ ใหเ้ ขา้ ถึงผู้รับบรกิ าร เปน็ การส่งเสรมิ การอา่ นในรปู แบบเชงิ รกุ สามารถเขา้ ถึงกลุ่มเปาู หมายในชมุ ชน เกดิ เป็นนวัตกรรมสง่ เสริมการอา่ น ได้แก่ โครงการสง่ เสรมิ การ เรียนรู้สู่ชมุ ชน ซ่ึงมกี ระบวนการดําเนนิ งาน ดงั น้ี 1. ส่งบคุ ลากรเข้ารบั การอบรม โดยพิจารณาคุณสมบัติจากความพร้อมของบุคลากร 2. นาํ ความรจู้ ากการอบรมมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 3. ประชุมบคุ ลากร เพื่อช้ีแจงรายละเอยี ดการดําเนินงานการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น จดั ทาํ เอกสาร/ค่มู อื ฐานการเรียนรู้ 4. นาํ ไปใชจ้ ดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น กับผู้รับบริการกลุ่มเปาู หมาย 5. สงั เกตกระบวนการดาํ เนินงาน เพ่ือหาแนวทางแก้ไข ปรบั ปรงุ พัฒนากิจกรรมให้ดยี ง่ิ ข้ึน 6. ประเมินความพึงพอใจของผูร้ ับบริการ และผูเ้ กยี่ วข้อง 7. สรปุ รายงานผลการจัดกิจกรรม 8. นาํ ผลจากประเมินความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร และข้อสังเกตจากการจดั กจิ กรรมมา ปรับปรงุ พฒั นารูปแบบของการจดั กิจกรรมครง้ั ถัดไป
163 จากประเดน็ การพิจารณาขอ้ ที่ 5 ได้คะแนน 1.0 คะแนน คือสถานศึกษามี กระบวนการพัฒนาผจู้ ัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีเปน็ วิธปี ฏิบตั ิท่ดี ี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation)
164 ตัวบง่ ช้ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ผลการดาเนนิ งาน จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในมาตรฐาน 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การ ให้บริการ ตวั บง่ ชที้ ่ี 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย สถานศึกษาดาํ เนินงานการจดั การศึกษา ตามอัธยาศัยใหผ้ ้รู บั บรกิ ารได้รบั ความรูแ้ ละ/หรือประสบการณ์จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพดีมาก ดว้ ยการดําเนินงานดังนี้ 1. ผจู้ ัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอบางบาล ไดด้ ําเนินการจดั กจิ กรรมตามโครงการสง่ เสริมการเรยี นรสู้ ู่ชมุ ชน เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหก้ ลุ่มผูร้ บั บริการ ได้รับความรู้ ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การเรยี นรรู้ ่วมกนั และเปน็ การหาความรู้ดว้ ย ตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งและเหมาะสม ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้รับบรกิ ารมีนสิ ัยรักการอา่ น ในการจดั กจิ กรรมมีการ ดําเนนิ งานโดยประชุมช้แี จงผ้เู ก่ียวข้อง และแตง่ ตัง้ คณะทํางาน เพื่อร่วมการวางแผนกําหนดแนว ทางการปฏบิ ัตงิ านร่วมกันระหวา่ งบคุ ลากรในหน่วยงาน จัดทําแผนการเขา้ จัดกจิ กรรมในแต่ละพื้นที่ เขา้ ประสานเครือข่าย ชุมชน กลุ่มเปูาหมายของผู้รับบริการทราบถึงวตั ถปุ ระสงค์ และรปู แบบการจดั กิจกรรม วนั ทีจ่ ะเขา้ จดั กิจกรรม จาํ นวนผรู้ บั บรกิ าร โดยมหี นงั สอื แจง้ ขอความอนุเคราะห์ในการจัด กจิ กรรมต่อกล่มุ เปาู หมาย ตามวนั เวลาและสถานทีท่ ี่กําหนดตามแผนงาน และดาํ เนนิ งานตาม โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูส้ ู่ชมุ ชน โดยคณะผจู้ ัดกจิ กรรมจดั ให้มีการลงทะเบยี นเข้าผู้รว่ มกิจกรรม ทกุ คน ผจู้ ดั กิจกรรมและผู้รับบรกิ ารแลกเปล่ยี นเร่ืองความสาํ คญั และประโยชน์จากการเรยี นรู้ และ แบง่ กลุ่มผ้รู ับบริการออกเป็น 6 หรือ 12 กลุม่ แลว้ แต่จาํ นวนกลุ่มเปูาหมายผู้รับบริการในแต่ละครง้ั ผู้ จดั กิจกรรมอธิบายวิธกี ารร่วมกิจกรรมในโครงการ โดยแบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จาํ นวน 6 ฐาน โดย แต่ละกลมุ่ จะมีสมาชิกใกล้เคยี งกนั (จํานวน 4-7 คน) พรอ้ มแจกแบบบันทึกการเรยี นร้กู ลุ่มละ 1 ชุด ประกอบดว้ ยใบงานประจาํ ฐานเรียนรู้ ทั้ง 6 ฐาน มกี ารอธิบายวิธกี ารเขา้ รว่ มกิจกรรมในแต่ละฐาน ให้ ผ้รู บั บริการแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั คน้ หาคาํ ตอบในแต่ละฐานการเรยี นรู้ ภายในกาํ หนดเวลาฐานละ 15 นาที ทุกกลุ่มจะต้องหมุนเวียนกันเขา้ เรยี นร้ทู ุกฐาน จนครบทั้ง 6 ฐาน จึงนําใบงานของแตล่ ะกลุม่ มา ตรวจ และรวมคะแนนแต่ละฐาน เพื่อค้นหากลุ่มทม่ี ีคะแนนรวมสูงสุดจะได้รับของรางวลั เพื่อเปน็ การ เสริมแรงทางบวกใหผ้ ู้รับบรกิ าร ซ่ึงฐานการเรียนรมู้ ีดังน้ี
165 ฐานเรยี นร้ทู ่ี 1 เกมลับสมอง วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ รู้ ับบริการเรยี นรวู้ ิธีคดิ ตามหลกั คณิตศาสตร์ โดยมโี จทย์คณิตศาสตร์ให้ 9 ขอ้ ใชก้ ารคิดวิเคราะหแ์ ละการสังเกตในตอบคาํ ถามแต่ละข้อ โดยบันทกึ คําตอบลงในใบบันทกึ การเรียนรู้ ฐานเรียนรทู้ ี่ 2 Quiz Science 2 วัตถุประสงคเ์ พื่อใหผ้ ู้รบั บริการได้เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรจ์ ากส่ิงรอบตวั มคี ําถามให้ตอบ 21 ข้อ และอ่านเนือ้ หาเร่ืองวิทยาศาสตร์รอบตัวเรา 7 เรื่องแล้วตอบ คําถาม และบนั ทึกคาํ ตอบลงในใบบันทึกการเรียนรู้ ฐานเรยี นรทู้ ี่ 3 YES or NO วตั ถุประสงค์เพ่ือใหผ้ ูร้ ับบริการเรยี นรคู้ าํ ศพั ทภ์ าษาอังกฤษ และการใช้ Dictionary มคี าํ ศัพท์ภาษาอังกฤษ พร้อมคาํ แปลให้ดจู ํานวน 25 คาํ และหาคําศพั ทท์ ่ถี ูกต้องโดยการ คน้ หาจาก Dictionary แล้วบนั ทึกคาํ ตอบลงในใบบนั ทึกการเรยี นรู้ ฐานเรยี นรทู้ ่ี 4 ภาษาไทย ใชเ่ ลย วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ ู้รบั บริการได้รู้จกั การใช้ภาษาไทย คาํ ถูกคาํ ผดิ ที่พบบ่อย และการใช้ พจนานกุ รม มคี าํ ภาษาไทย จาํ นวน 50 คํา ใหด้ ูว่าเขยี นถกู หรือไม่ และโดยใชพ้ จนานุกรม เปน็ เครื่องมือ ช่วยคน้ หาคาํ ที่ถูกตอ้ ง แล้วบันทกึ คาํ ตอบลงในใบบันทึกการเรียนรู้ ฐานเรยี นรทู้ ี่ 5 ถอดรหัสภาพ วตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารไดร้ ู้หลักการคิดและมีจนิ ตนาการทางความคิด โดยมรี ปู ภาพเป็นชดุ จํานวน 44 ชดุ โดยแตล่ ะชดุ ดรู ูปภาพแล้วนาํ มาตอบเปน็ ชือ่ จงั หวัด ของไทย แล้วบนั ทึกลงในใบบันทกึ การเรยี นรู้ ฐานเรยี นรทู้ ่ี 6 ปริศนา หนงั สือพระราชนิพนธ์ ฯ วตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ให้ผู้รับบริการได้รู้จักหนงั สือพระราชนิพนธ์ ของสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าช กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยมหี นงั สอื พระราชนิพนธ์ ของสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชกรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จาํ นวน 16 เรอ่ื ง ใหผ้ รู้ บั บริการคน้ หาว่า หนังสอื แต่ละเรื่องมีการเสดจ็ พระราช ดําเนินไปประเทศใดบ้าง โดยดูจากคํานํา สารบัญ เน้ือเรือ่ งย่อ ของหนงั สือ เมื่อไดค้ ําตอบแล้วบนั ทึก ลงในใบบนั ทึกการเรยี นรู้ และเมื่อแตล่ ะกลมุ่ เข้าฐานการเรยี นรู้ครบท้ัง 6 ฐานแลว้ จะมีการเฉลยคําตอบ พร้อม อธบิ ายเหตุผลของคําตอบให้ผู้รับบรกิ ารไดร้ บั ทราบ
166 จากประเดน็ การพิจารณาข้อที่ 1 ได้คะแนน 1 คะแนน คือผู้จัดกจิ กรรมการศึกษาตาม อัธยาศัยสามารถอธบิ ายวา่ มีกระบวนการในการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ได้อย่างเปน็ ขน้ั ตอน ชดั เจน 2. ผู้จดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มีวธิ ีการประเมนิ ผู้รับบริการว่ามีความรู้ ความสามารถ บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ผ้จู ัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มีวิธีการประเมินผ้รู บั บริการว่ามคี วามรู้ ความสามารถ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย โดยการเก็บหลกั ฐานแสดงว่า จากใบบันทึก การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่ม ทบี่ ันทกึ ในแตล่ ะฐานการเรียนรู้ และมกี ารตรวจคาํ ตอบเรียบร้อย ซึ่งกลุ่มที่ มีใบบนั ทึกการเรยี นรู้ที่มีผลคะแนนรวมสงู สดุ เป็นผู้ไดร้ ับรางวัลจากผู้จัดกิจกรรม และแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ในหัวข้อ ความรทู้ ่ีได้รบั การนําไปใช้ในชวี ิตประจาํ วัน เนอ้ื หากิจกรรม ซ่งึ สว่ นมากจะ มคี วามพึงพอใจในระดบั ดีขน้ึ ไป นอกจากนยี้ ังสังเกตไดจ้ ากการเฉลยคําตอบ ผ้รู บั บรกิ ารจะชว่ ยกัน ตอบเสียงดังในข้อท่ีคดิ วา่ กลุ่มของตนเองตอบถูก จากประเดน็ การพจิ ารณาขอ้ ท่ี 2 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน คือผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตาม อธั ยาศัยสามารถอธิบายวธิ กี ารประเมินผู้รับบรกิ ารวา่ มีความรู้ความสามารถบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ของการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ได้อย่างเป็นขน้ั ตอน ชดั เจน 3. ผจู้ ดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมกี ารทบทวนตดิ ตามหรือประเมนิ กระบวนการออกแบบ และกจิ กรรมการเรยี นรู้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล ได้มกี ารทบทวน ติดตามหรอื ประเมินกระบวนการออกแบบและกิจกรรมการเรียนรู้ จากแบบประเมนิ ความพึงพอใจ การสรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน เพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุงคุณภาพการจดั กิจกรรมการศึกษาตาม อธั ยาศยั ใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของผูร้ ับบริการ ให้มีความหลากหลายเหมาะสม และตรงต่อ ความต้องการของผู้รบั บริการ โดยจะมกี ารปรับเปลย่ี นกจิ กรรมในฐานการเรยี นรู้แต่ละรอบการจัด กิจกรรม โดยดูได้จากใบงานในแตล่ ะฐาน แตล่ ะรอบของการจัดกจิ กรรม นอกจากนี้ จากการสังเกต กระบวนการจดั กิจกรรมในแต่ละคร้ัง มีข้อแกไ้ ข ปรับปรุง หรือไม่ อย่างไร นําสิง่ ที่พบเห็นมาสรปุ เปน็ ประเดน็ เพื่อพัฒนากระบวนการดาํ เนนิ งานครง้ั ต่อไปให้ดีข้นึ จากประเด็นการพิจารณาขอ้ ที่ 3 ได้คะแนน 1 คะแนน คือ ผจู้ ัดกจิ กรรมการศึกษาตาม อธั ยาศยั สามารถอธิบายวิธีการทบทวน หรอื ตดิ ตาม หรือประเมนิ กระบวนการออกแบบ และจัด กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้อย่างเป็นขัน้ ตอน ชัดเจน
167 4. สถานศกึ ษามกี ารดาเนินงานทส่ี อดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน. นโยบาย/ จดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี มผี ลการดําเนินงานท่สี อดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาํ เนนิ งานของสาํ นกั งาน กศน./ นโยบาย จดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ/ยทุ ธศาสตร์ และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20ปี ดงั นี้ - นโยบายและจุดเนน้ ของ สานักงาน กศน.ปี 2562 นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อน ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ข้อ 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ 3.6 เพม่ิ อัตราการอา่ นของประชาชน โดยการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการในรูปแบบ ต่างๆ เช่น อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน บรกิ ารห้องสมดุ ประชาชน บา้ นหนงั สือชมุ ชน ห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ี ผลักดันให้เกิดห้องสมดุ สู่การเปน็ หอ้ งสมุดเสมอนจรงิ ต้นแบบเพ่ือพัฒนาให้ประชาชนมี ความสามารถในระดบั อา่ นคล่อง เข้าใจความคิดวเิ คราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรขู้ ้อมลู ข่าวสารที่ ถกู ต้องและทนั เหตกุ ารณ์ รวมทัง้ นําความรทู้ ี่ได้รบั ไปปฏิบัติจริงใช้ในชวี ิตประจาํ วัน ภารกิจต่อเนื่อง ข้อ 1 ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ข้อ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 2) จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้เพ่อื ปลูกฝงั นิสยั รักการอา่ น และพฒั นา ความสามารถในการอ่าน และศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปาู หมาย สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ 3 จุดเนน้ ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน แนวทางหลัก ขอ้ 3.3 การสง่ เสริมใหท้ กุ ช่วงวยั มที ักษะความรู้ ความสามารถ และการพฒั นา คุณภาพชวี ิต เตม็ ตามศักยภาพ สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ข้อ 2.4 (1) จาํ นวนแหลง่ เรียนร้ไู ด้รับการพัฒนาใหส้ ามารถจดั การศกึ ษา/จดั กจิ กรรม การเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ทีม่ ีคณุ ภาพเพิ่มขึน้ (2) จาํ นวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด พิพธิ ภณั ฑ์ท่ไี ดร้ ับการ สนบั สนนุ จากภาคเอกชน สถานประกอบการ สถานบนั ศาสนา มลู นิธ/ิ องคก์ รต่าง ๆ ในสงั คมเพิ่มขึน้ จากประเด็นการพิจารณาขอ้ ท่ี 4 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน คือสถานศกึ ษาดาํ เนนิ งานสอดคลอ้ ง กับนโยบายและจดุ เน้นของสํานักงาน กศน./นโยบายจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ/ยุทธศาสตร์ และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ไดอ้ ย่างชดั เจน
168 5. สถานศึกษามกี ารออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างไรท่เี ป็น ต้นแบบ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางบาล ได้เห็นความสาํ คัญของ การอ่านและเลง็ เห็นถึงการเข้าถึงแหลง่ การอ่านของประชาชนในชมุ ชน จงึ ได้มกี ารออกแบบและจัด กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาตามอัธยาศยั ไวด้ ังนี้ 1. ประชุมช้ีแจงผู้เก่ียวข้อง และแตง่ ตัง้ คณะทํางาน เพ่ือร่วมการวางแผนกาํ หนดแนว ทางการปฏิบัตงิ านรว่ มกันระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน 2. ประสานเครือขา่ ย ชมุ ชน กลุ่มเปูาหมายของผ้รู บั บริการทราบถึงวัตถปุ ระสงค์ และ รูปแบบการจดั กจิ กรรม กําหนดวันเวลา และสถานที่จัดกจิ กรรม กําหนดจํานวนผูร้ ับบริการ 3. จดั ทาํ แผนการจัดกจิ กรรมในแตล่ ะพืน้ ท่ี 4. จดั เตรียมและออกแบบฐานการเรยี นรู้ จัดเตรียม สื่อ วสั ดุ อปุ กรณส์ าํ หรับจดั กิจกรรม ของแตล่ ะฐานการเรยี นรู้ 5. ประสานขอความอนเุ คราะหร์ ถหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ีจากที่ สํานักงาน กศน.จงั หวัด พระนครศรีอยุธยา เพอื่ เปน็ การกระต้นุ ส่งเสริมและสร้างนิสยั รกั การอ่าน 6. แจง้ ขอความอนเุ คราะหใ์ นการจัดกจิ กรรมต่อกลมุ่ เปาู หมาย ตามวนั เวลา และสถานทีท่ ่ี กาํ หนดตามแผนงาน 7. ดําเนินงานตามโครงการส่งเสริมการเรยี นร้สู ู่ชมุ ชน ดังน้ี 1) ลงทะเบียนการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของผรู้ ับบรกิ าร 2) ผจู้ ัดกจิ กรรมแบง่ กลุ่มผ้รู ับบริการเป็น 6 กลมุ่ หรือ 12 กลมุ่ แลว้ แตจ่ ํานวน กลมุ่ เปาู หมายในแตล่ ะครง้ั โดยแต่ละกลุ่มจะมีสมาชกิ ใกลเ้ คียงกนั (จาํ นวน 4-7 คน) พร้อมแจกแบบบนั ทึกการเรียนรู้กลมุ่ ละ 1 ชดุ ประกอบดว้ ยใบบันทกึ กจิ กรรมประจาํ ฐานเรียนรู้ ทง้ั 6 ฐาน 3) จัดฐานการเรียนรู้ จํานวน 6 ฐานการเรยี นรู้ ประกอบด้วย ฐานเรียนรู้ที่ 1 เกมลบั สมอง ฐานเรยี นรทู้ ่ี 2 Quiz Science 2 ฐานเรยี นรทู้ ่ี 3 YES or NO ฐานเรยี นรู้ที่ 4 ภาษาไทย ใช่เลย ฐานเรยี นรทู้ ี่ 5 ถอดรหสั ภาพ ฐานเรียนรทู้ ี่ 6 ปรศิ นา หนังสอื พระราชนพิ นธ์ - ผู้จัดกิจกรรม อธิบายวิธีการร่วมกจิ กรรมในแต่ละฐาน ให้ผู้รบั บริการแต่ละ กลมุ่ ร่วมกันคน้ หาคําตอบในแต่ละฐานการเรียนรู้ตามใบบันทึกกจิ กรรมที่
169 กาํ หนด ใหเ้ วลาฐานละ 15 นาที ทกุ กลุ่มจะต้องหมุนกันเข้าเรยี นรูท้ ุกฐาน การเรยี นรู้ จนครบ 6 ฐานการเรยี นรู้ - นาํ ใบงานของแต่ละกลุ่มมาตรวจ และรวมคะแนน เพ่อื คน้ หากลมุ่ ที่มผี ล คะแนนรวมสูงสดุ เม่ือแต่ละกลุ่มเข้าฐานการเรยี นรู้ครบทง้ั 6 ฐานแลว้ จะมี การเฉลยคาํ ตอบ พร้อมอธบิ ายเหตุผลของคาํ ตอบให้ผรู้ บั บริการไดร้ บั ทราบ และสรุปผลการจดั กจิ กรรม 8. ประเมนิ ผลการการดาํ เนินงาน โดยใช้แบบสาํ รวจความพงึ พอใจ ประกอบดว้ ยหัวข้อ การ ประชาสมั พันธ์/การอธิบาย ความรู้ท่ีไดร้ บั การนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน สถานที่/ส่งิ อาํ นวยความ สะดวก เน้ือหากจิ กรรม วทิ ยากร/ผจู้ ดั กจิ กรรม และความประทบั ใจโดยรวม 9. สรุปผล และรายงานผลการดําเนนิ งาน เพื่อรายงานผลการจัดกจิ กรรมแต่ละคร้ัง 10. นาํ ปัญหา และอุปสรรค มานําเสนอ ในการประชุมบุคลากรประจาํ เดือน เพ่ือร่วมกันหา แนวทางแก้ไขในการจดั กจิ กรรมครง้ั ต่อไป ซึ่งจากรูปแบบการดาํ เนินงานดงั กล่าว จึงเป็นนวตั กรรมการอ่านเชิงรกุ เข้าไปหา กลุ่มเปูาหมายในชุมชน ชือ่ โครงการสง่ เสริมการเรียนร้สู ชู่ ุมชน โดยความรว่ มมอื ของชมุ ชนในการให้ ความอนุเคราะห์สถานทจ่ี ัดกิจกรรมนอกจากน้ีสถานศกึ ษาได้ประสานขอความอนเุ คราะหจ์ ากภาคี เครอื ข่ายรว่ มบริจาคของรางวัล เพ่อื นํามาเสริมแรงจูงใจในการรว่ มกจิ กรรมของผูร้ ับบริการ จงึ ถอื เป็น วธิ กี ารปฏิบตั ิทดี่ ี จากประเดน็ การพิจารณาข้อที่ 5 ไดค้ ะแนน 1.0 คะแนน คือสถานศกึ ษามีกระบวนการใน การออกแบบและจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาตามอธั ยาศัย ทีเ่ ปน็ วิธปี ฏบิ ตั ิทดี่ ี (Best Practice) หรือนวตั กรรม (Innovation)
170 จากผลการดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา ทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัด การศึกษา/การใหบ้ ริการ ดังรายละเอยี ดขา้ งต้น สามารถสรุปคะแนนทีไ่ ด้ และระดบั คุณภาพจากผล การประเมินตนเองของสถานศกึ ษาได้ ดังรายละเอียดในตารางตอ่ ไปน้ี มาตรฐาน นา้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การให้บรกิ าร การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 45 40.50 ดมี าก ตัวบง่ ชที้ ่ี 2.1 คณุ ภาพครูการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตัวบ่งชี้ 2.2 คณุ ภาพของหลักสูตรสถานศึกษา 5 3.50 ดี ตัวบง่ ช้ี 2.3 คุณภาพสื่อตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตัวบ่งช้ี 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตร 5 5.00 ดมี าก สถานศกึ ษา การศึกษาต่อเนื่อง 5 5.00 ดีมาก ตวั บง่ ช้ี 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ตวั บง่ ช้ี 2.6 คุณภาพหลักสตู รและสอื่ การศึกษาต่อเนอื่ ง 5 4.00 ดี ตวั บ่งชี้ 2.7 คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเน่ือง การศกึ ษาตามอัธยาศัย 5 4.50 ดีมาก ตวั บง่ ช้ี 2.8 คณุ ภาพผจู้ ัดกจิ กรรมตามอัธยาศยั ตวั บง่ ช้ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 5 5.00 ดมี าก รวม 5 4.00 ดี 5 4.50 ดี 5 5.00 ดมี าก 45 40.50 ดีมาก สถานศึกษามีผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การ ให้บรกิ ารมคี ะแนนรวม เทา่ กับ 40.50 คะแนน ซ่ึงมีคุณภาพอย่ใู นระดบั ดมี าก โดยมจี ุดเน้น จุดทค่ี วรพฒั นา ตวั อยา่ งที่ดี หรือตน้ แบบ และข้อเสนอแนะในการพัฒนา ดงั น้ี จุดเด่น 1. สถานศึกษามหี ลกั สตู รและส่ือในการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน และการศกึ ษาต่อเน่ืองที่มีคุณภาพในรปู แบบทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสําคัญมีการใชส้ ื่อ เทคโนโลยีที่หลากหลาย ทนั สมัย สร้างสรรคแ์ ละรวดเร็ว มีแหลง่ เรยี นร้ทู มี่ อี ยู่ในชมุ ชน และการนาํ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ มาบรู ณาการในการจดั การเรยี นรู้
171 2. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีการรวมกลุม่ การจดั กิจกรรมรว่ มกับภาคีเครือข่ายเพ่อื ให้เกดิ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ จุดที่ควรพฒั นา 1. สถานศกึ ษามีการพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการ เรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สําคัญในรแู บบทห่ี ลากหลาย 2. ควรส่งเสริมให้มกี ารดําเนินการพัฒนาสอ่ื ออนไลนอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ครอบคลมุ กลุ่มสาระ ทกั ษะการเรียนรู้ ความรูพ้ ืน้ ฐาน ทักษะการประกอบอาชีพ ทักษะการดําเนินชวี ิต และสาระการ พฒั นาสังคมโดยใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รียน ตน้ แบบ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล มีห้องสมุดและ บรรณารักษ์ ที่มีความรู้ ความสามารถในการจักกระบวนการตามอัธยาศัย มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย คือ นายธนารักษ์ ม่วงเกษม ได้รับรางวัล ข้าราชการครูและบุคลากรทารงการศึกษา ดีเด่น ประจําปี 2562 ได้รับรางวัลห้องสมุดประชาชนดีเด่น รองชนะเลิศ ลําดับที่ 1 การประเมิน คัดเลือก หอ้ งสมุดประชาชนดเี ดน่ ประจาํ ปี 2562 และได้รบั รางวัลท่ี 1 การประกวดเว็บไซต์ห้องสมุด ประชาชนภายใต้ระบบเชอื่ มโยงแหล่งการเรยี นรู้ (http://.lrls.nfe.go.th) ปงี บประมาณ 2562 ข้อเสนอแนะในการพัฒนา สถานศกึ ษาควรมีการสง่ เสริมและการพฒั นาครูทางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานทเ่ี ปน็ ตน้ แบบ ในด้าน การพัฒนา ครู กศน.ตําบล
172 มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตัวบง่ ช้ี 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั ธรรมาภิบาล ผลการดาเนินงาน จากการดําเนินงานของสถานศกึ ษาจงึ มีผลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา ตัวบ่งช้ี 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล คะแนนท่ีได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนนอยู่ใน ระดับคุณภาพ ดมี าก ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอบางบาล ได้ นาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงประกอบด้วย หลกั 3 หว่ ง ได้แก่ ความพอเพยี ง หลกั ความ มเี หตผุ ล มีภูมคิ มุ้ กันในตวั ที่ดี ภายใต้เงอ่ื นไข 2 เงอื่ นไข ไดแ้ ก่ เง่ือนไขความรู้ และ เง่ือนไขคณุ ธรรม พรอ้ มกับนาํ หลักธรรมาภิบาล ซ่ึงประกอบด้วย หลกั 6 ประการ ไดแ้ ก่ หลักคุณธรรม หลักนติ ธิ รรม หลกั ความโปรง่ ใส หลักการมีสว่ นรว่ ม หลกั ความรบั ผดิ ชอบ หลกั ความค้มุ คา่ มาประยุกตใ์ ช้ใน ดาํ เนินการบริหารสถานศึกษา ด้านวชิ าการ ด้านงบประมาณ ดา้ นบรหิ ารงานบุคคล ด้านบริหารทวั่ ไป โดยสอคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสํานักงาน กศน. สอดคล้องกบั จุดเนน้ ขอกระทรวงศกึ ษาธิการ สานวชิ าการ สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์และเปาู หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ดงั น้ี 1. ผู้บริหารมกี ารบรหิ ารงานดา้ นวิชาการโดยน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลกั ธรรมาภิบาลมาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ งาน งานการศกึ ษาพ้นื ฐาน งานการศึกษาต่อเนือ่ ง และงาน การศึกษาตามอธั ยาศยั ไดแ้ ก่ 1) การดาํ เนินพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา 2) การพฒั นากระบวนการ เรียนรู้ การพฒั นาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา 3) การวดั ประเมินผลและการเทยี บ โอนผลการเรยี น 4) การวิจยั ชน้ั เรียน 5) การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ 6) การนิเทศการศึกษาในระดับ อําเภอและระดับตําบล 7) การแนะแนวการศึกษาท้งั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั 8) การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา 9) การสง่ เสริมความรดู้ า้ นวชิ าการ แกช่ มุ ชนในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การจดั การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยการจดั อบรม พัฒนา บคุ ลากร ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะวชิ าการในด้านต่าง ๆ และได้จัดกิจกรรมดา้ นวิชาการให้กับ นักศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื งเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิให้กบั นกั ศกึ ษา รวมทั้งพฒั นาคณุ ภาพผรู้ บั บรกิ าร การศกึ ษาต่อเน่อื ง โดยใช้งบประมาณไดร้ ับการจดั สรร อย่างเกิดประโยชน์ คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบ ได้ รวมทงั้ ยึดระเบยี บของทางราชการ การพัฒนาดา้ นวชิ าการ เชน่ (1) จัดอบรมการผลิตสอ่ื วดิ ีทัศน์ ในการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าเลือกการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน วิชาอาํ เภอบางบาลสบื สานมวยไทย สค33067 อบรมบุคลากรในการพัฒนาบุคลากรดา้ นการจัดทําบทเรียนออนไลน์ 2) โครงการอบรม
173 วิทยากรแกนนํา ครู ค หลกั สูตรการตลาดและการสรา้ งขอ้ มลู ให้กบั สินค้าและการโปรโมทสนิ คา้ เพ่ือ พัฒนาเครือขา่ ยเศรษฐกิจดจิ ิทัลชมุ ชน ส่งครู ทุกคนเข้ารับอบรม และ กศน.อําเภอบางบาล ไดน้ าํ ความรู้ ที่บคุ ลากรเข้ารับการอบรม นาํ มาจัดกิจกรรม (1) โครงการอบรมหลกั สูตรการเข้าใจ Digital Literacy เพ่ือการพฒั นาเครือขา่ ยเศรษฐกิจดิจทิ ลั สูช่ ุมชนในระดับตําบล ปงี บประมาณ 2562 (2) การดําเนนิ งานโครงการอบรมหลักสูตรชมุ ชนเปิดร้านค้าออนไลน์ E-Commerce เพ่ือการพฒั นา เครอื ข่ายเศรษฐกจิ ดิจิทัลสู่ชุมชนในระดบั ตาํ บล ปงี บประมาณ 2562 และนอกจากนัน้ กศน.อาํ เภอ บางบาล ได้ดาํ เนินการจดั ทําศูนย์ OOCC ในระดบั ตาํ บล และ ระดับอําเภอ ในการจาํ หน่ายสินคา้ ออนไลน์ให้กับชุมชน (3) โครงการพัฒนาบุลากรอบรมศาสตร์ของพระราชา และเกษตรธรรมชาตสิ ู่ การพัฒนาท่ียั่งยนื ให้ กบั ครู กศน.อาํ เภอบางบาล โดย บุคลากรท่รี ับการอบรมได้ดาํ เนินการนํา ความรู้ไปจัดกจิ กรรม การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน กจิ กรรมเศรษฐกจิ พอเพียงในระดบั ตําบล จากประเด็นการพิจารณา ขอ้ ท่ี 1 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน สถานศกึ ษาสามารถอธิบายได้ ว่าผู้บริหารงานด้านวชิ าการ โดยนอ้ มนาํ เศรษฐกิจพอเพียงและนาํ หลกั ธรรมาภบิ าลมาประยกุ ต์ใชใ้ น การดําเนินการได้อยา่ งชัดเจน 2. ผบู้ ริหารมกี ารบริหารงานดา้ นการบรหิ ารงบประมาณโดยนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาลมาประยกุ ต์ใช้ ไดก้ ารดาเนินงาน ดงั น้ี 1) จดั ทาํ แผนและเสนอขอ งบประมาณ 2) จดั สรรงบประมาณทไ่ี ดร้ บั การจดั สรรใหส้ ่วนงานที่รบั ผิดชอบดาํ เนินการ 3) บริการ งานการเงิน และจัดทาํ บริหารบญั ชี ท้ังเงนิ งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ 4) การบริหารพสั ดุ และสนิ ทรพั ย์ 5) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดําเนินงาน อย่างต่อเน่ือง ทัง้ นใ้ี นการบริหารงบประมาณ มีการนาํ ระบบจัดสรรงบประมาณมาใช้ (E-BUDGET) ทง้ั นี้บรหิ ารงานงบประมาณ ได้ทําคาํ ส่ังแต่งต้ังเจ้าหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบงานอยา่ งชดั เจน ทง้ั งานแผนงาน งานการเงิน งานบัญชี ทงั้ เงนิ งบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ งานพัสดุและทรัพย์สนิ มงุ่ เนน้ ความคลอ่ งตวั โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และยดึ ระเบียบของทางราชการ จากประเด็นการพิจารณา ขอ้ ที่ 2 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน สถานศกึ ษาสามารถอธิบายได้ว่า ผู้บรหิ ารงานด้านงบประมาณ โดยน้อมนําเศรษฐกจิ พอเพยี งและนาํ หลกั ธรรมาภบิ าลมาประยุกต์ใช้ ในการดาํ เนินการได้อย่างชัดเจน 3. ผู้บริหารมีการบริหารงานดา้ นบรหิ ารงานบคุ คลโดยน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และนาหลักธรรมาภบิ าลมาประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ งาน ไดม้ อบหมายงานใหป้ ฏบิ ัตติ ามบทบาท และหนา้ ที่ โดยการจัดทาํ คาํ สั่งแต่งตง้ั และมอบหมายใหบ้ ุคลากรปฏิบตั ิหนา้ ที่ ทัง้ งานการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน งานการศึกษาต่อเน่ือง และงานการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ งาน งานภาคเี ครือข่ายและโครงการพิเศษ รวมทั้งการมอบหมายงานพิเศษใหป้ ฏิบตั ิ เช่น งานแผนงาน
174 งานการเงนิ งานบัญชี งานพัสดุ เน้นใหบ้ คุ ลลากรยึดหลกั เกณฑ์ ความถูกต้อง วินยั และการรักษาวินัย มีการสง่ เสริมประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ านใหบ้ ุคลากรอย่างต่อเน่ืองโดยการพัฒนาบคุ ลากรทง้ั ที่ สถานศกึ ษาดําเนนิ การเอง ส่งบุคลากรเขา้ รับการพัฒนาจากหนว่ ยงานต้นสงั กัดและจากหนว่ ยงาน ภาคีเครอื ขา่ ย เชน่ 1) สง่ ครเู ข้าอบรม โครงการอบรมวทิ ยากรแกนนํา ครู ข หลกั สตู รการตลาดและ การสรา้ งข้อมลู ให้กับสินค้า และการโปรโมทสนิ คา้ เพ่ือพฒั นาเครอื ข่ายเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลชุมชน 2) ส่ง บุคลากรจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการ หลักสูตร Google Classroom รุ่นท่ี 1 3) สง่ บคุ ลากรเขา้ อบรม โครงการอบรมขยายผล “สถาบนั พระมหากษัตริยก์ บั ประเทศไทย” สํานกั งาน กศน. 4) สง่ บุคลากร เข้ารบั การอบรมเชงิ โครงการสรา้ งเสริมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community:PLC) นอกจากน้ียงั สรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ ลากร โดยการจัดตั้งกลมุ่ LINE, Facebook มีกจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์อยู่สมํา่ เสมอมีการสรา้ งขวญั กําลงั ใจให้กับบคุ ลากร อาทิ เชน่ การ ใหค้ วามสาํ คัญในวนั เกิดของบุคลากรร่วมแสดงความยินดใี นงานมงคลรวมถึงให้กําลงั ใจบุคลากรใน งานอมงคล ต่าง ๆ ของบุคลากรยกย่องเชิดชูเกยี รติครูมีประเมินการเลือ่ นขัน้ เงินเดือนให้กับบุคลากร อยา่ งยตุ ธิ รรม จากประเด็นการพิจารณา ข้อท่ี 3 ได้คะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบายได้ว่า ผู้บริหารงานด้านบริหารงานบุคคล โดยน้อมนําเศรษฐกิจพอเพียงและนําหลักธรรมาภิบาลมา ประยุกต์ใช้ในการดาํ เนินการได้อย่างชัดเจน 4. ผ้บู รหิ ารมกี ารบรหิ ารงานดา้ นบรหิ ารงานทั่วไปโดยนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน ไดด้ ําเนนิ การเพอ่ื ให้การบริหารงานด้านอืน่ บรรลุผลตามมาตรฐาน คุณภาพ และเปาู หมายที่กําหนดไว้ โดยมุ่งเนน้ การมสี ่วนรว่ มของบคุ คล ชุมชน และองค์การที่เก่ยี วข้อง ดาํ เนินการงานส่งเสริมสนับสนนุ ด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และ บริหารท่ัวไป งานสารบรรณ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ งานประชาสัมพนั ธ์ งานอาคารสถานท่ี งาน เลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษา งานควบคุมภายใน งานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ซ่ึง ในการดาํ เนินงานได้มีคําสงั่ แต่งตง้ั และมอบหมายให้บุคลากรปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อย่างชัดเจน มีการรายงาน ส่งเสริมให้บุคลากรใชท้ รัพยากรทีม่ ีอยา่ งประหยัด เกิดประโยชน์ ค้มุ ค่าท่สี ุด และมีการดําเนินการ รายงานการประหยดั พลงั งานทกุ เดือน รายงานค่าใชจ้ า่ ยในระบบ DMIS เป็นประจําทุกเดอื น ในสว่ น ของงานประชาสัมพันธ์ ได้ทาํ การประชาสัมพนั ธง์ าน กศน. ทั้งทาง เว็ปไซต์ ทาง Facebook จดหมายขา่ ว และทางสื่ออน่ื ๆ มี ดา้ นอาคารสถานที่ได้จดั เปน็ สดั ส่วน มีการขอใชส้ ถานทีใ่ ช้ในการ ประชมุ จากหน่วยงานเครือข่าย มีการจดั ทาํ ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา มีการประเมิน ตนเอง และรายงานหน่วยงานต้นสังกัดและผูเ้ ก่ยี วข้องในการบริหารงานในทกุ ดสาน ได้ดําเนินงาน ตามนโยบายและจดุ เนน้ ของสํานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ/ ยุทธศาสตร์และเปูาหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
175 20 ปี อยา่ งชดั เจน ดังจะเหน็ ในแผนพฒั นาการศึกษา และแผนปฏบิ ัติการประจําปี 2562 ซึง่ ส่งผลการ ดําเนนิ งานให้สําเรจ็ ลลุ ว่ งตามวตั ถุประสงค์ของทางราชการ จากประเด็นการพิจารณา ข้อที่ 4 ได้คะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบายได้ว่า ผู้บริหารงานด้านบริหารงานท่ัวไป โดยน้อมนําเศรษฐกิจพอเพียงและนําหลักธรรมาภิบาลมา ประยุกต์ใช้ในการดาํ เนินการไดอ้ ยา่ งชดั เจน 5. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบาล มีการดาเนนิ งาน กจิ กรรม โครงการสอดคลสองกับสอดคลสองกับนโยบายและจุดเน้นสานกั งาน กศน. ปงี บประมาณ 2562 สอดคลสองกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ 2562 และแผนการศกึ ษาชาติ 20 ปี ดงั นี้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2562 ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ขอ้ 5.1 ส่งเสริมใหม้ กี ารให้ความรู้กับประชาชนเก่ียวกับการปูองกนั ผลกระทบและ ปรับตวั ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศและภัยพิบัตธิ รรมชาติ ข้อ 5.2 สรา้ งความตระหนกั ถึงความสําคญั ของการสรา้ งสังคมสีเขยี ว ส่งเสรมิ ความรู้ ใหก้ ับประชาชนเกย่ี วกับการคัดแยก การแปรรูป และการกาจัดขยะ รวมทัง้ การจัดการมลพษิ ในชุมชน ขอ้ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลงั งานที่เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม รวมท้งั ลดการใช้ทรัพยากรทส่ี ง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เช่น รณรงค์เร่อื งการลดการใช้ถุงพลาสตกิ การประหยดั ไฟฟูา เปน็ ตน้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ข้อ 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวิธกี ารปฏิบัตริ าชการให้ทนั สมยั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมชิ อบ บริหารจัดการบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์ิมี ความโปร่งใส นานวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทางานทเ่ี ป็นดิจิทลั มาใชใ้ นการบริหารและการ ตดั สนิ ใจ ข้อ 6.2 พฒั นาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาเพอ่ื การบริหารจัดการ อย่างเปน็ ระบบ และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่ือการบรหิ าร จัดการและบูรณาการขอ้ มลู ของประชาชนอย่างเปน็ ระบบ ขอ้ 6.3 สง่ เสริมการพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อย่างต่อเนอ่ื ง ให้มคี วามร้แู ละทกั ษะ ตามมาตรฐานตาเหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากร
176 สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ 6. จดุ เน้นด้านการพฒั นาระบบและการบรหิ ารจัดการ แนวทางหลัก:พัฒนาและบรหิ าร จดั การ 6.2 ปรบั ปรงุ ระบบการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โครงการหลัก 3. โครงการส่งเสริมสนับสนนุ สถานศึกษาเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพและความพร้อมรองรับการปรับ บทบาทการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา ข้อ 2.1 โครงสรสาง บทบาท และระบบการบริหารจัดการศึกษา มีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 1 มีการปรับปรุงโครงสรสางและระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษาให้มีเอกภาพ สอดคลสองกับบริบทของพื้นท่ีและการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล ขอ้ 2.2 ระบบการบริหารจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล สง่ ผลต่อ คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา 6 จํานวนสถานศกึ ษาทีบ่ ริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลเพมิ่ ข้ึน จากประเดน็ การพจิ ารณา ขอ้ ที่ 5 คะแนน 1 คะแนนสถานศึกษาสามารถอธิบายการ ดําเนนิ งานทีส่ อดคล้องกับ นโยบายและจดุ เน้นของสํานักงาน กศน. นโยบายจุดเน้นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปูาหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี ได้อยา่ งชดั เจน
177 ตัวบ่งช้ี 3.2 การส่งเสริมสนบั สนุนการจัดการศึกษาภาคีเครอื ขา่ ย ผลการดาเนินงาน จากผลการดําเนนิ งานของสถานศึกษาจึงมผี ลการประเมินตนเองภายในสถานศึกษามาตรฐาน ที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา ตัวบ่งช้ี 3.2 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล คะแนนท่ีได้ 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ ในระดับคุณภาพดีมาก 1. สถานศกึ ษามกี ระบวนการในการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัด หรือร่วมจัดการศึกษาของภาคี เครือขา่ ยโดยการคดั เลือกผทู้ รงคณุ วุฒทิ ี่มคี วามร้ใู นชุมชนเข้ามามีส่วนรว่ มเป็นคณะกรรมการการ ดาเนนิ งาน ตามภารกิจของ กศน.อําเภอบางบาล ในการคัดเลอื กคณะกรรมการสถานศึกษาตาม คณุ ลักษณะของคณะกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิท่ีมีความรู้ ความสามารถหรือมีความชํานาญการอนั เป็น ประโยชนต์ ่อการจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในด้านต่าง ๆ ตาม คู่มือการสรรหาและแต่งต้งั คณะกรรมการสถานศึกษาสงั กัดสาํ นักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมถงึ เปิดโอกาสให้บุคคลทม่ี ีความพร้อมในชุมชนเข้ามีส่วนร่วมกาํ หนด แนวทางและวิธกี ารมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนโดยการเชญิ ผู้นําท้องถน่ิ ท่มี ศี ักยภาพและความพร้อมมารว่ ม เปน็ คณะกรรมการ กศน.ตาํ บล สง่ เสริม สนับสนุนให้บคุ ลากรประสานการทาํ งานรว่ มกับภาคี เครอื ข่าย พัฒนาบุคลากรภาคีเครือข่ายให้มีศักยภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อยา่ งมคี ุณภาพ จดั ให้มีกิจกรรมตามบทบาทหนา้ ทแี่ ละภารกิจอย่างต่อเน่ือง ดังจะเหน็ ได้ จากการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาประจาํ ทุกปี เพ่อื ใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยมีสว่ นร่วมในการรว่ มกัน กาํ หนดและทบทวนแผนการดําเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ ของ กศน.อาํ เภอบางบาล และสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นทเ่ี กี่ยวข้อง มีส่วนรว่ มในการพิจารณาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง มสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการการศึกษาใหค้ ําปรึกษา เสนอแนะ แนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน มีสว่ นร่วมในการตดิ ตามและประเมินผลแบบมสี ่วน ร่วม จากการจัดกิจกรรมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง โดยผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร กศน.อาํ เภอบางบาล พรอ้ มดว้ ยกรรมการ กศน.ตําบล หรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมายเป็น ผู้ดําเนินการนเิ ทศ ตดิ ตาม มีการยกย่องบุคคลในชมุ ชนท่ีมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จัดให้มอี าสาสมัคร กศน.ในการสรา้ งเครือข่ายประชาสมั พันธ์ในชมุ ชน พร้อมท้งั สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรร่วมกจิ กรรมกับชุมชนอย่างต่อเนอ่ื ง มีการสรา้ ง แฟนเพจ กศน.อําเภอ และ กศน.ตําบล เพอ่ื ให้ชมุ ชนสามารถติดตามและตรวจสอบการจัดกจิ กรรมได้ตลอดเวลามีการ ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ ในการประชุมหวั หนา้ สว่ นราชการ ประชุมกาํ นัน ผู้ใหญ่บา้ น และจดั ทาํ หนังสือประชาสัมพันธไ์ ปยังเทศบาล 2 แห่ง องค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิ่น 4 แห่ง รวมทัง้ ผูบ้ ริหารคณะครรู ่วมเปน็ คณะกรรมการเข้ารว่ มประชุมวางแผนการจดั กจิ กรรมโครงการ
178 ตา่ ง ๆ กบั ภาคเี ครือข่ายทกุ ระดบั และให้ความร่วมมือในดา้ นวชิ าการ บคุ ลากร สถานที่ วัสดอุ ุปกรณ์ ตามทีเ่ ครือข่ายได้ประสานงานมา เพ่ือจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ เกิดประโยชนส์ ูงสุดแกป่ ระชาชน การสนับสนุนสถานที่จดั กิจกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐานการศึกษา ตอ่ เนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย จาก รพ.สต.ท้งั 16 ตําบลในอาํ เภอบางบาล รวมถึงเทศบาล และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลทกุ แห่งในอาํ เภอบางบาล จากประเดน็ การพจิ ารณา ข้อ 1 ไดค้ ะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบาย กระบวนการส่งเสริมสนบั สนุนการจดั หรอื รว่ มจัดการศึกษาของภาคเี ครือข่ายได้อย่างชดั เจน 2. ภาคเี ครือขา่ ยจัดหรอื ร่วมจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กศน.อาเภอ บางบาลจากการมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในการรว่ มกนั กําหนดและทบทวน แผนการดําเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้น กศน.อําเภอบางบาล มสี ่วนร่วมพจิ ารณา หลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง มีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการการศึกษาให้ คําปรึกษา เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น มสี ่วนรว่ มในการตดิ ตามและ ประเมินผลจากกจิ กรรมนเิ ทศ ติดตามผลการดาํ เนนิ งานแบบมสี ว่ นรว่ ม งานการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้รบั ความร่วมมือจากสถานีตํารวจภธู รบางบาล ได้ส่งวิทยากร ครแู ด มาใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับยาเสพติด ในโครงการเยาวชนคนรุ่นใหม่หา่ งไกลยาเสพตดิ ให้กบั นักศกึ ษา กศน. อําเภอบางบาล ส่งเจา้ หนา้ ที่เขา้ มารกั ษาความปลอดภัยในการดาํ เนินการจดั การสอบ N–net และ สอบปลายภาค ในทุก ๆ ภาคเรยี น ได้รับความรว่ มมือจากโรงเรียนวัดม่วงหวาน ดา้ นสถานทเี่ ปน็ สนามสอบ และบุคลากรในการเปน็ คณะกรรมการคุมสอบ N–net และ สอบปลายภาคทุกๆภาคเรยี น อาํ เภอบางบาล สนบั สนุน ปลดั อําเภอเปน็ วทิ ยากร ในการอบรมให้ความรู้ เกย่ี วกับสถาบัน พระมหากษัตรยิ ์ และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ในโครงการการเรยี นรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นพระประมุข และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องใหก้ ับนกั ศึกษา กศน.อาํ เภอบางบาล และโครงการเสริมสร้างความเขา้ ใจทถี่ ูกต้องเกีย่ วกับบทบาท และความสําคญั ของสถาบัน พระมหากษัตริย์ต่อสงั คมไทย ได้รบั ความรว่ มมือจากวดั กาํ แพงแกว้ ในการใหส้ ถานทแี่ ละส่งิ อํานวย ความสะดวกในการจัดกิจกรรมโครงการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ กษตรธรรมชาติ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงให้กบั นกั ศกึ ษา กศน.อําเภอบางบาล โครงการการเรียนรู้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นพระประมุข และกฎหมายที่เกีย่ วข้องให้กบั นักศึกษา กศน. อําเภอบางบาล งานดา้ นการศกึ ษาต่อเนื่อง ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากการผ้นู ําท้องถน่ิ ผูน้ ําทอ้ งท่ี อสม. กลมุ่ อาชีพรว่ มจดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเนื่อง ประชาสัมพนั ธง์ าน กศน. อํานวยความสะดวกในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการนเิ ทศติดตามผลการจดั กิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ได้รับความ รว่ มมือสนบั สนุนวทิ ยากรจากโครงการจิตอาสา904 จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ในกิจกรรมการศึกษา เพ่อื พฒั นาสังคมและชมุ ชน โครงการเสริมสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจท่ีถูกต้องเกยี่ วกบั บทบาทและ
179 ความสําคญั ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ต่อสังคมไทย สําหรับประชาชน งานศึกษาตามอัธยาศัย ได้รบั ความร่วมมือโรงเรียนในสังกดั สาํ นกั งานงานเขตพ้ืนท่ีการประถมศึกษา จงั หวัด พระนครศรอี ยุธยา เขต 2 ในพ้นื ท่ีอําเภอบางบาล จํานวน 23 แหง่ จากประเด็นการพิจารณา ข้อ 2 ได้คะแนน 1 คะแนน สถานศึกษาสามารถอธิบาย กระบวนการจดั หรอื รว่ มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือข่ายได้อย่าง ชดั เจน 3. การตดิ ตามการจัด หรอื ร่วมจัดการศึกษาของภาคเี ครือขา่ ย สถานศึกษา มกี ารตดิ ตามการจัด หรือรว่ มจดั การศึกษาของภาคเี ครอื ข่าย ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา จากการนาํ แผนการ ดําเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้น ได้ร่วมกนั กําหนดมาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี พรอ้ มทั้งนาํ ขอ้ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนมาออกแบบกจิ กรรมให้ สอดคล้องกับแนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นทสี่ ํานักงาน กศน.กําหนด และนําผลจาก การตดิ ตามและประเมินผลแบบมสี ่วนร่วม มาพฒั นาคุณภาพใหต้ รงตามข้อเสนอแนะ และในทุก ๆ กิจกรรมท้ังกจิ กรรมด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กจิ กรรมด้านการศึกษา ต่อเนื่อง และกจิ กรรมด้านการศึกษาตามอธั ยาศัย ยังได้มกี ารตดิ ตามการร่วมจดั การศึกษาของภาคี เครอื ข่ายจากการประเมินกิจกรรมท่ีจดั ไดม้ กี ารประเมนิ ความพึงพอใจ และรว่ มกับภาคีเครือข่ายนํา ผลการประเมนิ มาพจิ ารณา ทบทวน แลกเปล่ียนเรียนรู้ ปญั หาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางแกไ้ ข ปรับปรงุ พฒั นาใหด้ ีขึ้นในคร้ังต่อไป สถานศกึ ษามีการทบทวนหรือติดตามกระบวนการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัด หรอื ร่วมจัด การศึกษาของภาคี โดยการประชุมวางแผนการจดั กจิ กรรมร่วมกนั การแลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกันใน รูปแบบทีไ่ มเ่ ปน็ ทางการโดยการใช้วธิ ีการประสานงานกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่นิ สถาบันศาสนาที่อยู่ในพนื้ ที่ ดงั นี้ 1. การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เชน่ การประชาสมั พนั ธ์รับสมคั รนักศึกษา อาคารสถานทใี่ นการจดั การศึกษา เป็นต้น 2. การศึกษาต่อเน่ืองทกุ กิจกรรม เขน่ ประสานผ้นู ําชมุ ชนในการสํารวจกลุ่มเปูาหมายการจัด กจิ กรรม/โครงการ ภูมปิ ญั ญาท่มี ีอยู่ในท้องถน่ิ การจดั ทําหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองรว่ มกับภูมิ ปญั ญา ในการจัดกจิ กรรมและการขอความอนุเคราะห์ในการกํากับติดตามการจดั การเรียนการสอน หลักสตู รการศึกษาต่อเนอื่ งในชมุ ชน 3.การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ประสานผูน้ ําชุมชนในการจัดหาสถานทใี่ นการจัดกจิ กรรม บา้ นหนังสือชมุ ชน ประสานงานโรงเรียนระดบั ประถม และมธั ยมในพน้ื ท่ีเพ่ือจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การ อา่ นและประสานตลาดเพ่ือจัดกจิ กรรมห้องสมุดชาวตลาด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258