Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR กศน.อำเภอบางบาล 2562

SAR กศน.อำเภอบางบาล 2562

Published by 113ed00115, 2020-05-07 00:19:56

Description: SAR กศน.อำเภอบางบาล 2562

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบาลบางบาล จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา สานกั งาน กศน. สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คานา ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กําหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สําหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่ีอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนงึ่ แห่งพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ซึ่งกําหนดให้สถานศึกษาต้องดําเนินการดังนี้ 1) จัดให้ มีมาตรฐาน การศึกษานอกระบบท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด 2) จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจําปี 3) ดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ประจําปี 4) จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานของการศึกษาของสถานศึกษา 6) จัดทํารายงานการประเมินขอตนเองประจําปี 7) เสนอ รายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ภาคีเครือข่าย และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน 8) นาํ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในมาเป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 9) จดั ระบบบริหารและสารสนเทศ 10) ยึดหลักการ มสี ่วนรว่ มของสถานศกึ ษา บุคลากรทุกคนในสถานศกึ ษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ ในการนี้ เพือ่ เปน็ การดาํ เนนิ งาน ใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎกระทรวง ฯ ดงั กลา่ ว ศนู ย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล จึงไดด้ ําเนนิ การแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพอื่ ประเมนิ คุณภาพการจัดการศกึ ษาของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัยของอําเภอบางบาล โดยคณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจําปรี ว่ มกับผลการดาํ เนนิ งานของ สถานศึกษาและสอบถามข้อมูลจากผปู้ ฏิบตั งิ าน คณะกรรมการสถานศึกษาและผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง เพ่ือ จัดทาํ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และร่วมกันกําหนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาต่อไป (นางสาวนงกาณ ถูกอารมย)์ ผูอ้ าํ นวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล วันท่ี 18 ตุลาคม 2562

ข คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษาตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ระหว่างวนั ท่ี 1 เดอื นตลุ าคม พ.ศ.2561 ถงึ 30 กนั ยายน พ.ศ.2562 และจดั ทํา รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจําปงี บประมาณ 2562 เสร็จสิน้ เรยี บรอ้ ยแล้ว ......................................................ประธานคณะกรรมการ (นายพสิ นหุ ์ แสงเดอื น) ..................................................กรรมการ (นางวภิ า มีลาภกจิ ) ..................................................กรรมการ (นายเกริก โชติสวุ รรณ) ทงั้ นีค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาไดร้ ับทราบผลการประเมนิ ของสถานศึกษาเปน็ ทีเ่ รียบร้อย แลว้ และหวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ สถานศกึ ษาจะนําข้อมูลการประเมินน้ีไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาตอ่ ไป .......................................................ประธานคณะกรรมการ (นายพสิ นุห์ แสงเดือน) วันท่ี 18 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2562

ค สารบัญ คํานํา หน้า สารบัญ ก-ข บทสรุปสําหรับผบู้ ริหาร และข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา บทที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของสถานศึกษา ค บทที่ 2 ทศิ ทางและผลการดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา ง บทที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเอง 1 24 ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน 43 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น/ผู้รบั บริการ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร 191 มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา บทที่ 4 สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สรุปผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพฒั นา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคผนวก

ง บทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบางบาล ตั้งอยเู่ ลขที่ - หมู่ท่ี 1 ตําบลสะพานไทย อาํ เภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สาํ นกั งาน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา สังกัดสาํ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ซึ่งการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยมีบุคลากร จาํ นวน 21 คน มี ผู้เรยี น จาํ นวน 1,085 คนผู้เข้ารับการอบรมและผู้รับบริการการศกึ ษาต่อเนื่องโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน จํานวน 1,450 คน การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ จํานวน 796 คน การศกึ ษาเพือ่ พัฒนา สงั คมและชุมชน จาํ นวน 711 คน เศรษฐกจิ พอเพยี ง จํานวน 408 คน และการการจัดการศึกษาตาม อธั ยาศยั จาํ นวน 23,553 คน ทงั้ นี้ คณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ไดด้ าํ เนนิ การประเมนิ คุณภาพคุณภาพ การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ต้งั แตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ.2561 – 30 กันยายน พ.ศ.2562 ซึง่ จา การประเมิน คุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ได้ดงั นี้ ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวมเท่ากับ 90.50 คะแนน ซึ่งอยใู่ นระดบั คุณภาพดีมาก และเม่ือพิจารณาผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐานพบว่า มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น/ผรู้ บั บริการ มีคะแนนรวมเทา่ กับ 31.00 คะแนน ซึง่ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีมาก มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวมเทา่ กบั 40.50 คะแนน ซง่ึ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีมาก มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศึกษามคี ะแนนรวมเท่ากบั 19.00 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดบั คุณภาพ ดมี าก ตามรายละเอียดดังนี้

จ มาตรฐาน/ตัวบง่ ช้ี น้าํ หนกั ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น/ผรู้ บั บริการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 35 31.00 ดมี าก ตัวบ่งช้ี 1.1 ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมคี ุณธรรม ตัวบง่ ชี้ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานมที กั ษะกระบวนการคิด มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ 5 5.00 ดีมาก เรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง และสามารถนําไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาํ เนนิ ชีวติ 5 4.00 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ 1.3 ผ้เู รยี นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมีความรพู้ ืน้ ฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 5 3.50 ดี ตัวบ่งชี้ 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถและทักษะในประกอบอาชีพ ตัวบ่งช้ี 1.5 ผู้เรียนหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5 4.00 ดี ตวั บ่งช้ี 1.6 ผเู้ รียนหรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม 5 5.00 ดีมาก การศึกษาตามอัธยาศยั 5 4.50 ดีมาก ตวั บ่งชี้ 1.7 ผู้รบั บริการไดร้ บั ความรู้ และ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ มกจิ กรรม โครงการการศึกษาตามอัธยาศยั 5 5.00 ดีมาก มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การให้บรกิ าร การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 45 40.50 ดมี าก ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.1 คุณภาพครกู ารศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตวั บง่ ชี้ 2.2 คุณภาพของหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5 3.50 ดี ตัวบง่ ช้ี 2.3 คุณภาพสอ่ื ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5 5.00 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5 5.00 ดมี าก การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 5 4.00 ดี ตวั บง่ ช้ี 2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง ตวั บง่ ชี้ 2.6 คุณภาพหลักสตู รและสือ่ การศึกษาตอ่ เน่อื ง 5 4.50 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาต่อเนอื่ ง 5 5.00 ดีมาก การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5 4.00 ดี ตัวบ่งช้ี 2.8 คุณภาพผจู้ ดั กิจกรรมตามอธั ยาศยั ตัวบ่งช้ี 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5 4.50 ดีมาก มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การศกึ ษา 5 5.00 ดมี าก ตัวบ่งชี้ 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลกั ธรรมาภิ 20 19.00 ดีมาก บาล 5 5.00 ดมี าก ตวั บ่งชี้ 3.2 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาภาคเี ครอื ข่าย ตวั บง่ ช้ี 3.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 5.00 ดมี าก ตวั บ่งชี้ 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา 5 5.00 ดีมาก 5 4.00 ดี รวม 100 90.50 ดีมาก

ฉ ทง้ั นี้ จากการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาการศึกษา สามารถ สรปุ จดุ เด่น จุดที่ควรพัฒนา และวธิ ีการปฏิบตั ิที่ดี หรอื นวตั กรรม หรอื ตวั อย่างทดี่ ี หรอื ต้นแบบของ สถานศึกษาได้ดงั น้ี สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา จดุ เด่น 1.ผู้เรยี นการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานมีคณุ ธรรม 2.มีการจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลายให้กับผ้เู รยี นและสามารถยืดหยนุ่ ได้ 3.การจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ตรงตามความตอ้ งการของกลุม่ เปูาหมาย หลกั สูตรและสอ่ื 4.สถานศึกษามีการจดั กจิ กรรมการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.สถานศึกษามีการมอบหมายงานใหก้ ับบุคลากรได้อย่างชดั เจน 6. สถานศกึ ษามแี ผนการปฏิบัตงิ านทีช่ ัดเจน สามารถยดื หยุ่นได้ จุดท่ีควรพัฒนา 1.ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตา่ํ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทักษะการเรียนรู้ ความร้พู ื้นฐาน ทักษะการประกอบอาชีพ ทักษะการดาํ เนินชวี ิต และ สาระ การพัฒนาสังคม ในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย 2.สถานศึกษาควรพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผ้เู รียนใหม้ ผี ลสัมฤทธ์ิ ท่ีสูงขึ้น โดยการวิเคราะห์ ศึกษา วจิ ัย การใช้สอ่ื นวัตกรรมในการจัดการเรียน การสอน 3.สถานศึกษาควรจัดสอนเสริมใหก้ บั นักศึกษาในสาระวชิ าความรู้พื้นฐานเพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รยี นให้สูงขึน้ วิธปี ฏิบตั ทิ ดี่ หี รือนวัตกรรม หรือ 1.ครูไดค้ วรพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เรอื่ งของส่อื นวตั กรรมในการ ตวั อยา่ งที่ดี หรือต้นแบบ จดั การเรยี นการสอนเพ่ิมข้นึ โดยการนําหลักสูตรรายวชิ าเลอื กอําเภอบางบาล สืบสานมวยไทยมาจดั ทําเป็นบทเรยี นออนไลน์ ได้แก่ (google site) ประกอบด้วยเน้ือหาวิชา ใบงาน แบบฝกึ หัด และแบบทดสอบ ซง่ึ เปน็ ประโยชน์ กับนักศึกษาทไ่ี มม่ เี วลามาพบกลมุ่ และลดทรพั ยากร 2. ครู กศน.ตาํ บล ต้องรวบรวมขอ้ มลู การประเมินของผู้เรียน เพอื่ ทราบถงึ ความถนัด ความสนใจ ข้อดี ข้อด้อยของผูเ้ รียนนํามาปรับปรงุ คณุ ภาพ การจัดการเรียนการสอน จากจดุ เดน่ จุดท่ีควรพัฒนา และวิธปี ฏบิ ตั ทิ ี่ดีหรอื นวัตกรรม หรอื ตัวอยา่ งทด่ี ี หรือต้นแบบของ สถานศกึ ษา เหน็ ควรให้สถานศึกษาจดั โครงการ/กิจกรรม เพือ่ ปรบั ปรุงหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยกําหนดแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ดงั นี้

ช จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเห็นควรใหส้ ถานศึกษาจดั โครงการ/กิจกรรม เพอ่ื การปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลาํ ดบั ความสําคญั ดงั น้ี 1. สถานศกึ ษาควรหาสาเหต/ุ ปจั จยั ทม่ี ีผลกระทบตอ่ ผ้เู รียนท่มี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตา่ํ ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทักษะการเรยี นรู้ ความรพู้ น้ื ฐาน ทักษะการประกอบอาชพี ทักษะการดําเนิน ชีวิต และ สาระการพฒั นาสังคม ในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. ควรนําผลทไี่ ดม้ าวิเคราะห์ ศึกษา วิจัย และหาแนวทางแก้ไข เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนให้มี ผลสัมฤทธิ์สูงขนึ้ สอดคล้องกับเปูาหมายของสถานศึกษา 3. สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมให้มีการพฒั นาหลกั สูตรการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ google classroom อย่างต่อเนอ่ื ง รวมทัง้ การนาํ นวัตกรรม เทคโนโลยมี าปรบั ใช้ในการจัด กระบวนการเรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง

1 บทท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของสถานศึกษา สภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา ชือ่ สถานศกึ ษา : ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล ทีอ่ ยู่ : การติดต่อ ตั้งอยทู่ ี่ หมู่ 1 ถนนสายเสนา - อยุธยา ตาํ บลสะพานไทย อําเภอบางบาล จงั หวดั : พระนครศรีอยธุ ยา 13250 โทรศพั ท์ 035-302962 โทรสาร 035-302962 E-mail : nfe–[email protected] Website : www.nfe-bangban.com สงั กดั : สํานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ประวตั ิความเป็นมาของสถานศึกษา ประวตั ิสถานศกึ ษา : ต้งั อยู่ที่ หอ้ งสมุดประชาชนอําเภอบางบาล หมู่ 1 ตาํ บลสะพานไทย อาํ เภอบางบาล จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา บนเน้อื ที่ 200 ตารางวา ของวดั กําแพงแก้ว กอ่ สร้าง ด้วยเงนิ งบประมาณของกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอื่ ปีงบประมาณ 2536 จํานวนเงิน 948,000 บาท ตอ่ มากรมการศึกษานอกโรงเรียน อนุมตั ใิ หจ้ ัดซื้อหนงั สือเขา้ หอ้ งสมุด อีก 100,000 บาท เปิดใหบ้ ริการแกส่ มาชิกและประชาชนทัว่ ไป เมือ่ วนั ที่ 12 มกราคม 2536 เป็น ต้นมา ในปี พ.ศ. 2536 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ประกาศใหห้ อ้ งสมดุ ประชาชนทุกแหง่ เปน็ หนว่ ยงานสถานศึกษาและให้ใชเ้ ปน็ ที่ทาํ การ ของศนู ย์บริการการศึกษานอกโรงเรยี นของอําเภอนน้ั ๆ ตามนโยบายของกรมการศึกษานอกโรงเรียน ในวนั ท่ี 18 มกราคม 2537 กรมการศกึ ษานอก โรงเรยี น ไดม้ คี าํ สัง่ ที่ 14/2537 แต่งต้ังใหน้ ายอรรถพล ยอดเสนี มาปฏิบัติราชการในหน้าที่หวั หน้า ศนู ย์บริการการศึกษานอกโรงเรยี นอําเภอบางบาล จนถงึ พ.ศ. 2542 ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 กรมการ ศึกษานอกโรงเรยี น ได้มคี ําส่ังให้ นายสมคดิ เพง็ อดุ ม ดาํ รงตาํ แหน่งเปน็ หวั หน้าศูนย์บรกิ าร การศกึ ษานอกโรงเรียนอําเภอบางบาล จนถงึ ปี พ.ศ. 2546 กรมการศึกษานอกโรงเรียน ไดม้ ีคําส่ังให้ นายวิโรจน์ นาคกอ้ น มาดํารงตาํ แหนง่ เปน็ ผอู้ ํานวยการศูนย์บรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ บางบาล จนถงึ วนั ท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2551 สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้มคี ําส่งั ที่ สป 226/2551 ลงวันท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ 2551 ยา้ ยและแตง่ ตั้งให้ นางสมควร วงษ์แกว้ มาดาํ รง ตาํ แหนง่ ผูอ้ ํานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอบางบาล จนถงึ วนั ท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556 สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคําส่ังท่ี1364/2556 ลงวนั ท่ี 26 สิงหาคม พ.ศ.2556 แตง่ ต้ังให้ นายจริ วัฒน์ ไทยเกือ้ มาดํารงตาํ แหนง่ ผอู้ ํานวยการศูนย์

2 การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบางบาล ตอ่ มาสาํ นกั งานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ไดม้ ีคําส่ังที่ 165 /2558 ลงวนั ที่ 22 มกราคม 2558 แต่งตัง้ ให้ นางสาวนงกาณ ถูกอารมย์ มาดํารงตําแหน่งผ้อู ํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ บางบาล จนถึงปัจจบุ ัน อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั อาํ เภอบางปะหนั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา และอาํ เภอปุาโมก จังหวดั อา่ งทอง ทิศใต้ ติดต่อกับอาํ เภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ อาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ อาํ เภอเสนา อําเภอผักไห่ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา สภาพชุมชน อําเภอบางบาลมีพื้นที่ประมาณ 84,565.625 ไร่ หรือประมาณ 135.305 ตารางกิโลเมตร พื้นท่ีอําเภอบางบาล เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ไม่มีภูเขาและปุาไม้ เม่ือถึงฤดูนํ้าหลากน้ําเหนือไหลบ่าตาม แม่น้ําเข้าท่วมทุ่งนา แต่ปัจจุบันน้ียังมีคลองชลประทานก้ันอยู่ นอกจากพ้ืนท่ีจะราบลุ่มแล้วยังมี แม่น้ําหลายสายไหลผ่าน โดยเฉพาะแม่น้ําเจ้าพระยา ซึ่งเปรียบเสมือนเส้นโลหิตใหญ่ แม่น้ําน้อย และ มีคลองแยกไปอีกหลายคลอง เช่น คลองบางหลวง คลองบางบาล และคลองมหาพราหมณ์ อําเภอบางบาล มนี า้ํ ท่วมตามฤดูกาล จงึ ทําใหด้ ินอุดมสมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูก ประชากร จํานวน 32,337 คน แยกเปน็ ชาย 15,477 คน หญิง 16,860 คน จาํ นวน 11,569 หลงั คาเรือน (ข้อมลู จากสาํ นักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ เดือน 29 กันยายน 2559) ขอ้ มูลการปกครอง แบง่ เขตการปกครองออกเป็น 16 ตําบล 111 หมู่บ้าน เทศบาลตาํ บล 2 แหง่ องค์การ บริหารสว่ นตาํ บล 4 แหง่ มีพ้นื ท่ี จํานวน 16 ตาํ บล 111 หมู่บา้ น ดังนี้ 1. ตาํ บลบางบาล มี 5 หม่บู า้ น 2. ตาํ บลบางชะนี มี 5 หมบู่ ้าน 3. ตําบลบา้ นกมุ่ มี 9 หมบู่ า้ น

3 4. ตําบลไทรน้อย มี 10 หม่บู ้าน 5. ตําบลวดั ยม มี 4 หมู่บ้าน 6. ตําบลสะพานไทย มี 5 หมบู่ า้ น 7. ตาํ บลมหาพราหมณ์ มี 10 หมบู่ า้ น 8. ตาํ บลกบเจา มี 9 หมูบ่ ้าน 9. ตําบลบา้ นคลงั มี 7 หมบู่ า้ น 10. ตําบลพระขาว มี 7 หมบู่ ้าน 11. ตาํ บลนํ้าเตา้ มี 8 หมูบ่ า้ น 12. ตาํ บลบางหัก มี 8 หมู่บ้าน 13. ตําบลบางหลวงโดด มี 4 หมบู่ ้าน 14. ตาํ บลบางหลวง มี 5 หมู่บ้าน 15. ตาํ บลวดั ตะกู มี 9 หมู่บ้าน 16. ตาํ บลทางชา้ ง มี 6 หม่บู า้ น ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกจิ อาชีพหลัก ไดแ้ ก่ เกษตรกรรม เช่น ทํานา ทําสวน ทําไร่ พืชผัก ไมผ้ ล และเล้ียงสตั ว์ การอตุ สาหกรรมมี 2 ประเภท 1. อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ได้แก่ ทาํ อฐิ การทํากา้ นธูป 2. อตุ สาหกรรมโรงงาน โรงค้าไม้แปรรปู บริษัทไทยเบฟเวอรเ์ รจ จาํ กัด มหาชน บริษัทศรีวฒั นาอินดัสทรี จาํ กัด และบริษทั ออลูชัน่ จาํ กัด ดา้ นศาสนา ประชาชนของอําเภอบางบาลสว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประมาณ ร้อยละ 98 และ บางส่วนนบั ถอื ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 2 % และมีศาสนสถาน ดังน้ี 1. วดั มีจาํ นวน 35 แห่ง 2. มสั ยิด มจี ํานวน 3 แห่ง 3. ศาลเจา้ มจี ํานวน 3 แห่ง ดา้ นการศึกษา 1. สถานศึกษาในสงั กดั สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2 มจี ํานวน 23 แห่ง

4 2. สถานศกึ ษาสงั กัดสํานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จํานวน 1 แหง่ คอื ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอบางบาล ดําเนนิ การจัดกิจกรรม จํานวน 16 ตําบล ตามยทุ ธศาสตร์และจุดเนน้ การดําเนินงาน ปีงบประมาณ 2560



5

6 จาํ นวนผเู้ รียน/ผูเ้ ข้ารับการอบรม/ผูร้ ับบรกิ าร และจํานวนคร/ู วทิ ยากร/ผจู้ ัดกจิ กรรม ปีปจั จุบนั จานวนผ้เู รียน จานวนคร/ู (คน) หลักสูตร/ประเภท รวม วทิ ยากร/ ชาย หญงิ ผูจ้ ัดกจิ กรรม การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน -ระดบั ประถมศึกษา 23 15 (คน) -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 199 157 -ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 373 318 38 595 490 356 รวมจาํ นวน 691 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น 57 78 1,085 19 คน 1.โครงการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะนักศกึ ษา กศน.อําเภอบางบาล 63 37 2.โครงการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ กษตรธรรมชาติตามหลัก 135 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 47 33 100 3.โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนด้วยกระบวนการลกู เสือ 75 45 4.โครงการการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี 80 พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขและกฏหมายทเี่ กยี่ วข้องใน 71 49 120 ชีวติ ประจําวนั 5.โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ 84 80 120 ใหก้ บั นักศกึ ษา กศน. 68 68 6.โครงการเยาวชนรุน่ ใหมห่ า่ งไกลยาเสพตดิ 164 7.โครงการเสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจทีถ่ ูกตอ้ งเก่ียวกับ 62 68 136 บทบาทและความสาํ คญั ทถี่ ูกตอ้ งของสถาบันพระมหากษัตริยต์ ่อ สงั คมไทย 42 48 130 8.โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มหลักของไทย 90 12 ประการ 569 506 1,075 10 คน 9. โครงการลูกเสอื จิตอาสาทําความดเี พ่ือแม่ สาํ หรับนกั ศึกษา กศน.อําเภอบางบาล รวมจานวน

7 จานวนผเู้ รียน จานวนคร/ู (คน) หลกั สูตร/ประเภท รวม วิทยากร/ ชาย หญงิ ผจู้ ดั กิจกรรม (คน) การศกึ ษาต่อเนอื่ ง 48 339 387 การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ 56 353 409 1.โครงการโครงการสง่ เสริมดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของ 104 692 796 15 คน ประชาชนในชมุ ชน ทงั้ 16 ตาํ บล 120 253 373 2.โครงการโครงการสง่ เสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของ 20 141 161 ประชาชนในชมุ ชน ท้ัง 16 ตําบล 45 132 177 รวม 185 526 711 12 คน การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน 102 143 245 1. โครงการอบรมความเป็นพลเมืองดสี วู่ ถิ ปี ระชาธิปไตยให้กับ ประชาชนทงั้ 16 ตําบล 2. โครงการอบรมเกษตรธรรมชาตเิ พ่อื รักษาสงิ่ แวดล้อมให้กับ ประชาชนอําเภอบางบาล 3. โครงการเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจถกู ต้องเกีย่ วกบั บทบาท และความสาํ คัญของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ไทยให้กับประชาชน อําเภอบางบาล รวม การเรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง 1.โครงการอบรมให้ความรู้การทําปุย๋ นาํ้ ชีวภาพให้กบั ประชาชน ตําบลกบเจา ตาํ บลบางหลวงและตําบลบางชะนี 2.โครงการอบรมให้ความรู้ การทาํ ปยุ๋ โบกาฉิให้กบั ประชาชน ตําบลมหาพราหมณ์ 3.โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการทําเกษตรธรรมชาติสวู่ ถิ ี พอเพียงให้กบั ตําบลบางบาล บางหกั วดั ยม พระขาว ทางช้าง สะพานไทย ไทรนอ้ ยและตาํ บลบางหลวงโดด 4.โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ รื่องการทําปยุ๋ ดินจากใบก้ามปู ตําบล บ้านคลงั บา้ นกมุ่ นาํ้ เต้า และตาํ บลวัดตะกู

8 จานวนผู้เรยี น จานวนคร/ู (คน) หลกั สตู ร/ประเภท รวม วทิ ยากร/ ชาย หญิง ผจู้ ดั กจิ กรรม 5.โครงการการทําเกษตรธรรมชาตสิ ปู่ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และการพฒั นาที่ยัง่ ยืนให้กบั ประชาชนอาํ เภอบางบาล 23 140 (คน) รวมท้ังสิ้น 125 283 163 การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชพี - 16 408 1. การทําขนมไทยมงคล (50 ช.ม.) - 32 2. การนวดเท้าเพ่อื สุขภาพ (60 )2 กลุ่ม - 16 16 3. การทําอาหารขนม (50 ช.ม.) - 64 32 16 รวม 57 64 4 คน พฒั นาอาชีพ (ไมเ่ กิน 30 ช.ม.) 2 10 1.การขยายพันธพ์ุ ชื โดยการตอนกง่ิ และทาบก่งิ 6ชม. - 25 12 2. การทาํ แหนมเห็ดนางฟาู ภูฐาน 3 ช.ม. - 12 12 3. การทําน้ําพริกเผาเหด็ นางฟูาภูฐาน 3ช.ม.จาํ นวน 2 ตาํ บล - 12 25 4. การทํากลว้ ยกรอบ 3 รส,กลว้ ยอบสมนุ ไพร 6 ช.ม. - 36 12 5. การทาํ ขนมฟกั ทอง,เผอื ก 5 ช.ม. - 12 12 6. การทาํ เค้กกลว้ ยหอม 5 ช.ม.จํานวน 3 ตาํ บล - 12 36 7. การปนั้ อาลัวกหุ ลาบ 5 ช.ม. 10 18 12 8. การทําขนมฝอยทองกรอบ 5 ช.ม. 12 9. การออกกาํ ลังกายเข้าจังหวะการเต้นบัดสลบ 30 ช.ม.จาํ นวน - 87 28 2 ตาํ บล - 12 10.การทาํ ซูชิ 3 ช.ม. จาํ นวน 7 ตาํ บล - 12 87 11.การนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ 30 ช.ม. - 12 12 12.การนวดฝุาเทา้ 20 ช.ม. - 12 12 13.การทําถ่วั แปบปากหม้อโบราณ 3 ช.ม. - 12 12 14.ขนมห่อใบตองการทําขนมสอดไส้ 3 ช.ม. 12 15. ขนมห่อใบตองการทําขนมฟักทอง 3 ช.ม. 12

9 จานวนผู้เรียน จานวนครู/ (คน) หลกั สตู ร/ประเภท รวม วทิ ยากร/ ชาย หญงิ ผู้จดั กจิ กรรม 16.ขนมห่อใบตองการทําขา้ วตม้ มัด 5 ช.ม. 17. การทาํ ยาดมสมุนไพร 3 ช.ม. - 12 (คน) 18. การทาํ เบาะรองนง่ั ดว้ ยมือ 5 ช.ม. จํานวน 4 ตาํ บล 57 19. การทําไมก้ วาดดอกหญา้ 5 ช.ม. จํานวน 6 ตาํ บล 6 42 12 20. การทํากระเป๋าผา้ เยบ็ ด้วยมอื 5 ช.ม. 12 72 21. การทํากระเป๋าผ้าญป่ี ุนเย็บมอื 3 ช.ม. จาํ นวน5 ตาํ บล - 12 12 22.การทาํ การบูรหอมรูปฟงั ทองจากผา้ ใยบวั 5 ช.ม. - 60 จาํ นวน 3 ตาํ บล - 36 48 23. กาทาํ พวงกุญแจจากผา้ ญี่ปุน 3 ช.ม.จาํ นวน 4 ตาํ บล 24. การสานตระกร้าจากเชือกรม่ 20 ช่ัวโมง - 48 84 25.การทํากยุ ช่ายปากหม้อตาํ บลบา้ นกุม่ จาํ นวน 3 ช.ม. - 12 26. การทาํ ดอกมะลจิ ากกระดาษทิชชู จาํ นวน5 ช.ม. - 12 12 จาํ นวน 3 ตาํ บล - 36 27. การเพน้ ท์แกว้ ตาํ บลทางช้างจํานวน5 ช.ม. 60 28. หลักสตู รการทําขนมเทียน 3 ช.ม.ตาํ บลบางหลวง - 12 29. การทาํ ขนมหอ่ ใบตองขนมฟักทอง จาํ นวน 3 ช.ม. - 13 36 ตําบลบางหลวง 1 11 30. การทําลูกชปุ 3 ช.ม.ตาํ บลไทรนอ้ ย 48 31. การทําขนมทองม้วนกรอบ 5 ช.ม.ตําบลไทรนอ้ ย - 12 12 จาํ นวน 3 ตาํ บล 3 33 12 32. การถักรบิ บนิ้ รปู ทเุ รียนการบูรหอม จาํ นวน 5 ช.ม 36 จํานวน 2 ตาํ บล . - 24 33. การทาํ ข้าวเหนยี วแดง จํานวน 3 ช.ม.ตําบลกบเจา 12 34. การทําขนมฝอยทองจํานวน 3 ช.ม.ตาํ บลบ้านคลงั - 12 13 35. การทาํ ขนมชน้ั แฟนซี จํานวน 3 ช.ม.ตําบลสะพานไทย 39 12 36. การสานตะกรา้ จากเชือกรม่ 20 ชวั่ โมง ตําบลน้ําเตา้ - 12 37. การทาํ กระเป๋าลูกปดั 10 ชวั่ โมง ตาํ บลนาํ้ เต้า - 12 12 - 12 36 24 12 12 12 12 12

10 จานวนผเู้ รยี น จานวนครู/ หลักสูตร/ประเภท (คน) รวม วทิ ยากร/ ชาย หญิง ผู้จดั กจิ กรรม รวมท้ังสนิ้ การศึกษาตอ่ เน่อื งรูปแบบชั้นเรยี นวิชาชพี 40 ช่ัวโมง (คน) 1. การเพาะเหด็ นางฟาู ภูฐาน 2. การตัดเย็บผา้ ถงุ สาํ เรจ็ 47 801 848 50 คน 3. การทาํ เบอเกอร่ี 4. การนวดกดจดุ แก้อาการตา่ งๆจากโรค 2 13 15 5. การสานตะกร้าหวาย 3 ตําบล - 16 16 6. การสานฝาชีหวาย 2 ตาํ บล - 15 15 7. การสานกระเปา๋ จากหวาย 2 ตําบล 3 12 15 8. การทาํ ผลติ ภณั ฑจ์ ากหนงั พวี ซี ี 2 ตําบล - 46 46 9. การทาํ กระเปา๋ หนงั แฮนด์เมค - 30 30 10. การทาํ หมอนองิ หลากหลายสไตล์ - 30 30 11. การทําผา้ บตู ิก(ผา้ ปูโตะ๊ ) 2 28 30 12. การทําอาหารขนม ตําบลบา้ นคลัง 2 13 15 13. การทําพวงมาลัยจากกระดาษทชิ ชู ตาํ บลบางชะนี 3 13 16 14. การสานกระเป๋าจากหวาย ตาํ บลสะพานไทย - 15 15 15. การทํากระเป๋าแฮนด์เมด ตาํ บลบางหกั 2 16 18 16. การสานตะกร้าจากเชอื กร่ม ตาํ บลบา้ นกมุ่ - 18 18 17. การสานตะกรา้ จากหวายตาํ บลบางบาล - 18 18 18. การทําหลกั สูตรชา่ งปูนพนื้ ฐานตาํ บลไทรน้อย - 18 18 19. การสานฝาชีหวายตาํ บลไทรน้อย - 18 18 20. การสานกระเป๋าแฟนซจี ากหวายตําบลมหาพราหมณ์ - 18 18 21. การสานกระเป๋าจากเชอื ดมดั ฟางตาํ บลกบเจา 9 6 15 22. การสานตะกรา้ หวายตําบลวัดตะกู - 15 15 23. การทาํ กระเปา๋ ดน้ มอื ตาํ บลวัดยม - 18 18 24. การนวดหนา้ และการสปาหน้าตาํ บลทางช้าง - 18 18 25. การสานฝาชีหวายตาํ บลพระขาว 1 17 18 26. การทาํ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่มสมนุ ไพรตําบลน้ําเต้า - 18 18 - 18 18 - 18 18 - 18 18

11 จานวนผู้เรยี น จานวนครู/ หลกั สูตร/ประเภท (คน) รวม วทิ ยากร/ ชาย หญงิ ผจู้ ดั กจิ กรรม (คน) 27. การสานตะกรา้ จากเชอื กร่ม ตําบลบางหลวง - 15 15 28. ช่างเชือ่ มเหล็กตาํ บลบางหลวงโดด 16 - 16 รวมท่ังสิน้ 40 498 538 22 คน พฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการ Smart Farmer เพื่อสร้าง Smart Trainner 6 10 16 รวม 6 10 16 1 คน โครงการภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสารด้านอาชพี การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ ห้มคี ุณภาพเทา่ เทียม ทวั่ ถึง 1.โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการค้าขายผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน 6 14 20 2. โครงการอบรมภาษาองั กฤษเพ่ือการต้อนรบั นกั ท่องเท่ียว 3 17 20 รวม 9 31 40 1 คน โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล 1.โครงการอบรมหลักสตู รการเข้าใจ Digital Literacy 26 230 256 2.โครงการอบรมหลักสตู รชุมชนเปิดรา้ คา้ ออนไลน์ 5 27 32 E-Commerce รวม 31 257 288 16 ตาบล การศึกษาตามอัธยาศยั 1.กจิ กรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศยั กจิ กรรมห้องสมุดประชาชน 1,106 1,204 2,310 จาํ นวน 1 แหง่ โครงการบรกิ ารส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ตลอดชีวติ 2.กิจกรรม กศน.ตาํ บล จาํ นวน 16 แหง่ 1,658 2,059 3,717 - กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านในชุมชน 3.กิจกรรมบ้านหนังสือชมุ ชน จํานวน 48 แห่ง 8,630 8,896 17,526 รวม 11,394 12,159 23,553

12 จานวนบคุ ลากร (ปีปัจจุบนั ) จานวน (คน) ประเภท/ตาแหน่ง ตา่ กว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจานวน - 1 ผู้บริหาร - -1- 1 ข้าราชการครู - 1 บุคลากรทางการศึกษา 38 ค (2) /บรรณารักษ์ - 1- - 17 พนกั งานราชการ/ครูอาสาฯ และครู กศน. ตาํ บล - 1- - 1 ครูศูนยก์ ารเรียนชุมชน - 21 16 1 - รวมจานวน 1 - 19 2 - งบประมาณ (ปีปจั จบุ นั ) งบประมาณท่ไี ดร้ ับ งบประมาณทใ่ี ช้ ประเภทงบประมาณ 2,650,663 - จานวน (บาท) คิดเปน็ ร้อยละ เงนิ งบประมาณ 2,650,663 2,300,077.58 86.77 เงินนอกงบประมาณ -- รวม 2,300,077.58 86.77 แหลง่ เรียนร้แู ละภาคีเครอื ข่าย กศน.ตาบล ทต่ี งั้ ผู้รับผดิ ชอบ 1. กศน.ตําบล พระขาว ต้งั อยู่ท่ีอาคารศาลาประชาธิปไตย หมู่ 2 ตําบลพระ นางสาวอภชิ ญา เพง็ คาสคุ นั โธ 2. กศน.ตาํ บล.บ้านคลัง ขาว 3. กศน.ตําบลน้าํ เตา้ ตง้ั อยทู่ ี่ รพ.สต.บา้ นคลังหลงั เกา่ หมู่ 4 ตําบลบ้านคลัง นางเพ็ญแข โชตสิ ุวรรณ 4. กศน.ตาํ บลวัดตะกู นายณัฐวิทย์ นิรัญทวี ตง้ั อยทู่ ี่ศาลาเอนกประสงคว์ ัดบา้ นแดง ตาํ บลนา้ํ เตา้ นางสาวภาวณิ ี บญุ ชว่ ย 5. กศน.ตาํ บลบางหลวงโดด ตั้งอยูท่ ี่ สภาตําบลเดิม ตําบลวัดตะกู นางสาวลกั ษณา นกครุฑ ตัง้ อยทู่ ่ีศาลาอเนกประสงค์หมู่ 4 ต.บางหลวงโดด นางวราภรณ์ ขาวเงินยวง 6. กศน.ตาํ บลกบเจา ตั้งอยทู่ ี่ อบต.กบเจา หมู่ 7 ตําบลกบเจา นางสาวฉันทนา กนั ศิริ 7. กศน.ตําบลวัดยม ตง้ั อยทู่ ่ี ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 1 ตาํ บลวดั ยม

13 กศน.ตาบล ท่ีตงั้ ผูร้ บั ผดิ ชอบ นายกฤษฎา มว่ งหวาน 8.กศน.ตําบลมหาพราหมณ์ ต้งั อยู่ที่ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 10 ตําบลมหา พราหมณ์ นางสาวนา้ํ ฝน แมน้ ชื่น 9.กศน.ตําบลทางช้าง ตั้งอยทู่ ี่โรงเรยี นวดั อนิ ทราราม หมู่ 3 ตาํ บลทางชา้ ง นายพงศธร พลพาแพน 10. กศน.ตําบลบางชะนี ตั้งอยู่ที่อาคารอเนกประสงคโ์ รงเรียนวัดโคก หมู่ 4 ตาํ บลบางชะนี นางสาวชนดั ดา ดวงนิมิตร 11.กศน.ตําบล บา้ นกุ่ม ตงั้ อยู่ท่ี กศน.ตาํ บล หมู่ 5 ตําบลบา้ นกุ่ม นางประภสั สร วรลกั ษณส์ ทิ ธ์ิ 12. กศน.ตําบลไทรน้อย ตั้งอยทู่ ี่ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 3 ตําบลไทรน้อย นางสาวศทุ ธนิ ี จนั ยะนัย 13. กศน.ตําบลบางหัก ตง้ั อยู่ท่ีสภาตาํ บลเดิม หมู่ 4 ตําบลบางหกั นางสาวช่นื ใจ งามสุทธิ 14.กศน.ตําบลบางหลวง ตั้งอยทู่ ่ี อาคารโรงเรียนประชากรรังสฤษฏ์ (หลงั เก่า) หมู่ 2 ตาํ บลบางหลวง ว่าทรี่ อ้ ยตรี ชลันธร ชโลธร 15. กศน.ตาํ บลบางบาล ตั้งอยูท่ ่ีศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 2 ตําบลบางบาล นางสาวปัทมา ไกรรักษ์ 16. กศน.ตําบลสะพาน ไทย ต้ังอยทู่ ี่ สภาตําบลเดมิ หมู่ 1 ตาํ บลสะพานไทย รวมจานวน 16 ตาบล แหลง่ เรยี นร้อู ่นื ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทตี่ งั้ ที่ ชื่อแหล่งเรยี นรู้ - แหลง่ เรยี นรูท้ างพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประติมากรรม หมู 2 ต.บางชะนี 1. วดั โคกหิรญั ปูชนยี สถาน พระพุทธรปู ที่สาํ คญั ศาสนา ประเพณีและ วฒั นธรรม หมู่ 3 ต.วัดยม 2. วดั นกกระจาบ - แหลง่ เรียนรทู้ างพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประติมากรรม ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ที่สาํ คญั ศาสนา ประเพณีและ 34 หมู่ 3 ต.พระขาว 3. วดั พระขาว วฒั นธรรม - แหล่งเรียนรู้ทางพระพทุ ธศาสนา จติ รกรรม ประติมากรรม หมู่ 4 ต.สะพานไทย 4 วดั ไผ่ลอ้ ม ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ทสี่ าํ คญั ศาสนา ประเพณแี ละ วัฒนธรรม - แหลง่ เรยี นรู้ทางพระพุทธศาสนา จิตรกรรม ประตมิ ากรรม ปชู นยี สถาน พระพทุ ธรปู ทสี่ าํ คญั ศาสนา ประเพณีและ วฒั นธรรม

14 ท่ี ช่อื แหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทีต่ ้ัง 35 หมู่ 2 ต.น้าํ เตา้ 5 วัดสีกกุ -แหลง่ เรยี นรทู้ างพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประตมิ ากรรม 70 หมู่ 5 ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ท่ีสาํ คญั ศาสนา ประเพณีและ ต.มหาพราหมณ์ หมู่ 3 ต.วัดกอไผ่ วฒั นธรรม ต.บางหลวงโดด 6 วดั เสาธง -แหล่งเรียนรู้ทางพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประติมากรรม หมู่ 5 ต.บางบาล ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ทีส่ าํ คญั ศาสนา ประเพณี หมู่ 3 ต.ทางช้าง 7 วดั กอไผ่ -แหล่งเรียนรู้ทางพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประตมิ ากรรม หมู่ 5 ต.บ้านคลงั ปูชนยี สถาน พระพทุ ธรปู ที่สาํ คญั ศาสนา ประเพณแี ละ หมู่ 7 ต.วัดตะกู วัฒนธรรม 32 หมู่ 5 ต.บางหลวง อบต.กบเจา 8 วดั บางบาล แหลง่ เรียนร้ทู างพระพทุ ธศาสนา จิตรกรรม ประตมิ ากรรม หมู่ 7 ต.กบเจา หมู่ 6 ต.บ้านกุ่ม ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ท่ีสาํ คญั ศาสนา ประเพณีและ หมู่ 1 ต.สะพานไทย วัฒนธรรม 46 หมู่ 7 ต.ไทรนอ้ ย 9. วัดอินทราราม -แหลง่ เรียนรูท้ างพระพทุ ธศาสนา จติ รกรรม ประตมิ ากรรม ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ทส่ี าํ คญั ศาสนา ประเพณแี ละ วัฒนธรรม 10 วัดธรรมโชติการาม -แหล่งเรียนรทู้ างพระพุทธศาสนา จติ รกรรม ประติมากรรม ปูชนยี สถาน พระพทุ ธรปู ที่สาํ คญั ศาสนา ประเพณแี ละ วัฒนธรรม 11 วัตตะกู แหล่งเรียนรทู้ างพระพทุ ธศาสนา จติ รกรรม ประตมิ ากรรม ปชู นยี สถาน พระพุทธรปู ท่ีสาํ คญั ศาสนา ประเพณีและ วฒั นธรรม 12 นายประวิทย์ อรรถวเิ วก ศูนยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียงเกษตรผสมผสาน 13 ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ICT - แหลง่ สบื ค้นขอ้ มูล /สารสนเทศ ชมุ ชนกบเจา - บริการส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ 14 อนุสาวรีย์นายขนมต้ม มวยไทย 15 หอ้ งสมดุ ประชาชนอําเภอ - แหล่งสบื คน้ ขอ้ มลู / บริการส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ บางบาล - ศูนย์ใหค้ าํ ปรกึ ษาแนะแนวการศึกษา 16 โฮมสเตยไ์ ทรน้อย - กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชน รวมจานวน 16 แห่ง

15 ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ความสามารถและประสบการณ์ ทีอ่ ยู่ ช่อื ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ กลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกร 103/1 หมู่ 9 ต.บา้ นกมุ่ 1. นางสําออย นัยจิต - ขนมไทยอนุสรา - ไข่เคม็ - นาํ้ พรกิ เผา 2 .นางมณเฑยี ร พูลสวสั ดิ์ - ธูปหอมสมุนไพร 3/1 หมู่ 6 ต.บา้ นกมุ่ - เรือจาํ ลอง (จ๋วิ ) 3.นายภวตั ไมพ้ รต - กิ่งพนั ธ์ ไม้ดอก ไมผ้ ล ไมป้ ระดับ 76 หมู่ 2 ต.บ้านกมุ่ 4.นางสุนยี ์ จันทร ไอศกรีมกะทสิ ด นํา้ มะพร้าวอ่อน นํ้าใบบวั บก 48 หมู่ 7 ต.ไทรน้อย กลุม่ แม่บ้านเกษตรกรทรงสเปน 5. นายสมาน ธารสี ิทธิ์ - สมนุ ไพรอบกรอบ 33 หมู่ 5 ต.มหาพราหมณ์ 6. นางนวลอนงค์ แชม่ ช้อย - กล้วยตาก กล้วยอบแผ่น 10 หมู่ 3 ต. มหาพราหมณ์ 7. นางสมศรี วิงวอน - ผลไมแ้ หง้ เชอื่ ม 34/1 หมู่ 3 ต.กบเจา 8. นางเรณู กสกิ ุล - นาํ้ พริกเผา งาดําคว่ั 88 หมู่ 3 ต. บางชะนี 9. นายสนน่ั ไกรพันธ์ ผลิตภัณฑจ์ ักสานไม้ไผ่ 91 หมู่ 4 ต.บ้านคลัง 10.นางวงเดือน อันทลาภี กางเกงสําเรจ็ รูป JJ คลับ 8 หมู่ 1 ต.บางหกั 11.นางทองแท้ หาอังกาบ 10 หมู่ 1 ต.บางชะนี 12.นางมยุรี ศรนี าค ไขเ่ ค็มดนิ สอพอง / ขนมกง / นํา้ พรกิ ปลายา่ ง 46 หมู่ 7 ต.ไทรน้อย นํา้ พรกิ แกงเผ็ด / นา้ํ พริกเผา 13.นางรัตนา ศรสี ุข น้ําดื่มชุมชน 7 ห่วง 2 หมู่ 4 ตําบลบางหลวง กลว้ ยหอม/กล้วยไข่ การเกษตรผสมผสาน กล่มุ ขนมไทย/น้ําดมื่ เทพนาคา อาหาร-ขนมพ้ืนบา้ น 14.นายสมพงศ์ ศรีสุข การทําปยุ๋ หมัก ปุ๋ยชวี ภาพ และการปลกู พืชแบบปลอดภัย 54 หมู่ 4 ตาํ บลบางหลวง 15.นายคํานึง โมรา การจกั สานไมไ้ ผ่ การแปรรปู ผลิตภัณฑ์การเกษตร 27 หมู่ 1 ตาํ บลบางหลวง 16.นายเทยี น โพธ์ิประทปี การอนุรักษศ์ ลิ ปะวฒั นธรรม การตกี ลองยาว 9 หมู่ 3 ตาํ บลบางหลวง รวมจานวน 16 แหง่

16 ภาคเี ครอื ขา่ ย ช่อื ภาคเี ครือขา่ ย ทต่ี ง้ั /ท่ีอยู่ 1. อําเภอบางบาล หมู่ 1 ต.มหาพราหมณ์ 2. พฒั นาชมุ ชนอําเภอบางบาล หมู่ 1 ต.มหาพราหมณ์ 3. เกษตรอําเภอบางบาล หมู่ 1 ต.มหาพราหมณ์ 4. วัฒนธรรมอาํ เภอ หมู่ 1 ต.มหาพราหมณ์ 5. สาธารณสขุ อาํ เภอบางบาล หมู่ 1 ต.สะพานไทย 6. สหกรณก์ ารเกษตรอําเภอบางบาล หมู่ 2 ต.สะพานไทย 7. โรงพยาบาลบางบาล หมู่ 1 ต.สะพานไทย 8. รพ.สต.ทกุ ตาํ บล อําเภอบางบาล 9. องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน เทศบาลตาํ บลบางบาล หมู่ 4 ต.บางบาล เทศบาลตาํ บลมหาพราหมณ์ หมู่ 1 ต.มหาพราหมณ์ 10. โรงเรียนวัดพระขาว อบต.กบเจา หมู่ 7 ต.กบเจา 11. โรงเรยี นวัดโพธ์ิ อบต.บ้านคลงั หมู่ 4 ต.บ้านคลงั 12. โรงเรียนวดั ใหม่ อบต.พระขาว หมู่ 6 ต.พระขาว 13. โรงเรยี นวัดม่วงหวาน อบต.นา้ํ เต้า หมู่ 2 ต.นาํ้ เตา้ 14. โรงเรยี นวัดนกกระจาบ หมู่ 3 ต.พระขาว 15. วดั ไผล่ ้อม หมู่ 3 ต.กบเจา 16. วัดกําแพงแกว้ หมู่ 7 ต.กบเจา 17. วัดเสาธง หมู่ 6 ต.มหาพราหมณ์ 18. วัดสกี ุก หมู่ 3 ต.วัดยม 19. วัดพระขาว หมู่ 4 ต.สะพานไทย 20. วดั ธรรมจักร หมู่ 1 ต.สะพานไทย 21. มัสยิดซําซุ้ลฮุดดาห์ 70 หมู่ 5 ต.มหาพราหมณ์ 22. มสั ยิดสมคดิ อสิ ลาม 35 หมู่ 2 ต.นา้ํ เต้า 23. กลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรไทรนอ้ ยทรงสเปน 34 หมูท่ ่ี 3 ต.พระขาว 24. นางทองแท้ หาองั กาบ (เกษตรผสมผสาน ) หมู่ 2 ต.วดั ยม หมู่ 6 ต.มหาพราหมณ์ หมู่ 1 ตําบลบา้ นคลงั 48 หมู่ 7 ต. ไทรนอ้ ย 10 หมู่ 1 ต.บางชะนี

17 ชือ่ ภาคเี ครือขา่ ย ที่ตงั้ /ที่อยู่ 25. กลุม่ ขนมไทย/นา้ํ ดมื่ เทพนาคา หมู่ 7 ต.ไทรนอ้ ย รวมจานวน 25 แหง่ รางวลั เกยี รติบัตร เกียรตยิ ศ และผลงานเดน่ ของสถานศกึ ษา (ปีปัจจบุ นั ) 1. รางวลั “ ชุมชนต้นแบบขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศโครงการไทยนยิ มยั่งยนื ระดับ จังหวัด โดยสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ประจําปี 2561 ในวันที่ 30 สงิ หาคม 2561 เปน็ การยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติสร้างขวัญและกําลังใจใหก้ บั ภาคเี ครอื ข่ายต้นแบบท่ใี ห้การสนบั สนุน กศน.อาํ เภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. ผู้บรหิ ารดเี ดน่ ครูดเี ดน่ และบคุ ลากรทางการศึกษาดีเด่น จากสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัด พระนครศรอี ยุธยา วันท่ี 16 มกราคม 2562 ได้แก่ 1. นางสาวนงกาณ ถูกอารมย์ ผู้อาํ นวยการ 2. นางวราภรณ์ ขาวเงนิ ยวง ครู กศน.ตําบล 3. ครดู ีศรบี างบาล ประเภทผู้บริหารยึดมั่นในความดีมีอุดมการณ์สร้างสรรค์งานการศึกษา เพือ่ พัฒนาเยาวชนของชาติ วนั ท่ี 16 มกราคม 2562 จากสํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ได้แก่ 1. นางสาวนงกาณ ถกู อารมย์ ผอู้ ํานวยการ 4. ครูดี ประจําปี พทุ ธศักราช 2562 จากสาํ นักงานส่งเสริมสวสั ดิการและสวสั ดิภาพครแู ละ บุคลากรทางการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา วนั ท่ี 16 มกราคม 2562 ได้แก่ 1. นางสาวนงกาณ ถกู อารมย์ ผู้อํานวยการ 2. นายอทุ ิศ ตรคี ณุ า ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวลกั ษณา นกครฑุ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางจิตติมา บุญฤทธิ์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 5. ว่าทรี่ อ้ ยตรชี ลันธร ชโลธร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางวราภรณ์ ขาวเงนิ ยวง ครู กศน.ตําบล 7. นางเพ็ญแข โชติสวุ รรณ ครู กศน.ตาํ บล 5. ผอ.กศน.ดีเด่น ครู กศน.ดีเด่น (ระดับจงั หวัด) ประจาํ ปี 2562 จากสาํ นักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา วนั ที่ 4 มกราคม 2562 1. นางสาวนงกาณ ถกู อารมย์ ผอู้ าํ นวยการ 2. นางวราภรณ์ ขาวเงินยวง ครู กศน.ตาํ บล

18 6. กศน.ตาํ บา้ นกมุ่ อําเภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ได้รับการคัดเลือกเปน็ กศน.ดเี ด่นระดบั จังหวดั ประจาํ ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2562 7. นายธนารกั ษ์ มว่ งเกษม ไดร้ บั รางวัล ข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษาดเี ดน่ ประจําปี 2562 ได้รับรางวลั หอ้ งสมดุ ประชาชนดเี ด่น รองชนะเลิศลําดบั ท่ี 1 การประเมินคัดเลอื ก ห้องสมุดประชาชนดีเดน่ ประจําปี 2562 และไดร้ ับรางวลั ที่ 1 การประกวดเว็ปไซตห์ ้องสมดุ ประชาชนภายใตร้ ะบบเชอ่ื มโยงแหล่งการเรยี นรู้ (http://:lrls.nfe .go .th ) ปงี บประมาณ 2562 8. ได้รบั ประกาศนียบัตรชมุ ชนต้นแบบตามแบบโครงการไทยนยิ มย่งั ยืน ระดับตําบลทั้ง 16 ตําบล เปน็ ต้นแบบขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนิยมยั่งยนื จากสาํ นักงาน สง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ประจําปี พุทธศกั ราช 2562 เม่ือวนั ท่ี 7 มีนาคม 2562 จากพลเอกสรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์ รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 1.ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณท่ีผา่ นมา ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา จากผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเห็นสมควรจัดโครงการ/กจิ กรรมเพื่อปรบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลาํ ดับความสําคญั ดงั นี้ 1. พัฒนาการเรยี นการสอนทจ่ี ะสง่ ผลสัมฤทธขิ์ องผูเ้ รยี นเพิม่ มากขึน้ 2. พัฒนา กศน.ตําบล ใหม้ ีความพร้อมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 3. หนว่ ยงานตน้ สังกดั ควรดําเนินนโยบายในการยกระดับคุณภาพการศึกษา เชน่ - การวิจยั เพอื่ พัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาํ คญั - รปู แบบการเรยี นรทู้ ต่ี อบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล - สรา้ งความร่วมมือ ( MOU) กบั สถาบันการศกึ ษาในพน้ื ท่เี พื่อเพ่มิ พนู ความรู้และ ความสามารถ ในเรือ่ งการสอนและการดําเนินงานดา้ นตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพต่อไป 4. สง่ เสริมครผู ้สู อนได้พฒั นาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถเร่อื งเทคนิคการจดั การ เรียนรู้สาํ หรับผ้ใู หญ่และผู้มีงานทาํ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย

19 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา 1.ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปงี บประมาณท่ีผา่ นมา มาตรฐาน/ตัวบง่ ช้ี นา้ หนกั ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น/ผู้รับบริการ (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดับคณุ ภาพ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ตวั บง่ ช้ี 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีคณุ ธรรม 35 30.50 ดีมาก ตวั บ่งช้ี 1.2 ผ้เู รียนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมีทักษะกระบวนการคิด มีทกั ษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาํ เนินชวี ติ 5 5.00 ดมี าก ตัวบง่ ชี้ 1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมีความรพู้ น้ื ฐาน 5 4.00 ดีมาก การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ตวั บ่งช้ี 1.4 ผู้เรยี นหรอื ผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถและทักษะในประกอบ 5 3.50 ดี อาชพี ตัวบง่ ช้ี 1.5 ผู้เรยี นหรอื ผเู้ ข้ารบั การอบรมปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ 5 4.00 ดี พอเพยี ง ตวั บง่ ช้ี 1.6 ผเู้ รยี นหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม 5 5.00 ดมี าก การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตัวบ่งชี้ 1.7 ผรู้ บั บริการได้รบั ความรู้ และ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 5 4.50 ดมี าก โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การให้บริการ 5 4.50 ดีมาก การศึกษาข้นั พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครกู ารศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 45 39 ดีมาก ตวั บง่ ช้ี 2.2 คุณภาพของหลักสตู รสถานศึกษา ตัวบง่ ช้ี 2.3 คุณภาพสื่อตามหลกั สตู รสถานศึกษา 5 3.50 ดี ตัวบ่งช้ี 2.4คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศึกษา การศึกษาตอ่ เน่ือง 5 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศึกษาตอ่ เนอื่ ง ตวั บ่งช้ี 2.6 คณุ ภาพหลกั สตู รและสอื่ การศึกษาต่อเนอ่ื ง 5 5.00 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ 2.7 คุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5 3.50 ดี ตัวบง่ ชี้ 2.8 คุณภาพผูจ้ ดั กจิ กรรมตามอัธยาศัย ตวั บง่ ช้ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 5 4.50 ดีมาก 5 5.00 ดมี าก 5 4.00 ดี 5 4.00 ดี 5 4.50 ดีมาก

20 มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้ น้าหนกั ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษา คะแนนทไี่ ด้ ระดับคุณภาพ ตวั บ่งชี้ 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลักธรร 20 19.00 ดมี าก มาภบิ าล 5 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ช้ี 3.2 การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาภาคเี ครอื ขา่ ย ตัวบ่งชี้ 3.3 การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 5.00 ดมี าก ตวั บง่ ช้ี 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5 5.00 ดีมาก 5 4.00 รวม 100 88.50 ดี ดมี าก ทงั้ นี้ จากการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เพ่ือการพฒั นาการศึกษา สามารถสรปุ จุดเดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา และวิธีการปฏิบัตทิ ี่ดี หรอื นวตั กรรม หรือตัวอยา่ งท่ีดี หรือตน้ แบบของ สถานศึกษาได้ดังน้ี สรปุ ผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพ่ือการพฒั นา จดุ เดน่ 1.ผเู้ รียนการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมคี ุณธรรม 2.มีการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายให้กบั ผู้เรยี นและสามารถยืดหย่นุ ได้ 3.การจดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเนอ่ื ง ตรงตามความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย หลักสตู รและสื่อ 4.สถานศกึ ษามกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5.สถานศกึ ษามีการมอบหมายงานใหก้ บั บุลากรได้อยา่ งชัดเจน 6. สถานศกึ ษามแี ผนการปฏบิ ัตงิ านทชี่ ดั เจน สามารถยดื หยุ่นได้ จุดทค่ี วรพัฒนา 1.ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตาํ่ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะการเรยี นรู้ ความรู้ พืน้ ฐาน ทกั ษะการประกอบอาชีพ ทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ และ สาระการพฒั นาสงั คม ในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2.สถานศึกษาควรพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรียนใหม้ ีผลสมั ฤทธิ์ ทส่ี งู ขน้ึ โดยการวิเคราะห์ ศึกษา วจิ ัย การใชส้ ือ่ นวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอน วิธีปฏบิ ตั ิท่ดี หี รือนวัตกรรม 1.ครคู วรพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เรอื่ งของสื่อ นวัตกรรมในการจดั การเรยี น หรอื ตวั อย่างท่ดี ี หรือตน้ แบบ การสอนเพม่ิ ขึ้น 2. ครู กศน.ตําบล ต้องรวบรวมข้อมลู การประเมนิ ของผู้เรยี น เพ่อื ทราบถึง ความถนดั ความสนใจ ข้อดี ขอ้ ด้อยของผ้เู รียนนาํ มาปรับปรงุ คุณภาพการจดั การเรียนการสอน

21 จากจดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา และวิธีปฏบิ ัติที่ดีหรอื นวตั กรรม หรือตัวอย่างท่ดี ี หรือต้นแบบของ สถานศึกษา เหน็ ควรใหส้ ถานศกึ ษาจดั โครงการ/กจิ กรรม เพอื่ ปรบั ปรงุ หรือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยกาํ หนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดงั น้ี จากผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเห็นควรใหส้ ถานศกึ ษาจดั โครงการ/ กิจกรรม เพอื่ การปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตามลําดบั ความสําคญั ดังนี้ 1. สถานศกึ ษาควรหาสาเหตุ/ปจั จัยท่ีมีผลกระทบตอ่ ผเู้ รยี นท่มี ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตํา่ ใน กลุม่ สาระการเรียนรู้ ทักษะการเรยี นรู้ ความรพู้ ืน้ ฐาน ทกั ษะการประกอบอาชพี ทักษะการดําเนนิ ชวี ติ และ สาระการพฒั นาสงั คม ในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. ควรนาํ ผลทไ่ี ด้มาวิเคราะห์ ศกึ ษา วิจัย และหาแนวทางแกไ้ ข เพ่ือพฒั นาผูเ้ รยี นให้มี ผลสมั ฤทธ์ิสงู ขึน้ สอดคล้องกับเปาู หมายของสถานศึกษา 3.สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ ให้มีการพัฒนาหลกั สูตรอยา่ งต่อเนือ่ ง การจดั กระบวนการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรยี นเปน็ สําคัญ รวมทงั้ การนาํ นวัตกรรม เทคโนโลยีมาปรบั ใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี อ้ือ ตอ่ การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง 2. ผลการประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาโดยต้นสงั กัด ครงั้ ลา่ สุด มาตรฐาน คา่ น้าหนัก ผลการประเมินตนเองของ สถานศกึ ษาโดยตน้ สงั กดั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รียน/ผูร้ ับบริการ 35 ค่าเฉล่ีย ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/ผรู้ บั บริการ 25 28.48 ดี มาตรฐานที่ 3 การบริหารจดั การ 10 23.49 ดีมาก มาตรฐานท่ี 4 การประกันคุณภาพ 10 10.00 ดมี าก มาตรฐานท่ี 5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา 10 9.00 ดมี าก มาตรฐานท่ี 6 มาตรการสง่ เสรมิ 10 10.00 ดีมาก 100 8.75 ดี ภาพรวมของสถานศกึ ษา 89.72 ดี ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาจากผลการประเมินสถานศึกษาโดยตน้ สังกัด 1.พฒั นาบุคลากรเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการดําเนนิ การจดั การเรยี นการสอน การวิจยั เพ่ือ พฒั นาผ้เู รยี น และจัดหาครูท่ีมีคุณวฒุ ิตรงตามวชิ าเอกมาช่วยในการสอนเสรมิ 2.สง่ เสริมให้ชมุ ชนมีการจดั การความรูแ้ ละกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ นําไปสกู่ ารพัฒนาท่ยี ัง่ ยืนอย่างเปน็ รูปธรรม

22 3.ควรมกี ารประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาเพื่อนาํ ผลการประเมนิ มาปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตร ให้เหมาะสม สะท้อนใหเ้ ห็นภาพการพัฒนาใหเ้ ป็นไปตามอัตลกั ษณ์ของสถานศึกษา 4. การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัยควรจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายและต่อเนื่อง ควรมี การนาํ เทคโนโลยวี ัสดุ-อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทนั สมัย เขา้ มาใช้ในการใหบ้ ริการ และบรกิ ารยืมคนื ดว้ ย ตนเอง 3. ผลการประเมินภายนอกครั้งล่าสดุ สถานศกึ ษาได้รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก ระหวา่ ง วนั ที่ 14-16 เดือน มถิ ุนายน 2557 1) ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสามของสถานศึกษา 2) ตวั บ่งช้ี นา้ หนกั ค่าคะแนน ระดบั (คะแนน) คุณภาพ กลุ่มตวั บ่งช้พี นื้ ฐาน 1. ผู้เรยี นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี 10.00 9.13 ดมี าก 2. ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ 10.00 9.07 ดีมาก 3. ผเู้ รียนมคี วามใฝรุ แู้ ละเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ ง 10.00 8.72 ดี 4. ผู้เรียนคดิ เป็น/ทาํ เป็น 10.00 8.02 ดี 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียน 20.00 11.96 ดี 6. ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสําคัญ 10.00 8.33 ดี 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา 5.00 4.80 ดมี าก 8. พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สังกัด 5.00 4.73 ดมี าก ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตัวบ่งช้ีพื้นฐาน 80.00 64.76 ดี กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามเปูาหมายตามปรัชญา ปณิธาน พนั ธกิจ 5.00 4.33 ดี และวตั ถุประสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ท่ีสง่ ผลสะทอ้ นเป็นเอกลักษณ์ 5.00 4.33 ดี ของสถานศกึ ษา ผลรวมคะแนนการประเมินของตวั บง่ ชอี้ ัตลกั ษณ์ 10.00 8.66 ดี กลุ่มตวั บง่ ชมี้ าตรการสง่ เสริม 11. ผลการดําเนนิ โครงการพิเศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศึกษา 5.00 4.67 ดีมาก 12. ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน รกั ษา 5.00 3.00 พอใช้ มาตรฐานและพัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศทส่ี อดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรปู การศึกษา

23 2) ตวั บง่ ช้ี นา้ หนัก คา่ คะแนน ระดบั (คะแนน) คณุ ภาพ ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตวั บ่งชีม้ าตรการส่งเสริม 10.00 7.67 ผลรวมคะแนนการประเมินของทกุ ตัวบ่งชี้ 100.00 81.09 ดี ผลรวมคะแนนการประเมินทุกตวั บง่ ช้ี มคี ่าตัง้ แต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไม่ใช่ มตี ัวบง่ ชท้ี ่ไี ดร้ ะดบั ดขี ึน้ ไปอย่างนอ้ ย 10 ตวั บ่งชี้ จาก 12 ตวั บ่งชี้  ใช่  ไมใ่ ช่ ไมม่ ตี ัวบ่งช้ีใดทม่ี ีระดับคุณภาพต้องปรบั ปรงุ หรอื ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ สรุปผลการจดั การศกึ ษาในภาพรวม :  สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐาน การศึกษา 2) สรปุ ผลการประเมินตามกลมุ่ ตวั บง่ ชี้ของ สมศ. กล่มุ ประเภทตัวบ่งช้ี ตัวบ่งชี้ คะแนนเต็ม คะแนน 64.76 ผลรวมคะแนนตัวบง่ ช้ีพืน้ ฐาน 1-8 80 8.66 7.67 ผลรวมคะแนนตวั บง่ ช้ีอตั ลักษณ์ 9-10 10 81.09 ผลรวมคะแนนตัวบง่ ชม้ี าตรการส่งเสริม 11-12 10 ภาพรวม 100 ระดบั คุณภาพ ดี ตัวบ่งชี้ คะแนนเฉลย่ี ระดับคณุ ภาพ 3) สรุปผลการประเมนตามมาตรฐานกฏกระทรวง 1-5 และ9-11 4.22 ดี 7 และ 12 3.90 ดี มาตรฐานกฏกระทรวง 4.17 ดี ผลการจดั การศึกษา 6 4.73 ดีมาก การบรหิ ารจดั การศกึ ษา 8 การจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สําคญั การประกันคณุ ภาพภายใน ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาจากผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก 1. สถานศกึ ษาควรหาทางส่งเสรมิ ให้ครูผู้สอนได้พฒั นาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถใน การจดั การเรยี นรู้ในเร่ืองเทคนิคการจดั การเรยี นรู้ สาํ หรับผูใ้ หญ่และผู้มีงานทาํ ในรปู แบบที่ หลากหลาย รวมทัง้ จติ วทิ ยาการสอน โดยอาจขอความร่วมมือจากสถาบนั การศกึ ษาท่ีมคี วาม เชี่ยวชาญในเรอ่ื งดงั กลา่ วมาช่วยให้ความรแู้ ก่ครูผู้สอนในระยะเวลาทเ่ี พียงพอแก่การเรยี นรจู้ น สามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพของครูผู้สอน

24 2. สถานศกึ ษาควรดําเนินการรวบรวมข้อมูลที่ไดจ้ ากการส่งเสรมิ ใหค้ รู ไดร้ ับการพัฒนาใน หลกั สูตรต่างๆจากการตรวจและประเมนิ คณุ ภาพแผนการจัดการเรยี นรู้ของครู จากการนิเทศติดตาม ผลการจัดการเรยี นรูจ้ ากการวิเคราะห์คุณภาพของแบบวัดผลและประเมนิ ผล และการวเิ คราะหผ์ ลจา การสอบ N-NETของผูเ้ รียนมาใช้ในการวางแผนและพัฒนาครเู ปน็ รายบุคคลอย่างเปน็ ระบบและ ตอ่ เน่อื งตอ่ ไป 3. สถานศึกษาควรประสานกับหน่วยงานต้นสงั กดั กลางและหน่วยงานตน้ สังกดั ควร ดําเนนิ การตามนโยบายในการยกระดบั คุณภาพการศึกษา อาทิ - การศึกษาคน้ ควา้ วิจยั เพื่อพัฒนาส่ือและกระบวนการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสําคญั - ความรว่ มมือ MOU กับสถาบนั การศกึ ษาในพนื้ ท่เี พ่ือเพิ่มพูนความรู้ และพฒั นาขีด ความสามารถของครูท้ังในเรอ่ื งการสอนและการดาํ เนนิ งานในด้านต่าง ๆ เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพต่อไป ท้ังน้ีควรมีการดาํ เนนิ งาน ภายใน 2 ปี การศกึ ษา

บทท่ี 2 ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้กําหนดทิศทางการดําเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2562 และ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปี งบประมาณ 2562 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา ปรชั ญา คดิ เป็น ทาํ เป็น แกป้ ัญหาเปน็ เนน้ คุณธรรม วสิ ยั ทัศน์ กศน. อําเภอบางบาล เป็นองค์กรสร้างสงั คมแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ เพอ่ื การมีงานทาํ นอ้ มนาํ เศรษฐกจิ พอเพยี งให้มีความสามารถในการเตรียมความพร้อมเข้าส่ปู ระชาคมอาเซียนโดยยดึ คุณธรรมนาํ ความรู้มุง่ สกู่ ารอย่รู ่วมกันอยา่ งมีความสขุ อตั ลกั ษณ์ ขยันและประหยดั เอกลักษณ์ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ 1.จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพ่ือสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 2. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การมีสว่ นรว่ มภาคเี ครือข่ายและชุมชน ในการจดั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. สง่ เสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สารมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4. พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวตั กรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทุกรูปแบบ 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การ เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วม

25 เป้าประสงค์และตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ 1. ประชาชนอาํ เภอบางบาล ท่ีด้อย พลาดและขาด 1. ร้อยละของผ้เู รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร ท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรมการ โอกาสทางการศึกษาได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาใน เรียนร้/ู ไดร้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษา รูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม ตามอธั ยาศยั อัธยาศยั ที่มีคุณภาพอยา่ งทวั่ ถึง โดยมี กศน.ตําบล 2. รอ้ ยละของผเู้ รียนและผรู้ ับบริการทม่ี ีผลสัมฤทธิต์ าม ศนู ย์การเรยี นชุมชนเป็นฐานการจดั การเรียนรู้ จุดมุง่ หมายการเรยี นรูข้ องแต่ละหลกั สตู ร/กิจกรรม 3. ร้อยละของผู้เรียนที่พึงพอใจต่อจัดการเทยี บโอนผล การเรียน และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ 4.ร้อยละของผ้ไู ม่ร้หู นงั สือทผ่ี ่านการประเมนิ การรู้ หนังสือ ตามหลักสูตรสง่ เสรมิ การรหู้ นังสอื 2. ผู้เรยี น/ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้ มคี วามตระหนัก 1. รอ้ ยละของผู้เรียน/ผรู้ บั บริการมคี วามรู้ มีความ และมีจิตสํานึกด้านคุณธรรมจริยธรรมแลความเปน็ ตระหนกั มีจติ สํานึกด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม เปน็ พลเมืองอนั นาํ ไปสู่การยกระดับคุณภาพชวี ิตและ พลเมืองทีด่ ขี องสังคมตามวิถีประชาธิปไตย เสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้ชมุ ชน เพื่อไปสู่ความ 2.ยกระดับคุณภาพชีวติ และเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ มน่ั คงและยงั่ ยนื ชุมชน เพ่อื ไปสู่ความมน่ั คงและยั่งยนื 3. ผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ มีความรู้ และมเี จตคตทิ าง 1.รอ้ ยละของผูเ้ รียน/ผ้รู ับบรกิ ารเขา้ ร่วมกจิ กรรมท่มี ี วิทยาศาสตรล์ ะเทคโนโลยที ่เี หมาะสม สามารถ คดิ ความรู้ ความเข้าใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตามจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาํ วนั รวมท้งั ตามกิจกรรมทจ่ี ัด แก้ปญั หาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อย่าง สรา้ งสรรค์ 4. ประชาชนมอี าชีพ มรี ายได้และดําเนนิ ชวี ติ ตาม 1.รอ้ ยละของผู้เรียนนาํ ไปประกอบอาชพี และมีรายได้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.รอ้ ยละของชุมชนสามารถดําเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 5. ผ้เู รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร สามารถเรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเอง 1. จํานวนผ้เู รียน/ผู้รบั บริการ ไดร้ ับความรแู้ ละทักษะ รักการอา่ นและแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง พน้ื ฐานในการแสวงหาความรู้ท่เี อื้อต่อการเรยี นรตู้ ลอด ชวี ิต 2. รอ้ ยละของผเู้ รยี น/ผ้รู บั บรกิ ารทไี่ ด้รบั การเรียนรทู้ าง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถมองเห็นแนวทางใน การนาํ ไปใชใ้ นการดาํ รงชีวติ ประจําวนั

26 เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ 3. ร้อยละของผเู้ รยี น/ผู้รบั บรกิ าร ใช้อินเทอร์เนต็ ในการ สบื คน้ ข้อมลู เพื่อการเรียนรู้ 6. ภาคีเครือขา่ ยเขา้ มาร่วมดําเนินการจัดการศึกษา 1. จํานวนกลุ่มเปาู หมาย ที่เข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นร้/ู นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่าง ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง และการศึกษา กว้างขวางและตอ่ เนื่อง ตามอัธยาศยั ที่สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความ ตอ้ งการ 2. ร้อยละของภาคเี ครือข่ายที่เข้ามาร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 7. สถานศกึ ษาดาํ เนินการวจิ ยั และพฒั นาคณุ ภาพ 1.รอ้ ยละของผ้เู รียน/ผรู้ ับบรกิ ารนาํ ความรู้เกี่ยวกบั หลกั สูตร ส่ือเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ นการยกระดบั เทคโนโลยีดิจิทลั ด้านตา่ งๆมาประยกุ ต์ใชใ้ น ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ และเพ่ิมโอกาสการ ชวี ติ ประจําวนั เรียนรกู้ ับประชาชน และมาตรฐานการศกึ ษานอก ระบบ 8. สถานศึกษาพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการ 1.ร้อยละของบุคลากรได้รบั การพฒั นา ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา่ ง ตอ่ เนื่องทม่ี ีคุณภาพมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมสง่ เสริม การเรียนร้ใู หแ้ ก่กล่มุ เปาู หมายและประชาชนอย่าง ท่ัวถึง 9.สถานศึกษามรี ะบบกํากบั ดูแล ตรวจสอบ นเิ ทศ 1. ร้อยละของงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการ ตามอธั ยาศยั งานท่สี ามารถนาํ แผนการนเิ ทศไปสู่การ ดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม ปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ อัธยาศยั 10.สถานศกึ ษาดําเนินการประกนั คุณภาพภายใน 1. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ี ใหส้ อดคล้องกบั ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ สอดคลอ้ งกบั ระบบ หลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ีกําหนด กาํ หนด 11.สถานศกึ ษาปฏบิ ัตงิ านอน่ื ๆ ตามท่ไี ด้รบั 1. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ มอบหมาย สอดคลอ้ งกับระบบ หลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีกาํ หนด

27 กลยทุ ธ์หลัก กลยทุ ธท์ ่ี 1 ลยุ ถงึ ท่ี กลยุทธ์ที่ 2 ตอบโจทย์ในใจผเู้ รียน กลยทุ ธ์ท่ี 3 การขยายพัฒนาแหล่งเรียนรใู้ ห้หลากหลาย กลยุทธ์ที่ 4 การสง่ เสริม สนบั สนุน ใหภ้ าคเี ครือข่ายจดั การศึกษา กลยทุ ธ์ที่ 5 การปรับปรงุ ระบบบรหิ าร มุ่งบริการที่มคี ุณภาพ กลยุทธก์ ารดาเนินงาน กลยุทธ์ ท่ี 1 ลุยถงึ ท่ี / ถงึ กลุ่มเป้าหมาย 1.สาํ รวจและประชาสัมพนั ธ์รับสมคั รนักศึกษาถึงหมบู่ ้าน โดยเขา้ หากลมุ่ เปาู หมายในชุมชนที่ ยังไมจ่ บการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายและผูส้ นใจในการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. สาํ รวจความตอ้ งการเรียนรู้ดา้ นอาชพี โดยสอบถามตามหมูบ่ ้าน โดยไดร้ ับข้อมูลจากผู้นํา ชุมชน/ประชาชน และจดั กจิ กรรมการเรียนร้ดู า้ นอาชีพให้กับกลุ่มเปาู หมายทต่ี ้องการ 3. จัดทําแผนการปฏบิ ตั ิงาน และปฏบิ ัตติ ามแผนที่กําหนดไวใ้ นแต่ละเดือน 4. การประชาสัมพนั ธ์ในพื้นท่ี โดยให้เครือข่ายชว่ ยประชาสัมพันธ์ 5. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายในชุมชน 6. การประสานงานกบั กลุ่มเปูาหมาย โดยการประสานดว้ ยตนเองถึงบา้ นกลุ่มเปูาหมาย 7. ใหค้ วามสาํ คญั กับทุกคน ผดู้ อ้ ยโอกาสไมเ่ ลือกปฏิบัตใิ นการบริการและการจดั กิจกรรม 8. จดั กิจกรรมในพืน้ ท่เี พ่ือให้กลมุ่ เปูาหมายไดเ้ รยี นรู้และสะดวกมากขน้ึ กลยทุ ธท์ ี่ 2 ตอบโจทย์ในใจผ้เู รียน/ปรับวธิ เี รียนเปลีย่ นวธิ ีสอน 1. จัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่แปลกใหม่ นอกจากจะเรียนใน กศน.ตาํ บล เปลย่ี นเปน็ การเรียนท่ี นอกสถานทโ่ี ดยการศึกษาจากแหล่งเรยี นรู้ / ครภู มู ิปญั ญา / ปราชญช์ าวบา้ นทีอ่ ยใู่ นท้องถน่ิ นาํ ความรูท้ ไี ดจ้ ากการศกึ ษาดูงานหรอื จากการเรียนรูจ้ ากครูภูมปิ ญั ญาหรือหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง และนกั ศกึ ษาหรอื ประชาชนทีไ่ ด้ศึกษานาํ ความรู้ที่ไดม้ าปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการดาํ รงชวี ติ ของ ตนเองให้ดยี ่ิงขึ้น 2. จดั ทําหลักสตู รท่ีหลากหลาย/โดยหลกั สูตรไดจ้ ากครภู มู ิปัญญาในท้องถิ่น/ผรู้ ้ใู นชมุ ชน 3. การพฒั นาอาชพี ของประชาชน จากสิง่ ที่เคยทําอยู่ ปรับเปลย่ี นใหด้ ยี ่ิงข้ึนพฒั นาอยู่ ตลอดเวลาจากการเรียนร้จู ากเรือ่ งทใ่ี กลต้ วั ไปหาส่ิงท่ีไกลตัว 4. สาํ รวจความตอ้ งการของผูเ้ รยี นทจี่ ะพฒั นาตนเองในเรือ่ งใดเรอ่ื งหนง่ึ และจดั กจิ กรรมตาม ความตอ้ งการ

28 กลยทุ ธท์ ่ี 3 ขยายแหล่งเรียนรู้ใหห้ ลากหลาย 1. สํารวจแหลง่ เรยี นร้ทู อ่ี ยู่ในพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ 2. ใช้แหล่งเรียนรเู้ ปน็ สถานที่ศกึ ษาดูงานและเป็นสถานทเ่ี รียนรู้ในชมุ ชน 3. รกั ษาแหล่งเรียนรู้ให้คู่กับชุมชน 4. การประชาสมั พนั ธ์แหลง่ เรียนรู้ใหม้ คี นสนใจและศกึ ษาตลอดเวลา 5. ขยายแหลง่ เรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายและเพิ่มแหล่งเรียนรู้ในชุมชนใหม้ ากขึน้ 6. ดูแลใหค้ วามสําคญั แหล่งเรียนร้/ู ครภู ูมปิ ญั ญาให้อยอู่ ยา่ งยัง่ ยืนและต่อเนือ่ ง 7. จดั ทาํ เอกสาร/แผ่นพบั /จัดนิทรรศการ 8. จัดทําเว็บไซต์ 1. กลุ่มไลน์ กศน.อาํ เภอบางบาล2. www.facebook.com/nfe.bangban กลยุทธท์ ี่ 4 ผนึกกาลังภาคีเครอื ขา่ ย 1. ทํางานรว่ มกบั เครือข่ายระดับหมบู่ ้าน/ตําบล/อําเภอ 2. ประสานเครือขา่ ยให้เข้าร่วมกจิ กรรม กศน. ทจี่ ดั ขึ้นเพื่อใหเ้ ครือขา่ ยเห็นความสําคัญของ กจิ กรรม กศน. 3. รว่ มงาน/ร่วมคิด/ร่วมสร้าง/รว่ มวเิ คราะห/์ ร่วมสรุปงานกับเครอื ข่ายและขยายเครือขา่ ยให้ มากขึน้ กลยทุ ธท์ ี่ 5 การปรับระบบบรหิ าร มุ่งบริการท่ีมคี ณุ ภาพ 1. ใหก้ ารบรกิ ารกับกลมุ่ เปูาหมายโดยไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ 2. ใหบ้ ริการด้วยความพอใจ/เตม็ ใจ/มใี จบริการต่อบุคคลท่ีมาตดิ ตอ่ งาน กศน. 3. บรกิ ารรวดเรว็ ทันใจต่อผู้มารับบริการ 4. ใหค้ วามเป็นกนั เอง มีมิตรไมตรีทีดกี บั ผู้รบั บริการ 5. สร้างรอยย้มิ ทป่ี ระทบั ใจกับผู้รับบรกิ าร

การจัดทารายละเอียดของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาระยะ 4 ปี เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม 1.ประชาชนอําเภอบางบาล 1.การพฒั นา 1. โครงการส่งเสรมิ การรหู้ นังสอื ทีด่ อ้ ย พลาดและขาดโอกาส คุณภาพ 2. การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานนอกระบบ ทางการศกึ ษาไดร้ บั โอกาส ผเู้ รยี น/ (ประถม,มัธยมต้น,มัธยมปลาย) ทางการศึกษาในรปู แบบ ผ้รู บั บริการ 3. โครงการเทียบระดบั การศึกษา การศกึ ษานอกระบบและ 4. โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น การศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีมี คณุ ภาพอย่างทั่วถึง โดยมี 4.1 พฒั นาวิชาการ กศน.ตาํ บล ศนู ยก์ ารเรียน 4.2 พฒั นาทกั ษะชีวิต ชมุ ชนเปน็ ฐานการจัดการ เรียนรู้ -คุณธรรมจริยธรรม -ยาเสพติด - ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ นิ - สุขภาพกาย-จิต - การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม ฯลฯ - ประชาธิปไตย และอืน่ ๆ 4.3 ความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) 4.4 กจิ กรรมเขา้ สอู่ าเซียน

29 เป้าหมาย (คน/ครั้ง) ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ คา่ เป้าหมาย 2559 2560 2561 2562 (คน/ร้อยละ) 1. รอ้ ยละของผเู้ รยี น/ผรู้ บั บริการ 60 ท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้/ 60 ไดร้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 65 2. รอ้ ยละของผเู้ รยี นและ 85 ผรู้ ับบริการทีม่ ผี ลสัมฤทธติ์ าม จุดมงุ่ หมายการเรียนรขู้ องแตล่ ะ หลกั สูตร/กจิ กรรม 3. รอ้ ยละของผู้เรยี นทพี่ ึงพอใจตอ่ จดั การเทยี บโอนผลการเรยี น และ การเทียบโอนความร้แู ละ ประสบการณ์ 4.ร้อยละของผูไ้ ม่รู้หนังสือที่ผา่ น การประเมินการร้หู นังสอื ตาม หลักสูตรสง่ เสรมิ การรูห้ นงั สอื

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม 2. ผูเ้ รียน/ผู้รับบรกิ ารมี 4.5 กจิ กรรมท่แี สดงถึงความจงรักภกั ดี ความรู้ มคี วามตระหนกั 4.6 กจิ กรรมเรียนรดู้ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง และมจี ิตสํานึกด้าน 4.7 กจิ กรรมลกู เสือและยุวกาชาด คุณธรรมจรยิ ธรรม 4.8 กจิ กรรมดา้ นกีฬาและส่งเสริมสขุ ภาพ 3ผเู้ รียน/ผู้รบั บรกิ าร 4.9 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสามารถพิเศษ สามารถเรยี นรูไ้ ด้ด้วย 5.โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต ตนเองรกั การอ่านและ 5.1 ประชาธปิ ไตย แสวงหาความร้อู ย่าง 5.2 คุณธรรม จรยิ ธรรม ตอ่ เนอ่ื ง 5.3 ยาเสพตดิ 4.ชุมชนจดั ตง้ั หมบู่ ้าน 5.4การดูแลรักษาสุขภาพอนามัย เรยี นรตู้ ามรอยพระยุคล 6.โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและ บาทเพื่อเสริมสรา้ ง ชมุ ชน อุดมการณ์ตามหลัก 6.1 กจิ กรรมตามเบอื้ งพระยุคลบาท ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 6.2 กิจกรรมการใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม พอเพียง 7 เศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการจัดทําบญั ชี ครวั เรอื น

30 เปา้ หมาย (คน/ครั้ง) ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ค่าเป้าหมาย 2559 2560 2561 2562 (คน/ร้อยละ) 1. ร้อยละของผู้เรียน/ ผรู้ ับบริการมคี วามรู้ มีความ ตระหนกั มจี ติ สํานึกด้าน คุณธรรมจรยิ ธรรม เป็นพลเมือง ท่ีดขี องสงั คมตามวิถี 85 480 480 480 480 ประชาธิปไตย 2. จํานวนผ้เู รยี น/ผู้รบั บริการ ไดร้ ับความรู้และทักษะพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้ทเ่ี อื้อต่อ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 722 722 722 722 3. รอ้ ยละของผเู้ รยี น/ ผูร้ บั บริการท่ไี ดร้ ับการเรียนรู้ 85 ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถมองเหน็ แนวทางในการ นําไปใชใ้ นการดํารงชวี ติ ประจําวัน

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม 8. การศกึ ษาตามอัธยาศัย 5.ประชาชนมอี าชพี มี 2. ส่งเสรมิ 1. โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน รายได้ และพฒั นา -วชิ าชพี ระยะสั้น 1.1 กลมุ่ อาชีพ อาชีพให้กบั -กลุ่มสนใจ เกษตรกรรม ประชาชนมี 1.2 กลุม่ อาชีพ รายได้

31 เปา้ หมาย (คน/คร้งั ) ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ ค่าเปา้ หมาย 2559 2560 2561 2562 (คน/รอ้ ยละ) 6,000 6,000 6,000 6,000 4. รอ้ ยละของผ้เู รยี น/ ผรู้ ับบริการ ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตใน 90 1,376 1,376 1,376 1,376 การสืบคน้ ข้อมลู ความร้จู าก 1,056 1,056 1,056 1,056 ห้องสมดุ /แหล่งเรียนรู้ 85 320 320 320 320 1.รอ้ ยละของชุมชนท่ีจัดต้งั หมู่บ้านเรียนรตู้ ามรอยพระยุคล บาทเพื่อเสรมิ สรา้ งอดุ มการณ์ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2.รอ้ ยละของชมุ ชนสามารถ ดาํ เนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 1.รอ้ ยละของผเู้ รียนมีอาชพี และ มรี ายได้ 2.จํานวนกล่มุ เปูาหมาย ท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้/ไดร้ บั บรกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษา

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม อุตสาหกรรม 2.โครงการพฒั นาบุคลากรด้านการจดั 1.3 กลุ่มอาชีพพาณชิ ยก กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา รรม ตามอัธยาศัย และการบริการ 3.โครงการปรบั ภมู ทิ ศั น์สถานศกึ ษา 1.4 กลุ่มอาชีพความคิด สรา้ งสรรค์ 4.โครงการปรบั ปรงุ พัฒนา กศน.ตําบล 1.5 กลุ่มอาชีพเฉพาะทาง 5.โครงการนเิ ทศงานการศกึ ษานอกระบบและ และมาตรฐานการศึกษา การศกึ ษาตามอธั ยาศัย นอกระบบ 6.โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ 8.สถานศึกษาพฒั นาครู การศึกษา และบุคลากรทางการ 7.โครงการราชการใสสะอาด ศกึ ษา 9.สถานศกึ ษามรี ะบบ กาํ กับ ดูแล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตาม ประเมินผล และรายงาน ผลการดาํ เนินงาน

32 เปา้ หมาย (คน/คร้ัง) ตัวชี้วัดความสาเรจ็ ค่าเปา้ หมาย 2559 2560 2561 2562 (คน/ร้อยละ) ตอ่ เนือ่ ง และการศึกษาตาม 5 คร้งั ครงั้ 5 ครั้ง 5 คร้ัง อธั ยาศยั ท่ีสอดคล้องกบั สภาพ 85 /22 คน /22 คน /22 คน /22 คน ปัญหา และความต้องการ 85 2.รอ้ ยละของบุคลากรไดร้ ับการ 2ครงั้ 2ครั้ง 2ครั้ง 2ครง้ั พฒั นา 85 /21คน /21คน /21คน /21คน 3. ร้อยละของงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตาม 85 16แห่ง 16แหง่ 16แห่ง 16แห่ง อธั ยาศยั งานท่สี ามารถนํา แผนการนเิ ทศไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิได้ 3 ครั้ง 3 ครง้ั 3 ครั้ง 3 ครงั้ อย่างมีประสิทธิภาพ /1 คน /1 คน /1 คน /1 คน 4. ผลการประเมินคุณภาพ 1 ครง้ั 1 ครัง้ 1 ครงั้ 1 ครง้ั ภายในของสถานศึกษาท่ี /21คน /21คน /21คน /21คน สอดคลอ้ งกับระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารทกี่ ําหนด 1 ครัง้ 1 ครง้ั 1 คร้งั 1 ครงั้ 5. ผลการประเมินคุณภาพ /21คน /21คน /21คน /21คน ภายในของสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กจิ กรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 10.สถานศึกษาดําเนนิ การ ประกันคุณภาพภายในให้ สอดคลอ้ งกับระบบ หลกั เกณฑ์และวธิ ีการที่ 4.การขยาย 1.โครงการอบรมอาสาสมัคร กศน. 2.โครงการประชมุ กรรมการสถานศึกษา กาํ หนด และพัฒนา 3.โครงการจดั ทาํ ฐานข้อมูลชุมชน 4.โครงการจัดตงั้ แหลง่ เรยี นรู้และภูมปิ ัญญา 11.สถานศึกษาปฏิบตั ิงาน แหล่งเรยี นรู้ ท้องถน่ิ ในชมุ ชน 5.โครงการเสริมสรา้ งศักยภาพภาคเี ครือขา่ ยท่ี อน่ื ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั และภาคี เข้ามสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา 6.โครงการพัฒนาและปรบั ปรุงแหล่งเรียนรู้ มอบหมาย เครอื ข่าย 6.1 ห้องสมดุ ประชาชน 6.2 กศน.ตําบล 6.ภาคเี ครือข่ายเขา้ มารว่ ม 6.3 แหลง่ เรยี นร้ชู มุ ชน/ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ดําเนนิ การจดั การศึกษา 6.4 ศนู ย์ ICT ชมุ ชน นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอย่าง กวา้ งขวางและตอ่ เน่ือง

33 เปา้ หมาย (คน/ครงั้ ) ตัวชีว้ ดั ความสาเร็จ ค่าเปา้ หมาย (คน/รอ้ ยละ) 2559 2560 2561 2562 และวิธีการทก่ี ําหนด 1ครั้ง 1ครงั้ 1ครั้ง 1ครั้ง 1. ร้อยละของภาคีเครือข่ายที่ 2ครั้ง 2ครัง้ 2ครงั้ 2ครง้ั เข้ามารว่ มในการจัดการศึกษา 16แหง่ 16แห่ง 16 แหง่ 16 แหง่ นอกระบบและการศึกษาตาม 32แหง่ 32แห่ง 32แหง่ 32แหง่ อัธยาศยั 2. รอ้ ยละของภาคเี ครอื ข่ายท่ี 1ครั้ง 1คร้งั 1ครั้ง 1ครงั้ สนับสนนุ ทรัพยากรเพื่อใชใ้ น การจดั และพัฒนาการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตาม 1แห่ง 1แหง่ 1แห่ง 1แห่ง อัธยาศยั 16แห่ง 16แหง่ 16แหง่ 16แห่ง 16แห่ง 16แหง่ 16แห่ง 16แหง่ 1แห่ง 1แหง่ 1แหง่ 1แหง่

แผนปฏิบัติการประจ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ 1.โครงการจัดการศกึ ษาตามหลกั สตู ร 1.เพือ่ ให้ประชาชนทีอ่ ยนู่ อกระบบโรงเรยี นไดร้ บั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้น การศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและมคี ุณวุฒิท่ีสงู ข้ึนโดยไมเ่ ส พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 คา่ ใช้จ่ายอยา่ งมคี ุณภาพ 2.เพือ่ ให้ประชาชนที่อย่นู อกระบบโรงเรียนได้พัฒน ทกั ษะเกี่ยวกับสาระและวธิ กี ารเรยี นรทู้ ่ีสามารถ นําไปศึกษาต่อและนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ ใหด้ ขี ึน้ 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 1.เพื่อใหน้ ักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ ควา - กจิ กรรมพฒั นาวชิ าการ/ปรับพ้ืนฐาน เข้าใจ ในวชิ าหลักมากขึน้ - กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวิต 2.เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาที่เขา้ ร่วมโครงการนาํ ความรู้และ - กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ประสบการณจ์ ากการเรยี นรนู้ าํ ไปปรับใชใ้ นการเร ความสามารถด้านเทคโนโลยี และการดาํ เนนิ ชวี ติ ของตนเองได้ - กิจกรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน - กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดี

34 จาปี 2562 กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 505,685บาท ประชาชน 1. ประถม อําเภอ 1 ตลุ าคม 61 สยี ทว่ั ไป 2. ม.ตน้ บางบาลและ ถงึ 30 กันยายน 3. ม.ปลาย พ้ืนที่ใกลเ้ คียง 62 นา รวมท้งั สิ้น 1,000 คน าม นกั ศึกษา 1,000 คน กศน.ตาํ บล 1 ตลุ าคม 61 123,969.-บาท กศน.อําเภอ ท้ัง 16 แห่ง ถงึ 30 กนั ยายน ะ บางบาล 62 รยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook