Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore eBook_การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้_PC62508

eBook_การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้_PC62508

Published by สุจิตตรา จันทร์ลอย, 2022-01-04 06:27:26

Description: eBook_การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้_PC62508

Search

Read the Text Version

หลกั การเขียนขอ้ คาถาม คุณภาพของแบบสอบถาม • ใช้ภาษางา่ ย ๆ กะทัดรดั ชดั เจน 1. คุณภาพความเทย่ี งตรงเชิงเนอ้ื หา ใชว้ ิธกี ารตรวจสอบ • เขา้ ใจตรงกนั (มีความเปน็ ปรนยั ) ความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ คาถามกับวตั ถุประสงค์ • ถามเรื่องเดยี ว (ไมใ่ ชค้ าถามซ้อน) (index of item-objective congruence: IOC) • ไม่ถามชี้นา โดยความคิดเห็นของผู้เช่ยี วชาญ • ไม่ใช้ปฏเิ สธซอ้ นปฏิเสธ 2. คณุ ภาพดา้ นความเชอื่ ม่ัน (ความคงเส้นคงวาของคาตอบ) โดยนาไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ทดลอง และคานวณ หาคา่ สมั ประสิทธแิ์ อลฟา่ (alpha coefficient) ด้วยวิธขี องครอนบาค

การสงั เกตพฤตกิ รรม (observation) เปน็ การใช้ ประสาทสัมผสั จดจาพฤตกิ รรม อย่างมีจดุ ม่งุ หมาย แลว้ จดลงใน แบบบันทกึ พฤตกิ รรม ประเภทของการสงั เกตพฤตกิ รรม 1. จาแนกตามกระบวนการสงั เกต 2. จาแนกตามการมสี ว่ นรว่ มของผู้ 3) จาแนกตามโครงสร้าง • การสงั เกตทางตรง เป็นการ สงั เกต • การสงั เกตแบบมโี ครงสรา้ ง มีการ สังเกตขณะทผี่ ู้สังเกตกาลงั แสดง • การสงั เกตแบบมสี ว่ นร่วมใน กาหนดสงิ่ ท่ีจะสงั เกตไวอ้ ย่างแน่นอน พฤติกรรม กิจกรรม เป็นการสงั เกตแบบมีส่วน วา่ จะสังเกตพฤติกรรมอะไรบ้าง • การสังเกตทางออ้ ม เป็นการ รว่ มผูส้ งั เกตจะเขา้ ไปปะปนรวมกับ • การสงั เกตแบบไม่มีโครงสร้าง สงั เกตพฤตกิ รรม ผู้ถกู สงั เกต ผสู้ งั เกตจะสงั เกตอย่างอสิ ระ ผ่านวธิ บี ันทึกพฤตกิ รรม หรือ ไมก่ าหนดว่าจะต้องสงั เกตอะไร ผ่านทางการสังเกตของผู้อน่ื • การสงั เกตแบบไม่มสี ่วนรว่ มใน กอ่ นหลงั กจิ กรรม

แนวทางในการสังเกตพฤติกรรม • ควรสงั เกตหลายครง้ั เพ่ือไม่ให้ เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นหรอื 1. มจี ุดประสงค์ท่ีชดั เจนวา่ ตอ้ งการสังเกตอะไร ความลาเอยี ง 2. วางแผนลว่ งหน้าวา่ จะสังเกตอะไร สังเกตใคร ในสถานทใี่ ด ใช้เวลานานเพียงใด • สงั เกตอยา่ งเปน็ ปรนัยมากทีส่ ดุ ใชเ้ ทคนิคการสงั เกตแบบใด ไม่ใชค้ วามคิดเหน็ ส่วนตวั 3. กาหนดพฤตกิ รรมที่จะสังเกต และกาหนดรายการพฤติกรรมย่อยของพฤติกรรมทจ่ี ะ ไปตดั สนิ ไม่มคี วามลาเอยี งท่ี เกิดจากความประทับใจ สังเกตน้นั โดยควรกาหนดพฤติกรรมทีจ่ ะสงั เกตใหช้ ดั เจน ฐานะทางสงั คมหรือเศรษฐกิจ 4. เตรียมแบบบันทกึ การสงั เกตใหส้ อดคล้องกบั พฤตกิ รรม เชน่ แบบประเมนิ คา่ แบบตรวจสอบรายการ สมดุ จดบันทึกเพ่ือประเมนิ ผู้เรียนตามรายการที่กาหนด 5. ควรใชเ้ วลาสังเกตพฤตกิ รรมแต่ละอย่างนานพอสมควร เพอื่ ใหข้ ้อมูลมคี วามเที่ยงตรงและ ความเช่อื มน่ั 6. ควรสงั เกตพฤติกรรมเดมิ ซ้า ๆ ในหลายสถานการณ์ 7. ควรบนั ทึกผลหลงั จากการสงั เกตอยา่ งมรี ะบบในแบบบนั ทึกทเี่ ตรียมไว้ล่วงหนา้ โดยไม่ ควรบนั ทกึ ขณะสงั เกตเพราะอาจทาใหพ้ ฤติกรรมทแ่ี สดงออกคลาดเคลื่อนไป จากความเปน็ จริง

ขัน้ ตอนการสร้างแบบสงั เกต ขนั้ ท่ี 1 นิยามพฤติกรรมท่ีต้องการสงั เกต และเขียนรายการสังเกต โดยรายการสงั เกตอาจ ไดม้ าจากการอา่ นแนวคดิ หลกั การ แนวทางปฏบิ ัตใิ นเรอื่ งนนั้ ๆ โดยรายการทจ่ี ะสงั เกตจะตอ้ ง มคี วามเปน็ รปู ธรรม ขน้ั ท่ี 2 ระบุความถี่ของพฤติกรรมที่ตอ้ งการสงั เกต โดยวางแผนวา่ จะสงั เกตพฤตกิ รรมนน้ั บ่อยครัง้ เพียงใด ข้ันท่ี 3 สรา้ งแบบบนั ทกึ การสังเกต ไดแ้ ก่ แบบตรวจสอบรายการ หรือ มาตราส่วนประมาณคา่ ข้ันที่ 4 นาแบบสงั เกตไปทดลองใช้ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง (validity) และความเปน็ ปรนัย (objectivity) ของแบบสงั เกต ขน้ั ท่ี 5 แก้ไขปรับปรงุ และนาไปใชจ้ ริง

ตัวอยา่ งการสร้างแบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมจากการสงั เกต เรอื่ ง การรกั ษาความสะอาด นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 นยิ ามพฤตกิ รรมท่ตี ้องการสังเกต แบบบนั ทกึ พฤติกรรม เร่ือง การรกั ษาความสะอาด พฤติกรรม นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ัติ การรักษาความสะอาด หมายถงึ พฤตกิ รรมการดูแลรกั ษา หอ้ งเรียน อาคารสถานที่ในโรงเรียน พืน้ ที่ บริเวณและ รายการสงั เกต สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนให้เป็นระเบียบเรยี บร้อย เป็นไปตามหลักการดา้ นสุขอนามัย 1. ทง้ิ ขยะในถังทีจ่ ดั เตรียมไว้ให้ 2. แยกขยะเปียกและขยะแหง้ ออกจากกนั กาหนดรายการพฤติกรรมทจี่ ะสงั เกต 3. จัดโต๊ะเรียนในหอ้ งเรยี นอยา่ งเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย 4. ปัดกวาดเชด็ ถกู โตะ๊ เก้าอี้ และเครือ่ งใช้ในห้องเรยี น สอดคลอ้ งกับการใหค้ วามหมายขา้ งตน้ แสดงถงึ พฤตกิ รรม ท่ปี รากฏภายนอก รวม 1. ทง้ิ ขยะในถงั ท่จี ัดเตรียมไวใ้ ห้ 2. แยกขยะเปียกและขยะแห้งออกจากกนั สรุปผลการประเมนิ 3. จดั โตะ๊ เรียนในห้องเรียนอยา่ งเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย ผา่ น (มีพฤติกรรม 3-4 ข้อ) 4. ปัดกวาดเช็ดถกู โตะ๊ เก้าอี้ และเคร่อื งใชใ้ นหอ้ งเรียน ไมผ่ ่าน (มีพฤติกรรม 1-2 ข้อ)

การสัมภาษณเ์ ปน็ การสนทนาอยา่ งมจี ุดมุ่งหมาย ระหวา่ งผูส้ ัมภาษณแ์ ละผู้ให้สมั ภาษณ์ • เปน็ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลทต่ี อ้ งอาศัย การโต้ตอบทางวาจาเป็นหลกั • ใช้ไดด้ ีกบั การเกบ็ ข้อมลู เก่ยี วกบั ความรูส้ กึ ความสนใจ ความคดิ เห็นและทศั นคตใิ น เรอื่ งตา่ ง ๆ ซ่ึงเปน็ ข้อมลู ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)

ประเภทของการสมั ภาษณ์ หลักการสมั ภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง 1. กาหนดวัตถุประสงคข์ องการสัมภาษณ์ใหช้ ดั เจน เป็นการสัมภาษณ์ท่กี าหนดคาถามไว้แนน่ อน 2. กาหนดขอบข่ายของคาถามและขอ้ มูลทต่ี ้องการ ผูส้ มั ภาษณ์ดาเนินการเหมอื นกนั หมด 3. เตรยี มคาถามและอปุ กรณท์ ่ใี ช้ประกอบการสัมภาษณ์ เช่น เทป การสมั ภาษณแ์ บบนี้มชี ่อื เรียกอีกอยา่ งหนงึ่ ว่า การสัมภาษณแ์ บบมหี ลกั เกณฑ์ บนั ทึกเสียง หรอื แบบมาตรฐาน (Standardized 4. สรา้ งความสัมพนั ธท์ ด่ี ีกบั ผู้ให้สัมภาษณก์ อ่ นเรม่ิ การสัมภาษณ์ ควร Interview เริม่ ดว้ ยการท่ผี ้สู มั ภาษณแ์ นะนาตนเอง ชีแ้ จงวตั ถุประสงค์ของการ 2. การสัมภาษณ์แบบไมม่ โี ครงสร้าง สมั ภาษณ์ และแสดงท่าทขี องการเป็นมิตร เป็นการสัมภาษณ์ทกี่ าหนดเฉพาะประเด็นการ 5. มีทักษะในการพูดคุยซักถาม เป็นผ้ฟู ังที่ดี ยอมรับทศั นคติ ซักถาม ไมม่ ีการกาหนดคาถามไว้แนน่ อน 6. หากผใู้ หส้ มั ภาษณต์ อบไมต่ รงประเด็นใหพ้ ยายามนาเข้าสปู่ ระเด็น ตายตวั ไม่พดู ขัดจังหวะ 7. ใช้ภาษาสภุ าพ ใชภ้ าษางา่ ย ๆ ไมใ่ ช้ศัพท์เทคนคิ 8. บนั ทึกยอ่ อยา่ งรวดเร็วโดยไม่เปน็ การขัดจงั หวะการพดู คุย 9. การยตุ ิการสัมภาษณค์ วรทาให้ผใู้ หส้ ัมภาษณพ์ อใจในการสนทนา

ขัน้ ตอนการสร้างแบบสมั ภาษณ์ ขน้ั ท่ี 1 จัดทารายการข้อความสมั ภาษณ์ โดยจะตอ้ งกาหนดประเด็นท่ีตอ้ งการ สมั ภาษณ์ ข้ันท่ี 2 สร้างข้อคาถาม โดยจะต้องมลี กั ษณะดบั นี้ • เปน็ ขอ้ ความทเ่ี ข้าใจง่าย • แต่ละคาถามมีใจความหลกั เพยี งใจความเดยี ว • ไมเ่ ปน็ คาถามที่ชกั นาคาตอบ • มีการจดั เรียงลาดบั คาถามอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขนั้ ท่ี 3 นาแบบสมั ภาษณ์ไปให้ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้อื หา (content validity) และความเป็นปรนยั (objectivity) จากน้นั ดาเนินการปรบั ปรงุ ขน้ั ที่ 4 นาแบบสัมภาษณไ์ ปทดลองใช้ เพื่อนามากาหนดความยาวและรปู แบบการ สมั ภาษณ์ เวลาและสถานท่ีในการสมั ภาษณ์

รบู รคิ ส์ : แนวทางการใหค้ ะแนน / Rubrics : Scoring Guideline

คอื อะไร ดีอยา่ งไร • รบู รคิ ส์ คอื แนวทางการให้คะแนน (Scoring Guideline) • มีประโยชนในการใหขอมลู ปอนกลบั แกผ่ ถู กู ประเมนิ ตาม กระบวนการหรือผลงาน หลักการของการประเมินผลเพอ่ื การปรับปรุง (formative assessment) • มีลกั ษณะเปน็ การรวมกันของเกณฑ์การใหค้ ะแนน (Scoring Criteria) กบั มาตรประมาณค่า (Rating Scale) เพื่อใชร้ ะบุ • การใหคะแนนแบบรูบริคสม์ ีการกาหนดเกณฑการใหคะแนน ความแตกตา่ งของคณุ ภาพผลงานหรอื ผลการปฏบิ ตั งิ าน ไว้อยา่ งชัดเจน • การใหค้ ะแนนทใ่ี ช้หลกั การของมาตรประมาณคา่ ประกอบกับ • ผู้ประเมนิ แตละคนสามารถใหคะแนนไดตรงกันหรือ การพรรณนาคณุ ภาพ โดยใชร้ ะดบั คุณภาพ 5 -4 -3 -2 – 1 สอดคลองกันมาก (มีความเปนปรนยั สงู ) หรือ 3 - 2 - 1 ฯลฯ โดยเพิ่มข้อมูลรายละเอียดว่าคะแนนที่ ไดล้ ดหลัน่ ลงไปมคี ุณภาพเปน็ อยา่ งไร

ส่วนประกอบของรูบริคส์ 1. รายการประเมนิ / รายการพฤติกรรม 2. ระดับคุณภาพ (Performance Level) 3. คาอธิบายคณุ ภาพ (Description) รายการพฤตกิ รรม ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) 1. ตอบคาถามจากเรือ่ งทีอ่ ่าน ถูกทกุ ข้อ ผิดมากกวา่ 3 ใน 5 ขอ้ พอใช้ (2) ผดิ ไม่เกิน 3 ใน 5 ข้อ 2. บอกความสาคัญจากเร่อื งทอ่ี ่าน บอกได้ถกู ตอ้ งและได้ บอกได้ถกู ต้องได้ใจความแต่ บอกไม่ถกู ตอ้ ง ไมไ่ ด้ 3. บอกขอ้ คิดเหน็ จากเรอ่ื งท่อี ่าน ใจความต่อเนอื่ ง ไมต่ ่อเนอ่ื ง ใจความและสับสนไม่ เสนอความคิดเห็นด้วย เหตุผลและเปน็ ประโยชน์ ตอ่ เนื่อง เสนอความคดิ เหน็ ด้วย เสนอความคิดเหน็ แตไ่ ม่ เหตผุ ลแต่ไม่มีประโยชน์ แสดงเหตผุ ลและไมม่ ี ประโยชน์

สรา้ งอย่างไร ข้นั ตอนสาคัญในการสรา้ งรบู รคิ ส์ มดี ังน้ี 1. กาหนดรายการประเมนิ 2. กาหนดระดับคณุ ภาพ 3. เขยี นคาอธิบายคุณภาพ ขน้ั ท่ี 1 กาหนดรายการประเมนิ • สอดคลอ้ งกบั จดุ มงุ่ หมายของการวดั ประเมินผล • เขียนองคประกอบที่สาคัญของงาน • นาขนั้ ตอนหรือลกั ษณะสาคญั ของชิน้ งานมาจัดลาดับความสาคญั • รายการประเมนิ ตอ้ งมีความแตกต่างกนั อยา่ งชดั เจน • มีความเฉพาะเจาะจง วัดได้ สงั เกตได้อยา่ งชัดเจน • กรณตี ้องการประเมนิ ผลผลติ (product) ต้องประเมินคุณลักษณะสาคัญของช้นิ งาน • กรณีต้องการประเมนิ กระบวนการ (process) รายการประเมนิ ทีค่ วรกาหนด ไดแ้ ก่ PDCA การนาเสนอผลงาน

ข้ันท่ี 2 กาหนดคณุ ภาพของรายการประเมนิ • คุณภาพของรายการประเมินประกอบดว้ ย • ระดับคุณภาพ (Performance Level) อาจเปน 5 ระดบั 4 ระดับ หรอื 3 ระดบั • อาจกาหนดระดับศูนย (0) ในกรณีท่ีไมสงงานหรอื ทาไมถกู เลย • ควรใหม้ ีระดับกลางทเ่ี ปนไปตามมาตรฐานของหลักสตู ร คอื ผเู้ รียนสามารถทาไดตามระดบั ท่ี ยอมรับได • ครอบคลุมตั้งแตด่ ีเลิศทสี่ ดุ (excellent) ไปจนถงึ แย่ทีส่ ุด (poor) • การกาหนดจานวนระดบั คณุ ภาพขึ้นอยกู่ บั เน้อื หา ระดับช้นั ของนักเรียน และความละเอยี ดใน การประเมนิ

ขัน้ ที่ 3 คาอธิบายระดบั คุณภาพ (Performance Description) • เป็นการบรรยายคณุ ค่า แสดงรายละเอียดของคุณภาพงานในแตล่ ะระดับ • ต้องมคี วามชัดเจน และมองเหน็ ความแตกต่างของแต่ละระดบั อย่างชัดเจน • ในการเขยี นคาอธิบายคุณภาพงาน จะตอ้ งศกึ ษาตัวบง่ ชี้หลักของรายการประเมนิ น้ัน ๆ • เร่ิมเขยี นจากระดบั คณุ ภาพสูงสดุ กอ่ นแลว้ ค่อยๆ ลดคณุ ภาพลงมาตามระดบั ในการกาหนดคณุ ภาพของรายการประเมนิ มขี ้อควรคานงึ ดงั นี้ • ตอ่ เนือ่ งกัน ใหค้ ะแนนเป็นจานวนเต็ม เชน่ 5 4 3 2 1 แตล่ ะคะแนนมีความหา่ งเท่ากนั • คูข่ นาน คือ คาอธบิ ายในแตล่ ะระดับคุณภาพตอ้ งใช้ภาษาที่คขู่ นานกนั มีความลดหล่นั ของ คุณภาพงาน • เชอื่ มโยง คอื แต่ละระดบั คณุ ภาพตอ้ งเนน้ ไปที่รายการประเมินเดยี วกนั • เที่ยงตรง คอื เน้นการประเมนิ ทีต่ รงกบั องคป์ ระกอบของงาน หรอื มาตรฐานที่กาหนดในหลักสตู ร • ชัดเจนเพยี งพอ คือ ผู้ประเมินสามารถใหค้ ะแนนไดใ้ กล้เคยี งกนั

ตัวอยา่ ง ตวั อยาง กาหนดตามระดบั ความผดิ พลาด การทางานรวมกับผูอืน่ 4 - คาตอบถกู แสดงเหตผุ ลถกู ตอง แนวคดิ ชัดเจน ระดับ 3 –วางแผนการทางานรวมกัน แบงงานกันรับผดิ ชอบ แสดง 3 - คาตอบถกู เหตุผลถกู ตอง อาจมีขอผิดพลาดเลก็ นอย ความคดิ เหน็ รวมกนั 2 - เหตุผลหรือการคานวณผดิ พลาด แตมแี นวทางทจี่ ะนาไปสคู าตอบ ระดับ 2 –วางแผนการทางานรวมกนั แตไมคอยรับฟงความคิดเหน็ ของ 1 - แสดงวธิ ีคดิ เล็กนอยแตยงั ไมไดคาตอบ ผูอ่นื 0 - ไมตอบหรอื ตอบไมถูกเลย ระดบั 1 –ไมไดวางแผนการทางานรวมกัน กาหนดตามจานวนครงั้ ของการปฏบิ ัตหิ รือไมปฏบิ ตั ิ การมีระเบียบวนิ ยั 4 - เขียนไมผดิ เลย ระดบั 3 – สมดุ งาน ช้นิ งาน สะอาดเรยี บรอย ปฏิบตั ติ นอยูในขอตกลง 3 - เขียนผิด 1-2 คา ทกี่ าหนดรวมกันทกุ คร้งั 2 - เขยี นผดิ 3-4 คา ระดับ 2 – สมดุ งาน ชนิ้ งาน สวนใหญสะอาดเรียบรอย ปฏบิ ัติตนอยู 1 - เขยี นผิดมากกวา 4 คา แตยงั อานรเู รือ่ ง ในขอตกลงทกี่ าหนดรวมกนั เปนสวนใหญ 0 - เขยี นผดิ จนอานไมรูเรือ่ ง ระดบั 1 – สมุดงาน ช้นิ งาน ไมคอยเรยี บรอย ปฏบิ ตั ติ นอยใู นขอตกลง ท่ีกาหนดรวมกันเปนบางคร้งั ตองอาศยั การแนะนา

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ (เกณฑ์การผ่าน ตงั้ แตค่ ุณภาพระดบั พอใชข้ ึน้ ไป) 5 - 7 คะแนน ปรบั ปรงุ 8 - 12 คะแนน พอใช้ 13 - 15 คะแนน ดี การตัดสนิ ระดับคณุ ภาพ ตัวอย่าง มรี ายการประเมิน 5 รายการ กาหนดระดบั คุณภาพ 3 ระดับ คอื 1 , 2 , 3 (ดังน้ัน คะแนนเตม็ คอื 15) ข้ันท่ี 1 หาค่ากลาง 2.5 1.5 12 3

ขนั้ ที่ 2 นาค่ากลาง x จานวนรายการประเมนิ 1.5 x 5 = 7.5 2.5 x 5 = 12.5 ขัน้ ท่ี 3 กาหนดคะแนนแต่ละระดบั คะแนน 5 – 7 = ปรบั ปรุง 8 – 12 = พอใช้ 13 – 15 = ดี

วชิ า การวิจยั และพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ (PC62508) ผ้สู อน : ผศ.ทรงเกยี รติ อิงคามระธร Email: [email protected] Phone: 0863198967 บทท่ี 8 เครอื่ งมือเก็บรวบรวมข้อมลู (2) ตอนท่ี 2 • คุณภาพของเครื่องมอื • แนวทางในการหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื

ลกั ษณะของเครอ่ื งมือเก็บรวบรวมข้อมูลท่ดี ี 1. ความเทยี่ งตรง ความเทยี่ งตรง - validity 2. ความเช่อื ม่ัน 3. ความเปน็ ปรนยั ความเทย่ี งตรง (validity) หรอื ความตรง หมายถงึ ความแม่นยาของ 4. ความยากง่ายพอเหมาะ เครือ่ งมือในการวัดสง่ิ ทต่ี อ้ งการจะวดั โดยสามารถบอกสภาพทแ่ี ทจ้ ริง 5. อานาจจาแนก ของคณุ ลกั ษณะท่ตี ้องการวดั • ในกรณีทเ่ี ปน็ ความเทีย่ งตรงของแบบทดสอบ จะหมายถึงการทแ่ี บบทดสอบนน้ั สามารถวัดไดต้ รงตามจุดประสงค์ ที่ตอ้ งการวดั • หากเปน็ ความเท่ยี งตรงของแบบสังเกต ก็จะหมายความว่า แบบสังเกตนั้นสามารถวดั คณุ ลกั ษณะทีต่ อ้ งการ ได้

ความเท่ยี งตรงของเคร่ืองมอื จาแนกไดห้ ลายประเภท โดย ความเท่ยี งตรงเชิงเน้ือหา ในการวัดทางการศึกษาจะแบง่ ความเทยี่ งตรงเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ความเทย่ี งตรงเชิงเนอ้ื หา (content validity) หมายถงึ เคร่อื งมือวัดผลนน้ั 1. ความเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหา (content validity) 2. ความเทีย่ งตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) สามารถวัดไดต้ รงตามเน้อื หาของเรื่องทต่ี อ้ งการวัด ในกรณีท่ีเปน็ แบบทดสอบจะ 3. ความเท่ียงตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ (criterion- หมายถงึ แบบทดสอบน้นั สามารถวัดได้ตรงและครอบคลมุ เน้อื หาวชิ าท่ีต้องการวัด related validity) ความเทีย่ งตรงเชงิ โครงสรา้ ง การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หาจะใชว้ ธิ ีการท่ีเรียกว่า การวิเคราะห์ ความเทยี่ งตรงเชงิ โครงสรา้ ง (construct validity) หมายถึง อย่างมีเหตุมีผล (rational analysis) โดยพจิ ารณาวา่ เคร่อื งมอื นนั้ วัดไดต้ รงและ ครอบคลุมคณุ ลกั ษณะทีต่ อ้ งการอย่างสมเหตสุ มผลมากนอ้ ยเพยี งใด จึงอาจเรยี กวา่ คณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ที่สามารถวัดพฤติกรรมหรือ ความตรงเชิงเหตุผลหรอื ความตรงเชงิ ตรรกะ (logical validity) และเนือ่ งจาก คณุ ลกั ษณะได้ตรงตามโครงสรา้ งของทฤษฎใี น กระบวนการตรวจสอบดงั กลา่ วจะใช้ดลุ ยพินจิ ของผู้เชยี่ วชาญเปน็ สาคญั จึงอาจ เร่ืองน้ัน ๆ เชน่ ข้อสอบที่มีความเที่ยงตรงเชงิ โครงสร้าง เรยี กว่าเป็น ความเทย่ี งตรงเชงิ พนิ ิจ (face validity) สามารถวัดพฤติกรรมในระดับการคดิ ตรงตามการจาแนก พฤติกรรมด้านพทุ ธิพสิ ยั ของบลูม (Bloom’s taxonomy)

ความเทีย่ งตรงเชิงเกณฑส์ ัมพนั ธ์ วิธีการหาความเที่ยงตรงเชงิ เน้อื หา และ ความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้าง เครือ่ งมือวดั ทีม่ ีความตรงเชงิ เกณฑส์ มั พันธ์ การหาค่าดชั นีความความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามกับจุดประสงค์ หมายถงึ เคร่ืองมือวัดที่ให้ผลการวัดทต่ี รง (index of item objective congruence: IOC) หรอื สอดคลอ้ งกับเกณฑห์ รือมาตรฐานท่ี ยดึ ถอื ไว้ จาแนกออกเป็น 2 ชนดิ คอื 1) ความตรงเชิงสภาพ (concurrent validity) หมายถึง ตรงหรอื สอดคล้องกบั เกณฑ์หรอื มาตรฐานในปจั จบุ นั และ 2) ความตรง เชงิ พยากรณ์ (predictive validity) หมายถึง ตรงหรอื สอดคลอ้ งกบั เกณฑ์หรอื มาตรฐานใน อนาคต



วธิ กี ารหาความเท่ยี งตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธอี น่ื 1. การตรวจสอบความสอดคลอ้ งกับทฤษฎีทใี่ ชเ้ ป็นแนวทางในการสร้างเครือ่ งมือวดั 2. การตรวจสอบความสอดคลอ้ งระหว่างเครอ่ื งมอื ท่สี รา้ งกบั เคร่อื งมอื มาตรฐาน 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบ (factor analysis)

ความเชือ่ มัน่ – reliability (ความเท่ียง) ความเช่ือมั่น (reliability) หรือ ความเทีย่ ง หมายถงึ คณุ สมบัตขิ องเครื่องมอื ทีใ่ หผ้ ลการวัดคงท่ี (stability) คงเสน้ คงวาสมา่ เสมอ (consistency) ในลกั ษณะทเ่ี ป็นความคงทขี่ องคะแนนที่ไดจ้ ากคนกลมุ่ เดียวกนั สองคร้งั ดว้ ย แบบทดสอบฉบบั เดมิ ในเวลาทีต่ ่างกนั วิธกี ารตรวจสอบความเชอื่ มน่ั 1. การวัดความคงที่ (measure of stability) นิยมเรียกวา่ วิธสี อบซ้า 2. การวดั ความคล้ายกนั (measure of equivalence) หรือ วิธใี ชแ้ บบทดสอบคขู่ นาน 3. วธิ ีหาความสอดคลอ้ งภายใน 3.1 KR-20 / KR-21 (ใชส้ าหรับแบบทดสอบแบบ 0 – 1) 3.2 วิธีคานวณคา่ สัมประสิทธ์แิ อลฟ่าของครอนบัค (Cronbach's alpha coefficient) (ใช้สาหรับแบบสอบถาม)

ความยาก - difficulty คา่ ระดับความยาก ความหมาย คณุ ภาพขอ้ สอบ 0.81 – 1.00 ง่ายมาก สมควรตัดทง้ิ หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทีบ่ ่งชวี้ ่าขอ้ สอบน้ันยากหรอื งา่ ยเพยี งใดเมื่อนาไปใช้กบั 0.60 – 0.80 กล่มุ ผู้สอบน้นั คา่ ความยากง่ายจงึ เปน็ คา่ ร้อยละ (percentage) หรอื ค่า 0.40 – 0.59 ค่อนข้างง่าย ดี สดั ส่วน (proportion) ของผสู้ อบที่เลือกตอบตวั เลือกทถ่ี กู เมือ่ เปรียบเทียบ 0.20 – 0.39 ยากง่ายพอเหมาะ ดมี าก กบั จานวนผู้ตอบข้อนนั้ ท้งั หมดจึงนิยมแทนด้วยสญั ลักษณ์ p 0.00 - 0.19 ค่อนข้างยาก ดี ขอ้ สอบทด่ี จี ะต้องมีความยากง่ายพอเหมาะกับกลุ่มผตู้ อบ ถ้ายากเกนิ ไปหรอื ยากมาก สมควรตดั ทงิ้ ง่ายเกินไปจนทุกคนตอบถกู หมด ขอ้ สอบนนั้ กอ็ าจจะไม่เหมาะสมทจ่ี ะ นาไปใช้

อานาจจาแนก คา่ อานาจจาแนก หมายถึง ขอ้ สอบข้อนัน้ สามารถ แยกผูส้ อบออกเป็นกลมุ่ เก่งและอ่อน สัญลักษณ์ ท่ีใช้แทนด้วยอักษร r หรือ D คา่ อานาจจาแนก ความหมาย คุณภาพข้อสอบ 0.40 ขึ้นไป จาแนกไดด้ มี าก ดีมาก 0.30 – 0.39 ดี 0.20 – 0.29 จาแนกดี ต่ากว่า 0.19 จาแนกปานกลาง ปานกลาง ปรบั ปรงุ /ตัดท้งิ จาแนกไมด่ ี









งาน 14 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล (10 คะแนน) ใหเ้ ขียนขั้นการสรา้ งและหาคณุ ภาพเครื่องมอื เก็บรวบรวมข้อมลู ตวั แปรตามในการวิจยั ตาม ชอ่ื เรื่องวิจยั ท่กี าหนด โดยใหเ้ ขยี นรายละเอยี ดในประเดน็ ต่อไปนี้ 1. ชื่องานวิจยั 2. นิยามตัวแปรตาม 3. ช่อื เคร่อื งมอื เก็บรวบรวมขอ้ มูล 4. รายละเอียดของเครอ่ื งมอื 5. ขนั้ ตอนการสร้างเครือ่ งมือ 6. ขั้นตอนการหาคุณภาพเครื่องมอื การสง่ งาน ตง้ั ชือ่ ไฟลต์ ามลาดับดังน้ี : วจิ ยั งาน14_กลุ่มเรยี น_ชอ่ื _เลขที่ ตัวอย่าง : วิจยั งาน14_คณติ ศาสตร์หม1ู่ _วนิ ยั _14.pdf

วชิ า การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ (PC62508) ผูส้ อน : ผศ.ทรงเกยี รติ องิ คามระธร Email: [email protected] Phone: 0863198967 บทที่ 9 การวิเคราะห์ข้อมูล • มาตรการวัด • การเลือกใชส้ ถติ ิท่เี หมาะสม • สถิตบิ รรยาย • สถิตอิ า้ งอิง • สหสัมพันธ์ • สถติ สิ าหรบั การวจิ ยั ในช้นั เรยี น • การสรุปและอภปิ รายผลการวิจัย

คาวา่ สถติ ิมีความหมาย 2 ประการ สถิตใิ นความหมาย “สถติ ศาสตร์” แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื หมายถึง ตัวเลขท่ีแสดงขอ้ เทจ็ จริงของสิง่ ต่าง ๆ (บุคคล สง่ิ ของ ปรากฏการณ)์ สถิติเชิงบรรยาย และสถิตเิ ชิงอ้างองิ • จานวนผูส้ มัครเรยี นตอ่ ระดับปริญญาโทสาขาบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง ต้งั แต่ปีการศึกษา 2560 จนถงึ ปจั จบุ นั • สถติ กิ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตชุ ว่ งวันหยดุ สงกรานต์ หมายถงึ สถิตศิ าสตร์ เปน็ ระเบียบวิธที างวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2. การจัดระบบข้อมลู 3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 4. การตีความหมายขอ้ มลู

นามบัญญัติ – nominal scale เปน็ ข้อมลู ที่มลี กั ษณะเปน็ กลมุ่ หรือประเภท โดยแยกลกั ษณะทเ่ี หมือนกันไว้ ด้วยกนั เชน่ เพศ เชอ้ื ชาติ โดยไมถ่ ือว่ากลมุ่ ใดมากกว่าหรือน้อยกวา่ กัน แตเ่ ปน็ คนละกลุ่มหรอื คนละประเภทกัน เช่น เพศชายไม่เหมอื นเพศหญิง • เพศ (ชาย หญงิ ) • กลมุ่ เลอื ด (A B O AB) • เบอร์นักกฬี า • อาชพี • หมายเลขโทรศัพท์ • ทะเบยี นรถ • ทะเบียนบา้ น

เรยี งลาดบั – ordinal scale เป็นการกาหนดข้อมูลเป็นกลมุ่ และบอกความ แตกต่างระหวา่ งกลมุ่ วา่ มากกว่า หรอื น้อยกว่า ใช้เพ่ือจดั อันดบั หรอื จดั ตาแหนง่ เช่น สงิ่ ทชี่ อบ อนั ดับ 1 ส่ิงท่ชี อบอนั ดบั 2 ส่งิ ท่ีชอบอันดับสดุ ทา้ ย แต่ไมส่ ามารถบอกไดว้ ่ามากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่ กัน เทา่ ใด • ผลการเรียน A B C D • อนั ดับการประกวด • ช้นั ยศ

อนั ตรภาค – interval scale เป็นการวัดความแตกตา่ งออกเปน็ ตัวเลข บอกความแตกตา่ งไดว้ า่ มากกว่าหรอื น้อยกว่า เทา่ ใด ตวั เลขนี้สามารถใชบ้ วก ลบ คณู หาร ได้ เชน่ ระดบั สตปิ ัญญา คะนน อุณหภูมิ แต่ ไม่มีศูนย์แท้ • อณุ หภมู ิ • คะแนน

อตั ราส่วน – ratio scale ลกั ษณะทั่วไปเหมือนกับการวัดแบบอันตรภาค แต่การวดั บอกความ บอกความ ชว่ งหา่ ง มศี ูนยแ์ ท้ ระดับนม้ี ศี ูนย์ทแี่ ทจ้ รงิ เช่น อายุ รายได้ แตกต่าง มากนอ้ ย เท่ากัน ✓ • น้าหนัก นามบัญญตั ิ ✓ ✓ • อายุ ✓ • ส่วนสงู จัดอันดบั ✓ ✓ • รายได้ • ความยาว อนั ตรภาค ✓ ✓ อตั ราส่วน ✓ ✓

สถติ เิ ชงิ บรรยาย (descriptive statistics) สถติ ิเชิงอ้างองิ (inferential statistics) เป็นสถิติทีบ่ รรยายคณุ ลักษณะของส่งิ ท่ีต้องการศึกษาจากกลมุ่ ใด เป็นสถิติท่ีศึกษากับกลุม่ ตวั อยา่ ง แลว้ สรุปผลทไี่ ดจ้ ากการศึกษากลุ่มตัวอย่างอ้างองิ ไป กลุม่ หนึ่ง ผลของการศึกษาจะไมอ่ า้ งอิงไปยงั กลมุ่ อน่ื เชน่ ครหู า ยงั กลุม่ ประชากรด้วยทฤษฎีความนา่ จะเปน็ หวั ใจสาคัญของสถติ ชิ นดิ นี้คอ กลุ่มตัวอย่าง น้าหนกั เฉลยี่ ของนักเรียนชายหอ้ ง ม.1/1 ได้ 45 กิโลกรัม สรปุ อา้ งองิ จะต้องเปน็ ตวั แทนที่ดีของประชากร (มีคณุ ลักษณะเหมอื นประชากร) ไปว่านักเรยี นชาย ม.1 ห้องอน่ื ๆ มนี า้ หนกั เฉลยี่ 45 กิโลกรมั ดว้ ย ไมไ่ ด้ เชน่ โรงเรียนแหง่ หนง่ึ มนี ักเรียนชน้ั ม.1 จานวน 300 คน ครูต้องการทราบน้าหนักเฉล่ยี ของนกั เรยี น ม.1 ทง้ั หมด โดยสุ่มตัวอยา่ งนกั เรียนช้ัน ม.1 มาจานวน 100 คน หา นา้ หนักเฉลี่ยไดเ้ ทา่ กบั 40 กโิ ลกรัม ครูคนนี้จะสรุปผลอ้างอิงไปยงั นกั เรยี นชายชน้ั ม.1 ทัง้ 300 คนไดโ้ ดยใช้สถิตอิ า้ งอิง

สถิติที่ใช้ในการหาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรม การหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรม (efficiency) ด้วยวธิ ี E1/E2 1. สร้างนวัตกรรม 2. นานวตั กรรมไปหาคา่ IOC 3. ปรบั ปรุง แก้ไขตามขอ้ แนะนาของ ผ้เู ช่ยี วชาญ 4. ทดลองใช้กบั กลุ่มเป้าหมาย 1-3 คน 5. ปรบั ปรงุ และนาไปทดลองใชก้ ับ กลุ่มเป้าหมาย 5-10 คน 6. ปรับปรงุ และนาไปทดลองใช้กับกลุ่มใหญ่ 30 คน เกณฑท์ ี่แสดงถงึ ประสิทธิภาพของนวัตกรรม • ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั E1/E2 : 80/80 • ดา้ นทักษะปฏบิ ัติ E1/E2 : 70/70 • คา่ E1/E2 ต้องไม่แตกต่างกนั เกินรอ้ ยละ 5

สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการหาประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรม การหาประสิทธิผล หรอื การหาดชั นีประสิทธิผล (effectiveness index: EI) ตามแนวคิดของ Hofland มสี ตู รการหาดังนี้ สตู รการหา EI (คะแนนหลงั เรยี น – คะแนนกอ่ นเรียน) / (คะแนนเต็ม – คะแนนกอ่ นเรยี น) ผู้เรยี น ผลการสอบ การคานวณ ดัชนี ดชั นีประสิทธผิ ลทใ่ี ชไ้ ด้ควรมคี า่ ประสทิ ธผิ ล ตั้งแต่ 0.50 ขน้ึ ไป หลัง ก่อน เพิม่ (คะแนนเต็มในการสอบ 10 คะแนน) 0.63 1 5 1 4 สูตร EI 2 9 5 4 (คะแนนหลงั เรียน - คะแนนก่อนเรยี น) / 3 8 2 6 (คะแนนเตม็ - คะแนนก่อนเรียน) 4 60 6 (28-8) / 40-8) = 20/32 = 0.63 28 8

สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการตอบวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. การวิจยั ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือบรรยาย 2. การวิจยั ท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง คือ บรรยายสถานภาพของขอ้ มลู ประชากร ตัวแปร2 ตวั หรือกล่มุ ตวั อย่าง • การแจกแจงความถ่ี • Pearson Product Moment Correlation • ร้อยละ • Spearman Rank Correlation • การวดั แนวโน้มส่สู ว่ นกลาง 3. การวจิ ัยเพือ่ ทดสอบความแตกตา่ ง (เปรยี บเทยี บ) (คา่ เฉลย่ี – สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน • Z-test มัธยฐาน ฐานนยิ ม พสิ ยั ) • t-test • F-test

1) สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) • ร้อยละ (percentage) • การแจกแจงความถี่ (frequency distribution) • การวัดแนวโนม้ เข้าสู่ส่วนกลาง (measure of central tendency) : ค่าเฉลยี่ (ตัวกลางเลขคณติ ) มธั ยฐาน ฐานนิยาม • การวัดการกระจาย (measure of variability) : พิสัย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

การแจกแจงความถี่ (frequency distribution) การแจกแจงความถี่ เปน็ การนาขอ้ มูลทเ่ี กบ็ ฮิสโทแกรม (Histogram) หมายถึง แผนภมู แิ ทง่ รูปสเี่ หล่ยี มผนื ผา้ ชดุ หนง่ึ ซึง่ รวบรวมมาจดั ให้เป็นระบบระเบียบ เป็นหมวดหมู่ เรยี งจาก มคี วามสงู ของแต่ละแทง่ แทนจานวน ค่ามากไปค่าน้อย (หรอื คา่ นอ้ ยไปคา่ มาก) เพื่อแสดงให้ ความถีข่ องคะแนนแตล่ ะชน้ั ความกวา้ ง ทราบว่าขอ้ มูลแตล่ ะค่าเกิดซา้ ๆ กนั กค่ี รง้ั ของแต่ละแท่งแทนระยะห่างระหว่าง ขีดจากดั ท่แี ท้จริง ตารางแจกแจงความถป่ี ระกอบด้วยสว่ นสาคัญ 3 สว่ น คอื • ส่วนคะแนน (แทนดว้ ย X) • ส่วนรอยขดี คะแนน (tally) • คา่ ของความถ่ี (การเกิดซ้าของแตล่ ะคา่ ) (แทนดว้ ย f)

การวดั แนวโนม้ สสู่ ว่ นกลาง (measure of central tendency) การวดั แนวโน้มเข้าสู่ การวัดแนวโนม้ เข้าสู่ส่วนกลางดาเนนิ การใน 2 วิธี ส่วนกลาง เปน็ ระเบียบวิธี การหาค่าตวั กลาง • ตวั กลางเลขคณติ (arithmetic mean) หรอื ทางสถติ ิทีใ่ ช้หาค่าคา่ หนึง่ ซึ่งเปน็ ตวั แทนของขอ้ มูลทงั้ ชุด เพอ่ื ความ ค่าเฉล่ยี สะดวกในการจดจาและสรปุ เร่อื งราว • ตวั กลางเรขาคณิต (geometric mean) ของข้อมลู ชดุ นัน้ • ตัวกลางฮาร์โมนคิ (harmonic mean) การหาคา่ ท่ีบอกตาแหนง่ ของขอ้ มลู • ฐานนิยม (mode) • มธั ยฐาน (median)

ตวั กลางเลขคณิต (arithmetic mean) หรือ คา่ เฉลี่ย (mean) ตัวกลางเลขคณติ หรือคา่ เฉลีย่ คือ ค่าที่ไดจ้ ากการเอาผลรวมของขอ้ มลู ท้งั หมด หารดว้ ยจานวนข้อมูลท้ังหมด



มธั ยฐาน (Median) สญั ลกั ษณท์ ใี่ ช้ คือ Mdn หรอื Md คือ คา่ ท่ีอยใู่ นตาแหน่งกง่ึ กลางของขอ้ มลู ท้งั ชดุ ตัวอยา่ ง เมื่อไดเ้ รยี งค่าของข้อมลู จากนอ้ ยท่ีสุดไปหามาก คา่ มธั ยฐานของคะแนนผลการสอบของ ทีส่ ุด หรือจากมากท่ีสุดไปหาน้อยท่ีสดุ โดยค่าตวั นกั เรยี นกลุ่มหน่งึ มคี า่ 35 กจ็ ะ น้ีจะบอกให้ทราบว่ามีจานวนขอ้ มลู ทมี่ ากกวา่ และ ตีความหมายได้วา่ มีนกั เรียน 50 นอ้ ยกวา่ คา่ นีอ้ ยูป่ ระมาณ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปอร์เซน็ ตท์ ี่ได้คะแนนตา่ กว่า 35 คะแนน และมีนกั เรยี นอกี 50 เปอร์เซ็นต์ทไ่ี ด้คะแนนสงู กว่า 35 คะแนน



ฐานนิยม (Mode) สัญลักษณ์ที่ใช้ คอื Mo ยหี่ อ้ ถา้ ต้องการวัดแนวโน้มสสู่ ่วนกลางของขอ้ มูล ชุดน้ี (ต้องการทราบวา่ อาจารย์ส่วนใหญ่ใช้รถ ฐานนยิ ม คือ คา่ ของ ฮอนดา้ ยีห่ อ้ อะไร) คาตอบคือ โตโยต้า (มคี วามถส่ี ูงสดุ โตโยต้า คือ 20) โดยขอ้ มลู ชดุ น้จี ะหาไดเ้ ฉพาะฐาน ข้อมลู ชดุ หนง่ึ ซึ่งเปน็ ขอ้ มูลตัวท่ี มติ ซูบชิ ิ นยิ มเทา่ นั้น มคี วามถี่สงู ที่สุด วอลโว่ อซี ซู ุ ความถี่ ตัวอย่าง • มขี อ้ มลู ชุดหนึ่ง ดงั น้ี 7 10 10 20 35 ค่าฐานนิยมคอื 10 15 • มีขอ้ มูลชุดหน่งึ ดังนี้ 5 9 12 12 12 17 20 20 20 49 มีฐานนยิ ม 2 20 10 คา่ คอื 12 และ 20 (ข้อมูลที่มีฐานนยิ ม 2 ค่า เรียกวา่ Bimodal) 5 • มขี ้อมลู ชดุ หนงึ่ ดงั นี้ 11 19 21 40 7 ไมม่ ฐี านนยิ ม 3 • มขี ้อมูลชดุ หนง่ึ ดังน้ี 4 7 7 9 9 4 5 2 2 ไมม่ ฐี านนิยม

ตัวอยา่ งการใช้ในงานวจิ ัย ใชก้ บั ข้อมลู ทเี่ ปน็ ความถ่ี เชน่ สถานภาพของผใู้ หข้ ้อมลู ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อ การเรียนการสอนของนักเรียน ตารางที่ 1 ค่ารอ้ ยละของนกั ศึกษา ความพึงพอใจ M S.D. ระดบั ลาดบั ท่ี การนาเข้าสู่บทเรยี น 2.95 0.74 ปานกลาง 5 เพศ จานวน ร้อยละ การจัดกิจกรรมการเรียนการ 3.20 0.80 ปานกลาง 4 สอน ชาย 72 47.1 การใช้ส่อื ประกอบการสอน 3.31 0.82 ปานกลาง 2 การวัดประเมินผล 3.22 0.90 ปานกลาง 3 หญิง 81 52.9 การให้แสดงความคิดเห็น 3.42 0.55 ปานกลาง 1 3.31 0.39 ปานกลาง รวม 153 100.0 รวม ข้อมลู ในตารางที่ 1 พบวา่ นกั ศึกษาปรญิ ญาโทส่วนใหญ่เป็นเพศ ข้อมลู ในตารางที่ 2 พบว่า นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการจัดการ หญิง จานวน 81 คน คดิ เป็นร้อยละ 52.9 และเปน็ เพศชาย เรียนการสอนในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง (M=3.31, S.D.=0.39) จานวน 72 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.1