Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารวิชาประวัติศาสตร์อเมริกา

เอกสารวิชาประวัติศาสตร์อเมริกา

Published by somkiet, 2021-10-09 11:29:29

Description: เอกสารประกอบการบรรยายวิชาประวัติศาสตร์อเมริกา
ผู้สอน
พระครูสุเมธจันทศิริ, ดร.

Keywords: ผู้สอน พระครูสุเมธจันทศิริ, ดร.

Search

Read the Text Version

เอกสาร ประกอบการบรรยาย รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์อเมรกิ า โดย พระครูสเุ มธจันทศิร,ิ ดร. มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ ินทร์



เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชา ประวัติศาสตรอ์ เมริกา รวบรวม โดย พระครสู ุเมธจันทสิริ,ดร. มหาวทิ ยลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ เมษายน ๒๕๖๓

ก คำนำ เอกสารประกอบการบรรยายเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพ่ือใช้ป่ะกอบการบรรยายและให้นิสิตใช้ศึกษาในรายวิชา ประวัติศาสตร์อเมริกา 203 315 เร่อื ง ประวัติศาสตร์อเมริกา ที่ผู้จัดทำ ได้รวบรวมข้อมูลมาไวใ้ นเอกสารเลม่ นี้ ซ่ึงมีเน้ือหาครอบคลุมในขอบข่ายรายวิชา ดังนี้ ประวัติสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ก่อนการต้ังถิ่นฐานของชาวยุโรป อาณานคิ มอเมรกิ าของอังกฤษ ปฏิวตั อิ เมรกิ นั การสร้างชาติ การบกุ เบกิ ดนิ แดนตะวนั ตก (Manifest Destiny) สงครามกลางเมือง สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามโลกสงครามเย็นและปัญหาการเมืองยุค 60 - 80 สหรฐั อเมรกิ าหลงั สงครามเย็น ทั้งนี้ผู้รวบรวมจะได้อธิบายให้รายละเอียดตามสมควรไว้ในเล่มน้ีแล้ว แต่กระน้ันก็ตามเน้ือหาอาจไม่ ครอบคลุมหรอื มีขอ้ ผดิ พลาดประการใดจึงขออภัยมา ณ ที่นี้ดว้ ย และขอขอบคุณเจ้าข้องข้อมลู จากแหลง่ ข้อมูล ตา่ งๆทผ่ี ูร้ วบรวมใชเ้ ป็นแหลง่ อ้างอิงเป็นอยา่ งสูงย่ิงด้วย พระครสู ุเมธจนั ทสริ ิ ดร. ผู้รวบรวม/ บรรยาย

สารบญั ข เร่อื ง หนา้ ก คำนำ ข สารบัญ 1 2 ประวตั ศิ าสตรอ์ เมริกา 3 บทท่ี 1 ประวัติสหรัฐอเมรกิ าต้งั แต่ก่อนการตงั้ ถิน่ ฐานของชาวยโุ รป 9 1.1 สมัยชนเผ่าพน้ื เมืองในอเมรกิ า 15 1.2 สมัยการเดนิ ทางมาของชาวตะวนั ตก 16 1.3 สรปุ 17 อา้ งองิ 17 บทที่ 2 อาณานิคมอเมริกาขององั กฤษ 19 2.1 อาณานคิ ม 13 แหง่ ผใู้ หก้ ำเนิดอเมรกิ า 21 2.2 อาณานคิ มเจมส์ทาวน์ 24 2.3 อาณานคิ มนิวองิ แลนด์ 25 2.4 อาณานิคมกลาง 27 2.5 อาณานิคมทางใต้ 29 2.6 สรุป 30 อ้างองิ 30 บทที่ 3.ปฏิวตั ิอเมรกิ นั 31 3.1 สหราชอาณาจักรกบั อาณานคิ มในอเมรกิ า 32 3.2 ชาวอเมรกิ ันได้รับอิสรภาพ 32 3.3 งานเลยี้ งนำ้ ชาทบี่ อสตนั 33 3.4 การมงุ่ ร้ายเพิม่ ข้ึนจึงนำไปสู่สงคราม 34 3.5 สาเหตุในการปฏิวัติ 34 3.6 อทิ ธิพลของแนวความคิดยุคเรืองปญั ญา 35 3.7 ความสำเรจ็ เพือ่ ชาวอาณานคิ ม 3.8 ชาวอเมริกาก่อต้ังสาธารณรัฐ

ค สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 35 เร่อื ง 36 3.9 รฐั บาลแห่งชาตอิ ่อนแอ 36 3.10 รฐั ธรรมนูญใหม่ 37 3.11 ระบบสหพันธรฐั 37 3.12 บญั ญัติสทิ ธิ 39 3.13 สรุป 40 อ้างองิ 41 บทที่ 4.การสรา้ งชาติ 43 4.1 พัฒนาการ(โดยย่อ)การสร้างชาติอเมริกาก่อนท่ีประเทศ 44 47 สหรฐั อเมรกิ า 50 4.2 เหตกุ ารณ์สรา้ งชาตทิ ส่ี มบูรณ์ 51 4.3 คำประกาศอิสรภาพ 51 4.4 สรปุ คำประการกาศอสิ รภาพ 52 อ้างองิ 53 53 บทท่ี 5. การบกุ เบกิ ดินแดนตะวนั ตก 67 5.1 การผนวกดนิ แดนรฐั เทก็ ซัส และรฐั โอเรกอน 71 5.2 สงครามเม็กซโิ ก-อเมริกา 72 5.3 การต้ังรฐั เคลฟิ อรเ์ นยี 73 5.4 การบุกเบิกดนิ แดนตะวันตก 74 5.5 สรปุ 75 บรรณานกุ รม 76 บทท่ี 6 สงครามกลางเมอื ง หน้า 6.1 สงครามกลางเมืองของสหรัฐอเมรกิ า 6.2 ปัญหาเครค สก็อต และคาํ พพิ ากษา ค.ศ. 1857 77 6.3 ค.ศ. 1858 การปรากฏตัวของลนิ คอลน์ 79 6.4 ปญั หาช่วยเหลอื ทาส ของจอหน์ บราวน์ ในปี 1859 สารบัญ (ตอ่ ) เรอ่ื ง 6.5 การเลือกต้ังประธานาธิบดี ค.ศ. 1860 จุดเริ่มต้นของสงคราม กลางเมือง 6.6 สงครามกลางเมืองสหรัฐอเมริกา

6.7 สงครามเร่มิ ข้นึ แลว้ (ค.ศ. 1861 - 1865) ง 6.8 สงครามกาํ ลังจะจบลง 6.9 ผลของสงครามกลางเมือง 81 6.10 สงครามและความเปล่ียนแปลง 82 อา้ งอิง 85 บทที่ 7 สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามโลก 86 7.1 สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 92 7.2 สหรัฐอเมรกิ าระหวา่ งสงครามโลกครั้งท่ี 2 93 7.3 สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามเยน็ 93 7.4 สรุป 99 บรรณานกุ รม 106 บทท่ี 8 สงครามเยน็ และปัญหาการเมืองยุค 60-80 108 8.1 สมยั สงครามเยน็ (1945 – 1959) 111 8.2 ปญั หาการเมืองยุค 60 – 80 (1960-1991) 112 8.3 สรปุ 113 อ้างอิง 123 บทที่ 9 สหรัฐอเมรกิ าหลังสงครามเย็น 141 9.1 การพฒั นาประเทศหลังสงครามเยน็ 144 9.2 อเมริกามหาอำนาจโลกตะวันตก 145 9.3 อเมริกากบั การเปน็ ผูน้ ำทางเวทโี ลก 151 9.4 ระเบยี บโลกยคุ อเมริกา 152 9.5 การดำเนนิ การนโยบายตา่ งประเทศของอเมรกิ า 155 160 สารบญั (ตอ่ ) 166 เร่ือง หน้า 9.6 สรุป 169 บรรณานุกรม 172

1 ประวัตศิ าสตรอ์ เมรกิ า ขอบขา่ ย ประวัติสหรัฐอเมริกาตั้งแต่กอ่ นการต้ังถิน่ ฐานของชาวยโุ รป อาณานิคมอเมริกาของอังกฤษ ปฏวิ ัติอเมริกัน การสร้างชาติ การบกุ เบิกดนิ แดนตะวนั ตก สงครามกลางเมอื ง สหรฐั อเมริการะหว่างสงครามโลก สงครามเย็นและปญั หาการเมอื งยุค 60-80 สหรัฐอเมรกิ าหลงั สงครามเยน็

2 บทที่ 1 ประวตั ิสหรฐั อเมริกาต้ังแตก่ ่อนการต้งั ถนิ่ ฐานของชาวยุโรป ความนำ การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรข์ องประเทศสหรัฐอเมรกิ าต้งั แต่กอ่ นการต้งั ถ่นิ ฐานของชาวยโุ รป ในเร่อื ง นี้จะพูดถึงไว้ตั้งแต่ นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมมุติฐานว่ามนุษย์มาถึงทวีปอเมริกาครั้งแรกเมื่อ 40,000 ถึง 14,000 ปีก่อนในยคุ น้ำแขง็ เพราะระดบั น้ำทะเลลดลงทำใหช้ อ่ งแคบแบร่งิ ต้นื เขนิ ทำให้ชาวเอเชียอพยพ เขา้ มากลายเปน็ ชาวอินเดียนพ้นื เมอื งต่างๆท้ังทวปี อเมริกาในปัจจุบัน ผิดกับอเมริกากลาง ในอเมริกาเหนือชาวพื้นเมืองไม่ได้สร้างอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ดังเช่นอัซ เทคหรอื อนิ คา แตเ่ ป็นชนเผ่าเร่ร่อนล่าสัตว์ (Hunter-gatherers) หรือบางพวกกต็ ้งั ถ่นิ ฐานทำเกษตรกรรม อารยธรรมเกษตรกรรมในอเมริกาเหนือที่พัฒนามากที่สุดคือวัฒนธรรมมิสซิสซิปปี ( Mississipian Culture) ในประมาณ ค.ศ. 1000 ถึง ค.ศ. 1400 มักจะสร้างมูลดนิ ข้ึนมาเพื่ออยู่อาศยั และพธิ กี รรมศาสนา จึงเรียกว่า พวกสร้างมลู ดิน (Mound-builders) ชุมชนทใ่ี หญ่ท่ีสดุ ของวัฒนธรรมมิสซิสซิปปี คือคาโฮเกีย (Cahokia) ในรฐั อลิ ลินอยส์ ในปี ค.ศ. 1492 นักสำรวจชาวเจนัว คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ภายใต้สัญญากับกษัตริย์สเปน ได้ เดินทางถึงหมู่เกาะแคริบเบยี น และได้ตดิ ตอ่ กับชนพ้นื เมืองเป็นครั้งแรก เม่ือวันท่ี 2 เมษายน ค.ศ. 1513 กองกสี ตาดอร์ชาวสเปน ควน ปอนเซ เด เลออง ได้ขึ้นฝงั่ ในบริเวณซึ่งเขาเรียกว่า \"ลา ฟลอริดา\" – นับเปน็ การขน้ึ ฝั่งบรเิ วณที่เป็นสหรัฐอเมริกาแผน่ ดินใหญ่ในปจั จุบันของชาวยุโรปเปน็ ครง้ั แรกซึ่งได้รับการบันทึก ไว้ ก่อนจะมกี ารต้งั ถน่ิ ฐานสเปนในพืน้ ทีซ่ ง่ึ ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกเฉียงใตข้ องสหรฐั อเมริกาไปจนถึง เม็กซโิ ก พอ่ ค้าขนสัตว์ชาวฝรงั่ เศสไดก้ อ่ ตัง้ ด่านหนา้ ของนิวฟรานซข์ น้ึ รอบเกรตเลกส์ กอ่ นที่ฝรง่ั เศสจะอ้าง สิทธิ์เหนือพ้ืนทส่ี ว่ นใหญข่ องทวีปอเมริกาเหนือไปจนถึงอ่าวเม็กซโิ กในท่ีสุด การตั้งถิ่นฐานของชาวอังกฤษ แหง่ แรก คอื อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในเจมสท์ าวน์ ในปี ค.ศ. 1607 และอาณานิคมพลมิ ัธของพวกพิลกริม ในปี ค.ศ. 1620 และในปี ค.ศ. 1628 สัญญาเช่าอาณานิคมอ่าวแมสซาชเู ซตส์ ทำให้มีผู้อพยพเข้ามาเป็น จำนวนมาก; ในปี ค.ศ. 1634 นิวอิงแลนด์มีกลุ่มเพียวริตันอาศัยอยู่ 10,000 คน ระหว่างปลายคริสต์ ทศวรรษ 1610 จนถึงการปฏวิ ัติอเมรกิ า มนี ักโทษราว 50,000 คนถูกสง่ ตัวมายงั อาณานิคมองั กฤษในทวีป อเมริกา นับตัง้ แตป่ ี ค.ศ. 1614 ชาวดัตชไ์ ดต้ ้งั ถนิ่ ฐานตามแนวแม่นำ้ ฮัดสนั รวมทงั้ นวิ อัมสเตอรด์ มั บนเกาะ แมนฮตั ตนั ดงั นน้ั ในท่ีนี้ ขอแบง่ ออกเป็น 2 บทดังน้ี 1.สมัยชนเผ่าพน้ื เมืองในอเมริกา (ก่อนประวตั ศิ าสตร์ - ค.ศ. 1492)

3 2.สมัยการเดนิ ทางมาของชาวตะวนั ตก (ค.ศ. 1492 - ค.ศ. 1607) และในแตล่ ะ่ ช่วงแบง่ ออกเป็นข้อยอ่ ยไดด้ ังนี้ 1.การต้งั ถ่ินฐาน 5.ความขดั แยง้ 2.วฒั ธรรมและศาสนา 3.การเมือง 4.เศรษฐกจิ 1.1 สมัยชนเผ่าพน้ื เมืองในอเมริกา ในสมัยก่อนที่ ครสิ โตเฟอร์ โคลัมบัส จะค้นพบทวีปอเมรกิ านัน้ ในพืน้ ที่นี้ มชี นเผ่าพ้นื เมือง ที่ เรียกว่า “อินเดยี นแดง” อาศัยอยแู่ ล้ว ต้งั แต่เขตทุ่งอาร์กติกทางตอนเหนือลงไปถึงเกาะเทียร์นาเดล-ฟูเอ โก (แองโกล อเมรกิ า) ซง่ึ อยู่ทางตอนใต้ของอเมริกาใต้ อินเดยี นแดงทอี่ าศยั อยนู่ ้ีมคี วามแตกต่างกนั ไปตาม สภาพภูมอิ ากาศท้ัง ๆ ทีเ่ ช่อื ว่าพวกนส้ี บื เชือ้ สายมาจากชนเชื้อชาติเดยี วกนั แตอ่ ย่างไรก็ตามกลมุ่ ชน เหล่านน้ั ไดพ้ ยายามปรับภาวะเศรษฐกิจของตนให้เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มที่ตนอาศยั อยู่ 1.1.1 การต้ังถ่ินฐาน บริเวณที่ตั้งถิ่นฐานของอินเดียนแดงชาติพันธุ์ต่าง ๆ นี้ได้อาศัยหลักฐานจากการสังเกตของนัก สำรวจชาวยุโรปและกลุ่มชนผู้ตั้งถิ่นฐานในระยะเริ่มแรก แต่ผลจากการเคลื่อนย้ายของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในขณะที่ชาวผิวขาวเข้าไปตั้งรกรากในระหว่างปี พ.ศ. 2035 (ค.ศ. 1492) และ พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1800) เป็นตน้ มาจึงทำให้ต้องมกี ารกำหนดเขตทต่ี ้งั ของชาตพิ นั ธนุ์ ้ัน ๆ โดยประมาณซ่ึงอาจกลา่ วได้ดงั นี้ อาร์กติก (Arcte) เปน็ ที่อยขู่ องชาติพันธ์ุใหญค่ อื อลูท (Alents) อาศัยอยู่ในหมู่เกาะอลิว เซยี นและเอสกิโม จำแนกเป็นชาติพนั ธย์ุ ่อยมากมาย เช่น แมกเคนซีเอสกิโม (Mackenzie Eskimo คาริบู เอสกิโม (Caribou Eskimo) ลาบราดอร์เอสกิโม, (Labrador Eskimo) และคอตเซบูเอสกิโม (Kotzebu Eskimo) เปน็ ตน้ ซ่ึงแต่ละชาติพันธุ์เหล่าน้ียังแบง่ แยกย่อยออกไปอีก กึ่งอาร์กติก (Sub Arctic) หรือเขตป่าสน เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์อินเดียนแดง ซึ่งจำแนกออกได้ เป็นชาติพันธุ์ย่อย เช่น อินกาลิด (Ingalik), โคยูคอน (Koyukon), ตานานา (Tanana) เป็นต้นในรัฐ อะแลสกา ธิปวยัน (Chipewyan), ครี (Cree), นสั กาปี มอนทักเนส (Nakapi Montagnais), โยลโลว์ ในฟ์ (Yelow Knife) ในแคนาดาเป็นตน้ ชายฝั่งตะวนั ตกเฉยี งเหนือ (Northwest Coast) เป็นทีอ่ ย่ขู องชาตพิ ันธุใ์ หญ่คอื นูตกา (Nootka), ไฮตา (Haida), ทลินกิต (Tlingit) ในแคนาดา, ชินุค (Chinook), ทวานา (Twana) โควม์ ติ ซ์ (Cowlitz) ใน สหรฐั อเมริกาเปน็ ต้น

4 ที่ราบสูง (Plateau) เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่นชูสวัป (Shuswap), คูติไน (Kutinai) ใน แคนาดา, สโปกาเน (Spokane), ปาลูส (Palous), อูมาติลลา (Uumatilla), เนซ เพิร์ซ (Nez Perce), แฟลตเฮด (Flathead) ในสหรฐั อเมรกิ าเป็นต้น เกรตเบซิน (Greet Basin) เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์ใหญ่ ๆ เช่นชูโชน (Shushoni). แบนนอค (Bannock), อูท (Ute), ไพอุท (Palous) ซงึ่ ในแต่ละชาตพิ นั ธ์ยุ ังแยกยอ่ ย ๆ อกี แคลิฟอรเ์ นีย (California) เป็นทอี่ ยูข่ องชาตพิ นั ธ์ตุ า่ ง ๆ เช่นโปโม (Pomo), โยคทุ (Yout), เซอรา โน (Serrano), คาฮลู า (Cahulla) เปน็ ตน้ ตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest) เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่นนาวาโฮ (Navahol). อะปาเซ (Apache), โมชาเว (Mohave), ยาวาไป (Yavapai), ซูนิ (Zuni), พเู อโบล (Pueblo), โฮปี (Hopi) เป็นตน้ ที่ราบใหญ่ (Great Plains) เป็นที่อยูข่ องชาตพิ ันธุ์ต่าง ๆ เช่นแบลคฟุต (Blackfoot). เพลนส์ครี (Plain Cree), แอสตินิบวน (Assiniboin), ในแคนาดา และไขแอน (Cheyenne) ซิอุส (Sioux), โฮปิ (Hopi) .เพานี (Pawnee), แยงตนั (Yankton). คโิ อวา (Kiowa), โอซาเก (Osaga) โคมันเซ (Comanche), อะราปาโฮ (Arapahol) ในสหรัฐอเมริกา ตะวันออกเฉียงเหนือหรือป่าตะวันออก (Easterm Woodland), เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่นโอจิบวา (Ojibwa), มิกแมก (Micmac), อัลกอนดิน (Algonkin) ในแคนาดา บูทยุค (Boothuk), ฟอกซ์ (Fox), มีโนมุนี (MMenomuni), วัมปานวก (Wampanaog) หรือแมสซาซอย (Massasoit), คกิ คา ปู (Kickapoo) ในสหรัฐอเมรกิ า ตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast) เป็นที่อยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่นเชอโรกี (Cherokee), วิชิตา (Wichita), ครีก (Creek), ชิกคาซอ (Chickasaw) ชอกเตา (Chotaw) และซิมโิ นล (Seminole) 1) แหลง่ อาหารธรรมชาติ ชนพื้นเมือง ทวีปอเมริกาเหนือในสมัยกอ่ นโคลัมบัสยังชพี ด้วยการพึ่งแหล่งอาหารตามธรรมชาติ ซึง่ มีอยู่ 6 แหล่งดว้ ยกันคือ แหลง่ ที่ 1 กวางคาริบู (Caribou) แหลง่ ท่ี 2 ปลาแซลมอน (Salmon) แหล่งท่ี 3 เมล็ดผลไมป้ า่ (Wild Seed) แหล่งท่ี 4 กระทิงหรือไบซอน (Blson) แหล่งท่ี 5 ข้าวโพดตะวันออก (Eastern Malize) แหล่งท่ี 6 เกษตรแบบเพิม่ ผลผลติ (Intensive Agriculture

5 แหลง่ ที่ 7 ล่าสัตว์ (Game) 1.1.2 วฒั นธรรมและศาสนา การหาอาหารจากเขตเหลา่ น้ีได้ทำใหเ้ กิดเกณฑ์กำหนดเป็นแหล่งวฒั นธรรมสำคญั ๆ ของแองโกล อเมริกาในสมยั กอ่ นโคลมั บัสค้นพบ ดงั นี้ แหล่งกวางคารบิ ู เขตนี้เป็นท่อี ยสู่ ว่ นใหญข่ องพวกเอสกิโมในอะแลสกา และในแคนาดา รวมท้ังพวกอนิ เดยี นแดงใน แคนาดาปัจจุบันด้วย บริเวณนี้อยู่ในเขตทุนดราและกิง่ อาร์กติก พวกกลุ่มชนทีอ่ ยู่จะดำรงชีพด้วยการลา่ กวางคาริบู แต่ยงั มีสตั วอ์ ื่น ๆ เช่น แมวนำ้ ทพี่ บในเขตทะเลเบรงิ ซงึ่ ใชเ้ ป็นทง้ั อาหารเครอ่ื งนุ่งห่มและท่ีอยู่ อาศัย กวางคารบิ ูน้จี ะมาชมุ นุมกันตลอดฤดหู นาว จนถึงฤดรู อ้ น ซ่งึ ทำใหพ้ วกอินเดยี นแดงและเอสกิโม ได้ มีโอกาสติดตามล่าเหยื่อได้ตลอดเวลา คาริบใู หป้ ระโยชน์มาก เนือ้ ใชเ้ ปน็ อาหาร หนังใช้ทำเสอ้ื ผ้า รองเท้า เลื่อนและสร้างบ้าน เนื่องจากความจำเป็นบังคับ จึงทำให้ชนพื้นเมืองเหล่านีเ้ ป็นพวกเรร่ ่อน อยู่รวมกัน เป็นกลุ่มเล็กไม่กี่ครัวเรือนการปกครอง แบบบ้านเมืองมีน้อย แม้ว่าจะมีหัวหน้าเผ่ากฎเกณฑ์ทางสังคม และทางศาสนามีน้อยบา้ นที่สรา้ งต้องใหส้ ะดวกแกก่ ารเคลื่อนยา้ ย อาหารก็เกบ็ แต่น้อย สุนขั มคี วามสำคัญ มากเพราะเป็นสัตว์พาหนะลากเลื่อนในฤดูหนาว แต่ในฤดูร้อนกลุ่มชนจะใช้เรือแคนูล่องในแม่น้ำพวก เอสกิโมเร่ร่อนน้อยกว่าพวกอินเดียนแดงในแคนาดา มักจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งของมหาสมุทรอาร์กติก ตลอดฤดูหนาวอันยาวนาน โดยขลุกอยู่แต่ในบ้านซึ่งสร้างด้วยไม้และหญ้า ในฤดูร้อนจึงจะย้ายลงมาทาง ตอนใต้ ทำการลา่ คาริบูเพ่อื นำไปใช้เปน็ ทั้งเคร่ืองอปุ โภคและบริโภค แหลง่ ปลาแซลมอน เขตนี้ ไดแ้ ก่ บรเิ วณชายฝ่งั ตะวนั ตกเฉยี งเหนือของแองโกลอเมรกิ า หรือบรเิ วณชายฝั่งด้านใต้ของ อะแลสกา และชายฝั่งบริติชโคลัมเบียของแคนาดา เป็นที่อยู่ของพวกเอสกิโม 2-3 ชาติพันธุ์และ อินเดียนแดงซึ่งมีความใกล้ชิดกับชาวเอเชียมากกว่าพวกอื่น ๆ ชนพื้นเมืองเหล่านี้ หาเลี้ยงชีพด้วยการ ประมงโดยการจับปลาแซลมอนเป็นอาหารหลกั เครื่องมือท่ีใชม้ ที ัง้ หอกฉมวก ขอ และแห และเรอื แคนู ท่ี ขดุ จากไม้ซงุ ต้นเดยี วเรือบางลำจุคนได้ถงึ 50 คนนอกจากจะใชเ้ รอื ในการจับปลาแล้ว ยงั ใชล้ า่ ปลาวาทอีก ดว้ ย พวกอนิ เดยี นแดงมกั อยรู่ วมกันในเขตป่าทึบ สร้างบ้านอยอู่ ย่างถาวร ดว้ ยเศษไม้และชุงจากไม้ซีดาร์ และสปรูซ ตัวบ้านมักมีขนาดใหญ่จุได้หลายครอบครัว มีช่องลมทางด้านหลังคา เพื่อให้เป็นทางระบาย ควัน จากการประกอบอาหารอาหารประจำส่วนมาก ได้แก่ ผลไม้ต่าง ๆ ที่มีตามฤดูกาลเช่นลูกเบอรี พืช บางชนิดและรากไม้กวางและสตั ว์เลก็ ๆ ภูมิอากาศในเขตแซลมอน อบอุ่นสบาย ดังนั้นชนพื้นเมืองจงึ นุ่ง

6 ห่มเล็กน้อย โดยห่อหุ้มร่างกายด้วยผ้าห่มที่ถักด้วยมือเรียกว่า Chikat Blanket และเนื่องจากมีไม้อุดม สมบรู ณ์พวกน้ี จงึ ใช้เวลาวา่ งทำการแกะสลกั ไมเ้ ช่นแกะสลกั เสาบ้าน เสาประตู พร้อมกับลงสีอยา่ งงดงาม แกะสลกั หน้ากากเปน็ ตน้ กิจกรรมเหล่านี้จึงกลายเป็นศลิ ปะประจำเผ่า นอกจากน้ีจากการท่ีอยูร่ ว่ มกัน จึง ทำให้เกิดพิธีทางศาสนาขึ้น พิธีที่เด่นคือพิธีพอตแตช (Pottetch) ซึ่งเป็นพิธีที่แสดงความร่ำรวยของ เจา้ ของงาน โดยการทำลายข้าวของของตนและแจกของขวญั ใหแ้ ก่คนโดยไมร่ จู้ กั มีการจับเชลยตา่ งเผ่ามา เปน็ ทาสและบางครง้ั กม็ ีการสังเวยเชลย ในพิธีด้วยวฒั นธรรมของชนกลมุ่ นี้ ไดแ้ ผเ่ ข้าไปในพื้นทวีปไปตาม แมน่ ้ำที่มปี ลาแซลมอน ดังย้ยั จะพบในบรเิ วณลมุ่ แม่น้ำโคลมั เบยี ของรัฐวอชงิ ตนั , รฐั ออริกอนและเร่ือยลง มาทางตอนใต้จนถึงแม่น้ำแคลแมธ (Klamatch) ในรัฐแคลิฟอร์เนยี แหลง่ เมลด็ ผลไม้ปา่ เขตนอ้ี ยทู่ างตะวันตกเฉยี งใต้ ในรัฐแคลิฟอรเ์ นยี ชนพ้นื เมอื งไดอ้ าศยั ผลไม้เปลอื กแขง็ จากต้นโอ๊ก เป็นอาหารหลัก แต่บางทีกใ็ ช้ผลไม้ป่าชนิดอน่ื วธิ ที ำคอื เอาผลไม้มาตำในครกทำเป็นแป้ง แล้วผสมกับน้ำ ร้อนทำเปน็ คล้ายขนมปงั แตพ่ วกท่ีอย่ตู ามชายฝ่ังจะทำการประมง เมอื่ เปรียบเทียบกบั วัฒนธรรมในเขตอืน่ ๆ ของแองโกลอเมรกิ าแลว้ วฒั นธรรมของชนพ้ืนเมืองใน เขตน้ีอย่ใู นระดบั ต่ำสดุ ตวั บ้านท่ีสรา้ งเป็นเพยี งกระท่อมกันลมและแดดเท่าน้นั เคร่อื งนุง่ ห่มมีความสำคัญ นอ้ ยมาก อาวธุ ท่ใี ชก้ ็มนี ้อยเพยี งแตธ่ นูแบบง่าย ๆ เท่านั้น การคมนาคมทางแม่น้ำ ใช้แพที่ทำขึ้นจากการ ผูกซุงเข้าด้วยกัน พวกอินเดียนแดงในเขตนี้มีงานฝีมือที่ประณีตอย่างหนึ่งก็คือการสานตะกร้าด้วยกก ตะกร้านีใ้ ชป้ ระโยชน์ไดห้ ลายอย่างเชน่ เกบ็ ผลไม้ไวใ้ ช้เปน็ อาหารและบางชนดิ ใชใ้ ส่น้ำได้ดว้ ย แหลง่ กระทิงหรอื ไบชอน เขตนี้อยู่ในบริเวณที่ราบสูงทั้งในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ชนพื้นเมืองในเขตนี้ยังชพี ด้วยการออกล่ากระทิง วัฒนธรรมของชนพ้ืนเมืองในเขตนี้คล้ายคลึงกับในเขตกวางคาริบูหลายอย่าง แต่ แตกต่างตรงที่ว่ามีความเป็นระเบียบมากกวา่ ชาติพันธุ์ต่าง ๆ มีขนาดใหญ่กว่าและมีพิธีและสังคมที่เจริญ มากกว่าพวกอนิ เดียนแดงในเขตนี้ เป็นพวกเรร่ ่อนอพยพไปตามฝงู กระทงิ ตามฤดู และด้วยความจำเป็นอัน นี้จึงมีผลทำให้การสรา้ งที่อยูอ่ าศัยเป็นแบบกระโจมหนัง ซึ่งสามารถรื้อถอนและขนยา้ ยได้สะดวก ของใช้ สว่ นตัวและของใชป้ ระจำบ้านมนี อ้ ยตะกรา้ มีใชบ้ า้ ง แต่ยงั ไม่มหี ลกั ฐานว่ามีการใช้หมอ้ มีการใชห้ นังดิบทำ ถุงสำหรับเก็บเนื้อสัตว์และผลไม้ รองเท้าเลื่อนสุนัขและเครื่องนุ่งห่มซึ่งทำเพียงแต่แค่เย็บให้เข้ารูป ไม่ ปรากฏว่ามีการทอผ้าหรือถ้ามีก็อาจทำน้อยมาก มีการใช้ธนูและลูกศรเป็นอาวุธในการล่าสัตว์และทำ สงคราม มีดและหวั ธนูทำด้วยหนิ ยังไม่มีการใช้โลหะไดเ้ รมิ่ มีการถือกรรมสทิ ธิ์ทด่ี นิ กนั บ้างแล้วท้งั นี้เพราะมี

7 หลกั ฐานปรากฏว่าพวกอนิ เดียนแดงชาติพนั ธต์ุ ่าง ๆ ได้มีการกำหนดเขตในการลา่ สัตว์และมักทำสงคราม เพื่อปกป้องสทิ ธิ์ของตน แหล่งขา้ วโพดตะวนั ออก เขตนี้อย่ทู างตะวันออกของทวีปเขตน้ี ไดช้ ือ่ ว่าเปน็ เขตปลูกขา้ วโพด ข้าวโพดเปน็ พืชอาหารหลักที่ ปลูกกันได้ทั่วไป แต่ก็มีการปลูกพืชอืน่ ๆ อีกเป็นต้น ว่าถั่ว น้ำเต้า ฟักทอง แตงโม ผักต่าง ๆ และยาสูบ ส่วนสัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร ได้แก่ กวาง หมี กระต่าย สัตว์ปีกชนิดต่าง ๆ และปลาบ้างในบางคราว และ เนื่องจากการเพาะปลูกต้องใช้เวลาอยา่ งน้อย 1 ฤดูกาล ดังนั้นบ้านเรือนท่ีอาศัยอยู่ จึงต้องสรา้ งให้ถาวร หมู่บา้ นมักตง้ั อยบู่ นพืน้ ดิน ทที่ ำการถากถางแล้วพวกผู้หญงิ จะทำงานเพาะปลูกในไร่ แต่พวกผู้ชายจะเข้า ป่าล่าสัตว์อาวุธที่ใชส้ ่วนใหญ่คือธนู แต่ก็มีการใช้มีดและขวานบ้าง พวกที่อยู่ทางตอนใต้บางครั้งมีการใช้ ปืนดินดำ วางยาเพอื่ จับปลาและใช้เรือแคนเู ปน็ พาหนะ ในขณะทพี่ วกทางตอนเหนือใชเ้ ล่ือนหิมะเรือแคนู ทีข่ ุดจากตน้ เบิร์ชและรองเทา้ หิมะในการเดนิ ทาง พวกผู้ชายท่ไี ปลา่ สตั ว์มักไปเปน็ กลุ่มใหญ่ และพวกน้บี าง ทีก็กลายเป็นกลุ่มนักรบดังเช่นชาติพันธุ์ อิโรควอยส์ ในรัฐนิวยอร์กซึ่งนับว่าเป็นนักรบที่เก่งฉกาจที่สุด สามารถปราบชาตพิ ันธุ์อนื่ ๆ ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งได้หมดและได้รวมกันเปน็ กลุ่ม 6 ชาติ (Six. Nations) ใน ครสิ ตศตวรรษท่ี 15 และ 16 ทำการต่อต้านกับพวกฝรั่งเศสทเ่ี ข้าไปตงั้ ถิน่ ฐาน แหล่งเกษตรเเบบเพิม่ ผลผลิต เขตนี้อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ กินเนื้อที่ตั้งแต่รัฐแอริโซนานิวเม็กซิโก และตะวันตกเฉียงใต้ของ รัฐเท็กซสั ลงมาทางใตผ้ ่านท่ีราบสูงเม็กซิโกอเมรกิ ากลางตามลาดเขาตะวนั ตกของเทอื กเขาแอนดีส จนถึง ประเทศชลิ ตี อนกลางเปน็ เขตทีม่ กี ารเพาะปลูกแบบเพ่มิ ผลผลติ เพาะปลกู พืชมากและตา่ ง ๆ ชนิดในเน้อื ท่ี จำกัด ทม่ี ปี ระชาชนอาศัยอยู่หนาแนน่ มาก กล่มุ ชนพ้นื เมอื งในเขตนีม้ อี าชีพหลักคอื การเพาะปลกู ดิน แดน ที่มีวัฒนธรรมสูงสุดในเขตนี้คือดินแดนตอนใต้ของเม็กซิโก และแถบเทือกเขาแอนดีสในทวีปอเมริกาใต้ เช่นในประเทศเอกวาดอร์และเปรู ส่วนดินแดนที่มีความเจริญรองลงไปคือบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นที่อยู่ของพวกอินเดียนแดงชาติพันธุ์พูเอโบล ชาติพันธุ์นี้ส่วนใหญ่อยู่รวมกนั ในบา้ น ใหญ่ซ่ึงมหี ลายชัน้ และมหี อ้ งเดียวภายในบ้าน แต่ละชัน้ จะมบี นั ไดและใช้เปน็ ทางเขา้ แต่ละห้อง ซ่ึงทางเข้า นี้ เข้าทางเพดานหอ้ งไม่มหี น้าต่างหรอื ประตูตัวเรอื นจะตัง้ อยูใ่ นที่ทีส่ ามารถปอ้ งกนั ตัวได้ เช่นทรี่ าบสูงหรือ ใต้หน้าผา ตัวบันไดภายนอกบ้านสามารถชักเก็บขึน้ ได้ในตอนกลางวัน วัสดุก่อสร้างคืออะโดบี (Adobe) ซึ่งเป็นดินเหนียวชนิดหนึ่งนำมาผสมกับน้ำและฟางสับ แล้วนำไปตากแดดให้แห้ง คล้ายแผ่นอิฐหลังคา แบนราบ และคลุมด้วยหญ้า เหมาะกับภูมิอากาศแบบถึงเมืองร้อน ที่แห้งแลง้ กล่าวกันวา่ ที่พำนักเกา่ แก่

8 ทส่ี ดุ ของอินเดียนแดงชาตพิ ันธพ์ุ ูเอโบล ตงั้ อยู่ทางตะวันตกเฉยี งใตข้ องรัฐโคโลราโด มชี ื่อเสียงว่าเมซาแวร์ เค (Moss Verde) ปจั จบุ ันเป็นวนอทุ ยานแห่งชาติ สังคมของชนพื้นเมอื งในบริเวณนี้ มีหลายแบบทั้งแบบลับและเปิดเผย มีการเต้นรำบวงสรวงใน บางเผ่ามีการเต้นรำบวงสรวงหรือพิธีแห่แหนต่าง ๆ ซึ่งกินเวลาถึงปีละ 180 วัน สถาบันและสิทธิต่าง ๆ สืบทางสายโลหิตและตำแหน่งสูงสุดเป็นของฝ่ายสงฆ์ ทั้งชายและหญิงทำงานในไร่ข้าวโพด ซึ่งอยู่ห่าง ออกมาหลายไมลจ์ ากหมูบ่ ้านอาหารคือข้าวโพด ซ่งึ บดในครกหินและนำไปอบเป็นแผ่นบาง ๆ เปน็ ขนมปัง แขง็ และกรอบสว่ นอาหารนอกจากนีก้ ม็ ีเนือ้ สัตว์ ซงึ่ ล่าโดยวธิ ีตอ้ นออกมา มีขอ้ หา้ มคอื ไม่กินอาหารปลาทุก ชนิดมีการใช้หมอ้ กันแพร่หลายใช้ในการประกอบอาหารเก็บอาหาร และใสน่ ำ้ ซึ่งต้องไปแบกมาเป็นระยะ ทางไกล แหลง่ ล่าสัตว์ เขตนี้อยู่ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีลักษณะเป็นป่า ส่วนใหญ่ชนพ้ืนเมืองที่อาศัยอยู่ในเขตน้เี ปน็ พวกล่าสตั วก์ ึง่ เรร่ ่อนรู้จักการเพาะปลูกแบบง่าย ๆ แต่เน่อื งจากสภาพดนิ ไมอ่ ำนวยให้ดังน้ัน แม้ว่าพวกนี้ จะพยายามอย่างมากในเร่ืองการเพาะปลูก แตก่ ็ไมอ่ าจพึ่งการเพาะปลกู ได้เพราะผลผลติ ไดไ้ ม่มากพอท่ีจะ ท้ิงอาชพี ลา่ สัตวแ์ ละตกปลาได้ ชนพ้นื เมืองในบรเิ วณนีจ้ ะอยู่รวมกันเป็นเผ่าเลก็ ๆ ในส่วนของศาสนาในแต่ละ่ เผ่าจะมีหมอผีประจำเผ่า และคอยสื่อสารกับวญิ ญาณบรรพบุรษุ ทำ พิธีตา่ งๆ ต่างกนั กบั ทางทวีปอเมรกิ าใต้ทีม่ กี ารบชู าเทพเจ้าท่ีตวั เองนบั ถือ 1.1.3 การเมืองการปกครอง ในส่วนของการเมืองการปกครอง ใช้การปกครองโดยหัวหน้าเผ่าต่างๆ มีหน้าที่ดูแลผู้คนในเผ่า เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ ผู้นำในการรบกับผู้รุกราน และในบางเผ่ามีหมอผี ประจำเผ่าทำหน้าที่เป็น หัวหน้าเสียเอง แต่การรวมกนั เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ยังไม่ค่อยมี ดังนั้นกฏเกณฑ์ทางสงั คมยังไม่แข็งแรงพอ ทุก คนเชอื่ ฟงั หวั หน้าเผา่ หรอื หมอผีประจำเผ่า มีการไล่หรือเนรเทศ ผ้คู นที่ทำผิดต่อวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ ออก จากเผา่ 1.1.4 เศรษฐกจิ ชนเผ่า (Tribe) คือกลุ่มสงั คมทีร่ วมตัวกันกอ่ นท่จี ะพฒั นาข้ึนมาเป็นรัฐ (State) โดยทั่วไปแล้วชน เผา่ ประกอบด้วยกลุ่มคนทอี่ าศัยท่ีดนิ เพอื่ ทำกิน มขี นบประเพณที ่ีคลา้ ยคลึงกัน อาทิ แต่งกายแบบเดียวกัน กินอาหารแบบเดียวกัน มีพิธีกรรมเหมือนกัน มีระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตัวเอง (self-sufficient economy) คอื เศรษฐกจิ ที่ทกุ ครอบครัวหรือทุกชมุ ชนต้องผลิตปัจจัย 4 ไดแ้ ก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่

9 อาศัย และยารักษาโรคเอง และการซื้อขายแลกเปลี่ยนกันก็ยังไม่ใช้เงินเป็นสื่อกลางหากแต่ใช้วิธี แลกเปลีย่ นส่ิงของ เชน่ แลกไก่กับผ้าท่ีทอขน้ึ เอง ชนเผ่าอินเดียนแดงในทวีปอเมริกาเหนือ ต่างก็มีระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตัวเอง (self- sufficient economy) คือเศรษฐกิจที่ทุกครอบครัวหรือทุกชุมชนต้องผลิตปัจจัย 4 ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรคเอง และการซื้อขายแลกเปลี่ยนกันก็ยังไม่ใช้เงินเป็นสื่อกลาง หากแต่ใชว้ ิธแี ลกเปลี่ยนส่งิ ของเชน่ กัน คนอินเดียนที่อพยพมานี้จะกระจายไปทั่วทวีปและตั้งหลักแหล่งตามที่ต่างๆ สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และทีด่ ิน มีส่วนกำหนดให้กลมุ่ ต่างๆ รกั ษาลกั ษณะด้งั เดมิ ของกลุ่มสภาพภูมิประเทศ ทำให้มี ความยากลำบากในการเดินทาง และสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้ง การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างเผ่าเป็นไปได้ ยาก ชาวอินเดียนสว่ นใหญ่ อาศัยในที่ราบ และดำรงชีวิตด้วยการเกษตร การเพาะปลูกพชื พื้นเมอื ง อาทิ ข้าวโพด มันฝรั่ง ในที่ราบทางภาคตะวันตกและภาคกลางมีวัวไบซันเป็นสัตว์พื้นเมืองจำนวนมาก ทำให้ อนิ เดยี นมีความชำนาญในการล่าสัตว์ สว่ นผทู้ อี่ าศัยแถบชายฝ่ังทะเลก็ชำนาญทางด้านการจับปลาเช่นกนั 1.1.5 ความขดั แยง้ ในสมัยที่ยงั ไมม่ กี ารรุกรานของชนชาติทางยโุ รป ส่วนมากแต่ล่ะชนเผ่า อยู่กนั อยา่ งสงบ อ้างจาก คำของโคลัมบัสว่า \"คนเหล่านนั้ ช่างว่าง่าย และอยูก่ นั อย่างสงบสันตเิ หลือเกิน ขา้ พเจา้ สาบานตอ่ พระองค์ ได้ว่า ไมม่ ีชนชาติไหนในโลกทดี่ กี ว่าน้ีอกี แลว้ พวกเขารกั เพอ่ื นบา้ นเหมือนรักตนเอง เสยี งพูดของเขาสุภาพ อ่อนหวาน และมรี อยย้ิมตลอดเวลา\" เปน็ ตอนหนึง่ ท่โี คลมั บสั กล่าวไว้ในสาสน์บงั คมทูลพระราชาและพระ ราชนิ ีแหง่ สเปน ในปี ค.ศ.1492 แตก่ ็มีการสรู้ บกันของบางชนเผ่า มกี ารจบั เชลยต่างเผ่ามาเป็นทาส และ บางทีนำมาสงั เวยในพิธี 1.2 สมัยการเดินทางมาของชาวตะวนั ตก การเข้ามาของชาวยุโรปในดินแดนตอนเหนือของประเทศเมก็ ซโิ กมีผู้คนทั้งหมดไมถ่ งึ 1 ล้านคน จึงทำให้ชาวยโุ รปที่อพยพมาจากโลกเกา่ มาอยูใ่ นดินแดนของทวีปใหม่ สามารถเข้าแทนที่ชาวพ้นื เมืองได้ อยา่ งงา่ ยดาย ในปัจจุบันพวกทีส่ ืบเชื้อสายจากชาวยุโรปแอฟรกิ าและเอเชียได้เขา้ อยู่แทนที่ชนพ้ืนเมืองใน เกือบทุกที่ที่เป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติ ยกเว้นบางส่วนของรัฐอะแลสกาและแคนาดาตอนเหนือแม้ กระน้ันในเขตที่กล่าวมานีจ้ ำนวนชนพื้นเมืองกม็ ีนอ้ ยมากและการดำรงชีพแบบดัง้ เดมิ ของตนก็ย่ิงนอ้ ยลง ไปอกี

10 การค้นพบทวปี อเมริกาเหนือเสน้ ทางเดินเรือจากทวปี ยุโรปท่ีจะมายังทวีปอเมรกิ าทงั้ เหนือและได้ อาจแบ่งเป็น 3 เสน้ ทางคอื 1. สายแอตแลนติกเหนือโดยเริ่มจากหมู่เกาะบริติช ผ่านหมู่เกาะเชตแลนด์ หมู่เกาะฟาโรส์ (Faroes) เกาะไอซแลนด์ กรีนแลนด์ และมาถึงแคว้นลาบราดอรห์ รือเกาะนิวฟันด์แลนด์ 2. มาตามทศิ ทางของลมสินค้าจากหมเู่ กาะอะซอร์ส (Azores) ของโปรตุเกสหรอื หม่เู กาะมาเดีย รา (Modera) ไปยังหมเู่ กาะอนิ ดสี ตะวันตกซ่ึงเปน็ เสน้ ทางทีพ่ วกโปรตุเกสและสเปนใช้กัน 3. มาตามทิศทางลมสินค้าเช่นเดียวกัน แต่เริ่มจากฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกามายังประเทศ บราซลิ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ปรากฏว่าชาวไอริช ได้ครอบครองเกาะไอซแลนด์ ตั้งแต่ปลาย คริสตศตวรรษท่ี 9 ในปี ค.ศ. 936 พวกคนเหนือ (Norse Men) ได้เข้ามาแทนท่ีพวกไอรชิ และได้ต้ังสภาเป็นครั้งแรก ในไอซแลนด์ ในปี ค.ศ. 982 Eric The Red คน้ พบฝ่งั ตะวนั ออกของเกาะกรีนแลนด์และไดย้ ึดครองฝ่ังตะวันตก ราวปี ค.ศ. 986 ไดม้ กี ารตง้ั หม่บู า้ นข้นึ ใหม่โดยมีหมบู่ ้านชาวประมง 12 แหง่ พร้อมด้วยโบสถ์ 12 หลังโดย มีเมืองสำคัญคือ กอครอบ (Godthab) การตั้งถิ่นฐานมีมาจนถึงปี ค.ศ. 1347 แล้วเงียบหายไปโดยไม่ ปรากฏเหตุผล แต่ต่อมาก็มพี วกเอสกิโมซึ่งอพยพมาทางตะวันออก ได้มาถึงที่น้ีและยึดครองอยู่ในปี ค.ศ. 1000 ลอี ิฟ อิรคิ สนั (Leif Ericson) แห่งไอซแลนด์ ได้ลอ่ งเรอื พร้อมด้วยพวกคนเหนือ มายังที่แห่งหน่ึง ซึ่งสันนิษฐานกันว่าคงจะเป็นชายฝั่งของนิวอิงแลนด์ ได้มีการค้นพบขวานที่ใช้ในสงครามที่ทำด้วยทอง สัมฤทธิ์ซึ่งเป็นเครื่องใช้ของพวกอินเดียนแดง ในรัฐวิสคอนซิน ขวานชนิดนี้เมือ่ คิดเทียบอายุแล้วจัดเป็น ขวาน อยูใ่ นยโุ รปสมยั กลาง จึงทำใหม้ ขี ้อคิดวา่ จะเป็นไปไดไ้ หมท่ีพวกคนเหนือ ซง่ึ เดนิ ทางไปตามเส้นทาง น้ำลึกเข้า ไปในพื้นทวีปเป็นผู้นำเข้าไป หรืออาจจะเนื่องมาจากการค้าขายกันของพวกอินเดียนแดง ใน พงศาวดารของพวกคนเหนือได้บรรยายเกี่ยวกับดินแดนใหม่ ที่เพิ่งค้นพบโดยกล่าวถึงเฮลลูแลนด์ (Heluland) ว่ามีชายฝั่งที่เต็มไปด้วยหินแบน ๆ ซึ่งอาจหมายถึงดินแดนลาบราดอร์มาร์คแลนด์ (Markland) หรือดินแดนทมี่ ี แต่ต้นไม้ซึง่ ก็อาจจะเป็นนวิ ฟันด์แลนด์ และมวี นิ แลนด์ (Vinland) เป็นท่ีลุ่ม มที ุ่งหญ้าปกคลุมซ่ึงอาจจะหมายถึงบริเวณชายฝงั่ ทางใตข้ องแมน่ ้ำเซนต์ลอเรนซ์ ตอนเหนือของรัฐเมนซึ่ง เป็นสถานทีแ่ หง่ เดียวทม่ี หี ญ้าปกคลมุ โคลมั บัสไดช้ ื่อว่าเปน็ ผคู้ น้ พบเกาะซานซัลวาดอร์ (San Salvador) ในหมูเ่ กาะบาฮามาสใ์ นปี ค.ศ. 1492 แต่เมื่อ 20 ปีก่อนที่โคลัมบัสจะเดินทางมาถึงพระเจ้าคริสเตียน แห่งกรุงเดนมาร์ค ได้เคยให้

11 โปธอร์สท์ (Pothorst) นำเรือมาก่อนในรายงานของเขา ก็มีเรื่องเกี่ยวกับดนิ แดนท่ีมลี ักษณะเป็นฟยอร์ด ซึ่งสันนิษฐานว่าคงต้องเป็นลาบราดอร์อย่างแน่นอน หลังจากการเดินทางของโคลัมบัสแล้วในปี ค.ศ. 1497 และ 1498 จอห์นคาบอต (John Cabot) ในสมัยพระเจ้าเฮนรี่ที่ 7 ของอังกฤษได้แล่นเรือเลียบ ชายฝั่งของแคนาดาซึ่งอาจจะเป็นชายฝั่งนิวฟันด์แลนด์หรือโนวาสโกเชีย และได้ทำเครื่องหมายของ ประเทศองั กฤษไว้บนฝง่ั ของเกาะนวิ ฟนั ด์แลนด์ น่เี ปน็ เหตใุ ห้องั กฤษอา้ งสทิ ธิของตนเหนืออเมริกา ในปี 1507 นักเขียนแผนที่ชาวเยอรมัน มาร์ติน วัลด์เซมึลเลอร์ ผลิตแผนที่โลกซึ่งเขาได้ตั้งชื่อ ดินแดนทางซกี โลกตะวันตกในแผนที่ดงั กล่าววา่ \"อเมรกิ า\" ตามชื่อของนกั สำรวจและนกั เขียนแผนท่ีชาวอิ ตาเลียน “อเมรโิ ก เวสปชุ ช”ี ในปี ค.ศ. 1513 ปองซ์เดอเลออง (Pont de Leon) ได้ขึ้นบกที่ฟลอริดาและในปี ค.ศ. 1519 สเปนได้เข้ายึดครองเม็กซิโกในปี ค.ศ. 1530 ได้เร่ิมรู้จักดินแดนฝั่งตะวันตกของทวปี และในปี ค.ศ. 1531 ปีชาร์โร (Pizaro) ทำสงครามมีชัยชนะอาณาจกั รอินคา (Inca) จงึ ทำใหเ้ ปรูไดเ้ ขา้ มาอยู่ในการปกครองของ สเปน 1.2.1 การตงั้ ถน่ิ ฐาน สเปน เป็นชนชาติแรกที่เข้าไปมีที่มั่นในอเมริกาเหนือ ภายหลังที่โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม่แล้ว พวก สเปนได้เข้าครอบครองเกาะสำคัญในหมู่เกาะอินดิสตะวันตก สเปนมีความสนใจมากในดินแดนเม็กซิโก เพราะท่นี ้นั เปน็ แหลง่ ขมุ ทอง ซง่ึ สเปนไดน้ ำทองคำกลบั ประเทศของตนเปน็ จำนวนมาก ต่อมาสเปนได้เร่ิม แสวงหาที่ใหม่อีก คือโคโรนาโด (Coronado) ซึ่งมีที่มั่นสำรวจในเม็กซิโก ได้เดินทางมุ่งตรงจากเมือง เม็กซโิ กขึ้นมาทางเหนือไปยังที่ซง่ึ ปจั จบุ ันคอื ดนิ แดนในรัฐแคนซัสเพอ่ื คน้ หานครช่ือ “ เมอื งทั้งเจด็ แห่งซิโบ ลา” (The Seven Cities of Cibola) ซง่ึ กลา่ วกันวา่ ถนนปูลาดไปดว้ ยทองคำใน ค.ศ. 1769 พวกสเปนได้ เดินทางตอ่ ไปยังชายฝงั่ ตะวันตกของทวปี อเมริกาเหนอื และ ในปนี ั้นเองก็มีการตั้งหลักแหล่งขึ้นในดินแดน แคลิฟอร์เนียใต้ ณ เมืองซานดเิ อโกใน ค.ศ. 1776 มีการจัดปฏบิ ัติการตัง้ ขึ้นอกี เร่ือย ๆ จนไกลขึ้นมาทาง เหนอื ถึงเมอื งซานฟรานซสิ โกปลายครสิ ตศตวรรษที่ 17 น่นั เองสเปนกไ็ ด้ตง้ั ถ่นิ ฐานถาวรขึน้ ในรัฐฟลอรดิ า แคนาดา ภายในระยะเวลา 10 ปหี ลงั จากการเดนิ ทางของจอห์นคาบอตใน ค.ศ. 1498 แล้วได้มีชาวประมง อังกฤษ พวกบาสก์ (Basque) และพวกบริตัน (Breton) เป็นจำนวนมาก เดินทางมาทางแถบแหลมคอด ซงึ่ อยนู่ อกฝัง่ ของนิวอิงแลนด์ และแคนาดา นักสำรวจชาวฝรั่งเศสเริ่มเดนิ ทางเขา้ มาแคนาดา ในตอนต้นค

12 ริสตสตวรรษที่ 16 และเนื่องจากฝรั่งเศสขณะนั้นมีอานุภาพมาก ประกอบกับความมีโชคดี จึงทำให้ได้มี โอกาสไดเ้ ป็นเจ้าของดินแดนท่ีได้พบใหม่น้ี แทนอังกฤษใน ค.ศ. 1534 จาคสค์ าติเอร์ (Jacques Cartier) แห่งเซนต์มาโล (St.Malo) นักเดินเรือจากแคว้นบริตตานี ภายใต้พระบรมราชโองการของกษัตริย์แห่ง ฝรงั่ เศส ไดม้ าขึ้นบกทีอ่ า่ วกาสเป (Gaspe) ทางเหนอื ของมณฑลนิวบรนั สวกิ (New Brunswick) ในควเี บค และได้นำเรอื ฝรง่ั เศสไปตามลำน้ำเซนตล์ อเรนซ์จนถงึ ท่ีตงั้ ของเมืองมอนทรีล (Montreal) ในปัจจุบันและ 6 ปีต่อมากไ็ ด้พยายามทจ่ี ะสรา้ งอาณานคิ มข้ึนในดินแดนใหมน่ ี้ แต่ไม่ประสบผลสำเรจ็ เพราะความไม่เป็น มิตรของพวกอินเดยี นแดงและความหนาวอยา่ งรนุ แรงในฤดูหนาว การบุกเบิกดินแดนนี้ได้เริ่มขึ้นใหม่โดยแซมมวลเดอชองปลัง (Samuel de Champlain) ได้ทำ การตัง้ อาณานคิ มนวิ ฟรานซ์ (New France) ขึน้ ใหมแ่ ละนับเปน็ เวลาถงึ 150 ปที ่ดี นิ แดน“ ฝรั่งเศสใหม่” ได้รบั การพัฒนาดว้ ยมอื ชาวฝรั่งเศสชองปลังได้สร้างเมืองปอร์ตรอแยล (Port Royal) หรือเมืองแอนนาโป ลสิ (Annapolis) ในมณฑลโนวาสโกเชีย (Nova Scotial ใน ค.ศ. 1605 และได้วางรากฐานให้แก่เมืองควี เบคใน ค.ศ. 1608 ตั้งอาณานิคมแห่งอะเคเดีย (Acadia) ซึ่งประกอบดว้ ยโนวาสโกเชีย นิวบรันสวิกและ เกาะปรินซ์ เอ็ดเวิร์ด ในชั่วระยะเพียงไม่กี่ปีหลังจากที่พวกฝรั่งเศสได้ทำการค้าขายขนสัตว์กับพวก อินเดยี นแดงฝรัง่ เศสก็สามารถเขา้ ไปตามแม่นำ้ เซนตล์ อเรนซ์ไดล้ กึ จนถึงบรเิ วณลมุ่ ทะเลสาบใหญ่ สหรัฐอเมริกา เมื่ออังกฤษเห็นว่าพวกฝรั่งเศสได้ครอบครองดินแดนเซนต์ลอเรนซ์และพวกสเปนได้ครอบครอง ชายฝงั่ แคริบเบียนรวมทง้ั ฟลอริดาองั กฤษจึงเลือกตั้งอาณานิคมของตนขึน้ บ้างบนพนื้ แผ่นดนิ ท่ีเปน็ ช่องว่าง ระหว่างอาณานิคมท้งั สองโดยมีศูนยก์ ลางในบรเิ วณอ่าวเซสพอ (Chekapeake Bay) และแม่น้ำเดลาแวร์ (Delaware) ใน ค.ศ. 1606 อังกฤษไดข้ น้ึ บกทอี่ ่าวบอสตันโดยบงั เอญิ แต่ก็ยังไม่มีการต้ังถ่ินฐานกันอย่าง ถาวรจนกระทั่งมีพวกพิลกริมมาขึ้นบกที่เมืองพลีมัธ แมสซาชูเซตส์ (Plymouth, Mass.) ในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1620 ในตอนตน้ ครสิ ตศตวรรษที่ 17 ดินแดนซึ่งประกอบด้วยอาณานคิ มตา่ ง ๆ ตามชายฝั่ง แต่เดิมเปน็ เพียงการกระจายถน่ิ ฐานของสหราชอาณาจกั ร เนเธอรแ์ ลนด์ และสวเี ดนได้ตกเปน็ ของสหราช อาณาจักร แต่ผู้เดียวพวกที่มาตั้งรกรากในอาณานิคมแห่งนี้ล้วน แต่เป็นชาวยุโรปมุ่งมา แต่ทางด้าน ตะวันออกของทวีป เพื่อที่จะมองหันกลับไปยังทวีปเดิมของตนเพราะทางด้านตะวันตกมีเครือ่ งกีดขวาง ต่าง ๆ กันซึ่ง ได้แก่ ป่าเขาและชนพื้นเมืองอเมรินเดียน (Amerindian) เทือกเขาแอปปะเลเขียน ก็เป็น อปุ สรรคอันสำคญั อกี อย่างหนง่ึ จงึ ทำให้คนเหลา่ นี้ไมส่ นใจจะขยายดนิ แดนไปในทิศทางน้นั เป็นเวลานานถึง 150 ปพี วกน้ีประกอบกนั มาจากหลายเช้ือชาตเิ ชน่ องั กฤษ สกอต ไอริชเชอ้ื สกอตดชั เยอรมนั และฝรั่งเศส พวกนี้มีป่าเป็นบ้าน มคี วามแขง็ แกร่งบกึ บนี และมคี วามชำนาญราวกับชาวพ้นื เมือง

13 1.2.2 วัฒนธรรมและศาสนา ปคี รสิ ตศ์ ักราช 1492 “ครสิ โตเฟอร์ โคลมั บสั ” โดยการอปุ ถัมภข์ องสมเด็จพระราชนิ นี าถอิซาเบล ท่ี 1 แห่งกสั ตยิ า (อภิเษกสมรสกับพระเจ้าเฟรน์ นั โดที่ 2 แห่งอารากอน จุดเร่ิมต้นของการรวมชาติสเปน) ล่องเรือหวังจะไปอินเดีย แต่กลับขึ้นฝั่งบนเกาะทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อเดินทาง กลบั สเปนก็ได้รบั การแต่งตั้งให้เปน็ ผวู้ ่าการอาณานคิ มในดินแดนโลกใหม่ จากนั้นมีชาวสเปนสามารถพิชิตทวีปอเมริกาได้อีกอย่างต่อเนื่อง พระราชินีเป็นผู้อนุมัติให้ ครอบครองดินแดนและพระราชทานแรงงานชนพื้นเมืองให้ เรียกระบบการให้รางวัลนี้ว่า “เอ็นโกเมียน ดา” (Encomienda) ทั้งนี้ จุดประสงค์ของผู้ครองบัลลังก์คือความมั่งคั่งของสเปนและให้ชนพื้นเมือง เปลย่ี นมานับถอื ศาสนาครสิ ต์ นิกายโรมนั คาทอลิก การลา่ อาณานคิ มของสเปน ส่งผลใหอ้ ารยธรรมย่ิงใหญ่ในอเมริกาใตแ้ ละอเมริกากลางต่างต้องล่ม สลายลงไป อาทิ อารยธรรมมายาในกวั เตมาลา อารยธรรมอินคาในเปรู และอารยธรรมแอซเท็กในเมก็ ซิโก นอกจากการเขน่ ฆ่า ปล้นเอาทรัพย์สมบัติทั้งทองและเงินเป็นจำนวนมหาศาลแลว้ ชนพื้นเมืองที่ไมต่ ายก็ กลายเป็นแรงงานทาสในระบบเอน็ โกเมยี นดา “บาร์โตโลมี เดอ ลาส กากาส” บาทหลวงในดินแดนอาณานิคมได้บันทึกไว้ว่า การใช้แรงงาน ทาสและระบบเอ็นโกเมียนดาเป็นสาเหตุการลดลงของประชากรอย่างรวดเร็วในกัวเตมาลา “คงจะนำไป เขียนหนังสือได้เป็นเล่มๆ...มาจากความโหดร้าย ป่าเถื่อน ฆาตกรรม กวาดล้าง ทำลาย และรูปแบบ ความอยุติธรรมอน่ื ๆ...โดยฝีมอื ของพวกที่เขา้ ไปยงั กวั เตมาลา” นอกจากนี้ยังมีการใช้ประโยชน์จากชนพื้นเมืองอื่นที่เป็นศัตรูกันจับกุมกวาดล้างจนชาวมายา คอ่ ยๆ หมดไปจากภมู ิภาคน้ี ชาวมายาท่ีถกู จบั เป็นถูกนำไปขายตอ่ ให้จาไมกา อาณานิคมขององั กฤษ รวม ระยะเวลาที่ต่อสู้กับอาณาจักรมายามากกว่า 200 ปี สเปนสามารถขายทาสชาวมายาได้ถึงประมาณ 50,000 คน บาทหลวงบาร์โตโลมี เดอ ลาส กากาส ส่งหนงั สอื กลับมายังสเปนเล่าถงึ ความโหดร้ายและความ น่าเวทนาเกี่ยวกับการใช้แรงงานทาสในระบบเอ็นโกเมียนเมียนดา และว่าทำให้ชนพื้นเมืองเหล่านั้น ต้องการจะเปล่ียนศาสนาเป็นคาทอลิกเพื่อว่าจะเปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ฉะนั้นจึงควรส่งทาสแอฟริกันผิวดำ มาแทนจะดีกว่า มีผลให้จักรพรรดิชาร์ลส์ที่ 5 ผ่านกฎหมายที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “นิวลอว์” ในปี 1542 ใจความสำคัญคือยกเลิกการใช้แรงงานทาสชนพื้นเมือง กฎหมายนี้ได้รับการต่อต้านอย่างหนักจากชาว อาณานิคม โดยเฉพาะในเม็กซิโกและเปรู เพราะพวกนี้ได้ตั้งอาณาจักรเล็กๆ ขึ้นเรียบร้อยแล้ว ในที่สุด

14 กฎหมายนี้ไม่สามารถบังคับใช้ได้ในหลายพื้นที่ หรือเลี่ยงบาลีไปเป็นการใช้แรงงานทาสในรูปแบบที่ต่าง ออกไปนดิ ๆ หนอ่ ยๆ 1.2.3 การเมืองการปกครอง ในสมัยทแ่ี รกท่ีชาวยุโรป เริ่มมาท่ที วีปอเมรกิ าเหนือและกลาง หลงั จากท่ีโคลมั บัสมาถึง เกิดการ เข้าบุกรุกรานชนเผ่าอินเดียนแดง อีกหลายเผ่า บางเผ่าต้องจับมือกับผู้บุกรุก เพื่อความอยู่รอด การ ปกครองสำหรบั ชนเผ่ายังคงเหมือนเดมิ แต่สำหรบั ท่ีชาวยโุ รปขึ้นฝ่งั ยังไมเ่ ด่นชัดเร่ืองการปกครอง แต่ในส่วนอเมริกาใตไ้ ด้ถกู ปกครองโดยสมบรู ณ์แบบจากสเปน โดย เอรน์ นั กอรเ์ ตส เด มอนรอย อี ปิซารโ์ ร (Hernán Cortés de Monroy y Pizarro) หรือ เอร์นนั โด กอรเ์ ตส (Hernando Cortés) เป็น นักทำแผนที่ นักสำรวจ และกองกิสตาดอร์(ทหาร)ชาวสเปน กอร์เตสเป็นผู้พิชิตจักรวรรดิแอซเท็ก และ อนิ คา เพ่ือราชบัลลังกส์ เปน 1.2.4 เศรษฐกิจ ในช่วงแรกของการทำให้เป็นอาณานิคม ผู้ตั้งถิ่นฐานยุโรปจำนวนมากประสบปัญหาขาดแคลน อาหาร โรคและการโจมตจี ากอเมรกิ ันพ้ืนเมือง ชนพื้นเมืองและผู้ต้ังถ่ินฐานจำนวนมากพึ่งพาอาศัยกัน ผู้ ตั้งถิ่นฐานแลกเปลี่ยนเอาอาหารและหนงั สัตว์ ส่วนชนพื้นเมอื งแลกเอาปืน เครื่องกระสุนและสินคา้ ยุโรป อื่น ชนพื้นเมืองสอนผู้ตั้งถิ่นฐานจำนวนมากว่าจะเพาะปลูกข้าวโพด ถั่วและน้ำเต้าที่ไหน เมื่อใดและ อยา่ งไร มชิ ชนั นารยี โุ รปและอ่นื ๆ ร้สู ึกวา่ เปน็ สิง่ สำคัญจะ \"ทำใหเ้ จริญ\" ซ่ึงอเมรกิ ันพ้นื เมืองและกระตนุ้ ให้ พวกเขารับเทคนคิ เกษตรกรรมและวถิ ีชวี ติ ของยโุ รป 1.2.5 ความขดั แย้ง อเมริกันพืน้ เมืองยงั มักก่อสงครามกบั เผ่าใกล้เคียงที่เป็นพันธมิตรกับชาวยุโรป ในสงครามอาณา นิคมของตนเอง และมบี างเผาที่ทำการต่อสูก้ ับพวกยโุ รป และพา่ ยแพถ้ ูกจับไปเป็นทาส บางส่วนก็จำนน และตกไปเป็นเชลย พรอ้ มท้ังมกี ารรบั จา้ งเป็นทหารเพือ่ การรบ รกุ รานชนเผา่ อน่ื ๆ ตามเจ้านายท่เี ป็นพวก ยโุ รป ถึงขนาดอารยธรรมน้ันๆ โดนรกุ รานจนลม้ ลสายไปเลยกม็ ี

15 1.3 สรุป ก่อนโคลัมบัสเดินทางมาพบทวปี อเมรกิ าเหนอื นั้น ดนิ แดนนี้เป็นที่อยู่ของชนพื้นเมืองอนิ เดยี นแดง มาก่อนอนิ เดยี นแดงมีหลายชาติพนั ธุต์ งั้ ถิ่นฐานกระจายอยู่ในทวีปและต่างกม็ ีแหลง่ อาหารธรรมชาติอยู่ส่ิง เหล่านกี้ อ่ ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมทแี่ ตกต่างกนั หลังจากโคลัมบัสเดินทางมาถึง พวกคนยุโรปก็ตาม ทำให้เกิดการต่อต้าน สู้รบ ปกป้องดินแดน ของตนเอง มกี ารเปลื่ยนแปลงความเป็นอยู่ วัฒนธรรม และกำลังจะตกเป็นของพวกยุโรปเป็นในท่ีสดุ

16 อ้างองิ บทที่ 8 ชาติพันธ์ การตัง้ ถ่ินฐาน และประชากรในแองโกลอเมรกิ า http://old- book.ru.ac.th/e-book/g/GE357/ge357-8.pdf ค้นหาออนไลนว์ นั ท่ี 06/12/2563 ประวัตศิ าสตร์สหรัฐ https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์สหรฐั คน้ หาออนไลนว์ นั ท่ี 06/12/2563 กวา่ จะเป็นประเทศท่จี ุ้นไปซะทกุ เรอ่ื ง ตอนที่ 1 https://www.blockdit.com/posts/5e80cfc365634e0cac9c56ea คน้ หาออนไลน์วนั ที่ 06/12/2563 สเปนกับการใช้แรงงานทาสและการทำลายล้างอารยธรรมโบราณ https://www.thaipost.net/main/detail/75256 คน้ หาออนไลนว์ ันที่ 06/12/2563

17 บทท่ี 2 อาณานิคมอเมริกาขององั กฤษ ความนำ เริ่มจาก คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส Christopher Columbus ชาวเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ได้รับ อาสาพาพระนางอิสเบลลา แห่งสเปน เดนิ เรือสำรวจมหาสมุทรแอตแลนติก เพือ่ ค้นหาเส้นทางไปยังทวีป เอเชีย เขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือ ในปี พ.ศ. 2035 และเดินทางมาสำรวจอีก 3 ครั้ง ในเวลา ตอ่ มาโดยเข้าใจว่า ดนิ แดนทพ่ี บนคี้ ือทวีปเอเชีย ต่อมา อเมรโิ ก เวสปคุ ชี Americo Vespucci ชาวเมือง ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลีไดเ้ ดินทางมายังดินแดนนีต้ ามเสน้ ทางของโคลัมบัส เพื่อสำรวจใหก้ ับสเปนและ โปรตเุ กสรวม 4 คร้งั ในปี พทุ ธศักราช 2040, 2042, 2044 และ 2046 จากการเขียนรายงานการสำรวจ ของ อเมริโก เวสปคุ ชี ทำให้ชาวยุโรปรจู้ ักโลกใหม่ เพม่ิ ขึน้ ชาวยโุ รปเรมิ่ สนใจทวปี อเมริกาแลว้ เดินทางไป จับจองแสวงหาผลประโยชนจ์ ากทวปี นี้ การกอ่ ตัง้ อาณานคิ มของ อังกฤษ ในทวีปอเมริกาเหนือ นักเดินเรือ ชาวอังกฤษ ชื่อ จอห์น แคบอต ในปี พ.ศ. 2040 สำรวจบริเวณชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา โดย เริ่มก่อต้ังบริเวณเวอร์จิเนีย ในปี พ.ศ. 2150 แล้วขยายบริเวณกว้างขึ้นเรื่อย ๆ รวม 13 รัฐ เรียก นิวองิ แลนด์ New England ประกอบด้วย เวอร์จิเนีย เมริแลนด์ แคโรไลนาเหนือ แคโรไลนาใต้ จอร์เจีย เดลาแวร์ เพนซลิ วาเนีย นวิ เจอรซ์ ี นวิ ยอร์ก แมสซาซเู ซตส์ นวิ แฮมเชียร์ โรดไอสแ์ ลนด์ และคอนเนคติกัต การแสวงหาอาณานคิ มในทวีปอเมริกาเหนือ เกิดการแย้งชิงดินแดนและผลประโยชน์ในทวปี นี้อยา่ งมาก จนกลายเป็นสงคราม ระหว่างชาวยุโรปด้วยกันและชาวยโุ รปกับชนพื้นเมืองด้วย ส่วนใหญ่ อังกฤษเป็น ฝ่ายชนะ ดินแดนต่าง ๆ ที่เป็นอาณานิคมของ ฮอนแลนด์ ฝรั่งเศส สเปน ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เกือบทั้งหมด 13 รัฐแรกของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยอาณานิคมเดิมของอังกฤษที่ก่อตั้งขึ้นระหว่าง ศตวรรษที่ 17 ถึง 18 จักรวรรดิอังกฤษตั้งรกรากอาณานิคมถาวรแห่งแรกในอเมริกาที่ เจมส์ทาวน์ เวอรจ์ ิเนียในปี 1607 นี่เป็นอาณานิคมแรกจาก13 แห่งในอเมรกิ าเหนือ 2.1 อาณานิคม 13 แหง่ ผูใ้ ห้กำเนิดอเมริกา หลังจากโคลัมบัสได้สำรวจพบโลกใหม่หรอื ท่ีเรียกชื่อว่าอเมรกิ าเมอื่ ชว่ งศตวรรษที่ 15 หรือปีค.ศ. 1492 ผคู้ นจากยโุ รปได้หล่งั ไหลเดินทางไปตั้งถ่ินฐานเพ่อื แสวงหาโชคลาภและความมัง่ คง่ั เป็นจำนวนมาก จนกระทั่งช่วงศตวรรษที่ 18 ดินแดนโลกใหม่อันกว้างใหญ่ไพศาลได้กลายเป็นดินแดนอาณานิคมของ มหาอำนาจยุโรปหลายประเทศมหาอำนาจดังกล่าวได้แก่ สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส รวมทั้ง เนเธอร์แลนด์

18 เยอรมัน และสวีเดน ตามวิกีพีเดีย (Wikipedia, History of the United States) ได้กล่าวถึงการตั้งถ่นิ ฐานเป็นดนิ แดนอาณานคิ มในอเมริกา สรุปได้ดังนี้ ชาวอังกฤษได้พยายามตั้งถิ่นฐานที่เราโนค ไอส์แลนด์ (Roanoke Island) เมื่อปีค.ศ.1585 แต่ ตั้งอยู่ได้ไม่นาน จนกระทัง่ ปีค.ศ.1607 ชาวอังกฤษจึงสามารถตั้งถิ่นฐานไดอ้ ย่างมั่นคงที่เมอื งเจมสท์ าวน์ เวอร์จเิ นยี (Jamestown, Virginia) นำโดย จอห์น สมิธ (John Smith) และจอหน์ โรลฟ์ (John Rolfe) เพ่ือเส่ยี งโชคในการขุดทองและการผจญภยั ผ้คู นในเวอรจ์ เิ นียได้ลม้ ตายลงเพราะโรคภัยไข้เจ็บและความ อดอยากเปน็ จำนวนมาก แตก่ ารตัง้ อาณานคิ มในเวอร์จิเนยี กย็ ังสามารถตั้งอยู่ได้นานเพราะเปน็ ดนิ แดนท่ีมี รายไดจ้ ากการปลูกยาสูบ เมือ่ ปคี .ศ.1621 ชาวอังกฤษกลมุ่ หนึง่ เรียกวา่ พวกนิกายพลิ กริม (Pilgrimes) ไดต้ ้ังถิน่ ฐานท่ีพลาย เมาท์ แมสซาจูเสตซ์ (Plymouth, Massachusetts) และเมื่อปีค.ศ.1630 มีพวกนิกายเพียวริแตน (Puritans) ซ่ึงมีจำนวนมากกวา่ พวกนิกายพิลกริมไดไ้ ปต้ังถน่ิ ฐานทอี่ า่ วแมสซาจูเสตส์ พวกนิกายพิลกรมิ และพวกนิกายเพียวริแตน ไมไ่ ดส้ นใจในเร่อื งของการแสวงหาทอง แต่สนใจใน เรอ่ื งของการทำสงั คมใหด้ ขี นึ้ เมื่อปคี .ศ.1630 โรเจอร์ วลิ เลียมส์ (Roger Williams) ซง่ึ มคี วามขดั แย้งกับพวกนกิ ายเพียวริแตน ได้ยกพวกไปตั้งอาณานคิ มชือ่ โรดไอส์แลนด์ (Rode Island) สเปน ในช่วงศตวรรษที่ 16 สเปนได้ตั้งอาณานิคมที่ เซนต์ ออกกัสติน ฟลอริดา (Augustine, Florida) ฝรั่งเศสตั้งอาณานิคมที่หลุยส์เซียนา (Louisiana) และบริเวณทะเลสาบทั้งห้า ( The Great Lakes) เนเธอรแ์ ลนด์ต้งั อาณานคิ มทน่ี วิ ยอรค์ โดยเรยี กช่อื ว่า นวิ เนเธอร์แลนด์ (New Netherland) นอกจากน้ี ยงั มชี าวสกอตแลนด์ ชาวไอรชิ ชาวเยอรมนั และชาวสวเี ดน ไดเ้ ขา้ ไปตงั้ อาณานิคมใน ดนิ แดนสว่ นท่ีเหลือ สงครามฝรั่งเศสและอนิ เดยี น (The French and Indian War) ระหวา่ งปีค.ศ.1756 - 1763 เป็น สงครามระหว่างอังกฤษฝ่ายหนึ่ง กับฝรั่งเศสและอินเดียนแดงอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อชิงความเป็นใหญ่เหนือ ดินแดนอาณานิคม ผลปรากฏว่า อังกฤษชนะ หลังจากชัยชนะดังกล่าว ทำให้ฝรั่งเศสต้องถอยออกจาก ดินแดนด้านตะวันตก อังกฤษได้มีประกาศมิให้ชาวอาณานิคมรุกเข้าไปอยู่อาศัยทางด้านตะวันตกของ เทือกเขา อพั พาเลเชียน (Appalachian Mountains)

19 ภายหลังสงครามเจ็ดปีระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสเพื่อชิงความเป็นใหญ่เหนอื ดินแดนอาณานิคม ระหว่างปีค.ศ.1756 - 1763.อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ทำให้ดินแดนอาณานิคมแถบชายฝั่งมหาสมุทร แอตแลนตกิ ทั้งหมดจำนวน 13 แหง่ กลายเปน็ อาณานคิ มของอังกฤษ ดังนั้น จึงทำให้อังกฤษมีอาณานิคมด้านชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติกด้านเหนือในเวลานน้ั จำนวน 13 แห่งดว้ ยกนั คือ นวิ แฮมเชียร์(New Hampshire) แมสซาจเู สตส(์ Massachusetts) คอนเนคตกิ ัต(Connecticut) โรด ไอส์แลนด์(Rhode Island) นวิ ยอรค์ (New York) นิว เจอรซ์ (ี New Jersey) เพนซลิ วาเนีย(Pennsylvania) เดลาแวร์(Delaware) แมรแี ลนด(์ Maryland) เวอร์จิเนีย(Virginia) นอรธ์ คาโรไลนา(North Carolina) เซาธ์ คาโรดไลนา(South Carolina) และ จอร์เจีย(Georgia) ในช่วงเวลา 150 ปี ระหว่างปีค.ศ.1625 - 1775 ประชากรของอาณานิคมได้เติบโตจากจำนวน 2,000 คน ขน้ึ เปน็ จำนวน 2.4 ล้านคน เข้าแทนท่ีพวกคนอนิ เดยี นพ้ืนเมือง ชาวอาณานคิ มมคี วามต้องการ ปกครองตนเองและมีการปกครองท้องถิ่นที่เข้มแข็ง และต่อต้านความต้องการของอังกฤษที่ต้องการ ควบคุมพวกเขามากข้ึน ชว่ งสงครามฝรั่งเศสและอินเดียน ไดท้ ำให้เกดิ ความตรึงเครียดระหว่างอาณานิคม ทงั้ 13 แห่ง และองั กฤษ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในชว่ งหลังปี 1750 2.2 อาณานิคมเจมส์ทาวน์ ในปี 1607 เจมส์ทาวน์ได้กลายเป็นที่ตั้งถิ่นฐานแห่งแรกของอาณาจักรอังกฤษในอเมริกาเหนือ สถานที่ตงั้ ของมันไดร้ บั การคัดเลือกเน่ืองจากสามารถป้องกันไดง้ ่ายเน่ืองจากมนี ้ำลอ้ มรอบสามด้านน้ำลึก พอสำหรบั เรือของพวกเขาและพื้นดินไม่ได้มีชาวอเมริกันพ้นื เมืองอาศัยอยู่ ผแู้ สวงบุญมีจุดเริ่มต้นของหิน

20 ในฤดหู นาวครั้งแรก ในความเป็นจรงิ ตอ้ งใช้เวลาหลายปีก่อนท่ีอาณานิคมจะทำกำไรใหอ้ ังกฤษได้ด้วยการ นำยาสบู โดย John Rolfe ในปี 1624 เจมสท์ าวน์ถูกทำใหเ้ ปน็ อาณานคิ มของราชวงศ์ เพื่อให้ทองคำเป็นที่คาดหวงั ของ บริษัท เวอร์จิเนียและคิงเจมส์ผู้ตั้งถ่ินฐานจึงพยายามทำธุรกจิ หลายแห่งรวมถึงการผลิตผ้าไหมและการผลิตแก้ว ทุกคนพบกับความสำเร็จเพียงเล็กน้อยจนถงึ ปี 1613 เมื่อชาวอาณานิคม John Rolfe ได้พัฒนายาสูบสายพันธุ์ที่มีรสหวานและไม่รุนแรงซึ่งกลายเป็นที่นิยม อย่างมากในยุโรป ในที่สุดอาณานิคมก็ทำกำไรได้ ยาสูบถูกใช้เป็นเงินในเจมส์ทาวน์และใช้ในการจ่าย เงินเดือน ในขณะที่ยาสูบได้รับการพสิ ูจน์แล้วว่าเป็นพืชเงินสดทีช่ ่วยให้เจมส์ทาวน์อยูร่ อดได้ตราบเท่าที่ เป็นเช่นนน้ั แตพ่ ืน้ ทส่ี ่วนใหญจ่ ำเปน็ ต้องปลกู มันถูกขโมยไปจากชาวอินเดียนพาวฮาตันพ้ืนเมืองและปลูก ในปรมิ าณท่ีขายไดข้ ึ้นอยูก่ ับแรงงานบังคบั ของชาวแอฟริกนั ท่ีตกเปน็ ทาส ในเดือนมถิ นุ ายนปี 1606 พระเจ้าเจมส์ท่ี 1 แห่งอังกฤษได้อนญุ าตให้ บริษทั เวอร์จิเนียออกกฎ บัตรให้พวกเขาสร้างนิคมในอเมริกาเหนือ กลุ่มผู้ตั้งถิ่นฐาน 105 คนและลูกเรือ 39 คนออกเดินทางใน เดือนธันวาคมปี 1606 และตั้งรกรากที่เมืองเจมส์ทาวน์ในวันที่ 14 พฤษภาคม 1607 เป้าหมายหลักของ กลุ่มคอื ตงั้ รกรากทีเ่ วอรจ์ ิเนียสง่ ทองคำกลับบา้ นท่อี ังกฤษและพยายามหาเส้นทางอ่ืนไปยังเอเชียท้ังสามลำ ทเ่ี ข้ามาตงั้ ถ่ินฐานเอาไปเจมส์ทาวน์เป็นซซู านคงท่ี , การคน้ พบและโชคดี คณุ สามารถดูเรือจำลองเหล่านี้ ได้ท่ี Jamestown วันน้ี ผู้เยีย่ มชมหลายคนตกใจว่าเรอื เหล่านีม้ ขี นาดเล็กเพยี งใด ซซู านคงเปน็ ทีใ่ หญ่ที่สุด ของเรือสามลำและดาดฟ้าของวัด 82 ฟุต บรรทุกคนได้ 71 คนบนเรือ มันกลับไปอังกฤษและกลายเปน็ เรอื ค้าขาย โชคดเี ป็นใหญเ่ ปน็ อนั ดับสอง ดาดฟ้ามีขนาด 65 ฟตุ มีคน 52 คนไปเวอร์จเิ นยี นอกจากนี้ยัง เดินทางกลับไปยังประเทศอังกฤษและทำบตั รโดยสารไปกลบั ระหว่างอังกฤษและนิวเวิลด์จำนวนมาก การ คน้ พบเป็นเรือทเี่ ลก็ ทสี่ ุดในสามลำทม่ี ดี าดฟา้ เรอื ขนาด 50 ฟุต มี 21 คนบนเรอื ในระหว่างการเดินทาง มนั ถูกทิ้งให้อาณานิคมและใช้ในการพยายามที่จะหาสิ่งที่ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ บนเรือลำนี้ลูกเรือของ Henry Hudson ได้ทำการสบั เปลย่ี นสง่ เขาลงจากเรอื ไปบนเรอื ลำเลก็ และกลบั ไปอังกฤษ เจมสท์ าวน์มีอัตราการตายสูงมาก น่ีเปน็ เพราะโรคการจดั การท่ีผิดพลาดขั้นต้นและการจู่โจมของ ชนพื้นเมืองอเมริกันในเวลาต่อมา ในความเป็นจริง King James I ได้เพิกถอนกฎบัตรของ London Company สำหรบั Jamestown ในปี 1624 เมื่อมผี ตู้ ัง้ ถนิ่ ฐานเพียง 1,200 คนจากทัง้ หมด 6,000 คนที่ เดินทางมาจากอังกฤษตั้งแต่ปี 1607 รอดชีวิตมาได้ เมื่อถึงจุดนั้นเวอร์จิเนียกลายเป็นอาณานิคมของ ราชวงศ์ กษตั ริยพ์ ยายามที่จะยบุ สภานิติบัญญัติของ Burgesses เพือ่ ไมใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์ ซ่ึงแตกต่างจาก ชาวพิวริแทนที่แสวงหาเสรีภาพทางศาสนาในพลีมั ธ รัฐแมสซาชูเซตส์ 13 ปีต่อมาผู้ตั้งถิ่นฐานในเจมส์ ทาวน์กเ็ ขา้ มาทำกำไร ผา่ นการขายทำกำไรได้สูงของยาสูบหวานจอหน์ Rolfe ของเจมส์ทาวน์อาณานิคม

21 วางรากฐานสำหรับเหมาะไม่ซ้ำกันอเมริกนั ของเศรษฐกิจบนพื้นฐานขององค์กรอิสระ สิทธิของบุคคลใน การเป็นเจา้ ของทรัพย์สินยงั หยัง่ รากลกึ ลงไปในเมืองเจมส์ทาวน์ในเจมสท์ าวนใ์ นปี ค.ศ. 1618 เมือ่ บริษัท เวอร์จิเนียให้สิทธิแก่ชาวอาณานิคมในการเป็นเจ้าของที่ดินที่ บริษัท เคยถือมาก่อนหน้านี้ สิทธิในการ ได้มาซ่งึ ที่ดนิ เพม่ิ เติมอนญุ าตสำหรบั การเติบโตทางเศรษฐกิจและสงั คม นอกจากน้ีการสร้าง Jamestown House of Burgesses ที่ได้รับการเลือกตั้งในปี ค.ศ. 1619 เป็นก้าวแรกสู่ระบบตัวแทนของอเมริกาซึ่ง เปน็ แรงบนั ดาลใจใหผ้ คู้ นจากชาติอ่ืน ๆ แสวงหาเสรีภาพตามระบอบประชาธปิ ไตย ในที่สุดนอกเหนือจากมรดกทางการเมืองและเศรษฐกิจของเจมส์ทาวน์แล้วปฏิสัมพันธท์ ี่สำคัญ ระหว่างชาวอาณานิคมอังกฤษชาวอินเดียนพาวฮาตันและชาวแอฟริกันทั้งที่เป็นอิสระและเป็นทาสได้ปู ทางไปสสู่ ังคมอเมรกิ นั ท่มี ีพน้ื ฐานและขนึ้ อยกู่ ับความหลากหลายของวฒั นธรรมความเช่อื และประเพณี อาณานิคมในอเมริกาเหนือที่ชาวอังกฤษตั้งรกรากมักแบ่งออกเป็นสามกลุม่ ที่แตกต่างกนั ได้แก่ อาณานิคมนิวองิ แลนดอ์ าณานคิ มกลางและอาณานิคมทางใต้ อาณานคิ มของนวิ อิงแลนดป์ ระกอบดว้ ยอ่าว แมสซาชูเซตส์นิวแฮมป์เชียร์คอนเนตทิคัตและโรดไอส์แลนด์ อาณานิคมเหล่านี้มีลักษณะร่วมกันหลาย อย่างทีช่ ่วยกำหนดภูมิภาค 2.3 อาณานคิ มนวิ อิงแลนด์ อาณานิคมนิวอิงแลนด์รวมเนตทิคัตซาชูเซตส์เบย์, New Hampshire, และโรดไอแลนด์ Plymouth Colonyก่อตั้งขึ้นในปี 1620 (เมื่อ Mayflower มาถึง Plymouth) แต่ถูกรวมเข้ากับ Massachusetts Bay ในปี 1691กลุ่มที่ออกจากอังกฤษไปอเมริกาใน Mayflower ถูกเรียกว่า Puritans; พวกเขาเชื่อในการตีความอย่างเคร่งครัดของงานเขียนของจอห์นคาลวินซึ่งปฏิเสธความเชื่อของทั้งชาว คาทอลิกและชาวอังกฤษ Mayflower ลงจอดครั้งแรกใน Provincetown บน Cape Cod ซึ่งพวกเขาได้ ลงนามในMayflower Compactขณะเทียบท่าที่ท่าเรือ Provincetown หลังจากผ่านไปห้าสัปดาห์พวก เขาข้าม Cape Cod Bay ไปยงั พลีมัธ นิวแฮมปเ์ ชียร์ ในปี 1622 จอห์นเมสันและเซอร์เฟอร์ดินานโดโตรกส์ได้รับที่ดินทางตอนเหนือของนิวอิงแลนด์ ในทส่ี ดุ เมสันกไ็ ด้ก่อต้งั รัฐนวิ แฮมป์เชยี ร์และดินแดนของ Gorges นำไปสรู่ ฐั เมน แมสซาชูเซตส์ควบคมุ ทั้งสองอยา่ งจนกระทง่ั รฐั นิวแฮมปเ์ ชยี ร์ได้รับพระราชทานกฎบัตรในปี พ.ศ. 2222 และรัฐเมนได้ตั้งเปน็ รัฐของตนเองในปี พ.ศ. 2363

22 แมสซาชูเซตส์ ผู้แสวงบุญที่ต้องการหลบหนีการกดขี่ข่มเหงและค้นหาอิสรภาพทางศาสนาเดินทางไปอเมริกา และกอ่ ตงั้ อาณานิคมพลีมัธ ในปี 1620 ก่อนทีจ่ ะลงจอดพวกเขาได้จัดตง้ั รัฐบาลของตนเองโดยมพี ื้นฐานคอื Mayflower Compact ในปี 1628 Puritans ได้ก่อตั้ง บริษัท Massachusetts Bay Company และPuritansจำนวนมากยังคงตั้งถนิ่ ฐานในพน้ื ทีร่ อบ ๆ บอสตัน ในปี 1691 พลีมั ธ เข้าร่วมอาณานิคมอ่าวแมสซาชเู ซตส์ โรดไอสแ์ ลนด์ โรเจอร์วิลเลียมส์โต้แย้งเรื่องเสรีภาพในการนับถือศาสนาและการแยกคริสตจักรและรฐั เขาถูก เนรเทศออกจากอาณานิคมอ่าวแมสซาชูเซตส์และก่อต้งั พรอวิเดนซ์ แอนน์ฮทั ชนิ สนั ก็ถูกเนรเทศออกจาก แมสซาชูเซตสแ์ ละเธอก็ตั้งรกรากที่พอรต์ สมธั การต้ังถ่นิ ฐานเพ่ิมเติมอกี สองแห่งกอ่ ตัวข้นึ ในพื้นท่ีและทง้ั ส่ไี ด้รับกฎบัตรจากอังกฤษสร้างรัฐบาล ของตนเองในทสี่ ุดเรยี กว่าโรดไอส์แลนด์ คอนเนตทคิ ัต กลุ่มบุคคลที่นำโดย Thomas Hooker ออกจาก Massachusetts Bay Colony เนื่องจากไม่ พอใจกับกฎทรี่ ุนแรงและตั้งรกรากอยู่ในหุบเขาแม่น้ำคอนเนตทิคัต ในปี 1639 การต้ังถิ่นฐานสามแห่งได้ เข้าร่วมเพื่อจัดตั้งรัฐบาลที่เป็นเอกภาพโดยสร้างเอกสารที่เรียกว่า Fundamental Orders of Connecticut ซึง่ เป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลกั ษณ์อักษรฉบับแรกในอเมรกิ า พระเจ้าชาร์ลสท์ ี่ 2 รวมคอน เนตทคิ ตั เป็นอาณานคิ มเดยี วอย่างเปน็ ทางการในปีค. ศ. 1662 ลักษณะทางกายภาพของนิวองิ แลนด์ อาณานคิ มของนวิ อิงแลนดท์ ง้ั หมดถูกปกคลมุ ดว้ ยน้ำแข็งในชว่ งยคุ น้ำแขง็ สุดท้ายซึง่ สร้างดินหินท่ี ไม่ดี ธารนำ้ แขง็ สดุ ทา้ ยที่ละลายกลับทำใหพ้ ืน้ ทีห่ ินบางสว่ นเต็มไปดว้ ยหินกอ้ นใหญ่ แม่น้ำคอ่ นข้างส้ันและท่รี าบน้ำท่วมถึงแคบไม่เหมือนในพน้ื ท่อี ื่น ๆ ของอเมรกิ าและไม่อนุญาตให้ สรา้ งแปลงเกษตรขนาดใหญร่ ิมฝ่งั ทรัพยากรสำคญั ท่ชี าวอาณานิคมมีให้และใช้คือไมแ้ ละปลา ผู้คนในนวิ อิงแลนด์ ภูมภิ าคนวิ อิงแลนด์เปน็ พนื้ ท่ขี องวฒั นธรรมท่ีเป็นเน้อื เดยี วกนั ส่วนใหญ่ตง้ั รกรากโดยคนกลุ่มใหญ่ จากอังกฤษท่ีกำลงั หนกี ารข่มเหงทางศาสนาหรือแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ

23 ชาวอาณานิคมนิวอิงแลนด์ตั้งรกรากอยู่ในเมืองต่างๆโดยปกติแล้วจะถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ 40 ตารางไมล์ซึง่ เป็นพื้นที่เพาะปลูกโดยบุคคลทอี่ าศยั อยู่ในเมอื ง กลุ่มชนพื้นเมืองเช่น Pequot ในคอนเนตทิคัตมีส่วนร่วมในการค้าขายอย่างกว้างขวางกับชาว ดัตช์ แต่สถานการณ์เริ่มตึงเครียดเมื่อภาษาอังกฤษเริม่ เข้ามาในช่วงทศวรรษที่ 1630 สหราชอาณาจักร เปิดตัวสงคราม Pequotในปี 1636–1637 หลังจากนั้นชาว Pequot จำนวนมากถูกประหารชีวิตและ ผูร้ อดชีวิตจำนวนมากถกู สง่ ไปยงั ทะเลแคริบเบียนและตกเปน็ ทาส ในปี 1666 และ 1683 อาณานิคมคอน เนตทคิ ตั ได้สร้างการจองสองคร้งั สำหรบั ชาว Pequot ทีเ่ หลอื อยู่ อาชพี หลกั ในนวิ องิ แลนด์ เกษตรกรรม: ที่ดินรอบ ๆ ฟาร์ม ไม่อุดมสมบรู ณ์มากนกั ในฐานะกลุ่มเกษตรกรนำความเฉลียว ฉลาดเชงิ กลและความพอเพียงในระดับสงู ประมง: บอสตันเริ่มส่งออกปลาในปี 2176 ในปี 1639 อ่าวแมสซาชูเซตส์ได้รับการยกเว้นจาก การจ่ายภาษีให้กับเรือประมง และเป็นผลให้ในปี 1700 อุตสาหกรรมประมงมีขนาดใหญม่ าก ชาวอาณา นิคมได้รับกุ้งและปลาทะเลจากอ่าวน้ำเค็มและแม่น้ำน้ำจืดและพ่อของผู้แสวงบุญก็ล่าปลาวาฬขวาจาก Cape Cod การพาณิชย์: บุคคลจากเขตนิวอิงแลนด์มีส่วนร่วมในการค้าอย่างมาก การค้ากับอังกฤษอย่าง กวา้ งขวางทำใหผ้ ูถ้ อื เรือสามารถเจรญิ รุ่งเรอื งได้และชาวนวิ องิ แลนดย์ ังคงรักษาความสมั พนั ธ์ทางการค้าท่ี รำ่ รวยกบั หมูเ่ กาะอนิ เดยี ตะวนั ตกและอาณานิคมของฝรงั่ เศสทางตอนเหนือ นิวองิ แลนดศ์ าสนา ลัทธิคาลวินและทฤษฎีสัญญาทางสังคม:บุคคลจำนวนมากที่อาศัยอยู่ในเขตนิวอิงแลนด์เป็นชาว คาลวินหรือได้รับอิทธิพลอย่างมากจากผลงานและความคิดของจอห์นคาลวิน ในขณะที่หลายคนมองว่า John Locke เป็นผู้ก่อตั้งหลักของแนวคิดเรื่องสัญญาทางสังคม (ซึ่งกำหนดให้รัฐบาลที่เหมาะสมเป็น ข้อตกลงหรือสัญญาระหว่างบุคคลที่จะเข้าร่วมกันในสังคม) แต่ลัทธิคาลวินเป็นหนึ่งในกลุ่มแรก ๆ ที่ใช้ แนวคดิ นี้ ในประเทศองั กฤษ. ข้อเท็จจริงทีว่ ่าผู้ตงั้ ถิน่ ฐานในนิวอิงแลนด์จำนวนมากปฏบิ ัติตามหลักคำสอน ทางศาสนาของจอห์นคาลวินหมายความว่าทฤษฎีนี้เป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางศาสนาของพวกเขา นอกจากนี้ความเชอื่ น้ีในความสำคญั ของสญั ญาทางสงั คมที่โอนไปยังสัญญาทางเศรษฐกจิ ดว้ ย ความเชื่อในการทำนาย: หนึ่งในหลักการของลทั ธคิ าลวินคือความคิดเร่ืองการกำหนดไว้กอ่ น น่ี เป็นความเชื่อที่ว่าพระเจ้าได้กำหนดทุกสิ่งไว้ล่วงหน้าแล้วรวมถึงใครจะไปสวรรค์และใครจะตกนรก

24 ความคดิ ท่วี ่าพระเจ้าทรงเลอื กอาณานิคมขององั กฤษสำหรับชะตากรรมพิเศษท่ีจะใช้ในทวีปอเมริกาเหนือ และพฒั นาและรกั ษาอุดมคติของเสรภี าพและประชาธปิ ไตยต่อมาปอ้ นเข้าศตวรรษท่ี 19 เหน็ ชะตากรรม Congregationalism: รูปแบบของศาสนาน้ีหมายความว่าคริสตจักรนั้นถูกปกครองโดยสมาชกิ ของตนเองและประชาคมกเ็ ลือกรัฐมนตรขี องตนเองแทนท่ีจะได้รับมอบหมายตามลำดับช้นั ทิฐิ: ในขณะที่ชาวพิวรแิ ทนอาจหลบหนีอังกฤษเนื่องจากการข่มเหงทางศาสนาพวกเขาไม่ไดม้ า อเมริกาเพอ่ื สรา้ งเสรภี าพทางศาสนาสำหรับทกุ คน พวกเขาต้องการมีอสิ ระทจี่ ะนมัสการในแบบท่ีพวกเขา ปรารถนา ในอาณานิคมอา่ วแมสซาชเู ซตส์คนทีไ่ ม่สมัครเป็นสมาชกิ ของศาสนาอาณานคิ มไมไ่ ด้รับอนุญาต ให้ลงคะแนนเสียงและผู้ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดเช่นแอนน์ฮัทชินสันและโรเจอร์วิลเลียมส์ถูกคว่ำบาตรจาก ครสิ ตจกั รและถูกเนรเทศออกจากอาณานคิ ม การแพรก่ ระจายของประชากรนวิ อิงแลนด์ เมืองเล็ก ๆ ใช้เวลาเพียงไม่กี่ปีเนื่องจากประชากรมจี ำนวนมากกว่าพื้นท่ีรองรับ 40 เอเคอร์ น่ัน สง่ ผลใหเ้ มืองเล็ก ๆ ใหม่ ๆ เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว: แทนที่จะมีมหานครขนาดใหญเ่ พยี งไม่กี่แหง่ นิวอิงแลนด์ กลับเต็มไปดว้ ยเมืองเลก็ ๆ มากมายทก่ี อ่ ตงั้ โดยกลมุ่ ท่แี ตก รปู แบบการตั้งถนิ่ ฐานทีม่ ีความเข้มข้นต่ำนี้คง อย่จู นถงึ ช่วงทศวรรษที่ 1790 เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงไปสเู่ กษตรกรรมเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมขนาด เล็ก ในสาระสำคัญในช่วงสองสามทศวรรษแรกนิวอิงแลนด์เป็นพื้นที่ที่ก่อตั้งขึ้นโดยประชากรที่เป็น เนื้อเดียวกันซึ่งส่วนใหญ่มีความเชื่อทางศาสนาร่วมกัน เนื่องจากภูมิภาคน้ีไม่มีที่ดนิ ที่อุดมสมบูรณ์ขนาด ใหญ่พื้นทีจ่ ึงหันมาทำอาชีพค้าขายและประมงเป็นอาชพี หลักแม้ว่าคนในเมอื งจะยังคงทำงานในพื้นที่เลก็ ๆ ในบรเิ วณโดยรอบ การกดขไี่ ม่ไดก้ ลายเป็นความจำเป็นทางเศรษฐกิจในนิวอิงแลนด์เน่ืองจากมันเติบโต ขึ้นในอาณานิคมทางใต้ การหันมาใช้การค้านี้จะส่งผลกระทบครั้งใหญ่ในอีกหลายปีต่อมาหลังจากการ กอ่ ตัง้ ของสหรัฐอเมรกิ าเมือ่ มีการหารือเกยี่ วกับสิทธิของรัฐและการเป็นทาส 2.4 อาณานคิ มกลาง อาณานิคมกลางตั้งอยู่ในบริเวณน้ีอธิบายว่ากลางมหาสมุทรแอตแลนติกและรวมเดลาแวร์, New Jersey, New York, และเพนซิ ในขณะทีอ่ าณานิคมของนวิ อิงแลนด์ประกอบดว้ ยบริติชพิวริแทนเป็นส่วน ใหญ่ แต่อาณานิคมกลางก็มีการผสมผสานกันมาก ผู้ตั้งถ่ินฐานในอาณานิคมเหลา่ นีร้ วมถึงอังกฤษสวีเดน ดัตช์เยอรมันสก็อต - ไอริชและฝรั่งเศสพร้อมกับชนพื้นเมืองและชาวแอฟริกันบางส่วน (และเป็นอิสระ) สมาชิก ของ ก ลุ่มเหล่าน ี้ ไ ด้แก ่ Quakers, Mennonites, Lutherans, Dutch Calvinists และ Presbyterians

25 อาณานิคมกลางของนวิ ยอร์กนิวเจอร์ซีย์เพนซลิ เวเนียและเดลาแวร์มีพื้นที่เพาะปลูกและท่าเรอื ธรรมชาตทิ อี่ ุดมสมบรู ณ์ ชาวนาปลูกขา้ วและเลย้ี งปศสุ ตั ว์ อาณานคิ มกลางยงั ฝึกฝนการคา้ เชน่ นวิ อิงแลนด์ แต่โดยท่ัวไปแล้วพวกเขาซอ้ื ขายวัตถดุ ิบสำหรับสินค้าทีผ่ ลิต เหตุการณ์สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในอาณานิคมกลางในช่วงอาณานิคมคือการพิจารณาคดี Zenger ในปี ค.ศ. 1735 จอห์นปีเตอรแ์ ซนเกอร์ถกู จับในข้อหาเขียนต่อต้านผู้ว่าราชการจังหวัดนิวยอร์ก แอนดรูวแ์ ฮมลิ ตันไดร้ ับการปกป้อง Zenger และพบว่าไมม่ คี วามผิดในการช่วยสร้างแนวคิดเร่ืองเสรีภาพ ของสอื่ มวลชน นิวยอร์ก ชาวดัตช์เจ้าของอาณานิคมที่เรียกว่าใหม่เนเธอร์แลนด์ ในปี 1664 Charles II ได้มอบ New Netherland ใหก้ ับ James พ่ีชายของเขา Duke of York เขาตอ้ งเอามนั มาจากชาวดัตช์ เขามาพร้อมกบั กองเรือ ฮอลันดายอมจำนนโดยไม่มที างสู้ นิวเจอรซ์ ี ดยุคแห่งยอร์กมอบที่ดินบางส่วนให้แก่เซอร์จอร์จคาร์เทอเร็ตและลอร์ดจอห์นเบิร์กลีย์ซึ่งตั้งช่อื อาณานคิ มของพวกเขาในนวิ เจอรซ์ ยี ์ พวกเขามอบท่ีดนิ และเสรภี าพในการนับถอื ศาสนาอยา่ งเสรี ทั้งสอง ส่วนของอาณานคิ มไมไ่ ด้รวมกันเปน็ อาณานิคมของราชวงศจ์ นถงึ ปี 1702 เพนซลิ เวเนีย ชาวเควกเกอร์ถกู อังกฤษขม่ เหงและปรารถนาทีจ่ ะมีอาณานิคมในอเมริกา วิลเลียมเพนนไ์ ดร้ บั ทุนซึง่ กษัตรยิ ์เรยี กวา่ เพนซิลเวเนยี เพนน์ตอ้ งการเรม่ิ “ การทดลองศักดิ์สิทธ์ิ” นิคมแรกคือฟลิ าเดลเฟีย อาณานคิ มน้กี ลายเปน็ หน่ึงในอาณานิคมที่ใหญ่ที่สุดในโลกใหมอ่ ย่างรวดเร็ว คำ ประกาศอสิ รภาพเขียนและลงนามในเพนซิลเวเนยี ทวีปรัฐสภาพบในฟิลาเดลจนกว่ามันจะถกู จับโดยนาย พลของอังกฤษวลิ เลียมฮาวใน 1777 และถูกบังคบั ให้ยา้ ยไปนิวยอรก์ เดลาแวร์ เมื่อ Duke of York ได้ New Netherland เขายังได้รับ New Sweden ซึ่งก่อตั้งโดย Peter Minuit เขาเปลีย่ นช่อื พ้ืนท่ีน้ีว่าเดลาแวร์ พ้ืนท่นี ี้กลายเป็นส่วนหนึง่ ของเพนซิลเวเนยี จนถึงปี 1703 เมื่อมี การสร้างสภานติ ิบญั ญตั ิของตนเอง 2.5 อาณานิคมทางใต้ อาณานคิ มอเมริกนั \"อย่างเป็นทางการ\" แหง่ แรกก่อตัง้ ขึน้ ในเจมส์ทาวน์เวอร์จิเนยี ในปี 1607 ใน ปี 1587 ชาวอังกฤษ 115 คนเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเวอร์จิเนีย พวกเขาเดินทางมาถึงเกาะโรอาโนคนอก

26 ชายฝ่งั นอร์ทแคโรไลนาอยา่ งปลอดภัย กลางปกี ลมุ่ นี้ตระหนกั วา่ พวกเขาต้องการเสบยี งมากข้ึนจงึ สง่ จอหน์ ไวท์ผวู้ ่าการอาณานิคมกลบั องั กฤษ ไวทม์ าถงึ ทา่ มกลางสงครามระหว่างสเปนและอังกฤษและการกลับมา ของเขาลา่ ชา้ เมื่อเขากลับไปที่โรอาโนคในที่สุดก็ไม่มีร่องรอยของอาณานิคมภรรยาของเขาลูกสาวหรือ หลานสาวของเขา แต่สิ่งทีเ่ ขาพบคอื คำว่า \"Croatoan\" ที่สลักไว้ในเสาซง่ึ เป็นช่อื ของชนพื้นเมืองกลุ่มเล็ก ๆ ในพื้นที่ ไม่มีใครรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับอาณานิคมจนถึงปี 2015 เมื่อนักโบราณคดีค้นพบเบาะแสเช่น เคร่ืองป้ันดนิ เผาสไตล์องั กฤษท่ามกลางซาก Croatoan ส่งิ น้ชี ีใ้ หเ้ หน็ วา่ ผู้คนในอาณานิคม Roanoke อาจ กลายเป็นสว่ นหน่ึงของชมุ ชน Croatoan ในปี 1752 อาณานิคม ได้แก่ นอรท์ แคโรไลนาเซาทแ์ คโรไลนาเวอรจ์ เิ นียและจอรเ์ จยี อาณานิคม ทางใต้ให้ความสำคัญกับความพยายามส่วนใหญ่ในการปลูกพชื เงินสดรวมท้ังยาสบู และฝ้าย เพื่อให้พื้นที่ เพาะปลูกของพวกเขามีกำไรพวกเขาใช้แรงงานและทักษะที่ไม่ได้รับค่าตอบแทนของชาวแอฟริกันที่ตก เป็นทาส อาณานคิ มทางตอนใตข้ องแมรแิ ลนด์เวอร์จเิ นียนอร์ทแคโรไลนาเซาท์แคโรไลนาและจอร์เจียปลูก อาหารของตนเองควบคูไ่ ปกบั การปลูกพืชเงนิ สดหลกั สามอย่าง ได้แก่ ยาสบู ขา้ วและคราม สิ่งเหล่านี้ปลูก ในพื้นที่เพาะปลกู โดยทวั่ ไปเป็นแรงงานท่ีขโมยมาของผู้คนท่กี ดข่ีและคนรบั ใช้ องั กฤษเป็นลูกค้าหลักของ พืชผลและสินค้าที่อาณานิคมทางใต้ส่งออก สวนฝ้ายและยาสูบที่แผ่กิ่งก้านสาขาทำให้ผู้คนแยกจากกัน อยา่ งกว้างขวางปอ้ งกันการเติบโตของพื้นทใี่ นเมืองจำนวนมาก เหตุการณ์สำคัญที่เกดิ ขึ้นในภาคใต้อาณานิคมของเบคอนจลาจล นาธาเนียลเบคอนนำกลุ่มชาว อาณานคิ มเวอร์จเิ นียต่อตา้ นชนพนื้ เมืองทีก่ ำลงั โจมตฟี ารม์ ชายแดน เซอร์วิลเลียมเบิร์กลยี ผ์ ู้สำเรจ็ ราชการ แทนพระองค์ไม่ได้เคลื่อนไหวต่อต้านกลุ่มชนพืน้ เมอื ง เบคอนถูกเจ้าเมอื งตราหน้าว่าเปน็ คนทรยศและส่ัง ให้จบั เบคอนโจมตเี จมส์ทาวนแ์ ละยดึ รัฐบาล จากน้ันเขากป็ ่วยและเสยี ชวี ิต เบริ ์กลยี ์กลบั มาแขวนคอมาก ของพวกกบฏและในที่สดุ ก็ถกู ปลดออกจากงานโดยพระเจ้าชาร์ลที่สอง รฐั แมรแี่ ลนด์ ลอรด์ บลั ตมิ อรไ์ ดร้ บั ทดี่ ินจากพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี 1 เพ่ือสร้างท่ีหลบภัยสำหรบั ชาวคาทอลกิ ลูกชาย ของเขาลอร์ดบัลติมอร์คนทีส่ องเป็นเจา้ ของที่ดินทั้งหมดเป็นการส่วนตัวและสามารถใชห้ รือขายได้ตามท่ี เขาต้องการ ในปี 1649 พระราชบัญญตั ิความอดทนได้ผ่านการอนุญาตให้คริสเตียนทกุ คนนมัสการตามท่ี พวกเขาพอใจ

27 เวอร์จเิ นยี เจมสท์ าวนเ์ ป็นถน่ิ ฐานขององั กฤษแหง่ แรกในอเมริกา (1607) ในช่วงแรกมชี ว่ งเวลาท่ียากลำบาก และไม่เจรญิ ร่งุ เรืองจนกว่าชาวอาณานิคมจะไดร้ ับทด่ี ินของตนเองและอุตสาหกรรมยาสูบก็เริ่มเฟื่องฟูซึ่ง จุดน้นั การตง้ั ถน่ิ ฐานจึงหยั่งรากลกึ ผ้คู นยังคงมาถงึ และการตงั้ ถนิ่ ฐานใหมเ่ กิดข้ึน ในปี 1624 เวอร์จเิ นยี ถกู ทำใหเ้ ปน็ อาณานิคมของราชวงศ์ นอรท์ แคโรไลนาและเซาทแ์ คโรไลนา ชายแปดคนได้รับกฎบัตรในปี 1663 จากพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ให้ตั้งถิ่นฐานทางตอนใต้ของ เวอร์จเิ นีย พืน้ ท่นี ้เี รยี กว่าแคโรไลนา ท่าเรอื หลกั คอื Charles Town (Charleston) ในปี 1729 นอร์ทและ เซาท์แคโรไลนาได้กลายเป็นอาณานิคมของราชวงศ์ จอรเ์ จยี James Oglethorpeได้รับกฎบัตรให้สร้างอาณานิคมระหว่างเซาท์แคโรไลนาและฟลอริดา เขา ก่อต้งั Savannah ในปี 1733 จอรเ์ จยี กลายเป็นอาณานคิ มของราชวงศใ์ นปี 1752 2.6 สรุป หลังจากโคลัมบัสได้สำรวจพบโลกใหม่หรอื ที่เรียกชื่อว่าอเมรกิ าเมื่อช่วงศตวรรษท่ี 15 หรือปีค.ศ. 1492 ผูค้ นจากยโุ รปไดห้ ลง่ั ไหลเดินทางไปต้ังถิ่นฐานเพือ่ แสวงหาโชคลาภและความม่งั ค่ังเป็นจำนวนมาก จนกระทั่งช่วงศตวรรษที่ 18 ดินแดนโลกใหม่อันกว้างใหญ่ไพศาลได้กลายเป็นดินแดนอาณานิคมของ มหาอำนาจยุโรปหลายประเทศ ชาวองั กฤษไดพ้ ยายามต้ังถ่ินฐานท่เี ราโนค ไอสแ์ ลนด์ (Roanoke Island) เมอ่ื ปคี .ศ.1585 แต่ต้ังอยู่ได้ไมน่ าน จนกระทั่งปีค.ศ.1607 ชาวองั กฤษจึงสามารถต้งั ถ่นิ ฐานได้อย่างม่ันคง ที่เมืองเจมส์ทาวน์ เวอร์จิเนีย (Jamestown, Virginia) นำโดย จอห์น สมิธ (John Smith) และจอห์น โรลฟ์ (John Rolfe) เพื่อเสีย่ งโชคในการขุดทองและการผจญภยั ผู้คนในเวอร์จิเนยี ไดล้ ้มตายลงเพราะ โรคภัยไข้เจ็บและความอดอยากเปน็ จำนวนมาก แต่การตั้งอาณานิคมในเวอร์จิเนียก็ยังสามารถตั้งอยู่ได้ นานเพราะเป็นดินแดนที่มีรายได้จากการปลูกยาสูบ นอกจากนี้ ยังมีชาวสกอตแลนด์ ชาวไอริช ชาว เยอรมัน และชาวสวีเดน ได้เขา้ ไปตงั้ อาณานคิ มในดินแดนสว่ นทเี่ หลือ สงครามฝร่ังเศสและอนิ เดียน (The French and Indian War) ระหวา่ งปีค.ศ.1756 - 1763 เปน็ สงครามระหวา่ งองั กฤษฝ่ายหน่งึ กับฝรัง่ เศส และอินเดียนแดงอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อชิงความเป็นใหญ่เหนือดินแดนอาณานิคม ผลปรากฏว่า อังกฤษชนะ หลังจากชัยชนะดังกล่าว ทำให้ฝรั่งเศสต้องถอยออกจากดินแดนด้านตะวันตก อังกฤษได้มีประกาศมิให้ ชาวอาณานิคมรุกเข้าไปอยู่อาศัยทางด้านตะวันตกของเทือกเขา อัพพาเลเชียน ( Appalachian Mountains) ภายหลังสงครามเจ็ดปีระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศสเพื่อชิงความเป็นใหญ่เหนือดินแดนอาณา

28 นิคม ระหว่างปีค.ศ.1756 - 1763.อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ทำให้ดินแดนอาณานิคมแถบชายฝั่งมหาสมุทร แอตแลนตกิ ทง้ั หมดจำนวน 13 แห่ง กลายเปน็ อาณานิคมของอังกฤษ

29 อ้างอิง ตน้ ตำรับ 13 แหง่ สหรัฐอเมรกิ า https://www.greelane.com/th ข้อมลู สำคญั เกยี่ วกับอาณานิคมดง้ั เดมิ 13 แห่ง https://www.greelane.com/th ลกั ษณะสำคัญของอาณานคิ มนวิ องิ แลนด์ https://www.greelane.com/th ภาพรวมของดนิ แดนอาณานคิ มของอเมรกิ าในยคุ แรก ๆ https://www.greelane.com/th ๓.อาณานิคม ๑๓ แหง่ ผ้ใู หก้ ำเนิดอเมริกา https://drchar.home.blog/2019/09/15/%E0%B9%93-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E 0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A1-%E0 %B9%91%E0%B9%93-%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0% B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89/

30 บทที่ 3 ปฏวิ ตั ิอเมรกิ ัน ความนำ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอก ราชจากจกั รวรรดิองั กฤษ ของประชาชนชาวอเมรกิ า จงึ ไดม้ ีการสถาปนาประเทศสหรัฐอเมริกาขน้ึ ในเวลา ต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งน้ี นักปรัชญาหลายท่าน เช่น วอลแตร์ (Voltaire) มี ความเห็นว่า การปกครองของอังกฤษก้าวหน้ามากที่สุดในทวีปยุโรป การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปี ค.ศ. 1688 (พ.ศ. 2231) ได้มอบระบอบราชาธิปไตยภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ (constitutional monarchy) ให้แก่ อังกฤษ สาระสำคัญ คือ กฎหมายต่าง ๆ จำกัด อำนาจของกษัตริย์แห่งอังกฤษ อย่างไรก็ตาม แม้ว่า มุมมองของนักปรัชญาจะมีความเห็นเช่นนั้น แต่อาณานิคมของอังกฤษมากมายในทวีปอเมรกิ าเหนือที่มี ความเจริญรุ่งเรือง ก็ได้กล่าวหาอังกฤษว่ามีการปกครองแบบทรราช พวกเขาได้รับแรงบันดาลใจจาก แนวความคดิ เรืองปัญญา จงึ พยายามโคน่ ลม้ อำนาจที่เขม้ แขง็ ที่สดุ ในโลกและสร้างชาตขิ องตนเอง 3.1 สหราชอาณาจักรกบั อาณานิคมในอเมริกา ตลอดคริสต์ศตวรรษ 16 ถึง 17 อาณานิคมอังกฤษมีอาณาเขตกว้างขวางมากและมีการตั้งถ่ิน ฐานที่เจริญรุ่งเรืองตามชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อพระเจา้ จอรจ์ ที่ 3 (George III) เป็น กษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1760 (พ.ศ. 2303) อาณานิคมในอเมริกาเหนือของพระองค์ได้ เจริญเตบิ โตแบบก้าวกระโดด ประชากรรวมตัวกันเพิม่ สงู ขนึ้ จากประมาณ 250,000 คน ใน ปี ค.ศ. 1700 (พ.ศ. 2243) จนถึง 2,150,000 คน ในปี ค.ศ. 1770 (พ.ศ. 2313) เพิ่มขึ้นเกือบ 9 เท่า ในด้าน เศรษฐกิจ อาณานิคมก็เจรญิ รุง่ เรอื งด้วยการคา้ ขายกบั ประเทศหลายประเทศในทวปี ยุโรป ความร้สู กึ ใหม่ ๆ เก่ียวกบั เอกลักษณ์ ก็เจรญิ รุ่งเรอื งข้นึ ในจิตใจของชาวอาณานิคม พร้อมกับการ เพมิ่ ขึ้นของประชากรและความเจริญรุง่ เรอื ง ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 17 ชาวอาณานิคมก็อาศัย อยู่ในอเมริกาเกอื บ 150 ปแี ลว้ ในบรรดาอาณานคิ ม 13 แห่ง แต่ละแหง่ ก็มีการปกครองเปน็ ของตนเอง และประชาชนต่างคุ้นเคยกับความเปน็ อิสระ ชาวอาณานคิ มมองตนเองวา่ เป็นชาวอังกฤษนอ้ ยลง และ มองตนเองว่าเป็นชาวเวอรจ์ เิ นยี หรือชาวเพนซลิ เวเนียมากขึน้ ๆ อยา่ งไรก็ตามพวกเขายังคงเปน็ ประชากร องั กฤษและคาดว่าน่าจะปฏบิ ัติตามกฎหมายองั กฤษ

31 ในปี ค.ศ. 1651 (พ.ศ. 2494) รัฐสภาอังกฤษได้ผ่านกฎหมายการค้าที่เรียกว่า พระราชบัญญัติ การเดินเรือ (Navigation Act) พระราชบัญญัตินี้และกฎหมายลูกเกี่ยวกับการค้าขาย ป้องกันไม่ให้ชาว อาณานิคมขายผลิตภัณฑ์ที่มคี ่ามากที่สุดไปให้กับประเทศใด ๆ ยกเว้นสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ ชาว อาณานิคมต้องจ่ายภาษีสูงให้กับสินค้าฝรั่งเศสและดัตช์ที่สั่งเข้ามา อย่างไรก็ตาม นโยบายของสหราช อาณาจักรมีประโยชน์ตอ่ ทงั้ อาณานิคมและมาตุภูมิ สหราชอาณาจักรได้ซ้ือวัตถุดิบของอเมริกันเนื่องจาก ราคาต่ำมาผลิตเป็นสินค้าสง่ กลับไปขายยังอาณานิคมนั้น และแม้จะมขี ้อจำกัดทางการค้าขายกับอังกฤษ หลายอย่าง พอ่ คา้ ชาวอาณานคิ มกย็ งั ประสบความสำเรจ็ อย่างไรก็ตาม ในไม่ชา้ ความสามัคคีกลมเกลียว กันฉันท์พ่ีน้องทำนองนัน้ กม็ กี ารเปล่ียนแปลง 3.2 ชาวอเมริกันไดร้ บั อิสรภาพ ในปี ค.ศ. 1754 (พ.ศ. 2297) สงครามได้ปะทุขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือ ระหว่างอังกฤษกับ ฝรง่ั เศส ซึ่งในชว่ งน้ัน ฝรงั่ เศส ยงั ล่าอาณานิคมในตอนเหนือของทวีปอเมริกา ตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถงึ 17 ความขดั แย้งน้นั เรียกกนั ว่า สงครามฝรงั่ เศสกับอินเดียนแดง (French and Indian War) (ชื่อเกิด จากความจริงทว่ี า่ ฝร่งั เศสเกณฑ์ชนเผ่าอเมรกิ ันพนื้ เมืองจำนวนมากไปต่อสู้ข้างตนเอง) การสู้รบดำเนินไป จนถึงปี ค.ศ. 1763 (พ.ศ. 2306) เมื่อสหราชอาณาจักรและชาวอาณานิคมได้รับชัยชนะและยึดดินแดน ของฝร่ังเศสในทวปี อเมรกิ าเหนือเกอื บทงั้ หมด อยา่ งไรก็ตาม ชยั ชนะครัง้ นนั้ ทำใหเ้ กดิ ความตึงเครียดเพิ่ม มากขึ้น ระหว่างสหราชอาณาจักรกับชาวอาณานิคม สหราชอาณาจักรได้ก่อหนี้ก้อนใหญ่ เพื่อสู้รบ สงคราม เพราะชาวอาณานิคมอเมริกันได้รับประโยชน์จากชัยชนะของสหราชอาณาจักร สหราช อาณาจกั รคาดหวงั ว่า ชาวอาณานิคมจะช่วยจ่ายค่าใช้จ่ายสงคราม ในปี ค.ศ. 1765 (พ.ศ. 2308) รัฐสภา จงึ ผา่ นการตราพระราชบญั ญัติอากรแสตมป์ (Stamp Act – ภาษแี สตมป์) ในกฎหมายน้ี ชาวอาณานคิ ม ต้องจ่ายภาษีท่ีต้องมีตราประทบั ของทางการ เมอื่ แสดงความคดิ เหน็ การกระทำ หนงั สือพมิ พแ์ ละสิ่งพมิ พ์ อน่ื ๆ ชาวอาณานิคมอเมริกันถูกทำร้ายอย่างรุนแรง พวกเขาไม่เคยจ่ายภาษีโดยตรงให้กับรัฐบาล อังกฤษมาก่อน นักกฎหมายอาณานิคม ถกเถียงกัน ว่า ภาษีแสตมป์ละเมิดสิทธิทางธรรมชาติของชาว อาณานิคมและพวกเขาก็กล่าวหารัฐบาล เรื่อง \"ระบบการจัดเก็บภาษีโดยปราศจากตัวแทน\" ในสหราช อาณาจักร ประชากณยนิ ยอมใหเ้ กบ็ ภาษผี า่ นตัวแทนในรัฐสภา แต่วา่ ชาวอาณานิคมไม่มตี ัวแทนในรัฐสภา ดงั นั้นพวกเขาจึงโตเ้ ถียงไดว้ ่าไม่สมควรจะถูกเก็บภาษี

32 3.3 งานเลีย้ งน้ำชาที่บอสตัน งานเลี้ยงนำ้ ชาที่บอสตัน (อังกฤษ: Boston Tea Party) เป็นการประทว้ งทางการเมอื งของกลุ่ม ซันส์ออฟลิเบอร์ตี (Sons of Liberty) ในบอสตันเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1773 เพื่อต่อต้าน พระราชบัญญัตชิ า ลงวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1773 ของรัฐสภาบรเิ ตนใหญ่ ผู้ประท้วง ซึ่งบางคนแต่ง กายเป็นชาวอเมริกันพื้นเมือง ทำลายการลำเลียงชาทั้งหมดที่บริษัทอินเดียตะวันออก ( East India Company) จดั สง่ มา โดยขน้ึ เรือและโยนหบี ชาลงทะเลท่ีท่าบอสตนั รัฐบาลบริเตนโตต้ อบอย่างรนุ แรง จน สถานการณ์บานปลายกลายเป็นการปฏิวัตอิ เมรกิ า งานเลี้ยงนำ้ ชานี้จงึ เปน็ เหตุการณ์เชิงสัญลกั ษณ์ในหน้า ประวัติศาสตร์อเมริกา และนับแต่นั้นก็มีผู้ประท้วงทางการเมืองหลายรายอ้างตนเป็นผู้สืบทอดเชิง ประวตั ิศาสตร์ของการประทว้ งทีบ่ อสตนั เชน่ กลุ่มขบวนการงานเล้ยี งนำ้ ชา (Tea Party movement) งานเล้ียงน้ำชาดังกล่าวเป็นความสุกงอมของขบวนการต่อต้านพระราชบัญญัติชาที่เกิดขึ้นทั่ว ดินแดนอเมรกิ าของบรเิ ตน ชาวอาณานิคมต่อตา้ นพระราชบญั ญัตินี้ เพราะเช่อื วา่ ขดั ตอ่ สทิ ธิของพวกเขา ในฐานะชาวอังกฤษ ที่จะ \"ไม่จ่ายภาษีถ้าไม่มีผู้แทน\" กล่าวคือ จะยอมจ่ายภาษีให้แก่ผู้แทนที่พวกตน เลอื กต้งั มาเท่าน้นั ไมใ่ ช่แก่รัฐสภาบริเตนท่พี วกตนไม่มีผ้แู ทนอยเู่ ลย เหล่าผูป้ ระทว้ งประสบความสำเร็จใน การขัดขวางไมใ่ หข้ นถ่ายชาภาษีจากบริเตนเข้าสู่อาณานิคมสามแห่ง แต่ในอาณานิคมบอสตนั ธอมัส ฮัต ชงิ สัน (Thomas Hutchinson) ผูว้ า่ การซึ่งเตรียมพร้อมรบอยแู่ ลว้ ได้ส่ังห้ามสง่ ชากลับคนื ไปยงั บรเิ ตน ใน ค.ศ. 1774 รัฐสภาบริเตนตอบสนองดว้ ยการตรากฎหมายท่ีเรียก \"พระราชบัญญัตเิ หลือทน\" (Intolerable Acts) หรือ \"พระราชบัญญัติบีบคั้น\" (Coercive Acts) ซึ่งให้การปกครองตนเองใน แมสซาชเู ซตสส์ น้ิ สดุ ลง และเลกิ การค้าในบอสตัน นอกเหนอื ไปจากบทบัญญตั ิอนื่ ๆ พลเมืองทัว่ ทงั้ สบิ สาม อาณานิคมตอบโต้พระราชบัญญัติดังกล่าวโดยประท้วงหนักขึ้น และเรียกประชุมใหญ่ประจำทวีปครั้งที่ หนึ่ง (First Continental Congress) ซึ่งมีมติให้ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์บริเตนให้ทรงยกเลิก พระราชบัญญัติและไกล่เกลี่ยการต่อต้านพระราชบัญญัติเหล่านั้น ทว่า วิกฤติการณ์ยากจะยุติ นำไปสู่ สงครามปฏวิ ตั ิอเมริกาใน ค.ศ. 1775 3.4 การม่งุ ร้ายเพ่มิ ข้ึนจึงนำไปสูส่ งคราม ตลอดระยะเวลา 1 ทศวรรษถัดมา มีการมุ่งร้ายกันระหว่างทัง้ สองฝ่ายเพ่ิมขึน้ ผูน้ ำอาณานิคมบาง คนชื่นชอบความเป็นอิสระจากสหราชอาณาจกั ร ในปี ค.ศ. 1773 (พ.ศ. 2316) เพื่อประท้วงภาษนี ำเข้า ใบชา กลมุ่ ของชาวอาณานิคมไดเ้ ทใบชาขององั กฤษเป็นจำนวนมากลงไปในอา่ วบอสตนั พระเจา้ จอรจ์ ท่ี 3

33 ทรงกริ้ว \"กรณีงานเลย้ี งนำ้ ชาท่ีบอสตนั - Boston Tea Party\" จงึ ทรงบญั ชาการให้กองทัพเรืออังกฤษปิด ทา่ เรือบอสตัน กลยุทธ์ทีร่ ุนแรงดังกลา่ วจากอังกฤษไดส้ รา้ งศตั รูของชาวอาณานคิ มในระดับปานกลางจำนวนมาก ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1774 (พ.ศ. 2317) ตัวแทนจากอาณานิคมทุก ๆ แห่ง ยกเว้นจอร์เจยี ได้รวมตัว กันในฟิลาเดลเฟีย เพื่อจัดตั้งการประชุมสภาทวีป ครั้งที่ 1 (First Continental Congress) กลุ่มนี้ ได้ คัดค้านการเจรจาบอสตัน เมื่อกษัตริย์ทรงสนพระทัยในการร้องทุกข์ของพวกเขาเพียงเล็กน้อย หลาย อาณานิคมจึงได้ตัดสินใจจัดการประชุมสภาทวีปครั้งที่ 2 (Second Continental Congress) เพ่ือ อภิปรายในการเคลอ่ื นไหวครงั้ ตอ่ ไป เม่อื วนั ท่ี 19 เมษายน ค.ศ. 1775 (พ.ศ. 2318) ทหารอังกฤษและทหารอาสาอเมริกนั ได้ยิงปะทะ กัน ณ พนื้ ทส่ี เี ขียวของหมูบ่ ้าน ในเมอื งเล็กซงิ ตนั รัฐแมสซาชเู ซตส์ การสู้รบได้ขยายไปใกล้เมืองคองคอร์ด การประชมุ สภาทวีปครัง้ ที่ 2 ไดอ้ อกเสียงสนบั สนุนกองทพั และจัดระเบียบการสู้รบภายใต้การบัญชาการ ของชาวเวอร์จิเนยี ชอื่ จอรจ์ วอชงิ ตัน (George Washington) การปฏิวตั ิอเมริกาก็ไดเ้ รม่ิ ข้ึน 3.5 สาเหตุในการปฏวิ ัติ อังกฤษใช้นโยบายการค้าอย่างไม่ยุติธรรมกับอาณานิคม เนื่องจากบรเิ วณลุม่ แม่น้ำมิสซิสซปิ ปีนี้ เป็นแหลง่ เพาะปลกู ใบชาทส่ี ำคัญ องั กฤษใชว้ ธิ ซี อื้ จากอาณานิคมในราคาถูกมากแล้วนำไปขายในยุโรปใน ราคาเพ่ิมหลายเทา่ ทำให้ชาวอาณานคิ มไมพ่ อใจ และประกอบกับการทช่ี าวอเมริกันได้รบั แนวคิดจาก นัก ปรชั ญา คือจอหน์ ลอ็ ก(en:John Locke) ทำให้เหตกุ ารณ์ลุกลามใหญ่ กอ่ ใหก้ ารประท้วงชุมนุมงานเล้ียง น้ำชาที่บอสตัน (Boston Tea Party) ที่กรุงบอสตัน อังกฤษจึงส่งกำลังเข้าปราบปราม ก่อให้เกิดการ ต่อตา้ นอยา่ งหนกั ฝรง่ั เศสไดแ้ อบส่งกำลงั อาวุธเข้าชว่ ยเหลอื อเมรกิ า นำไปสู่ สงครามปฏวิ ตั ิอเมริกัน จน ในทสี่ ดุ อเมรกิ าก็สามารถประกาศอิสรภาพได้ในวนั ที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ท่ีเมอื งฟิลาเดเฟยี (รัฐเพน ซิลเวเนีย) และทำให้เกิดประธานาธิบดคี นแรกของสหรัฐอเมรกิ าคอื จอรจ์ วอชิงตัน และการทฝี่ ร่งั เศสเข้า ช่วยอเมริกานเี้ อง ทำให้ทหารท่ีเขา้ มารว่ มรบในสงครามปฏวิ ัตอิ เมริกา ไดซ้ ึมซับแนวคิดและความต้องการ อิสรภาพของชาวอเมริกันทั้งมวลเข้าไว้ และกลายเป็นพลังผลักดันที่ทำให้เกิดการปฏิวัติในฝรั่งเศสและ ประกอบกบั สภาพการณ์ ในขณะนน้ั ฝรั่งเศสกำลงั ย่ำแย่ด้วยสภาพเศรษฐกิจ สถาบันกษตั รยิ ์ทอ่ี ่อนแอ ทำ ให้ฝรง่ั เศสเข้าส่กู ารปฏิวัติฝรง่ั เศส และกลายเปน็ แรงผลกั ดนั ให้เกิดการปฏวิ ัตไิ ปท่ัวยุโรปในเวลาต่อมาอีก ดว้ ย

34 3.6 อิทธพิ ลของแนวความคิดยุคเรอื งปัญญา ผนู้ ำอาณานคิ มใชแ้ นวความคดิ เรอื งปญั ญามาอธิบายความหมายของอิสรภาพ ชาวอาณานิคมได้ เรียกรอ้ งสิทธิทางการเมืองในฐานะเป็นพลเมอื งของสหราชอาณาจกั รเหมือนกนั แตพ่ ระเจา้ จอร์จที่ 3 ทรง ปฏิเสธหัวชนฝา ดังนั้น ชาวอาณานิคมจึงเป็นผู้มีความถูกต้องในการต่อต้านเผด็จการของผู้ทำลายข้อ สัญญาทางสังคม ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1776 (พ.ศ. 2319) การประชมุ สภาทวปี ครั้งที่ 2 กไ็ ดต้ ีพมิ พ์คำประกาศ อสิ รภาพ (Declaration of Independence) บทความน้ีเขยี นโดยผู้นำทางการเมือง ชอ่ื ทอมสั เจฟเฟอร์ สัน (Thomas Jefferson) ได้ยึดมั่นในแนวความคิดของจอห์น ล็อกและแนวความคิดยุคเรืองปัญญา การประกาศนั้น สะท้อนให้เห็นแนวความคิดเหล่านี้ในถ้อยแถลงซึ่งเต็มไปด้วยความโน้มน้าวในการ เรียกร้องสิทธิตามธรรมชาติ คำประกาศ เริ่มต้นว่า \"เราถือความจริงต่อไปนีเ้ ป็นสิ่งท่ีประจักษ์แจ้งอยู่ใน ตัวเอง นนั่ คอื มนษุ ย์ทกุ คนถูกสร้างข้นึ มาอย่างเทา่ เทยี มกัน และพระผสู้ รา้ งได้มอบสทิ ธิบางประการที่จะ เพิกถอนมไิ ด้ไว้ใหแ้ กม่ นุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านัน้ ได้แก่ ชีวิต เสรีภาพ และการแสวงหาความสุข - We hold these truths to be self-evident, that all men are created equal, that they are endowed by their Creator with certain unalienable rights, that among these are life, liberty, and the pursuit of happiness.\" เนื่องจากจอห์น ล็อก ถือสิทธิว่า ผู้คนมีสิทธิที่จะต่อต้านผู้ปกครองที่ไม่ยุติธรรม คำประกาศ อิสรภาพ จึงรวมถึงรายการคำเหยียดหยามอันยาวเหยียดของพระเจ้าจอร์จที่ 3 เอกสารนั้นลงท้ายดว้ ย การประกาศแยกอาณานิคมออกจากสหราชอาณาจักร คำประกาศ บอกว่า “อาณานิคมนี้ ไม่ขึ้นต่อ บัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรอีกต่อไป - The colonies are absolved from all allegiance to the British crown.” 3.7 ความสำเร็จเพื่อชาวอาณานิคม สหราชอาณาจกั รไม่ยอมให้อาณานิคมเป็นอิสรภาพโดยไม่มีการสู้รบ ในไมช่ ้า หลังจากตีพิมพ์คำ ประกาศอสิ รภาพ ทั้งสองขา้ งก็เข้าห้ำหั่นทำสงครามกัน ในเบื้องต้น ชาวอาณานิคมดูเหมอื นจะถูกกำหนด ชะตาให้พ่ายแพ้ในทันทีทันใด กองทัพสามัญชนที่ถูกฝึกมาอย่างย่ำแย่ของจอร์จ วอชิงตัน เผชิญหน้ากับ กองทัพของประเทศมหาอำนาจของโลก แต่สุดท้าย ชาวอเมริกันก็ได้รับชัยชนะในสงครามประกาศ อสิ รภาพ

35 มีหลายเหตผุ ล ที่อธิบายถงึ ความสำเร็จของชาวอาณานคิ ม ประการแรก แรงจงู ใจในการส้รู บของ ชาวอเมริกัน แข็งแกร่งมากกว่าชาวอังกฤษ เนื่องจากเป็นกองทัพต่อสู้เพื่อป้องกันบ้านเกิดเมืองนอน ประการที่สอง แม่ทัพของอังกฤษอวดดีจนเกินไป จึงทำความผิดพลาดหลายประการ ประการท่ีสาม ชว่ งเวลากเ็ ข้าขา้ งชาวอเมรกิ นั องั กฤษ (หรือสหราชอาณาจกั ร) นา่ จะชนะสงครามคร้งั ต่อ ๆ มา แต่ก็ยัง พ่ายแพ้ การสู้รบสงครามในทะเลอันไกลพน้ ไกลจากลอนดอนถึง 3,000 ไมล์ (ประมาณ 4,800 กโิ ลเมตร) จึงมีค่าใช้จ่ายอย่างมากมาย สองสามปีผ่านไป ประชากรอังกฤษเบื่อหน่ายการสู้รบจึงเรียกร้องหา สนั ติภาพ ในทสี่ ุด ชาวอเมรกิ ันก็ไมไ่ ด้สูร้ บอยา่ งโดดเดี่ยว พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI of France) มีความเห็นใจเพียงเล็กน้อยในแนวความคิดการปฏิวัติอเมริกา อย่างไรก็ตาม พระองค์ก็ยัง กระตือรือร้นที่จะทำให้คู่แข่งของฝรั่งเศส คือ สหราชอาณาจักร อ่อนแอลง ฝรั่งเศสจึงตัดสินใจเข้าสู่ สงครามในปี ค.ศ. 1778 (พ.ศ. 2321) ในปี ค.ศ. 1781 (พ.ศ. 2324) กองทัพแนวร่วมของอเมริกา ประมาณ 9,500 คน และฝรั่งเศส 7,800 คน ได้โอบล้อมกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งบัญชาการโดย ลอร์ด คอร์นเวลลสิ (Lord Cornwallis) ใกลย้ อรก์ ทาวน์ รัฐเวอร์จเิ นีย ลอร์ดคอรน์ เวลลิส ไมส่ ามารถจะ หลบหนไี ด้ จึงยอมจำนนในทีส่ ุด ชาวอเมริกันทำใหโ้ ลกตกตะลึงและไดร้ ับอิสรภาพ 3.8 ชาวอเมรกิ ากอ่ ตง้ั สาธารณรฐั ไม่นานหลังการประกาศเอกราช รัฐที่เป็นเอกเทศ จำนวน 13 รัฐ ตระหนักถึงความจำเป็นท่ี จะต้องมีรัฐบาลแหง่ ชาติ เมื่อได้รับชัยชนะอยา่ งแน่นอนแล้ว รัฐทั้ง 13 รัฐ จึงเห็นด้วยที่จะมีรัฐธรรมนูญ ในปี ค.ศ. 1781 (พ.ศ. 2324) แผนการของรัฐบาล เรียกวา่ บทบัญญัติวา่ ดว้ ยสมาพนั ธรัฐ (the Articles of Confederation) บทบัญญัติได้ก่อตั้งประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นสาธารณรัฐ ซ่ึงมีรัฐบาลที่ประชาชน ปกครองผ่านผแู้ ทนท่ีได้รับการเลอื กตัง้ 3.9 รัฐบาลแห่งชาตอิ ่อนแอ เพื่อการปกป้องอำนาจของตนเอง รัฐ 13 รัฐ จึงได้สร้างสมาพันธรัฐแบบหลวม ๆ ซึ่งพวกเขายดึ ครองอำนาจเปน็ ส่วนมาก ดงั นัน้ บทบัญญตั ิวา่ ด้วยสมาพันธรฐั จึงจงใจสรา้ งรฐั บาลแหง่ ชาตทิ ่อี ่อนแอ ไม่ มีคณะผู้บริหารหรือตุลาการ แต่บทบัญญัติได้ก่อตั้งสภาของรัฐเพียงแห่งเดียว คือ สภาคองเกรส ขึ้นมา แทน รัฐแต่ละรัฐมีเสียงหนึง่ เสียงในสภาคองเกรส โดยไม่คำนึงถึงขนาด สภาคองเกรสสามารถประกาศ สงคราม เข้าสู่สนธิสัญญาและทำเหรียญกษาปณ์ได้ อย่างไรก็ตาม สภานั้นไม่มีอำนาจเก็บรวบรวมภาษี

36 หรือควบคุมการค้า การผ่านกฎหมายใหม่ก็ยากลำบาก เพราะกฎหมายจำเป็นต้องได้รับอนุมัติจากรัฐ 9 รฐั ในบรรดารัฐ 13 รฐั ในไม่ช้า ข้อจำกัดเหล่านี้ในรัฐบาลแห่งชาติก็ก่อปัญหาเป็นอันมาก แม้ว่ารัฐบาลแห่งชาติใหม่ จำเป็นต้องใช้เงินในการดำเนินงาน ก็อาจเพียงร้องขอการสนับสนุนจากรัฐเท่านั้น ทหารผ่านศึกสงคราม ปฏิวัติที่เกิดความขุ่นเคือง ก็บ่นอย่างขมขื่นว่าสภาคองเกรสยังคงเป็นหนี้เงินจ่ายคืนเพื่อการบริการของ พวกเขา ในขณะเดียวกัน หลายรัฐก็ตีพิมพ์เงินของตวั เอง รัฐบางรัฐข้ึนภาษีสินค้าที่นำมาจากรัฐใกล้เคียง ด้วยซำ้ 3.10 รฐั ธรรมนญู ใหม่ ในที่สุด ผู้นำอาณานิคม ตระหนักถึงความต้องการรัฐบาลแห่งชาติที่เขม้ แข็ง ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1787 (พ.ศ. 2330) สภาคองเกรส จึงอนุมัติสภาร่างรัฐธรรมนูญ ( The Constitutional Convention) เพื่อการแกไ้ ขบทบัญญัตวิ ่าดว้ ยสมาพนั ธรัฐ สภาร่างรัฐธรรมนญู จัดขึน้ ครง้ั แรก ในวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 1787 (พ.ศ. 2330) ผ้แู ทน จำนวน 55 คน คือ รฐั บุรษุ ผู้มีประสบการณ์ ซึง่ มีความคุ้นเคยกับ ทฤษฎีทางการเมือง ของ ล็อก มงแต็สกีเยอ และ รูโซ่ (Locke, Montesquieu, and Rousseau) แม้ว่าผู้แทนจะมีส่วนร่วมในแนวความคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การปกครอง แต่ พวกเขาก็ไม่เห็นด้วย กับวิธีการท่ีจะนำแนวความคิดเหล่านนั้ ออกมาใช้ในทนั ทนั ใด เป็นเวลาเกอื บ 4 เดอื น ท่ีผู้แทนได้ถกเถียง ประเดน็ สำคัญกัน คอื ใครสมควรจะเปน็ ผ้แู ทนในสภาคองเกรส? ในแตล่ ะรฐั ควรจะมีผู้แทนกี่คน? ความ รอบคอบของเหล่าผู้แทน ไมเ่ พียงแตส่ รา้ งความปรองดองเทา่ น้ัน แต่ยังสร้างแนวทางการปกครองแบบใหม่ อีกด้วย ด้วยการใช้แนวความคิดเรืองปัญญาทางการเมือง เหลา่ ผู้แทน จงึ ไดส้ รา้ งระบบการปกครองแบบ ใหม่ข้นึ 3.11 ระบบสหพนั ธรฐั ผแู้ ทนเหล่าน้นั คลา้ ยกบั มงแตส็ กเี ยอ ไม่ไวว้ างใจการปกครองท่ีรวมศูนย์อำนาจ ซึง่ ปกครองโดย บุคคลคนเดียวหรือกลุ่ม ๆ เดียว ดังนั้น พวกเขาจึงแบ่งอำนาจออกเป็น 3 ส่วน คือ นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ ระบบนี้ มีการตรวจสอบและถ่วงดลุ กนั โดยธรรมชาติ ซึ่งแต่ละฝ่ายจะตรวจสอบการกระทำ ของอกี 2 ฝ่าย ยกตวั อยา่ งเชน่ ประธานาธิบดีมีอำนาจทจ่ี ะยับยงั้ ตวั บทกฎหมายซงึ่ ผ่านโดยสภาคองเกรส อย่างไรก็ตาม สภาคองเกรสก็สามารถยกเลิกการยับยั้งของประธานาธิบดี ด้วยการอนุมัติของสมาชิก จำนวน 2 ใน 3 ได้

37 แม้ว่ารัฐธรรมนูญจะสร้างรัฐบาลกลางที่แข็งแกร่ง ก็ไม่ได้กำจัดการปกครองท้องถิ่น แต่ รัฐธรรมนูญได้จัดต้งั ระบบสหพันธรฐั ซึง่ แบง่ อำนาจกนั ระหว่างรฐั บาลแหง่ ชาติและรฐั บาลแห่งรัฐแทน 3.12 บัญญตั สิ ทิ ธิ ผู้แทนลงนามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 17 เดือนกันยายน 1787 (พ.ศ. 2330) อย่างไรก็ ตาม เพื่อจะให้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมาย ต้องได้รับอนมุ ัติจากการประชุม อย่างน้อย จำนวน 9 รัฐ จาก รฐั จำนวน 13 รฐั การประชุมเหลา่ น้ีต้องมีความถูกต้องชัดเจนด้วยการอภิปรายที่ชาญฉลาด ผู้สนับสนุน รัฐธรรมนูญ เรยี กวา่ ผูส้ นับสนุนการรวมกนั ข้ึนเปน็ สหพนั ธ์ (Federalists) พวกเขาไดอ้ ภิปรายในผลงานที่ มีชื่อของตนเอง คือ เอกสารเฟอเดอริสต์ (Federalist Papers) ซึ่งการปกครองแบบใหม่นี้จะให้ความ สมดุลระหว่างอำนาจของชาติและของรัฐมากกว่า ฝ่ายตรงข้ามของพวกเขา คือ พวกต่อต้านการรวมกัน ขึ้นเปน็ สหพนั ธ์ (Antifederalists) กลัววา่ รัฐธรรมนูญจะให้อำนาจแก่รฐั บาลกลางมากเกินไป พวกเขาจึง ยังตอ้ งการบญั ญตั ิสทิ ธิ (bill of rights) เพอื่ ปกป้องสทิ ธิสว่ นบุคคล เพื่อให้ได้รับการสนับสนนุ ผู้สนับสนุนการรวมกันขึ้นเป็นสหพนั ธ์ จึงให้สัญญาว่าจะเพิ่มบัญญัติ สิทธเิ ข้าไปในรัฐธรรมนญู สญั ญานี้ ไดแ้ ผ้วถางทางเพื่อการพิจารณาอนมุ ัติ สภาคองเกรสได้เพิ่มบทแก้ไข เพ่มิ เติมรัฐธรรมนญู 10 บท ที่รู้จกั กันวา่ บัญญัติสิทธิ (bill of rights) บทแกไ้ ขเพ่ิมเติมรฐั ธรรมนญู เหล่านี้ ได้ปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐาน เช่น เสรีภาพในการพูด การตีพิมพ์ การชุมนุม และการนับถือศาสนา สิทธิ เหลา่ นี้จำนวนมากได้รบั การสนบั สนุนจาก วอลแตร์ รูโซ และล็อค รัฐธรรมนูญและบัญญัติสิทธิพื้นฐานของพลเมืองเป็นจุดเปลี่ยนแปลงความคิดของประชาชน เกี่ยวกับการปกครอง เอกสารทั้งสองได้ใส่แนวความคิดแบบสุขนิยม อย่างไรก็ตาม กษัตริย์และชนช้ัน อภิสทิ ธิ์ ก็ไมไ่ ดส้ ละอำนาจและตำแหน่งอยา่ งง่ายดาย 3.13 สรปุ “การปฏิวัติอเมริกา เป็นปฐมฤกษ์ของความยิ่งใหญ่ของสหรัฐอเมริกาในเวลาต่อมา ชาวอาณา นิคมกลุ่มแรกเดินทางมายังสหรัฐอเมริกาในสมัยศตวรรษที่ 17 และต้องก่อร่างสร้างประเทศอย่างโดด เดี่ยว พวกเขาตอ้ งเลือกผู้นำเอง ต้องแกป้ ัญหาเอง สหราชอาณาจักรซึง่ เป็นเหมอื นประเทศแม่ ก็ไม่ไดใ้ ห้ ความสนใจที่จะช่วยเหลอื อะไรซักเท่าไร ในช่วงกลางศตวรรษที่ 18 องั กฤษไดร้ บกับฝรง่ั เศสและประสบชัย ชนะ แต่ถึงจะชนะ ก็เป็นชัยชนะที่มีราคาแพง อังกฤษต้องใช้งบประมาณไปกับการสงครามเยอะมาก องั กฤษคิดว่าชาวอาณานิคมอเมริกาควรจะต้องจ่ายค่าทำสงครามน้ีดว้ ย ชาวอาณานิคมต่างรู้สึกโกรธแค้น และไม่พอใจ พวกเขาต้องมาจ่ายภาษีในสงครามที่ตนไม่ได้กอ่ และยังถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปตั้งรกรากใน

38 ดินแดนบางส่วน เนื่องจากเป็นบริเวณที่ถูกจัดไว้ให้พวกอินเดียนแดง และอังกฤษก็อยากจะเอาใจพวก อินเดียนแดง ไม่อยากให้อินเดียนแดงโกรธ ภายหลังสงครามกับฝรั่งเศสจบลง อังกฤษก็เริม่ จะขดู รีดภาษี จากชาวอาณานิคม ได้มีการออกพระราชบัญญัติสแตมป์ (Stamp Act) ซึ่งจะมกี ารเกบ็ ภาษีจากกระดาษ ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นเอกสารหรือหนังสอื พิมพ์ จะถกู เกบ็ ภาษี ทำให้ชาวอาณานิคมไม่พอใจอย่างมาก ค.ศ. 1773 (พ.ศ.2316) ชาวอาณานิคมกลุ่มหนึ่งได้ปลอมตัวเป็นอินเดียนแดง และได้บุกขึ้นไปบนเรืออังกฤษ และเทใบชาจำนวนมาก ทิ้งลงในแม่น้ำข้างท่าเรือบอสตัน เหตุการณ์นี้คือเหตุการณ์ “งานเลี้ยงน้ำชาที่ บอสตัน (Boston Tea Party)” ภายหลังจากเหตุการณ์นี้ ความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษและชาวอาณา นิคมกม็ แี ตแ่ ยล่ งเร่อื ย ๆ ชาวอาณานิคมเริ่มจะทำการต่อตา้ นสินค้าที่อังกฤษนำเข้ามาจำหน่าย ค.ศ.1775 (พ.ศ.2318) ชาวอาณานิคมรู้สึกว่าพวกตนทนมามากพอแล้ว ถึงเวลาที่ต้องต่อสู้ กองทัพอเมริกันได้เร่ิม สงครามแรกที่เล็กซงิ ตัน แมสซาชูเซตส์ กอ่ นท่ีอกี ไม่ก่เี ดอื นตอ่ มา กองทัพอเมริกนั จงึ ไดม้ ีผู้นำคนสำคัญ คือ “จอร์จ วอชิงตัน (George Washington)” แต่ถึงอย่างนั้น ชาวอาณานิคมก็ยงั ไม่มีความพร้อมในการทำ สงคราม พวกเขายังอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย แถมยังไม่มีรฐั บาลกลางเป็นของตนเอง เมื่อสงครามเรม่ิ ปะทขุ น้ึ อาณานิคมทั้ง 13 แหง่ จึงได้ร่วมกันตั้งสภาแห่งชาติ ในเวลาไม่ช้า ชาวอาณานิคมต่างก็เริ่มจะคิด ได้ว่าพวกตนไม่สามารถจะหวังอะไรกับอังกฤษได้ พวกตนต้องการจะปกครองตนเอง 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 (พ.ศ.2319) ไดม้ กี ารเซ็นรับรองคำประกาศอสิ รภาพ ทำใหช้ าวอาณานคิ มเป็นอิสระ องั กฤษเองก็ไม่ ยอมปล่อยอเมรกิ าไปงา่ ยๆ ได้มกี ารทำสงครามกับอเมรกิ าบอ่ ยครัง้ และกช็ นะ เนอื่ งจากองั กฤษมีอาวธุ และ เสบียงมากกว่า กองทัพของวอชิงตันนั้นอ่อนแอ ยิ่งในฤดูหนาว เสบียงก็แทบไม่มี ทหารต่างล้มป่วย แต่ ภายหลงั ก็สามารถพลิกกลับมาเอาชนะองั กฤษได้ ในชว่ งปีท้ายๆ สงครามได้เกิดขน้ึ ท่ีภาคเหนือเป็นสำคัญ แต่ในท่ีสุด อังกฤษกต็ ้องยอมแพแ้ ละเซน็ สนธิสัญญาสันติภาพกบั สหรฐั อเมริกาที่ปารีส ในการปฏิวัติ ต่อสู้ เพื่ออิสรภาพนี้ ทหารอเมริกันล้มตายกว่า 7,000 คน แต่การต่อสู้นี้ก็นับว่าคุ้มค่า หากไม่ลุกขึ้นสู้ สหรัฐอเมริกาคงยังต้องนอบนอ้ มตอ่ อังกฤษ ไม่มีอิสรภาพ และคงไม่ไดก้ ลายเป็นชาตทิ ีท่ รงอำนาจดังเช่น ทุกวันน้ี

39 อ้างอิง การปฏิวัตอิ เมริกา https://th.wikipedia.org/wiki การปฏวิ ตั อิ เมรกิ า http://world-history-encyclopedia.blogspot.com/p/blog- page_15.html “การปฏวิ ัติอเมรกิ า (American Revolution)” https://www.blockdit.com/posts/5fae0c4abdcba903bf190a46 การปฏิวัติอเมริกา https://sites.google.com/site/nonthiraploy36/kholambas/1-1-kar- ptiwati-xmerika

40 บทที่ 4 การสรา้ งชาติ ความนำ หากเราไดเ้ คยติดตามประวัตศิ าสตร์ชาติไทยกันมาบ้างก็คงจะได้ยนิ เรอื่ งราวการประกาศอิสรภาพ ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกันมาบ้าง และถอื เป็นอีกเหตกุ ารณค์ รง้ั สำคญั ทเี่ กิดกบั ชาติไทยที่หลายคน ร้จู ักกนั เปน็ อย่างดแี ตก่ ารประกาศอิสรภาพน้ันก็ไม่ได้มเี พยี งแต่ประเทศไทยเพียงเท่านนั้ การรประกาศอสิ รภาพน้นั เป็นเหตกุ ารณ์ทห่ี ลายประเทศทัว่ โลกเคยทำมาแล้วเช่นกนั เพราะ แนน่ อนวา่ ทกุ ประเทศทตี่ กอยู่ภายใต้อำนาจจากประเทศอ่ืนท่ีเขา้ มารกุ รานก็ย่อมต้องอยากเปน็ อิสระ ท้งั นัน้ ซง่ึ เหตกุ ารณ์การประกาศอิสรภาพช่ือดังของโลก การประกาศอสิ รภาพของอเมริกา แน่นอนว่าเม่ือมกี ารประกาศอสิ รภาพก็ย่อมต้องมปี ระเทศหัว เมอื งทไ่ี ม่พอใจจนเปน็ เหตุที่นำไปสู่สงคราม และในรายงานนก้ี จ็ ะพาทุกทา่ นไปรจู้ ักกบั เหตุการณ์สำคญั ของสหรัฐอเมริกากนั ถ้าพร้อมแลว้ ก็มาเรียนรู้ไปพรอ้ มกนั เลย ความหมายจาก พจนานกุ รมแปล ไทย-ไทย ราชบณั ฑิตยสถาน คำวา่ ชาติ แปลวา่ ชาด ชาติ ชาดติ] น. การเกดิ เชน่ ชาติน้ี ชาติหนา้ กำเนดิ เชน่ มีชาติมีสกลุ เหล่ากอ เทอื กเถา เผา่ พันธ์ุ เช่น ชาตเิ สือ ชาตขิ ี้ข้า ชนิด จำพวก ชนั้ หมู่ คำเพม่ิ ขา้ งหลังของคำเดิม เมื่อเพ่มิ แลว้ ความหมายคงเดิมหรือหมายถงึ พวก หรือหมู่ เชน่ คชาชาติ มนุษยชาติ. (ป. ส.).[ชาด ชาดต]ิ น. ประเทศ ประชาชนท่ีเป็นพลเมอื งของประเทศ กลมุ่ ชนที่มี ความร้สู กึ ในเรื่องเช้ือชาติ ศาสนา ภาษา ประวตั ศิ าสตรค์ วามเป็นมา ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรมอย่างเดียวกนั หรอื อยู่ ในปกครองรัฐบาลเดยี วกนั ประชาชาติ กว็ ่า.[ชาด ชาติ ชาดติ] น. รส เชน่ ไมเ่ ป็นรสไมเ่ ป็นชาติ.[ชาด ชาติ ชาดติ] น. รัฐศาสตร์ กำหนดไว้ว่าชาตติ ้องมอี งค์ประกอบอย่างนอ้ ย ๔ ประการ คือ 1.ประชากร 2.ดนิ แดน 3.รฐั บาล 4.อ านาจอธิปไตย (ช ำนำญ จนั ทร์เรืองนักวิชำกำรทำงกฎหมำย) คำวา่ รฐั ชาติ และประเทศ (state, nation and country) เรามักจะใช้สลับสับเปลี่ยนปะปนกัน ไปมาอยเู่ สมอ ท้งั ๆ ที่คำวา่ รฐั ชาติ และประเทศ มีความหมายทางรัฐศาสตรท์ คี่ ่อนข้างจะแตกต่างกนั

41 รฐั (state) ในทางวิชาการดา้ นรัฐศาสตรก์ ำหนดไว้ว่าตอ้ งมอี งคป์ ระกอบอย่างน้อย ๔ ประการ คอื ประชากร ดนิ แดน รัฐบาลและอำนาจอธปิ ไตย ในความหมายของรัฐนน้ั จะเน้นไปทีค่ วามเป็นอนั หน่งึ อันเดียวกนั ทางการเมอื งหมายความวา่ ประชาชนอย่ภู ายใตร้ ะบบการเมอื งและอธปิ ไตยเดียวกัน รวมทงั้ การมีเอกราชเต็มท่ี รัฐจะมีสถานะของตนเองในความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ เพราะการทีจ่ ะเป็นรัฐๆ หนึ่งข้ึนมาไดจ้ ะตอ้ งได้รบั การยอมรบั จากรัฐอื่นๆด้วย ฉะนนั้ รฐั จึงสูญสลายหรอื เกดิ ใหมไ่ ด้ไมย่ ากนกั เช่น สงิ คโปร์ หรอื อสิ ราเอล แม้กระทั่งติมอร์ตะวันออกก็เพิง่ ก่อตัง้ เปน็ รฐั มาเม่อื ไปไม่กีป่ ีมาน้เี องการทจี่ ะ พจิ ารณาว่าอยา่ งไรเป็นรฐั หรือไม่ จำนวนประชากรหรือขนาดพื้นท่ีมิใช่สิ่งสำคญั นครรฐั วาติกนั มเี น้ือท่ี เพยี ง ๐.๔ ตารางกโิ ลเมตร ประชากรพนั กวา่ คนกม็ สี ภาพเป็นรัฐ สหภาพโซเวียตเคยเป็นรัฐใหญท่ ี่สุดมี ดินแดน ๒๒ ลา้ นตารางกโิ ลเมตร หรอื สหรัฐอเมริกามพี นื้ ทปี่ ระมาณ ๙.๕ ลา้ นตารางกโิ ลเมตร ก็เป็นรฐั เชน่ เดียวกันกบั นครรฐั วาตกิ ัน หรอื รัฐติมอร์ตะวันออก หรือแมก้ ระทงั่ สิงคโปร์ที่เป็นเกาะเล็กนิดเดียว ชาติ (nation) นนั้ จะเนน้ ไปท่คี วามผูกพันกนั ทางวฒั นธรรม ความผูกพนั กนั ในทางเชือ้ ชาติ (race)หรอื สายเลอื ด เผ่าพันธุ์ ประวตั ศิ าสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา หรอื การยดึ หลักประเพณรี ่วมกัน ดว้ ย เหตุน้ชี าติจึงไม่สญู สลายไปงา่ ยๆ ดงั เชน่ ความเป็นรัฐ ตวั อย่างใกลต้ วั ก็คือแม้วา่ จะไมม่ ีรฐั มอญปรากฏบน แผนที่โลก แตใ่ นความเปน็ จรงิ \"ชาตมิ อญ\" ยังคงอยทู่ ้งั ในพม่า หรือแมก้ ระทั่งในประเทศไทย คำวา่ ชาติน้ี เองมักจะเป็นต้นเหตุของปญั หา เพราะแตล่ ะชาติก็อยากเป็นใหญ่ แต่ละชาติกอ็ ยากสร้างรัฐ ทำให้เกดิ ลทั ธิ ชาตนิ ยิ ม และในหลายๆ คร้งั น าไปสูส่ งครามกลางเมือง ประเทศ (country) สว่ นคำว่าประเทศนนั้ มคี วามหมายเน้นหนักไปในดา้ นดนิ แดน ดงั น้นั ประเทศจึงเปน็ แหลง่ รวมของชาติ และกอ่ ให้เกิดรัฐข้ึน ตวั อย่างความแตกตา่ งระหว่างรฐั กับประเทศที่ เห็นชดั กค็ ือไต้หวนั ซึ่งเมือ่ ดูองคป์ ระกอบตา่ งๆ แล้วไต้หวนั มีประชากร ดินแดน และรฐั บาล แต่ขาด อำนาจอธปิ ไตยภายนอกซ่งึ กค็ อื การยอมรับจากรฐั อื่น ฉะนั้น ในเทางรฐั ศาสตร์แลว้ ไต้หวนั จึงอยสู่ ถานะท่ี มิใช่เป็นรฐั แต่มีสภาพเปน็ ประเทศ แม้ว่าจนี จะถือวา่ ไต้หวันเปน็ เพยี งมณฑลหนง่ึ ของจีนเทา่ น้ันก็ตาม 4.1 พฒั นาการ(โดยยอ่ )การสรา้ งชาตอิ เมริกาก่อนท่ีประเทศสหรฐั อเมรกิ า (รวมถึงอาณานคิ ม ก่อนหนา้ น้ัน)จะถกู ก่อตง้ั ขน้ึ พนื้ ที่ทั้งหมดของสหรัฐฯในปจั จบุ ันเดมิ เป็นทอี ยู่ อาศัยสำหรบั ชนพนื้ เมืองชาว อเมริกนั มาก่อนเปน็ เวลาถึง1 5,000 ปี จนกระทงั่ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 16 ได้มกี ารสำรวจบกุ เบิกและตัง้ ถิ่น ฐานของชาวยโุ รปเรมิ่ ต้นขึน้ ราชอาณาจกั รองั กฤษ ได้ทำการกอ่ ตั้งอาณานคิ มใหมแ่ ละเขา้ ควบคมุ อาณา นิคมท่กี ่อตัง้ มากอ่ นอืน่ ๆ จนกระทง่ั ในทส่ี ุด หลังจากทถ่ี กู รัฐบาลตวั แทนจากเกาะบริเดน ปกครองมาเปน็ เวลารอ้ ยกว่าปี

42 อาณานคิ มท่ีตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของอังกฤษจำนวน 13 อาณานคิ ม ได้ท าการประกาศ อิสรภาพในวนั ที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.1776 (พ.ศ.2319) ท าใหเ้ กดิ สงครามปฏิวตั ิอเมริกา ข้ึน และแล้ว สงครามก็ส้นิ สดุ ลงใน ค.ศ. 1783(พ.ศ.2326) โดยชัยชนะเปน็ ของอดตี อาณานคิ ม เม่อื ราชอาณาจกั ร องั กฤษยอมรับอดตี ชนะเป็นของอดีตอาณานคิ ม ทีอ่ งั กฤษเคยปกครองมากอ่ นให้เปน็ ประเทศใหม่ ต้งั แต่นั้นมาประเทศกอ่ ตัง้ ใหม่นั้นถกู เรยี กว่า\"สหรฐั อเมรกิ า\" ก็แผข่ ยายอาณาเขตของตนเองจาก 13 มลรัฐไปถงึ 50 มลรัฐกับอีกหนึ่งเขตปกครองกลางรวมถึงดินแดนภายใตก้ ารปกครองอีกหลายแหง่ อย่าง ที่เป็นอนั ดบั สามของโลก (แต่ในบางแหล่งขอ้ มลู ที่ทำการจดั อนั ดบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี จะอยู่ในอันดับสาม สว่ นสหรัฐจะตกไปอยอู่ นั ดบั สี่ ถา้ ท าการนับจนี ไทเป รวมเขา้ ไปดว้ ย) อีกทงั้ สหรัฐฯ ยงั เป็นประเทศท่มี ีประชากรมากท่สี ดุ เป็นอนั ดับสาม ดว้ ยจ านวนประชากร ถงึ เกอื บ 300 ลา้ นคน ได้มีมลรัฐของสหรฐั อเมริกา 48 มลรัฐ (ซ่งึ มกั จะถกู เรียกวา่ แผ่นดินใหญ่) ตง้ั อยบู่ น ดนิ แดนระหวา่ งแคนาดาและเมก็ ซโิ กสว่ นอแลสกาและฮาวายนั้น ไม่ไดอ้ ยูต่ ดิ กบั รฐั อื่นนอกจากน้ี สหรัฐอเมริกายังมีดิสตริกตอ์ อฟโคลัมเบยี ซง่ึ เป็นเขตปกครองกลางประจ าสมาพนั ธรัฐเปน็ เมอื งหลวง รวมถงึ ดนิ แดนที่อยภู่ ายใต้การปกครองของสหรัฐอเมรกิ าอยู่ท่ัวโลก มลรัฐท้งั 50 มลรัฐของ สหรัฐอเมริกานั้นมสี ทิ ธิในการปกครองตนเองในระดับสงู ภายใต้ระบบสหพันธรฐั สหพันธรัฐ ทัง้ 13 รฐั กอ่ นการประกาศอิสรภาพ 1.New Hampshire 2.Massachusetts 3.GerryRhode Island 4.Connecticut 5.New York 6.NewJersey 7.Pennsylvania 8. Delaware 9.Maryland 10.Virginia 11.North Carolina 12.South Carolina 13.Georgia สหรัฐอเมริกาไดธ้ ำรงค์การปกครองระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเสรีรัฐธรรมนญู แหง่ สหรัฐอเมรกิ าในวนั ที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1787 (พ.ศ.2330) ตั้งแตน่ น้ั มาสถานะการเมอื งของสหรัฐอเมริกา ยงั คงมัน่ คงมาจวบจนถงึ ทุกวันนี้ โดยสถานะทางเศรษฐกิจและทางทหารของสหรฐั ฯไดเ้ พมิ่ ขนึ้ อย่างคงที่ ตลอดชว่ งกลางถงึ ชว่ งปลายครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 สงครามโลกครงั้ ที่1 และสงครามโลกคร้ังที่ 2 โดยท้ังสอง คร้ังอย่ใู นฝ่ายผู้ชนะ จากนนั้ มาสหรัฐฯก็เปน็ ประเทศอภิมหาอำนาจคกู่ บั สหภาพโซเวียต และทำสงคราม แนวใหม่ท่เี รียกวา่ สงครามเยน็ ตอ่ กนั จนกระทง่ั ในคริสตท์ ศวรรษที่ 90 (พ.ศ.2533-2534)เมอื่ สหภาพโซ เวียตไดล้ ่มสลายลง ทำให้สหรัฐอเมรกิ ากลายเปน็ ประเทศอภมิ หาอำนาจหนง่ึ เดียวมาถึงทกุ วันน้ี

43 ภาษา สหรัฐอเมรกิ าไม่มีการกำหนดภาษาประจำชาตแิ ต่ในทางปฏบิ ัติภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาที่ ใชก้ ันมากท่สี ุดในประเทศ ในบางรฐั ได้มกี ารกำหนดภาษาทางการของรฐั นอกจากนี้ภาษาที่มใี ช้กันมากใน สหรฐั อเมริกาได้แก่ ภาษาสเปน ภาษาจีน ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเวียดนาม และภาษาเยอรมัน ศาสนา ในสหรฐั อเมรกิ าไมม่ ีการกำหนดศาสนาประจำชาติอยา่ งเป็นทางการ อยา่ งไรก็ตามจาก การ สำรวจเรอื่ งศาสนามปี ระมาณ 76.7% (52%ของชาวอเมริกันนบั ถอื ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ 24.5%นกิ ายโรมนั คาทอลิกและนกิ ายอื่นอกี 0.2%) โดยทเี่ หลือ เปน็ ชาวอเมริกันนับถือศาสนาอน่ื หรอื ไม่ นับถอื ศาสนาใดเลย ระบบเศรษฐกจิ ทุนนยิ ม ( Capitalism )เปน็ ระบบเศรษฐกิจทใี่ ห้เอกชนเปน็ ผูด้ ำเนินธุรกจิ โดยท่ี รัฐจะเขา้ แทรกแซงในกจิ การของเอกชนนอ้ ยและสนับสนนุ ให้มกี ารแข่งขนั กนั อย่างเสรีทงั้ ภายในและ ภายนอกประเทศ ระบอบการปกครอง :สหพนั ธรฐั (Federal Republic); แบบประชาธปิ ไตยโดยมีประธานาธบิ ดี เปน็ ประมุขและเปน็ หัวหน้ารฐั บาล (ChiefExecutive) ภายใตร้ ัฐธรรมนญู 4.2 เหตุการณส์ ร้างชาตทิ ่ีสมบูรณ์(อธิปไตยสมบูรณ์) เหตุการณ์สงครามประกาศอสิ รภาพอเมรกิ า (American War of Independence) เป็น เหตุการณท์ ่ีสงผลให้อเมริกาได้ประกาศแยกตัวออกมาจนกลายเปน็ ประเทศสหรัฐอเมริกาในที่สุด โดย ตน้ เหตขุ องการเกดิ สงครามคร้งั น้ีกม็ าจากพนื้ ทีข่ องประเทศอังกฤษ หรือที่เรยี กกนั วา่ 13 อาณานิคม น่ันเอง เริม่ ตน้ มาจากพลเมืองของฝั่งสหรฐั อเมรกิ ามีความหวังว่าจะได้มชี วี ติ ที่ดียิง่ ขึ้น แตค่ วามหวงั ของ พวกเขาก็ต้องมอดดบั ลงเม่ือทางฝ่ังองั กฤษไดม้ นี โยบายเรียกเกบ็ ภาษจี ากพลเมืองในอัตราท่ีสงู มากเกินควร เกนิ ทำให้พลเมืองทวี่ า่ นีเ้ กดิ ความไมพ่ อใจตอ่ สหราชอาณาจักร จนทำให้เกดิ การประทว้ งเกดิ ข้นึ ทีบ่ อสตนั และการประท้วงท่วี า่ กย็ ิ่งจะทวีความรนุ แรงมากขนึ้ มากขนึ้ เร่ือย ๆ และเมื่อฝา่ ยผปู้ ระทว้ งเนือ่ งด้วยมกี ำลัง ท่ีน้อยกว่าจงึ ไมส่ ามารถเอาชนะฝา่ ยอังกฤษได้ จงึ ไดร้ วบรวมกำลงั พลเพื่อรอให้ถึงฤดใู บไม้ร่วงและเรมิ่ เขา้ ปล้นเสบียงของฝา่ ยอังกฤษและพันธมิตรจนแพ้พ่ายไปน่ีสดุ ภายใตก้ ารนำของจอรจ์ วอชิงตนั จึงทำใหก้ าร ประท้วงและการทำสงครามเป็นผลสำเร็จได้ในทส่ี ุด และด้วยเหตนุ ี้เองจึงทำให้ จอรจ์ วอชิงตัน ได้กลายมา เปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรกของสหรฐั อเมริกาเมือ่ ปี ค.ศ. 1781 น่ันเอง หลังจากน้นั เองก็ได้มเี หตกุ ารณส์ ำคัญเกดิ ขึ้นมากมาย เช่นการปฏวิ ตั ิฝรัง่ เศส เปน็ ต้น แนน่ อนวา่ สหรฐั นนั้ ได้ชัยชนะมาก็จรงิ แตก่ ต็ อ้ งแลกมาด้วยก าลงั พลที่สูญเสียไปในสงครามเป็นจำนวนมาก แต่ถงึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook