เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ED 13301 นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละการส่ือสารทางการศกึ ษา Information Technology Innovation and Communication in Education ศรุติ อศั วเรอื งสุข สาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี พ.ศ. 2559
เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า ED 13301 นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละการส่ือสารทางการศกึ ษา Information Technology Innovation and Communication in Education ศรุติ อศั วเรอื งสุข สาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี พ.ศ. 2559
คานา เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนรายวิชา นวัตกรรม เทคโนโลยีและการส่ือสารทางการศึกษา รหัสวิชา ED13301 โดยผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตารา วารสาร แลว้ นามาเขียนเรียบเรยี ง และจัดหมวดหมู่ตามลาดับอย่างต่อเน่ือง มีการสรุปประเด็นสาคัญในแต่ละ บท พร้อมกับมีประเด็นคาถามที่กาหนดข้ึน เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นเครื่องมือในการทบทวนความรู้ในแต่ละ บทเพ่อื หาคาตอบทถี่ ูกต้อง ผู้เขียนขอขอบพระคุณผู้เขียนเอกสาร ตารา และวารสารท่ีได้นาเนื้อหามาเรียบเรียงในการเขียน เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ หากเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้มีข้อบกพร่องประการใด ผู้เขียนยินดี นอ้ มรบั คาแนะนา เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ให้มีความถูกต้อง และสมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น และหากเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้มีคุณงามความดี ผู้เขียนขอให้เป็นเคร่ืองสักการะบูชาพระคุณ ของบดิ า-มารดา และผ้สู อนอาจารย์ นายศรตุ ิ อัศวเรืองสุข ผูเ้ ขยี น
สารบญั หนา้ ท่ี เนอ้ื หา 2 7 แผนบรหิ ารการสอนของรายวิชา 9 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1 เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา 9 บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา 11 11 ความหมายของเทคโนโลยที างการศึกษา 11 ข้อคานงึ ถงึ ในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา 12 ประโยชนข์ องเทคโนโลยตี อ่ การศกึ ษา 13 เทคโนโลยที างการสอน 14 ความหมายของนวตั กรรม 15 แนวความคิดท่ีทาใหเ้ กิดนวตั กรรมทางการศึกษา 15 วธิ ีระบบ 16 การวิเคราะหร์ ะบบ 17 คุณสมบัติของนวตั กรรม 19 ขอ้ สาคัญทีจ่ ะบอกได้ว่านวัตกรรมนั้นใชไ้ ดจ้ ริงและเป็นที่ยอมรบั 20 นวตั กรรมทางการศึกษาที่ควรรู้ 21 สรุปเน้ือหาบทที่ 1 23 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 25 เอกสารอ้างอิง 25 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ บทท่ี 2 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ความหมายของทฤษฎกี ารเรียนรู้
สารบัญ (ต่อ) ซ เนื้อหา หนา้ ที่ หน้าทข่ี องทฤษฎีการเรยี นรู้ 25 ทฤษฎีการเรยี นรู้พฤติกรรมนิยม 26 ทฤษฎกี ลมุ่ ปัญญานยิ ม 34 ทฤษฎกี ลมุ่ คอนสตรัคติวิสต์ 42 แนวทางประยุกตใ์ ช้ทฤษฎกี ารเรียนรู้กับการสอนนวตั กรรม เทคโนโลยแี ละการส่อื สาร 47 สรุปเนอื้ หาบทท่ี 2 49 แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 2 51 เอกสารอา้ งองิ 52 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 ส่อื การเรยี นการสอน 53 บทที่ 3 ส่อื การเรียนการสอน 55 ความหมายของสื่อการเรยี นการสอน 55 คณุ สมบัติของสื่อ 57 คุณคา่ ของสอ่ื การสอน 57 ประเภทของส่ือการเรยี นการสอน 58 61 วัสดุสามมติ แิ ละส่ือราคาเยา 63 วสั ดุกราฟิกทางการศกึ ษา 64 สื่อประเภทกิจกรรม 64 เครอื่ งเสยี งและเครื่องฉายภาพ 65 คอมพวิ เตอร์ 66 หลักการใชส้ ื่อการเรยี นการสอน
สารบญั (ต่อ) ฌ เนอ้ื หา หนา้ ที่ สรปุ เนือ้ หาบทท่ี 3 69 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 3 70 เอกสารอา้ งอิง 71 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 4 วัสดุสามมติ เิ พ่อื การเรียนรู้ 73 บทที่ 4 วัสดุสามมิตเิ พอ่ื การเรียนรู้ 75 ควาหมายของวัสดสุ ามมติ ิ 75 วสั ดสุ ามมติ ิของจริง 75 วัสดสุ ามมิติของตวั อย่าง 77 ห่นุ จาลอง 78 ตู้อนั ตรทัศน์ 80 กระบะทราย 81 สรปุ เน้ือหาบทที่ 4 83 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 4 84 เอกสารอา้ งอิง 85 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5 วสั ดกุ ราฟิกเพ่ือการเรยี นรู้ 87 บทท่ี 5 วัสดุกราฟิกเพอื่ การเรียนรู้ 89 ความหมายของวัสดุกราฟกิ 89 คุณคา่ ของวัสดกุ ราฟิก 90 แผนภูมิ 90 แผนสถิติ 96
สารบัญ (ต่อ) ญ เนอื้ หา หนา้ ที่ แผนภาพ 99 ภาพโฆษณา 101 แผนที่ 104 การผลิตวัสดกุ ราฟิก 104 สรุปเนอื้ หาบทท่ี 5 105 แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 5 106 เอกสารอ้างอิง 107 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 6 เครื่องขยายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 109 บทท่ี 6 เครื่องขยายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั น์ 111 ระบบการขยายเสยี ง 111 เครื่องขยายเสยี ง 113 ลาโพง 114 ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา 115 วิทยกุ ระจายเสียง 117 โทรทศั น์ 118 สรปุ เน้อื หาบทที่ 6 120 แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 6 121 เอกสารอา้ งอิง 122 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 7 สื่อกิจกรรม 123 บทท่ี 7 สอ่ื กิจกรรม 125
สารบญั (ต่อ) ฎ เนื้อหา หน้าที่ นาฎการ 125 การสาธิต 127 การจดั นิทรรศการ 129 การใชท้ รัพยากรชมุ ชน 132 สรปุ เน้อื หาบทที่ 7 134 แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 7 135 เอกสารอ้างองิ 136 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 8 มลั ตมิ เี ดียเพื่อการเรียนรู้ 137 บทท่ี 8 มลั ติมีเดยี เพ่ือการเรียนรู้ 139 ความหมายของมลั ติมเี ดยี เพือ่ การเรยี นรู้ 139 ความสาคญั ของมัลตมิ ีเดียเพื่อการเรียนรู้ 140 คุณลักษณะสาคัญของมลั ตมิ ีเดียเพ่ือการเรียนรู้ 141 ลกั ษณะของบทเรยี นมัลติมีเดียเพ่อื การเรียนรูท้ ่ีดี 142 ข้อจากดั ของบทเรยี นมัลตมิ ีเดียเพ่อื การเรียนรู้ 144 การใช้มลั ติมีเดียเพื่อการนาเสนอเป็นกลุ่มใหญ่ 145 การใชม้ ลั ตมิ ีเดียเพื่อการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองเปน็ รายบุคคล 146 รูปแบบของมลั ตมิ ีเดียเพ่ือการเรยี นรู้ 147 สรุปเนอื้ หาบทที่ 8 152 แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 8 153 เอกสารอ้างองิ 154
สารบัญ (ต่อ) ฏ เน้ือหา หน้าที่ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 9 การออกแบบส่ือมลั ตมิ ีเดียเพื่อการเรียนรู้ 155 บทที่ 9 การออกแบบสื่อการเรยี นการสอนมลั ติมีเดีย 157 157 หลกั การออกแบบเนื้อหา 157 การเตรียมเน้ือหา 158 การออกแบบเนือ้ หาประเภทตา่ ง ๆ 159 การออกแบบข้อคาถามสาหรับการประเมิน 160 165 หลักการออกแบบการเรียนการสอน 168 หลกั การออกแบบหน้าจอพื้นฐาน 169 สรปุ เนอ้ื หาบทท่ี 9 170 แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 9 171 เอกสารอ้างองิ 174 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 10 พน้ื ฐานการใชโ้ ปรแกรม Adobe Captivate 174 บทท่ี 10 พ้ืนฐานการใช้โปรแกรม อะโดบี แคปติเวท 175 หลกั การพ้นื ฐาน 179 หนา้ จอและเมนู 180 การสร้างสไลด์ ใหม่ 181 การเพิ่มข้อความ 181 การเพ่ิมภาพ 182 การสร้างภาพโรลโอเวอร์ (Rollover Image) การใช้เอฟเฟค (Effect)
สารบญั (ตอ่ ) ฐ เนอ้ื หา หนา้ ที่ ปมุ กด 184 การใช้เสยี งในโปรแกรม อะโดบี แคปตเิ วท 185 การใชว้ ีดโี อในโปรแกรมอะโดบี แคปตเิ วท 188 การสรา้ งข้อสอบ 188 การสง่ ออก (export) 190 สรปุ เน้ือหาบทที่ 10 192 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 10 193 เอกสารอา้ งอิง 194 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 11 การประเมนิ และปรับปรงุ ส่ือ 196 บทท่ี 11 การประเมินและปรับปรุงสื่อ 198 การประเมินคณุ ภาพส่อื โดยผู้เช่ยี วชาญ 198 การทดลองใชส้ ือ่ กับผู้เรยี น 199 การปรับปรงุ แกไ้ ขสอื่ 201 ตัวอย่างแบบประเมนิ สื่อมลั ติมเี ดยี เพ่ือการเรียนรู้ 202 ตัวอยา่ งของแบบประเมนิ สื่อมลั ตมิ ีเดยี เพื่อการเรยี นรู้ 202 สรุปเนื้อหาบทท่ี 11 204 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 11 205 เอกสารอ้างองิ 206 บรรณานกุ รม 207
สารบัญตาราง หนา้ ท่ี ตารางท่ี 48 148 ตารางที่ 1 ตารางเปรยี บเทียบทฤษฎกี ารเรียนรู้แตล่ ะชนิด 188 ตารางที่ 2 ตารางเปรยี บเทียบขอ้ ดีขอ้ เสยี ของออฟไลนม์ ัลตมิ ีเดียและออนไลนม์ ลั ติมเี ดีย ตารางท่ี 3 ตารางเปรียบเทียบการใสไ่ ฟลว์ ีดโี อและไฟล์แฟรช
สารบญั ภาพ หนา้ ท่ี ภาพที่ 15 60 ภาพท่ี 1 วิธรี ะบบ (System Approach) 76 ภาพท่ี 2 กรวยประสบการณ์ของเอดการ์ เดล 76 ภาพท่ี 3 ตวั อยา่ งงภาพของจริงตามสภาพ 78 ภาพท่ี 4 ภาพตัวอย่างของจริงแปรสภาพ 80 ภาพท่ี 5 ตัวอยา่ งวหนุ่ จาลอง 82 ภาพที่ 6 ภาพตู้อันตรทัศน์ 91 ภาพท่ี 7 กระบะทราย 91 ภาพที่ 8 แผนภูมติ น้ ไม้ 92 ภาพที่ 9 แผนภาพสายธาร 92 ภาพท่ี 10 แผนภมู แิ บบตอ่ เน่ือง 93 ภาพที่ 11 แผนภูมแิ บบองค์กร 93 ภาพท่ี 12 แผนภมู เิ ปรียบเทียบ 94 ภาพท่ี 13 แผนภมู ิตาราง 94 ภาพที่ 14 แผนภูมิแบบวิวฒั นาการ 96 ภาพท่ี 15 แผนภมู ิอธบิ ายภาพ 97 ภาพที่ 16 แผนสถิติแบบเสน้ 97 ภาพที่ 17 แผนสถติ ิแบบแท่ง 98 ภาพท่ี 18 แผนสถติ ิแบบวงกลม 98 ภาพท่ี 19 แผนสถติ ิแบบพื้นที่ 100 ภาพท่ี 20 แผนสถติ ิแบบรูปภาพ 100 ภาพที่ 21 แผนภาพบล็อก 101 ภาพที่ 22 แผนภาพภาพ 102 ภาพที่ 23 แผนผังไดอะแกรม ภาพที่ 24 ตัวอย่างภาพโปสเตอร์
สารบญั ภาพ (ต่อ) ณ ภาพท่ี หน้าที่ ภาพท่ี 25 ไมโครโฟน 111 ภาพท่ี 26 ลาโพง 112 ภาพท่ี 27 หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา 115 ภาพท่ี 28 โทรทัศน์ 118 ภาพที่ 29 ภาพหน้าจอและเมนู 175 ภาพที่ 30 ภาพเมนู 175 ภาพที่ 31 แถบเครื่องมือ 176 ภาพท่ี 32 ฟิล์มภาพยนตร์ 178 ภาพท่ี 33 หนา้ ตา่ งเอกสาร 178 ภาพท่ี 34 ไทม์ไลน์ 179 ภาพที่ 35 แถบคณุ สมบัติ 180 ภาพท่ี 36 แถบการเคลือ่ นไหว 182 ภาพที่ 37 แถบเอฟเฟค 183 ภาพท่ี 38 การเลือกเอฟเฟค 183 ภาพที่ 39 หน้าจอการเพิม่ ข้อความเคลือ่ นไหว 184 ภาพท่ี 40 แถบใส่เสียง 186 ภาพที่ 41 หน้าการเลือกแบบการใสเ่ สยี ง 187 ภาพที่ 42 แถบเสยี ง 188 ภาพที่ 43 หนา้ ต่างแบบคาถาม 189 ภาพที่ 44 ตัวอยา่ งคาถาม 190 ภาพท่ี 45 หนา้ ต่างการส่งออกไฟล์แบบแฟรช 191 ภาพที่ 46 หนา้ ตา่ งการส่งออกไฟล์แบบอีเอ็กอี 192
แผนบริหารการสอนของรายวิชา รหสั วิชา ED13301 ชอ่ื รายวชิ า นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละการสอ่ื สารทางการศึกษา (Information Technology Innovation and Communication in Education) 3(2-2-5) คาอธบิ ายรายวิชา (Course Description) แนวคิดทฤษฎี หลกั การ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบ การประยุกตใ์ ช้ การพัฒนาโดยใช้วธิ รี ะบบ ในการจัดการเรียนรู้ การประเมนิ สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่อื สารทางการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ และเครือข่ายการเรยี นรู้ การนาผลไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิใหเ้ กิดผลจรงิ วัตถุประสงคท์ ่ัวไป เพื่อให้ผูเ้ รียนมีความสามารถดังน้ี 1. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ ความหมาย หลกั การและทฤษฎี ที่เก่ียวกบั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ทางการศกึ ษา 2. เพื่อให้วเิ คราะห์ อธิบาย จาแนกประเภท และความสาคัญของส่ือเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมตา่ ง ๆ 3. เพอื่ ให้เลือกใช้ และประเมนิ ส่ือเทคโนโลยีและนวตั กรรมทเ่ี หมาะสม สาหรบั การเรยี นรู้ และการ เรยี นการสอนในยุคปัจจุบัน 4. เพอื่ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมการฝกึ ฝนและพฒั นาทักษะเบื้องตน้ ในการสร้างและการใช้สอ่ื มัลตมิ เี ดยี พน้ื ฐานเพ่ือการเรียน และการนาเสนอในโอกาสตา่ ง ๆ 5. เพ่ือให้ประยุกต์ ส่อื เทคโนโลยีและนวตั กรรมไปใชเ้ พื่อการเรียนการสอนในโรงเรียน
3 แผนการสอน จานวนชม. กจิ กรรม กาหนดการ เนอื้ หา สัปดาห์ที่ 4 เนน้ บรรยายเนอ้ื หาในแตล่ ะหัวข้อ ร่วมอภิปรายกันกับ บทที่ 1 1 เทคโนโลยแี ละ ผเู้ รียน พรอ้ มใหย้ กตัวอยา่ ง และให้ตอบคาถามท้ายคาบ นวตั กรรมทาง การศกึ ษา บทท่ี 2 ทฤษฎี 4 เน้นบรรยาย รว่ มอภิปรายยกตวั อยา่ งและให้ตอบคาถาม สัปดาหท์ ี่ การเรียนรู้ ทา้ ยคาบ 2 บทท่ี 3 สอื่ การ 4 เนน้ บรรยายเน้ือหาในแตล่ ะหัวขอ้ รว่ มอภปิ รายกันกับ สปั ดาหท์ ี่ เรยี นการสอน ผเู้ รียน พรอ้ มให้ยกตัวอยา่ ง และให้ตอบคาถามทา้ ยคาบ 3 บทท่ี 4 วัสดสุ าม 2 ให้ผู้เรียนนาเสนอหนา้ ชั้นเรียนโดยหัวขอ้ ผู้สอนจะเปน็ คน สัปดาหท์ ี่ มติ เิ พ่ือการเรยี นรู้ แนะนาให้ และร่วมอภปิ รายกับเพื่อน ๆ ในชัน้ เรยี น พร้อม 4 ยกตัวอยา่ ง บทท่ี 5 วสั ดุ 2 ใหผ้ ู้เรยี นนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี นโดยหวั ข้อผสู้ อนจะเปน็ คน สปั ดาห์ที่ กราฟิกเพื่อการ แนะนาให้ และร่วมอภปิ รายกับเพอ่ื น ๆ ในช้ันเรยี น พรอ้ ม 4 เรียนรู้ ยกตัวอย่าง บทท่ี 6 เครือ่ ง 2 ให้ผเู้ รียนนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี นโดยหวั ขอ้ ผสู้ อนจะเปน็ คน สัปดาห์ที่ ขยายเสยี งและ แนะนาให้ และร่วมอภปิ รายกับเพอ่ื น ๆ ในช้ันเรยี น พร้อม 5 วิทยโุ ทรทศั น์ ยกตวั อยา่ ง บทท่ี 7 สอ่ื กจิ กรรม 2 ให้ผู้เรยี นนาเสนอหนา้ ชั้นเรียนโดยหวั ขอ้ ผสู้ อนจะเป็นคน สัปดาห์ท่ี แนะนาให้ และร่วมอภปิ รายกับเพือ่ น ๆ ในชน้ั เรยี น พร้อม 5 ยกตวั อย่าง
4 เนื้อหา จานวนชม. กิจกรรม กาหนดการ บทที่ 8 สปั ดาห์ที่ มลั ตมิ ีเดยี เพื่อ 4 เน้นบรรยายเนอื้ หาในแตล่ ะหัวข้อ ร่วมอภิปรายกันกับ การเรียนรู้ 6-7 ผู้เรียน พรอ้ มใหย้ กตัวอย่าง และให้ตอบคาถามท้ายคาบ สอบกลางภาค 2 สปั ดาห์ท่ี 8 บทท่ี 9 การ 8 ใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ออกแบบส่ือการเรยี นรมู้ ัลตมิ เี ดียของ สัปดาห์ที่ ออกแบบสอ่ื การ สาขาวชิ าทตี่ นสงั กัดโดยมีผู้สอนเปน็ ผู้แนะนาและให้ 9-10 เรียนร้มู ัลติมีเดยี ความรู้พน้ื ฐาน และร่วมอภปิ รายส่งิ ทผี่ เู้ รียนได้ออกมา แบบมา สัปดาห์ที่ บทท่ี 10 พนื้ ฐาน 11-12 การใชโ้ ปรแกรม 8 สาธติ การลงโปรแกรม ทาความรู้จกั เคร่ืองมือของ Adobe โปรแกรมทาสอื่ มัลตมิ เี ดียเบื้องตน้ Captivate - ลงมือสร้างส่ือ 8 แนะนา สอบถามความคิดเห็นและเนน้ ทากิจกรรมเพ่ือ สปั ดาห์ท่ี การเรยี นรู้ตามท่ี ฝึกหดั การใชโ้ ปรแกรม Adobe Captivate ใหม้ คี วาม 13-14 ออกแบบไว้ ชานาญย่งิ ข้นึ - นาเสนอสอื่ ที่ 4 ร่วมกันวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สอื่ ทผี่ เู้ รยี นไดท้ าขน้ึ มา สปั ดาห์ที่ ผลิต รวมถึง 15 ประเมินส่อื ท่ีสรา้ ง ขึน้ มา สอบปลายภาค 2 สปั ดาหท์ ่ี 16
5 วิธีการสอน 1. บรรยายเนอ้ื หาในแตล่ ะหัวข้อ พรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ 2. ศกึ ษาความรู้จากเอกสารประกอบการสอน 3. ผู้เรยี นและผูส้ อนสรุปเน้อื หาร่วมกนั 4. ทาแบบปฏิบัติการทา้ ยบทเพ่ือทบทวนบทเรียน 5. ผ้เู รยี นถามข้อสงสยั จากผสู้ อน 6. ผสู้ อนทาการซักถามผ้เู รียน สือ่ การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ านวตั กรรม เทคโนโลยแี ละการส่อื สารทางการศึกษา 2. โปรแกรม Adobe Captivate 3. คอมพวิ เตอร์และโปรแกรม ไมโครซอฟต์ เพาเวอร์พอยท์ (Microsoft Power point) 4. แบบฝึกหัดทา้ ยบท แหล่งการเรยี นรู้ 1. เวบ็ ไซต์ www.google.com 2. เวบ็ ไซต์ www.youtube.com การวัดผล 10 คะแนน คะแนนระหว่างภาค 10 คะแนน 10 คะแนน 1. แบบฝึกหัด 20 คะแนน 2. เวลาเขา้ เรียน 20 คะแนน 3. การนาเสนอผลงาน 30 คะแนน 4. ผลงานสอ่ื มัลตมิ เี ดียคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 100 คะแนน 5. คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบปลายภาค รวม
6 มีการประเมินผล ใชแ้ บบองิ เกณฑ์ ดังน้ี คะแนน ระดับคะแนน หมายถึง ค่าระดับคะแนน ดีเยยี่ ม 4.0 80-100 A ดมี าก 3.5 3.0 75-79 B+ ดี 2.5 ดพี อใช้ 2.0 70-74 B พอใช้ 1.5 อ่อน 1.0 65-69 C+ อ่อนมาก 0.0 ควรปรบั ปรงุ 60-65 C 55-59 D+ 50-54 D <49 F เอกสารประกอบการสอน ศรตุ ิ อัศวเรืองสขุ . (2559). นวตั กรรม เทคโนโลยีและการส่อื สารทางการศกึ ษา. อุดรธานี : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี. เอกสารอา่ นประกอบ กรมวิชาการ. (2544). หลกั สูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน. กรุงเทพฯ : องคก์ ารรบั ส่งสินคา้ และพัสดุภณั ฑ์. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). คมู่ ือพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ : เอกสารพฒั นาตนเอง ชดุ การจัดทาหลักสตู ร สถานศกึ ษา. ม.ป.ท : กระทรวง, ม.ป.ป. กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย และ บงั อร เลิศบารุงชยั . (2556). สรา้ งส่อื การสอนมลั ติมเี ดีย ดว้ ย Adobe Captivate 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ โปรวิชน่ั . กฤษณพงศ์ เลศิ บารงุ . เอกสารประกอบการบรรยาย สรา้ งสรรค์สื่อการเรียนการสอนมัลตมิ เี ดยี Adobe Captivate 7. กิดานันท์ มลทิ อง. (2544). เทคโนโลยที างการศึกษาและนวตั กรรม. กรงุ เทพฯ : จุฬาลกรณม์ หาวทิ ยาลัย. กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพอื่ การสื่อสาร. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ณฐั กร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลตมิ ีเดียเพ่อื การเรียนรู้. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพแ์ ห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สกุ รี รอดโพธ์ทิ อง. (2546). เอกสารคาสอน วิชา คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer-assisted Instruction : CAI). กรงุ เทพมหาคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา หัวเร่อื งการเรียนรู้ 1. ความหมายของเทคโนโลยที างการศึกษา 2. ขอ้ คานึงถึงในการนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการศกึ ษา 3. ประโยชน์ของเทคโนโลยตี ่อการศึกษา 4. เทคโนโลยที างการสอน 5. ความหมายนวตั กรรมทางการศึกษา 6. แนวความคิดท่ีทาใหเ้ กิดนวตั กรรมทางการศึกษา 7. วิธีระบบ 8. การวิเคราะหร์ ะบบ 9. คณุ สมบตั ิของนวตั กรรม 10.ข้อสาคัญท่ีจะบอกได้วา่ นวตั กรรมนน้ั ใช้ไดจ้ รงิ และเปน็ ทย่ี อมรบั 11.นวัตกรรมทางการศึกษาที่ควรรู้ 12.สรุปเน้อื หาบทท่ี 1 13.แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 1 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ เมอ่ื นักศกึ ษาเรยี นจบบทเรยี นแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. บอกความหมาย ประเภท คุณค่า ประโยชน์ ความสาคัญของเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมได้ 2. แสดงความเห็นเก่ียวกบั สถานการณ์ในปัจจุบนั ของเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การบรรยาย 2. การวิเคราะห์จากเหตุการณใ์ นปัจจุบนั 3. การอภปิ ราย ถาม-ตอบ และสะท้อนความคิดเหน็
8 สื่อการเรียนรู้ 1. สไลด์ โปรแกรม ไมโครซอฟต์ เพาเวอร์พอยท์ (Microsoft Power point) เรือ่ งเทคโนโลยีและ นวตั กรรมทางการศึกษา 2. เอกสารประกอบการสอน บทที่ 1 เทคโนโลยแี ละเทคโนโลยีทางการศึกษา แหลง่ การเรียนรู้ 1. สานกั วิทยบรกิ าร มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี 2. เวบ็ ไซต์ https://thaimooc.org/courses/course-v1:KKU-MOOC+kku013+2017_T1/about การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การสังเกตความสนใจ 2. การมีส่วนรว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ 3. การอภิปราย ถาม-ตอบ และการสะท้อนความคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ 4. การตอบคาถามจากแบบฝึกหัดท้ายบท จุดประสงค์ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1. สามารถบอกความหมาย แบบฝึกหดั ท้ายบท ทาได้ถกู ต้องไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 ประเภท คุณค่า ประโยชน์ ความสาคญั ของเทคโนโลยแี ละ แบบฝึกหัดทา้ ยบท ทาได้ถูกต้องไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 นวตั กรรมได้ 2. สามารถแสดงความเหน็ สถานการณ์ในปจั จุบนั ของเทคโนลี ยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา
บทท่ี 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เทคโนโลยีได้มีวิวัฒนาการพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง เปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย ไปพร้อม ๆ กับวิถีชีวิต ของประชาชนเพราะเทคโนโลยีเริ่มมีส่วนเก่ียวข้องกับชีวิตประจาวันแทบจะเรียกได้ว่าเป็นปัจจัยที่ 5 เลย ทีเดียว อีกทั้งยังมีแนวโน้มท่ีจะพัฒนาต่อไปเรื่อย ๆ และไม่มีทีท่าว่าจะหยุดเหมือนกับโลกของเราไม่ได้หยุด หมุนแต่เพียงเทา่ นี้ ในระยะเวลาสองทศวรรษทผ่ี า่ นมานี้ เทคโนโลยีได้มีบทบาทในวงการศึกษาของไทยเป็นอย่างมาก ถูก พัฒนา ดัดแปลงและพยายามนาความคิดวิธีการใหม่ ๆ หรือท่ีเรียกว่า “นวัตกรรมทางการศึกษา” มาใช้เพื่อ พัฒนาทาให้ผลลัพธ์ทางการศึกษาในหลาย ๆ ด้านดีขึ้น โดยนาใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมมาพัฒนาดัดแปลงโดย ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ศึกษาคน้ ควา้ และทดลอง เพื่อการออกเผยแพร่ใช้กลายเป็นเทคโนโลยีเปล่ียนไปตาม ยคุ ตามสมยั นนั้ เอง ความหมายของเทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยี (Technology) ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 คือ วทิ ยาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีมาจาก คาว่า Techno ภาษาไทยแปลว่าวธิ ีการ หรือการสร้าง ส่วนคาวา่ Logy มีความหมายว่าความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ หรือการศึกษา เกี่ยวกับความเรื่องหรือส่ิงของท่ีต้องการศึกษา การกาหนดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ การ จัดการความรู้ การประเมินผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสมกับโครงสร้างพน้ื ฐานและความพรอ้ มของผู้เรียน เอ็ดก้า เดล (Edgar Dale, 1969) กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาไม่ใช่เคร่ืองมือ แต่เป็นแผนการ หรอื วธิ กี ารทางานอยา่ งเป็นระบบให้บรรลุผลตามแผนการ เจมส์ ดี ฟินส์ (James D.Finn, 1972) ได้กล่าวไว้ว่า เทคโนโลยีมีความหมายลึกซ้ึงย่ิงกว่าการ ประดิษฐ์ เคร่ืองมือ เครื่องยนต์กลไกตต่าง ๆ แต่หมายถึง กระบวนการ แนวความคิด แนวทาง หรือวิธีการใน การคิดในการทาส่งิ ใดส่งิ หน่ึง จากแนวคิดต่าง ๆ อาจนามาสรุปความหมายของคาว่า “เทคโนโลยี” ได้ว่า การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนการใช้วิทยาศาสตร์มาประยุกต์และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทาง ปฏิบตั ิ
10 ในปัจจุบันได้มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาในหลายวงการและด้านต่าง ๆ รวมทั้งทางด้าน การศึกษา เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในด้านน้ีจนถึงขั้นท่ี เรียกได้ว่าขาดไม่ได้ในการนามาใช้พัฒนา ระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึนในหลาย ๆ ส่วนของการศึกษา ซ่ึงการศึกษาเป็นสิ่งสาคัญในการ พัฒนาประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการให้ความหมายของ เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational technology) ไว้หลากหลายความหมายดังต่อไปน้ี สันทัด ภิบาลสขุ และพิมพใ์ จ ภบิ าลสขุ (2525) ให้ความหมายของ เทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ว่า การ นาเอาความรู้ แนวคิด กระบวนการ ตลอดจนวัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาการศึกษาให้ต่อไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2526) นิยามไว้ว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นระบบการประยุกต์การผลิตทาง วทิ ยาศาสตร์มาใช้กบั การศกึ ษา ในการนาเทคโนโลยที างการศึกษามาปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการศึกษา ครอบคลมุ 3 ด้านคือ 1. วสั ดุ (Materials หรือ Software) เป็นการนาอุปกรณ์มาประยุกต์ใช้ในการศึกษา เช่น ส่ิงที่มี การผพุ งั ส้ินเปลืองต่าง ๆ อาทิ ชอล์ค ดนิ สอ กระดาษ ฟลิ ์ม เป็นตน้ 2. อปุ กรณ์หรือเคร่ืองมือ (Devices หรือ Hardware) เป็นการผลิตวัสดุ การนาเอาวัสดุมาใช้ใน การสอน คิดการสอนแบบใหม่ ๆ เช่น ส่ิงที่มีความคงทนถาวร อาทิ กระดานดา เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เคร่ือง ฉายแผ่นใส เครอ่ื งบันทึกภาพ ฯลฯ เป็นตน้ 3. วิธีการ (Method or Techniques) เป็นการกระทาต่าง ๆ ท่ีให้เกิดรูปแบบของการศึกษา เชน่ กิจกรรม การสาธิต ทดลองตา่ ง ๆ เป็นต้น คารเ์ ตอร์ วี กดู (Carter V.Good, 1973) ได้กล่าวว่า เทคโนโลยที างการศึกษา คือการนาหลักการทาง วทิ ยาศาสตร์มาประยุกตใ์ ช้ เพ่อื การออกแบบและสง่ เสรมิ ระบบการเรียนการสอน มีวตั ถุประสงค์ทางการศึกษา คือสามารถวดั ได้อยา่ งถกู ตอ้ งแน่นอน มีการยึดผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนมากกว่าที่จะยึดเน้ือหาวิชา มีการ ใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติผ่านการวิเคราะห์และการใช้เคร่ืองมือโสตทัศนูปกรณ์ รวมถึงเทคนิคการสอนโดยใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ สอ่ื การสอนต่าง ๆ ในลักษณะของส่ือประสมและการศึกษาด้วยตนเอง กิดานันท์ มะลิทอง (2544) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่า คือการประยุกต์เอา เทคนคิ วิธกี าร แนวความคดิ วัสดุอปุ กรณ์และส่งิ ต่าง ๆ ท่ีเปน็ เทคโนโลยีมารวมกัน มาใช้ในวงการศกึ ษา จากแนวคิดต่าง ๆ ของเทคโนโลยีทางการศึกษา อาจสรุปได้ว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นสาขาท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการทีม่ กี ารบรู ณาการ แนวคิด เคร่ืองมือ อุปกรณ์และกระบวนการอย่างซับซ้อน โดยการ วิเคราะห์ปญั หา การสร้าง การนาไปใชแ้ ละประเมนิ ผลเพ่อื แก้ปญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการเรยี นรขู้ องมนษุ ย์
11 ข้อคานึงถึงในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา หลกั การท่วั ไปในการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการศึกษามี 3 ประการ (วิวรรธน์ จนั ทรเ์ ทพย์, 2542) ดังนี้ 1. ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) ทางการเรียนการสอน ขณะท่ีนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ จะต้องทาให้เกิด การเรียนรู้เพม่ิ ขึน้ เขา้ ใจมากขนึ้ ตามกระบวนการตามทไ่ี ด้วางแผนการสอนเอาไว้ 2. ประสิทธิผล (Productivity) ทางการเรียนการสอน หลังจากการเรียนการสอนเสร็จส้ินลงไปแล้ว ผ้เู รียนสามารถนาความรู้ความเข้าใจท่ไี ด้รบั นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริงได้ 3. ประหยัด (Economy) การนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการสอน ส่ิงที่ตามมาก็คือค่าใช้จ่ายท่ีได้ใช้ เทคโนโลยี ไมว่ า่ จะเปน็ เงนิ เวลา แรงงาน ในการทางาน ดงั นั้นจาเปน็ อยา่ งย่ิงที่จะต้องลดต้นทุนเหล่าน้ีเพ่ือให้ ต้นทนุ ในการใช้เทคโนโลยีใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ ประโยชน์ของเทคโนโลยีต่อการศึกษา วรวิทย์ นเิ ทศศลิ ป์ (2551) ได้บอกประโยชนข์ องเทคโนโลยตี ่อการศกึ ษาไว้ดงั น้ี 1. ช่วยส่งเสรมิ ให้คณุ ภาพการเรียนรู้ ผู้เรยี นมีความเช้าใจในเนอ้ื หาทศี่ ึกษามากขึ้น 2. ช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลทต่ี ้องการศึกษาแกผ่ เู้ รียน 3. ช่วยส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรูด้ ้วยตนเอง หรอื เนน้ ทตี่ ัวผเู้ รยี นเป็นสาคญั 4. ช่วยกระตนุ้ ผ้เู รียนให้มคี วามสนใจในการเรยี นรเู้ พม่ิ มากขึ้น ในรูปแบบใหม่ที่ตัวผู้เรียนสบายใจที่จะ ศกึ ษา 5. ชว่ ยเหลอื เพิม่ โอกาสในการเรียนรู้ เช่น ผ้ทู อี่ ยู่หา่ งไกลชมุ ชน ผู้พกิ าร เปน็ ต้น 6. ชว่ ยอานวยความสะดวกในการการติดต่อส่ือสาร เช่น การประชาสัมพันธ์ การทางานเป็นทีม เป็น ตน้ เทคโนโลยีทางการสอน เทคโนโลยีการสอน เป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การนาเทคโนโลยีมาใช้กับ การเรียนการสอนเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นหน้าท่ีส่วนใหญ่ของเทคโนโลยีทาง การศกึ ษา การเรียนการสอนหรือการทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีต้องใช้เทคนิคและวิธีการ มากมาย แต่ความจรงิ ไมม่ ีเทคนิคหรอื วิธกี ารท่ีดีท่ีสุด ทุกเทคนิคหรือวิธีการล้วนต้องมีปัญหาและต้องได้รับการ พัฒนาต่อ ดังนั้นเราจึงต้องเลือกเทคนิคและวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เนื้อหาวิชา ท่ีแตกต่างกัน
12 ออกไป รวมถึงการเลือกวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ ให้เหมาะสมกับเทคนิค และวิธีการอีกด้วย โดยเน้นให้ผู้เรียน ได้รับความรู้และประสบการณ์มากกว่าการเรียนการสอน ไม่ใช่ให้ผู้เรียนได้แต่ฟังการสอนจากผู้สอน แต่ต้อง สามารถท่จี ะนาความรู้และประสบการณ์มาใชไ้ ด้จริง แนวโน้มของการศึกษาในปัจจุบันเน้นเรียนผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงอย่าง แทนการฟังจากผู้สอน เนื่องจากจานวนผู้เรียนที่มากขึ้น ความรู้ที่ย่ิงนานไปย่ิงมีมากข้ึน วิทยาการใหม่ ๆ ซึ่ง ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้และสามารถนาไปประยุต์ผสมผสานให้เกิดส่ิงใหม่เพ่ือการพัฒนาในอนาคต จึงมีความ จาเปน็ อย่างยง่ิ ทีจ่ ะต้องหาทางใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนร้สู ่ิงตา่ ง ๆ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ โดยใช้เวลาในการเรียนน้อยกวา่ เดิม ถึงแม้การเรียนการสอนท่ีแบบประสบการณ์ตรงหรือการลงมือทาจริง ๆ จะเป็นวิธีที่ทาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด แต่เราไม่สามารถท่ีจะใช้กับผู้เรียนได้ทุกเนื้อหาวิชาเน่ืองจากอาจมีข้อจากัดบางประการ เช่น 1. ตอ้ งลงทุนมาก 2. ต้องใช้เวลานานมาก อาจเป็นหลายวัน หลายปีหรือหลายรอ้ ยปี 3. มีความย่งุ ยากซบั ซอ้ นมาก 4. ความรูบ้ างอยา่ งไม่อาจสัมผัสได้โดยตรง ดังน้ัน เราจึงต้องจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างอ่ืนขึ้นมาแทนเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้คล้าย กับประสบการณ์ตรง เช่น การใช้รูปภาพ หนังสือ แผนภูมิ วิทยุโทรทัศน์ วิธีการอื่น ๆ อีกมากมายเพ่ือให้ผลิต ทางการศกึ ษามีคณุ ภาพสูงสุด การจัดประสบการณ์ในการเรียนการสอน ผู้สอนมักเน้นหนักท่ีการใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นสาคัญ แต่ใน ความเป็นจริง ผู้เรียนมีจิตใจ มีอารมณ์ มีสภาพแวดล้อมไม่คงท่ี จาเป็นจะต้องปรับกระบวนการในการใช้ให้ สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงอยเู่ สมอ วิธีการ กระบวนการต่าง ๆ ท่ีนามาใช้จะต้องเป็นวิทยาศาสตร์ท่ีเชื่อถือ ได้ ซ่ึงกค็ ือ การใชเ้ ทคโนโลยที างการศึกษา ความหมายของนวัตกรรม ในหนังสือประมวลศัพท์บัญญัติวิชาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการได้บัญญัติคาว่า นวัตกรรม ไว้ วา่ มีรากศพั ท์มาจากาภาษาลาตินว่า Innovare แปลว่า to renew หรือ to modify และในภาษาบาลีและสัน สฤต ดังน้ี นว + อตต (บาลี) = ใหม่ + กรม์ (สันสฤต) คือการกระทาปฏิบัติ ความคิด เมื่อนามารวมกันจะ หมายถึงความคิดหรือการกระทาใหม่ ๆ ที่นามาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ (ปรัชญา ใจสะอาด, 2534)
13 เมื่อนาคาว่า นวัตกรรมและการศึกษามารวมกันจะได้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) ซงึ่ หมายถงึ การนาเอาความคดิ หรือวิธีปฏบิ ตั ิใหม่ ๆ มาใช้กับการศกึ ษา ความหมายของนวัตกรรมได้มีผ้นู ยิ ามไวใ้ นด้านตา่ งมากมายหลายความหมาย ดังตวั อยา่ งเช่น มอร์ตัน (Morton, 1971) ให้นิยามของคาว่านวัตกรรมไว้ว่า คือการทาใหม่ข้ึนอีกครั้ง (Renewal) หรือท่ีเรียกว่า การปรับปรุงของเก่าท่ีมีอยู่แล้วให้เป็นของใหม่แล้วเพ่ือการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ๆ นวัตกรรมไม่ใช่การเอาของเก่าทิ้งให้หมด แต่เป็นการปรับปรุงให้มี ศักยภาพมากขึ้น ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533) กล่าวว่า นวัตกรรม หมายถงึ วิธกี ารปฏิบัติใหม่ ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดย อาจจะไดม้ าจากการคดิ คน้ วธิ ีการใหม่ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าที่มีอยู่แล้ว และได้รับการทดลองพัฒนา จนเป็นท่ีเชื่อถือไดแ้ ลว้ วา่ ไดผ้ ลดีในทางปฏบิ ัตทิ าใหร้ ะบบกา้ วไปสู่จุดประสงค์ทตี่ อ้ งการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ บุญเก้ือ ควรหาเวช (2543) กล่าวว่า นวตั กรรมทางการศกึ ษา หมายถงึ การนาเอาสงิ่ ใหม่ ๆ อาจอยู่ใน รูปของความคิดหรอื การกระทา รวมทงั้ ส่ิงประดิษฐ์เข้ามาใช้ในระบบการศึกษาเพ่ือท่ีจะเปล่ียนแปลงส่ิงท่ีมีเดิม อยู่แล้วให้มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น จากความหมายของนวัตกรรมท่ีกล่าวมา สามารถจะนามาสรุปความหมายของคาว่า \"นวัตกรรมทาง การศึกษา\" ได้ว่า เป็นการนาเอาสิ่งใหม่ ๆ ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทารวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ เข้ามาใช้ในระบบการศึกษา โดยมีจุดประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงส่ิงที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยอาศยั หลักการทฤษฎที ไี่ ดผ้ ่านการทดลองวจิ ยั จนเชือ่ ถือได้ นวตั กรรมเป็นจดุ เรม่ิ ต้นของเทคโนโลยี ขยายกค็ ือ ก่อนเป็นเทคโนโลยีได้น้ันต้องเป็นนวัตกรรมมาก่อน นั้นเอง ถ้าเปรยี บเทยี บแล้วก็เหมือนกับตน้ กล้าท่จี ะเจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ ซึ่งเปรียบเทียบได้กับเทคโนโลยี ถ้าตน้ กลา้ ไมเ่ กดิ ต้นไมใ้ หญก่ จ็ ะไม่เกิด ถา้ นวัตกรรมไม่เกิดเทคโนโลยกี จ็ ะไม่เกดิ เช่นกนั แนวความคดิ ท่ีทาให้เกดิ นวัตกรรมทางการศึกษา ปจั จัยสาคัญท่ีมีผลกระทบต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพ้ืนฐานทางการศึกษาท่ีเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นผลทาให้เกิดนวัตกรรมทางการศึกษา พอจะสรุปได้ 4 ประการ คือ (วรวิทย์ นิเทศศิลป์ ,2551) 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) จากปัญหาของคนท่ีแน่นอนไม่เหมือนกันท้ัง ทางด้านร่างกาย จิตใจ การเล้ียงดู และปัจจัยอื่น ๆ อีกนานับประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนใน หลาย ๆ ด้าน ดังน้ันจัดการศึกษาจึงต้องให้ความสาคัญในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น มุ่งจัดการ
14 ศึกษาตามความถนัดความสนใจและความสามารถของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างท่ีเห็นได้เช่น การจัดระบบ หอ้ งเรยี นโดยใชอ้ ายุเปน็ เกณฑบ์ า้ ง ใช้ความสามารถเปน็ เกณฑ์บ้าง ในปัจจุบันได้มีการคิดค้นวิธีใหม่ ๆ เช่นการ ใช้บทเรยี นโปรแกรม เครื่องสอน การสอนเปน็ คณะ เปน็ ตน้ 2. ความพร้อม เมื่อก่อนผู้สอนไม่ได้ใส่ใจกับความพร้อมของเด็กเน่ืองจากความพร้อมเป็นพัฒนาการ ตามธรรมชาติ แต่ในปัจจบุ นั มกี ารวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ช้ีให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็นส่ิงท่ี สร้างขึ้นได้และหากมีการจัดบทเรียนให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่ว่ากันว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเด็กก็สามารถนามาให้ศึกษาได้อย่างง่ายดาย นวัตกรรมท่ีตอบสนองแนวความคิด พื้นฐานน้ี ไดแ้ ก่ ศูนย์การเรียน การจัดระบบหลกั สตู รในโรงเรียน เปน็ ต้น 3. การใช้เวลาเพอ่ื การศกึ ษา แตเ่ ดมิ มาการจัดตารางสอน ส่วนใหญ่จะจัดตามความสะดวกเป็นเกณฑ์ เชน่ ใช้หน่วยเวลาเปน็ ชั่วโมงเทา่ กันทกุ วชิ าทกุ วัน และยังจัดเวลาเรียนเอาไว้ตายตัวเป็นภาคเรียน เป็นปี แต่ใน ปัจจบุ ันไดเ้ นน้ การจัดตารางสอนใหส้ ัมพนั ธ์กบั ลักษณะของแต่ละวชิ าซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วง สั้น ๆ แต่สอนบ่อยครัง้ แล้วแต่ลักษณะของรายวิชานั้น ๆ และการเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะในสถานที่เรียน เท่าน้ัน นวัตกรรมท่ีสนองความคิดอันนี้ได้แก่ การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น มหาวิทยาลัยเปิด บทเรียน สาเร็จรปู การเรยี นทางไปรษณีย์ เปน็ ตน้ 4. ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ความรู้ที่มีเพ่ิมขึ้นจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (ความรู้ในปัจจุบันเกิดจาก อดีตซ่ึงต้องเรียนรู้มากข้ึน)และการเปลี่ยนแปลงของสังคมทาให้คนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมข้ึนมาก แต่การจัดระบบ การศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ จึงจาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพสูงข้ึนทั้ง ในด้านปัจจัยเกี่ยวกบั ตวั ผูเ้ รียนและปจั จัยภายนอก วิธรี ะบบ วิธีระบบ (System Approach) คือ การแสดงภาพโดยรวมของขบวนการอย่างหนึ่งเพื่อจัดระเบียบ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดผล (Output) ต้องอาศัยทรัพยากร คือ ตัวปูอน (Input) และวธิ ีการ (Process) ของการทางานนน้ั ๆ ดงั นนั้ ระบบจงึ มีองคป์ ระกอบ 3 ส่วนได้แก่ 1. ส่ิงท่ีปูอนเข้าไป (Input) หรือทรัพยากรท่ีใช้วัตถุดิบ หมายถึงส่ิงต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้เพ่ือเร่ิม กระบวนการ เช่น ระบบการเรียนการสอนในชั้นเรียน อาจได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียนช้ันเรียน หลักสูตร ตารางสอน วิธกี าร เปน็ ตน้ ถา้ ในเร่ืองของระบบการหายใจไดแ้ ก่ จมูก ปอด กระบงั ลม อากาศ เป็นต้น 2. กระบวนการหรือการดาเนินงาน (Process) หมายถึงการนาเอาวัตถุดิบมาผ่านกระบวนการให้ เกดิ ผลตามท่ตี ้องการ เชน่ การสอนของผูส้ อน หรือการใหผ้ ู้เรยี นทากจิ กรรม เปน็ ตน้
15 3. ผลผลิตหรือการประเมินผล (Output) หมายถึง ผลที่ได้จากการผ่านกระบวนการ ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รียนหรือผลงานของผู้เรยี น เป็นตน้ การวิเคราะห์ระบบ การวิเคราะห์ระบบ (System analysis) เป็นวิธีการนาเอาผลลัพธ์ท่ีได้ซึ่งเรียกกันว่า ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back) จากผลผลิตมาประเมินผลและพิจารณาปรับปรุงแก้ไขระบบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การ พจิ ารณาแก้ไขนัน้ อาจจะแก้ไขส่ิงที่ปูอนเขา้ ไปหรือที่ขบวนการก็แลว้ แต่วา่ ส่วนใดมปี ญั หาและเป็นเหตุเป็นผลให้ เกิดการแกไ้ ข และหากปรบั ปรุงแลว้ อาจจะได้ผลออกมาไม่เป็นที่พอใจ อีกก็ต้องนาผลน้ันมาปรับปรุงแก้ไขใหม่ ต่อไปเร่ือย ๆ จนเกิดความพอใจหรือมีผลท่ีดีขึ้น จะเห็นว่าวิธีระบบเป็นขบวนการต่อเน่ืองที่ทาให้เกิดการ วิเคราะห์ระบบและมีลักษณะเช่นเดียวกันวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ข้อสาคัญอีกอย่างหน่ึงของการวิเคราะห์ ระบบ คอื บคุ คลทีจ่ ะทาการวเิ คราะหร์ ะบบควรจะเปน็ บคุ คลท่ีเกี่ยวข้องในระบบมาพิจารณาร่วมกนั สง่ิ ทปี่ ้อนเข้าไป กระบวนการ ผลผลิต ข้อมูลย้อนกลับ ภาพที่ 1 วธิ ีระบบ (System Approach) ปรบั จาก: (วรวิทย์ นิเทศศิลป์,2551) คุณสมบัตขิ องนวตั กรรม การที่จะพิจารณาว่า วิธีการ หลักปฏิบัติ แนวคิดหรือส่ิงประดิษฐ์เหล่านั้น เป็นนวัตกรรมหรือไม่ มี เกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. 2526; ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2533) 1. ส่ิงน้นั ต้องแปลกใหม่จากของเดิมที่มีอยู่ อาจจะใหมท่ ั้งหมดหรอื บางสว่ นกไ็ ด้ 2. มกี ารทดลองใช้ ปรับปรงุ และวจิ ยั เพื่อเป็นการยืนยันว่าสิ่งท่ีสร้างข้ึนมาน้ันมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า ของเดิม 3. ในการประดิษฐ์หรือคิดค้นต้องอาศัยหลักการ System Approach เพ่ือเป็นการยืนยันการสร้างได้ อยา่ งมีมาตรฐาน
16 4. ส่งิ นน้ั ยังไม่มีการใชอ้ ย่างแพร่หลาย หรอื ยงั อยู่ในข้ันตอนทดลองใชง้ าน ถ้าวิธีการ หลักปฏิบัติ แนวคิดและสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นนวัตกรรมใช้งานได้ดีจนได้รับการยอมรับ และมี การใชง้ านอย่างแพรห่ ลาย หรือมีการนาไปใชใ้ นจรงิ คาวา่ นวตั กรรมจะกลายเป็นคาวา่ เทคโนโลยีน้ันเอง ขอ้ สาคัญท่ีจะบอกได้วา่ นวตั กรรมน้ันใชไ้ ดจ้ ริงและเปน็ ท่ียอมรับ เมื่อมีการนานวัตกรรมทางการศึกษามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน มีลาดับข้ันการบูรณาการ นวัตกรรมทั้งส้ิน 5 ลาดับ (Sandholtz, Ringstaff, and Dwyer, 1997 อ้างอิงใน Bitter, and Pierson, 2002) ท่ผี ใู้ ชม้ ีพัฒนาการในการยอมรบั และนานวัตกรรมน้นั มาใช้ 1. ขน้ั เรมิ่ ทดลอง (Entry stage) เป็นข้ันแรกท่ีผู้สอนได้นับการแนะนาให้รู้จักและใช้นวัตกรรม ในข้ัน นผี้ ู้สอนอาจจะมีอปุ สรรคในการใชน้ วัตกรรม เน่อื งจากเป็นคร้งั แรกทไี่ ด้ลองใช้ ผสู้ อนอาจเกดิ การต่อต้านเพราะ ไม่มีความสามรถอย่างเพียงพอในการใช้นวัตกรรมน้ันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเป็นเพราะปัญหาด้าน วธิ กี ารใช้งาน เป็นผลให้คนบางคนอาจเกิดความกลัวและเลิกใชง้ านไปในท่ีสดุ 2. ช้ันนามาใช้งาน (Adoption stage) ผู้สอนจะเริ่มคุ้นเคยเพราะผ่านข้ันตอนแรกมาได้แล้ว ใน ข้ันตอนน้ีผู้สอนจะเร่ิมมีทัศคติที่ดีต่อนวัตกรรม จนกล้าท่ีจะนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและเรียนรู้ จากความผิดพลาดบางประการทีอ่ าจเกดิ ข้ึนเพ่ือพยายามแก้ไขให้ข้อเสยี ในนวตั กรรมนัน้ ๆ 3. ขั้นปรับให้เหมาะสม (Adaptation stage) ในขั้นน้ีผู้สอนใช้นวัตกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เร่ิมพัฒนาตนเอง เพื่อปรับปรุงนวัตกรรมน้ันให้เหมาะสมกับเนื้อหาของบทเรียนและวิธีการการเรียนการสอน ของวิชาท่ีตนเองสอนเม่ือผูส้ อน 4. ขน้ั จัดสรรอย่างเหมาะสม (Appropriation stage) เป็นขั้นที่ผสู้ อนบริหารจัดการงานนวัตกรรมน้ัน ให้เหมาะสมกับการทางานประจาวนั และเริ่มปรบั ใชก้ ารเรียนการสอนท้ังในวิชาและระหว่างวิชา รวมถึงเร่ิมรับ เทคโนโลยีใหมอ่ ื่น ๆ เข้ามาใช้ในวิชาทต่ี นเองสอน 5. ข้ันประดิษฐกรรม (Invention stage) ในขั้นน้ีไม่เพียงผู้สอนจะยอมรับนวัตกรรมน้ัน ผู้สอนยัง สามารถนานวัตกรรมนั้นไปเผยแพร่ให้ผู้อ่ืนหรือร่วมส่ือสารใช้งานกับผู้สอนคนอื่น ๆ ในขั้นสุดท้ายนี้ผู้สอนจะ พัฒนานวัตกรรมที่ตนเองใช้อยู่เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ รวมไปถึงการที่จะก้าวไปสู่ท่ีปรึกษาทางวิชาการให้ ผ้อู ืน่ ไดด้ ้วย
17 นวตั กรรมทางการศกึ ษาทคี่ วรรู้ นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการให้ ความสาคญั เพอ่ื คดิ และทาส่ิงใหม่อย่ตู ลอดเวลา ดงั นนั้ นวัตกรรมจงึ เกิดข้ึนใหม่ได้ทุกเวลา สิ่งใดท่ีคิดและทามา นานแล้ว จะถือว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไปเพราะจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งท่ีเรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้วแต่ก็ ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม เน่ืองจากนวัตกรรมเหล่าน้ันยังไม่แพร่หลายเป็นท่ีรู้จักทั่วไป ในวงการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษาต่าง ๆ ท่ีกล่าวถึงกันมาก ได้แก่ บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน ศูนย์การเรียน คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน การสอนทางไกล ฯลฯ (บญุ เกอื้ ควรหาเวช, 2543) 1. บทเรียนโปรแกรม บางครงั้ เรยี กวา่ บทเรยี นสาเรจ็ รูป บทเรียนด้วยตนเอง เป็นบทเรียนที่จัดลาดับ ข้นึ จากสิ่งท่ีง่าย ไปหาสิ่งท่ียาก แตล่ ะส่วนจะมีคาอธบิ ายและคาถามตอ่ เน่ืองกันไป คาถามอาจให้ เติมคา ถูกผิด หรือเลือกคาตอบ เมือ่ ผู้เรยี นตอบคาถามแล้ว จะสามารถตรวจคาตอบได้ทันทีว่า คาตอบของคนนั้นถูกหรือผิด ผู้เรียนจะศึกษาไปตามลาดับข้ันและ ปฏิบัติตามคาแนะนาที่กาหนดไว้ในแบบเรียน แบบเรียนนี้จะทาหน้าท่ี แทนผู้สอนเปน็ รายตวั (Tutor) 2. เคร่ืองสอน (Teaching machine) คือ เครื่องมือที่สร้างข้ึนเพื่อใช้สอนผู้เรียนเป็นรายบุคคล มี ส่วนประกอบท่ีสาคัญคือรายการสอน (Programs) เช่น ส่ิงพิมพ์ หรือส่ิงท่ีเขียนเป็นรายการปูอนเข้าไปใน เครือ่ งสอนเพื่อใชเ้ ปน็ บทเรียนใหผ้ เู้ รียน เรยี นได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะต้องสามารถเข้าใจได้ทันทีและกระตุ้นให้ ผเู้ รยี นอยากรอู้ ยากเห็นอยู่ได้ตลอดเวลา เคร่ืองสอนอาจรวมเอาส่ือ หรือเทคนิคหลายอย่างประกอบกัน ซึ่งจะ เปน็ การเสรมิ ให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียงิ่ ขน้ึ 3. การใช้คอมพิวเตอร์การเรียนการสอน (Computer Assited Instruction: CAI) ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ ไดถ้ กู นามาใชก้ ับการเรียนการสอนมากขึ้น และกลายเป็นรูปแบบของการเรียนการสอนแนวใหม่ ทน่ี า่ สนใจอยา่ งยง่ิ บทเรียนของคอมพิวเตอร์จะถูกทาให้เป็นโปรแกรมท่ีแปลกใหม่ ผู้เรียนไม่รู้สึกเบื่อหน่ายต่อ การเรียนและดูเหมือนว่าคอมพวิ เตอรจ์ ะเป็นสง่ิ ทด่ี ีท่สี ดุ สาหรับบทเรยี นแบบโปรแกรม 4. ชุดการสอน และโมดูล (Instructional packages and module) เป็นวิธีการจัดเตรียมกิจกรรม การเรียนรู้ที่เลือกสรรแล้ว อันประกอบด้วย จุดมุ่งหมาย เน้ือหาและวัสดุอุปกรณ์ท้ังหลาย ที่รวบรวมไว้เป็น ระเบียบ เพื่อให้ผู้สอนหรือผู้เรียนได้ศึกษาจากประสบการณ์ทั้งหมดน้ี ชุดการสอนสร้างข้ึนโดยอาศัยหลักการ และทฤษฏีท่ีสาคัญ คือการใช้ส่ือประสม และการใช้วิธีวิเคราะห์ระบบ รู้จักแพร่หลายในช่ือต่าง ๆ กัน เช่น Learning package, Instructional Packages, Instructional Kits. ฯลฯ
18 5. การสอนเป็นคณะ (Team teaching) การสอนเป็นคณะเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่ง ท่ี จัดให้ผู้สอน ต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป ทาการสอนร่วมกันมาช่วยงานด้านวางแผนการสอน เพ่ือให้ได้ประโยชน์จาก ความสามารถพิเศษของผู้สอน ผู้รว่ มคณะ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Team teaching จานวนผู้เรียน ในทีมการ สอนหนึ่ง ๆ อาจมจี านวนตั้งแต่ 40 - 300 คน การจัดกล่มุ คานงึ ถึง อายุ ความสนใจ ความถนัด อาจใช้ชั้นเรียน เดิมหรือคละกัน ทั้งน้ีแล้วแต่วัตถุประสงค์ของคณะ ซ่ึงมีท้ังผู้มีความรู้ทั่วไปและเฉพาะทาง ผู้สอนในทีมแต่ละ คนจะต้องสอนร่วมกัน มีการประชุมปรึกษาแลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันอยู่เสมอ รับผิดชอบการสอนทั้งใน กลุ่มใหญแ่ ละเป็นผ้รู บั ผิดชอบประจากลุม่ ยอ่ ย 6. ศูนย์การเรียน (Learning center) เป็นการจัดเน้ือหาวิชาออกเป็นหน่วย ๆ แต่ละหน่วยจะมี กิจกรรม อุปกรณ์และเนื้อหา วิชาแตกต่างกัน ผู้เรียนจะเรียนรู้ด้วยการประกอบกิจกรรมจากหน่วยต่าง ๆ ตามท่ีกาหนดในแต่ละหน่วยการเรียนภายใต้การควบคุมของผู้สอน โดยอาศัยหลักการและทฤษฏีที่สาคัญ คือ การใช้สอื่ ประสม กระบวนการกลุ่ม 7. การสอนแบบจุลภาค (Micro teaching) เป็นการสอนท่ีย่อส่วนหรือจาลองสถานการณ์มาอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมอย่างรัดกุม เป็นการสอนในสถานการณ์ของห้องเรียนแบบง่าย ๆ กับผู้เรียน 5- 10 คน ใชเ้ วลา 5 – 15 นาที เปิดโอกาสใหผ้ สู้ อนได้ฝกึ ฝนทักษะการสอนใหม่ ๆ หลังจากได้ดูแบบหรือตัวอย่าง มาแล้ว ขณะสอน มกี ารบนั ทึกภาพเพื่อใหผ้ ูส้ อนไดด้ ูการสอนของตน จะได้ปรับปรุงการสอนให้ดีข้ึน ก่อนนาไป ทาการสอนจริง ๆ การสอนแบบนี้เหมาะสาหรับการฝึกอบรมผสู้ อนผู้สอนใหม่ 8. การจัดตารางเรียนแบบยืดหยุ่น (Flexible scheduling) เกิดจากแนวความคิดที่ว่า การเรียนรู้ใน แต่ละเน้อื หาวิชานัน้ ไม่จาเป็นต้องใช้เวลาเท่ากัน เพราะการเรียนรู้ในแต่ละวิชาย่อมมีระดับความยากง่าย และ วิธีการจัดลาดับ การเรียนรู้ ท่ีแตกต่างกันออกไป อีกประการหนึ่งก็คือ ผู้เรียนน้ันย่อมมีความแตกต่างกันทั้ง ทางด้าน สติปัญญา ความสามารถ และช่วงความสนใจของผู้เรียนที่มีต่อวิชาต่าง ๆ น้ันไม่เท่ากัน เด็กเล็กจะมี ช่วงความสนใจ ในบางวิชาเพียง 10 - 15 นาที แต่เด็กโต จะมีช่วงความสนใจที่มากกว่า ดังน้ันการจัด ตารางสอน จึงต้องจดั ใหเ้ หมาะสมสาหรับแตล่ ะวชิ า 9. โครงการส่งเสริมสมรรถภาพการสอน (Response to Intervention: RIT) เป็นการจัดระบบการ เรียนการสอน ท่ีจะลดเวลาที่ผู้สอนจะต้องสอนหรือเก่ียวข้องกับผู้เรียนให้น้อยลงกว่าอัตราเวลาเป็นอยู่ใน ปัจจุบัน โดยไม่ทาให้คุณภาพการศึกษา หรือผลการเรียนของผู้เรียน ลดลงกว่าเดิม เช่น เดิมท่ีผู้สอนต้องใช้ เวลาสอน 60 นาที แต่หากนานวัตกรรมนี้มาใช้แล้วอาจจะลดเวลาเหลือเพียง 15-30 นาทีเท่าน้ัน ท่ีผู้เรียนจะ เรียนกับผู้สอน เวลาท่ีเหลือ ผู้เรียนก็จะเรียนกับสื่อการเรียนต่าง ๆ ที่จัดไว้ให้ ช่วยให้ผู้สอนมีเวลา ตรวจงาน
19 ผเู้ รยี น กวดขันผูเ้ รยี นอ่อน หรือที่เรียนไมท่ ันเพ่อื น ผสู้ อนคนหนึง่ อาจสอนผเู้ รยี นได้หลายห้องเพราะสามารถใช้ เวลาทีเ่ หลือจากการสอนห้องหน่งึ ไปสอนอกี หอ้ งหนง่ึ ได้ 10. การใช้ส่ือมวลชนเพ่ือการศึกษา เนื่องจากปัจจุบัน สื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสารนิตยสาร วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจาวันในด้านการรับรู้ ข่าวสาร การสร้างค่านิยมและการศึกษาประชาชนอย่างกว้างขวาง การใช้ส่ือมวลชนเพื่อการศึกษามีท้ังในรูป การศึกษาทวั่ ไป และการศึกษาในวิชาการเฉพาะสาขา คุณค่าของการใช้สื่อมวลชนเพ่ือการศึกษา คือ สามารถ ให้การศึกษาแก่ประชาชนได้รวดเร็ว และได้จานวนมากพร้อม ๆ กัน นอกจากนวัตกรรมทางการศึกษาต่าง ๆ เหลา่ นี้แลว้ ยงั มีนวัตกรรมทางการศึกษาอีกหลายอย่าง ที่ผู้เรียน ผู้สนใจ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสาร ตาราทเี่ ก่ยี วกับเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา สรุปเนอ้ื หาบทท่ี 1 นวัตกรรม และเทคโนโลยีในปัจจุบันได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น และความ ต้องการของมนุษย์ นอกจากนี้ยังถูกประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการศึกษา โดยมี จุดประสงค์เพ่ือแก้ปัญหา เช่น การแหล่งในการเรียนรู้ รวมถึงการจัดการระบบทางการศึกษา เทคโนโลยี ทางการศึกษาท่ีมีอยู่ในปัจจุบันเกิดจากปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีตท่ีช่วยทาให้การศึกษาในปัจจุบันนั้นเข้าถึง และ เข้าใจได้ง่ายมากข้ึน แต่ก็ยังมีปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นเพราะความไม่สมบูรณ์ของเทคโนโลยี ปัญหาเหล่าน้ัน จะตอ้ งได้รบั การแก้ไข โดยการสรา้ งส่ิงใหม่โดยส่ิงใหม่ ที่เราสร้างข้ึนมามีเปูาหมายเพ่ือแก้ปัญหาทางการศึกษา ที่เกิดขึ้นเหล่านั้น เรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา ซึ่งนวัตกรรมยังคงต้องพ่ึงเทคโนโลยีหรือของท่ีมีอยู่เดิม พฒั นาผา่ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คน้ ควา้ ทดลองและได้ยอมรับการว่าสามารถทแี่ กป้ ญั หาได้ในที่สุดจน นวัตกรรมนน้ั กลายเปน็ เทคโนโลยี จะเหน็ ไดว้ ่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมขาดซ่ึงกันและกันไม่ได้เลย ต่างกันแค่ เพยี งคณุ สมบตั ิน่ันเอง ในความเปน็ จรงิ ถงึ แมว้ ่าเทคโนโลยี ทีผ่ ู้คนนาเอาไปใชจ้ รงิ ๆ ในชีวิตประจาวันแล้ว สิ่งที่ยังเหลืออยู่น้ัน ก็คือความไม่สมบูรณ์ของเทคโนโลยี จึงต้องมีนวัตกรรมข้ึน โดยทุก ๆ ส่ิงยังมีคงข้อเสียหรือปัญหาท่ีเราต้องแก้ ต้องมีนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีเกิดขึ้นเร่ือย ๆ นั่นเป็นเหตุผลที่ว่าทาไมโลกเราถึงยังมีการพัฒนาต่อไปอย่าง ต่อเนอ่ื ง
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 คาชแ้ี จง จงตอบคาถามทกี่ าหนดใหถ้ กู ต้องชัดเจน 1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยที างการศึกษาและนวัตกรรมทางการศึกษา 2. วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งระหว่างเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา้ งของวธิ รี ะบบให้ถกู ต้อง 4. วิเคราะห์ว่านวัตกรรมทางการศกึ ษาเกิดขึน้ เพราะเหตใุ ด 5. วิเคราะหน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามามบี ทบาทในด้านการศกึ ษาอย่างไรในปัจจบุ นั
เอกสารอ้างองิ Bitter, G. และ Pierson, M. (2002). Using technology in the classroom (5th ed.). Boston : Allyn and Bacon. Dale, Edgar. (1969). Audio-Visual Method in Teaching. New York : Dryden Press. Dale, Edgar. (1973). Dictionary of education. New York : McGraw-Hill. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book. James, D Finn. (1972). Extending education through technology. Technology & Engineering. Morton, J.A. (1971). Organizing for innovation;: A systems approach to technical management. New York : McGraw-Hill. กิดานันท์ มลทิ อง. (2544). เทคโนโลยีทางการศกึ ษาและนวัตกรรม. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กดิ านนั ท์ มลทิ อง. (2548). เทคโนโลยีและการส่อื สารเพ่อื การสอื่ สาร. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2526). เอกสารประกอบการสอนชดุ เทคโนโลยีและสอ่ื การศึกษา. กรุงเทพฯ : ยูไนเต็ด โปรดักชน่ั . ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีการสอน : การออกและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. บุญเกือ้ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : เอสอาร์พริ้นต้ิง. ปรชั ญา ใจสะอาด. (2534). เทคโนโลยที างการศึกษา. เชียงใหม่ : สถาบันราชภัฏเชยี งใหม่. วรวทิ ย์ นเิ ทศศิลป์. (2551). ส่อื และนวตั กรรมแห่งการเรยี นรู้. ปทุมธานี : สกายบุ๊ค. วิวรรธน์ จันทร์เทพย์. (2542). เทคโนโลยีทางการศึกษา. ราชบุรี : ธรรมรักษ์. สะอาด วรรณภยี ์, เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาเบื้องตน้ . เชยี งใหม่ : สถานบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตพายพั เชียงใหม่. สนั ทัด ภบิ าลสุข และพมิ พ์ใจ ภิบาลสขุ . (2525). การใช้สือ่ การสอน. กรุงเทพฯ : พรี ะพัธนา.
แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ หัวเร่อื งการเรียนรู้ 1. ความหมายของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ 2. หนา้ ที่ของทฤษฎกี ารเรียนรู้ 3. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้พฤติกรรมนิยม 4. ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม 5. ทฤษฎกี ลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ 6. แนวทางประยุกตใ์ ชท้ ฤษฎีการเรยี นรู้กบั การสอนนวตั กรรม เทคโนโลยีและการสื่อสาร 7. สรปุ เนอื้ หาบทท่ี 2 8. แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 2 วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เมื่อนักศกึ ษาเรยี นจบบทเรียนแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. บอก ความหมาย ประเภท คุณค่า ประโยชน์ ความสาคัญของทฤษฏกี ารเรียนรู้ได้ 2. นาเสนอตัวอยา่ งการนาทฤษฎีการเรียนรู้ไปใชเ้ พอื่ ประยกุ ตก์ ับส่ือการเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ ได้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. การบรรยาย 2. ร่วมวเิ คราะห์จากเหตุการณ์ตัวอย่าง 3. การอภิปราย ถาม-ตอบ และสะท้อนความคิดเห็น ส่ือการเรียนรู้ 1. สไลด์ โปรแกรม ไมโครซอฟต์ เพาเวอร์พอยท์ (Microsoft Power point) เรอื่ ง ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 2. เอกสารประกอบการสอน บทที่ 2 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้
24 แหลง่ การเรียนรู้ 1. สานักวทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี 2. เว็บไซต์ www.google.com การประเมินผลการเรียนรู้ 1. การสงั เกตความสนใจ 2. การมีส่วนรว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 3. การอภิปราย ถาม-ตอบ และการสะท้อนความคดิ เห็นตา่ ง ๆ 4. การตอบคาถามจากแบบฝึกหัดทา้ ยบท จดุ ประสงค์ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 1. สามารถบอก ความหมาย แบบฝกึ หัดท้ายบท ทาได้ถูกต้องไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 75 ประเภท คณุ คา่ ประโยชน์ ความสาคญั ของทฤษฏีการเรียนรู้ แบบฝกึ หดั ท้ายบท ทาได้ถูกต้องไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 ได้ 2. สามารถนาเสนอตัวอย่างการ นาทฤษฎกี ารเรียนร้ไู ปใช้เพื่อ ประยกุ ต์กับสื่อการเรียนรู้ประเภท ตา่ ง ๆ ได้
บทที่ 2 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เป็นสิ่งที่มนุษย์คิดค้นช้ืนมาเพื่อแก้ปัญหาทางการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงคือปัญหาทางด้านการเรียนการสอน หรือการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ แก่ผู้ศึกษา ซ่ึงบุคคล เหล่าน้ันมีจิตใจ ความรู้สึก ความคิด ความสามารถในการรับรู้ ซ่ึงเป็นปัจจัยที่ไม่คงที่แน่นอน จึงจาเป็นต้องใช้ ใหส้ อดคลอ้ งกับปัจจัยทางธรรมชาตขิ องมนษุ ยน์ นั้ เอง ความหมายของทฤษฎีการเรยี นรู้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทั้งด้านสมรรถภาพ ทักษะและทัศนคติท่ีคนเราได้รับต้ังแต่เป็นทารก จน เป็นผู้ใหญ่ กระบวนการเรียนรู้จึงเป็นส่วนสาคัญของความสามารถของคนเรา มีนักการศึกษาหลายท่านได้ กล่าวว่า “การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับ ส่ิงแวดล้อม” ซึ่งในการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ได้มีการศึกษาค้นคว้าด้านความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ จนเกิดเป็น ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ (Learning Theories) (วารนิ ทร์ รศั มพี รหม, 2542) ซง่ึ สอดคล้องกับ ทิศนา แขมมณี (2551) ที่กล่าวว่า “ทฤษฎีการเรียนรู้ เป็นแนวความคิดที่ได้รับการยอมรับว่าสามารถใช้อธิบายลักษณะของการเกิด การเรียนรู้ หรอื การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมได้” สุรางค์ โค้วตระกูล (2545) ท่ีกล่าวว่า การเรียนรู้ หมายถึง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลมา จากประสบการณ์ที่คนเราเคยมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม หรือจากการฝึกหัด รวมท้ังปริมาณการเปล่ียน ความรู้ของผู้เรียน ดังนั้น งานสาคัญของผู้สอน คือ การช่วยผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้หรือมีความรู้และมี ทกั ษะตามที่หลกั สูตรวางไว้ ดงั นนั้ กระบวนการเรยี นร้จู งึ เปน็ รากฐานของการสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพ โดยสรปุ แล้ว ทฤษฎกี ารเรียนรู้ จงึ หมายถึง แนวความคิด หลักการรวมทั้งกระบวนการเรียนรู้ท่ีได้จาก การศึกษาค้นคว้า และทดลองจนเป็นท่ียอมรับว่า สามารถอธิบายถึงลักษณะของการเกิดการเรียนรู้ หรือการ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมซง่ึ เปน็ ผลมาจากประสบการณ์ทม่ี ปี ฏิสมั พนั ธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม หนา้ ท่ีของทฤษฎีการเรยี นรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่นักคิด นักการศึกษาได้รวบรวมจากงานวิจัย หลักการและแนวคิดต่าง ๆ มีหน้าที่ สาคญั 4 ประการ ไดแ้ ก่ (วารนิ ทร์ รัศมพี รหม, 2542) 1. เป็นกรอบของงานวิจัย โดยเป็นการปูองกันการรวบรวมข้อมูลที่ไม่เก่ียวข้องกับการเข้าใจ สถานการณ์การเรียนรูอ้ อกไป เป็นการทาใหม้ ีกรอบทก่ี ระชบั รัดกุมขึน้
26 2. เป็นการจัดระบบของความรู้ เป็นกรอบของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งเรา้ กบั การตอบสนอง 3. เปน็ การระบเุ หตุการณ์การเรยี นรู้ทซี่ ับซ้อน โดยมกี ารใหต้ ัวอย่างขององค์ประกอบที่หลากหลายท่ีมี ผลตอ่ การเรียนรู้ 4. เป็นการจัดระบบใหม่ของประสบการณ์เดิมที่มีมาก่อน เนื่องจากความรู้ทั้งหล ายท่ีเป็น ประสบการณ์เดิมจะตอ้ งมกี ารจัดระบบใหม่อยเู่ สมอ การเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านเจตคติ เป็นต้น ซ่ึงแนวคิดเก่ียวกับการเรียนรู้ของมนุษย์ได้รับความสนใจจากนัก ปรัชญาและนักจิตวิทยา ซึ่งได้พยายามทาการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ของท้ังสัตว์และมนุษย์ และได้ค้นพบ หลกั การทีใ่ ช้ประยกุ ต์ในการช่วยเสริมสรา้ งการเรยี นรู้ ทฤษฎขี องการเรียนร้จู าก 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีการเรียนรพู้ ฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism) 2. ทฤษฎกี ารเรียนรูพ้ ุทธปิ ัญญานิยม (Cognitivism) 3. ทฤษฎกี ารเรียนรคู้ อนสตคั ตวิ ิสต์ (Constructivist) ทฤษฎีการเรียนรู้พฤตกิ รรมนิยม ทฤษฎกี ารเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) เกดิ ขึ้นในช่วงกลางศตวรรษท่ี 20 และได้รับการ ยอมรบั จากผ้เู รียนอย่างกว้างขวางตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน นักทฤษฎีกลุ่มน้ีให้ความสาคัญกับ “พฤติกรรม” มาก และเช่อื วา่ การเรียนรขู้ องมนุษยเ์ ป็นวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรซ์ ึ่งสามารถสงั เกตและวัดได้จากพฤติกรรมภายนอก ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวคือการตอบสนองของมนุษย์ที่มีต่อส่ิงเร้า โดยส่ิงเร้าอาจจะเป็นสภาพแวดล้อมหรือ ประสบการณท์ ี่เตรียมไว้จะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ได้ นักทฤษฎีกลุ่มน้ีจะพูดถึงกระบวนการคิด หรอื ปฏิกริ ิยาภายในมนุษย์น้อยเพราะถือว่าเป็นส่ิงท่ีสังเกตและวัดไม่ได้ อีกทั้งรูปแบบการศึกษามักจะเป็นการ ทดลองกบั สัตว์เสยี เป็นส่วนใหญ่ เช่น สนุ ัข หนู แมว เป็นตน้ หรือหากเปน็ มนษุ ยก์ ็เป็นเพยี งเดก็ เล็กเทา่ นน้ั แนวคิดพ้ืนฐานของนักทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมจะมองมนุษย์เหมือนผ้าขาวท่ีว่างเปล่า การเรียนรู้ ของมนุษย์เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งต้องจัดเตรียมประสบการณ์หรือ ส่ิงแวดล้อมภายนอกเพ่ือให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ โดยประสบการณ์ดังกล่าวหากมีการกระทาซ้าแล้วซ้าอีก จะกลายเป็นพฤตกิ รรมอัตโนมตั ทิ ่แี สดงออกให้เห็นไดอ้ ย่างชดั เจนเปน็ รปู ธรรม (ณัฐกร สงคราม. 2553) นักทฤษฎีกล่มุ พฤติกรรมนิยมเชือ่ ว่าองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรปู้ ระกอบด้วย 4 ประการคอื 1. แรงขับ (drive) หมายถึง ความต้องการของผู้เรียนในบางส่ิงบางอย่างที่จูงใจ (Motivated) ให้ ผู้เรยี นหาหนทางตอบสนองตามความตอ้ งการน้ัน
27 2. ส่ิงเร้น (Stimulus) หมายถึง ส่ิงท่ีเข้ามากระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิกิริยาการตอบสนองเกิดเป็น พฤตกิ รรมข้นึ ซ่ึงได้แก่ การใหส้ าระการเรียนรู้ (Message) ในรูปแบบตา่ ง ๆ รวมทงั้ การชีแ้ นะ (cue) 3. การตอบสนอง (Response) หมายถึง การผู้เรียนแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซ่ึงอธิบายได้ ดว้ ยพฤตกิ รรมท่ีผูเ้ รียนแสดงออก 4. การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวแปรสาคัญในการเปล่ียนพฤติกรรมของ ผู้เรียน ประกอบด้วยการเสริมแรงทางบวกและการเสริมแรงทางลบ โดยนิยมใช้รูปแบบการเสริมแรงจาก ภายนอก เช่น การใหร้ างวัล หรอื การลงโทษ 1. ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสกิ ของพาฟลอฟ ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ (Pavlov’s classing conditioning theory) คิด ขึ้นโดยอีแวน พาโตรวิซ พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) เชื่อว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวาง เงอื่ นไข คอื การตอบสนองหรือการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นน้ัน ๆ ต้องมีเง่ือนไจหรือมีการสร้างสถานการณ์ขึ้น และสรุป ออกมาเปน็ กฎการเรยี นร้สู าคญั 4 ประการ ดังน้ี (ณฐั กร สงคราม, 2553) 1.1 กฎแห่งการแผ่ขยาย (Law of generalization) กล่าวคือ ถ้าร่างกายเกิดการเรียนรู้โดยแสดง พฤติกรรมตอบสนองต่อส่ิงเร้าที่มีการวางเงื่อนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามีสิ่งเร้าอ่ืนที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกัน สิ่งเร้านั้น จะมีประสิทธิภาพทาให้เกิดพฤติกรรมตอบสนองได้เหมือนกับส่ิงเร้าเดิม เช่น เมื่อสุนัขเรียนรู้ว่าจะได้อาหาร หลังจากไดย้ นิ เสียงกระดงิ่ สุนัขก็มีแนวโน้มทจี่ ะตอบสนองด้วยอาการนา้ ลายไหลตอ่ เสียงใด ๆ ก็ได้ที่คล้ายเสียง กระด่งิ หรือสงิ่ อนื่ เชน่ ระฆงั ฉิ่ง ฆอ้ ง ฉาบ เป็นตน้ 1.2 กฎแห่งการจาแนก (Law of discrimination) กล่าวคือ ถ้าร่างกายเกิดการเรียนรู้โดยแสดง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีการวางเง่ือนไขหน่ึงแล้ว ถ้ามีส่ิงเร้าอ่ืนที่มีคุณสมบัติแตกต่างออกไปร่างกาย จะเกิดการตอบสนองต่อส่ิงเร้าน้ันแตกต่างกันไปด้วย เช่น เม่ือสุนัขมีอาการน้าลายไหลจากการสั่นกระดิ่งแล้ว ถา้ สุนขั ตัวนนั้ ได้ยินเสียงประทัดหรือเสียงรถยนต์ก็จะไม่มีอาการน้าลายไหล และอาจจะมีพฤติกรรมอื่นเกิดข้ึน แทน เช่น เห่า ขู่ หรือคาราม เปน็ ตน้ 1.3 กฎการลดภาระ (Law of extinction) หรือ การลบพฤติกรรมชั่วคราว กล่าวคือ การที่ พฤติกรรมการตอบสนองลดน้อยลงอันเป็นผลเน่ืองจากการท่ีไม่ได้รับส่ิงเร้าท่ีไม่ได้ถูกวางเง่ือนไข ซึ่งในท่ีนี้ก็คือ รางวัลหรือสิ่งท่ีต้องการนั้นเอง เช่น การให้แต่เสียงกระดิ่งอย่างเดียว โดยไม่ให้ช้ินเน้ือตามมา จะทาให้สุนัข เกิดปฏิกริ ยิ านา้ ลายไหลลดลงเรอื่ ย ๆ เปน็ ตน้
28 1.4 กฎการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of spontaneous recovery) กล่าวคือ การฟ้ืนตัว ของการตอบสนองท่วี างเง่ือนไขหลังจากการลบพฤติกรรมช่ัวคราวแล้วสักระยะหน่ึง พฤติกรรมที่ถูกลบเง่ือนไข แล้วอาจฟน้ื ตัวขึ้นมาอกี เมือ่ ได้การกระตุน้ โดยสิ่งเรา้ ท่วี างเง่ือนไข สรุปแนวคิดตามทฤษฎนี ี้ไดว้ ่า การเรียนรขู้ องสงิ่ มชี ีวิตเกิดจากการตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติเม่ือ นาสงิ่ เรา้ ใหม่ (ส่งิ เร้าตามท่ีไดว้ างเงอ่ื นไขไว้) มาควบคกู่ ับสิ่งเร้าเดมิ (ส่ิงเร้าที่ไมไ่ ด้วางเงอ่ื นไขไว้) จากการสงั เกตสงิ่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการทดลองของพาฟลอฟ สามารถสรุปออกมาเป็นทฤษฎีการเรียน ดงั นัน้ (ทศิ นา แขมมณี, 2551) 1. พฤติกรรมการตอบสนองชองมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทาง ธรรมชาติ 2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยส์ ามารถเกิดข้นึ ได้จากสิง่ เร้าทีเ่ ชือ่ มโยงกับสิง่ เร้าตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิง่ เรา้ ท่เี ชือ่ งโยงกับสิง่ เร้าตามธรรมชาติจะลดลงเร่ือย ๆ และหยดุ ลงในที่สดุ หากไมไ่ ด้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ 4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าท่ีเช่ือมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไป เมอื่ ไม่ไดร้ ับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับปรากฏขนึ้ ได้อกี โดยไม่ตอ้ งใชส้ ่งิ เร้าตามธรรมชาติ 5. มนษุ ยม์ ีแนวโน้มทจ่ี ะจาแนกลักษณะของส่งิ เรา้ ใหแ้ ตกต่างกนั และเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง 2. ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขของวัตสนั ทฤษฎีการวางเง่ือนไขของวัตสัน (Watson’s condition theory) ถูกนาเสนอโดย จอร์น บี วัตสัน (John B. Watson) ได้นาเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาเป็นสาคัญในการอธิบายเรื่องการเรียน ผลงานเกี่ยวกับ การเรียนรู้ของวัตสันไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพรห่ ลายจนไดร้ บั การยกย่องวา่ เปน็ “บิดาของกลุ่มพฤติกรรมนิยม” วัตสันมีความเห็นว่า บุคคลเกิดการเรียนรู้ได้เพราะมีการวางเง่ือนไข และผลจากการวางเงื่อนนี้เองจะสร้าง พฤติกรรมการเรยี นรู้ให้เกดิ ขึน้ อยา่ งสม่าเสมอกับบุคคลจนกลายเป็นพฤติกรรมความเคยชิน ซึ่งพฤติกรรมความ เคยชินน้ีจะคงทนถาวรอยู่นานเพียงใดไม่ได้ขึ้นอยู่กับรางวัลหรือการเสริมแรง แต่เกิดจากการที่บุคคลสร้าง ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับส่ิงเร้าบ่อยครั้งเพียงใด เนื่องจากวัตสันทดลองทฤษฎีการเรียนรู้กับมนุษย์ ซึ่งมี อารมณ์เข้ามาเก่ียวข้องโดยเฉพาะอารมณ์กลัวซึ่งเป็นอารมณ์ที่สามารถตอบสนองสิ่งเร้าได้เองตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องวางเง่ือนไข เขาเชื่อว่าจะสามารถวางเง่ือนไจพฤติกรรมความกลัวกับสิ่งเร้าอ่ืนตามความต้องการได้ เช่นเดียวกับการทดลองของพาฟลอฟ และสามารถลบพฤตกิ รรมความกลัวให้หายไปได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งสรุปเป็น ทฤษฎกี ารเรียนรูด้ ังน้ี (ณัฐกร สงคราม, 2553)
29 1. พฤตกิ รรมเปน็ ส่ิงทีส่ ามรถควบคุมให้เกิดได้ โดยการควบคุมส่ิงเร้าท่ีวางเง่ือนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้า ตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการใหส้ ่ิงเร้าท่ีสมั พนั ธก์ ันนั้นควบคู่กนั ไปอยา่ งสม่าเสมอ 2. เมอื่ สามารถทาใหเ้ กดิ ตกิ รรมใด ๆ ได้ ก็สามารถลดพฤตกิ รรมนนั้ ให้หายไปได้ 3. ทฤษฎีความสัมพันธเ์ ช่ือมโยงของธอรน์ ไดค์ ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s connectionism theory) ถูกคิดค้นโดย เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thorndike) เช่ือว่า ส่ิงเร้าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีท่ีสุด และได้อธิบายด้วยทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectionism theory) ซ่ึง กล่าวถึงการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus – S) กับการตอบสนอง (Response – R) โดยมีหลักการ เบอ้ื งต้นว่า การเรยี นรูเ้ กดิ จากการเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยท่ีการตอบสนองมักจะออกมา เป็นรปู แบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีหรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นน้ีว่า การลองถูกลองผิด (Trial and Error) น้ันคือการเลือกตอบสนองของผู้เรียนจะกระทาด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมา กาหนดหรือช้ีช่องทางในการปฏิบัติให้และเม่ือเกิดการเรียนรู้ข้ึนแล้ว การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไป เหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวที่เหมาะสมที่สุด และพยายามทาให้การเช่นน้ันเช่ือมโยงกับสิ่งเร้าท่ี ตอ้ งการใหเ้ รียนร้ตู ่อไปเรอ่ื ย ๆ ทฤษฎีการเชอื่ มโยง ธอร์นไดส์สามารถสรุปออกเป็นกฎการเรียนรู้ 3 กฎใหญ่ ๆ ได้ดงั นี้ (เติมศักดิ์ คทวณิช, 2546) กฎการเรียนหลัก 3 กฎ (Three major laws of learning) ประกอบดว้ ย 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of readiness) การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ ถ้าบุคคลมีความพร้อมทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ กล่าวคือเม่ือบุคคลมีความพร้อมจะกระทาหรือเรียนรู้ ถ้าได้กระทาหรือเรียนรู้ตามความ ต้องการ บุคคลน้ันจะเกิดความพึงพอใจจนทาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ในทางกลับกันหากไม่ได้กระทาหรือเรียนรู้ ตามความต้องการ บุคคลนั้นจะเกิดความไม่พอใจ ไม่สบายใจ และหงุดหงิด หรือเม่ือบุคคลไม่มีความพร้อม กระทาหรือเรียนรู้ ถ้าถูกบังคับให้กระทาหรือเรียนรู้ จะทาให้บุคคลน้ันเกิดความคับข้องใจ ไม่สบายใจ เครียด หรอื เกิดความไม่พอใจขึน้ มาได้ 2. กฎแหง่ การฝกึ หัด (Law of exercise) แบง่ เป็น กฎแหง่ การใช้ (Law of use) กล่าวคือ เมื่อบุคคล เกิดการเรียนรู้แล้ว หากได้รับการฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ จนเกิดความชานาญและเป็นความเคยชินจะทาให้ การเรียนรู้นั้นคงทนถาวร ย่ิงฝึกมากเท่าใดก็ย่ิงถูกต้องเท่าน้ัน และกฎแห่งการไม่ได้ใช้ (Law of Disuse) กล่าวคือ พฤติกรรมใด ๆ ก็ตามหากมีการเว้นระยะเวลานานหรือขาดการฝึกฝน ไม่ได้กระทาซ้าบ่อย ๆ การ เรียนรูน้ นั้ จะไมค่ งทนถาวร ลดประสทิ ธภิ าพลง และในที่สดุ อาจลืมได้
30 3. กฎแหง่ ผลการตอบสนอง (Law of Effect) พฤติกรรมใดก็ตามเมอ่ื ตอบสนองหรือกระทาแล้วได้รับ ความสขุ ความพึงพอใจ และความภูมิใจ บุคคลก็อยากที่จะกระทาพฤติกรรมน้ันต่อไป กลับกันหากพฤติกรรม นั้นกระทาแล้วไดค้ วามทุกขห์ รอื ไมม่ คี วามสขุ ผดิ หวัง บคุ คลกจ็ ะลดการกระทาพฤติกรรมนั้นลงและในที่สุดก็ไม่ กระทาพฤตกิ รรมนน้ั อีกเลย กฎการเรียนรู้ย่อย 5 กฎ (Five subordinate laws of learning) ซึ่งเป็นกฎท่ีสนับสนุนกฎหลัก ประกอบดว้ ย 1. กฎแห่งการแสดงพฤติกรรมตอบสนองหลายรูปแบบ (Multiple responses) เม่ือบุคคลพบสิ่งเร้า หรือสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหา บุคคลจะแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาหลายรูปแบบไปเร่ือย ๆ จนกว่าจะ พบพฤติกรรมที่สามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้อง และในการตอบสนองต่อส่ิงเร้าหรือสถานการณ์เป็นปัญหาในคร้ัง ตอ่ ๆ ไป บคุ คลจะลดพฤตกิ รรมท่ไี มถ่ ูกต้องออกจนเหลือแต่พฤติกรรมท่ีถกู ต้องเพียงวิธีเดียวในท่ีสุด 2. กฎแห่งการเตรยี มพรอ้ มหรอื ทศั นคติ (Set of attitude) บคุ คลที่มีความพร้อมหรือมีทัศนคติที่ดีจะ สามารถเรียนรู้และประสบความสาเร็จได้ง่ายกว่าบุคคลท่ีขาดความพร้อมหรือมีทัศนคติท่ีไม่ดีต่อการเรียนรู้ ฉะนัน้ ในการเรยี นการสอนจงึ ควรมกี ารเตรยี มความพร้อมและสรา้ งทศั นคตทิ ีด่ ีต่อการเรียนใหก้ บั ผู้เรยี น 3. กฎแห่งการเลือกพฤติกรรมตอบสนอง (Law of partial activity) บุคคลจะเลือกแสดงพฤติกรรม ต่างที่เห็นว่าเหมาะสมเพ่ือใช้ในการตอบสนองสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหาและเม่ือค้นพบพฤติกรรมตอบสนองท่ี สามารถแก้ปัญหาได้แล้วก็จะหยดุ พฤติกรรมลองผดิ ลองถูกลง ในบางครง้ั วิธกี ารแก้ปัญหามีหลายวิธี บุคคลก็จะ เลือกวิธที สี่ ะดวกและเสยี เวลานอ้ ยท่ีสดุ เข้ามาใช้ 4. กฎแห่งการตอบสนองโดยอาศัยประสบการณ์ท่ีมีความคล้ายคลึงหรือเก่ียวข้องกัน (Law of response analogy) เม่ือบุคคลประสบกับปัญหา บุคคลนั้นมีแนวโน้มท่ีจะนาเอาประสบการณ์จากการ แก้ปญั หาในอดตี ทีม่ ีความคล้ายคลึง ใกลเ้ คียง หรือเกย่ี วข้องกันมาใช้ในการแก้ปัญหา ดังน้ันในการเรียนรู้ หาก เปน็ เร่ืองทีค่ ล้ายคลงึ กบั เรื่องที่เรยี นมาแลว้ ผเู้ รียนจะเรียนรู้ได้ดแี ละเร็วกวา่ เรอื่ งที่ยังไม่เคยเรยี นมาเลย 5. กฎแห่งการถ่ายโยงจากส่ิงเร้าเก่าไปสู่สิ่งใหม่ (Law of association shifting) บุคคลจะเกิดการ เรียนรู้ได้ง่ายและเร็วขึ้น ถ้าบุคคลนั้นมองเห็นสิ่งเร้าใหม่และสิ่งเร้าท่ีเคยประสบมามีความสัมพันธ์กันจะทาให้ การกระทาส่งิ เร้าใหมก่ ระทาได้ง่ายข้ึน เชน่ หากผูเ้ รยี นเคยใช้พิมพ์ดีดมาแล้ว ก็จะเรียนรู้วิธีการพิมพ์จากเครื่อง คอมพวิ เตอรใ์ ห้เร็วกว่าปกติ เป็นต้น
31 4. ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไขแบบต่อเน่อื งของกัทธรี เอ็ดวิน อาร์ กัทธรี (Edwin R. Guthrie) จุดเร่ิมต้นของทฤษฎีการเรียนรู้ของเขา (Guthrie’s contiguous conditioning) มีรากฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน คือการศึกษาผลจากการแสดง ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflex) เน้นถึงการเรียนรู้แบบสัมพันธ์จ่อเนื่อง ซึ่งต่อมาได้พัฒนาทฤษฎีขิงเขาให้มี เอกลักษณ์ของตนมากข้ึน กันธรีเขียนหนังสือเกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้ (The psychology of learning) เป็นเรื่องการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไขเพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์ต่อเน่ืองระหว่างส่ิงเร้ากับการตอบสนอง (S-R) ซึ่งได้รับความนิยมจนกระทั่งปัจจุบัน กันธรีมีความคิดขัดแย้งกับธอร์นไดค์ แต่เห็นด้วยกับวัตสันและพาฟลอฟ (อา้ งอิงจาก ณฐั กร สงคราม, 2553) กันธรีกล่าวว่าการเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างส่ิงเร้ากับการตอบสนอง โดยเกิดจาก การกระทาเพียงคร้ังเดียว ไม่ต้องลองทาหลาย ๆ คร้ัง เขาเช่ือว่าเมื่อใดก็ตามท่ีมีการตอบสนองต่อส่ิงเร้าแสดง ว่าร่างกายเรียนรู้ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ปรากฏในขณะนั้นทันที และเป็นการตอบสนองต่อส่ิงเร้าอย่าง สมบูรณ์ ไมจ่ าเป็นต้องฝกึ หัดอกี ตอ่ ไป เขาค้านวา่ การฝกึ ในคร้งั ตอ่ ไปไม่มีผลให้ส่งิ เร้าและการตอบสนองสัมพันธ์ กันแน่นแฟูนข้ึนเลย (ซ่ึงแนวความคิดน้ีตรงกันข้ามกับแนวคิดของธอร์นไดค์ ท่ีกล่าวว่าการเรียนรู้จะเกิดจาก การลองผิดลองถูก โดยกระทาการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง และเมื่อเกิดการเรียนรู้คือการแก้ปัญหาแล้ว จะตอ้ งมีการฝกึ หัดให้กระทาซ้าบอ่ ย ๆ ) กนั ธรีไดส้ รุปเป็นกฎการเรยี นรู้ ดังน้ี 1. กฎแห่งความตอ่ เนื่อง (Law of contiguity) เมือ่ มีสิ่งเร้ากลุ่มหนึ่งท่ีเกิดพร้อมกับอาการเคลื่อนไหว เม่ือส่ิงเร้านั้นเกิดข้ึนอีก อาการเคลื่อนไหวก็มีแนวโน้มที่จะเกิดตามมาด้วย เช่น เม่ือมีงูมาปรากฏต่อหน้า เด็กชาย ก. จะกลวั และว่งิ หนี ทกุ ครง้ั ทเี่ ห็นงเู ด็กชาย ก. กจ็ ะกลัวและว่งิ หนีเสมอ เป็นต้น 2. กฎของการกระทาคร้งั สุดทา้ ย (Law of recency) กลา่ วคอื ถา้ การเรียนรเู้ กิดขึ้นอย่างสมบูรณ์จาก การกระทาเพยี งครงั้ เดียวซ่ึงเป็นการกระทาคร้ังสุดท้ายในสถานการณ์น้ัน เมื่อสถานการณ์ใหม่เกิดข้ึนอีกบุคคล จะทาเหมอื นทเ่ี คยได้กระทาในครัง้ สุดทา้ ย ไมว่ า่ การกระทาคร้งั สดุ ทา้ ยจะผดิ หรอื ถกู กต็ าม 3. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้แม้เพียงคร้ังเดียว (One-trial learning) เม่ือมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ร่างกายจะ แสดงปฏกิ ิริยาตอบสนองออกมา ถา้ เกิดการเรยี นรขู้ นึ้ แลว้ แมเ้ พยี งครั้งเดียวก็นับว่าได้เรียนรู้แล้ว ไม่จาเป็นต้อง ทาซา้ อีก หรือไม่จาเป็นตอ้ งฝกึ ซ้า 4. หลักการจูงใจ (Motivation) ในการทาให้เกิดการเรียนรู้นั้น กัทธรีเน้นการจูงใจมากกว่าการ เสรมิ แรง ซึง่ มแี นวคิดเชน่ เดียวกับการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟและวัตสนั
32 5. ทฤษฎีการเรียนรขู้ องฮลั ล์ กฎการเรยี นรขู้ อง คลาร์ก แอล ฮลั ล์ (Clark L. Hull) สรปุ ได้ดังน้ี (อา้ งองิ จาก ณฐั กร สงคราม, 2553) 1. กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง (Law of reactive inhibition) หรือการยับยั้งปฏิกิริยาคือ ถ้าร่างกายเกดิ ความเหนอ่ื ยลา้ การตอบสนองหรอื การเรยี นรูจ้ ะลดลง 2. กฎแห่งการลาดับกลุ่มนิสัย (Law of habit hierarchy) เม่ือมีสิ่งเร้ามากระตุ้น แต่ละคนจะมีการ ตอบสนองต่าง ๆ กัน ในระยะแรก การแสดงออกมีลักษณะง่าย ๆ ต่อเมื่อเรียนรู้มากขึ้นก็สามารถเลือกแสดง การตอบสนองในระดบั สงู ขนึ้ หรอื ถกู ตอ้ งตามมาตรฐานของสงั คม 3. กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเปูาหมาย (Goal gradient hypothesis) เมื่อผู้เรียนย่ิงใกล้บรรลุ เปูาหมายเท่าใดจะมีสมรรถภาพในการตอบสนองมากข้ึนเท่าน้ัน การเสริมแรงท่ีให้ในเวลาใกล้เคียงเปูาหมาย จะช่วยทาให้เกิดการเรยี นร้ไู ด้ดีทส่ี ุด นอกจากนี้ฮลั ล์ยงั กล่าวถึงองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทจี่ าเป็นในการเรยี นรู้ดังนี้ 1. ความสามารถ (Capacity) ในการเรียนรขู้ องแตล่ ะบคุ คลท่มี ีความแตกต่างกนั 2. การจูงใจ (Motivation) คือ การช่วยให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้น โดยการสร้างแรงขับ (Drive) ให้เกดิ ขึ้นมาก ๆ ในตัวผู้เรยี น 3. การเสรมิ แรง (Reinforcement) ฮลั ล์เน้นว่าการเสริมแรงทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ได้ดี และเน้นจานวน ครัง้ ของการเสริมแรงมากกว่าปริมาณการเสรมิ แรงทใ่ี ห้ในแตล่ ะครั้ง 4. ความเข้าใจ (Understanding) การเรียนรู้โดยการสร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง เมื่อไป ประสบปัญหาที่คลา้ ยคลึงกบั ประสบการณ์เดิม ยอ่ มจะแกป้ ญั หาโดยใชค้ วามเขา้ ใจไดเ้ ปน็ ผลสาเรจ็ อยา่ งดียิง่ 5. การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of learning) ถ้าการเรียนใหม่คล้ายคลึงกับการเรียนรู้เดิมใน อดีต ผูเ้ รียนจะสามารถตอบสนองตอ่ การเรียนร้ใู หมเ่ หมอื นกับการเรยี นรูเ้ ดมิ 6. การลืม (Forgetting) เม่ือกาลเวลาผ่านไปนาน ๆ และผู้เรียนไม่ได้ใช้สิ่งเร้าที่เรียนรู้น้ันบ่อย ๆ จะ ทาใหเ้ กิดการลืมได้ 6. ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบการกระทาของสกนิ เนอร์ เบอร์ฮสั เอฟ สกินเนอร์ (Burhus F. Skinner) มีแนวคิดค้านกับพาฟลอฟและวัตสันว่าพฤติกรรมการ เรียนรู้ท้ังหลายของมนุษย์น้ันเกิดจากการที่ร่างกายเป็นตัวส่ังให้แสดงการกระทาเพื่อตอบสนองสิ่งเร้าหรือ สถานการณ์ทั้งหลาย ไม่ใช่สิ่งเร้าหรือสถานการณ์ท้ังหลายมากระตุ้นให้ร่างกายกระทา พฤติกรรมเช่นน้ี สกิน เนอรเ์ รียกว่า พฤติกรรมโอเปอแรนต์ (Operant behavior) นอกจากนี้เขายังมีความเห็นสอดคล้องกับแนวคิด ของธอร์นไดค์เก่ยี วกบั เรอ่ื งของการเสริมแรง โดยเหน็ ด้วยวา่ พฤติกรรมใด ๆ ท่ีมีการเสริมแรงพฤติกรรมน้ันก็มี
33 แนวโนม้ ท่จี ะเกิดข้นึ ซา้ อกี ส่วนพฤติกรรมท่ไี ม่ได้รับการเสริมแรงพฤติกรรมน้ันก็มีแนวโน้มท่ีจะลดลงและเลือน หายไปในท่ีสุด โดยหลักการเรียนรู้สาคัญตามแนวคิดของสกินเนอร์ คือเมื่อต้องการให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ส่ิง เรา้ ใดสิ่งเรา้ หนง่ึ ควรใหบ้ คุ คลนั้นเลือกแสดงพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ เองโดยไม่มกี ารบอกหรือบังคับ แต่เมื่อใดก็ตามที่ บคุ คลแสดงพฤติกรรมการเรยี นรู้ตามทตี่ อ้ งการ จะต้องมีการเสริมแรงพฤติกรรมน้ันโดยทันที เพ่ือให้บุคคลเกิด การเรียนรู้พฤติกรรมน้ันว่าเป็นพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือแก้ปัญหาได้ถูกต้องแล้ว นอกจากน้ีสกินเนอร์ยังเป็นผู้ คิดค้นบทเรียนแบบสาเร็จรูปหรือการสอนแบบโปรแกรม (Programmed instruction) และเครื่องช่วยสอน (Teaching machine) ซ่ึงมีประโยชน์ต่อวงการศึกษาเป็นอย่างมากและนับได้ว่าเป็นต้นกาเนิดของมัลติมีเดีย เพอ่ื การเรยี นรู้ในปัจจุบนั (อา้ งอิงจาก ณัฐกร สงคราม, 2553) ในเรื่องของการเสริมแรงน้ีสกินเนอร์ได้แบ่งการเสริมแรงออกเป็น 2 ประเภท คือ การเสริมแรง ทางบวก (Positive reinforcement) ได้แก่ การใช้สิ่งใดส่ิงหนึ่งในการสร้างความพึงพอใจให้กับร่างกาย เม่ือ ร่างกายแสดงการกระทาอย่างใดอย่างหน่ึงออกไป เช่น การให้ของขวัญ รางวัล คาชมเชยเม่ือผู้เรียนตอบ คาถามถูกต้อง เป็นต้น และการเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement) ได้แก่ การนาส่ิงท่ีสร้างความ ทุกข์และความไม่พึงพอใจให้กับร่างกายออกไป เม่ือร่างกายแสดงการกระทาอย่างหน่ึงอย่างใดตามต้องการ เช่น เม่ือถึงเวลาใกล้พักเที่ยงและผู้เรียนเริ่มหิวข้าว ผู้สอนถามคาถามและถ้าใครตอบคาถามผู้สอนจะให้ไปพัก ทานข้าว การกระทาของผู้สอนเช่นนี้ถือว่าเป็นการเสริมแรงทางลบ เป็นต้น ส่วนการลงโทษ (Punishment) ซ่ึงเป็นคาที่หลายคนสับสนว่าเป็นส่ิงเดียวกับการเสริมแรงทางลบ เพราะการลงโทษเป็นการใช้วิธีการใด ๆ ก็ ตามท่ีสร้างความทุกข์หรือความไม่พอใจให้กับร่างกายเพื่อทาให้พฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ลดลง เช่น การ ลงโทษผู้เรียนเมื่อพูดคาหยาบ เป็นต้น สกินเนอร์ได้สรุปกฎเกณฑ์เก่ียวกับกฎความถี่ของพฤติกรรมที่ตามด้วย การเสรมิ แรงแบบตา่ ง ๆ ไว้ 4 ขอ้ ดงั น้ี 1. การเสริมแรงทางบวก ได้แก่ การให้รางวัล ของขวัญ คาชมเชย ฯลฯ จะช่วยเพ่ิมความถี่ให้บุคคล แสดงพฤตกิ รรมนน้ั ๆ มากขึ้น 2. การไม่ใช้การเสรมิ แรงทางลบ จะชว่ ยเพ่ิมความถี่ใหบ้ ุคคลแสดงพฤตกิ รรมนั้น ๆ มากขนึ้ เชน่ กัน 3. การเสริมแรงทางลบโดยการลงโทษ จะลดความถ่ขี องการแสดงพฤตกิ รรมนนั้ ๆ ลง 4. พฤติกรรมท่ีเคยกระทาเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเสริมแรง หากไม่มีการเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง พฤตกิ รรมน้นั ๆ จะมคี วามถี่ลดลง (Extinction) นอกจากนี้ สกินเนอร์ยังไดแ้ ยกวิธกี ารเสริมแรงออกเปน็ 2 วธิ ี คือ 1. การให้การเสริมแรงต่อเนื่อง (Continuous reinforcement) เป็นการให้การเสริมแรงทุกครั้งท่ี ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ การเสริมแรงวิธีนี้จะให้ผลดีเฉพาะระยะแรก ๆ ของการ
34 เรียนรู้เท่านั้น แต่เมื่อผ่านไประยะหนึ่งตัวเสริมแรงน้ันจะลดประสิทธิภาพลงจนไม่สามรถสร้างพฤติกรรมการ เรียนร้ไู ดเ้ น่ืองจากความเคยชิน 2. การให้การเสริมแรงเป็นคร้ังคราว (Partial reinforcement) เป็นการให้การเสริมแรงทุกครั้งท่ี ผเู้ รยี นแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ออกมา ซ่ึงเป็นวิธีท่ีดีกว่าแบบแรก โดยแยกการเสริมแรงเป็นครั้งคราว ไม่ วา่ จะเป็นการเสริมแรงตามอัตราส่วนท่ีแน่นอนหรือไม่แน่นอน เช่น ตอบคาถามถูก 5 คร้ัง 10 คร้ัง จึงจะได้รับ ตามชว่ งเวลาท่แี นน่ อนหรอื ไม่แนน่ อน เช่น ทุก 5 นาที 10 นาที จะไดร้ ับการเสริมแรง 1 คร้ัง หรือ ทุก ๆ 1 ถึง 5 นาที จึงจะไดร้ ับการเสริมแรง 1 ครัง้ เป็นตน้ การเสริมแรงเป็นคร้ังคราวแต่ละวิธีนี้ให้ผลต่อการแสดงพฤติกรรมที่ต่างกัน การศึกษาพบว่าการ เสริมแรงตามอัตราส่วนหรือช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนจะให้ผลดีกว่าการเสริมแรงแบบตายตัวโดยพฤติกรรมที่พึง ประสงค์จะเกิดข้ึนในอัตราสูงมากและเกิดข้ึนต่อไปอีกเป็นเวลานานหลังจากที่ไม่ได้รับการเสริมแรงและหาก เปรียบเทียบระหว่างการเสริมแรงตามอัตราส่วนกับการเสริมแรงตามช่วงเวลา สกินเนอร์พบว่าแบบตาม อัตราสว่ นจะทาใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการเรียนร้ทู ่ียาวนานกวา่ แบบตามชว่ งเวลา ทฤษฎีกลุ่มปัญญานยิ ม ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism theory) เกิดเม่ือ ประมาณปี 1970 ได้มีนักจิตวิทยาและ นกั การศกึ ษากลมุ่ ใหม่ทเี่ รยี กตนเองวา่ “นกั ปัญญานิยม” ซ่งึ ขยายขอบเขตของแนวคิดท่ีเน้นทางด้านพฤติกรรม ออกไปสกู่ ระบวนการทางความคิด ซง่ึ เป็นกระบวนการภายในสมอง แนวคิดกลุ่มนี้เช่ือว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ ไม่ใช่เร่ืองของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากภายนอกเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน การ เรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนย่ิงไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสม ข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการ แก้ปญั หาต่าง ๆ การเรยี นร้เู ป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ ตนเอง (อา้ งอิงจาก ณัฐกร สงคราม, 2553) แนวคิดพ้ืนฐานทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม พฤติกรรมของมนุษย์นั้น ไม่เหมือนกับผ้าขาวที่อยาก เปล่ียนเป็นสีอะไรก็สามารถย้อมสีได้ แต่เป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากภายในตัวมนุษย์ การเรียนรู้เป็นผลของ กระบวนการคดิ ความเขา้ ใจ การรบั รู้สงิ่ เร้าทม่ี ากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทาใหเ้ กิดการเรยี นรูข้ น้ึ นักทฤษฎีกลุ่มน้ีกล่าวว่าบุคคลแต่ละคนจะมีโครงสร้างความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญา (Schema) ภายในที่มีลักษณะเป็นโหนด (Node) หรือกลุ่มที่มีการเช่ือมโยงกันอยู่ การที่มนุษย์จะรับรู้อะไรใหม่ ๆ นั้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225