เอกสารประกอบการสอน ME 41409 วชิ า การขนถา่ ยวสั ดุ (Material Handling) อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี 2559
(1) คำนำ เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอน รายวิชา กำรขนถ่ำยวัสดุ (Material Handling) รหัสวิชำ ME 41409 ซึ่งเป็นรายวิชาท่ีเปิดสอนในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ในหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล เปิดสอนในกลุ่มวิชา เอกเลือกและเลือกเสรี มีเน้ือหาเก่ียวข้องกับการวิเคราะห์และวางแผนการขน ถา่ ยวัสดุ การเปรียบเทียบและการคัดเลือกเครอื่ งมือขนถา่ ยวสั ดุ การวางผังขนถ่ายวัสดุ การออกแบบ ระบบเคร่ืองมือขนถ่ายวัสดุ การขนถ่ายโดยแรงดึงดูดโลก เกลียวลาเลียง กะพ้อ สายพานลาเลียง โซ่ ลาเลียง เครอ่ื งลาเลยี งโดยการส่ัน การกาจัดฝุ่นและการออกแบบระบบท่อ และการขนถา่ ยวัสดุเหลว โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าในเกี่ยวกับหลักการในการออกแบบระบบขนถ่าย วสั ดแุ ละสามารถประยกุ ตใ์ ช้งานได้ อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี 2559
(1)
(3) กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบพระคณุ พ่อ แม่ และญาติพี่นอ้ งทกุ คน ขอขอบพระคณุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี ขอขอบพระคณุ ผ้บู รหิ าร คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี ขอขอบพระคณุ รศ.ดร. รชั พล สนั ตวิ รากร ขอขอบคณุ นกั ศกึ ษา
(3)
เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ (5) สารบญั สารบัญ หน้า (1) เน้ือหา (3) (5) คานา (11) กิตตกิ รรมประกาศ (23) สารบญั (27) สารบัญรูปภาพ 1 สารบัญตาราง 3 แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า 3 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 4 บทท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกย่ี วกบั การขนถ่ายวัสดุ 4 6 1.1 ระบบการขนถา่ ยวัสดุ 9 1.2 ความหมายของการขนถ่ายวัสดุ 12 1.3 องค์ประกอบสาคัญของการขนถา่ ยวสั ดุ 13 1.4 ขอบเขตการขนย้ายวสั ดุ 14 1.5 กฎของการขนถ่ายวสั ดุ 16 1.6 วิธีการขนถ่ายวสั ดุ 17 1.7 การเลือกเครื่องมือการขนถ่ายวัสดุ 27 1.8 ตวั แปรในการวเิ คราะห์ระบบลาเลียงวัสดุ 29 1.9 การกาหนดเส้นทางลาเลียง 30 1.10 ชนิดของเคร่อื งมือและอุปกรณ์ลาเลยี งวัสดุ 31 1.11 บทสรุป 33 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 33 เอกสารอ้างองิ 38 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 46 บทท่ี 2 การออกแบบระบบขนถา่ ยวัสดุ 62 2.1 ระบบการเคลือ่ นย้ายวัสดุ 66 2.2 การเลอื กใช้อปุ กรณท์ ่ชี ว่ ยในการขนยา้ ยตามลกั ษณะงาน 71 2.3 การวางผังขนถา่ ยวัสดุ 72 2.4 การออกแบบระบบเครอื่ งมือขนถ่ายวัสดุ 74 2.5 การวเิ คราะห์ต้นทนุ ของการขนถ่ายวสั ดุ 75 2.6 การจดั การบารงุ รักษาเครื่องมือลาเลียง 2.7 บทสรปุ แบบฝกึ หัดทา้ ยบท เอกสารอา้ งอิง อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวัสดุ (6) สารบญั สารบัญ (ตอ่ ) เน้อื หา หนา้ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 3 77 บทท่ี 3 ระบบตน้ กาลังขับอุปกรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 79 79 3.1 การแบง่ ประเภทชดุ ขับอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุ 82 3.2 การจัดวางชดุ ขับอุปกรณ์ขนถา่ ยวสั ดุ 83 3.3 แนวทางการเลือกชดุ ขับอุปกรณข์ นถ่ายวัสดุ 86 3.4 ประสทิ ธิภาพในการขบั อุปกรณ์ขนถ่ายวสั ดุ 87 3.5 มอเตอรไ์ ฟฟ้าขับอุปกรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 95 3.6 เคร่ืองยนต์ขบั อปุ กรณ์ขนถ่ายวัสดุ 103 3.7 ระบบไฮดรอลิคขับอปุ กรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 110 3.8 อปุ กรณ์ลดความเรว็ 111 3.9 โซ่ขับ สายพานรปู ตวั วแี ละเฟือง 114 3.10 ชดุ ขับไฟฟ้าปรบั ความเร็ว 117 3.11 บทสปุ 118 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 119 เอกสารอ้างอิง 121 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4 123 บทที่ 4 เกลียวลาเลียงหรือสกรูขนถา่ ย 123 4.1 หลักการทางานของสกรขู นถ่าย 125 4.2 ประเภทของใบเกลยี วสกรูขนถา่ ย 133 4.3 การจัดอุปกรณ์ของระบบสกรขู นถา่ ย 139 4.4 อัตราขนถ่ายของสกรูขนถา่ ย 145 4.5 กาลงั ม้าและแรงบดิ ทีต่ ้องการของสกรขู นถา่ ย 153 4.6 การประกอบสกรูขนถา่ ย 156 4.7 สกรูป้อนวัสดุ 164 4.8 บทสรุป 165 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 167 เอกสารอ้างอิง 169 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 171 บทที่ 5 กะพอ้ ลาเลยี ง 171 5.1 ความหมายของกระพอ้ ลาเลยี ง 177 5.2 ส่วนประกอบของกระพ้อลาเลยี ง 184 5.3 ความเร็วกระพ้อลาเลยี ง 188 5.4 อัตราขนถา่ ยและกาลังม้าสาหรับกะพอ้ ลาเลียง อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี
เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ (7) สารบญั สารบญั (ตอ่ ) เนื้อหา หนา้ 5.5 อุปกรณล์ าเลยี งขึน้ ทสี่ ูง 193 5.6 บทสรุป 197 แบบฝกึ หัดท้ายบท 199 เอกสารอ้างองิ 200 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 6 201 บทท่ี 6 สายพานลาเลยี ง 203 6.1 หลักการทางานของสายพานลาเลยี ง 203 6.2 การจดั โครงรา่ งและมุมลาดเอียงของสายพานลาเลยี ง 204 6.3 ความกว้างสายพานและความเร็วมาตรฐานของสายพานลาเลยี ง 209 6.4 อัตราการขนถ่ายของสายพานลาเลียง 211 6.5 การกาหนดแรงดงึ และกาลังมา้ ของสายพานลาเลียง 216 6.6 โครงสร้างของสายพานลาเลยี ง 229 6.7 ลูกกลิ้งและล้อสายพาน 236 6.8 การออกแบบระบบสายพานลาเลียงแบบโมดูล่าร์ 251 6.9 บทสรปุ 258 แบบฝึกหดั ท้ายบท 259 เอกสารอ้างอิง 261 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 7 263 บทที่ 7 โซล่ าเลียง 265 7.1 ความหมายของโซ่ลาเลียง 265 7.2 ชนดิ ของโซ่ลาเลียง 266 7.3 ประเภทของโซ่ลาเลียง 268 7.4 ประเภทของระบบโซ่ลาเลยี ง 275 7.5 ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อการออกแบบระบบโซล่ าเลยี ง 290 7.6 อัตราขนถา่ ยและกาลงั ม้าท่ตี ้องการ 295 7.7 บทสรุป 307 แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 308 เอกสารอ้างอิง 309 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8 311 บทที่ 8 การลาเลียงแบบสัน่ 313 8.1 ความหมายของการลาเลยี งแบบสนั่ 314 8.2 การจาแนกประเภทอุปกรณ์ลาเลยี งแบบสั่น 315 8.3 อตั ราการขนถา่ ยวัสดดุ ้วยการลาเลียงแบบสน่ั 326 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ (8) สารบญั สารบัญ (ตอ่ ) เนื้อหา หนา้ 8.4 กาลงั ม้าท่ีต้องการ 335 8.5 การออกแบบและการนาอุปกรณ์ขนถ่ายดว้ ยแรงเขย่าไปใช้งาน 344 8.6 เคร่อื งป้อนแบบสั่นสะเทือน 363 8.7 บทสรุป 370 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 371 เอกสารอา้ งอิง 372 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 9 373 บทที่ 9 การขนถา่ ยวสั ดดุ ว้ ยลม 375 9.1 ความหมายของการขนถ่ายวัสดุด้วยลม 375 9.2 คณุ สมบตั ขิ องวสั ดุท่ีขนถ่ายดว้ ยลม 377 9.3 หลักการทางานของระบบการขนถ่ายวัสดดุ ้วยลม 378 9.4 อัตราการขนถา่ ยและความดนั ที่ต้องการในการขนถา่ ยด้วยลม 398 9.5 ประเภทของการขนถา่ ยวัสดดุ ว้ ยลม 416 9.6 บทสรุป 423 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 425 เอกสารอา้ งอิง 427 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 10 429 บทที่ 10 การขนถา่ ยวสั ดุขึ้น-ลง 431 10.1 ลฟิ ท์ 431 10.2 บันไดเลอื่ นและทางเล่ือน 450 10.3 เครน รอกไฟฟา้ และปั้นจน่ั 457 10.4 บทสรุป 485 แบบฝึกหัดท้ายบท 587 เอกสารอา้ งอิง 488 ภาคผนวก 489 ภาคผนวก ก ใบงาน 491 ใบงานท่ี 1 การออกแบบวธิ กี ารขนถา่ ยวัสดุและการเลือกเคร่ืองมือการขนถ่ายวัสดุ 493 ใบงานที่ 2 การออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุและการวิเคราะห์ต้นทุนของการขนถา่ ย 499 วัสดุ 507 ใบงานที่ 3 การออกแบบอุปกรณเ์ ช่ือมต่อกับระบบตน้ กาลงั ขบั อุปกรณ์ขนถา่ ย 515 ใบงานท่ี 4 การออกแบบอัตราขนถา่ ยของสกรขู นถา่ ย กาลังมา้ ทต่ี ้องการและ 523 แรงบิดท่ตี ้องการของสกรขู นถ่าย ใบงานที่ 5 การออกแบบกาลังม้าทต่ี ้องการของสกรปู ้อนวัสดุ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี
(9) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ สารบญั สารบญั (ต่อ) เนื้อหา หนา้ ใบงานที่ 6 การออกแบบค่าความเรว็ กระพ้อลาเลียง อัตราขนถา่ ยและกาลังมา้ 529 สาหรับกะพอ้ ลาเลยี ง 535 ใบงานท่ี 7 การออกแบบหาค่าอตั ราการขนถ่ายของสายพานลาเลยี งแรงดงึ และ 543 กาลังมา้ ของสายพานลาเลียง 551 ใบงานที่ 8 การออกแบบระบบสายพานลาเลยี งแบบโมดูลา่ ร์ 559 ใบงานท่ี 9 การออกแบบคานวณหาคา่ อตั ราขนถา่ ยและกาลงั มา้ ที่ต้องการของ 569 ระบบโซ่ลาเลียง 577 ใบงานที่ 10 การออกแบบคานวณหาค่าอตั ราการขนถา่ ยวัสดุและกาลงั มา้ ท่ี 589 ต้องการของด้วยการลาเลียงแบบสัน่ 599 ใบงานท่ี 11 การอออกแบบเครื่องป้อนแบบส่ันสะเทือน 605 ใบงานท่ี 12 การออกแบบคานวณหาคา่ อัตราการขนถ่ายและความดนั ที่ตอ้ งการใน 613 การขนถ่ายด้วยลม ใบงานท่ี 13 การออกแบบระบบลฟิ ท์ ใบงานท่ี 14 การออกแบบบันไดเล่ือนและทางเลือ่ น ใบงานที่ 15 การออกแบบเครน รอกไฟฟา้ และปนั้ จน่ั บรรณานุกรม อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
(10) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
(11) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รูปภาพ สารบญั รูปภาพ หน้า 4 รปู ที่ 5 6 1.1 กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) 6 1.2 องคป์ ระกอบสาคัญของการขนถ่ายวสั ดุ 7 1.3 แผนผงั การขนย้ายบรเิ วณพน้ื ทที่ างาน 8 1.4 แผนผังการขนยา้ ยภายในสายการผลิต 8 1.5 แผนผังการขนย้ายระหว่างสายการผลติ 9 1.6 การขนย้ายระหวา่ งฝ่ายในโรงงาน 9 1.7 การขนยา้ ยระหว่างโรงงาน 15 1.8 การขนยา้ ยระหว่างองคก์ ร 16 1.9 การขนยา้ ยในระบบการขนส่ง 16 1.10 ตัวแปรประกอบสาคัญในการวเิ คราะหร์ ะบบลาเลียงวัสดุ 17 1.11 เส้นทางการลาเลยี งวัสดุ 19 1.12 การบงั คบั เสน้ ทางในการลาเลียง 19 1.13 การบังคบั เส้นทางในการลาเลียง 19 1.14 เครือ่ งมือขนส่งทมี่ ีเสน้ ทางขนส่งที่ไม่แนน่ อน 20 1.15 เครื่องมือขนสง่ ทใี่ ช้แรงงานคน มีเส้นทางขนส่งที่ไม่แนน่ อน 20 1.16 อปุ กรณ์ขนสง่ ดว้ ยเครื่องยนต์ มีเส้นทางขนส่งท่ีไม่แนน่ อน 20 1.17 เคร่ืองมอื ลาเลยี งวสั ดอุ ย่างตอ่ เนื่อง 20 1.18 เครอื่ งมือยกวัสดุในแนวด่งิ แบบตอ่ เน่ือง 20 1.19 เครอื่ งมือยกวสั ดใุ นแนวด่งิ แบบไมต่ ่อเนื่อง 21 1.20 เครื่องมือลาเลยี งวสั ดุในแนวด่ิง 21 1.21 เคร่ืองมอื ลาเลียงวัสดตุ ามรางแขวน 22 1.22 เครนยกวสั ดใุ นแนวดิ่ง 22 1.23 เครนยกที่ตดิ ตง้ั กับรถบรรทกุ 22 1.24 เครื่องมือถา่ ยเทใชใ้ นกรณที ี่งานมขี อ้ จากดั ดา้ นพนื้ ท่ี 23 1.25 รางลาเลยี งวสั ดุ 23 1.26 รางเอยี งลาเลยี งวัสดุ 24 1.27 อปุ กรณ์ในการจัดวางวัสดุ 24 1.28 รถเขน็ อเนกประสงค์ 25 1.29 รถยกอเนกประสงค์ 26 1.30 รถบรรทุกอเนกประสงค์ 27 1.31 การแบง่ ชนดิ ของแผ่นรองวางตามมาตรฐาน JIS 1.32 ประเภทของแผน่ รองวาง 1.33 รถเข็นยกระบบไฮดรอลกิ อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี
(12) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ สารบญั รูปภาพ สารบัญรปู ภาพ (ต่อ) รูปที่ หน้า 2.1 รถยก (Forklift Truck) 33 2.2 รถลากจูงประกอบรถพ่วง (Tractor-trailer) 34 2.3 ปน้ั จ่ัน (Crane) 34 2.4 รางเลอ่ื นชนดิ สายพาน (Belt Conveyor) และรางเล่ือนชนิดลกู กลงิ้ (Roller 35 35 Conveyor) 36 2.5 การเคลื่อนย้ายอัตโนมตั ิ 36 2.6 การลาเลยี งดว้ ยลมหรอื นวิ เมตกิ คอนเวเยอร์ 37 2.7 การลาเลียงด้วยแรงเขยา่ (Vibratory Conveyors) 37 2.8 แสดงลกั ษณะการใช้งานของสายพานลาเลยี ง 39 2.9 แสดงลักษณะการใช้งานของสกรูลาเลียง 40 2.10 อุปกรณ์ Automated Guided Vehicle Systems (AGV) 40 2.11 อปุ กรณ์ประเภทปนั้ จ่นั และลูกรอก 41 2.12 อปุ กรณห์ นุ่ ยนต์ 42 2.13 อุปกรณ์ทใี่ ชส้ าหรับการรวมสินคา้ เป็นหน่วยใหญ่ 42 2.14 อปุ กรณ์ Shelving System 43 2.15 อุปกรณ์ Racking System 43 2.16 Industrial Truck 44 2.17 Conveyor 48 2.18 อปุ กรณ์ทีใ่ ชส้ าหรับการขน้ึ ลงของที่หนา้ คลงั 51 2.19 ตวั อยา่ งการวางผงั โรงงานของสถานประกอบการ 51 2.20 การวางผงั ตามกระบวนการผลติ (Process Layout) 52 2.21 การวางผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์ (Product Layout) แบบหลายผลิตภัณฑ์ 52 2.22 การวางผงั แบบอยกู่ ับท่ี (Fixed Position Layout) 54 2.23 การวางผงั โรงงานแบบผสม (Mixed Layout) 55 2.24 แผน่ ภาพแบบจาลองธรุ กจิ (Business Model Canvas) 56 2.25 วิธีการสรา้ งห่นุ จาลอง 61 2.26 สัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในแผนภูมกิ ระบวนการผลติ 82 2.27 กลยทุ ธ์การขยายกาลังการผลติ 83 3.1 การวางระบบขบั อปุ กรณ์ขนถ่าย 84 3.2 การจัดวางชุดขับอุปกรณ์ขนถ่ายประเภททว่ั ๆ ไป 89 3.3 เสน้ โค้งแรงบิดในการสตาร์ทในอุดมคติสาหรบั อปุ กรณ์ขนถ่าย 90 3.4 วฎั จกั รการทางานท่ีแตกต่างกันเมอ่ื มอเตอร์มีอณุ หภูมสิ งู ข้นึ 3.5 แผนผงั การแยกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั และกระแสตรง อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
(13) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ สารบญั รปู ภาพ สารบัญรปู ภาพ (ต่อ) รปู ท่ี หน้า 3.6 โปรแกรมแรงบดิ -ความเรว็ สาหรับการสตารท์ ของมอเตอร์แบบ Wound-rotor 92 3.7 เส้นโค้งแรงบดิ เปรียบเทยี บกับความเร็วของ NEMA 93 3.8 การจากดั กระแสของมอเตอร์ในระหวา่ งการสตาร์ทดว้ ยตวั ควบคุม SCR 94 3.9 ช้ินส่วนของเครอ่ื งยนต์เบนซิน 97 3.10 การทางานของเคร่ืองยนต์เบนซลิ 4 จังหวะ 98 3.11 จังหวะดูดและอดั 99 3.12 จังหวะกาลงั และจงั หวะคาย 99 3.13 การทางานของเคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 100 3.14 ชดุ ขบั ไฮดรอลิคปรับความเร็วได้แบบต่าง ๆ 104 3.15 เสน้ โคง้ สมรรถนะของชดุ ขบั ไฮดรอลิคปรบั ความเร็วไดส้ าหรบั การเติมของไหล 106 106 ระดับต่าง ๆ 107 3.16 ภาพประกอบลายเสน้ ของชดุ ขบั ใชค้ วามเหนยี วนา้ มัน 107 3.17 ระบบขบั ใช้ความดันของของไหลทใ่ี ช้กบั ปม๊ั แบบลูกสูบแนวแกน 109 3.18 ปม๊ั ไฮดรอลิคและมอเตอรแ์ บบระยะเคล่อื นที่คงที่ชนิดธรรมดา 112 3.19 การส่งถ่ายกาลงั ดว้ ยไฮดรอลิคแบบใชป้ ๊มั และมอเตอรป์ ริมาตรแทนทป่ี รบั ได้ 113 3.20 ประเภทของชดุ ลดความเรว็ ตามการจัดแนวของเพลา 115 3.21 เฟอื งเกียรป์ ระเภทตา่ ง ๆ 116 3.22 วงจรควบคมุ สาหรับมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั ปรบั ความถ่ีได้ 124 3.23 ตวั ควบคุมเปล่ียนแปลงความถ่ี 3 แบบ เปลยี่ นกระแสสลบั เป็นกระแสตรงและ 125 126 แปรกระแสตรงให้คลา้ ยกระแสสลับ 126 4.1 โครงรา่ งของสกรูขนถา่ ย 127 4.2 สกรแู บบเกลียวซ้ายและเกลยี วขวา 127 4.3 ใบสกรแู บบใบเต็มระยะพิตมาตรฐาน 127 4.4 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพติ เท่ากบั คร่งึ หนงึ่ ของเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางใบ 128 4.5 ใบสกรแู บบใบเต็มระยะพติ ส้ัน 128 4.6 ใบสกรแู บบใบเต็มระยะพิตยาว 128 4.7 ใบสกรแู บบใบเต็มระยะพติ ขยาย 129 4.8 ใบสกรแู บบที่ขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึน้ เปน็ ระดับขัน้ 129 4.9 ใบสกรูแบบใบเรยี วระยะพติ มาตรฐาน 130 4.10 ใบสกรูแบบใบเต็ม 2 ชั้น ระยะพิตมาตรฐาน 4.11 ใบสกรูแบบระยะพติ สน้ั สองช้ัน 4.12 ใบสกรแู บบใบเต็มระยะพิตมาตรฐานติดใบพาย 4.13 ใบสกรแู บบใบตัด อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
(14) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ สารบญั รูปภาพ สารบญั รปู ภาพ (ต่อ) หน้า 130 รูปท่ี 130 131 4.14 ใบสกรูแบบตัดและพับ 131 4.15 ใบสกรแู บบตดั และตดิ ใบพาย 131 4.16 ใบสกรูแบบริบบอน 132 4.17 ใบสกรแู บบริบบอนติดใบพาย 132 4.18 ใบสกรูแบบรบิ บอนหลายใบ 132 4.19 ใบสกรูแบบใบพาย 133 4.20 ใบสกรลู าเลยี งแบบใบถ้วย 133 4.21 สกรแู บบกรวยระยะพิตสมา่ เสมอ 134 4.22 สกรูแบบกรวยระยะพิตเพิ่มข้ึน 134 4.23 ใบสกรูแบบไม่มีเพลา 134 4.24 ใบสกรูยดื หยุ่นได้แบบกลม 135 4.25 ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบแบน 137 4.26 ใบสกรยู ืดหยนุ่ ได้แบบมีขอบใบเอยี ง 144 4.27 การจดั สกรขู นถ่ายแบบตา่ ง ๆ 144 4.28 พน้ื ท่หี น้าตัดของสกรแู สดงให้เหน็ ระยะหา่ งในแนวรัศมี 146 4.29 ผลกระทบของมมุ ชนั ต่ออตั ราขนถา่ ยของสกรูขนถ่าย 157 4.30 การออกแบบสกรูขนถ่ายมมุ ชันขนึ้ แบบต่าง ๆ 160 4.31 แผนภูมิสาหรบั ค่าแฟคเตอร์ Fo 160 4.32 ตัวอย่างภาพตดั ของเครื่องป้อนแบบสกรู 161 4.33 เครื่องป้อนสกรูเดย่ี ว 162 4.34 เคร่อื งป้อนใบสกรูคู่ 163 4.35 สกรูขนถา่ ยแบบ Lift (Courtesy Screw Conveyor Corp.) 163 4.36 สกรขู นถ่ายวัสดขุ ึน้ จากเรือของ Siwertell 173 4.37 ส่วนทางเขา้ ของสกรู ของ Siwertell 173 4.38 สกรขู นถา่ ยแบบขด-ดดั โค้งได้ (Flexible Spiral Conveyor) 175 5.1 กระพ้อลาเลียงแบบปล่อยวัสดุออกดว้ ยแรงเหว่ียงหนีศูนย์กลาง 176 5.2 แบบวิถโี ค้งของกระพอ้ แบบแรงเหว่ียง 176 5.3 กระพอ้ ลาเลียงแบบปลอ่ ยวัสดุออกอย่างตอ่ เนือ่ ง 178 5.4 กระพอ้ ลาเลยี งแบบปลอ่ ยวัสดุออกได้อยา่ งเช่ือถือได้ 179 5.5 กระพอ้ ลาเลยี งแบบปลอ่ ยวัสดอุ อกดว้ ยแรงโน้มถว่ ง 181 5.6 ตวั กระพ้อ 5.7 เปรียบเทยี บอัตราขนถา่ ยระหวา่ งแบบ AA กับแบบ AC 5.8 การต่อชนสายพานของกระพ้อลาเลียง อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี
(15) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ สารบญั รูปภาพ สารบญั รูปภาพ (ต่อ) รปู ท่ี หน้า 5.9 ตัวอย่างรูปแบบการปลอ่ ยวัสดุออกสาหรบั กระพ้อลาเลียงแบบแรงเหวีย่ งหนี 184 ศูนยก์ ลาง 187 187 5.10 การปลอ่ ยอนภุ าควสั ดทุ ี่กระพ้อความเร็วสูง 194 5.11 ขั้นตอนการดาเนนิ การปลอ่ ยวสั ดุออกของกระพ้อลาเลียง 195 5.12 ตวั อย่างโครงร่างกระพอ้ ลาเลียงแบบกระดก 196 5.13 โครงร่างการจดั แนวของกระพ้อแบบกระดก (Peck Carriers) แบบต่าง ๆ 197 5.14 วัฎจกั รการเทตวั กระพ้อ 197 5.15 การจดั แนวแบบต่าง ๆ ของกระพ้อลาเลียงแบบกระดก 203 5.16 ELECON-TRI-PLANER (COURTESY GOUGH-ECON) 206 6.1 การจดั วางแนวสายพานลาเลียง 207 6.2 ตัวอย่างโครงรา่ งรปู แบบสายพานลาเลยี ง 208 6.3 รปู แบบการส่งวสั ดอุ อกของสายพานลาเลยี ง 210 6.4 มุมและความยาวของความลาดเอยี ง 211 6.5 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดวัสดุ กบั ความกวา้ งสายพาน 211 6.6 ความเรว็ สายพานทเ่ี หมาะสมกบั ความกวา้ งสายพาน 213 6.7 แสดงใหเ้ ห็นภาพตดั ของวสั ดุขนถ่ายบนสายพานลาเลยี ง 224 6.8 ภาพตดั วัสดุบนสายพาน 231 6.9 ตวั อยา่ งการจดั วางล้อขับแบบล้อเดียวและแบบสองลอ้ 234 6.10 ภาพตดั ของสายพานโครงผา้ และโครงเสน้ ลวด 237 6.11 โครงสร้างผา้ ทอชนิดต่าง ๆ 238 6.12 ลกู กลิ้งประเภทตา่ ง ๆ 240 6.13 ผลกระทบของความยาวลูกกลง้ิ ทรงกระบอกตอ่ พ้ืนทห่ี น้าตัด 242 6.14 สว่ นประกอบของแบร่ิงลูกกลิ้งแบบธรรมดา 242 6.15 แผนภูมกิ ารเลอื กลกู กลง้ิ แอง่ 244 6.16 แผนภมู กิ ารเลอื กลูกกลง้ิ ด้านกลับ 246 6.17 ตวั อย่างภาพตัดล้อสายพาน 247 6.18 การจดั วางรางส่งถา่ ย 248 6.19 การจดั วางสายพานส่งถ่าย 250 6.20 ผลกระทบจากการป้อนวัสดลุ งไม่ตรงกลาง 252 6.21 วถิ โี คจรของวสั ดุเหนอื ล้อสายพานปลอ่ ยวัสดุ 252 6.22 ระบบลาเลยี งแบบสายพาน (Belt Conveyor) 253 6.23 ระบบลาเลียงแบบสายพาน (Belt Conveyor) 6.24 ระบบสายพานลาเลียง อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
(16) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รูปภาพ สารบัญรูปภาพ (ต่อ) รูปท่ี หน้า 6.25 กราฟแสดงคา่ SF (Service Factor) และคา่ T (Temperature Factor) 254 7.1 ชนิดของโซล่ าเลยี ง 267 7.2 ชนดิ ของโซล่ าเลียง 272 7.3 ขอ้ ต่อทมี่ ีอปุ กรณต์ ดิ ต้ังแบบต่าง ๆ 273 7.4 แนวทางการเปรยี บเทียบความแขง็ ระหวา่ ง Moh’s Index กับบริเนล 274 7.5 โซ่ลาเลยี งแบบอ่างประเภทต่าง ๆ 275 7.6 ตวั อยา่ งโซล่ าเลยี งแบบอ่าง “Leak Proof” 276 7.7 ตัวอย่างโครงของโซล่ าเลียง 277 7.8 ตวั อย่างโซล่ าเลียงแบบลากพา 279 7.9 Scraper Conveyor 279 7.10 Flight Conveyor 279 7.11 โซ่ลาเลยี งแบบกวาดแนวเด่ยี วแบบต่างๆ 280 7.12 โซล่ าเลียงแบบกวาด 2 แนวของ Courtesy Rise-Louise 280 7.13 ตวั อย่างการจัดแนวโซล่ าเลียงแบบกวาด 282 7.14 โซ่ลาเลยี งแบบ En Masse 282 7.15 ใบ Flight รปู ร่างตา่ ง ๆ สาหรับโซล่ าเลยี งแบบ En Masse 283 7.16 การใช้โซ่ลาเลียงแบบ “En Masse” ในแนวด่งิ (Courtesy Redler Conveyors 284 Ltd.) 7.17 การจัดแนวแบบต่าง ๆ 284 7.18 โซ่ลาเลียง ‘BUHLER SKT MARINE LEG’ 285 7.19 TRAVELING UNLOADING GANTRY WITH BUHLER SKT MARINE LEG 286 7.20 แสดงภาพสเก็ตซ์ของ Buhler Miag Ship Unloader ท่ีมอี ุปกรณ์ชว่ ยในการป้อน 286 7.21 โซล่ าเลียงแบบทอ่ 287 7.22 โซ่รปู ทรงต่าง ๆ ที่ใชก้ บั โซ่ลาเลียงแบบทอ่ 288 7.23 ล้อฟันเฟอื งประเภทต่าง ๆ 289 7.24 ลอ้ ฟนั เฟอื งแบบขอบแยกสว่ น 290 7.25 ความเค้นในข้อต่อและสลักของโซ่ 290 7.26 รปู แบบการสึกของโซ่ 292 7.27 การแกว่งของโซ่ 293 7.28 แผนภมู ิอัตราขนถ่ายของโซล่ าเลียงแบบ “EN MASSE” (COURTESY REDLER 296 CONVEYORS LTD.) 7.29 วิธกี ารลาเลียงโดยโซ่ต่างชนิดกนั 299 8.1 อปุ กรณล์ าเลยี งด้วยแรงเขยา่ 314 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี
(17) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รูปภาพ สารบญั รปู ภาพ (ต่อ) รปู ท่ี หน้า 8.2 ช่วงความถี่-ระยะเคล่ือนทีส่ าหรบั อปุ กรณส์ น่ั สะเทือน 314 8.3 ตัวอย่างของอปุ กรณ์สนั่ สะเทือนตามประเภทของตัวกระตุ้น 315 8.4 ระบบอปุ กรณล์ าเลียงแบบความถ่ที ี่ได้ระดบั กนั (Resonance Conveyor 316 System) 8.5 อปุ กรณล์ าเลียงดว้ ยแรงเขย่าแบบสมดลุ 317 8.6 อปุ กรณ์ลาเลียงดว้ ยแรงเขย่าแบบพนื้ ฐานประเภทตา่ ง ๆ 318 8.7 อุปกรณ์ลาเลยี งด้วยแรงเขย่าของ COURTESY GENERAL KINEMATICS CORP. 318 8.8 ความยาวทบ่ี อกถึงการเคลื่อนตวั อยา่ งกลมกลนื (Harmonic) 320 8.9 การเคลือ่ นตวั แบบเปน็ ชว่ ง ๆ แบบสุม่ และแบบชั่วคราว 321 8.10 การเคลอื่ นตวั จงั หวะหนงึ่ 322 8.11 แบบโครงสร้างของการสัน่ สะเทือนเนื่องจากแรงอย่างง่าย ๆ 324 8.12 กราฟแสดงการขยายระยะการเคล่ือนที่ไปกลบั เปน็ ฟงั กช์ นั่ หนงึ่ ของการปรับ 325 ความถ่สี าหรับคา่ ตา่ ง ๆ ของการหนว่ ง 8.13 ความเรว็ ในการลาเลียงวสั ดุโดยประมาณเทยี บกับระยะเคล่ือนท่ี 327 8.14 การเคลอ่ื นตัวอย่างกลมกลืนแบบง่าย (Simple Harmonic Motion) 328 8.15 วถิ ีโคง้ ของอนภุ าคสาหรบั ช่วงเวลาการลอยตวั ต่าง ๆ 330 8.16 กราฟความสมั พนั ธ์ของตวั เลขการโยนตวั Thrown-Number (Kv) 330 8.17 ประสทิ ธิภาพความเร็วเปรียบเทียบกับ tan 331 8.18 อิทธพิ ลของ b และ m ต่อความเรว็ ขนถา่ ยวัสดุ 331 8.19 กราฟของ Kv ซ่งึ เป็นฟงั ก์ช่ันของสัมประสิทธคิ์ วามเรว็ และความเสียดทาน 332 8.20 แฟคเตอรแ์ กไ้ ข (Correction Factors) 333 8.21 การใช้แรงในการขบั รปู แบบต่าง ๆ 335 8.22 ตัวอยา่ งการขับแบบข้อเหวี่ยงยืดหยนุ่ 336 8.23 กราฟอตั ราส่วนของแรงสาหรับแฟคเตอรเ์ ช่ือมต่อขนาดต่าง ๆ 337 8.24 Nomogram ของกาลงั ม้าในการสตารท์ 342 8.25 ตัวอยา่ งอุปกรณ์ขนถ่ายด้วยแรงเขยา่ แบบแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ีมีชดุ ขับหลายชุด 344 8.26 โครงร่างสว่ นประกอบของชดุ ขบั แบบแม่เหล็กไฟฟ้าสาหรบั อปุ กรณ์ขนถ่ายและ 345 เครอ่ื งป้อน 8.27 การออกแบบพิเศษของเครื่องสัน่ สะเทอื นแบบแม่เหล็กไฟฟ้า 347 8.28 ชุดขับแบบเพลาลูกเบยี้ วทมี่ แี ขนหมุน 348 8.29 ตาแหนง่ ติดต้ังชุดขับตาแหน่งต่าง ๆ 348 8.30 การกระตุน้ โดยน้าหนกั หมุนสวนทางกันไร้สมดุลย์ 2 ตวั ทาให้เกดิ แรงเชงิ เส้น 349 8.31 การออกแบบน้าหนักเยื้องศูนยอ์ ัตโนมัติ 350 อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี
(18) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ สารบญั รูปภาพ สารบัญรูปภาพ (ตอ่ ) รปู ท่ี หน้า 8.32 การเบี่ยงเบนของสปริงแผ่นที่ถูกจับยึดปลายทั้งสองไว้ 351 8.33 การอาศยั โมดูลสั เฉอื นต่อความแขง็ ของยาง 353 8.34 การเสยี รปู ขณะถูกเฉือนของยางท่ปี ระกบด้วยโลหะ 354 8.35 โครงรา่ งของสปรงิ ยางแบบตา่ ง ๆ 355 8.36 สปริงลม 355 8.37 กราฟความสามารถในการส่งถา่ ย 359 8.38 เสน้ Curves ประสทิ ธิภาพการสั่นสะเทือนแบบแยก 360 8.39 ภาพตัดของฐานยางแบบแยกส่วน ประเภทต่าง ๆ 360 8.40 อุปกรณล์ าเลยี งด้วยแรงเขยา่ แบบรางรูปตัว V สามารถทีจ่ ะลาเลียงวสั ดุข้ึนทางชัน 362 ได้ 15 องศาหรือมากกวา่ (COURTESY GENERAL KINEMATIC CORP.) 8.41 อปุ กรณล์ าเลยี งด้วยแรงเขยา่ แบบพนื้ ล่างทาใหว้ ัสดลุ อยตวั มเี ครอื่ งอบแห้งและ 363 เครื่องทาความเย็น 8.42 ตวั อยา่ งเครื่องป้อนแบบ 2 มวล 364 8.43 ตัวอยา่ งเส้นโคง้ แฟคเตอรก์ ารขยายตวั สาหรบั ระบบมวล 2 มวล ปรับได้ 365 8.44 ตัวอยา่ งเครื่องป้อนแบบแมเ่ หล็กไฟฟ้า 366 8.45 ตัวอย่างเครื่องป้อนแบบกลไก-ไฟฟ้า ปรับได้ มวล 2 มวล 367 8.46 โครงร่างแบบพ้ืนฐานของช่องทางออกของถงั รปู กรวยท่ีถกู ต้อง 368 9.1 อปุ กรณ์ลาเลยี งแบบอาศัยแรงโน้มถว่ งของโลก 376 9.2 แผนภาพการเปรียบเทยี บระหว่างการขนถ่ายวสั ดดุ ว้ ยลมกับการขนถ่ายวัสดุดว้ ย 379 เครือ่ งจักรกลขนถา่ ยชนิดอน่ื ๆ 9.3 อปุ กรณ์แยกลม 381 9.4 อปุ กรณ์การจา่ ยวัสดดุ ้วยลม 382 9.5 รูปแบบการไหลในท่อแบบแนวนอน 383 9.6 State Diagram สาหรบั การขนถา่ ยวัสดุด้วยลม 385 9.7 State Diagram สาหรับการขนถา่ ยในแนวต้งั 387 9.8 แบบแสดงระบบการขนถ่ายวัสดุด้วยลม 388 9.9 อิทธพิ ลของความเรว็ ที่มีผลต่อสว่ นปอ้ นกนั การกัดกรอ่ นของท่อโค้ง 389 9.10 ระบบ Blow Tank ทม่ี ีการไหลแบบ Plug เดยี ว 389 9.11 วฎั จักรของการขนถา่ ยวสั ดุแบบ Plug เดย่ี ว 390 9.12 แรงดนั ที่ทาใหว้ สั ดเุ คล่ือนท่ีในท่อ 390 9.13 ตารางความสัมพันธ์แรงดันและความยาว Plug ในการขนถ่ายแบบ Plug เด่ยี ว 391 และหลาย Plug 9.14 การควบคมุ ความยาวของ Plug 392 อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี
(19) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ สารบัญรูปภาพ สารบัญรปู ภาพ (ต่อ) รูปท่ี หน้า 9.15 อุปกรณ์ลาเลยี งแบบอาศัยแรงโนม้ ถ่วงของโลก 392 9.16 การแบง่ ระดับของ Gelddarts 393 9.17 อทิ ธพิ ลของอตั ราการไหลและความหนาแน่นและความดันลดในเสน้ ทางการขน 394 ถา่ ย 9.18 ความสมั พันธ์ระหว่างความเร็วอากาศต่าสดุ กบั ความหนาแน่น 395 9.19 ความสมั พันธ์ระหวา่ งความดันลม, ความหนาแนน่ และระยะการขนถา่ ย 396 9.20 แรงทีก่ ระทาต่ออนุภาคขณะตก 398 9.21 ขนาดเฉลีย่ ของเม็ดวัสดุ 399 9.22 ความสมั พนั ธ์ระหว่างค่า Reynold number และ Resistance coefficient 402 9.23 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคา่ อัตราส่วนความเร็ว Ut ทีค่ วามเร็ววิกฤติกบั มุมของการ 408 Um ลาเลยี ง 9.24 คา่ ความดนั ทม่ี ตี ่อการไหลของวัสดขุ องการขนถ่ายด้วยลมความดันต่าที่มีการไหล 411 แบบ Homogeneous ภายในทอ่ ลาเลียง 9.25 Blower ใช้งานมาตรฐานในการขนถา่ ยวสั ดุดว้ ยลม 413 9.26 ระบบสญุ ญากาศ 417 9.27 ระบบความดนั ต่า 417 9.28 ระบบความดนั ปานกลาง 418 9.29 ระบบความดันสูงแบบถงั เดีย่ ว 418 9.30 ระบบความดันสงู แบบถงั คู่ 419 9.31 ระบบความหนาแน่นสูงทางานเป็นจังหวะ 419 9.32 ระบบความดันตา่ ปอ้ นวัสดดุ ้วยระบบเวนจรู ่ี 420 9.33 ระบบรวมสญุ ญากาศกับระบบความดนั ใช้ blower ตัวเดียว 420 9.34 ระบบรวมสญุ ญากาศกับระบบความดนั ใช้ blower 2 ตวั 421 9.35 ระบบปิด 421 9.36 ระบบปดิ ติดต้ังระบบกรองลมเพมิ่ 422 9.37 ระบบการออกแบบระบบแรงโน้มถ่วงโดยใชล้ มกระตุ้น 422 9.38 สายพานแรงโนม้ ถ่วงโดยใชล้ มกระตนุ้ ซึ่งออกแบบเป็นระบบปิด 422 10.1 แสดงหลกั การออกแบบลิฟต์โดยใชห้ ลกั การรอกกว้าน 432 10.2 ลิฟต์ระบบไฟฟ้า 434 10.3 ลิฟต์ระบบไฮดรอลคิ 434 10.4 รปู ตัวอย่างแสดงลิฟตท์ ่ีมหี ้องเครื่อง 435 10.5 แสดงรูปตัวอย่างลิฟตท์ ่ีไมม่ หี ้องเครื่อง 435 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี
(20) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รปู ภาพ สารบญั รูปภาพ (ตอ่ ) รูปที่ หน้า 10.6 เครือ่ งลิฟตข์ บั เคลอ่ื นดว้ ยเฟือง (geared-drive machine) 437 10.7 เครอ่ื งลิฟต์ขบั เคล่อื นโดยตรง (direct drive machine, gearless machine) 437 10.8 แสดงเครื่องลิฟต์และชุดควบคุมประเภทต่าง ๆ 439 10.9 อปุ กรณ์เรียกลฟิ ต์ทีม่ หี น้าจอแบบสมั ผัส (touchscreen keypad) 440 10.10 แสดงการใช้กาลังไฟฟา้ ของเครื่องลฟิ ต์ทใ่ี ชแ้ รงฉดุ จากความฝดื ขบั เคลื่อนด้วยเฟือง 441 (geared machine) และขับเคลอ่ื นโดยตรง (gearless machine) 10.11 แสดงแผนภาพการสูญเสียกาลงั ไฟฟ้าของลิฟตเ์ ครื่องลฟิ ต์แรงฉุดจากความฝืด 442 ขับเคลอ่ื นดว้ ยเฟือง (geared machine) และขบั เคลื่อนโดยตรง (gearless machine) 10.12 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของระยะเวลาในการเดินทางเฉล่ีย (average trip 446 time : AVTRP) ท่ีความเรว็ ระดับตา่ ง ๆ ของลิฟตข์ นาดนา้ หนกั บรรทุก 1,350 กโิ ลกรมั 10.13 แผนภาพระยะเวลาในการบริการ 1 รอบ (round-trip time) ทีค่ วามเร็วระดับ 447 ต่าง ๆ ของลิฟต์ ขนาดนา้ หนักบรรทกุ 1,350 กโิ ลกรัม 10.14 ตัวอยา่ งบนั ไดเลอื่ นและทางเลื่อน 451 10.15 สว่ นประกอบของบันไดเลื่อน 452 10.16 ขั้นของบนั ไดเล่ือน 453 10.17 อปุ กรณ์ความปลอดภยั เพ่ือหยุดการทางานของบนั ไดเลื่อนและทางเล่ือน 456 10.18 อุปกรณ์ตรวจจับผู้โดยสารของบันไดเล่ือนท่ีทางานแบบอตั โนมัติ (Scan Sensors) 456 10.19 ระยะห่างท่ปี ลอดภัยและข้อแนะนาการใช้งานของบนั ไดเลื่อน 457 10.20 เครนเหนอื ศีรษะ 458 10.21 เครนสนามขาสงู 2 ข้าง แบบรางเดยี่ ว 459 10.22 เครนสนามขาสูง 2 ขา้ ง แบบคานคู่ 459 10.23 เครนสนามขาสูงข้างเดยี วแบบคานเด่ียว 460 10.24 เครนสนามขาสงู ขา้ งเดยี ว แบบคานคู่ ALLA นา้ หนักยกสูงสุดไดถ้ งึ : 100 ตนั 460 10.25 เครนต้งั เสาย่ืนแขนหมนุ 461 10.26 เครนติดผนงั ยน่ื แขนหมุน 461 10.27 เครนติดผนงั ยืน่ แขนยก ALLA 462 10.28 เครนรางเลอื่ นไฟฟา้ แบบรางเดี่ยว 462 10.29 เครนเหนอื ศรี ษะแบบใต้รางว่ิง 463 10.30 การตรวจรบั วัสดจุ ากผจู้ ัดหาวสั ดุ 466 10.31 การเตรยี มผิวชนิ้ งานโลหะ 468 10.32 การเตรียมรอยตอ่ และการประกอบแผ่นงาน 468 อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี
(21) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบัญรูปภาพ สารบญั รปู ภาพ (ต่อ) หน้า 468 รปู ที่ 468 469 10.33 การประกอบคานและงานเช่ือม 469 10.34 การประกอบทางเดิน (Walkway) และคานล้อ 469 10.35 การทาสี 470 10.36 ระบบควบคุมคณุ ภาพและประกนั คุณภาพ 470 10.37 การติดตงั้ ระบบไฟฟ้า 471 10.38 การเตรียมช้ินสว่ นเพ่ือนาไปประกอบหนา้ งาน 471 10.39 รอกโซไ่ ฟฟา้ 471 10.40 รอกสลิงไฟฟ้า 472 10.41 รอกโซ่มือสาว 472 10.42 รอกกนั ระเปิด 473 10.43 รอกเดี่ยวตายตวั 474 10.44 รอกเดยี่ วเคลื่อนที่ 475 10.45 รอกพวง 475 10.46 รถปั้นจั่นหรือรถเครน 476 10.47 Overhead Crane 476 10.48 แขนบมู 476 10.49 กวา้ น 476 10.50 ขายนั พนื้ 477 10.51 นา้ หนกั ถว่ ง 478 10.52 ลวดสลิงเครน 480 10.53 ตะขอ 481 10.54 ตารางแสดงความสามารถในการยกเครน (Load Chart) 482 10.55 การวางแผนการยก 10.56 ตารางการวางแผนการยก 10.57 แผนภาพจาลองการวางแผนการยก อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
(22) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ สารบัญรูปภาพ อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
(23) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รปู ภาพ สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 1.1 ตารางชนิดเครอ่ื งมือลาเลียงวัสดุ 7 ชนดิ 14 1.2 ชนิดของเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ลาเลียงวัสดุ 18 1.3 ขนาดแผน่ รองวางมาตรฐาน (JIS Z0604) 25 2.1 แสดงข้อดี-ขอ้ เสียของการวางผังตามกระบวนการผลิต 50 2.2 แสดงขอ้ ดี-ขอ้ เสียของการวางผังตามลกั ษณะผลติ ภณั ฑ์ 50 2.3 แสดงขอ้ ดี-ขอ้ เสียของการวางผงั ตามลกั ษณะผลติ ภัณฑ์ 52 2.4 รปู การจาแนกกจิ กรรมตามขอบเขตการขนถ่ายวสั ดเุ พื่อการวิเคราะห์ตน้ ทุนการ 69 ขนถ่ายวสั ดุ 3.1 ประสทิ ธิภาพทางกลของกลไกลดความเร็ว 86 3.2 ความเร็วและกาลังม้ามาตรฐาน สาหรับความถ่ี 60 Hz 88 3.3 คา่ แฟคเตอร์ใช้งานของมอเตอรใ์ ชง้ านทัว่ ไปและมอเตอร์ท่ีมอี ณุ หภูมิ 40 oC 89 3.4 ตารางเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของการใช้ระบบไฮดรอลิคเป็นอุปกรณข์ ับขนถ่าย 103 วสั ดุ 4.1 สกรูขนถา่ ยวสั ดุก้อนใหญ่สดุ 138 4.2 อตั ราขนถา่ ยสกรูขนถา่ ย 140 4.2 อัตราขนถ่ายสกรขู นถา่ ย (ต่อ) 141 4.3 แฟคเตอร์อัตราขนถ่าย (CF1) 142 4.4 แฟคเตอร์อตั ราขนถา่ ย (CF2) 142 4.5 แฟคเตอร์อตั ราขนถา่ ย (CF3) 142 4.6 แฟคเตอรแ์ บรง่ิ แขวน Fb 146 4.7 แฟคเตอรเ์ สน้ ผ่าศนู ย์กลางสกรู Fd 147 4.8 แฟคเตอร์ชนิดใบสกรู Ff 147 4.9 แฟคเตอร์ใบพาย Fb 147 4.10 อตั ราแรงบดิ ของเกลียว ทอ่ และอุปกรณเ์ ชอื่ มต่อ หนว่ ยเป็นปอนด์ 151 4.11 อตั ราขนถ่ายสกรูแนวดง่ิ 162 4.12 ตวั อยา่ งอัตราขนถ่ายและกาลังมา้ ทีต่ ้องการ 164 5.1 คุณลกั ษณะเฉพาะของสายพานผ้าทใี่ ช้กบั กระพ้อ 181 5.2 ความเร็วแนะนาสาหรบั กระพ้อแบบแรงเหวีย่ ง 186 5.3 อัตราขนถา่ ยของกระพอ้ แบบกระดก ที่ขนถ่ายถ่านหิน หรอื วัสดคุ ล้ายกันนาหนกั 196 50 ปอนดต์ ่อลกู บาศก์ฟตุ ท่ีความเร็วกาหนด 6.1 มุมลาดเอียงสงู สดุ 208 6.1 มุมลาดเอียงสูงสุด (ต่อ) 209 6.2 ความสัมพันธ์ระหวา่ ง การไหลตัว มุมกองขณะท่ีเคลอ่ื นที่ มมุ กองพืนของวสั ดุ 213 อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
(24) สารบญั รูปภาพ เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางท่ี หนา้ 6.3 พืนทีห่ น้าตดั (ตารางฟุต) 214 6.4 แฟคเตอร์ความเสยี ดทาน (C) และแฟคเตอร์ความยาว (L0) สาหรับสตู รหาแรง 218 221 ดงึ 225 6.5 ค่าเฉล่ยี ของคา่ Bw และ Q สาหรับสายพานแบบชนั (Ply - type) หน่วยเปน็ 226 227 ปอนดต์ ่อฟตุ 228 6.6 คา่ สัมประสทิ ธ์ิความเสยี ดทาน (f) 231 6.7 แฟคเตอร์การโอบ (Cw) 232 6.8 ระยะหา่ งของลูกกลิงสายพานธรรมดา 233 6.9 ผลกระทบของอัตราเร่งหรือเบรกต่อชดุ ปรบั ความตึงสายพานแบบนาหนักถว่ ง 236 6.10 การเลือกใช้สายพานตามคุณภาพ 238 6.11 คุณสมบตั ิสารยดื หยนุ่ 239 6.12 คุณสมบตั ิเสน้ ใยสายพาน 241 6.13 คา่ แรงดึงของสายพานลาเลียง 243 6.14 ประเภทของลูกกลงิ 243 6.15 อตั ราบรรทุกของลกู กลิงแอ่งเปน็ ปอนด์ 266 6.16 รายละเอยี ดของแฟคเตอรใ์ ชง้ าน A (Service Factor A) สาหรบั สภาพต่าง ๆ 274 6.17 นาหนกั เฉลย่ี โดยประมาณของสายพาน, ปอนด์ต่อความยาว 1 ฟุต 278 6.18 นาหนักและขนาดวสั ดุ แฟคเตอร์ B สาหรับลูกกลงิ แอ่งเท่านนั 301 7.1 ชนดิ ของโซ่ลาเลยี ง 301 7.2 การคา่ ความแข็งของบริเนล 302 7.3 ความเร็วและขนาดก้อนวสั ดใุ หญส่ ดุ สาหรบั โซ่ลาเลียงแบบอ่าง 303 7.4 แฟคเตอร์ความเสยี ดทานของโซ่ ( f1 ) 304 7.5 แฟคเตอร์ความเสยี ดทานของลกู กลิง ( fr ) 305 7.6 แฟคเตอร์ความเสียดทานวัสดุ 313 7.7 แฟคเตอรใ์ ช้งาน (Service Factors, SF ) 326 7.8 แฟคเตอรค์ วามเรว็ ( fm ) 337 7.9 ตารางการเลือกโซ่ 376 8.1 การเปรียบเทยี บขอ้ ดี-ขอ้ เสยี ของอุปกรณล์ าเลียงด้วยแรงเขยา่ 377 8.2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างการเคล่ือนตัวของรางและคุณสมบัติของวสั ดุ 377 8.3 ความสมั พันธ์ระหว่างแรงขับสูงสุด F และ l 9.1 การเปรยี บเทยี บขอ้ ดี-ขอ้ เสียของการขนถ่ายวัสดดุ ว้ ยลม 9.1 การเปรียบเทยี บข้อดี-ขอ้ เสียของการขนถ่ายวสั ดดุ ว้ ยลม (ตอ่ ) 9.2 คุณสมบัติของวัสดทุ ี่ต้องนามาพจิ ารณาในการขนถา่ ยวัสดุด้วยลม อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี
(25) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ สารบญั รปู ภาพ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หนา้ 9.2 คุณสมบตั ิของวัสดทุ ีต่ ้องนามาพจิ ารณาในการขนถา่ ยวัสดดุ ้วยลม (ตอ่ ) 378 9.3 วสั ดุทเี่ หมาะสมกบั การขนถา่ ยดว้ ยลม 379 9.3 วัสดุทีเ่ หมาะสมกบั การขนถ่ายด้วยลม (ต่อ) 380 9.3 วัสดุท่เี หมาะสมกบั การขนถา่ ยด้วยลม (ต่อ) 381 9.4 ความเร็วทตี่ ่าทส่ี ดุ ในการขนถ่ายวสั ดุตา่ งขนาดและความหนาแนน่ ในแนวนอน 386 และแนวตงั 9.5 รายละเอยี ดการออกแบบของระบบนวิ เมติคคอนเวเยอร์ 3 ระบบ 397 9.6 ค่า K และ ท่สี ภาวะการไหลต่าง ๆ 401 9.7 จาแนกประเภทของสภาวะออกตามกลุม่ ลักษณะของอนุภาค 403 9.8 ค่า K และ n 405 9.9 ลกั ษณะการไหลของวัสดุลาเลยี งของการขนถา่ ยวสั ดุดว้ ยลมชนดิ ตา่ ง ๆ 409 9.10 ขนาด Blower ใช้งานมาตรฐานในการขนถ่ายวสั ดดุ ้วยลม 414 10.1 การเปรียบเทียบการใชง้ านเครื่องลฟิ ต์แรงฉุดจากความฝดื ขับเคลือ่ นด้วยเฟือง 436 (geared machine) และขบั เคลือ่ นโดยตรง (gearless machine) 10.2 ขอ้ มลู ทางด้านเทคนิคของเคร่ืองลฟิ ต์ท่ีขับเคลื่อนโดยตรง (gear less machine) 443 10.3 ค่า I ทเี่ หมาะสมในอาคารแต่ละประเภท 444 10.4 ความสามารถในการบรรทุกของตัวลิฟต์ car passenger capacity (p) 444 10.5 ความสามารถในการบรรทุกต่าสดุ (minimum handling capacity) 445 10.6 การประมาณการจานวนผใู้ ชอ้ าคาร (population) ของอาคารประเภทต่าง ๆ 445 10.7 ขอ้ แนะนาในการเลือกลิฟต์ในอาคารแต่ละประเภท 449 10.8 ความสามารถของบันไดเลื่อนในการขนสง่ ผู้โดยสารของบันไดเลอื่ น 445 10.9 ตารางขนาดมอเตอรท์ ่ีใช้ในการขบั เคลื่อนบนั ไดเล่ือน 445 อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
(26) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ สารบัญรูปภาพ อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
(27) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ แผนบริหารการสอนประจาวิชา แผนบริหารการสอนประจาวชิ า รหสั วิชา ME41409 3(2-2-5) รายวิชา การขนถ่ายวัสดุ Material Handling คาอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์และวางแผนการขนถ่ายวัสดุ การเปรียบเทียบและการคัดเลือกเครื่องมือขน ถ่ายวัสดุ การวางผังขนถ่ายวัสดุ การออกแบบระบบเคร่ืองมือขนถ่ายวัสดุ การขนถ่ายโดยแรงดึงดูดโลก เกลยี วลาเลยี ง กะพอ้ สายพานลาเลียง โซล่ าเลียง เครือ่ งลาเลียงโดยการสั่น การกาจัดฝนุ่ และการออกแบบ ระบบทอ่ และการขนถ่ายวัสดเุ หลว วตั ถุประสงค์ท่ัวไป 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการศึกษาการวิเคราะห์และวางแผนการขน ถา่ ยวัสดุ 2. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการเปรียบเทียบและการคัดเลือกเคร่ืองมือ ขนถา่ ยวสั ดุ 3. นักศึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะเก่ยี วกับการวางผงั ขนถ่ายวสั ดุ 4. นักศึกษามคี วามรู้ความเขา้ ใจและทักษะเกยี่ วกบั การออกแบบระบบเครอื่ งมือขนถา่ ยวัสดุ 5. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและทักษะเก่ียวกับการออกแบบระบบต้นกาลังขับอุปกรณ์ขน ถ่ายวัสดุ 6. นกั ศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจและทักษะเก่ียวกับการออกแบบระบบเกลยี วลาเลยี ง ท่อลาเลียง และการขนถา่ ยวัสดเุ หลว 7. นักศกึ ษามคี วามรู้ความเข้าใจและทักษะเก่ยี วกบั การออกแบบกะพ้อ 8. นกั ศึกษามคี วามร้คู วามเขา้ ใจและทกั ษะเก่ยี วกับการออกแบบระบบสายพานลาเลียง 9. นกั ศึกษามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะเกีย่ วกบั การออกแบบระบบโซล่ าเลียง 10. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและทักษะเก่ยี วกับการออกแบบการลาเลยี งโดยการสนั่ 11. นักศึกษามีความรคู้ วามเข้าใจและทักษะเก่ียวกับการออกแบบการขนถ่ายวัสดุด้วยลมและการ กาจดั ฝ่นุ 12. นักศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจและทกั ษะเก่ยี วกับการออกแบบระบบลิฟท์และเครนลาเลยี ง 13. นักศกึ ษาสามารถนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใชง้ านได้ อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
(28) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ แผนบริหารการสอนประจาวิชา เน้อื หาของรายวิชา บทท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ียวกับการขนถ่ายวสั ดุ 4 ชวั่ โมง 1.1 ระบบการขนถา่ ยวัสดุ 1.2 ความหมายของการขนถ่ายวัสดุ 1.3 องคป์ ระกอบสาคัญของการขนถา่ ยวัสดุ 1.4 ขอบเขตการขนยา้ ยวัสดุ 1.5 กฎของการขนถ่ายวัสดุ 1.6 วิธีการขนถ่ายวสั ดุ 1.7 การเลือกเคร่อื งมือการขนถ่ายวัสดุ 1.8 ตัวแปรในการวิเคราะหร์ ะบบลาเลียงวัสดุ 1.9 การกาหนดเสน้ ทางลาเลียง 1.10 ชนิดของเคร่อื งมอื และอุปกรณ์ลาเลียงวสั ดุ 1.11 บทสรุป แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท บทท่ี 2 การออกแบบระบบขนถา่ ยวัสดุ 4 ช่ัวโมง 2.1 ระบบการเคลื่อนยา้ ยวสั ดุ 2.2 การเลอื กใชอ้ ุปกรณท์ ่ีชว่ ยในการขนย้ายตามลักษณะงาน 2.3 การวางผงั ขนถา่ ยวสั ดุ 2.4 การออกแบบระบบเคร่ืองมอื ขนถา่ ยวสั ดุ 2.5 การวิเคราะหต์ น้ ทนุ ของการขนถา่ ยวสั ดุ 2.6 การจดั การบารุงรักษาเคร่ืองมือลาเลยี ง 2.7 บทสรปุ แบบฝกึ หดั ท้ายบท บทท่ี 3 ระบบตน้ กาลงั ขับอุปกรณข์ นถ่ายวัสดุ 4 ชั่วโมง 3.1 การแบ่งประเภทชุดขบั อุปกรณข์ นถา่ ยวสั ดุ 3.2 การจัดวางชดุ ขบั อุปกรณ์ขนถ่ายวสั ดุ 3.3 แนวทางการเลือกชุดขับอุปกรณข์ นถา่ ยวัสดุ 3.4 ประสิทธภิ าพในการขับอุปกรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 3.5 มอเตอรไ์ ฟฟ้าขบั อุปกรณ์ขนถ่ายวสั ดุ 3.6 เครื่องยนต์ขับอุปกรณ์ขนถา่ ยวัสดุ 3.7 ระบบไฮดรอลิคขับอุปกรณข์ นถา่ ยวัสดุ 3.8 อุปกรณล์ ดความเร็ว 3.9 โซ่ขับ สายพานรูปตวั วแี ละเฟือง 3.10 ชดุ ขบั ไฟฟา้ ปรับความเร็ว อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
(29) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา 3.11 บทสรปุ 8 ชั่วโมง แบบฝึกหัดท้ายบท 4 ช่ัวโมง บทท่ี 4 เกลยี วลาเลยี งหรือสกรูขนถา่ ย 8 ช่ัวโมง 4.1 หลักการทางานของสกรขู นถ่าย 4.2 ประเภทของใบเกลียวสกรูขนถา่ ย 4.3 การจดั อุปกรณ์ของระบบสกรขู นถา่ ย 4.4 อัตราขนถ่ายของสกรูขนถ่าย 4.5 กาลังม้าและแรงบดิ ทต่ี อ้ งการของสกรูขนถา่ ย 4.6 การประกอบสกรูขนถ่าย 4.7 สกรปู อ้ นวสั ดุ 4.8 บทสรุป แบบฝึกหัดทา้ ยบท บทท่ี 5 กะพอ้ ลาเลียง 5.1 ความหมายของกระพอ้ ลาเลียง 5.2 สว่ นประกอบของกระพ้อลาเลยี ง 5.3 ความเร็วกระพอ้ ลาเลยี ง 5.4 อัตราขนถ่ายและกาลังม้าสาหรบั กะพ้อลาเลียง 5.5 อปุ กรณ์ลาเลียงข้ึนทสี่ งู 5.6 บทสรปุ แบบฝึกหดั ท้ายบท บทท่ี 6 สายพานลาเลียง 6.1 หลักการทางานของสายพานลาเลียง 6.2 การจัดโครงร่างและมมุ ลาดเอียงของสายพานลาเลียง 6.3 ความกว้างสายพานและความเร็วมาตรฐานของสายพานลาเลยี ง 6.4 อัตราการขนถ่ายของสายพานลาเลยี ง 6.5 การกาหนดแรงดงึ และกาลังมา้ ของสายพานลาเลียง 6.6 โครงสรา้ งของสายพานลาเลียง 6.7 ลกู กลิ้งและล้อสายพาน 6.8 การออกแบบระบบสายพานลาเลยี งแบบโมดูล่าร์ 6.9 บทสรปุ แบบฝึกหัดทา้ ยบท อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
(30) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ า บทที่ 7 โซล่ าเลียง 4 ช่ัวโมง 7.1 ความหมายของโซล่ าเลยี ง 8 ชว่ั โมง 7.2 ชนดิ ของโซ่ลาเลียง 4 ชั่วโมง 7.3 ประเภทของโซ่ลาเลยี ง 12 ชั่วโมง 7.4 ประเภทของระบบโซล่ าเลียง 7.5 ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการออกแบบระบบโซล่ าเลยี ง 7.6 อตั ราขนถา่ ยและกาลังมา้ ทีต่ ้องการ 7.7 บทสรปุ แบบฝึกหดั ทา้ ยบท บทที่ 8 การลาเลยี งแบบสัน่ 8.1 ความหมายของการลาเลยี งแบบสน่ั 8.2 การจาแนกประเภทอุปกรณล์ าเลยี งแบบสนั่ 8.3 อัตราการขนถ่ายวัสดุด้วยการลาเลยี งแบบสน่ั 8.4 กาลงั มา้ ที่ต้องการ 8.5 การออกแบบและการนาอปุ กรณ์ขนถา่ ยดว้ ยแรงเขยา่ ไปใช้งาน 8.6 เครอ่ื งป้อนแบบสน่ั สะเทือน 8.7 บทสรปุ แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท บทที่ 9 การขนถา่ ยวสั ดดุ ้วยลม 9.1 ความหมายของการขนถ่ายวสั ดุด้วยลม 9.2 คุณสมบัตขิ องวัสดุที่ขนถ่ายด้วยลม 9.3 หลกั การทางานของระบบการขนถ่ายวสั ดุดว้ ยลม 9.4 อตั ราการขนถ่ายและความดนั ทีต่ ้องการในการขนถ่ายดว้ ยลม 9.5 ประเภทของการขนถา่ ยวัสดดุ ว้ ยลม 9.6 บทสรุป แบบฝกึ หัดท้ายบท บทที่ 10 การขนถ่ายวสั ดขุ ึ้น-ลง 10.1 ลิฟท์ 10.2 บันไดเลื่อนและทางเล่ือน 10.3 เครน รอกไฟฟ้าและป้ันจ่นั 10.4 บทสรปุ แบบฝกึ หัดท้ายบท อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
(31) เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา วิธีสอนและกจิ กรรม 1. ชแี้ จงคาอธบิ ายรายวิชา วตั ถุประสงค์ เน้ือหา และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรายวิชา 2. นาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการบรรยาย ประกอบรูปภาพใน Power point 3. อธบิ ายเน้ือหาทีละหัวข้อแลว้ เปิดโอกาสให้ผ้เู รยี นถามในแตล่ ะหวั ขอ้ กอ่ นข้ามหวั ข้อนน้ั 4. ตรวจสอบคาตอบของผู้เรยี น และสอบถามผ้เู รยี นถ้าผเู้ รียนมคี าถามสงสัย 5. มอบหมายให้ผเู้ รยี นทาแบบฝึกหดั ท้ายบทเปน็ การบ้าน 6. ให้ผู้เรยี นทาใบงาน 6. เสริมสรา้ งคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ บั นกั ศกึ ษาก่อนเลิกเรียน สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการขนถา่ ยวสั ดุ 2. กระดาน 3. สื่อบรรยาย Power point 4. แบบฝึกหัดท้ายบท 5. เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท 6. ใบงาน การวดั ผลและการประเมนิ ผล การวัดผล ทัง้ หมด 100 คะแนน 1. คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 50 คะแนน 1.1 ความสนใจในการเรียน 5 คะแนน 1.2 ทดสอบกลางภาคเรียน 40 คะแนน 1.3 ทาใบงานระหวา่ งภาค 5 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรียน 50 คะแนน 2.1 ความสนใจในการเรียน 5 คะแนน 2.2 ทดสอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน 2.3 ทาใบงานปลายภาค 5 คะแนน อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
(32) เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ แผนบริหารการสอนประจาวชิ า การประเมินผล ไดร้ ะดบั A คะแนนระหว่าง 80 – 100 ได้ระดับ B+ คะแนนระหว่าง 75 – 79 ไดร้ ะดบั B คะแนนระหว่าง 70 – 74 ไดร้ ะดบั C+ คะแนนระหว่าง 65 – 69 ได้ระดับ C คะแนนระหว่าง 60 – 64 ได้ระดบั D+ คะแนนระหว่าง 55 – 59 ไดร้ ะดบั D คะแนนระหวา่ ง 50 – 54 ไดร้ ะดับ F คะแนนระหว่าง 0 – 49 อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี
1 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกบั การขนถ่ายวสั ดุ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 ความรู้เบื้องตน้ เกีย่ วกบั การขนถา่ ยวสั ดุ 4 ช่ัวโมง หัวข้อเน้อื หา 1.1 ระบบการขนถ่ายวัสดุ 1.2 ความหมายของการขนถ่ายวสั ดุ 1.3 องคป์ ระกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ 1.4 ขอบเขตการขนยา้ ยวสั ดุ 1.5 กฎของการขนถา่ ยวัสดุ 1.6 วธิ กี ารขนถา่ ยวัสดุ 1.7 การเลอื กเครอื่ งมือการขนถ่ายวสั ดุ 1.8 ตัวแปรในการวิเคราะห์ระบบลาเลียงวสั ดุ 1.9 การกาหนดเสน้ ทางลาเลียง 1.10 ชนดิ ของเคร่อื งมือและอุปกรณ์ลาเลียงวสั ดุ 1.11 บทสรุป แบบฝกึ หัดท้ายบท เอกสารอ้างองิ วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม เม่อื ผ้เู รียน เรียนจบบทนแี้ ล้วผเู้ รียนควรมคี วามรูแ้ ละทกั ษะดังน้ี ด้านความรู้ 1. ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจเกี่ยวกับความหมายของการขนถา่ ยวสั ดุ 2. ผู้เรียนมีความร้แู ละความเข้าใจเก่ยี วกับองคป์ ระกอบสาคัญของการขนถา่ ยวสั ดุ 3. ผเู้ รยี นมคี วามรู้และความเข้าใจเกย่ี วกบั ขอบเขตการขนย้ายวัสดุและกฎของการขนถา่ ยวัสดุ 4. ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเกีย่ วกบั วธิ ีการขนถ่ายวัสดุและการเลือกเคร่ืองมือการขนถา่ ย วสั ดุ 5. ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกบั ตัวแปรในการวิเคราะหร์ ะบบลาเลยี งวสั ดุ 6. ผเู้ รียนมคี วามรแู้ ละความเข้าใจเก่ียวกับการกาหนดเส้นทางลาเลยี ง ชนดิ ของเครื่องมือและ อุปกรณ์ลาเลยี งวสั ดุ ด้านทกั ษะ 1. สามารถออกแบบวธิ กี ารขนถ่ายวัสดุและการเลือกเครอ่ื งมือการขนถ่ายวัสดุ 2. สามารถออกแบบเส้นทางลาเลียง ชนิดของเครอื่ งมอื และอุปกรณล์ าเลยี งวัสดุ วธิ สี อนและกจิ กรรม 1. ชแี้ จงคาอธบิ ายรายวชิ า วตั ถปุ ระสงค์ เนอื้ หา และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรายวิชา 2. นาเข้าส่บู ทเรียนโดยการบรรยาย ประกอบรปู ภาพใน Power point 3. อธิบายเนื้อหาทลี ะหัวข้อแล้วเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนถามในแต่ละหวั ขอ้ กอ่ นข้ามหัวข้อน้ัน อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
2 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกับการขนถา่ ยวสั ดุ 4. ตรวจสอบคาตอบของผู้เรียน และสอบถามผเู้ รยี นถา้ ผเู้ รียนมคี าถามสงสัย 5. ให้ผู้เรียนอออกแบบวิธีการขนถ่ายวัสดุและการเลือกเคร่ืองมือการขนถ่ายวัสดุตามใบงานที่ มอบหมาย 6. มอบหมายใหผ้ ู้เรียนทาแบบฝกึ หัดท้ายบทเปน็ การบา้ น 7. เสริมสร้างคณุ ธรรมและจริยธรรมให้กับนกั ศกึ ษาก่อนเลกิ เรียน ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ าการขนถ่ายวสั ดุ 2. กระดาน 3. ส่อื บรรยาย Power point 4. ใบงานท่ี 1 การออกแบบวธิ กี ารขนถ่ายวัสดุและการเลอื กเคร่ืองมือการขนถา่ ยวสั ดุ 5. แบบฝึกหัดทา้ ยบท 6. เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท การวดั ผลและการประเมินผล การวดั ผล 1. จากการเขา้ เรียนตรงตอ่ เวลา 2. จากการสงั เกตการมสี ว่ นร่วม 3. จากการถาม-ตอบ 4. จากการทาใบงาน 5. จากการทาแบบฝกึ หัดท้ายบท การประเมินผล 1. จากการสง่ การบ้าน แบบฝึกหดั ตามเวลา 2. การเขา้ เรียนครบตามชว่ั โมงเรยี น 3. ทาใบงานถูกตอ้ งและครบสมบรู ณ์ 4. ทาแบบฝกึ หดั มีความถูกต้องไม่นอ้ ยกว่า 80% อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
3 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั การขนถ่ายวัสดุ บทที่ 1 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกี่ยวกบั การขนถา่ ยวัสดุ 1.1 ระบบการขนถ่ายวัสดุ (Material Handling System) วิวัฒนาการด้านการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและ ต่อเน่ือง ซ่ึงล้วนแต่ใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูงจึงควรให้ความสนใจและติดตามความ เคล่ือนไหวอยู่ตลอดเวลา แต่เทคโนโลยีการผลติ ที่ทันสมยั ดังกล่าวอาจจะอย่ใู นสภาพท่ีดอ้ ยสมรรถนะกว่าท่ี มีอยู่หรือไม่อาจดาเนินการได้เต็มความสามารถ หากว่าขาดตัวแปรท่ีสาคัญตัวหนึ่ง ตัวแปรดังกล่าวก็คือ การเคล่ือนท่ี ดงั ทีเ่ รียกว่า “การขนถา่ ย” การขนถ่ายมีบทบาทที่สาคัญท่ีเข้ามาสนับสนุนกระบวนการผลิต เร่ิมต้นตั้งแต่การนาวัตถุดิบมายัง โรงงาน ส่งผ่านไปยังกระบวนการผลิตจนได้เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะต้องมีการเคล่ือนที่ท้ังส้ิน หากว่าขาดการ เคลื่อนท่ีแล้วการผลิตย่อมไม่อาจเกิดข้ึนได้เลย ซึ่งการเคล่ือนที่น้ันข้ึนอยู่กับว่าจะให้ปัจจัยการผลิตตัวใด เคล่ือนท่ี โดยอาจจะเป็น คน วัสดุ หรือเครื่องจักร ตัวใดตัวหนึ่งเคลื่อนที่หรือเคล่ือนท่ีทุกตัว การเคล่ือนท่ี ของปัจจยั การผลิต หลักการสาคัญกค็ ือทาอย่างไรจึงจะทาให้การเคลื่อนท่ีหรอื การขนถ่ายนน้ั เปน็ ไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นส่ิงที่จะต้องคานึงถึงตลอดเวลาเพราะปัญหาด้านการขนถ่ายวัสดุมักจะเกิดข้ึนใน โรงงานอยู่เสมอ การจัดการการขนถ่ายวัสดุไม่ได้มุ่งหวังท่ีจะกาจัดปัญหาการขนถ่ายให้หมดไปแต่เป็นการ พยายามลดปัญหาให้น้อยลง กล่าวคือทาอย่างไรจึงจะทาให้การขนถ่ายเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั และประหยัด ซ่ึงต้องทราบถึงตัวปัญหาและพยายามวิเคราะห์การขนถ่ายวสั ดุอย่างเป็นระบบ ใน โรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีกระบวนการผลิตหรือกระบวนการแปลงสภาพ จากปัจจัยนาเข้า (Input) ได้แก่ วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (Intangible Assets) เช่น แรงงาน ระบบการ จัดการ ข่าวสาร ทรัพยากรท่ีใช้ จะต้องมีคุณสมบัติและประโยชน์ใช้สอยท่ีเหมาะสมและมีต้นทุนการผลิตท่ี ต่า เพ่ือให้สินค้าสาเร็จรูป สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้ในท้องตลาด โดยผ่านกระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) กระบวนการแปลงสภาพเป็นขนั้ ตอนท่ีทาใหป้ ัจจยั นาเขา้ ทผ่ี ่านเขา้ มามีการเปล่ยี นแปลงในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ กระบวนการผลิตในโรงงาน การขนส่ง การเก็บเข้าคลังสินค้า การค้าปลีก การค้าส่ง การ ตดิ ต่อส่ือสาร และสุดท้ายจนมาเป็น ผลผลิต (Output) เป็นผลได้จากระบบการผลิตทม่ี ีมูลค่าสูงกว่าปัจจัย นาเข้าที่รวมกัน อันเนื่องมาจากที่ได้ผ่านกระบวนการแปลงสภาพผลผลิตสินค้า (Goods) และบริการ (Service) โดยภายในกระบวนการแปลงสภาพปัจจัยนาเข้าให้กลายเป็นสินค้าและบริการดังกล่าวน้ัน เม่ือ พิจารณาในแง่ของการทางานภายในโรงงานอุตสาหกรรม มักจะเกี่ยวข้องอยู่ตลอดเวลากับการเคล่ือนท่ี การเคล่ือนย้ายวัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการผลิต โดยองค์ประกอบที่เก่ียวข้องกับกระบวนการผลิต สามารถจาแนกออกได้เป็น 3 องคป์ ระกอบ คือ 1. ปัจจยั นาเขา้ (Input) 2. กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) 3. ผลผลติ (Output) อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี
4 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ ความรู้เบือ้ งต้นเก่ยี วกับการขนถา่ ยวสั ดุ โดยการเคลื่อนย้ายวัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการผลิตดังกล่าว เรียกว่า “การขนถ่ายวัสดุ” (Material Handling) ซ่ึงเป็นการลาเลยี งส่วนต่าง ๆ ทั่วท้ังกระบวนการผลิต การขนถ่ายวัสดุเร่ิมต้ังแต่การ นาวัตถุดิบมาถึงโรงงาน ผ่านกระบวนการผลิต จนได้เป็นผลิตภัณฑ์ หากขาดการขนถ่ายวัสดุแล้วการผลิต จะไม่สามารถเกิดข้ึนได้เลย ดังนั้นการวิเคราะห์การขนถ่ายวัสดุจึงไม่ได้หมายถึงการกาจัดการขนถ่ายให้ หมดไปแตเ่ ป็นการพยายามลดปัญหาใหน้ อ้ ยลง กล่าวโดยสรุป คือ ทาอย่างไรให้การเคลื่อนย้ายวัสดุเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และ ประหยัด ดังนั้น การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) จึงเป็นเรื่องของกระบวนการผลิตท่ีองค์กรต้องให้ ความสาคัญและดาเนินการอย่างจริงจัง เพื่อการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานในกระบวนการผลิตของ โรงงานให้เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ รูปที่ 1.1 กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process) (ทมี่ า : อภิชาติ ศรีชาติ, 2559) 1.2 ความหมายของการขนถ่ายวสั ดุ การขนถ่ายวัสดุ (Materials Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานที่และตาแหน่งของวัสดุเพื่อ อานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายหรือเก็บรักษา ซ่ึงการท่ีจะทาให้เกิดส่ิงเหล่านี้ได้ ต้องอาศัยศิลปะใน การสรรหาเครื่องมือและอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุมาใช้ให้เหมาะสมกับงาน นอกจากนั้นยังต้องมีศิลปะใน การออกแบบสรา้ งเครอ่ื งมือหรอื อุปกรณต์ า่ ง ๆ ให้เหมาะสมและเป็นไปอย่างมรี ะบบตามหลักการ ความสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ สามารถสรุปได้อย่างง่ายๆ ก็คือ การเคลื่อนย้ายหรือเก็บรักษา ตอ้ งอาศัยศิลปะและวทิ ยาศาสตรใ์ นการกาหนดวิธกี ารขนถ่ายวสั ดุนน่ั เอง 1.3 องคป์ ระกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ ในระบบการขนถ่ายวสั ดุ ควรคานงึ ถงึ องค์ประกอบท่ีสาคัญ 4 ประการ คอื 1. การเคลอื่ นที่ (Motion) 2. เวลา (Time) อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครือ่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
5 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวสั ดุ ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั การขนถา่ ยวัสดุ 3. ปรมิ าณ (Quantity) 4. เนือ้ ท่ี (Space) รปู ที่ 1.2 องคป์ ระกอบสาคัญของการขนถา่ ยวัสดุ (ท่มี า : อภชิ าติ ศรีชาติ, 2559) 1.3.1 การเคล่ือนที่ การเคลอื่ นที่เป็นการเคล่อื นยา้ ยวัสดสุ ินคา้ จากจดุ หน่งึ ไปยงั อีกจุดหนึ่ง หรือ การเคล่ือนย้ายวัสดุ - สินค้าจากจุดต้นทาง (จุดท่ีเอาของขึ้น) ไปยังจุดปลายทาง (จุดที่เอาของลง) ซึ่งการเคลื่อนย้ายของวัสดุ สินค้าแต่ละประเภทย่อมมีการเคล่ือนที่ท่ีแตกต่างกันไป ทาอย่างไรจึงจะให้วิธีการเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ สงู กว่า 1.3.2 เวลา เวลานับเป็นปัจจัยที่สาคัญตัวหน่ึง เป็นตัวที่บง่ บอกถึงประสิทธิภาพของการเคลื่อนทวี่ ่า สูง-ต่า แค่ ไหนในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิต ต่างก็อาศัยเวลาเป็นตัวกาหนดการทางาน ทั้งการป้อนวัตถุดิบ และเอาชิ้นงานออกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นเวลายังเป็นกาหนดการของการเคลื่อนท่ี โดยอาจควบคุมทจี่ ุดต้นทาง หรือจุดปลายทางก็ได้แล้วแตก่ รณี 1.3.3 ปริมาณ ปริมาณของวัสดุและสินค้า ที่ต้องเคล่ือนท่ีต้องสัมพันธ์กับปริมาณความต้องการของจุดต่างๆ ต้อง สอดคลอ้ งกับเวลาทเี่ หมาะสมของระบบและประหยดั ค่าใช้จ่าย 1.3.4 เน้ือท่ี เนื้อท่ีเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของการเคลื่อนที่ เพราะว่าการเคลื่อนท่ีหรือการขนถ่ายวัสดุ จาเปน็ ต้องใชเ้ นอ้ื ที่สาหรับตั้งกลไกของระบบ การขนถา่ ยวัสดทุ ่ีมปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป องค์ประกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุท้ัง 4 ประการดังท่ีกล่าวมานั้น ต้องนามาพิจารณาร่วมกัน เพราะเป็นองคป์ ระกอบพ้นื ฐานของการขนถ่ายวสั ดทุ จี่ ะนาไปสรู่ ะบบการขนถ่ายวสั ดทุ ีม่ ปี ระสิทธภิ าพต่อไป งานการขนถ่ายวัสดุ ประกอบด้วยหน้าท่หี ลัก 2 ประการ คือ งานเคลอื่ นย้ายวสั ดุ และ งานเกบ็ พัก วัสดุ อภิชาติ ศรชี าติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
6 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ ความรเู้ บือ้ งต้นเกยี่ วกับการขนถ่ายวัสดุ 1. งานเคลื่อนย้ายวัสดุ คือ การเคล่ือนย้ายวสั ดุ จากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่งในตาแหน่งที่ ทางานเอง หรอื ระหว่างตาแหน่งทที่ างาน ระหว่างเครื่องจกั ร ระหวา่ งแผนก ระหวา่ งโรงงาน หรือ ระหว่างอาคาร ตลอดจนการขนวสั ดุ ขน้ึ และลง 2. งานเก็บพักวัสดุ คือ การเก็บพักวัตถุดิบท่ีส่งเข้ามา ก่อนป้อนเข้ากระบวนการผลิต การ เกบ็ พักวัสดใุ นขน้ั ตอนงานผลิต ตลอดจนการเก็บผลิตภัณฑ์สาเรจ็ รูป ก่อนทจี่ ะสง่ ออกไปยงั ผใู้ ช้ 1.4 ขอบเขตการขนย้ายวัสดุ ในการขนย้ายวสั ดนุ ัน้ เราสามารถดาเนนิ การได้หลายขอบเขต ซ่ึงสามารถแบง่ ออกได้ ดงั ต่อไปน้ี 1.4.1 การขนยา้ ยบรเิ วณพื้นทท่ี างาน การขนย้ายประเภทน้ี เป็นลักษณะของการทางานทต่ี อ้ งการมาขนยา้ ยวสั ดเุ ข้า – ออก ในพ้ืนที่การ ทางานจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่มีการผลิตเกิดข้ึน อาทิ พื้นที่การประกอบสินค้า พ้ืนท่ีการผลิต ชน้ิ งานเพ่ือนาไปสู่กระบวนการผลิตต่อไป ทาให้มีการเคล่ือนย้ายสินค้าตลอดเวลาหรอื มีความถ่ีมากในการ ขนย้าย เพราะบริเวณดังกล่าวมีพื้นท่ีจากัด บางโรงงานไม่สามารถนาวัสดุเพื่อประกอบชิ้นงานมารวมไว้ได้ มาก จะต้องทยอยการเคลือ่ นยา้ ยวัสดมุ าตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ มิใหเ้ กิดปญั หาคอขวด (Bottle Neck) ในการผลิต รูปท่ี 1.3 แผนผงั การขนยา้ ยบรเิ วณพ้นื ที่ทางาน (ที่มา : อภิชาติ ศรีชาต,ิ 2559) 1.4.2 การขนยา้ ยภายในสายการผลิต ในกระบวนการผลิตโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตแบบต่อเน่ือง (Continuous Process หรือ Continuous Flow Production) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวใน ปริมาณที่มากมายอย่างต่อเนื่องโดยใช้เครื่องจักรเฉพาะอย่าง ซึ่งมักจะเป็นการผลิตหรือแปรรูป ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตข้ันตอนต่อไป เช่น การกล่ันน้ามัน การผลิตสารเคมี การทา กระดาษ ฯลฯ ทาให้มสี ถานกี ารผลติ หลายแห่งดว้ ยกนั อภิชาติ ศรีชาติ รปู ท่ี 1.4 แผนผงั การขนยา้ ยภายในสายการผลิต (ทม่ี า : อภิชาติ ศรีชาติ, 2559) สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
7 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ ความรู้เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั การขนถ่ายวัสดุ 1.4.3 การขนย้ายระหว่างสายการผลิต เม่ือกระบวนการผลิตในโรงงานเสร็จส้ิน จนได้วัตถุดิบเพื่อใช้ประกอบในข้ันตอนต่อไป การขนส่ง วัสดุก็จะเร่ิมขึ้น เพื่อนาชิ้นงานไปยังกระบวนการผลิตในสายการผลิตถัดไป ท้ังนี้ การขนย้ายระหว่าง สายการผลิต จะไม่ได้คานึงถึงการขนถ่ายภายในของแต่ละสายการผลิต เช่น การขนถ่ายวัส ดุจาก สายการผลติ ไปยงั สถานประกอบการ เปน็ ต้น รูปท่ี 1.5 แผนผังการขนย้ายระหว่างสายการผลิต (ท่ีมา : อภชิ าติ ศรีชาติ, 2559) 1.4.4 การขนย้ายระหวา่ งฝา่ ยในโรงงาน โรงงานอุตสาหกรรมมักจะเก่ียวข้องกับการทางานของทุกฝ่าย ต้ังแต่การวางแผนเริ่มการผลิต ซึ่ง ต้องมีความเกี่ยวข้องกับลูกคา้ ท่ีได้สั่งซ้ือสินค้าของโรงงาน ฝ่ายขายซึ่งมีหน้าที่ประสานงานกับลูกค้าว่า จะ เป็นลูกค้าระดับองค์กรหรือลูกค้าทั่วไป จะต้องมีหน้าท่ีส่งคาส่ังซื้อรวมมาให้กับฝ่ายผลิตเพ่ือท่ีจะวาง แผนการผลิต เมื่อฝ่ายผลิตทราบปริมาณความต้องการของลูกค้าในสินค้าแล้ว ก็จะเร่ิมกระบวนการวาง แผนการผลิตในโรงงานเพ่ือให้สามารถทาการผลิตได้ทันตามที่ลูกค้าต้องการ แต่ก่อนจะเร่ิมต้นการผลิต ก็ ต้องมีการส่ังซ้ือวัสดุ หรือวัตถุดิบต่าง ๆ ท่ีใช้ในกระบวนการผลิต โดยส่งข้อมูลไปยังฝ่ายจัดซ้ือเพื่อวาง แผนการส่ังซ้ือตามระบบของโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีอยู่ให้ทันตามความต้องการของฝ่ายผลิตและเริ่มการ ผลิตสินค้า จนเป็นสินค้าสาเร็จรูป นาสินค้าดังกล่าวมายังคลังสินค้าเพื่อรอส่งมอบให้กับฝ่ายขาย เพ่ือส่ง มอบสินค้าให้กับลูกค้าต่อไป ฉะน้ัน การดาเนินกิจกรรมจะเก่ียวข้องกับทุกฝ่ายในโรงงานและเก่ียวข้องกับ การขนยา้ ยระหวา่ งฝา่ ยผลติ ฝ่ายจัดซ้อื ฝ่ายคลงั สินค้า ฝ่ายขาย อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
8 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถ่ายวสั ดุ ความรเู้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบั การขนถา่ ยวสั ดุ รปู ที่ 1.6 การขนย้ายระหว่างฝ่ายในโรงงาน (ทม่ี า : อภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) 1.4.5 การขนย้ายระหว่างโรงงาน ในการผลิตสินค้าบางชนิดในอุตสาหกรรมน้ัน ได้แบ่งเป็นหลายโรงงานอุตสาหกรรม เพ่ือใช้ในการ ผลิตสินค้าช้ินส่วนท่ีนามาประกอบรวมเป็นสินค้าสาเร็จรูป โรงงานหน่ึงอาจทาหน้าท่ีในการผลิตช้ินส่วน เพ่ือป้อนให้กับอีกโรงงาน เพื่อนามาใช้ในการผลิตจนเป็นสินค้าสาเร็จรูป (Finish Goods) เรื่องดังกล่าวจึง เปน็ เรื่องทตี่ ้องเกีย่ วขอ้ งกับการขนยา้ ยระหวา่ งโรงงานจนไม่สามารถหลกี เลย่ี งได้ โดยเฉพาะถ้าเป็นกรณีท่ีอยู่ต่างพ้ืนท่ีกัน การขนย้ายจึงเก่ียวข้องกับการขนส่ง (Transportation) โดยตรงการจัดการระบบโลจสิ ติกส์ จึงต้องถูกนามาใช้ในการขนย้ายระหว่างโรงงาน ซ่ึงลกั ษณะการขนย้าย ระหว่างโรงงาน โดยโรงงานต้นนา้ (Down Stream) ทีท่ าหน้าทใ่ี นการผลติ วัตถดุ ิบหรือวสั ดุที่ใชใ้ นการผลิต จึงต้องมีแผนกท่ีจะขนส่งสินคา้ วตั ถุดิบ ดงั กล่าว เพ่ือนาไปส่งให้กบั โรงงานอตุ สาหกรรมทตี่ ้องนาสินค้าและ วัตถุดิบ ดังกล่าวใช้ไปผลิตต่อ ก็จะมีแผนกรับสินค้ารองรบั อยู่แล้ว โดยปกติโรงงานอุตสาหกรรมมีกิจกรรม การขนยา้ ย การรบั – การสง่ สนิ ค้าหรอื วตั ถดุ บิ อย่แู ล้ว รปู ท่ี 1.7 การขนย้ายระหวา่ งโรงงาน (ทมี่ า : อภิชาติ ศรีชาต,ิ 2559) 1.4.6 การขนย้ายระหว่างองค์กร เมือ่ ผู้ผลิตสินค้า ได้ทาการผลิตสินค้าสาเร็จรูปออกมาแล้ว การขนสง่ และเคล่ือนย้ายสินค้าดงั กล่าว จึงเกดิ ขน้ึ หลายบรษิ ทั ได้ดาเนินการใช้บรกิ ารผู้ให้บรกิ ารดา้ นการขนสง่ สินคา้ เพอ่ื ตดั ปัญหาเร่อื งต้นทุนและ การดาเนินการออกไป โดยมักใช้ผู้ให้บรกิ ารขนส่งสินค้าเป็นผู้รับผิดชอบ ในการขนส่งสินค้าเพื่อสง่ สินคา้ ไป ยงั ลูกคา้ ตอ่ ๆ ไป โดยการขนย้ายในระดบั บริษทั ทแี่ ตล่ ะบรษิ ัทก็ทาหน้าทเี่ พ่ิมมลู ค่าเพ่ือผลกาไรของตนเอง อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี
9 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถ่ายวัสดุ ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั การขนถา่ ยวสั ดุ รูปที่ 1.8 การขนยา้ ยระหว่างองค์กร (ทม่ี า : อภิชาติ ศรีชาติ, 2559) 1.4.7 การขนยา้ ยในระบบการขนส่ง การขนย้ายในระบบการขนส่ง ถือว่าเป็นลักษณะการขนส่งที่ครบกระบวนซัพพลายเชน (Supply Chain) ของการบริหารการผลิตที่เร่ิมตั้งแต่วัตถุดิบที่ได้มาจากผู้ผลิตวัตถุดิบ (Suppliers) ขนย้ายไปยังไป โรงงานผูผ้ ลติ สินคา้ (Manufacturers) เพอื่ นามาทาการผลิตสนิ ค้า เกดิ การขนย้ายภายในโรงงาน ในขณะท่ี เร่ิมต้นกระบวนการผลิต โดยเม่ือทาการผลิตเป็นสินค้าสาเร็จรูป ก็จะขนย้ายสินค้าจากโรงงานผู้ผลิตไป ตวั แทนจาหน่าย เพื่อนาไปจาหนา่ ยและกระจายให้กบั ผคู้ า้ ส่ง และจากผู้ขายส่งไปยงั ผู้ค้าปลกี จากผู้คา้ ปลีก ไปยังสุดท้าย คือ ลูกค้าท่ีบริโภคสินค้า นอกจากน้ัน ในกระบวนการผลิต นอกจากนั้นในโรงงาน อตุ สาหกรรมการผลิต เราก็มักจะพบปัญหาการผลิต ซึ่งยังมีของเสียหรือเศษวัสดุ ของเสีย จากโรงงานที่ยัง ตอ้ งมีการกาจัดให้หมดไปตามมาตรฐานทท่ี างภาครฐั กาหนดไว้ รูปที่ 1.9 การขนยา้ ยในระบบการขนส่ง (ทม่ี า : อภิชาติ ศรชี าติ, 2559) 1.5 กฎของการขนถ่ายวสั ดุ ถ้าไม่มีการวางแผนที่ดี การดาเนินการผลิตไม่สอดคล้องกันและไม่สัมพันธ์กัน ทาให้เกิดความไม่ สะดวก ล่าชา้ และต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ยสูง ดงั น้ันจึงไดก้ าหนดกฎของการขนถ่ายวัสดขุ น้ึ มา ดังน้ี อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
10 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ ความรู้เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั การขนถา่ ยวสั ดุ 1.5.1 กฎของการวางแผนการขนถ่ายวสั ดุ (Planning Principle) ควรมีการวางแผนในทุกกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการขนถ่ายวัสดุ ข้อแนะนาของการใช้กฎของ การวางแผน 1. ควรหลีกเลย่ี งการวางวัสดบุ นพื้นโดยตรง ควรมีแผ่นรอง (Pallet) เพ่ือสะดวกในการขน ถ่าย 2. ต้องมีพื้นท่ี (Space) เพียงพอสาหรับการเกบ็ วสั ดบุ ริเวณที่ทางาน 3. พิจารณาความสมารถในการรับน้าหนักของพ้ืน ความสูงของเพดาน คาน และช่วงเสา ของอาคารโรงงาน 4. ความกว้างของทางเดิน ช่วงระหว่างแนวเคร่ืองจักร ควรกาหนดให้ชัดเจน ไม่มีสิ่งของ ล้าออกมา 5. กาหนดบรเิ วณพนื้ ทร่ี อบที่ทางาน เพือ่ สะดวกในการขนถา่ ย 6. ฝกึ อบรมพนักงานขนถ่ายแต่ละคนให้ทางานถกู ต้อง ตามวธิ ที ่ีกาหนด 7. กาหนดตาแหนง่ รับและออกของวสั ดุ ของบรเิ วณทีท่ างาน 8. หาวธิ ีใช้อปุ กรณ์การขนถ่ายให้สอดคลอ้ งกับการผลิต 9. ควรใช้แรงงานคนให้เหมาะสมกับการขนถ่ายวัสดุ และให้เกิดการเดินน้อยที่สุดในขณะ ขนถ่าย 1.5.2 กฎของระบบการขนถ่ายวัสดุ (Systems Principle) การวางแผนเกี่ยวกับระบบการขนถ่ายวัสดุนั้น ได้รวบรวมกิจกรรมต่างๆของการขนถ่าย วัสดุ (การรับของ การเก็บ การผลิต การตรวจสอบ การบรรจุหีบห่อ คลังสินค้า การส่งของ ฯลฯ) ให้มาก ทสี่ ุด 1. ขอบเขตของกจิ กรรมการขนถา่ ยวัสดุท้ังหมดว่ามีอะไรบ้าง 2. วางแผนด้านการไหลของวัสดรุ ะหวา่ งพื้นที่ทางานตา่ งๆ หรอื แผนกต่างๆ 3. รวมหน่วยทางานต่างๆ ของกระบวนการผลิตกับระบบขนถ่าย เช่น ทาไปด้วยขนถ่าย ไปดว้ ย 4. การขนถ่ายวัสดุไปยังฝ่ายผลิตโดยตรง ไม่ควรวางพักระหว่างทางจะทาให้เกิดการขน ถา่ ยอีกครงั้ หน่งึ 5. ควรทราบถึงความต้องการในอนาคต เช่น การเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ปริมาณการผลติ เพ่อื การยดื หยุน่ ของระบบอุปกรณ์การขนถ่าย 1.5.3 กฎของการไหลของวัสดุ (Material – Flow Principle) เป็นการวางแผนในการจัดหน่วยทางานตา่ งๆ ใหเ้ ป็นไปตามลาดบั ขนั้ ตอน หรือเป็นการจัด ขน้ั ตอนการผลิตนั่นเอง และวางแผนในการจัดวางอุปกรณ์ เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่ึงการไหลของวัสดุท่ีเหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญมากกว่าสิ่งใดในส่ิงอานวยประโยชน์ของการผลิต น่ันคือการออกแบบการไหลของวัสดุ ขอ้ แนะนามดี ังน้ี 1. หลีกเลีย่ งสภาพทีแ่ ออัดและต้องทราบถึงขอ้ จากัดต่างๆ ของอาคารโรงงานและอุปกรณ์ ขนสง่ ต่างๆ 2. วางแผนการไหลใหเ้ ป็นเสน้ ตรงมากท่สี ุดและระยะสนั้ ทส่ี ดุ 3. จดั เสน้ ทางสารองไว้ เผ่อื เกดิ เหตุฉกุ เฉิน อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
11 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับการขนถ่ายวัสดุ 4. กาหนดให้ชดั เจนว่ามจี ดุ ตัดตรงไหน เพ่อื ปอ้ งการจราจรตดิ ขัด 5. หน่วยทางานใดท่ีมีความสัมพันธ์กันมาก ควรอยู่ใกล้ชิดกัน หากเป็นไปได้ควรวางผัง โรงงานตามชนดิ ของผลิตภณั ฑ์ 6. วัสดุท่ีมปี รมิ าณและน้าหนกั มาก ควรให้มีระยะทางส้นั ทีส่ ดุ 1.5.4 กฎของการทาให้ง่าย (Simplification Principle) พยายามลด รวมหรือกาจัด การเคล่ือนท่ีและอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็น เช่น การรวมเครื่องจักร เข้าด้วยกัน ลดการเคล่อื นที่ระหวา่ งเคร่อื งจักรได้ ขอ้ แนะนาดงั น้ี 1. นาหลักการของหลกั เศรษฐศาสตรก์ ารเคล่อื นไหวมาประยุกตใ์ ชง้ าน 2. ลดหรอื กาจัดการเคลอ่ื นท่รี ะยะไกล 3. วางแผนการขนถา่ ยแบบเส้นตรงและลดการขนถ่ายท่ีไม่จาเปน็ 4. พยายามให้การเคลือ่ นทใี่ นกระบวนการนอ้ ยท่สี ดุ และเดินน้อยท่ีสดุ 5. หลกี เลี่ยงการใช้อุปกรณ์หลายๆ ชนดิ หรอื วธิ ีการหลายๆ รูปแบบ และเกนิ ความจาเป็น 1.5.5 กฎของแรงโน้มถว่ ง (Gravity principle) ควรใช้ประโยชน์จากแรงโน้มถ่วงในการเคล่ือนย้ายวัสดุหากสามารถกระทาได้ ข้อแนะนา ของการใชแ้ รงโนม้ ถว่ ง 1. ควรใช้ล้อลาเลียง (Wheel conveyor) หรือลูกกล้ิงลาเลียง (Roller conveyor) ราง ลื่น (Chute) หรอื อน่ื ๆ ระหว่างหนว่ ยทางาน 2. ควรใชท้ างลาดหรอื พ้นื ลาด พนื้ เอียงในการขนถ่ายระหวา่ งพนื้ ต่างระดบั 3. ควรใช้เครื่องลาเลียงแบบรางลน่ื เช่ือมตอ่ ระหวา่ งเคร่ืองลาเลียงต่างๆ กรณีท่ตี ่างระดับ 1.5.6 กฎของการใช้เน้ือท่ใี ห้เกดิ ประโยชน์ (Space Utilization principle) ควรใช้เน้อื ท่ีในอาคารโรงงานใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ มขี อ้ แนะนาดงั น้ี 1. ควรจัดอุปกรณ์และหน่วยทางานหรือขั้นตอนการทางานต่างๆ ให้อยูใ่ กล้ชดิ กัน แต่เว้น ช่องวา่ งสาหรบั การขนถา่ ยดว้ ย 2. จดั วสั ดุวางเปน็ ชั้นเพอ่ื ประโยชนใ์ นการจัดเกบ็ ปรมิ าณมาก 3. วเิ คราะหเ์ นื้อทใี่ ห้ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ 4. ควรเอาวัสดุหรือใช้น้อยคร้ัง รอนานๆ ครั้ง เก็บไว้ในพื้นที่ท่ีไม่เป็นประโยชน์ เช่น อาคารเก่า หรือภายนอกโรงงาน 5. ควรคานวณปริมาณการสั่งซือ่ ท่ีประหยัด (EOQ) 6. ควรใช้อุปกรณ์ยกของท่ีเอียงซ้าย – ขวา ขึ้น – ลง ในมุมต่างๆได้ โดยไม่จาเป็นต้อง เคล่อื นตวั รถหรือหัวเลี้ยว 7. พ้ืนท่ีรองรับจะตอ้ งแขง็ แรง รับน้าหนกั ทีซ่ อ้ นกันได้ 1.5.7 กฎของขนาดหนว่ ยวัสดุ (Unit size principle) การขนถ่ายด้วยปริมาณมากๆ ค่าใช้จ่ายในการขนถ่ายต่อชิ้นถูกลง ทาอย่างไรจึงจะ สามารถขนสง่ นอ้ ยเท่ยี ว แต่ละเที่ยวละมากๆ ไม่ควรขนท่ีละชน้ิ 1. ตรวจสอบการเคลอ่ื นของวสั ดแุ ตล่ ะชิน้ เพ่อื หาความเป็นไปได้ในการรวมหน่วยวัสดุ 2. ใชค้ อนเทนเนอรส์ าหรับภาชนะบรรจวุ ัสดตุ ่างๆ 3. และใชค้ อนเทนเนอรข์ นาดมาตรฐาน เท่าๆ กัน อภชิ าติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
12 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวัสดุ ความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกบั การขนถ่ายวสั ดุ 4. ออกแบบ หรอื กาหนดนา้ หนักบรรทกุ ใหเ้ หมาะสมกับอุปกรณ์การขนถ่าย 1.5.8 กฎของความปลอดภัย (Safety principle) ควรจัดให้มีความปลอดภัยทั้งในวิธีการขนถ่ายและอุปกรณ์การขนถ่าย เพราะถ้าเกิด อุบัติเหตุแล้ว อาจก่อให้เกิดความสูญเสียหายได้ ทั้งคนงาน ทรัพย์สิน เวลา ขวัญ และกาลังใจ สาเหตุของ การเกิดอุบัตเิ หตุ มีดังนี้ 1. สภาพท่ที างานและสิง่ แวดลอ้ มไมป่ ลอดภัย 2. การกระทาของบคุ คลไม่ปลอดภัย 3. เน่อื งจากบุคคล ขอ้ เสนอแนะของความปลอดภยั - ควรติดตัง้ เคร่ืองป้องกนั และอุปกรณ์ความปลอดภัยในอปุ กรณ์การขนถา่ ยวัสดุให้ เพียงพอ - บารุงรักษาอุปกรณก์ ารขนถา่ ยวัสดใุ ห้พรอ้ มเสมอ - ควรใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการขนถา่ ยในงานลักษณะทยี่ งุ่ ยาก งานหนกั และอันตราย - ไม่ควรใช้อุปกรณ์การขนถา่ ยวสั ดเุ กินขีดความสามารถของอุปกรณ์ - ควรจัดเสน้ ทางการขนถา่ ยท่ีสะดวกและจัดวางวสั ดุอย่างระมัดระวัง 1.5.9 กฎของการเลือกอุปกรณ์ 1. ควรเลือกอปุ กรณท์ ่ีสามารถทางานได้หลายอยา่ ง สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพของ งาน 2. ควรใช้อุปกรณ์ท่ีมีมาตรฐาน ยี่ห้อ รุ่น เดียวกัน เพ่ือหลีกเลี่ยงปัญหาการซ่อมบารุง อะไหล่ ใชท้ ดแทนกนั ได้ 3. ไม่ควรมองข้ามวิธีการในปัจจุบันท่ีดีอยู่แล้ว ก่อนที่จะเปล่ียนวิธีใหม่และจาเป็นต้องใช้ อปุ กรณ์นนั้ ๆ 4. องค์ประกอบทั้งทางตรงและทางออ้ ม ท่ีคิดว่าคุ้มกับการลงทุนช้อื อุปกรณ์ประเภทน้ันๆ หรือไม่ 1.6 วิธกี ารขนถ่ายวสั ดุ วิธีการขนถ่ายวัสดุ หมายถึง วิธีการใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ จากจุดต้นทางสู่จุด ปลายทาง ประกอบดว้ ย องค์ประกอบ สาคญั 3 ประการ คือ 1.6.1 ระบบ (Systems) 1. ระบบทางตรง เหมาะสาหรับวัสดทุ ่มี ีความเข้มขน้ การไหลสูง และระยะสัน้ สาหรับวัสดุ ชนิดพิเศษและตอ้ งการความเรง่ ด่วน และเปน็ วิธปี ระหยดั ท่ีสดุ 2. ระบบทางอ้อม เหมาะสาหรับผังโรงงานที่มีรูปแบบ หลากหลายและมีทางแยกมากๆ เหมาะสาหรบั วัสดทุ ม่ี ีความเขม้ ข้นการไหลต่าและระยะทางยาวพอประมาณ 1.6.2 อปุ กรณ์ (Equipment) จัดประเภทตาม SHA “Systematic Handling Analysis” การวิเคราะห์การขนถ่าย อย่างเปน็ ระบบ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คอื อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
13 เอกสารประกอบการสอน วิชาการขนถา่ ยวสั ดุ ความรเู้ บ้อื งต้นเกีย่ วกับการขนถา่ ยวัสดุ 1. อุปกรณ์การขนถ่ายแบบธรรมดา ราคาไม่แพง แต่ค่าดาเนินการสูง เหมาะสาหรับการ ขนถ่ายขึ้น-ลงได้ง่าย และรวดเร็ว แต่ไม่เหมาะกับการขนถ่ายระยะไกลๆ เหมาะสาหรับระยะทางใกล้และ ความเข้มขน้ ของการไหลต่า 2. อุปกรณ์การขนถ่ายแบบซับซ้อน ราคาแพง แต่ค่าดาเนินการต่า เหมาะสาหรับขนถ่าย ขึ้น–ลง และความเข้มข้นการไหลสูง แตไ่ ม่เหมาะระยะทางไกลๆ 3. อุปกรณ์การขนส่งแบบธรรมดา ราคาไม่แพง แต่ค่าดาเนินการสูง เหมาะสาหรับการ ขนสง่ ระยะไกล แต่ไม่เหมาะการเอาของข้นึ –ลง ความเขม้ ข้นการไหลต่า 4. อุปกรณ์การขนสง่ แบบซบั ซอ้ น ราคาแพง แตค่ ่าดาเนินการต่า เหมาะสาหรับการขนส่ง ระยะไกลๆ และความเข้มข้นการไหลสงู 1.6.3 หนว่ ยรองรับ (Transport units) สภาพของวัสดุที่จะเคล่ือนย้าย มีลักษณะเป็นอย่างไร เช่น วัสดุท่ีจะขนถ่ายต้องบรรจุหีบ ห่อหรือไม่ มีอะไรรองรับหรอื ไม่ บรรจใุ ส่ในภาชนะใดหรือไม่ ซึ่งแบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. วัสดุเปน็ กอง เชน่ เปน็ ทราย ข้าวเปลอื ก ข้าวโพด 2. วสั ดุรายชิ้นอิสระ วัสดุมีขนาดใหญ่ รูปร่างแปลก อาจเกดิ ความเสยี หายงา่ ยต่อการหยิบ หรือรองรับ 3. คอนเทนเนอร์ต่างๆ เหมาะสาหรับวัสดุมารวมกัน เป็นลัง เป็นกล่อง แล้วขนถ่ายมา รวมกนั ในคอนเทนเนอร์ 1.7 การเลอื กเคร่ืองมอื การขนถา่ ยวัสดุ การเลือกเครื่องมือขนถ่ายวัสดุท่ีดีและเหมาะสม จะช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ ลด ต้นทุนการผลิต ย่ิงถ้าการค้ามีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการต้องคานึงถึงต้นทุน เพราะต้นทุนจากอุปกรณ์ การขนถา่ ยวัสดุมีมากถงึ 30 % ของต้นทุนการผลิตท้งั หมด โรงงานที่มีคุณภาพหลายโรงงาน ใช้จาลองสถานการณ์การผลิตผ่านคอมพิวเตอร์ (CIM : Computer Integrated Manufacturing) กาหนดเป็นขบวนการผลิตแบบอัตโนมัติและการออกแบบ วิธีการขนถ่ายวัสดุ เพ่ือคานวณค่าใช้จ่ายในระยะยาวของโรงงานและยังสามารถปรับเปลี่ยนตาแหน่ง เครอื่ งจักรได้ โดยเสียคา่ ใช้จ่ายน้อย เคร่อื งมือขนถ่ายวัสดุควรจะอยูใ่ กล้กันมากที่สุดและเป็นเครอ่ื งมอื อยา่ ง งา่ ยทีส่ ุด อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
14 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวัสดุ ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกบั การขนถา่ ยวสั ดุ ตารางท่ี 1.1 ตารางชนิดเคร่อื งมือลาเลียงวสั ดุ 7 ชนดิ ชนิดของเคร่ืองมือลาเลียง ลักษณะแรงกระทา ขีดความสามารถในการรับน้าหนัก ขนาด คุณสม ับ ิต ั่ทวไป ความเร็ว ความสามารถเกิดแถวคอย ระยะทาง ความ ี่ถในการเคลื่อนท่ี ความยืดหยุ่นของเส้นทางลาเลียง ความสามารถในการบก ้ึขน-ยกลง แขนกล ขณะใช้งาน ตา่ - กลาง ของแข็ง- ตา่ - ไม่ สน้ั บ่อย ตา่ สงู กลาง กอ้ น กลาง รถลาเลียง ของแขง็ - อตั โนมตั ิ ขณะใชง้ าน กลาง กลาง ก้อน กลาง ไม่ กลาง บ่อย สงู สูง รถลาเลยี ง ขณะใช้งาน สูง กลาง- ของแขง็ - สูง ไม่ ไกล ตา่ ตา่ กลาง บนราง ใหญ่ กอ้ น ตา่ - ของแข็ง- เครน ขณะใช้งาน กลาง กลาง ก้อน ตา่ ไม่ กลาง ตา่ ตา่ สูง รถฟอรก์ ขณะใชง้ าน สงู ใหญ่ ของแข็ง- กลาง ไม่ ไกล สงู สูง สงู ลิฟต์ ก้อน เคร่ืองมอื ตา่ - เล็ก- ของแข็ง- กลาง- สัน้ - ลาเลยี ง ตอ่ เน่ือง กลาง กลาง กอ้ น สูง ไม่ กลาง ตา่ ตา่ กลาง แรงงานคน ขณะใชง้ าน ตา่ กลาง ของแข็ง- ตา่ ไม่ สน้ั สงู สงู สงู กอ้ น ที่มา : http://www.pnkreis.com 1.8 ตัวแปรในการวิเคราะหร์ ะบบลาเลยี งวัสดุ ในการลาเลียงวัสดุจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหน่ึง จะต้องมีการวิเคราะห์และวางแผน ปฏิบัตงิ านโดยแผนที่วางนั้นจะต้องคานึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือช่วยประกอบการตัดสินใจเลือกเครื่องมือ ลาเลียงวัสดุ ตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง เช่น ลักษณะของวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ ลักษณะพ้ืนที่ทางาน สภาวะแวดล้อม ประเภทของอุตสาหกรรม หน้าที่การทางานของเคร่ืองมือลาเลียงวัสดุและวิธีการลาเลียงวัสดุ ดังสามารถ แสดงไดด้ ังรูปท่ี 1.10 ในการวิเคราะห์ระบบลาเลียงวัสดุท่ีถูกต้อง ผู้วิเคราะห์ควรจะทาการศึกษาและทาความเข้าใจใน ตังแปรสาคัญแต่ละตัวกอ่ น โดยตวั แปรประกอบสาคญั ในการวเิ คราะห์ระบบลาเลยี งวัสดุ มีดังนี้ 1. ลักษณะผลิตภัณฑ์ : วัสดุท่ีตอ้ งการลาเลียงอย่ใู นสถานะอะไร (ของแขง็ , ของเหลว, กึ่งของเหลว เปน็ ตน้ ), ขนาดความกวา้ ง-ยาว-สูง, น้าหนัก, รปู ทรงและคุณสมบตั ิพเิ ศษ เชน่ มีความคม, ทนทานอณุ หภูมิ อภิชาติ ศรีชาติ สาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี
15 เอกสารประกอบการสอน วชิ าการขนถา่ ยวสั ดุ ความร้เู บอ้ื งตน้ เกย่ี วกับการขนถ่ายวสั ดุ สูงได้ดี หรือเปราะบาง เป็นต้น ขณะที่ทาการออกแบบและเลือกเครื่องมือลาเลียงจะต้องคานึงถึงภาชนะท่ี จะใช้ร่วมกับเครือ่ งมอื ดว้ ย 2. พื้นท่ีทางาน : เส้นทางลาเลียงซ่ึงรวมทั้งเส้นทางตายตัวและเส้นทางท่ีไม่แน่นอน, ขนาดของ สถานท่ีจัดเก็บ, ความกว้าง-ยาว-สูง ของพ้ืนที่ทางาน, ทางานในพ้ืนท่ีโล่งเปิดกว้าง, สถานท่ีทางานเป็นชั้น ๆ, ทางานกลางแจ้งหรืองานสนาม เปน็ ตน้ 3. สภาวะแวดล้อมในการทางาน : สภาพอากาศ, อุณหภูมิ, บริเวณที่มีฝุ่นละออง, บริเวณที่มี สารพิษสะสม, บรเิ วณทมี่ กี ลุ่มควนั เป็นต้น 4. ลักษณะของงานหรือประเภทอุตสาหกรรม : การเลือกเครื่องมือลาเลียงวัสดุจะต้องทราบถึง ข้อมูลลักษณะงาน เช่น การลาเลียงวัสดุในงานพ่นสี ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึงวิธีการใช้สารหล่อล่ืนกับ เคร่ืองมือโดยสารท่ีเลือกใช้จะต้องไม่ทาปฏิกิริยากับทินเนอร์ เป็นต้น หรือลักษณะของงานท่ีเป็นเพียงการ จัดการกับวัสดุ เช่น รับวัสดุ เก็บรักษาวัสดุ แล้วทาการขนส่งถึงเป้าหมาย ผู้ออกแบบก็จะต้องเลือกใช้ เครื่องมือที่สะอาด สะดวกในการรักษาภาพลักษณ์ของธุรกิจ นอกจากนี้ยังมีลักษณะงานที่มีความพิเศษ เช่น งานท่ีเก่ียวข้องกับน้าทะเล, งานที่เสี่ยงต่อการจุดระเบิดหรอื การทาปฏิกิริยาทางเคมี หรอื งานท่ีต้องใช้ อณุ หภมู ติ ่า เชน่ อุตสาหกรรมแช่แขง็ เป็นตน้ 5. หน้าท่ีการทางานของอุปกรณ์ : เคร่ืองมือที่เลือกใช้มีหน้าท่ีและความสามารถแตกต่างกัน เช่น ใชใ้ นการยก, ใช้ลาเลยี งในแนวราบ, สามารถบรรทุกได้ดี หรือสามารถลาเลยี งวัสดุที่มขี นาดใหญ่ ๆ ได้ เป็น ตน้ 6. เครื่องมอื และวิธีการใช้งาน : เครื่องมอื ท่ีเลือกใชจ้ ะต้องตอบสนองความตอ้ งการได้ครบถ้วนและ วธิ กี ารใช้งานง่าย มรี ะบบปอ้ งกันความปลอดภยั 7. ปัจจัยอื่น ๆ : ปัจจัยท่ีนอกเหนือจากที่กล่าวมา เช่น เรื่องต้นทุนในการจัดซื้อ ต้นทุนในการ บารุงรักษา เปน็ ตน้ รูปที่ 1.10 ตวั แปรประกอบสาคัญในการวเิ คราะห์ระบบลาเลยี งวสั ดุ (ทีม่ า : อภชิ าติ ศรชี าติ, 2559) อภชิ าติ ศรชี าติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 655
Pages: