Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร ค.บ. -บรรณารักษ์ฯ

หลักสูตร ค.บ. -บรรณารักษ์ฯ

Published by NONTHANUN YAMWONG, 2022-08-22 06:11:19

Description: หลักสูตร ค.บ. -บรรณารักษ์ฯ

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (4 ป)ี หลักสูตรปรบั ปรุง พุทธศักราช 2565 คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร

มคอ. 2 คำนำ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2565 ปรับปรุงจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิชาบรรณ ารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ พุทธศักราช 2561 เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ซึ่งมุ่งผลิต บัณฑิต และพัฒนาคนทางการศึกษาให้มคี วามรคู้ ู่คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และให้มีมาตรฐานวิชาชีพที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสังคม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ เป็น สาขาวิชาหน่ึงที่มุ่งผลิตบัณฑิตท่ีสามารถบูรณาการความรู้ในเน้ือหาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์ ไปพัฒนาตนเอง ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และสงั คมต่อไป ในการดำเนินการปรับปรุงตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติฯ น้ัน ในเบ้ืองต้นได้มี การจัดทำเอกสารรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2) รายละเอียดรายวิชา (มคอ.3) และรายละเอียดประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ.4) ตามลำดับ จากน้ันได้มีการวิพากษห์ ลกั สูตรโดยผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก และคณะกรรมการ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร ก

มคอ. 2 สารบญั คำนำ 1 ข้อมูลทว่ั ไป หนา้ สารบัญ 1 ชื่อหลกั สูตร ก หมวดท่ี 2 ชื่อปรญิ ญา และสาขาวิชา ข 3 วิชาเอก 1 หมวดท่ี 4 จำนวนหน่วยกติ ทเ่ี รยี นตลอดหลักสตู ร 1 หมวดที่ 5 รูปแบบของหลักสตู ร 1 6 สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสูตร 1 7 ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐาน 1 8 อาชพี ที่สามารถประกอบไดห้ ลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 1 9 ช่ือ-สกลุ ตำแหน่งทางวิชาการ และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารย์ 2 ผูร้ บั ผิดชอบหลักสตู ร 2 10 สถานที่จดั การเรียนการสอน 2 11 สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทีจ่ ำเป็นต้องนำมาพิจารณา 3 ในการวางแผนหลักสูตร 12 ผลกระทบจากการพฒั นาทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาทางสังคมและ 3 วฒั นธรรม ตอ่ การพฒั นาหลกั สตู รและความเกีย่ วขอ้ งกับพันธกจิ ของสถาบัน 3 13 ความสัมพนั ธ์กับหลกั สตู รอ่นื ทเี่ ปิดสอนในวิทยาลัย/คณะ/สาขาวชิ า/ หลักสตู รอนื่ ของสถาบนั 5 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สตู ร 6 1 ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร 2 แผนพฒั นาปรบั ปรุง 8 8 3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลักสูตร 9 1 ระบบการจดั การศึกษา 11 2 การดำเนินการหลักสตู ร 11 3 หลักสูตรและอาจารยผ์ สู้ อน 11 4 องคป์ ระกอบเกยี่ วกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน) 13 5 ขอ้ กำหนดเก่ียวกับการทำโครงงานหรืองานวจิ ัย 77 78 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร ข

สารบัญ (ตอ่ ) มคอ. 2 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล หน้า 1 การพฒั นาคณุ ลักษณะพิเศษของนักศึกษา 79 2 การพฒั นาผลการเรียนรู้ในแต่ละดา้ นหมวดศึกษาทัว่ ไป 79 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านหมวดวชิ าเฉพาะ 80 4 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรยี นรูเ้ มือ่ สิน้ ปกี ารศึกษา 88 103 หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 104 1 กฎระเบียบหรอื หลักเกณฑ์ในการใหร้ ะดับคะแนน(เกรด) 104 2 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธข์ิ องนักศึกษา 104 3 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลกั สตู ร 105 107 หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 107 1 การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ 107 2 การพฒั นาความรู้และทกั ษะให้แกค่ ณาจารย์ 107 109 หมวดท่ี 7 การประกันคณุ ภาพหลกั สตู ร 109 1 การกำกับมาตรฐาน 110 2 บัณฑติ 111 3 นักศกึ ษา 112 4 อาจารย์ 113 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผูเ้ รยี น 119 6 สงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ 121 7 ตวั บง่ ช้ผี ลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) 121 121 หมวดท่ี 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร 122 1 การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของการสอน 122 2 การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 3 การประเมนิ ผลการดำเนินงานตามรายละเอยี ดหลักสตู ร 4 การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร ค

มคอ. 2 สารบญั (ตอ่ ) หน้า ภาคผนวก 123 ภาคผนวก 1 การสำรวจ/วจิ ัย ประเมนิ หลกั สตู ร/อ่ืน ๆ 124 ภาคผนวก 2 ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครว่าด้วยการจัดการศึกษา 128 ภาคผนวก 3 ภาคผนวก 4 ระดับอนุปรญิ ญา ปริญญาตรี และปรญิ ญาตรี(ต่อเนือ่ ง) พ.ศ. 2548 และ ภาคผนวก 5 ภาคผนวก 6 ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครวา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาระดับ ภาคผนวก 7 ภาคผนวก 8 อนปุ ริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ต่อเน่ือง) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 ภาคผนวก 9 ภาคผนวก 10 หลักการจดั ระบบรหัสวิชา และความหมายของเลขรหสั วชิ า 145 ภาคผนวก 11 คำสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรงุ หลักสูตร 147 ภาคผนวก 12 ภาคผนวก 13 หนงั สอื เชญิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวพิ ากษ์หลักสตู ร 149 ภาคผนวก 14 ภาคผนวก 15 ตารางการปรับปรุงแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการ 153 ภาคผนวก 16 วิพากษ์หลกั สูตร คาํ สั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการกล่นั กรองหลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ 163 ตารางปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะคณะกรรมการกล่นั กรอง 166 หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต ตารางเปรียบเทียบหลักสตู รเดิม พ.ศ. 2561 กบั หลกั สูตรปรับปรุง 168 พ.ศ. 2565 ตารางเปรยี บเทยี บรายวิชาในหลกั สตู รกบั สาระความร้สู าขา 184 วชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (4 ป)ี ใน (มคอ.1) ตารางเปรยี บเทยี บรายวิชาในหลักสตู รกับหลกั สูตรแกนกลาง 187 การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) กระทรวงศึกษาธกิ าร ตารางสรปุ รายวิชาทตี่ อบสนองวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 192 ตารางการปรับปรงุ จากคณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร์ 195 และสงั คมศาสตร์ ตารางการปรบั ปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ 197 สภาวิชาการ ตารางการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ 205 ดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัย ฝ่ายกลั่นกรองหลักสูตรและ วชิ าการ ตารางการปรับปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการ 208 สภามหาวทิ ยาลยั คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร ง

1มคอ. 2 หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ หลักสตู รปรับปรงุ พุทธศักราช 2565 ชื่อสถาบนั อดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร คณะ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร รหสั หลกั สตู ร : 25491501104973 ภาษาไทย : หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ (4 ปี) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Library and Information Science 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา ชอ่ื เตม็ (ภาษาไทย) : ครศุ าสตรบัณฑติ (บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) ชอ่ื ยอ่ (ภาษาไทย) : ค.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) ชอ่ื เต็ม (ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Education (Library and Information Science) ช่ือยอ่ (ภาษาองั กฤษ) : B.Ed. (Library and Information Science) 3. วิชาเอก - 4. จำนวนหน่วยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสตู ร 4.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู ร วิชาเอกเดย่ี ว ไม่นอ้ ยกวา่ 133 หน่วยกิต 4.2 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู ร วชิ าเอก - โท ไม่นอ้ ยกวา่ 142 หน่วยกติ 5. รปู แบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี 4 ปี 5.2 ประเภทของหลกั สตู ร หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรที างวิชาชพี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 1

2มคอ. 2 5.3 ภาษาทีใ่ ช้ หลกั สตู รจัดการศึกษาเปน็ ภาษาไทย โดยใช้เอกสารประกอบการสอนและตำราเป็นภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ 5.4 การรับเข้าศึกษา รบั นกั ศกึ ษาไทยและนกั ศกึ ษาต่างประเทศท่ีสามารถ ฟัง พูด อ่าน เขียน และเขา้ ใจภาษาไทยได้เปน็ อย่างดี 5.5 ความร่วมมือกบั สถาบันอ่ืน เปน็ หลักสตู รของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครท่ีจัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.6 การให้ปรญิ ญาแกผ่ สู้ ำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว 6. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาเหน็ ชอบ/อนมุ ัติหลกั สตู ร 6.1 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ปรบั ปรุงจากหลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ า บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ พ.ศ. 2561 เรม่ิ ดำเนินการใชห้ ลกั สูตร ในภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 6.2 ไดพ้ จิ ารณากล่ันกรองโดยคณะกรรมการประจำคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ในคราวประชมุ วาระประชุมคร้งั ท่ี 6 / 2564 เม่ือวันที่ 1 เดือน กันยายน พ.ศ. 2564 6.3 ไดพ้ ิจารณาเหน็ ชอบหลักสตู ร โดยสภาวชิ าการ ในคราวประชุมครัง้ ที่ 14 / 2564 เมื่อวันที่ 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 6.4 ไดพ้ ิจารณาเหน็ ชอบหลักสูตร โดยคณะกรรมการดำเนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย ฝ่ายกล่ันกรองหลักสตู รและวิชาการ ในคราวประชมุ คร้ังที่ 1 / 2565 เมื่อวนั ที่ 17 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565 6.5 ไดร้ ับอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสตู รจากสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชมุ ครั้งท่ี 2 / 2565 เมอื่ วันท่ี 28 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สตู รทมี่ คี ุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพรค่ ุณภาพ และมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา ครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสตู รสปี่ )ี พ.ศ. 2562 ในปกี ารศกึ ษา 2567 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 2 8.1 ครบู รรณารักษ์ 8.2 ครผู ู้สอน 8.3 บรรณารกั ษ์ 8.4 นกั เอกสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร

3มคอ. 2 8.5 นักจดหมายเหตุ 8.6 ผู้ประกอบการด้านสารสนเทศ 8.7 อาชพี อสิ ระดา้ นสารสนเทศ 9. ชอื่ -สกุล ตำแหนง่ ทางวิชาการ และคณุ วุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ลำดบั ช่ือ – นามสกุล ตำแหนง่ คณุ วฒุ ิ/สาขาวชิ า/วชิ าเอก สถาบัน/มหาวทิ ยาลยั ทจ่ี บ ปที ่จี บ 1 นายกติ ตศิ ักดิ์ คงพูน ทางวิชาการ พ.ศ. ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และ มหาวิทยาลยั รามคำแหง 2556 2 นายนนทนันท์ แยม้ วงษ์ อาจารย์ สารสนเทศศาสตร์) ป. บณั ฑติ (วชิ าชพี คร)ู มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง 2549 3 นางเพชรา ศรีคำภา อาจารย์ ศศ.บ. (สารสนเทศศึกษา) มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง 2547 4 นางสาวอารยี ์ รงั สิโยภาส ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 2557 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สารสนเทศศาสตร์) 5 นางสาวมลั ลกิ า จุฑามณี ศศ.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์และ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ 2551 (สาขาบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์) และสารนิเทศศาสตร์) ศษ.ม. (ส่งิ แวดล้อมศกึ ษา) มหาวิทยาลัยมหิดล 2545 กศ.บ. (บรรณารกั ษศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ 2528 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประสานมิตร กศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ 2518 (สาขาบรรณารักษศาสตร์ ประสานมิตร และสารนเิ ทศศาสตร์) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) วทิ ยาลยั วิชาการศกึ ษา 2516 บางแสน ชลบุรี อาจารย์ ปร.ด. (การศกึ ษาเพ่อื การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร 2557 พัฒนาท้องถิ่น) ค.ม. (วิจัยการศึกษา) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 2531 ค.บ. (มธั ยมศกึ ษา วชิ าเอก จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2527 คณิตศาสตรแ์ ละชีววิทยา) 10. สถานทจี่ ัดการเรยี นการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาที่จำเปน็ ต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร 11.1 การพฒั นาทางเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 พ.ศ. (2560 – 2564) ได้กลา่ วถงึ แนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ เป็นแนวทางการขับเคล่ือนเศรษฐกิจโดยใช้ทุนท่ีไม่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ ความรู้ ภูมิปัญญา วัฒนธรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเช่ือมโยงทุกมิติ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ฉะน้ัน ศกั ยภาพและทักษะของคนจึงต้องได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ องค์กรทั้งภาคธุรกิจ ภาครัฐ และสถาบันการศึกษาจึง คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 3

4มคอ. 2 จำเป็นต้องปรบั ตัวให้เท่าทนั ต่อสถานการณ์ดงั กลา่ ว ทั้งน้กี ารจะสามารถเท่าทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงใด ๆ ให้ มีประสิทธภิ าพจำเปน็ ตอ้ งใช้ “สารสนเทศ” ทม่ี ีประสิทธภิ าพท้ังใน รูปแบบสงิ่ พิมพแ์ ละดิจทิ ลั เปน็ เครื่องมือ ในการดำเนินการ จะเห็นได้ว่าองค์กรต่าง ๆ ในปัจจุบันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนได้มีการปรับรูปแบบการ ปฏิบัติงานให้มีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ เศรษฐกิจ เพ่ือตอบสนองต่อ สถานการณ์เศรษฐกิจ การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลให้มีทุนทางปัญญาในการจัดการ สารสนเทศ การบริหารข้อมูล/สารสนเทศ ตลอดจนเท่าทันต่อการพัฒนาของเทคโนโลยี สารสนเทศ นอกจากนี้บทบาทของสถาบันบริการสารสนเทศในอนาคตมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงจากแหล่งเรียนรู้เป็น ศนู ยก์ ลางในการสรา้ งเสริมวัฒนธรรมการเรยี นร้ขู องคนในสังคมอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ สารสนเทศเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งและเป็นฐานแห่งอำนาจในทางเศรษฐกิจและ ทางการเมือง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในฐานะเป็นปัจจัยหลักปัจจัยหน่ึงต่อการพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจโลก ตลอดจนคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นต่อสังคมในวงกว้างและการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรวดเร็ว มีผลกระทบต่อการเข้าถึงและการใช้แหล่งสารสนเทศอย่างกว้างขวาง การจัดการศึกษาด้าน บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ เพื่อการผลิตบุคลากรด้านสารสนเทศจำเป็นต้องพัฒนาองค์ ความรู้และกระบวนการให้สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากความต้องการของผู้ใช้ สารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงเคร่ืองมือ และเทคนิคสำหรับการบริการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศได้ ปฏิวัติข้อมูลเน้นเศรษฐกิจดิจิทัล แต่ควรเน้นการพัฒนาสังคมและวิธีการลดช่องว่างทางดิจิทัล การจัดการ ความรู้ชุมชน พัฒนาคน แนวคิดทั้งหมดของห้องสมุด ระบบการจัดเก็บค้นคืนสารสนเทศ รวมทั้งวิธีการ เข้าถึงสารสนเทศดว้ ย 11.2 การพฒั นาทางสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศไทยขยายตวั เชิงปริมาณอย่างรวดเร็ว คนไทยได้รับ โอกาส การเรียนรู้ตลอดชีวิตมากขึ้น แต่ไม่สามารถเข้าถึงสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างทั่วถึงหรือ ที่เรียกว่า ความเหล่ือมล้ำด้านดิจิทัล (Digital divide) หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์จะมีส่วนช่วยส่งเสริมและพัฒนาสังคมไทยให้เปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่ง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ท่ีตระหนักถึงแนว ทางการจัดการองค์ความรู้และ การเรียนรู้ของชุมชนต่าง การดำเนินงานตามแนวทางเหล่านี้ จำเป็นต้องมี แหล่งเรียนรู้ มีการสร้าง ฐานข้อมูลท่ีจะให้บริการสารสนเทศ และความรู้ในสาขาต่าง ๆ ท่ีประชาชน สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู รบั ขอ้ มลู สารสนเทศ ความร้ตู ่าง ๆ ได้อยา่ งท่วั ถงึ สะดวกรวดเร็วโดยอาศัยบคุ ลากรผู้มี ความเชยี่ วชาญ มคี วามรคู้ วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื ลดความเหลอ่ื มลำ้ ด้านดิจทิ ลั พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤตค่านิยม จริยธรรม และ พฤติกรรม ซึ่งเป็นผลกระทบจากการเล่ือนไหลของวัฒนธรรมต่างชาติท่ีเข้าสู่ประเทศไทยผ่านส่ือและ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนยังไม่สามารถคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสมหลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาชาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์จึงมีบทบาท ในการพัฒนาคนให้เป็นผู้รู้สารสนเทศ มีความรู้ด้านการประเมินสารสนเทศ สามารถคัดกรองและประเมิน คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 4

5มคอ. 2 การใช้สื่อ นอกจากน้ียังให้บริการสังคมในการส่งเสริมผู้อ่ืนให้เป็นผู้รู้สารสนเทศอีกทางหนึ่ง สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ย่ังยืน ในประเด็นที่จะมุ่งสร้าง วัฒนธรรม การเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องให้กับคนทุกช่วงวัย ให้ตระหนักถึงประโยชน์และความสำคัญของการเรียนรู้ตลอด ชวี ิต ทน่ี ำไปสกู่ ารยกระดับคณุ ภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชวี ติ ได้อย่างรู้เท่าทนั 12. ผลกระทบจากการพฒั นาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนา หลกั สูตรและความเก่ยี วขอ้ งกับพนั ธกิจของสถาบนั 12.1 การพฒั นาหลักสตู ร ปัจจบุ ันการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยมีการเปลย่ี นแปลงอย่าง รวดเร็วส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ทางสังคมและสภาพเศรษฐกิจ มีการเรียนรู้จากสื่อต่าง ๆ ที่มีการเปิด ช่องทางการเรียนรู้มากข้ึนท้ังส่ือสิ่งพิมพ์ สื่อดิจิทัล และสื่อออนไลน์มากยิ่งข้ึน แต่ยังไม่สามารถเชื่อมโยง ความรู้สู่การใช้ ประโยชน์และการเข้าถึงสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีได้อย่างทั่วถึง นอกจากน้ียังพบว่า แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารสมัยใหม่ ได้แก่ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud computing) เครือข่ายสังคม (Social network) รวมถึงการตลาดดิจิทัล (Digital marketing) เป็นต้น แนวโน้มการเปล่ียนแปลงดังกล่าวส่งผลให้องค์กรต่าง ๆ มีความต้องการ บุคลากรท่ีสามารถ ปฏิบัติงานได้ ทั้งน้ีเพื่อรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารสมัยใหม่เหล่าน้ีและสามารถพัฒนา องค์การให้มีศักยภาพในการก้าวสู่ความสำเร็จได้ในอนาคต หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ จึงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาคนให้เป็น ผู้มีความสามารถใน การจัดการสารสนเทศโดยมีทักษะการรู้สารสนเทศ การรู้ดิจิทัล และการรู้เท่าทันสื่อ เป็นต้น ซึ่งมี คุณลักษณะที่สามารถกล่ันกรองและการประเมินการรับรับสารสนเทศและความรู้ต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถส่งเสริมผู้อื่นให้เป็นผู้รู้สารสนเทศอีกทางหน่ึงด้วย นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยส่งเสริมและ พัฒนาสังคมไทยให้เปล่ียนแปลงไปสู่สังคมดิจิทัล ที่ตระหนักถึงแนวทางการจัดการองค์ความรู้โดยใช้ เทคโนโลยแี ละการส่ือสาร พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 47 กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับมุ่งพัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ โดยในปัจจุบันพบว่าเยาวชนไทยยังขาดการแสวงหาความรู้ การอ่านหนังสืออยู่ในปริมาณ น้อย เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในสังคมการเรยี นรู้ การเข้าถึงสารสนเทศ การใช้เคร่ืองมือในการแสวงหา ความรู้ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศอันเป็นรากฐานสำคัญอย่างย่ิงของการพัฒนาคนและ ประเทศชาติ วิท ย าลั ย กา รฝึ กหั ด ครู เน้ น ก าร เต รีย ม พ ร้อ มแ ล ะพั ฒ น าครู แล ะบุ คล าก รท า งการ ศึก ษ า ก่อ น ประจำการและส่งเสริมการพัฒนาครูประจำการและนอกประจำการให้มีความรู้และมีสมรรถนะทางวิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 5

6มคอ. 2 เป็นผู้ยึดม่ันในค่านิยมอุดมการณ์ มีจิตวิญญาณความเป็นครู และสมรรถนะทางวิชาชีพครู กอปรกับรัฐได้ กำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี โดยเน้นเป้าหมายสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ เป็นคนเก่งและคนดี มีขีด ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการผลิตบัณฑิตครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง มบี ทบาทในการสรา้ งครูท่ีมีคุณภาพซึ่งนำไปสู่การสร้างกำลงั คนท่ีมีคณุ ภาพและตอบสนองยุทธศาสตรช์ าติ การเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นพลวัต และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลซ่ึงกระทบต่อการ เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของมนุษย์ ตลอดจนพัฒนาการของวิทยาการใหม่ที่เป็นศาสตร์บูรณาการ และข้าม วัฒนธรรม เป้าหมายของการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตน้ีจึงมุ่งเน้นที่การสร้างหลักสูตรให้มี ความทันสมัย ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และการเรียนรู้ในโลกดิจิทัล การปรับปรุง เปล่ียนแปลงคร้ังน้ีอิงจากผลการวิจัยของหลักสูตรที่ได้มีการสำรวจตลอดจนการระดมความคิดและ ประสบการณข์ องผ้เู กยี่ วข้องในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของประเทศ จากผลการวิจัยเร่ืองการติดตามผลบัณฑิตบัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร ปีการศึกษา 2562 ส่วนใหญ่ท่ีสำเร็จการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ทำงานไม่ตรงสาขา ดังน้ันควรปรับปรุงหลักสูตรเป็นครุศาสตร บัณฑติ สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 12.2 ความเก่ยี วขอ้ งกบั พันธกจิ ของสถาบัน การพัฒนาหลกั สูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มีความ สอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครที่ว่าผลิตบัณฑิตและพัฒนาครู ให้เป็นผู้มีความรู้คู่ คุณธรรม มีทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 โดยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นตามพระราโชบายระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การผลิตและพัฒนาครู ให้ตรงกับความต้องการของสังคมรวมท้ังการพัฒนาประเทศ พัฒนาคนทางการศึกษาให้มีความรู้คู่คุณธรรม จริยธรรมและให้มีมาตรฐานวิชาชีพเป็นผู้ยึดม่ันในค่านิยมอุดมการณ์ มีจิตวิญญาณความเป็นครู และ สมรรถนะทางวิชาชีพครู โดยปรับให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงาน (Labour market needs) 13. ความสมั พันธก์ ับหลกั สตู รอ่ืนท่เี ปดิ สอนในคณะ/วิทยาลัย/สาขาวิชา/หลกั สตู รอ่นื ของสถาบนั 13.1 รายวชิ าในหลักสตู รที่เปิดสอนโดยคณะ/วทิ ยาลัย/สาขาวชิ า/หลกั สตู รอืน่ 13.1.1 หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป คือ รายวิชาในกลุ่มวิชาเลือกซ่ึงกล่มุ งานศึกษาท่ัวไป สำนักส่งเสริม วชิ าการและงานทะเบียนเปน็ ผู้รับผดิ ชอบในการสอน 13.1.2 หมวดวิชาเฉพาะ 13.1.3 หมวดวิชาเลอื กเสรี 13.2 รายวชิ าในหลกั สูตรทเี่ ปิดสอนให้คณะ/วทิ ยาลัย/สาขาวิชา/หลักสตู รอื่น รายวชิ าทเ่ี ปิดสอนในหลกั สตู ร นกั ศกึ ษาต่างคณะสามารถเลอื กเรยี นเป็นวชิ าเลอื กเสรไี ด้ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 6

7มคอ. 2 13.3 การบรหิ ารจดั การ 13.3.1 มีการแต่งต้ังอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รจำนวน 5 คน เป็นผู้รับผิดชอบ การบริหารและ การแกป้ ญั หาของหลกั สูตร อย่างเป็นระบบโดยการประชุม ปรึกษาหารือ แสดงความเหน็ รว่ มกัน 13.3.2 มีการกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาเดียวกัน ร่วมจัดทำโครงร่างรายวิชา (Course Syllabus) และกำหนดแนวทางการประเมินร่วมกัน 13.3.3 มีการประเมินหลักสูตรเม่ือนักศึกษาสำเร็จการศึกษาแล้วโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ภายใน สาขาวชิ าและภายนอกสาขาวิชาเพอ่ื นำมาปรับปรุงและการพัฒนาหลักสูตร 13.3.4 มีการสำรวจความต้องการเชิงวิชาชีพจากหน่วยงานองค์กรภาครัฐและเอกชนว่าด้วย ความต้องการของตลาดแรงงาน คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 7

8มคอ. 2 หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรชั ญา ความสำคัญ และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร 1.1 ปรชั ญา ผลิตบัณฑิตครูที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถจัดการเรียนรู้ จัดการสารสนเทศ ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกดิจิทัล ยึดมั่นในจรรยาบรรณ วิชาชพี 1.2 ความสำคญั ปจั จุบันอาชพี ครูบรรณารักษ์ถือวา่ สำคัญอยา่ งยิ่ง เพราะครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ ให้มีความเจริญมั่นคง ให้ก้าวทันต่อสถานการณ์เปล่ียนแปลงของโลกในปัจจุบัน โดยก่อนท่ีจะพัฒนา บา้ นเมอื งให้มคี วามเจริญได้น้นั จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนาคน คือ เยาวชนของชาติเพ่ือให้เติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ ท่ีดี มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์แบบครบทุกด้าน ทั้งนี้สามารถช่วยกันสร้างความเจริญให้แก่ประเทศชาติ ต่อไปได้ และหน้าที่ที่มีความสำคัญอย่างย่ิงของครู คือ การปลูกฝังความรู้ ความคิด และจิตใจแก่เยาวชน เพื่อให้เติบโตข้ึนเป็นพลเมืองท่ีดี และมีประสิทธิภาพของประเทศชาติ ผู้เป็นครูจึงจัดได้ว่าเป็นผู้ที่มีบทบาท อย่างสำคัญในการสร้างสรรค์อนาคตของประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความต้องการและการก้าวทัน ความเปลี่ยนของประเทศและโลกในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม จำเป็นต้องใช้สารสนเทศ การจัดการ สื่อสารสนเทศดิจิทัล และแหล่งเรียนรู้ ท่ีประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน รวมท้ังการ ปลูกฝังทักษะพ้ืนฐานสำคัญคือทักษะการอ่าน โดยมีบุคลากรที่เรียกว่า “ครูบรรณารักษ์” ซึ่งมีบทบาทและ หน้าที่สำคัญในการส่งเสริมการรู้สารสนเทศ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับนักเรียน จัดหาทรัพยากร สารสนเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องสมุดให้เหมาะสมกับ การเรยี นรู้ ช่วยค้นควา้ แนะนำสารสนเทศให้กบั นกั เรยี นและครู 1.3 วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร เพอื่ ผลิตบัณฑติ ให้มคี ณุ ลักษณะ ดังนี้ 1.3.1 มีความรู้ทางวิชาชีพ สามารถจัดการสารสนเทศ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สร้างและพัฒนา นวัตกรรม ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การวิจัย พัฒนาผู้เรียนอย่างมีส่วนร่วม แก้ปัญหาผู้เรียน การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ 1.3.2 มีความคิดสร้างสรรค์และทักษะทางปัญญาในการผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยใน การจดั สภาพแวดล้อมของห้องสมดุ และพัฒนาการเรียนร้รู ่วมกนั กับผู้เรยี น 1.3.3 มีทกั ษะทางวชิ าชพี นำความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ในวชิ าชพี ครูบรรณารักษ์อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 8

9มคอ. 2 1.3.4 มีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ สื่อสารและเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล ติดตามและรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่ือมโยงองค์ความรู้ท างบรรณารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์กบั ศาสตร์อน่ื 1.3.5 มเี จตคติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจรรยาบรรณและศรัทธาในวชิ าชพี ครู 2. แผนพฒั นาปรับปรุง แผนการพฒั นา/เปลย่ี นแปลง กลยทุ ธ์ ตวั บง่ ชี้/หลักฐาน - ปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐาน - ติดตาม และประเมินหลักสูตร - ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ต า ม ท่ี ส ก อ . ก ำ ห น ด ภ า ย ใน อย่างสม่ำเสมอโดยการสำรวจความ หลกั สตู ร ระยะเวลาทุก ๆ 5 ปี ต้องการของตลาดแรงงาน และการ - เอกสารการปรบั ปรงุ หลักสูตร เป ลี่ ย น แ ป ล งข อ งสั งค ม ใน ยุ ค ศตวรรษท่ี 21 - ปรับปรุงหลักสูตรให้ทนั สมยั และ - ทบทวนความทันสมัยของเนื้อหา - รายงานผลการวิเคราะห์ความ มีศักยภาพในการแข่งขันกับความ หลักสตู ร ทนั สมยั ของเนอื้ หาหลกั สูตร ต้องการของตลาดแรงงานภายใน - นำผลการประเมินการสอนของ - ผลการประเมินการสอนของ ระยะเวลา 5 ปี อาจารย์และส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ อาจารย์และสิ่งสนับสนุนการ โดยนักศึกษามาปรับปรงุ การจดั การ เรียนรู้โดยนักศึกษาในแต่ละภาค เรียนการสอนในรายวชิ า การศึกษา - ประเมนิ นักศึกษา - ผลการวิเคราะห์การประเมิน - ติดตามการเปล่ียนแปลง ความ นักศกึ ษาเป็นรายบคุ คล ต้องการแรงงานในวิชาชีพจาก - รายงานการประเมินผลความพึง หน่วยงาน องค์กรภาครัฐ และ พอใจของผใู้ ช้บัณฑติ เอกชน แล้วนำข้อมูลมาใช้เพ่ือการ ตัดสินใจในการปรับปรุงหลักสูตร และสาระสำคญั ของหลักสตู ร - พัฒนาคณาจารย์ และบุคลากร - สนับสนุนให้คณาจารย์ได้พัฒนา - รายงานการเดินทางไปราชการ ให้มีความรู้ ความเช่ียวชาญใน ตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง เพ่ืออบรมและ/หรือสัมมนาทาง สาขาท่ีเก่ียวข้องมากย่ิงข้ึนภายใน วิชาการและวิชาชีพเพื่อพัฒนา ระยะเวลา 3 ปี ตนเองของคณาจารย์ และ/หรือ การพัฒนาตนเองของคณาจารย์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 9

10มคอ. 2 แผนการพัฒนา/เปลย่ี นแปลง กลยทุ ธ์ ตวั บง่ ช้/ี หลกั ฐาน - จั ด เต รี ย ม ค ว าม พ ร้ อ ม ข อ ง - ประสานความร่วมมือกับสำนัก - บันทึก และรายงานกิจกรรม ทรัพยากรท่ีสนับสนุนการเรียนการ วิ ท ย บ ริ ก า ร แ ล ะ เท ค โน โล ยี ความรว่ มมอื สอน และการวิจัย เช่น หนังสือ สารสนเทศ - ราย งาน ก ารป ระชุ ม ค วาม วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ - สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ ร่วมมอื ระหว่างสถาบันการศกึ ษา อปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็น ส ถ าบั น ก าร ศึ ก ษ าอื่ น ๆ ที่ มี ตน้ หลกั สูตรลักษณะเดียวกัน - แผนพัฒนาทักษะการสอนการ - พฒั นาทักษะการสอนของอาจารย์ - การเข้าร่วมโครงการพัฒนา ประเมินผลของอาจารย์ตามผลการ ท่ี เน้ น ก ารส อ น ด้ าน คุ ณ ธ รร ม ทั ก ษ ะ ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร เรีย น รู้ทั้ ง 6 ด้ าน ต าม ก รอ บ จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ประเมินผลการเรียนรู้ท้ัง 6 ด้าน มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ของอาจารย์ แ ห่ งช าติ พ .ศ . 2 5 5 2 ภ าย ใน และความรับผิดชอบ และทักษะใน - ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ งพ อ ใจ ข อ ง ระยะเวลา 3 ปี การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยี นักศึกษาต่อทักษะการสอนของ สารสนเทศ อาจารย์ท่ีมุ่งผลการเรียนรู้ท้ัง 6 ดา้ น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 10

11มคอ. 2 หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดำเนินการ และโครงสรา้ งของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาใช้ระบบทวิภาคโดยหน่ึงปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ หน่ึงภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษารวมทั้งเวลาสอบไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ มหาวิทยาลัยอาจจัดภาค การศึกษาฤดูรอ้ นโดยกำหนดระยะเวลาของแตล่ ะรายวิชาใหม้ สี ัดสว่ นเทียบเคยี งกนั ได้กับภาคการศกึ ษาปกติ 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู อ้ น ไมม่ ี 1.3 การเทียบเคยี งหนว่ ยกิตในระบบทวภิ าค ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ว่าด้วยการโอนผลการเรียนและยกเว้น การศึกษา พ.ศ. 2548 ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เร่ืองหลักการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่ การศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2545 2. การดำเนินการหลกั สูตร 2.1 วัน-เวลาในการดำเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 เดอื นมิถุนายน ถงึ เดอื นกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน ถงึ เดอื นกุมภาพันธ์ 2.2 คณุ สมบตั ิของผเู้ ขา้ ศึกษา จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีคานิยมเจตคติท่ีดีและ คุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับวิชาชีพครู สอบผ่านข้อสอบวัดคุณลักษณะความเป็นครู และผ่านเกณฑของ ส ำ นั ก งา น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ / ห รื อ เป็ น ไป ต า ม ร ะ เบี ย บ ข อ บั ง คั บ ก า ร คั ด เลื อ ก ซ่ึ ง สถาบนั อดุ มศกึ ษาเป็นผู้กำหนด หรอื คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร 2.3 ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเข้า 1) นกั ศึกษาทเ่ี ขา้ เรียนในหลกั สูตรจะมีปญั หาเก่ียวกับความรู้พื้นฐานทางภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และการใช้สารสนเทศ 2) การปรับตวั ของนกั ศึกษาตอ่ การเรยี นและการใชช้ วี ิตในระดบั อดุ มศึกษา 2.4 กลยุทธ์ในการดำเนนิ การเพอื่ แก้ไขปญั หา/ข้อจำกัดของนักศกึ ษาในข้อ 2.3 1) จัดสอนเสริมความรู้พ้ืนฐานทางภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในปี การศึกษาแรก โดยจะมีอาจารย์และนักศึกษารนุ่ พเ่ี ปน็ ผู้สอนเพ่อื ให้คำแนะนำเกีย่ วกบั การเรียน คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 11

12มคอ. 2 2) จัดอบรมการสืบค้นสารสนเทศให้นักศึกษาชั้นปีท่ี 1 ในปีการศึกษาแรก โดยคณาจารย์และ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง 3) มีรายวิชาภาษาอังกฤษจำนวน 1 รายวิชา เพ่ือให้นักศกึ ษามีทักษะภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ในชนั้ เรยี นและการสบื ค้นสารสนเทศ 4) จดั ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ จัดระบบอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาเพ่ือให้คำแนะนำในการเรียนและการใช้ ชีวติ ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างอาจารย์และนักศกึ ษา 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผสู้ ำเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี นักศกึ ษาชนั้ ปีท่ี จำนวนนกั ศึกษาท่ีรับแต่ละปีการศึกษา 2569 2565 2566 2567 2568 30 30 1 30 30 30 30 30 30 2 - 30 30 30 120 30 3 - - 30 30 4 - - - 30 รวม 30 60 90 120 คาดว่าจะสำเรจ็ การศกึ ษา - - - 30 2.6 งบประมาณตามแผน หมวดเงิน 2565 ปงี บประมาณ 2569 2566 2567 2568 งบบคุ ลากร 1,800,000 2,205,600 หมวดเงินเดอื น 12,000 2,106,000 2,031,600 2,126,400 - หมวดค่าจ้างประจำ - -- งบดำเนินการ - - หมวดค่าตอบแทน 10,000 - - - 15,000 หมวดคา่ ใชส้ อย 15,000 12,000 13,000 14,000 15,000 หมวดค่าวสั ดุ 20,000 15,000 15,000 15,000 24,000 หมวดค่าสาธารณปู โภค 21,000 22,000 23,000 งบลงทนุ 20,000 20,000 หมวดครภุ ัณฑ์ 1,877,000 20,000 20,000 20,000 2,279,600 รวมรายจา่ ย (บาท) 2,174,000 2,101,600 2,198,400 จำนวนนักศกึ ษาตามแผน (คน) 30 120 รายรับจากค่าลงทะเบยี น 660,000 60 90 120 2,640,000 คงเหลือ (บาท) -1,217,000 1,320,000 1,980,000 2,640,000 -854,000 -121,600 360,400 441,600 หมายเหตุ : ค่าใชจ้ า่ ยตอ่ หัวตอ่ ปี 22,000 บาท คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 12

13มคอ. 2 2.7 ระบบการศึกษา  แบบช้ันเรยี น  แบบทางไกลผา่ นส่อื สิ่งพิมพ์เปน็ หลกั  แบบทางไกลผา่ นส่ือแพร่ภาพและเสยี งเปน็ สอื่ หลกั  แบบทางไกลทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์เปน็ สื่อหลัก (e-Learning)  แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต็  อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ....ออนไลน์.... 2.8 การเทียบโอนหนว่ ยกติ รายวชิ าและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวทิ ยาลัย เป็นไปตามประกาศ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ ู้สอน 3.1 หลักสตู ร 3.1.1 จำนวนหน่วยกิต จำนวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สูตรวิชาเอกเดีย่ ว ไมน่ อ้ ยกวา่ 133 หนว่ ยกติ จำนวนหนว่ ยกิตกติ รวมตลอดหลกั สตู รวชิ าเอก - โท ไมน่ ้อยกว่า 142 หนว่ ยกติ 3.1.2 โครงสรา้ งหลักสตู ร โครงสรา้ ง กลมุ่ วิชาเอกเด่ยี ว กลมุ่ วิชาเอก-โท (หน่วยกิต) (หน่วยกิต) 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป ไม่นอ้ ยกวา่ 30 30 1.1) กลุ่มวชิ าบังคับ 24 24 1.1.1) กลุม่ ภาษาและการสื่อสาร 99 1.1.2) กลมุ่ พัฒนาความเป็นมนุษย์ 88 1.1.3) กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 3 3 1.1.4) กลมุ่ สหวิทยาการและการจัดการ 44 1.2) กลุ่มวชิ าเลอื ก 66 2. หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่นอ้ ยกวา่ 97 106 2.1) กลุ่มวิชาชีพครู 34 34 2.1.1) วชิ าชีพครู 22 22 2.1.2) วชิ าปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 12 12 2.2) กลุม่ วชิ าเอกเดี่ยว ไม่น้อยกว่า 63 - 2.2.1) วชิ าเอกบังคับ 42 - 2.2.2) วชิ าเอกเลือก 21 - คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 13

14มคอ. 2 โครงสรา้ ง ไม่นอ้ ยกว่า กลมุ่ วิชาเอกเด่ียว กลมุ่ วิชาเอก-โท (หนว่ ยกิต) (หน่วยกติ ) 2.3) กลุ่มวชิ าเอก-โท ไมน่ ้อยกว่า - 72 2.3.1) วชิ าเอก - 42 2.2.2) วชิ าโท - 30 6 6 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 133 142 รวมหน่วยกติ ตลอดหลักสูตร 3.1.3 รายวิชา 1. หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกิต 1.1) กลมุ่ วิชาบังคับ 24 หนว่ ยกิต 1.1.1) กลุ่มภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกติ 0010102 ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร 3(3-0-6) Thai Language for Communication 0010202 ภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียน 3(3-0-6) English for Study Skills Development 0010203 ภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) English for 21st Century Learners 1.1.2) กลุ่มพัฒนาความเป็นมนุษย์ 8 หน่วยกิต 0020110 ความจริงของชีวิต 2(1-2-3) The Truths of Life 0020111 สนุ ทรยี ภาพและวฒั นธรรมไทย 2(1-2-3) Aesthetic and Thai Culture 0020112 ความเป็นไทย วิถชี าติ และศาสตรพ์ ระราชา 2(1-2-3) Thainess, Way of Life and The King’s Philosophy 0020113 กฎหมายและความเปน็ พลเมืองดี 2(1-2-3) Laws and Good Citizenship 1.1.3) กลุ่มวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3 หน่วยกิต 0030105 ฉลาดคดิ ทางวิทยาศาสตร์ 2(1-2-3) Smart Thinking with Sciences 0030109 การออกกำลังกายและกฬี าเพ่ือสุขภาพ 1(0-2-1) Exercises and Sports for Health คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 14

15มคอ. 2 1.1.4) กลุ่มสหวทิ ยาการและการจัดการ 4 หนว่ ยกิต 0040101 การตระหนักรู้และปรบั ตวั ต่อการเปลย่ี นแปลงในโลกยุคใหม่ 2(1-2-3) 0040102 Awareness and Adaptation in Disruptive World องค์กรแหง่ ความสขุ 2(1-2-3) Happy Organization 1.2) กลมุ่ วชิ าเลอื ก 6 หน่วยกติ มงุ่ ให้ผู้เรยี นได้เรียนรศู้ าสตรต์ ่าง ๆ ตามท่ผี ู้เรียนสนใจ จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1) กลุ่มภาษาและการส่ือสาร 0010302 ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 3(3-0-6) 0010402 0010502 Chinese Language for Communication 0020114 ภาษาญี่ปุน่ เพ่ือการสอื่ สาร 3(3-0-6) 0020115 0020116 Japanese Language for Communication 0020117 0020118 ภาษามลายูเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) 0020119 0020120 Malay Language for Communication 0020121 2) กลมุ่ พัฒนาความเป็นมนษุ ย์ พลเมอื งศึกษา ธรรมาภบิ าลกับการป้องกนั คอร์รัปชนั 2(1-2-3) Citizenship Education, Good Governance and Corruption Prevention สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 2(1-2-3) Information for Learning แหล่งเรยี นรู้เชิงสรา้ งสรรค์ 2(1-2-3) Creative Learning Spaces สมาธเิ พ่ือพัฒนาชีวิต 2(1-2-3) Meditation for Life Development โลก ส่ิงแวดลอ้ ม มนษุ ย์และการเปลีย่ นแปลง 2(1-2-3) Earth, Environment, Humans and Changes พลงั มหัศจรรยแ์ ห่งจติ 2(1-2-3) Miraculous Power of Mind การแก้ไขความขัดแย้งด้วยสนั ติวธิ ี 2(1-2-3) Conflict Resolution through Peaceful Means สิทธิ หน้าท่ี และการมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น 2(1-2-3) Rights, Duties, and Participatory in Local Development คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 15

16มคอ. 2 0020122 ระบบราชการไทย 2(1-2-3) 0020123 Thai Bureaucratic Administration 2(1-2-3) สขุ กบั ชวี ติ ดว้ ยจิตวิทยา 0030106 Happy Life through Psychology 2(1-2-3) 0030107 2(1-2-3) 0030108 3) กลุ่มวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 2(1-2-3) เกษตรเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 0040103 Agriculture for Quality of Life Development 2(1-2-3) 0040104 เทคโนโลยีและการสร้างสรรค์นวัตกรรม 2(1-2-3) 0040105 Technology and Creative Innovation 2(1-2-3) 0040106 สขุ ภาพดี ชวี ติ ดี 2(1-2-3) 0040107 Good Health Good Life 2(1-2-3) 4) กลมุ่ สหวิทยาการและการจดั การ การประกอบการสมยั ใหม่ Modern Entrepreneurship การตลาดชาญฉลาด Smart Marketing สงั คมไทยในยุคดจิ ิทัล Thai Society in Digital Age ออกแบบการเล่าเร่ืองในสื่อดิจทิ ลั Storytelling Design Digital in Media เกมการศกึ ษาเพื่อความเป็นพลเมือง Educational Games for Citizenship 2. หมวดวชิ าเฉพาะ (กลุ่มวิชาเอกเดี่ยว 97 หน่วยกิต และกลมุ่ วชิ าเอก–โท 106 หนว่ ยกติ ) 2.1) กลมุ่ วิชาชีพครู ไม่นอ้ ยกว่า 34 หนว่ ยกิต 2.1.1) วิชาชีพครู 22 หนว่ ยกิต 1001105 จติ วิทยาสำหรับครู 3(2-2-5) Psychology for Teachers 1001120 หลกั สูตรและการจดั การเรยี นรู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management 1001121 ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สูตรและการจัดการเรียนรู้ 1(0-3-2) Curriculum and Learning Management Practices คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 16

17มคอ. 2 1001202 ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สารสำหรบั ครู 2(1-2-3) Communicative Thai Language for Teachers 3(2-2-5) 3(2-2-5) 1001203 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารสำหรบั ครู 3(2-2-5) Communicative English for Teachers 2(1-2-3) 2(1-2-3) 1001204 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การศึกษา 12 หน่วยกิต Innovation and Digital Technology for Education 2(90) 2(90) 1001205 การประเมินการเรียนรูแ้ ละการประกนั คุณภาพการศึกษา 2(90) Learning Assessment and Educational Quality Assurance 6(540) 1001206 การวิจัยเพื่อการพฒั นาการเรียนรู้ Research for Learning Development 1001208 การเปล่ยี นบริบทของโลกและกฎหมายทางการศึกษา Global Changes and Educational Laws 2.1.2) วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1001301 การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1 (เรยี นร้งู านครู) Professional Practicum 1 (Teacher’s Work) 1001302 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรียน 2 (ฝึกปฏิบตั งิ านผชู้ ว่ ยคร)ู Professional Practicum 2 (Teaching Assistant Practice) 1001303 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพระหวา่ งเรียน 3 (ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารจัดการเรียนรู้) Professional Practicum 3 (Learning Management Practice) 1001304 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ School Internship 2.2) กลุม่ วชิ าเอกเดี่ยว ไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต 2.2.1) วิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกติ 1161101 บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์เบื้องตน้ 3(3-0-6) 1161201 Introduction to Library and Information Science 3(3-0-6) 1161202 ห้องสมุดโรงเรียน 3(2-2-5) 1161401 School Library 3(3-0-6) หอ้ งสมดุ ดิจทิ ลั Digital Library ภาษาองั กฤษสำหรับครูบรรณารักษ์ English for Teacher Librarians คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร 17

18มคอ. 2 1161501 เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสารสนเทศ 3(2-2-5) 1162401 Information Technology in Information Works 3(2-2-5) 1162402 การจัดหมู่ระบบทศนยิ มดิวอ้ี 3(2-2-5) 1162403 Dewey Decimal Classification System 3(2-2-5) 1162404 การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) 1162407 Cataloging of Information Resources 3(2-2-5) 1163401 การจดั การทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) 1163402 Information Resources Management 3(2-2-5) 1163404 การบรกิ ารสารสนเทศและแหลง่ สารสนเทศ 3(2-2-5) 1163901 Information Services and Sources 3(2-2-5) การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ Library and Information Center Management หน่วยกติ การสอนและการจัดกิจกรรมการรู้สารสนเทศ 3(3-0-6) Instructions and Activities in Information Literacy 3(3-0-6) การออกแบบฐานข้อมลู และการออกแบบเวบ็ ไซต์ 3(3-0-6) Database Design and Website Design 3(3-0-6) การจดั การสารสนเทศและสื่อดิจทิ ัล 3(2-2-5) Information and Digital Media Management การวิจัยทางบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ Research in Library and Information Sciences 2.2.2) วิชาเอกเลือก (เลอื กเรยี นไม่นอ้ ยกว่า) 21 1161102 วรรณกรรมเบ้ืองต้น 1161103 1161203 Introduction to Literature 1161301 1161502 วรรณกรรมสำหรบั เด็กและเยาวชน Children and Youth Literature ห้องสมุดมชี วี ิต Living Library การจัดการความรู้ด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Knowledge Management in Library and Information Science โปรแกรมประยุกต์โอเพนซอร์สและคลาวด์คอมพิวติ้ง Open Source Software and Cloud Computing คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 18

19มคอ. 2 1161701 จรยิ ธรรมและกฎหมายสำหรับวชิ าชีพบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 3(3-0-6) 1162101 Ethics and Law in Library and Information Science Professionals 3(3-0-6) 1162201 การศึกษาพฤติกรรมและความตอ้ งการของผูใ้ ช้ 3(2-2-5) 1162405 User Behavior Studies and Need 3(2-2-5) 1162406 การตลาดดจิ ทิ ลั เพ่ืองานบริการสารสนเทศ 3(2-2-5) 1163403 Digital Marketing for Information Works 3(3-0-6) 1163405 การจดั หม่รู ะบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน 3(2-2-5) 1163406 Library of Congress Classification System 3(2-2-5) 1163407 การจดั เกบ็ และสบื คน้ สารสนเทศ 3(2-2-5) 1163408 Information Storage and Retrieval 3(3-0-6) 1163409 การอา่ นและกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน 3(2-2-5) 1163902 Reading and Reading Activities Promotion 3(2-2-5) การสงวนรักษาและการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรสารสนเทศ Reservation and Conservation of Information Sources 3(3-0-6) การจดั การสารสนเทศท้องถิน่ 3(3-0-6) Local Information Management 3(2-2-5) การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศข้ันสงู Advanced Cataloging of Information Resources การจดั การเอกสาร จดหมายเหตุ และพิพธิ ภณั ฑ์ Records Archives and Museum Management การพฒั นาส่ือและนวตั กรรมการเรียนรู้ Media and Learning Innovation Development สมั มนาทางบรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Seminar on Library and Information Sciences 2.3) กลมุ่ วชิ าเอก–โท ไม่นอ้ ยกว่า 72 หน่วยกิต 2.3.1) วชิ าเอก 42 หน่วยกิต 1161101 บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตรเ์ บ้ืองต้น 1161201 Introduction to Library and Information Science 1161202 ห้องสมุดโรงเรียน School Library หอ้ งสมดุ ดิจิทลั Digital Library คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 19

20มคอ. 2 1161401 ภาษาองั กฤษสำหรับครบู รรณารกั ษ์ 3(3-0-6) 1161501 English for Teacher Librarians 3(2-2-5) 1162401 เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสารสนเทศ 3(2-2-5) 1162402 Information Technology in Information Works 3(2-2-5) 1162403 การจดั หม่รู ะบบทศนิยมดิวอ้ี 3(2-2-5) 1162404 Dewey Decimal Classification System 3(2-2-5) 1162407 การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) 1163401 Cataloging of Information Resources 3(2-2-5) 1163402 การจดั การทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) 1163404 Information Resources Management 3(2-2-5) 1163901 การบรกิ ารสารสนเทศและแหลง่ สารสนเทศ 3(2-2-5) Information Services and Sources การจดั การห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ Library and Information Center Management การสอนและการจดั กิจกรรมการรู้สารสนเทศ Instructional and Activities in Information Literacy การออกแบบฐานข้อมลู และการออกแบบเว็บไซต์ Database Design and Website Design การจัดการสารสนเทศและสื่อดิจิทัล Information and Digital Media Management การวจิ ยั ทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ Research in Library and Information Sciences 2.3.2) วิชาโท 30 หนว่ ยกติ โดยนักศึกษาจะต้องเลือกเรียนในรายวิชาเอกของหลักสูตรสาขาวิชาใด สาขาหน่งึ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร จำนวนไมน่ ้อยกว่า 30 หน่วยกิต 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยไม่ซ้ำซ้อนกับรายวิชาที่เคย เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา ของหลกั สตู ร ซึง่ สามารถเลือกเรียนไดต้ ามความถนดั และความสนใจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 20

21มคอ. 2 3.1.4) แผนการศกึ ษา 1) วิชาเอกเดยี่ ว ชน้ั ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 รหสั วิชา ช่อื วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 0010203 0020112 ภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป 0020111 0020110 ความเป็นไทย วิถชี าติ และศาสตร์พระราชา 2(1-2-3) หมวดวิชาเฉพาะ 1001208 (วชิ าชีพครู) สุนทรยี ภาพและวฒั นธรรมไทย 2(1-2-3) (วิชาเอกบงั คับ) 1001202 1161101 ความจรงิ ของชวี ิต 2(1-2-3) 1161501 การเปลีย่ นบรบิ ทของโลกและกฎหมายทางการศึกษา 2(1-2-3) ภาษาไทยเพอื่ การสือ่ สารสำหรับครู 2(1-2-3) บรรณารกั ษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เบ้ืองต้น 3(3-0-6) เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสารสนเทศ 3(2-2-5) รวม 19 หนว่ ยกติ ภาคการศึกษาท่ี 2 รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 0010102 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) 0010202 ภาษาองั กฤษเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรียน 3(3-0-6) หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 0020113 กฎหมายและความเปน็ พลเมืองดี 2(1-2-3) 1001120 หลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้ 3(3-0-6) หมวดวิชาเฉพาะ (วชิ าชพี ครู) 1001121 ปฏิบัติการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 1(0-3-2) (วิชาเอกบังคับ) 1161201 ห้องสมดุ โรงเรียน 3(3-0-6) (วิชาเอกเลอื ก) xxxxxxx วชิ าเลอื กเรยี น (1) 3(x-x-x) 18 หนว่ ยกิต รวม คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 21

22มคอ. 2 ช้นั ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 2(1-2-3) 0030105 ฉลาดคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1(0-2-1) หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป 2(x-x-x) 0030109 การออกกำลงั กายและกฬี าเพื่อสขุ ภาพ 2(x-x-x) หมวดวิชาเฉพาะ 3(2-2-5) (วชิ าชีพครู) xxxxxxx วิชาเลือก (วิชาเอกบังคบั ) 3(2-2-5) xxxxxxx วชิ าเลือก 3(2-2-5) (วชิ าเอกเลอื ก) 3(2-2-5) 1001105 จติ วิทยาสำหรับครู 3(x-x-x) 1001203 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารสำหรับครู 22 หนว่ ยกติ 1162403 การจดั การทรัพยากรสารสนเทศ 1162404 การบริการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ xxxxxxx วิชาเลอื กเรียน (2) รวม ภาคการศกึ ษาที่ 2 รหสั วิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 0040101 การตระหนักรู้และปรับตัวต่อการเปลยี่ นแปลงในโลก 2(1-2-3) หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป ยุคใหม่ หมวดวชิ าเฉพาะ (วชิ าชีพครู) 0040102 องค์กรแหง่ ความสขุ 2(1-2-3) (วิชาเอกบังคบั ) xxxxxxx วชิ าเลือก 2(x-x-x) (วิชาเอกเลอื ก) 1001205 การประเมนิ การเรียนร้แู ละการประกันคุณภาพ 3(2-2-5) การศึกษา 1001301 การฝึกปฏบิ ัติวิชาชีพระหว่างเรยี น 1 (เรยี นรงู้ านครู) 2(90) 1162401 การจดั หมรู่ ะบบทศนยิ มดิวอี้ 3(2-2-5) 1162402 การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) xxxxxxx วิชาเลอื กเรยี น (3) 3(x-x-x) xxxxxxx วชิ าเลอื กเรยี น (4) 3(x-x-x) รวม 23 หน่วยกิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 22

23มคอ. 2 ช้นั ปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหสั วชิ า ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 1001204 นวตั กรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา 3(2-2-5) หมวดวชิ าเฉพาะ (วชิ าชพี ครู) 1001302 การฝึกปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรียน 2 (ฝึกปฏบิ ตั งิ านผชู้ ่วยครู) 2(90) (วิชาเอกบังคบั ) 1163401 การสอนและการจัดกิจกรรมการรสู้ ารสนเทศ 3(2-2-5) (วิชาเอกเลือก) 1163402 การออกแบบฐานข้อมลู และการออกแบบเวบ็ ไซต์ 3(2-2-5) 1163901 การวจิ ยั ทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 3(2-2-5) xxxxxxx วิชาเลือกเรียน (5) 3(x-x-x) xxxxxxx วิชาเลือกเรียน (6) 3(x-x-x) รวม 20 หนว่ ยกติ ภาคการศึกษาท่ี 2 รหัสวชิ า ช่อื วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวิชา 1001206 การวิจัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ 2(1-2-3) หมวดวชิ าเฉพาะ (วชิ าชีพครู) 1001303 การฝึกปฏิบัติวชิ าชีพระหว่างเรียน 3 (ฝกึ ปฏบิ ตั ิการจัดการเรียนรู้) 2(90) (วชิ าเอกบังคบั ) 1161202 ห้องสมุดดจิ ทิ ัล 3(2-2-5) (วชิ าเอกเลือก) 1161401 ภาษาอังกฤษสำหรับครูบรรณารกั ษ์ 3(3-0-6) 1162407 การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนทศ 3(2-2-5) 1163404 การจัดการสารสนเทศและสื่อดิจทิ ลั 3(2-2-5) xxxxxxx วชิ าเลือกเรยี น (7) 3(x-x-x) รวม 19 หน่วยกิต คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 23

24มคอ. 2 ช้นั ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 รหัสวชิ า ชือ่ วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวิชา 1001304 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ 6(540) หมวดวิชาเฉพาะ รวม 6 หนว่ ยกติ (วชิ าชีพครู) ภาคการศกึ ษาท่ี 2 รหัสวิชา ชือ่ วิชา หนว่ ยกติ หมวดวชิ า xxxxxxx วชิ าเลือกเสรี (1) รวม 3(x-x-x) xxxxxxx วิชาเลอื กเสรี (2) 3(x-x-x) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกิต คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 24

25มคอ. 2 2) วชิ าเอก-โท ชัน้ ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 รหสั วิชา ชือ่ วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 0010203 ภาษาอังกฤษสำหรบั ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) 0020112 ความเปน็ ไทย วิถชี าติ และศาสตร์พระราชา 2(1-2-3) หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป 0020111 สุนทรยี ภาพและวฒั นธรรมไทย 2(1-2-3) 0020110 ความจริงของชวี ิต 2(1-2-3) หมวดวชิ าเฉพาะ 1001202 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสำหรับครู 2(1-2-3) (วิชาชีพครู) 1001208 2(1-2-3) (วิชาเอก) การเปล่ยี นบริบทของโลกและกฎหมายทางการ 1161101 ศกึ ษา 3(3-0-6) 1161501 บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เบ้อื งต้น 3(2-2-5) เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานสารสนเทศ 19 หน่วยกติ รวม ภาคการศกึ ษาที่ 2 รหสั วชิ า ช่ือวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 3(3-0-6) 0010102 ภาษาไทยเพอื่ การสอื่ สาร 3(3-0-6) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป 2(1-2-3) 0010202 ภาษาองั กฤษเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี น 3(3-0-6) หมวดวชิ าเฉพาะ (วชิ าชีพครู) 0020113 กฎหมายและความเปน็ พลเมืองดี 1(0-3-2) (วิชาเอก) 3(3-0-6) 1001120 หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) 18 หนว่ ยกติ 1001121 ปฏิบตั กิ ารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 1161201 หอ้ งสมดุ โรงเรียน 1162404 การบรกิ ารสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ รวม คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 25

26มคอ. 2 ชน้ั ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 รหสั วิชา ชอื่ วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวิชา 0030105 ฉลาดคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ 2(1-2-3) 0030109 การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสขุ ภาพ 1(0-2-1) หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป xxxxxxx วชิ าเลือก (1) 2(x-x-x) xxxxxxx วิชาเลือก (2) 2(x-x-x) หมวดวิชาเฉพาะ 1001105 จิตวทิ ยาสำหรบั ครู 3(2-2-5) (วชิ าชพี ครู) (วิชาเอก) 1001203 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารสำหรบั ครู 3(2-2-5) (วิชาโท) 1162403 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) xxxxxxx วิชาโท (1) 3(x-x-x) 19 หน่วยกติ รวม ภาคการศกึ ษาที่ 2 รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวิชา 0040101 การตระหนักรู้และปรบั ตวั ต่อการเปล่ยี นแปลงใน 2(1-2-3) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 0040102 xxxxxxx โลกยุคใหม่ หมวดวชิ าเฉพาะ 1001205 (วชิ าชพี ครู) องค์กรแหง่ ความสุข 2(1-2-3) 1001301 (วชิ าเอก) วชิ าเลอื ก (3) 2(x-x-x) (วิชาโท) 1162401 1162402 การประเมินการเรยี นรู้และการประกนั คุณภาพ 3(2-2-5) xxxxxxx การศกึ ษา การฝึกปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น 1 (เรยี นรู้งาน 2(90) คร)ู การจดั หมูร่ ะบบทศนิยมดวิ อ้ี 3(2-2-5) การทำรายการทรพั ยากรสารสนเทศ 3(2-2-5) วิชาโท (2) 3(x-x-x) รวม 20 หนว่ ยกติ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 26

27มคอ. 2 ช้ันปที ี่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหสั วิชา ชือ่ วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 1001204 1001302 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการศกึ ษา 3(2-2-5) หมวดวชิ าเฉพาะ (วชิ าชพี ครู) 1161202 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 2(90) (วชิ าเอก) 1163401 1163402 (ฝึกปฏิบตั ิงานผูช้ ว่ ยครู) (วิชาโท) 1163901 xxxxxxx ห้องสมดุ ดิจทิ ลั 3(2-2-5) xxxxxxx การสอนและการจดั กิจกรรมการรู้สารสนเทศ 3(2-2-5) การออกแบบฐานข้อมลู และการออกแบบเวบ็ ไซต์ 3(2-2-5) การวจิ ยั ทางบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ 3(2-2-5) วชิ าโท (3) 3(x-x-x) วิชาโท (4) 3(x-x-x) รวม 23 หนว่ ยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 1001206 การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ 2(1-2-3) 1001303 การฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชีพระหว่างเรยี น 3 2(90) หมวดวชิ าเฉพาะ (ฝึกปฏิบตั ิการจัดการเรียนรู้) (วชิ าชีพครู) 1161401 ภาษาอังกฤษสำหรบั ครูบรรณารักษ์ 3(3-0-6) 1162407 การจดั การห้องสมดุ และศนู ย์สารสนทศ 3(2-2-5) (วชิ าเอก) 1163404 การจัดการสารสนเทศและสื่อดิจิทัล 3(2-2-5) xxxxxxx วิชาโท (5) 3(x-x-x) (วิชาโท) xxxxxxx 3(x-x-x) วิชาโท (6) 19 หนว่ ยกติ รวม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 27

28มคอ. 2 ชน้ั ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหัสวชิ า ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวชิ า 1001304 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ 6(540) หมวดวชิ าเฉพาะ รวม 6 หน่วยกิต (วชิ าชีพครู) ภาคการศกึ ษาท่ี 2 รหสั วชิ า วชิ าโท (7) ชือ่ วิชา น(ท-ป-ศ) หมวดวิชา xxxxxxx วิชาโท (8) รวม 3(x-x-x) xxxxxxx วชิ าโท (9) 3(x-x-x) หมวดวิชาเฉพาะ xxxxxxx วิชาโท (10) 3(x-x-x) (วิชาโท) xxxxxxx วชิ าเลอื กเสรี (1) 3(x-x-x) xxxxxxx วิชาเลือกเสรี (2) 3(x-x-x) หมวดวิชาเลือกเสรี xxxxxxx 3(x-x-x) 18 หนว่ ยกติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 28

29มคอ. 2 3.1.5) คำอธบิ ายรายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป ไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต 1.1) กลุม่ วิชาบังคับ 24 หนว่ ยกิต 1.1.1) กล่มุ ภาษาและการสอ่ื สาร 9 หนว่ ยกติ 0010102 ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร 3(3-0-6) Thai Language for Communication หลักการใช้ภาษาไทยเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ทักษะการ ส่ือสาร การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน รวมถึงการใช้ภาษาไทยเพ่ือนำเสนอผลการศึกษาและค้นคว้าทาง วิชาการในสือ่ ประเภทตา่ ง ๆ Principles of using Thai language to develop creativity in learners of the 21st century, communication skills: listening, speaking, reading, and writing, using of Thai language to present academic research and studies in various types of media. 0010202 ภาษาองั กฤษเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียน 3(3-0-6) English for Study Skills Development พัฒนากลยุทธ์การอ่านภาษาอังกฤษ ทักษะการคาดเดาเนื้อหา การอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อจับ ประเด็นและข้อมูลสำคัญ พัฒนาทักษะการอ่านและกลยุทธ์ในการเรียนคำศัพท์ พัฒนาทักษะการอ่านที่สำคัญ การอ่านเพ่ือจับใจความสำคัญและรายละเอียด การสรุปความ การเดาความหมายคำศัพท์จากปริบท การสร้าง คำศัพท์ การระบุรูปแบบการเขียน การจัดหมวดหมู่ข้อมูลจากบทอ่าน การอ่านอย่างมีวิจารณญาณและมี ประสิทธิภาพ พัฒนากลยุทธ์ในการเรียน การจดบันทึก การสรุปความ การถอดความแล้วเขียนใหม่ด้วยถ้อยคำ ของของตนเอง Enhancement reading strategies previewing, predicting, skimming, and scanning; enrichment of essential reading skills and vocabulary acquisition strategies: identifying main ideas and details in paragraphs, identifying patterns of organization, making inferences, guessing word meanings from context, word formation; categorizing information; reading critically and effectively; development of study skills for further studies note taking, annotating texts, summarizing and paraphrasing. 0010203 ภาษาอังกฤษสำหรับผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) English for 21st Century Learners พัฒนาสมรรถนะการส่ือสารภาษาอังกฤษด้วยทักษะฟัง พูด อ่าน เขียน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันท้ังท่ีเป็นทางการ ไม่เป็นทางการ ฝึกการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว เหมาะสมกับบริบท ผ่านส่ือการสอนและกิจกรรมการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารและมีความทันสมัย บูรณาการพัฒนาสมรรถนะการ สอ่ื สารภาษาองั กฤษกบั การพฒั นาทักษะสำหรบั ศตวรรษที่ 21 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 29

30มคอ. 2 Development of four fundamental English skills: listening, speaking, reading and writing to increase communicative competence through formal and informal English expressions frequently used in everyday situations. Emphasis on accuracy, fluency, appropriateness. Integration of 21st century skills with communicative competence development: self-directed learning skills, collaboration skills, critical thinking skills, cultural awareness, creativity, Information sharing and decision making skills needed for 21st century learners using communicative activities and innovative materials. 1.1.2) กลมุ่ พฒั นาความเปน็ มนษุ ย์ 8 หน่วยกิต 0020110 ความจริงของชีวติ 2(1-2-3) The Truths of Life ความหมายและธรรมชาติของชีวิต การพัฒนาทักษะชีวิต ตามแนววิทยาศาสตร์ ศาสนา และ ปรัชญา เป้าหมายของชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิต การแก้ปัญหาชีวิต ทักษะชีวิตเพื่อสันติสุขและสันติภาพ แนว ทางการประยุกต์ใช้ทักษะชีวิต Meaning and nature of life developing, life skills through science, religion and philosophy, objectives of life, quality of life development, solving life problems, life skills for peace, guidelines for applying life skill. 0020111 สุนทรียภาพและวฒั นธรรมไทย 2(1-2-3) Aesthetic and Thai Culture การรับรู้ความงามของธรรมชาติ การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมของมนุษย์ ความเช่ือ ความศรัทธาใน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สังคม และวัฒนธรรมประเพณีไทยบนพ้ืนฐานแห่งการรับรู้ การมองเห็น การได้ยินและ การเคล่ือนไหว ในการแสดงออกเชิงสรา้ งสรรคท์ างวัฒนธรรมไทยเพื่อการพัฒนาทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และการเป็นผู้มีจิตอาสา การแสวงหาความรู้ การสร้างสรรค์ศิลปะและวัฒนธรรมนำสู่การ เข้าใจตนเองเข้าใจผูอ้ ืน่ รู้เทา่ ทันการเปล่ยี นแปลง และการดำเนินชีวติ อย่างมีความสขุ ในสงั คม Perception of beauty in nature, human’s creation of art, beliefs, faithfulness in nation, religion and majesty King, Thai culture and society based on perception of sight, sound and movement, creative expression of Thai culture for the development of the body, emotions, social skills and intellect, enhancement of ethics and morality, volunteering spirit, knowledge searching, and creativity, art and culture understanding of oneself and others, adjustment to changes and peaceful living in society. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 30

31มคอ. 2 0020112 ความเปน็ ไทย วิถชี าติ และศาสตร์พระราชา 2(1-2-3) Thainess, Way of Life and The King’s Philosophy ประวัติศาสตร์ชาติไทย ลักษณะของวิถีชีวิตไทย วัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย และภูมิปัญญา ท้องถิ่น ความเป็นไทย การตระหนักถึงความเป็นไทย และสำนึกรักชาติไทย จิตอาสาในสังคมไทย การเข้าร่วม กิจกรรมจิตอาสาและสาธารณประโยชน์ องค์ความรู้ของศาสตร์พระราชาและการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การ ปฏิบัตเิ พอ่ื พัฒนาตนเอง History of Thailand, characteristic of Thai living, Thai culture, Thai tradition and local wisdom, Thainess, awareness of being Thai and Thai patriotism realization, volunteering spirit in Thai society, participating in activities of volunteering spirit and public benefit, knowledge of The King’s philosophy and practicing along The King's philosophy for self-development. 0020113 กฎหมายและความเป็นพลเมืองดี 2(1-2-3) Laws and Good Citizenship กฎหมายเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน สิทธิและหน้าที่ของพลเมืองไทย สิทธิทางสังคม สิทธิทาง เศรษฐกิจ สิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิทางการเมือง การปกครองไทย ระบอบประชาธิปไตย สถาบันทางการเมือง พฒั นาการทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมือง Laws related daily life, rights and duties of Thai citizen, social rights, economic rights, cultural rights and political rights. Thai governance, democracy, political institutions, political development and political participation. 1.1.3) กล่มุ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 3 หนว่ ยกิต 0030105 ฉลาดคิดทางวิทยาศาสตร์ 2(1-2-3) Smart Thinking with Sciences หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย์ กระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ใน ชวี ิตประจำวนั การแกป้ ัญหาและตดั สินใจในชวี ิต โดยการคดิ เชงิ ระบบและสรา้ งสรรค์ Scientific principle and human thinking process, scientific thinking process, mathematical in daily life, problem solving and decision making through systematic and creative thinking. 0030109 การออกกำลังกายและกฬี าเพ่ือสขุ ภาพ 1(0-2-1) Sports and Exercises for Health ความหมาย จุดมุ่งหมาย และประโยชน์ของการออกกำลังกายและกีฬา หลักการและขั้นตอนของ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพ่ือพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านต่าง ๆ การเลือกกิจกรรมการออก กำลังกายและกีฬาให้สอดคล้องกับเพศและวัย ฝึกการออกกำลังกายและใช้อุปกรณ์เครื่องมือการออกกำลังกายอย่าง คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 31

32มคอ. 2 ถูกวิธี การฝกึ การออกกำลังกายในสถานบริการการออกกำลังกาย การทดสอบและประเมินผลสมรรถภาพทางกาย Definitions, objectives and benefits of exercises and sports; principles and step of exercise for health; exercises for improving physical performances; physical activity and sport selecting related gender and age; exercise practices and sport equipment proper usage; exercise practices in fitness center, physical fitness test and assessment. 1.1.4) กล่มุ สหวิทยาการและการจดั การ 4 หนว่ ยกติ 0040101 การตระหนกั รูแ้ ละปรบั ตวั ต่อการเปลยี่ นแปลงในโลกยคุ ใหม่ 2(1-2-3) Awareness and Adaptation in Disruptive World การรับรู้ เข้าใจ และตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงยุคปัจจุบันในมิติด้าน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม ผลกระทบด้านสังคม ผลกระทบด้านการเมือง ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม การปรับตัวเพื่อ แก้ปัญหาการดำรงชีวิตความปกติในรูปแบบใหม่อย่างรู้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงในสังคมยุคปัจจุบั นได้อย่าง เหมาะสม Perception, understanding and awareness of the current disruptive in dimensions of society, economics, politics, environment, information technology and innovation, social effects, political effects, economics effects, environmental effects, the use of information technology and innovation. Adaptation for effective problem solving in new normal toward disruptive society. 0040102 องค์กรแหง่ ความสุข 2(1-2-3) Happy Organization ความหมายและประเภทขององค์กร การจัดสภาพแวดล้อมองค์กร วัฒนธรรมขององค์กรบน ความหลากหลาย ความหมายและความสำคัญขององค์กรแห่งความสุข จิตวทิ ยาเชิงบวก การประยุกต์ใชจ้ ิตวทิ ยา เชงิ บวกเพื่อเสรมิ สรา้ งความสุข การทำงานอยา่ งมคี วามสุข การมีส่วนร่วมในการสรา้ งองค์กรแหง่ ความสุข Definitions and types of organization, organizational environment, multi-cultural diversity in organization, definitions and importance of happy workplace, positive psychology applying for creative happy workplace, and participation in creating a happy organization. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 32

33มคอ. 2 1.2 กลมุ่ วชิ าเลอื ก 6 หน่วยกติ มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ตามที่ผู้เรียนสนใจ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1) กลุ่มภาษาและการส่ือสาร 0010302 ภาษาจนี เพื่อการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Chinese Language for Communication คำศัพท์ วลี และประโยคภาษาจีนอย่างง่ายสำหรับการสนทนาในชีวิตประจำวัน สัทอักษร ภาษาจีนและการออกเสียง การฝึกทักษะการส่ือสารภาษาจีนในสถานการณ์ต่าง ๆ Basic Chinese language vocabularies, phrases and sentences in daily conversation; Chinese phonetics (Pinyin) and pronunciation; practicing Chinese communication in various situations. 0010402 ภาษาญปี่ ุน่ เพื่อการส่อื สาร 3(3-0-6) Japanese Language for Communication คำศัพท์ วลี และประโยคภาษาญี่ปุ่นอย่างง่ายสำหรับการสนทนาในชีวิตประจำวัน สัทอักษร ภาษาจีนและการออกเสยี ง การฝึกทักษะการสื่อสารภาษาจนี ในสถานการณต์ า่ ง ๆ Basic Japanese language vocabularies, phrases and sentences in daily conversation; Japanese phonetics and pronunciation; practicing Japanese communication in various situations. 0010502 ภาษามลายูเพ่ือการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Malayan Language for Communication คำศัพท์ วลี และประโยคภาษามลายูอย่างง่ายสำหรับการสนทนาในชีวิตประจำวัน สัทอักษรภาษา มลายูและการออกเสยี ง การฝกึ ทกั ษะการสื่อสารภาษามลายูในสถานการณ์ต่าง ๆ Basic Malayan language vocabularies, phrases and sentences in daily conversation; Malayan phonetics and pronunciation; practicing Malayan communication in various situations. 2) กล่มุ พฒั นาความเปน็ มนุษย์ 0020114 พลเมืองศกึ ษา ธรรมาภิบาลกบั การป้องกันคอรร์ ัปชนั 2(1-2-3) Citizenship Education, Good Governance and Corruption Prevention ความหมายและความสำคัญของพลเมือง บทบาท สิทธิหน้าท่ี หลักความดี คุณธรรมในมิติทาง สังคม ศาสนา ปรัชญา พลเมืองกับความเปลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวัฒน์ แนวคิดทฤษฎี การบริหารจัดการธรร มาภิบาล ปัญหาและการป้องกันทุจริตคอร์รัปช่ัน การวัดและประเมินหลักธรรมาภิบาลของหน่วยงาน คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 33

34มคอ. 2 Definition and importance of citizenship , roles, principles, virtue, morality in social dimensions, religion, philosophy, citizenship in the globalization, meaning, characteristics, concepts, theories, management, good governance creating public consciousness, volunteering, corruption prevention, measurement and assessment good governance of organization. 0020115 สารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้ 2(1-2-3) Information for Learning ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศ ความต้องการใช้ กระบวนการพัฒนาทักษะการรู้ สารสนเทศ ความต้องการใช้สารสนเทศ การคัดเลือกแหล่งสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ การประเมินคุณค่า สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การถอดองค์ความรสู้ ารสนเทศ การเขยี นรายการอ้างอิงและ บรรณานุกรม การนำเสนอสารสนเทศในรูปแบบบทความวชิ าการ Definition and importance of information literacy, processes development of information literacy skill, needs of using information, selecting of sources of information, information searching, evaluation of information values, information analysis and synthesis, extracting of knowledge, writing reference and presentation in academic article. 0020116 แหล่งเรียนรู้เชงิ สร้างสรรค์ 2(1-2-3) Creative Learning Spaces ความหมายและความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ การใช้แหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์เพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ความหมาย ความสำคัญและขอบเขตของแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ประเภทของแหล่งเรียนรู้เชิง สร้างสรรค์ ทรพั ยากรสารสนเทศ การเขา้ ถึงบริการในแหล่งเรียนรูเ้ ชิงสรรค์ Definition and importance of learning space, using creative learning space for lifelong learning, meaning, scope and importance of creative learning spaces, category of creative learning spaces, collection, services and access of creative learning spaces. 0020117 สมาธิเพอื่ พฒั นาชวี ติ 2(1-2-3) Meditation for Life Development ความหมายของการทำสมาธิ จุดประสงค์ วิธีการ ขั้นตอน จุดเร่ิมต้นของการทำสมาธิ ลกั ษณะ ของการบริกรรมและการทำสมาธิ ประโยชน์ของสมาธิ ลักษณะอาการต่อต้านสมาธิ และการนำสมาธิไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน สมาธิกับการเรียนและการงาน ลักษณะ ข้ันตอน คุณสมบัติ ประโยชน์ของฌานและญาณ ส่ิงที่ ควรรเู้ รือ่ งวิปัสสนา ความแตกต่างระหวา่ งสมถะกบั วิปสั สนา แผนผังสมถะกบั วิปสั สนา ชาวโลกกับวิปสั สนา Definitions, objectives, methods, and the beginning of meditation; the nature of reciting and meditation, benefits of meditation, appearance of anti-meditation; the way to apply meditation to daily life, meditation as related to education and operation; the nature, process, property, and benefits of absorption คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 34

35มคอ. 2 (Jhāna) and insight (Ñyāna); fundamental knowledge about introspection (Vipassanā); differences between tranquility (Samatha) and introspection, layout of tranquility and introspection; world community and introspection. 0020118 โลก สงิ่ แวดลอ้ ม มนษุ ย์และการเปล่ยี นแปลง 2(1-2-3) Earth, Environment, Humans and Changes โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก การเปลี่ยนแปลงของโลก ภัยพิบัติธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน การปรับตัวของมนุษย์ต่อ ภัยพิบัตธิ รรมชาติและการเปลย่ี นแปลงส่งิ แวดล้อม การประยุกต์ใช้ภมู ิสารสนเทศเพ่ือการจัดการสิ่งแวดล้อมและ ภยั พิบัติ Structure and composition of earth, global change, natural disasters, natural resources and the environment, environmental management and sustainable development, human adaptation to natural disasters and environmental changes, The application of geo- informatics for environmental and disaster management. 0020119 พลังมหัศจรรยแ์ ห่งจิต 2(1-2-3) Miraculous Power of Mind ปรากฏการณ์พลังทางจิต รวบรวมข้อมูลและเรยี นรู้ปรากฏการณ์พลังต่าง ๆ ทเี่ กิดจากจิตมนุษย์ การฝึกพลังจิตต่าง ๆ ให้เป็นท่ีประจักษ์ชัดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยระบบดิจิทัลสารสนเทศ เครอื่ งมือวิทยาศาสตร์ท่สี นบั สนุนการวดั พลงั จิตและอารมณข์ องมนุษย์ Psychological phenomena in science and Buddhism, methods of training psychic powers in various ways, measuring the Aura energy in the human body, psychic benefits in daily life, scientific equipment supporting power of mind assessment. 0020120 การแกไ้ ขความขดั แยง้ ดว้ ยสนั ติวิธี 2(1-2-3) Conflict Resolution through Peaceful Means แนวคิดและทฤษฎีความขัดแย้ง สันติภาพ สันติวิธี การป้องกันความขัดแย้งที่รุนแรง การ วิเคราะห์ความขัดแย้ง และความรุนแรงในระดับบุคคล ชุมชน และระหว่างประเทศ แนวทางสันติวิธีในการ แกป้ ัญหาทค่ี กุ คามสนั ติภาพ Concept and theory of conflict, peace, violent conflict prevention, conflict and violence analysis in personal, community and international levels, model of peaceful means in solving peace-threatening problem. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 35

36มคอ. 2 0020121 สิทธิ หน้าที่ และการมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาทอ้ งถิ่น 2(1-2-3) Rights, Duties, and Participatory in Local Development ปรัชญา แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ การเมืองและการปกครองแบบมีส่วนร่วม สิทธิ หน้าที่ พัฒนาการการปกครองท้องถิ่นไทย รูปแบบการบริหารและการจัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ปัญหาและ อปุ สรรค แนวทางแกไ้ ขและทิศทางแนวโนม้ การปกครองท้องถ่นิ ไทย Philosophy, concepts related rights and duties, politics and participatory governance, rights, duties, and development of local government in Thailand, model of administration and management of local government organizations, problem, obstruction and solution trends of Thai local administration. 0020122 ระบบราชการไทย 2(1-2-3) Thai Bureaucratic Administration การบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น การรวมอำนาจ การกระจาย อำนาจ หน้าที่ของหน่วยงานราชการ องค์กรอิสระ รัฐวิสาหกิจ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่ของรัฐ รายได้และรายจ่ายของรัฐบาล รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ การบริการประชาชนแบบอิเล็กทรอนิกส์ การรับฟัง เสียงของประชาชน การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน Central, regional, and local administration, centralization, decentralization, duties of bureaucratic units, independent organizations, privatization, government officials, government revenues and expenditure, e-government, e-service, public hearing, and public information awareness. 0020123 สขุ กับชวี ติ ดว้ ยจิตวทิ ยา 2(1-2-3) Good Life Through Psychology การพัฒนาคุณภาพชวี ิต พฒั นาตนเองตามศักยภาพ การปรับตวั ให้ชีวิตมีความสุขแบบสมดุล การ วางแผนชีวิต การสรา้ งมนุษยสมั พันธ์ การพัฒนาภาวะผูน้ ำ การจดั การภาวะวกิ ฤตของชีวติ การพัฒนาตัวเองดว้ ย การเรยี นรู้ตลอดชีวติ Life quality development, self-development, adjustment for balance and happy life, life-planning, human-relationship development, leadership, life-crisis management, lifelong learning for self-development. 3) กลุ่มวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม 0030106 เกษตรเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 2(1-2-3) Agriculture for Quality of Life Development วถิ ีชีวิตกับการเกษตร ประโยชน์และประเภทของการเกษตร การเกษตรกับสภาพภูมิอากาศ การ ประยุกต์วัสดุทางการเกษตรเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ การเกษตรเพ่ืองานอดิเรก การเกษตรเพื่อการขับเคล่ือน คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 36

37มคอ. 2 เศรษฐกิจชุมชน การแก้ปัญหาผลผลิตทางการเกษตรด้วยนวัตกรรมและการแปรรูป และการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทางการเกษตร Way of life and agriculture, benefits and classification of agriculture, agriculture and climate, applying of agricultural materials to promote health, agriculture for hobby, agriculture for driving the community economy, problem solving in agricultural products with innovation and processing, agriculture product value added. 0030107 เทคโนโลยีและการสร้างสรรค์นวัตกรรม 2(1-2-3) Technology and Creative Innovation ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยี การเลือกและประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต การ สรา้ งสรรค์นวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกบั บริบทสังคมและการเปลี่ยนแปลง Knowledge, understanding related technology, selecting and applying to improve the quality of life to creating suitable innovations for social context and changes. 0030108 สขุ ภาพดี ชีวติ ดี 2(1-2-3) Good Health Good Life ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพ ความสำคัญและมิติทางสุขภาพ การดูแลสุขภาพของแต่ละช่วงวัย หลักการใช้ยาสามัญประจำบ้าน ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ์สุขภาพในชีวิตประจำวัน การใช้ ยาในทางที่ผิด เพศศึกษา ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติด บุหร่ีและยาสูบ การดูแลสุขภาพจิต นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางสุขภาพ Basic knowledge of health, importance and dimension of health, health care of life stages, principles of common household medicine, modern medicine, traditional medicine and health products used in daily life, drug abuse, sex education, knowledge related tobacco and cigarette, mental health care, health innovation and technology. 4) กล่มุ สหวิทยาการและการจัดการ 0040103 การประกอบการสมยั ใหม่ 2(1-2-3) Modern Entrepreneurship แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเป็นผ้ปู ระกอบการ การแสวงหาโอกาสและการรับมือทางธุรกิจในยุค ท่ีมีการเปล่ียนแปลง บูรณาการความรู้ด้วยศาสตร์ด้านการจดั การกบั การบรหิ ารธุรกิจ กลยุทธ์สำหรับผู้ประกอบการ และ การจดั การธรุ กิจขนาดเล็ก Concept and theory creating entrepreneurial, searching for opportunities and dealing with business in a change age integrate knowledge with the science of management and business administration, strategies for entrepreneurs and small business management. คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร 37

38มคอ. 2 0040104 การตลาดชาญฉลาด 2(1-2-3) Smart Marketing แนวคิดและทฤษฎี การแข่งขันทางการตลาดในโลกปัจจุบัน พฤติกรรมผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การสร้างตราสินค้า การจัดการตลาดยุคใหม่ท้ังออนไลน์และ ออฟไลน์ การตลาดเพอ่ื ธุรกิจชุมชน Concept and theory of marketing competitiveness analysis, applying psychology on consumer behavior, market segmentation, targeting, product positioning, branding, modern business management, modern marketing management through online and offline, marketing for community business. 0040105 สงั คมไทยในยุคดิจิทัล 2(1-2-3) Thai Society in Digital Era แนวคิด ความหมายและความสำคัญของสังคมยุคดิจิทัล การเปล่ียนแปลงของสังคมไทยสู่สังคม ยุคดิจิทัล การรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อดิจิทัลและเครือข่ายสังคมออนไลน์ ความเข้าใจและทักษะการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลในเชิงสร้างสรรค์ การเรียนรู้และการปรับตัวในยุคดิจิทัลผ่านกระบวนการทางสังคม ความ ตระหนักรูใ้ นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั Concept, definition information with digital media and social networks, the change of Thai society to a digital age society, understanding and skills in using creative digital technology, learning and adaptation in the digital age through social processes, awareness of morals and ethics in the use of digital technology. 0040106 ออกแบบการเล่าเรอื่ งในสื่อดจิ ิทลั 2(1-2-3) Storytelling Design Digital in Media การเล่าเรื่องผ่านเน้ือหาในรูปแบบการเล่าเรื่องด้วยภาพ วีดิทัศน์ เสียง บทสนทนา และผ่านเทคนิค ตา่ ง ๆ บนแพลตฟอร์มในสื่อดิจทิ ัลท่ีหลากหลาย Storytelling through various forms of content storytelling, telling a story by video, voice, dialogue and various production techniques for platforms in digital media. 0040107 เกมการศึกษาเพ่อื ความเป็นพลเมอื ง 2(1-2-3) Educational Games for Citizenship ความสำคัญของเกมการศึกษาและความเป็นพลเมือง ประเภทของเกมการศึกษา แนวทางการ ออกแบบเกมการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของพลเมือง การใช้ส่ือ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านเกม การศึกษาเพ่ือพัฒนาความเป็นพลเมือง การทดลองจัดกิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธปิ ไตย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 38

39มคอ. 2 Importance educational games and citizenship, types of educational games, guidelines of educational games design to develop characteristics of citizen; using media technology, and innovation on educational games to develop citizenship, educational games activities management for citizenship in democratic regime. 2. หมวดวิชาเฉพาะ (กลมุ่ วชิ าเอกเด่ยี ว 97 หน่วยกติ และ กลมุ่ วิชาเอก-โท 106 หนว่ ยกติ ) 2.1) กลมุ่ วิชาชีพครู 34 หนว่ ยกติ 2.1.1) วชิ าชีพครู 22 หนว่ ยกิต 1001102 จติ วิทยาสำหรับครู 3(2-2-5) Psychology for Teachers แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการ ปรกึ ษาและการแนะแนว ธรรมชาติของผ้เู รียน รูปแบบการเรยี นร้ขู องผ้เู รยี น กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น การ จดั ปัจจัยและสภาพแวดล้อมท่ีสง่ เสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ต็มศักยภาพ การจัดการเรียนรู้สำหรับ เด็กท่มี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ปญั หาของผ้เู รียน ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือผ้เู รียน และการศึกษารายกรณี Psychology for teachers-concept, principles, and theories; developmental psychology; educational psychology; counselling and guidance psychology; learning styles; remedial learning; student support system; and student case study. 1001120 หลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้ 3(3-6-6) Curriculum and Learning Management แนวคิด หลกั การ ความสำคญั ประเภทและรูปแบบของหลกั สูตรกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร การ บริหารจัดการหลักสูตร หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสตู รสถานศึกษา การประเมินและรายงาน ผลการพัฒนาหลักสูตร หลักการการจัดการเรียนรู้และการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้ รูปแบบ วิธีการ เทคนิค และทักษะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การ จัดการเรียนร้แู บบบูรณาการหรอื แบบองคร์ วมโดยคำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล การเรยี นรสู้ ำหรับ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ การจัดการชั้นเรียนและสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ แนวโน้มการพัฒนา หลักสตู รและ การจัดการเรยี นรู้สมัยใหม่ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 39

40มคอ. 2 Curriculum-concepts, principles, importance of, design, and types; curriculum development process; curriculum management; Basic Education core curriculum; school curriculum; curriculum assessment and report; Teaching and learning principles, models, methods, techniques, skills, and learning theories for child-centered learning and the 21st century learning skills; blended learning; integrative learning; learning of students with special needs; learning environments- physical, social, emotional, spiritual, and intellectual learning environment; trends of modern curriculum and instructions. 1001121 ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สูตรและการจดั การเรยี นรู้ 1(0-3-2) Curriculum and Learning Management Practices ฝึกปฏิบัติจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยบูรณาการเชื่อมโยงกับวิถี ชีวิตและสอดคล้องกับท้องถิ่น การออกแบบและวางแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ฝึกปฏิบัติการ จัดการช้ันเรียน ฝกึ การผลติ หรอื ใช้ส่ือและแหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติการ จัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์จริงโดยบูรณาการกับวิชาเฉพาะ โดยใช้กระบวนการวิจัยและ พฒั นา School curriculum and learning management practices focusing on child- centered learning approaches; preparing curriculum that best fits with the school context, learning environment, learning resources and the 2 1 st century learning skills; student assessment; curriculum design compatible and related to life styles and local context; designing and planning activities for the learning skills of the 2 1 st century; classroom management in action; microteaching; and teaching of major subjects. 1001202 ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสารสำหรบั ครู 2(1-2-3) Communicative Thai Language for Teachers ทกั ษะปฏิบัติการใช้ภาษาไทย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การใช้ภาษาท่าทาง เพ่ือการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน การสบื ค้นขอ้ มูล ท่ที ันสมยั การใชภ้ าษาให้ถูกต้องตามวฒั นธรรมไทย โดยประยกุ ต์ใช้ความรู้ทางภาษาให้สอดคล้องกับสภาพ จริงของสถานศึกษา Thai usage skills- listening, speaking, reading, and writing; body language; using of digital technology in Thai language learning; Thai digital learning sources; Thai language and culture; Thai literacy and student learning achievement. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร 40

41มคอ. 2 1001203 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สารสำหรับครู 3(2-2-5) Communicative English for Teachers ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษสำหรับครู การส่ือสารคำศัพท์และ สำนวนภาษาอังกฤษในชั้นเรียนและการควบคุมชั้นเรียน คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ กลยุทธ์การอ่านสื่อประเภทต่าง ๆ การสนทนาในช้นั เรียน การแสดงความคดิ เห็นตอ่ ประเด็นทาง การศึกษา การเขียนเพื่อการส่ือสารในชั้นเรียน คำส่ัง ข้อเสนอแนะ บันทึกการบรรยาย สรปุ ความ การใช้ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสำหรับสืบค้นข้อมูลและนำเสนอ การประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษในการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน English skills for teachers – listening, speaking, reading, and writing skills; communications for classroom and classroom management; English vocabularies and idioms for learning strands; listening and reading strategies; English conversation; classroom dialogues; classroom presentation in educational issues; English for academic purpose; English digital learning sources, English learning media; English classroom in practices. 1001205 การประเมนิ การเรียนร้แู ละการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา Learning 3(2-2-5) Assessment and Educational Quality Assurance หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติในการประเมินการเรียนรู้และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้วัดและประเมิน การประเมินตามสภาพจริง การประเมิน สมรรถนะผู้เรียน การประเมินที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล การประเมินผู้เรียนท่ีมีความต้องการ จำเป็นพิเศษ การออกแบบวธิ ีการประเมินการเรยี นรู้ สถิติสำหรบั การประเมินการเรียนรู้และการประกัน คุณภาพการศึกษา การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการเรียนรู้ การตรวจให้ คะแนน การตัดสินผลการเรียน การนำผลการประเมินการเรียนรู้ไปใช้สำหรับการพัฒนาผู้เรียนและพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนรู้ แนวทางการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือรองรับ การประเมนิ ภายในและภายนอก และการนำผลการประเมินไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา Principles, theories, and practices in learning assessment and educational quality assurance; morality and code of ethics of the educational assessor; authentic assessment; learners’ competencies assessment; differentiated assessment; assessment of students with special educational needs; learning assessment design, statistics for learning assessment and educational quality assurance; development and validation of assessment learning tools; application of assessment results for student and instructional improvement; guidelines for designing self-assessment report in accordance with internal and external quality audit; and school quality assurance implementation and development. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 41

42มคอ. 2 1001204 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพอื่ การศึกษา 3(2-2-5) Innovation and Digital Technology for Education แนวคิด หลักการ ทฤษฎีขอบข่ายสมรรถนะเก่ียวกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษา การ รู้เท่าทันส่ือสารสนเทศและเทคโนโลยีอุบัติใหม่ การเข้าถึงและประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัล การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตโปรแกรมพัฒนาสื่อดิจิทัล โปรแกรมสำเร็จรูปด้านการประมวลคำ ตารางคำนวณและการ นำเสนอ การทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ การแก้ปัญหาทางเทคนิคของการใช้งานเทคโนโลยี การ ปรับเปลี่ยนทักษะในยุคดจิ ิทัล การเลือกการสร้างสรรคน์ วัตกรรมในการจัดการเรยี นรดู้ ้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และแนวโน้มการศึกษาเก่ียวกับเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การเรียนรู้ในอนาคต Educational digital technology- concepts, principles, and theories; scopes of competency and practices in digital technology for education; media and digital technology literacy and emerging technology; application of computer networking; basic office programs; digital media development and implementation; use of educational online collaboration tools; solving of online learning application barriers and technical problems; design and creation of digital technology and innovation for learning; future trends of digital technology for learning. 1001206 การวิจัยเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้ 2(1-2-3) Research for Learning Development แนวคิด หลักการ ทฤษฎีเก่ียวกับการวิจัยทางการศึกษา ประเภทของการวิจัย ระเบียบวิธี วจิ ัยทางการศึกษา จรรยาบรรณนกั วิจัย การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ การกำหนดปญั หาและวัตถุประสงค์ การวิจัย การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง การเขียนกรอบความคิดและสมมติฐานการวิจัย การกำหนด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การเลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อ พัฒนาผู้เรียน การพัฒนาเคร่ืองมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล การเขียนรายงานและการนำเสนอผลการวิจัย การนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนและการเรียนการ สอน ฝึกปฏิบตั ิการวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นร้ขู องผู้เรียน Educational research- concepts, principles, and theories; types of research; research methodology; code of ethics for researchers; analysis of learning problems; research problems, and research objectives; review of literature; conceptual framework; research hypothesis; population and samples; designing research for learning development; selecting learning innovation for learners’ development; developing research tools; data collection; data analysis and statistics for data analysis; Conducting research report and research finding presentation; applying research finding in learning and instructional development; research for learning development in practice. คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 42

43มคอ. 2 1001208 การเปลี่ยนบรบิ ทของโลกและกฎหมายทางการศกึ ษา 2(1-2-3) Global Changes and Educational Laws การเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 - ทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ สภาพภูมิอากาศ สังคม เศรษฐกิจและการเงิน การเมืองการปกครอง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ศาสตร์พระราชากับการ เปล่ียนแปลงทางการศึกษา ปรัชญาการศึกษาและการเปล่ียนแปลงทางการศึกษา เศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาการศึกษา การศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน การศึกษาฐานสมรรถนะ ค่านิยม อุดมการณ์ และ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพครู บุคลกิ ภาพความเป็นครู มนุษยสมั พันธ์สำหรับครู และกฎหมาย ท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพครู รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา) แผนปฏิรูป ประเทศ (ส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ (ส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา กฎหมายการศึกษาลำดับรองพระ ราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับ ประกาศ มาตรฐานวิชาชีพครู การอนุญาตใบประกอบวิชาชีพ ครู The 21st century- the century of changes- technological, scientific, climatIc, social, economical, political, environmental, and cultural changes; the King’s philosophy and educational changes; educational philosophy and educational changes; sufficiency economy and educational development; education for sustainable development; competency-based education; professional ethics, morality, personality, human relations, and teaching spirits; personality for teachers and human relationship; and the laws governing education practices- the Constitution of the Kingdom of Thailand (in relation to education), the National Reform Plan (in relation to education), the National Developmental Strategy (in relation to education), the National Education Act, the Ministry of Education Administration Regulation Act, the Teacher Civil Servant and Educational Personnel Regulation Act, the Teachers and Educational Personnel Council Act, other subordinate educational laws, regulations, by-laws, promulgations, teaching professional standards, and teaching license. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 43

44มคอ. 2 2.1.2) วิชาปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 12 หนว่ ยกิต 1001301 การฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ระหว่างเรียน 1 (เรยี นรงู้ านครู) 2(90) Professional Practicum 1 (Teacher’s Work) สังเกต และแลกเปลี่ยน แนวคิด องค์ความรู้ เก่ียวกับงานและอุดมการณ์ความเป็นครูใน สถานการณ์จริงในบริบทของสถานศึกษา หน้าท่ีความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ท่ีมีต่อนักเรียน เพ่ือน ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และบุคลากรทางการศึกษา สังเกต พฤติกรรมของนักเรยี นทงั้ ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน การจัดการเรียนรขู้ องครู การจัดบรรยากาศในการ เรียนรู้ ภาระงานของครู ผู้บริหาร บุคลากร สภาพทั่วไปของโรงเรียน อาคารสถานที่ และแหล่งเรียนรู้ใน สถานศึกษา สังเคราะห์ความรู้ท่ีได้รับจากสถานการณ์จริง การเขียนสรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน การ เช่ือมโยงกับแนวคิดของทฤษฎีทางการศึกษา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผลข้อมูลในรูปแบบการ ประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคล และร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้ (PLC) และการสัมมนาเพ่ือพัฒนาทางวิชาชีพเพ่ือให้ตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยและทันต่อการ เปลี่ยนแปลง Observe and exchange ideas and knowledge related teacher’s works and professional teacher ideology in the principal’s daily roles; responsibility relating to students, peers, superordinate, school committee, parents, community members, and educational personnel; observe students’ behaviors inside and outside the classroom context; classroom learning management; classroom learning environments management; works of teachers, principal, and personnel; general school environment, school buildings, and learning resources in school; synthesize knowledge from real life situation; conduct the practicum report; connect the practice to theory; share experience by after action review (AAR) individually, share in the school’s professional learning community (PLC) and seminar for professional development to be knowledgeable and modern. 1001302 การฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรยี น 2 (ฝึกปฏิบัติงานผชู้ ว่ ยครู) 2(90) Professional Practicum 2 (Teaching Assistant Practice) การฝึกปฏิบัติงานในฐานะผู้ช่วยครูในสถานศึกษา การสร้างหลักสูตรสถานศึกษา การ ชว่ ยงานครูประจำชั้น การจดั การเรียนรู้และช่วยงานสอน งานจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ งานสร้างสื่อการ เรียนรู้ งานวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมโฮมรูม งานสนับสนุนการเรียน การสอนใน ระดับชั้นและสาระการเรียนรู้ งานช่วยเหลือแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล สร้างสรรค์การ จัดการช้ันเรียนที่ส่งเสริมการคิดขั้นสูง การช่วยเหลือนักเรียนด้านปัญหาส่วนบุคคล การศึกษา อารมณ์ จิตใจ และสังคม การสร้างความน่าเชื่อถือ ความรัก และการดูแลเอาใจใส่ต่อนักเรียน ในรูปแบบการศึกษา รายกรณี การบนั ทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง การเขยี นสรปุ รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเช่อื มโยงกบั คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 44

45มคอ. 2 แนวคิดของทฤษฎีทางการศึกษา การแลกเปล่ียนเรียนรู้และสะท้อนผลข้อมูลในรูปแบบการประเมินสะท้อน กลับ (AAR) เป็นรายบุคคล และร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และ การสัมมนาเพอ่ื พัฒนาทางวิชาชพี เพ่ือให้ตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง Practice being teaching assistant in school; designing the school curriculum; classroom management and assisting a teacher; conducting lesson plans; learning/ instructional media; learning measurement tools; and homeroom activities; carrying out teaching and supporting tasks; solving classroom problems, and develop individual student; create learning environments supporting the higher order thinking; assisting students’ personal problems including studying, emotion, mental and social; build trust, love, and care among students by conducting case study; prepare the practicum report; connect the practice to theory; share experience by after action review (AAR) individually; share in the school’s professional learning community (PLC) and seminar for professional development to be knowledgeable and modern. 1001303 การฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหวา่ งเรียน 3 (ฝึกปฏิบตั ิการจดั การเรยี นรู้) 2(90) Professional Practicum 3 (Learning Management Practice) การทดลองฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาในวิชาเอกหรือวิชาท่ีสัมพันธ์ ศึกษาและ วิเคราะห์การพัฒนาหลักสูตรและรายวิชา การวางแผน ออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกที่เน้นนักเรียน เป็นสำคัญ การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และความรู้แบบสหวิทยาการ การจัดการช้ั นเรียน การสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้การเสริมสร้างความสุขในการเรียนรู้ การใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีดิจิทัลและการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสมรรถนะและทักษะการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 ร่วมมือกับ ผูป้ กครองในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้ในการพัฒนา ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ การ สังเกต วิเคราะห์และการสรุปปัญหาของผู้เรียนเพื่อการวิจัยในรูปแบบการศึกษาผู้เรียนรายกรณี (Case Study) การเขียนสรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน สะท้อนผลการเปล่ียนแปลงและความสำเร็จที่เกิดขึ้นกับตนเองได้อย่าง ชัดเจน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผลข้อมูลในรูปแบบการประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็น รายบคุ คล และรว่ มแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกนั ในรูปแบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และการสัมมนาเพ่ือพัฒนาทาง วิชาชีพเพ่อื ให้ตนเองให้มีความรอบรู้ ทนั สมัยและทนั ต่อการเปล่ียนแปลง Teaching practice of major or related subjects in school; studying and analyzing the core curriculum; planning and designing active learning activities emphasis on student-centered approach; integrating morals ethics and interdisciplinary concepts; creating positive learning environments; using learning/ instructional and digital technology media; developing and applying the measurement tools suitable for the assessment of the 21st century skills and competency; monitoring student learning cooperating with parents to support the desirable คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook