ผ้าไหมท่ีพบในจังหวัดร้อยเอ็ดส่วนมากเป็น ผ้าซิ่น (ผ้าถุงผู้หญิง) ผ้าโสร่ง (ผ้านุ่งผู้ชาย) สไบ ผ้าพ้ืน ผ้าขาวม้า และผ้าปูม เป็นต้น ผ้าซ่ินหรือผ้าถุง เป็นเคร่ืองแต่งกายผู้หญิง ผ้าซ่ินไหมส่วนมากจะสวมใส่ในโอกาสสําคัญ หรือในงานประเพณี ต่างๆ เช่น ประเพณีบุญผะเหวด บุญกฐิน งานสมรส เป็นต้น โดยเฉพาะผ้าไหมมัดหม่ีถือเป็นเคร่ืองแต่งกายท่ีมีลวดลาย อันสวยงามมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ีโดดเด่น โดยในพ้ืนท่ีจังหวัดร้อยเอ็ดพบหลายลายท่ีสืบทอดมาต้ังแต่โบราณ ลาย มัดหม่ีท่ีทอสืบทอดมามีหลายลายด้วยกัน เช่น ลายขอ ลายบักจับ ลายนาคน้อย ลายคองเอ้ีย ลายโคมห้า ลายโคมเจ็ด ลายโคมเก้า เป็นต้น ซ่ึงแต่ละลายเป็นลายผ้าไหมมัดหม่ีโบราณของท้องถิ่นท่ีแยกกันอยู่ในผ้าแต่ละผืน ผ้าไหมลายสาเกต หมายถึง ผ้าไหมท่ีประกอบด้วยลายผ้าท่ีเป็นอัตลักษณ์ในการทอผ้าไหมของจังหวัดร้อยเอ็ดท่ีได้นําเอาลายมัดหม่ีพ้ืนบ้าน 5 ลายท่ีนิยมทอในกลุ่มชนท่ีอยู่ในเมืองร้อยเอ็ด มาทอต่อกันในผ้าผืนเดียวกันเปรียบเสมือนเป็นการหลอมรวมความ สามัคคี ของชาวร้อยเอ็ดให้เป็นหน่ึงเดียว โดยแต่ละลายจะทอค่ันด้วยผ้าสีพ้ืนสีดอกอินทนิลบก (สีชมพูอมม่วง) ซ่ึงเป็น ดอกไม้ประจําจังหวัดร้อยเอ็ด ลายมัดหม่ีพ้ืนบ้าน 5 ลายท่ีประกอบในผ้าสาเกต ได้แก่ ลายโคมเจ็ด ลายนาคน้อย ลาย คองเอ้ีย ลายหมากจับ และลายค้ําเพา ลวดลายท้ัง 5 ลายน้ี ได้นํามาประยุกต์ไว้ในผ้าผืนเดียวกัน และได้มีการประกาศ ช่อื ลายน้ีคือ ลายสาเกต เป็นผ้าเอกลักษณป์ ระจําจังหวัดร้อยเอ็ด The silk fabrics found in Roi Et province are mostly sarongs (for men and women), breast cloth, plain-color cloth, loincloth, Poom cloth, etc. Sarongs or skirts are women's clothing. Most silk sarongs are worn on important occasions or in traditional events such as Boon Pha Wet, Boon Kathin, weddings, etc. Ikat silk, in particular, is regarded as a costume with a beautiful, and one-of-a-kind pattern. In Roi Et province, many patterns have been passed down since ancient times. Many Ikat patterns have been woven together, such as Khor, Buck Jab, Nak Noi, Kong-Ia, Khome Ha, Khome Jed, Khome Kao patterns, etc. Each pattern is a local pattern of ancient Ikat silk that is separated into each fabric. Saket silk is a silk fabric with a pattern that is unique in the silk weaving of Roi Et province, which has brought 5 patterns of traditional Ikat that are popularly woven among the people of Roi Et city and woven together in the same fabric as if to fuse the unity of the Roi Et people into one. It is woven with a plain-colored fabric of Intanil Bok (pink-purple) flowers, which are the flowers of Roi Et Province. Five traditional Ikat patterns that are assembled in Saket fabric, namely Khome Jed patterns, Nak Noi patterns, Kong-Ia patterns, Mark Jab patterns, and Kham Pao patterns, have been applied in the same fabric and the name of this pattern has been announced, Saket pattern, which is the unique fabric of Roi Et Province. 50
7. ผ้ากาบบัว ได้มีการประกาศให้เป็นลายผ้าเอกลักษณ์ประจําจังหวัดอุบลราชธานี ผ้ากาบบัวเป็นลายผ้าเอกลักษณ์ประจําจังหวัด อุบลราชธานี มีคุณลักษณะดังน้ี สีผ้ากาบบัว เป็นสีของกาบบัวหรือกลีบบัว ซ่ึงไล่จากสีอ่อนไปแก่ จากขาว ชมพู เทา เขียว นํ้าตาล ซ่ึงผ้ากาบบัวมีความหมายเหมาะสมสอดคล้องกับช่ือของจังหวัดอุบลราชธานี ผ้ากาบบัว อาจทอด้วยฝ้าย หรือไหม ประกอบด้วยเส้นยืน ย้อมอย่างน้อยสองสี เป็นริ้วตามลักษณะซ่ินทิว นอกจากน้ี ยังทอพุ่งด้วยไหมสีมับไม (ไหม ป่ ั น เ ก ลี ยวห า ง ก ร ะ ร อ ก ) มั ดห ม่ี แ ล ะ ขิ ด จ า ก บ ทนิ ยา มมา ตร ฐ า น ผ ลิ ตภั ณฑ์ ชุ มช น ตา มปร ะ ก า ศมา ตร ฐ า น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ฉบับท่ี 1547 (พ.ศ. 2552) ได้ให้ความหมายกําหนดลักษณะเฉพาะของผ้ากาบบัว เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ผ้ากาบบวั (ธรรมดา) ผ้ากาบบวั (จก) และผ้ากาบบัว (คํา) • ผ้ากาบบัว (ธรรมดา) หมายถึง ผ้าทอท่ีใช้เส้นด้ายยืนอย่างน้อย 2 สี ทอเป็นพ้ืนลายริ้วตามลักษณะซ่ินทิว และใช้ เสน้ ด้ายพงุ่ ทอเป็นลาย ค่ันด้วยหางกระรอก (ควบเส้น) มัดหม่ี และขดิ • ผ้ากาบบัว (จก) หมายถึง ผ้าทอท่ีใช้เส้นด้ายยืนอย่างน้อย 2 สี ทอเป็นพ้ืนลายริ้วตามลักษณะซ่ินทิว และเพิ่มด้ายพุ่ง พเิ ศษ โดยการจกเป็นลวดลาย กระจุกดาว หรอื เกาะลายดาว ซ่ึงอาจมีเป็นชว่ งกล่มุ หรอื กระจายท่ัวท้ังผืนผ้า • ผ้ากาบบัว (คํา) หมายถึง ผ้าทอท่ีมีหรือไมม่ ีลายริว้ ก็ได้ เป็นผ้ายกหรอื ผ้าขดิ ท่ีใชเ้ ส้นด้ายพุง่ เพิ่มพเิ ศษ คือ ด้ินทอง อาจ สอดแทรกด้วยดิ้นเงินหรอื ไหม สตี ่างๆ ไปตามลวดลายบนลายพ้นื และค่ันด้วยมัดหม่ี 7.Kaab Bua Fabric It has been declared as the unique fabric of Ubon Ratchathani Province and has the following features: The color of the Kaab Bua fabric is the color of the lotus flower or lotus petals, which goes from light to dark, or from white, pink, gray, green, and brown. The Kaab Bua cloth has the appropriate meaning under the name of Ubon Ratchathani Province. It may be woven with cotton or silk, consisting of warp strands, dyed in at least two colors. It is streaked according to the characteristics of Thew sarong. Moreover, it is also woven with Mab Mai silk (spinning squirrel-tailed silk), Ikat, and Khid. The definition of community product standards according to the Thai Industrial Standards Institute Announcement No. 1547 (B.E. 2552) defines the characteristics of Kaab Bua cloth into 3 types: Kaab Bua cloth (Ordinary), Kaab Bua cloth (Jok), and Kaab Bua cloth (Kham). • Kaab Bua Cloth (Ordinary) refers to a woven fabric that uses at least 2 colors of warp yarn, woven into a striped ground according to the characteristics of Thew sarong, and is woven with weft yarn into patterns, separated by squirrel tails (Doubling), Ikat and Khid. • Kaab Bua Cloth (Jok) refers to a woven fabric that uses at least 2 colors of warp yarn, woven into a striped ground according to the characteristics of Thew sarong, and adds a special weft yarn by weaving or Jok into star-studded or Lai Dao motifs, which may be in groups or scattered throughout the fabric. • Kaab Bua Cloth (Kham) refers to a woven fabric with or without stripes, it is a lifting cloth or a Khid fabric that uses extra weft yarn, i.e., gold tinsel, and may be inserted with silver or silk tinsel of various colors along the plain-color pattern and separated by an Ikat. 51
ผา้ กาบบวั (ธรรมดา Kaab Bua Cloth (Ordinary)) ผา้ กาบบัว (จก) Kaab Bua Cloth (Jok) ผา้ กาบบวั (คํา) Kaab Bua Cloth (Kham) 52
8. ผ้าไหมมัดหม่ีชนบท ผ้าท่ีทอด้วยมือท่ีมีช่ือเสียงท่ีสุดของอําเภอชนบท มีข้ันตอนเริ่มจากการคัดเลือกเส้นไหม การออกแบบลายหม่ี การให้สี การทอเป็นผืนผ้า ซ่ึงเป็นงานท่ีละเอียดอ่อน ผ้าไหมชนบทมีจุดเด่นคือ มีความสวยงาม ลวดลาย ละเอียดแตกต่างจากท่ี อ่ืน เอกลักษณ์ของผ้าไหมชนบท คือ ลายและเทคนิคการทอผ้าลายเก่าแก่ท่ีสืบทอดกันมา และถือว่าเป็นลายต้นแบบ เป็นลายเก่าแก่ของผ้าจังหวัดขอนแก่น คือ ลายหม่ีกง ลายขันหมากเบ็ง ลายขอพระเทพ หรือลายเชิงเทียน โดยส่วนใหญ่ เกือบท้ังหมดจะเป็นการทอผ้าแบบ 3 ตะกอ ทําให้เน้ือผ้าแน่น สม่ําเสมอ มีลักษณะสีและลวดลายของผ้าด้านหน่ึงสีทึบ กว่าอีกด้าน สีท่ีเป็นเอกลักษณ์ด้ังเดิมคือ สีม่วง สีแดง สีเขียว สีเม็ดมะขาม เอกลักษณ์ของการทอผ้าอีกแบบหน่ึงของชาว ชนบท คือ ผ้าปูมหรือผ้าหน้านาง ซ่ึงมีลักษณะแบบโจงกระเบน ประกอบด้วย ลายมัดหม่ีบริเวณท้องผ้า ลายมัดหม่ีหน้า นาง และลายมัดหม่ีริมชายผ้าท้ังสองด้าน ลวดลายผ้าไหมมัดหม่ีชนบทลวดลายด้ังเดิม เป็นลวดลายท่ีสืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ ใช้วิธกี ารมัดหม่ีและทอแบบด้ังเดิม อาจเปล่ียนแปลงสีสันได้ตามความต้องการลายด้ังเดิมลายขนาดเล็ก ได้แก่ ลายกง ลายโคม ลายหมากจับ ลายปลาซิว ลายดอกแก้วน้อย ลายด้ังเดิมลายขนาดกลาง ได้แก่ ลายแมงมุม ลายกนกเชิง เทียน ลายขอพระเทพ ลายขันหมากเบ็ง ลายต้นสน ลายขาเปียน้อย ลายตําลึงเครือ ลายด้ังเดิมลายใหญ่ ได้แก่ ลายนาค เก้ียว ลายขอเก้ียว ลายสําเภาหลงเกาะ ลายต้นสนใหญ่ ลายนกยูง เป็นต้น 8.Chonnabot Ikat Thai Silk The most famous hand-woven fabrics of rural districts. There is a process starting from the selection of silk threads, Mii pattern design, coloring, and weaving into fabrics which is a delicate job. Chonnabot silk is characterized by its beauty, and fine patterns, unlike others. The uniqueness of Chonnabot Ikat silk is the pattern and weaving techniques of old patterns that have been passed down and are considered to be prototypes which is an old pattern of Khon Kaen fabric, i.e., Me Kong, Khan Mak Beng, Khor Phra Thep or Cheng Tian pattern. Most of them are almost all weaving in a 3-heddle style, making the fabric tight and consistent. It has the appearance of colors and patterns of the fabric on one side which is more solid than the other. The original unique colors are purple, red, green, and tamarind. Another unique type of weaving for rural people is Poom fabric or Na Nang fabric which looks like a loincloth and consists of an Ikat pattern on the middle area, an Ikat Na Nang pattern, and an Ikat pattern along the edge of the fabric on both sides. The original Chonnabot Ikat silk pattern is a pattern inherited from the ancestors, using traditional tie-dye techniques and weaving methods, and may change colors as needed. Small-sized traditional patterns include Gong, Khome, Mark Jab, Pla Sew, and Dok Kaew Noi patterns. Medium-sized traditional patterns include spider, candlestick, Khor Phra Thep, Khan Mak Beng, Pine Tree, Kha Pia Noi, and Tam Leung Krue patterns. Large-sized traditional patterns include Nak Kiew, Khor Kiew, Sam Phao Long Koh, Big Pine Tree, peacock motifs, etc ผ้าหน้านาง หรอื ผ้าปูม ซ่ึงเป็นของเจ้าเมืองชนบท อายุกว่า 220 ปี Na Nang Cloth or Poom Cloth of the Rural Governor Over 220 Years 53
9. ผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมมะเกลือ เป็นผ้าไหมพ้ืนบ้านทอมือของบ้านหนองบ่อ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ผ้าทอลายในตัว ย้อมสีดําด้วยมะเกลือ มี เอกลักษณ์โดดเด่นท่ีมีสีดํามันวาวมีลวดลายสวยงาม ผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมมะเกลือ หรือท่ีชาวบ้านเรียกว่าแพรเหยียบ หรือผ้าเหยียบ นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน นิยมนํามาตัดเย็บเป็นเส้ือแขน ยาว วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวบ้านจะนุ่งผ้าท่ีทอข้ึนและเย็บด้วยมือ โดยผู้ชายจะนุ่ง กางเกงขาส้ันท่ีย้อมด้วยคราม เรยี กว่าผ้าจุบคราม สว่ นผู้หญิงจะนุง่ ผ้าซ่นิ เส้ือจะเป็นเส้อื แขนยาวใชผ้ ้าท่ีทอข้ึน และเยบ็ ด้วยมือแล้วนําไปยอ้ มมะเกลือ เส้ือดําไหมย้อมมะเกลือเป็นเส้ือท่ีตัดจากผ้าไหมแท้ เป็นผ้าไหมท่ีทอพิเศษท่ีชาวบ้านเรียกว่าแพรเหยียบ หรือผ้าเหยียบ โดยการทอผ้า (ต่ําหูก) แบบธรรมดาน้ันจะมีท่ีเหยียบเท้าอยู่ 2 ท่ี แต่การทอแบบแพรเหยียบ จะมีท่ีเหยียบอยู่ 5 ท่ี หรือท่ี เรียกว่า 5 เขา แพรเหยียบจะมีลวดลายพิเศษต่างจากผ้าธรรมดา จะเป็นลวดลายขนมเปียกปูนเป็นวงซ้อนกันติดต่อกัน ตลอดท้ังผืน การตัดเส้ือจากแพรเหยียบใช้วิธีตัดอย่างประหยัดท่ีสุด คือจะไม่มีเศษผ้าเลยนอกจากท่ีเป็นคอกลมเท่าน้ันท่ี ต้องคว้านออก นอกน้ันไม่ว่าจะเป็นแผ่นหลังหรือแขนก็ใช้ผ้าส่ีเหล่ียมท้ังส้ิน ในสมัยก่อนการตัดเส้ือในแต่ละครอบครัวจะ ตัดและเย็บด้วยมือใช้เอง แต่ในปัจจุบันต้องไปจ้างช่างตัดเส้ือตัดให้ กระดุมเส้ือในสมัยก่อนจะใช้เหรียญสตางค์หรือ เหรียญสลึง (เหรียญสลึงในสมัยก่อนไม่ใช่เหรียญสลึงในปัจจุบัน) เจาะรู 2 รู ฟ่ ันไหมร้อยอย่างสวยงาม แต่ในปัจจุบันพบ เห็นน้อยมาก เพราะเหรียญเงินเก่ามีราคามากตัดไปขายจนเกือบหมดแล้ว การตัดเส้ือดําไหมย้อมมะเกลือ เม่ือตัดเย็บ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้วจึงนําไปย้อมมะเกลือเป็นข้ันตอนสดุ ท้าย 9.Silk with Ebony-Dyed Glass Balls It is hand-woven local silk of Ban Nong Bo, Muang District, Ubon Ratchathani Province, self-pattern woven fabric, and dyed black with ebony. It is unique, with a shiny black color and beautiful patterns. Silk with Ebony-Dyed Glass Balls, also known as Phrae Yeap or Yeap fabric, is a cultural heritage passed down from ancestors to descendants and it is commonly sewn into long-sleeved shirts. The villagers' dress culture will consist of handwoven and sewn cloth by which men wear shorts dyed with indigo called Dipped-indigo cloth while women wear sarongs. The shirt will be a long-sleeved shirt using woven fabric and sewn by hand then dyed with ebony. An ebony-dyed silk black shirt is a shirt made from real silk, a specially woven silk that the locals call Phrae Yeap or Yeap fabric. Weaving (low loom) in a normal way will use 2-foot pedals while weaving with a Phrae Yeap will use 5-foot pedals, also known as 5 horns. The pattern on Phrae Yeap is unique in that it is a rhombic pattern with continuous circles overlapping throughout the piece. The most economical way to cut a shirt from a Phrae Yeap is that there will be no rags except for the round neck that needs to be scraped out. Other than that, whether it is the back or the arms, all square clothes are used. In the old days, tailoring for each family would be hand-cut and sewn, but nowadays it is necessary to hire a tailor to cut it. The buttons of the shirts in the old days were used with the 2-holes drilled satang coin or coin dimes, ad beautifully threaded with silk (coins in the old days were not the same as today's coins). But nowadays, it is rarely seen because the old silver coins are very expensive, and sold almost completely. When the sewing of ebony-dyed silk black shirts is completed, ebony dyeing is the final step. ลายรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูนซ้อนกันตลอดท้ังผืน 54 Rhombus Patterns are Stacked Throughout the Canvas.
10.ผ้ามัดหม่ีตีนแดง ผ้ามัดหม่ีตีนแดง หรือช่ือเรียกตามภาษาท้องถิ่นท่ีว่า “ซิ่นหัวแดงตีนแดง” หรือ “ซิ่นตีนแดง” หรือ “ซิ่นหม่ีรวด” ถือได้ว่า เป็นผ้าไหมเอกลักษณ์ท้องถิ่นของชาวอําเภอพุทไธสง และอําเภอนาโพธ์ิ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยลักษณะผ้าไหมจะเป็นมัดหม่ี ลายพ้ืนเมืองทอด้วยไหมท้ังผืนมีหัวซ่ินและตีนซิ่นของผ้าจะเป็นสีแดงสด สมัยโบราณทอด้วยฟืมเล็กแล้วนํามาต่อหัวและ ตีนซิ่น ปัจจุบันมีการทอต่อเน่ืองเป็นผืนเดียวกันไม่ใช้การต่อระหว่างตัวซ่ิน หัวซ่ินและตีนซิ่น ผ้ามัดหม่ีตีนแดงทอข้ึน คร้ัง แรกโดยช่างฝีมือทอผ้าในคุ้มของพระยาเสนาสงคราม (เจ้าเมืองคนแรกของอําเภอพุทไธสง) เม่ือประมาณกว่า 200 ปี มาแล้ว สันนิษฐานว่าเป็นผ้าซ่ินของกลุ่มชนลาว ต่อมาการทอผ้าซ่ินตีนแดงได้แพร่ขยายสู่หมู่บ้านใกล้เคียงและบ้านนา โพธิ์ ซ่ึงปัจจุบันเป็นอําเภอนาโพธิ์ ผ้ามัดหม่ีตีนแดง แหล่งผลิตส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอําเภอพุทไธสงและอําเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ในสมัยโบราณนิยมทอผ้ามัดหม่ีตีนแดงให้เด็กและวัยรุ่นสวมใส่เพราะมีสีสดใส โดยลายหม่ีส่วนใหญ่เป็น ลายด้ังเดิม คือ ลายนาค ลายแข่วเล่ือย (ลายฟันเล่ือย) ลายขอต่างๆ และต่อมาได้พัฒนาและปรับปรุงการทอเพ่ือให้ ผู้ใหญ่ได้สวมใส่ในงานบุญประเพณีสําคัญได้ นิยมใช้สวมใส่เฉพาะในงานพิธีกรรมทางศาสนา งานบุญประเพณี และพิธี การท่ีสาํ คัญเท่าน้ัน 10.Tean Daeng Ikat Fabric Tean Daeng Ikat Fabric, or by the local name \"Sin Hua Daeng Tean Daeng\" or \"Sin Tean Daeng\" or \"Sin Me Ruad\", is considered to be the unique local silk of the people of Phutthaisong district and Na Pho district, Buriram province. The silk is a traditional Ikat pattern woven with whole silk, with the buckle and Teen sarong of the fabric being bright red. In ancient times, it was woven with a small beater and then stitch with the buckle and the Teen sarong. Nowadays, it is woven continuously into the same piece, not a patchwork of cloth, buckle, and teen sarong itself. The Tean Daeng Ikat Fabric was first woven by artisans weaving in the residence of Phraya Sena Songkhram (the first ruler of the Phutthaisong district) more than 200 years ago. It is assumed that it was a sarong of the Lao people. Later, Tean Daeng Ikat Fabric spread to neighboring villages and Ban Na Pho, which is now Na Pho District. The majority of the production sites of the Tean Daeng Ikat Fabric are in Phutthaisong and Na Pho districts, Buriram Province. In ancient times, it was popular to weave Tean Daeng Ikat Fabric for children and adolescents to wear because of its bright colors. Most of the patterns are traditional, namely Naga, Kaew Loue (sawtooth), and various Khor patterns. Later, weaving was developed and improved so that adults could wear it at important traditional merit events. It is preferably worn only in religious ceremonies, traditional merit ceremonies, and important ceremonies. 55
มดั หมต่ี ีนแดงลายขอเครือ Tean Daeng Ikat with a Chain Pattern มดั หมตี่ ีนแดงลายขอวน Tean Daeng Ikat with a Khor-Won Pattern 56
11. ผ้าไหมมัดหม่ีลายแก้วมุกดา เป็นการนําเอาลวดลายผ้าโบราณท่ีมีเอกลักษณ์ และมีความหมายของจังหวัดมุกดาหารนํามามัดเป็นลวดลายบนเส้นไหม และทอเป็นผืนผ้า แต่ละลายมีเอกลักษณแ์ ละความหมายสําหรบั จังหวัดมุกดาหาร ดังน้ี 1) ลายสายน้ํา (ลายง๊อกแง็ก หรือลายซิกแซก) มีลักษณะเป็นเส้นโค้งสีขาว หมายถึงสัญลักษณ์แทนแม่น้ําโขง ซ่ึงเป็น สายนา้ํ ค่จู ังหวัดมุกดาหาร ซ่ึงเป็นเส้นกันเขตแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศสาธารณะรฐั ประชาชนลาว 2) ลายนาคน้อย (หรือลายพญานาค) เป็นสัตว์แห่งความอุดมสมบูรณ์เก่ียวกับพุทธศาสนาพุทธ ชาวอีสานจะมีการนับถือ นาคเป็นวัฒนธรรมร่วมกัน จะปรากฏมีลายนาคในผืนผ้าชาวอีสานมากมายหลายแบบ หมายถึงพญานาคท่ีอาศัยอยู่ใน แม่นํา้ โขงเฝ้าดูแลความเป็นอยูข่ องชาวเมืองมุกดาหาร 3) ลายดอกชา้ งน้าว (ลายดอกกระบวนน้อย) เป็นลายสเี หลืองดอกช้างน้าว ซ่ึงเป็นไม้มงคลประจําจังหวัดมุกดาหาร 4) ลายตุ้มเล็ก (ต้มุ ลายไม้) แทนดวงแก้วเล็ก (ดวงดาวในท้องฟา้ ) 5) ลายตุ้มใหญ่ หรือลายมุก มีลักษณะเป็นดอกสีขาวหรือท่ีเรียกว่าลายตุ้ม หมายถึงแก้วมุกดา ซ่ึงเป็นสิ่งศักด์ิสิทธิ์ ค่บู า้ นค่เู มืองของชาวเมืองมุกดาหาร 11. Ikat Silk with Mukda Glass Pattern It is a combination of ancient fabric patterns that are unique and meaningful to Mukdahan Province, tied into patterns on silk threads and woven into fabrics, and each pattern has its uniqueness and meaning for Mukdahan Province as follows: 1. Water Motif (Ngok-Ngak or Zigzag Motif) It is characterized by a white curve and refers to the symbol of the Mekong River, which is the important river of Mukdahan Province. This is the boundary line between Thailand and Laos People's Democratic Republic. 2. Naga Noi Motif (Serpent Motif) It is an animal of abundance in Buddhism. I-San people will have a common culture of Naga. There are many Naga motifs in I-San fabrics. It also refers to the serpent that lives in the Mekong River, guarding the well-being of the people of Mukdahan. 3. Dok Chang Nao Motif (Kra Buan Noi Motif) It is a yellow pattern of elephant flowers, which is an auspicious plant of Mukdahan Province. 4. Toom Lek Motif (Wood Motif) substitution of crystal (stars in the sky) 5. Toom Yai Motif (Pearl Motif) It is characterized by white flowers, also known as Toom motifs, meaning Mukda glass, which is the sacred thing of Mukdahan’s people. 57
ผ้าไหมมัดหม่ีลายแก้วมุกดา เป็นการนําเอาลวดลายผ้าโบราณท่ีมีเอกลักษณ์และมีความหมายของจังหวัดมามัดเป็น ลวดลายบนเส้นไหมและทอเป็นผืนผ้า แต่ละลายมีเอกลักษณ์และความหมายสําหรับจังหวัดมุกดาหาร ลักษณะของผ้า ไหมมัดหม่ีลายแก้วมุกดา เป็นผ้ามัดหม่ีมีสี 5 สี คือ สีฟ้า สีเหลืองเข้ม สีนํ้าเงิน สีขาว และสีบานเย็น ค่ันลายด้วยเส้นไหม 4 สี ได้แก่ ไหมเข็นควบสีน้ําเงินและสีขาว (ไหมหางกระรอก) เส้นไหมสีบานเย็น เส้นไหมสีเหลือง เส้นไหมสีฟ้าคราม เป็น ผ้าทอด้วยก่ีพ้นื เมือง ทอด้วย 5 กระสวย Ikat Silk with Mukda Glass Pattern is a combination of ancient fabric patterns that are unique and meaningful to Mukdahan Province, tied into patterns on silk threads and woven into fabrics, each pattern has its uniqueness and meaning for Mukdahan Province. The appearance of Ikat Silk with Mukda Glass Pattern is an Ikat fabric with 5 colors: blue, dark yellow, dark blue, white, and fuchsia, separated by 4 colors of silk: blue and white silk (squirrel-tailed silk), fuchsia silk, yellow silk, and turquoise silk. It is woven with local looms, woven with 5 bobbins. ผา้ ไหมมดั หมลี่ ายแก้วมกุ ดา Ikat Silk with Mukda Glass Pattern 58
12.ผ้าไหมลายหม่ีค่ันขอนารี เป็นลายผ้ามัดหม่ีเอกลักษณ์ของจังหวัดชัยภูมิ เกิดจากการนําหม่ีค่ันลายโบราณ มารวมกับลายมัดหม่ีขอนารี ซ่ึงสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงได้มีพระราชดําริ ให้อนุรักษ์ไว้ เกิดเป็นลายผ้า เอกลักษณ์ของจังหวัดชัยภูมิข้ึน จากหลักฐานการอยู่อาศัยของกลุ่มชนในบริเวณจังหวัดชัยภูมิมีวัฒนธรรมการแต่งกาย การออกแบบลวดลายบนผืนผ้า โดยเฉพาะการทําลายผ้ามีหลายวิธี เช่น การมัดหม่ี การเก็บขิดยกลาย เป็นต้น ลายต่างๆ ท่ีได้มาน้ัน เกิดจากท้ังความคิดและความเช่ือ ท่ีมีมาแต่โบราณสืบต่อกันมา ลายมัดหม่ีขอนารี ตามตํานานชาวบ้านเล่าว่า ผ้าไหมมัดหม่ีลายน้ีเกิดข้ึนต้ังแต่สมัยพระยาภักดีชุมพล (แล) เจ้าเมืองชัยภูมิคนแรก และท่านท้าวบุญมี ภรรยาซ่ึงเป็น ชาวเมืองเวียงจันทร์เป็นข้าราชการ ในสํานักเจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทร์ได้อพยพย้ายถ่ินฐานมาต้ังเมืองท่ีเมืองชัยภูมิ ซ่ึง เป็นเมืองเก่าสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ท่านท้าวบุญมีเป็นผู้ท่ีเช่ียวชาญด้านการถักทอผ้า ท่านได้สอนให้สตรีชาว ชัยภูมิรู้จักการปลูกหม่อน เล้ียงไหม ทอผ้า ไม่ว่าจะเป็นผ้าขิด ผ้าไหมมัดหม่ี การทําซิ่นค่ัน การทอผ้าฝ้าย เป็นต้น นอกจากน้ันท่านยังได้สอนให้มีการประดิษฐ์คิดลวดลายต่างๆ ข้ึนอีก ไม่ว่าจะเป็นลายหม่ีขอ หม่ีค่ัน หม่ีเอ้ียวเย่ียวควาย และมีลายผ้ามัดหม่ีอ่ืนๆ อีกมากมาย เน่ืองจากชาวชัยภูมิเป็นผู้ท่ีมีศิลปะในตัวเอง จึงได้คิดลายมัดหม่ีจากสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่ รอบตัวมาออกแบบเป็นลายผ้า เช่น ลายรูปตะขอเกิดจากการตักน้ําข้ึนมาจากบ่อในสมัยก่อนต้องใช้ตะขอท่ีทําจากไม้ไผ่ ก็นําเข้ามาประยุกต์และออกแบบเป็นลวดลายผ้าไหม ต่อมามีการดัดแปลง ให้มีลวดลายสวยงาม แปลกออกไปตาม จินตนาการแต่ยังคงอนุรักษ์ลายรูปตะขอไว้ จนเป็นเอกลักษณข์ องผ้าไหมมัดหม่ีของชัยภูมิ 12. Ikat Silk with Khan Khor Naree Pattern It is a unique Ikat pattern of Chaiyaphum Province formed by combining ancient Ikat Silk with Khan patterns and Khan Khor Naree patterns which Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother has the initiative to preserve, thus resulting in a unique fabric pattern of Chaiyaphum Province. As evidenced by the people's residence in Chaiyaphum province, there is a culture of dress and pattern design on the fabric. In particular, there are many ways to make fabric patterns such as tie-dying, Collect-the-Khid patterns, and so on. The patterns acquired are based on both thoughts and beliefs that have been passed down from ancient times. According to local legend, this Ikat Silk with Khan Khor Naree Pattern originated from the time of Phraya Phakdee Chumpol (Lae), the first lord of Chaiyaphum, and his wife, Thao Boonmee, who was a native of Vientiane, and was a civil servant in the Anouvong Bureau of the city of Vientiane, migrated to Chaiyaphum, the old city of King Narai the Great. Thao Boonmee was an expert in knitting. She taught Chaiyaphum women how to grow mulberry, sericulture, weave fabrics, whether it was Khid fabric, Ikat silk, Khan sarong, and cotton weaving, etc. In addition, she also taught to invent various patterns such as Khor, Khan, Iw Yew Kwai, and many other Ikat patterns. Since Chaiyaphum people are artful in themselves, they have come up with Ikat patterns from the things around them to design patterns of fabric such as the hook-shaped pattern formed by scooping water up from the pond in the old days, using hooks which were made of bamboo, then applied and designed as a silk pattern. Later, it was modified to have a beautiful pattern, strange to the imagination, but still preserved the hook pattern, which is the uniqueness of Chaiyaphum's Ikat silk. 59
ลายค่ัน Khan Pattern ลายหมคี่ ่ันขอนารี Khan Khor Naree Pattern ลายขอค่ัน Khor Pattern 60
13. แพรวา หรือผ้าไหมแพรวา เป็นผ้าทอมืออันเป็นเอกลักษณ์ของชาวผู้ไทย หรือภูไท การทอผ้าแพรวามีมาพร้อมกับวัฒนธรรมของชาวภูไท ซ่ึงเป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์หน่ึงท่ีมีถิ่นกําเนิดในบริเวณแคว้นสิบสองจุไทย (ดินแดนส่วนเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซ่ึงติดต่อกับดินแดนภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน) อพยพ เคล่ือนย้ายผ่านสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แล้วข้ามฝ่ ังแม่น้ําโขงเข้ามาต้ัง หลักแหล่งอยู่แถบเทือกเขาภูพานทางภาคอีสานของไทยซ่ึงส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดนครพนม จังหวัด มุกดาหาร จังหวัดสกลนคร โดยยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณี ความเช่ือ การแต่งกาย และการทอผ้าไหมท่ีมีภูมิปัญญา ในการทอด้วยการเก็บลายจากการเก็บขิด และการจก ท่ีมีลวดลายโดดเด่น ท่ีมีภูมิปัญญาท่ีได้รับการถ่ายทอดมาจาก บรรพบุรุษ และพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง ผ้าแพรวาจึงเปรียบเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มชนท่ีสืบเช้ือสายมาจากกลุ่ม ภูไท ผ้าไหมแพรวาถือเป็นราชินีแห่งไหมไทย เพราะมีความประณีตสวยงาม ใช้กรรมวิธกี ารทําท่ีละเอียดมาก จึงทําให้ มีคุณภาพและมูลค่าสูง ผ้าไหมแพรวามีความหมายรวมกันว่า ผ้าทอเป็นผืนท่ีมีขนาดความยาว 1 วา หรือ 1 ช่วงแขน ใช้ สําหรับคลุมไหล่ หรือห่มสไบเฉียงท่ีเรียกว่าผ้าเบ่ียงของชาวผู้ไทย ซ่ึงใช้ในโอกาสท่ีมีงานเทศกาลบุญประเพณี หรืองาน สําคัญอ่ืนๆ โดยประเพณีทางวัฒนธรรมของหญิงสาวชาวภูไทจะต้องยึดถือปฏิบัติคือ จะต้องตัดเย็บผ้าทอ 3 อย่างคือ เส้ือดํา ตําแพร (หมายถึงการทอผ้าแพรวา) ซิ่นไหม ผ้าแพรวานิยมทอด้วยไหมท้ังผืน มีสีสัน ลวดลาย ท่ีหลากหลาย นับเป็นผ้าไทยอีกรูปแบบหน่ึงท่ีได้นับความนิยมสูงในหมู่ผู้นิยมผ้าไทยท้ังท่ีอยู่ในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะท่ี บ้านโพน อําเภอคําม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดท่ีมีการทอผ้าไหมแพรวาท่ีงดงามและมีช่ือเสียง ผ้าแพรวาได้รับการ สนับสนุนและส่งเสริมจาก โครงการศูนย์ศิลปาชีพพิเศษในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราช ชนนีพันปีหลวง เม่ือคร้ังเสด็จเย่ียมพสกนิกรชาวอําเภอคําม่วงเม่ือปี พ.ศ. 2520 ได้ทอดพระเนตรเห็นชาวภูไท บ้านโพน แต่งตัวโดยใช้ผ้าแพรวาห่มตามแบบสไบเฉียง หรือเรียกว่า ผ้าเบ่ียง ได้ทรงสนพระทัยมากจึงโปรดให้มีการสนับสนุน และ ได้มีพระราชดําริให้ขยายหน้าผ้าให้กว้างข้ึน เพ่ือท่ีจะได้นําไปใช้เป็นผ้าผืนสําหรับตัดเส้ือผ้าได้ อีกท้ังพัฒนาลวดลายให้ เหมาะสมตามความต้องการของตลาด การพัฒนาการทอผ้าแพรวาเกิดข้ึนเพราะพระบารมีของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ท่ีได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความงาม และคุณค่าแห่งศิลปะชิ้นน้ี ในคร้ังน้ัน ผา้ แพรวาลายล่วง ผา้ แพรวาลายเกา ผา้ แพรวาลายจก Praewa with Luang Pattern Praewa with Gao Pattern Praewa with Jok Pattern 61
13. Praewa or Praewa Silk It is a unique hand-woven fabric of the Thai people or Phu Tai. Praewa weaving is accompanied by the culture of the Phu Tai people. It is an ethnic group that originated in the Sip Song Chau Tai region (Northern Territory of Lao People's Democratic Republic and Socialist Republic of Vietnam, which is in contact with the Southern Territory of the People's Republic of China), migrating through the Socialist Republic of Vietnam, Lao People's Democratic Republic and crossing the Mekong River to settle in the Phu Phan mountain range in northeastern Thailand, mainly in Kalasin, Nakhon Phanom, Mukdahan, and Sakon Nakhon Provinces. It maintains the culture, traditions, beliefs, costumes, and silk weaving techniques with the wisdom of weaving the Collect-the-Khid patterns and Jok weaving with distinctive patterns that have been passed down from the ancestors and continuously developed. The Praewa fabric is therefore a symbol of the people descended from the Phu Tai group. Because of its exquisite beauty, Praewa silk is regarded as the queen of Thai silk. It employs a meticulous process, resulting in high quality and value. Praewa silk is defined as a woven fabric with a length of 1 wah or 1 arm’s length. It is used for shawls or oblique breast cloth also called Thai oblique cloths, which are used on occasions of traditional merit festivals or other important events. The cultural tradition of Phu Tai women must have adhered is to sew 3 types of woven fabrics: black shirts, Tamprae (meaning weaving of Praewa cloth), and silk sarong. Praewa silk is popularly woven with whole silk, with a variety of colors and patterns. It is another form of Thai fabric that has gained high popularity among Thai fabric lovers both domestically and internationally, especially at Ban Phon, Kham Muang District, Kalasin Province is a province with beautiful and famous Praewa silk weaving. Praewa silk is supported and promoted by the Support Arts and Crafts International Centre of Thailand under Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother when she visited Kham Muang district in 1977. The Queen Mother looked at the people of Phu Tai, Ban Phon, dressed with a Praewa cloth in the style of an oblique breast cloth or called oblique cloth, and was very interested, so she encouraged and had the royal initiative to enlarge the face of the fabric so that it can be used as a textile for cutting clothes, as well as develop the patterns to suit the market needs. The development of Praewa weaving occurred as a result of Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother's royal patronage, who recognized the beauty and value of this art at the time. 62
14. ผ้าไหมมัดหม่ีลายสร้อยดอกหมาก เป็นลายผ้าโบราณลายด้ังเดิมของท้องถิ่นอีสาน เป็นลายเก่าแก่ของบรรพบุรุษ ซ่ึงชาวบ้านในแถบภาคอีสานโดยเฉพาะ จังหวัดมหาสารคามได้ทอใช้กันมาก และจังหวัดมหาสารคามได้กําหนดให้เป็นลายเอกลักษณ์ประจําจังหวัด แต่เดิม ชาวบ้านแถบจังหวัดมหาสารคามทอผ้าลายโบราณตามแบบบรรพบุรุษอยู่หลายลาย ด้วยกัน แต่ภายหลังลายเก่าแก่ เหล่าน้ีก็เร่ิมสูญหายไปจากชีวิตการทอผ้าของชาวบ้าน เน่ืองจากความยากในการทอ ลายสร้อยดอกหมากก็เป็นลายผ้า โบราณลายหน่ึงท่ีเกือบจะสูญหายไปจากท้องถิ่น ด้วยความท่ีลายผ้ามีความละเอียดมาก ผู้ทอต้องมีความรู้ในเร่ืองของ ลาย และมีฝีมือท้ังในการมัดและการทอ ถ้าไม่มีความชํานาญ การย้อมสีอาจไม่สม่ําเสมอทําให้ลายผ้าผิดเพ้ียนไป นอกจากน้ีต้องใช้ระยะเวลาในการทอมาก จึงเป็นสาเหตุให้ชาวบ้านไม่นิยมทอผ้าลายสร้อยดอกหมาก จนกระท่ังทาง จังหวัดมหาสารคามได้จัดให้มีการประกวดผ้าไหมประจําจังหวัดข้ึน ปรากฏว่าผ้าไหมท่ีได้รับรางวัลชนะเลิศน้ัน คือ ลาย สร้อยดอกหมาก เพราะมีความสวยงาม และวิจิตรบรรจงมาก จึงได้เลือกผ้าไหมลายสร้อยดอกหมากเป็นผ้าไหมประจํา จังหวัด พร้อมกับสนับสนุนให้ชาวบ้านทอผ้าลายน้ีให้มากข้ึน ทําให้ขณะน้ีกลุ่มทอผ้าไหมทุกอําเภอของจังหวัด มหาสารคามต่างก็หันมาผลิตผ้าไหมลายสร้อยดอกหมากกันมากข้ึน ลายสร้อยดอกหมากเป็นช่ือลายตามคําเรียกของคน โบราณ ปัจจุบันชาวบ้านอาจเรียกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น เช่น ลายเกล็ดปลา หรือลายโคมเก้า เกิดจากการนําเอาลาย โคมห้ามามัดซ้อนกับลายโคมเก้า และทําการโอบหม่ีแลเงาเพ่ือให้ลายแน่นข้ึนละเอียดข้ึน ทําให้มีคุณสมบัติพิเศษเป็น จุดเด่นคือเป็นลายเล็กท่ีมีความละเอียดอย่างยิ่ง เม่ือนํามาประยุกต์สีสันต์ลงไป ในการมัดย้อมแต่ละคร้ังจะทําให้มองดู สวยงามระยิบระยับจับตามีคุณค่ามากข้ึน การทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก เส้นไหมท่ี ใช้จะต้องเส้นเล็กมีความ สมํ่าเสมอ การทอผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก ใช้เวลาในการทอมากและข้ึนอยู่กับความละเอียดของลาย เฉพาะการ มัดหม่ีใช้ระยะเวลาเวลานาน 4–5 วัน ย่ิงลายละเอียดก็ต้องขยายลําหม่ีให้มากข้ึนเป็น 49 ลํา หรือเป็น 73 ลํา ดอกก็จะมี ขนาดเล็กลงไป สว่ นข้ันตอนการทอก็ใช้เวลาพอสมควร ผา้ ไหมมดั หมล่ี ายสรอ้ ยดอกหมาก Ikat Silk with Sroi Dok Mark Pattern 63
14. Ikat Silk with Sroi Dok Mark Pattern It is an ancient pattern of traditional fabrics of the I-San locality. It is an old pattern of ancestors, which is used by the villagers in the Northeast, especially in Maha Sarakham province. However, Maha Sarakham province has designated it as a provincial identity. Originally, the villagers of Maha Sarakham province weaved many ancient patterns according to their ancestors, but later these old patterns began to disappear from the weaving life of the villagers due to the difficulty of weaving. Ikat Silk with Sroi Dok Mark Pattern is also one of the ancient patterns that almost disappeared from the local area. With the fine fabric pattern, the weaver must be knowledgeable in the pattern and skilled in both tying and weaving. If there is no skill, staining may be uneven, resulting in a distorted fabric pattern. In addition, it takes a lot of time to weave. This is why the villagers do not like to weave Sroi Dok Mark patterns. Until Maha Sarakham province held a provincial silk contest, it appeared that the silk that won the first prize was the Sroi Dok Mark pattern because it was very beautiful and exquisite. Therefore, they chose the Ikat Silk with Sroi Dok Mark Pattern as the provincial silk and encouraged the villagers to weave more of this pattern. As a result, silk weaving groups in all districts of Maha Sarakham province are now increasingly turning to produce silk with Sroi Dok Mark Pattern. The Sroi Dok Mark is the name of the pattern as it is called by the ancients. Nowadays, locals may call it differently in different localities, such as the Kled Pla pattern or Khome Kao pattern. This is done by tying the Khome Ha patterns together with the Khome Kao patterns and wrapping them around the shadows to make the pattern tighter and more detailed. This makes it a special feature, which is a small pattern with great resolution. When color is applied to each tie-dye, it makes it look more beautiful and glittering. The silk used to weave silk with a Sroi Dok Mark Pattern must be fine and even. Silk weaving with a Sroi Dok Mark takes a lot of weaving time and depends on the resolution of the pattern, only the tie-up process takes 4–5 days. The finer the pattern, the more it had to be expanded to 49 looms or 73 looms and the flower pattern will be smaller. As for the weaving process, it takes some time. 64
15. ผ้าสะมอ เป็นผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเช้ือสายเขมรในบริเวณอีสานใต้ ได้แก่ บริเวณจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นผ้าใน กลุ่มของผ้าลายอันลูน หรือผ้าลายตาราง ซ่ึงใช้ไหมพุ่งและไหมยืนหลายสีแบบเดียวกัน ทอขัดกันเกิดเป็นตาราง ผ้า ดังกล่าวนิยมใช้ในกลุ่มหญิงสูงวัยใช้นุ่งอยู่บ้าน มีลักษณะเป็นตารางส่ีเหล่ียมเล็กๆ ประกอบด้วยสีดํา เหลือง ทอง และ เขียวข้มี ้า สว่ นมากคนสูงอายุจะนิยมนุ่งและใช้ในชีวิตประจําวัน เพราะสียอ้ มมีความคงทนต่อการซักล้างได้ดี ผ้านุง่ ลายน้ี จะมีการทอโดยไม่มัดหม่ี เน้นสีจากเข้ม 15. Smor Fabric It is the fabric of the Thai-Khmer ethnic group in the southeastern region, namely Surin, and Buriram provinces. It is a group of fabrics of An Loon motif or grid-patterned fabrics, which use the same pattern and multi-colored warp and weft silks, woven against each other to form a grid. The fabric is commonly used by older women at home. It is a small square table consisting of black, yellow, gold, and horse green color. Most elderly people prefer to wear and use it in everyday life because the dye is durable and washable. This pattern is woven without tying, focusing on dark colors. ผา้ สะมอ Smor Fabric 65
16. ผ้าอันลูนซีม เป็นผ้าในกลุ่มผ้าลายอันลูน หรือผ้าลายตาราง เป็นผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยเช้ือสายเขมรใน บริเวณอีสานใต้ ได้แก่ บริเวณจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงใช้ไหมพุ่งและไหมยืนหลายสีแบบเดียวกันทอขัดกัน เกิดเป็นตาราง ถ้ามีขนาด ใหญ่เรียกว่าอันลูนธม ผ้าดังกล่าวนิยมใช้ในกลุ่มหญิงสูงวัยใช้นุ่งอยู่บ้าน ลวดลายมีลักษณะเป็นลายตามตาราง สีท่ีนิยม จะข้ึนอยู่กับความชอบของผู้ทอ เช่น สีเหลืองทอง สีเขียว สีแดงและสีขาว บางผืนอาจใช้สีม่วงแทนสีขาว ในการทอผืน หน่ึงๆ ใชเ้ พียง 4-5 สีเท่าน้นั ทอสลับกันไป ผ้านุง่ ลายน้ีไหมเสน้ พุง่ จะใชค้ วบกันสองสี 16. An Loon Seam Fabric It is a fabric in the An Loon pattern fabric group or square-patterned fabrics. It is the fabric of the Thai ethnic group of Khmer descent in the southeastern region, namely Surin, and Buriram provinces, which uses the same pattern and multi-colored warp and weft silks, woven against each other to form a grid. If it is large, it is called An Loon Thom. The fabric is commonly used by older women at home. The pattern is characterized by a grid pattern. Popular colors depend on the weaver's preferences, such as golden yellow, green, red, and white. Some may use purple instead of white. In weaving a piece of cloth, only 4-5 colors are used and woven alternately. The weft silk in this pattern is used in two colors. ผา้ อันลนู ซมี An Loon Seam Fabric 66
17. ผ้าทอลายขิด เป็นผ้าพ้ืนเมืองของภาคอีสาน บางส่วนของภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศไทย นับว่าเป็นศิลปะพ้ืนฐานท่ีสะท้อน ให้เห็นภาพลักษณะ ลวดลาย และวิวัฒนาการของท้องถิ่นเดิมของไทยท่ีมีมาแต่โบราณ ชาวอีสานถือว่าในกระบวนการ ทอผ้าด้วยกันแล้ว การทอผ้าขิดต้องอาศัยความชํานาญ และมีช้ันเชิงทางฝีมือสูงกว่าการทอผ้าอย่างอ่ืนๆ เพราะทอยาก มาก มีเทคนิคการทอท่ีซับซ้อนมากกว่าการทอผ้าธรรมดา เพราะต้องใช้เวลา ความอดทน และความละเอียดลออ มี กรรมวิธที ่ียุง่ ยากทอได้ช้า ผู้ทอต้องมีประสบการณ์ และพรสวรรค์ในการทอ การทอผ้าลายขิด คือ การทอผ้าท่ีทอแบบเก็บขิด หรือเก็บดอก เหมือนผ้าท่ีมีการปักดอกการทอผ้าดอกน้ีชาวอีสานเรียก กันว่าการทอผ้าเก็บขิด ลวดลายของขิดแต่ละลายจะมีรูปแบบท่ีสวยงาม มีความมันวาว นูนลอยออกมาบนผืนผ้า ชาว อีสานโดยท่ัวไปนิยมทอผ้าขิดเพ่ือทําเป็นหมอน สังเกตว่าลวดลายขิดจะอยู่บริเวณส่วนกลางของตัวหมอน ส่วนหน้า หมอนน้ันนิยมเย็บปิดด้วยผ้าฝ้ายสีแดง ลวดลายหมอนขิดส่วนใหญ่เป็นลวดลายท่ีผู้ทอได้รับแรงบันดาลใจมาจาก ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความเช่ือ เช่น ลายแมงงอด ลายอ่ึง ลายช้าง ลายม้า ลายพญานาค ลายดอกแก้ว ลายดอก จันทร์ ลายตะเภาหลงเกาะ ลายขอ ลายสิงห์ ลายคชสีห์ ลายอองน้อย ลายแมงมุม ลายกาบ ลายหอปราสาท หรือ ธรรมาสน์ เป็นต้น แต่เดิมชาวภาคอีสานนิยมทอลวดลายขิดด้วยเส้นใยฝ้ายสีคราม ส่วนปัจจุบันนิยมใช้สีสันสดใส และ พฒั นาการย้อมด้วยสธี รรมชาติจากเปลือกไม้ ใบไม้ ผ้าลายขิดในภาคอีสาน นอกจากทอในกลุ่มภูไท หรือผู้ไทย และไทลาวอ่ืน ๆ แล้ว ยังทอในกลุ่มไทกูยหรือส่วย เขมรใน บริเวณภาคอีสานตอนล่างด้วยเช่นกัน โดยทอท้ังหมอนขิด ขิดหัวซิ่น ขิดตีนซิ่น สไบลายขิด และท่ีน่าสนใจคือ ผ้าขาวม้า ไหมเชิงขิด มีลักษณะการทอท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม คือนิยมใช้เส้นไหมทอมากกว่าการใช้เส้นฝ้ายทอเหมือนกลุ่ม อ่ืนๆ ปัจจุบนั ยังคงมีการทอผ้าขาวม้าเชงิ ขิดในกลุ่มวัฒนธรรมไทกูย หรือสว่ ย เขมรท่ีอยูจ่ ังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสระเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์ ลักษณะเฉพาะของผ้าทอลายขิดสังเกตดูได้จากลายซํ้าของเส้นพุ่งท่ีข้ึนเป็นแนวสีเดียวกันตลอด อาจจะเหมือนกันท้ังผืนหรือไม่เหมือนกันท้ังผืนก็ได้ แต่ต้องมีลายซ้ําท่ีมีจุดจบแต่ละช่วงของลายเห็นได้ชัด ผ้าทอลายขิด อีสานตามท่ีได้ทอกันมาต้ังแต่สมัยด้ังเดิมในอดีตจนถึงปัจจุบันน้ี อาจแบ่งกลุ่มแม่ลายผ้าทอลายขิด ได้เป็น 4 ประเภท คือ ขดิ ลายสตั ว์ ขดิ ลายพันธุไ์ ม้ ขิดลายส่งิ ของเคร่อื งใช้ และขิดลายเบ็ดเตล็ด ผา้ ไหมขิด-หมี่ Ikat Silk with Khid Pattern 67
17. Khid Fabric It is a native fabric to the Northeast, parts of northern and central Thailand. It is a basic art that reflects the appearance, patterns, and evolution of the original locality of Thailand that has existed since ancient times. I-San people consider that among the various types of the weaving process, Khid weaving requires expertise and has a higher skill than other weaving because it is very difficult to weave. There are more complex weaving techniques than ordinary weaving because it takes time, patience, and refinement. The process is cumbersome, the weaver must have experience and talent in weaving. Khid weaving is the weaving of Collect-the-Khid patterns or brocade patterns weaving, just like the fabric with embroidery of this flower. I-San people call “Collect-the-Khid patterns” weaving. Each pattern has a beautiful pattern, luster, embossed on the fabric. I-San people generally weave Khid to make pillows. Notice that the pattern is located in the center of the pillow body. The front part of the pillow is popularly sewn with red cotton. Most pillow patterns are inspired by nature, environment, and beliefs such as Mang Ngod, Bullfrog, Elephant, Horse, Serpent, Dok Kaew, Moon, Tapao Long Koh, Khor, Singha, Khotchasi, Ong Noi, Spider, Kaab, Castle, or Pulpit patterns, etc. Originally, the people of I-San preferred to weave Khid patterns with indigo cotton fibers. Nowadays, it is popular to use bright colors and develop dyeing with natural colors from the bark and leaf. Khid fabrics in I-San, in addition to being woven in the Phu Tai group, or other Thais and Tai-Lao, are also woven in the Tai Gui, Suay, or Khmer groups in the lower Northeast, by weaving Khid pillow, Khid buckle, Teen Khid, and Khid breast cloth. Importantly, the silky Khid loincloth has a unique weaving style that prefers to use woven silk rather than woven cotton threads like other groups. Today, there is still a weaving of Khid loincloth in the Tai Gui cultural group or Suay, Khmer in Surin, Si Sa Ket, and Buriram provinces. The peculiarities of the Khid woven fabric are the repeated patterns of the weft that rise in the same color throughout. It may or may not be the same as the whole piece but there must be a repeat pattern with the obvious end to each phase of the pattern. I-San’s Khid woven fabrics as they have been woven from the traditional times in the past to the present may be divided into 4 types: Animal, Plant, Appliance, and Miscellaneous patterns. ผา้ ขิดลายบัวสวรรค์ ผา้ ขาวมา้ ไหมเชิงขดิ Khid Fabric with Gustavia Pattern Khid Loincloth Silk 68
3. ผ้าไทยภาคกลาง ผ้าทอตามกรรมวิธพี ้ืนบา้ นในบรเิ วณภาคกลาง สว่ นมากเป็นกล่มุ ชาติพันธุไ์ ทท่ีต้ังถิ่นฐานอยูต่ ามถิ่นต่างๆ ได้แก่ กล่มุ ชาติ พันธุ์ไทพวน กลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน กลุ่มชาติพันธุ์ไทดํา เป็นต้น กลุ่มชาติพันธุ์เช้ือสายไท-ลาว เข้ามาต้ังถิ่นฐานในบริเวณ ภาคกลางด้วยสาเหตุทางการเมืองในอดีต และเข้ามาในช่วงเวลาท่ีต่างกัน เช่น สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310 - 2325) สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกและเจ้าพระยาสุรสีห์ ยกกองทัพไปตีล้านช้าง (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในปัจจุบัน) ได้กวาดต้อนชาวผู้ไทดํา ไททรงดํา ไทดํา หรือไทโซ่งท่ีเรียกกันท่ัวไปว่าลาวโซ่ง และชาวลาวอ่ืนๆ จากบริเวณ ฝ่ ังขวาของแม่น้ําโขงเข้ามาเป็นจํานวนมาก บางส่วนไปต้ังถิ่นฐานอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ในภาคกลาง เช่น บางท้องถ่ินใน จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดลพบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดชลบุรี และจังหวัดจันทบุรี ซ่ึงกลุ่มชาติพันธุ์เหล่าน้ี ส่วนมากยังคงทอผ้าเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มตามแบบอย่างและขนบนิยมท่ีสืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษ แหล่งทอผ้า พ้ืนบ้านภาคกลางท่ีสําคัญได้แก่ กลุ่มทอผ้าเช้ือสายไทพวน บ้านหาดเส้ียว บ้านหาดสูง บ้านใหม่ และบ้านแม่ราก ตําบล หาดเส้ียว อําเภอหาดเส้ียว จังหวัดสุโขทัย กลุ่มชาติพันธุ์ไทพวนบริเวณตําบลหาดเส้ียวมาจากเมืองพวน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว บางกลุ่มชาติพันธุ์ได้แยกย้ายกันไปต้ังถิ่นฐาน ในบางท้องท่ีของจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดสพุ รรณบุรี เป็นต้น 3. Central Thai Fabric The fabric is woven according to the folk methods in the central region. Most of them are Tai ethnic groups that settle in various places, including Tai Phuan ethnic group, Tai Yuan ethnic group, Black Tai ethnic group, etc. The Tai-Lao ethnic group settled in the central region for political reasons in the past and came into existence at different times. For example, during the Thonburi period (1767 - 1782), Somdej Chaopraya Mahakasatsuek and Chao Phraya Surasee raised an army to hit Lan Xang (Lao People's Democratic Republic in the present day) and herded a large number of Black Tai people, Tai Song Dam, commonly known as Lao Song, and other Laotians from the right bank of the Mekong River. Some of them settled in various cities in the central region, such as some localities in Saraburi, Nakhon Nayok, Lopburi, Ratchaburi, Chonburi, and Chanthaburi provinces. Most of these ethnic groups still weave fabrics to use as garments based on the patterns and traditions passed down from their ancestors. The main central local weaving locations are Tai Phuan weaving group, Ban Haad Siew, Ban Haad Sung, Ban Mai, and Ban Mae Rak in Haad Siew sub-district, Haad Siew District, Sukhothai province. The Tai Phuan ethnic group in the Haad Siew sub-district comes from Phuan city, Lao People's Democratic Republic during the reign of King Jessadabodindra Phra Nangklao Chao Yu Hua (Rama III). Some ethnic groups have dispersed to settle in some localities of Prachin Buri, Maha Sarakham, and Suphan Buri Provinces, etc. 69
กลุ่มชาติพันธุไ์ ทยวน Tai Yuan Ethnic Group 70
1. ผ้าซิ่นตีนจกบ้านหาดเส้ียว ผ้าหาดเส้ียวท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ีโดดเด่นท่ีสุดชนิดหน่ึงคือ ซิ่นตีนจก เป็นผ้าทอสําหรับนุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น งาน เทศกาลประจําปี งานประเพณี ซิ่นตีนจกมักจะทอด้วยฝ้ายหรือฝ้ายสลับไหมเป็นลายขวาง ลําตัวมีเชิงเป็นลวดลายซ่ึงทอ ด้วยวิธีจก จึงเรียกซิ่นตีนจก นิยมทอด้วยการคว่ําผ้าลง ลายท่ีทอมักเป็นลายเรขาคณิตเป็นหลัก และเรียกช่ือลายต่างๆ กัน เช่น ลายสิบหกดอกตัด ลายแปดขอ ลายส่ีดอกตัด ลายเครือใหญ่ ลายดอกเครือน้อย ลายเหล่าน้ี มักเป็นลายส่ีเหล่ียม ข้าวหลามตัด มีลายเล็กๆ ย่อซ้อนอยู่ภายใน การสลับลายใช้การเรียงซ้อนกัน ค่ันด้วยหน้ากระดานเป็นช้ันๆ สีท่ีใช้นิยม วรรณะสีร้อน เช่น สีแดงอมส้ม สีน้ําตาลปนเหลือง ลายเล็กๆ จะย่อเป็นช้ันๆ ลดลงไปเร่ือยๆ และมักสอดไส้ด้วยสีอ่อน ส่วนเชิงล่างสุดหรือสะเปามักเป็นพ้ืนสีแดง ตีนจกบ้านหาดเส้ียวมีความประณีตสวยงามและมีลักษณะเฉพาะท่ีโดดเด่น เป็นของตนเองท่ีสืบทอดมาแต่โบราณ ลักษณะซ่ินตีนจกชาวไทพวนบ้านหาดเส้ียวมีรูปแบบคล้ายกับซ่ินตีนจกของกลุ่ม ชนเช้ือสายไทพวนในท้องถิ่นอ่ืน เช่น ซิ่นตีนจกกลุ่มไทพวนในบริเวณจังหวัดพิจิตร อุทัยธานี นอกจากซิ่นตีนจกแล้ว ชาว ไทพวนยังทอผ้าซิ่นสําหรับนุ่งอยู่บ้านและนุ่งทํางาน ซิ่นชนิดน้ีจึงเป็นซ่ินฝ้ายทอด้วยลวดลายธรรมดา เชิงเป็นแถบสีดํา หรือสแี ดงอมส้ม 1. Teen Jok Silk - Ban Haad Siew One of the most unique Haad Siew fabrics is the Teen Jok Silk, which is woven for special occasions such as annual festivals, traditional events, etc. It is usually woven with cotton or alternating cotton silk into transverse stripes, the body has a pattern that is woven in a Jok (Thread Lifting) way, so it is called Teen Jok Silk. It is popularly woven with the fabric upside down. The patterns are woven usually in geometric patterns and called in different patterns, such as Sip Hok Dok Tad patterns, Eight Khor patterns, Si Dok Tad patterns, large chain patterns, and small chain patterns. These patterns are usually diamond square patterns with a small pattern stacked inside. Alternating patterns use stacking, separated side by side in layers, and colors commonly used in hot shades, such as red-orange, and brown-yellow. Small patterns are gradually reduced in layers and are often inserted with light colors. The bottom part or Sa Pao is usually in red. The Teen Jok Silk - Ban Haad Siew is exquisite, and beautiful and has distinctive characteristics that have been passed down from ancient times. The characteristics of the Teen Jok Silk of Tai Phuan people in Ban Haad Siew are similar to those of other local Tai Phuan ethnic groups, such as the Tai Phuan group in Phichit, and Uthai Thani provinces. In addition to the Teen Jok Silk, the Tai Phuan people also weave sarongs for home and work. This type of cotton is woven with plain patterns, with black or red-orange stripes. 71
ผา้ ซ่นิ ตีนจกบา้ นหาดเสี้ยว Teen Jok Silk - Ban Haad Siew 72
2. ผ้าซิ่นตีนจกบ้านไร่ผ้า พ้ืนบ้านกลุ่มชาติพันธุ์ไทพวนท่ีมีลักษณะพิเศษอีกชนิดหน่ึงคือ ผ้าห่มบ้านไร่ เป็นผ้าฝ้ายทอสลับกับไหมพรม นิยมทอ หน้าแคบแล้วเพลาะสองผืนรวมกันเป็นผืนเดียว เชิงผ้าจะทอสีขาวแล้วค่ันลายจกด้วยไหมพรมสีสดๆ เป็นแถบเล็กๆ สลับกับพ้ืนขาว 2-3 ช่อง ส่วนกลางผืนมักทอด้วยลายขิดไปจนเต็มผืน บางทีทอเป็นริ้วปิดท้ังซ้ายและขวาลวดลายของ เชิงผ้าอาจจะไมเ่ หมือนกันท้ังสองข้าง สดุ เชิงมักปล่อยเป็นชายครุยเพ่อื ความสวยงาม 2.Teen Jok Silk - Ban Rai Pha Another characteristic of the Tai Phuan ethnic folklore is the Ban Rai blanket which is woven cotton interspersed with yarn. It is popular to weave narrow faces and then sew the two edges together into one. The fabric is woven in white and separated by fresh-colored yarn with a Jok pattern in small strips, interspersed with a few white backgrounds. The central part of the fabric is usually woven with a Khid pattern until it is fully formed, sometimes woven into a closed streak, both left and right. The pattern of the fabric may not be the same on both sides. The bottom part often leaves the hem for beauty. ผา้ ซน่ิ ตีนจกบ้านไร่ Teen Jok Silk - Ban Rai Pha 73
3. ผ้าลับแล กลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนท่ีอพยพมาต้ังถิ่นฐานในภาคกลางอีกหลายท้องถิ่น โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ไทพวน ท่ียังคงทอผ้า ตามแบบประเพณีนิยมของตน ผ้าทอของกลุ่มทอผ้าในบริเวณอําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิษฐ์ ท่ีเรียกกันว่า ผ้าลับแล โดยเฉพาะซิ่นตีนจกลับแลมีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ินคือ ตัวซ่ินนิยมทอเป็นลายขวางลําตัวหรือทอยกเป็นลายเล็กๆ หรือทอ เป็นสีพ้ืนเรียบๆ เช่น สีเขียวลายร้ิวดํา ตีนซิ่นนิยมทอเป็นลายจกกว้างหรือสูงข้ึนมามากกว่าซ่ินตีนจกบ้านหาดเส้ียว และ ไม่นิยมปล่อยพ้ืนล่างสุดเป็นสีพ้ืน มักทอเป็นลายจกลงมาจนสุดเชิงผ้า สีของเชิงท่ีลายจกมักเป็นสีใกล้เคียงกันแบบท่ี เรียกว่าสีเอกรงค์ (monochrome) ซิน่ ตีนจกลับแลเป็นซิ่นท่ีมีความประณตี สวยงาม ต่างจากซ่นิ ไทยวนบา้ นเสาไห้ อําเภอ เสาไห้ จังหวัดสระบุรี ซิน่ ไทยวนตําบลดอนแร่ ตําบลคบู ัว อําเภอเมือง บา้ งบางกระโด อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 3.Lab Lae Fabric Many other ethnic Tai Yuan groups have settled in the central region, especially the Tai Phuan ethnic group, who continue to weave their traditional fabrics. The woven fabric of the weaving group in Lab Lae District, Uttaradit Province, is also called Lab Lae fabric, especially Teen Jok Lab Lae fabric which is woven into a transverse pattern or small patterns or into a plain color such as green with black stripes. The Teen sarong is more commonly woven into a wider or higher pattern than the Teen Jok Silk - Ban Haad Siew and it is not preferable to leave the bottom part as a plain color. It is usually woven into a Jok pattern that descends to the bottom part of the fabric. The color of the pattern is usually a similar color called monochrome. Teen Jok Lab Lae fabric is a beautiful exquisite fabric, unlike the Tai Yaun silk at Ban Sao Hai, Sao Hai District, Saraburi Province, in the Don Rae Subdistrict, Kubua Subdistrict, Mueang District, and Ban Bang Krado in the Photharam District, Ratchaburi Province. ผา้ ลับแล Lab Lae Fabric 74
4. ผ้าจกไทยวน จังหวัดราชบุรี เป็นผ้าจกท่ีพบในหมู่ช่างทอผ้าชาวไทยวน ในจังหวัดราชบุรี มีแหล่งกําเนิด แตกต่างกัน โดยแบ่งตามลักษณะของ ลวดลายได้เป็น 3 ตระกลู คือ - ผ้าจกตระกูลคูบัว เป็นผ้าจกท่ีมีลายท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง เช่น ลายดอกเซีย ลายหักนกคู่ ลายโก้งเก้ง ลาย หน้าหมอน และลายนกคู่กินนํ้าฮ่วมเต้า ผ้าจกตระกูลคูบัวจะพบมากในตําบลคูบัว ตําบลดอนตะโก อําเภอเมือง จังหวัด ราชบุรี เพราะมีชุมชนไท-ยวนอาศัยอยู่ โดยในการจกจะใช้เส้นด้ายยืนสีดําพุ่งดํา โดยไม่มีลายประกอบมากลาย พ้ืนผ้า เว้นพ้ืนต่ําไว้มากตามแบบของลวดลาย เพ่ือจกให้เห็นลายชัดเจน ส่วนสีสันของเส้นใยท่ีใช้ทอ จะใช้เส้นใยท่ีมีสีสัน หลากหลาย เชน่ จะใชพ้ งุ่ ตํา่ ดําจกแดง แซมเหลืองหรือเขยี ว เป็นต้น โดยตีนซิ่นจะมีความกว้างประมาณ 9-11 น้ิว - ผ้าจกตระกูลหนองโพ-บางกะโด เป็นผ้าจกท่ีมีลวดลายขนาดและสีสันท่ีมีความใกล้เคียงกับจกตระกูลคูบัว เป็นผ้าจกท่ี ได้จากชุมชนไท-ยวน ในตําบลหนองโพ-บางกะโด อําเภอโพธาราม โดยผ้าจกตระกูลหนองโพ-บางกะโด จะมีความ แตกต่างจากผ้าจกตระกูลคูบัวตรงท่ีชายของตีนซิ่น ซ่ึงผ้าจกตระกูลหนองโพ-บางกะโดจะมีการเว้นพ้ืนท่ีต่ําระหว่างลาย ซะเปาถึงเล็บเหลืองไว้กว้างมากกว่าผ้าจกตระกูลคูบัว และผ้าจกตระกูลหนองโพ-บางกะโดจะมีลักษณะท่ีใกล้เคียงกับ ลายนกของผ้าไท-พวนในภาคเหนือ คือ ลักษณะของนกคู่กินฮ่วมเต้าของผ้าจกตระกูลหนองโพ-บางกะโดจะมีหางท่ียาว มากกว่าผ้าจกตระกูลคบู ัว - ผ้าจกตระกูลดอนแร่ เป็นผ้าจกท่ีมีลายท่ีมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง เช่น ลายกาบ ลายกาบดอกแก้ว และลายนกคู่กิน นํ้าฮ่วมเต้า พบมาในชุมชนไท-ยวน ตําบลดอนแร่ ตําบลห้วยไผ่ ตําบลหนองปลาหมอและตําบลรางบัว โดยลักษณะของ การจกจะประกอบด้วยความหลากหลายของลวดลาย และจะมีการจกลายแน่นเต็มผืนผ้า มีการเว้นพ้ืนตํ่าไว้น้อย ทําให้ ลดความเด่นชัดของลายหลักลงไป โดยจะคงสีสันของเส้นใยเป็นสีแดงเป็นหลัก จะไม่นิยมใช้เส้นใยหลายสีและตีนจกจะมี ความกว้างประมาณ 14-15 นิ้ว - ผ้าจกของชาวไทย-ยวน ราชบุรี มีการนํามาใช้ในชีวิตประจําวันหลายประเภท ได้แก่ ผ้าปรกหัวนาค (ใช้คลุมหัวนาคใน ขณะท่ีแห่นาคไปบวช) ย่ามจก ผ้าขาวม้าจก ผ้าแตะจก (เป็นผ้าจกขนาดเล็กใช้สําหรับเช็ดหน้าหรือเช็ดนํ้าหมาก) หมอน จก และผ้าซิน่ ตีนจก 75
4. Tai Yaun Jok Fabric, Ratchaburi Province It is a Jok fabric found among Tai Yuan weavers in Ratchaburi province. There are different origins divided into 3 clans according to the characteristics of the pattern: - Kubua Jok Fabric is a fabric with unique patterns, such as the Xia flower pattern, Huk Nok Ku pattern, Kong Keng pattern, Pillow pattern, and Nok Ku Kin Narm Huam Tao pattern. Kubua Jok Fabric is found mainly in Kubua Subdistrict, Don Tako Subdistrict, Mueang District, Ratchaburi Province because it is inhabited by the Tai Yuan community. The Jok technique will use black warp yarn without many patterns. The bottom part will be left very low according to the pattern to clearly see the pattern. The color of woven fibers will use a variety of colorful fibers, such as red-black with yellow or green, and so on, with the bottom part about 9-11 inches wide. - Nong Pho – Bangkado Jok Fabric has a pattern, size, and color similar to that of Kubua. It is derived from the Tai Yuan community in Nong Pho-Bangkado Subdistrict, Photharam District. The Nong Pho – Bangkado cloth differs from the Kubua cloth in the bottom part of the fabric. The Nongpo-Bangkado Jok Fabric has a wider and lower space between the Sa Pao pattern and the Yellow Nail than the Kubua Jok Fabric. However, the Nong Pho – Bangkado Jok Fabric is similar to the Bird pattern of the Tai Phuan fabric in the north, i.e., the characteristics of the Nok Ku Kin Narm Huam Tao pattern of the Nong Pho – Bangkado Jok Fabric have a longer tail than the Kubua Jok Fabric. - Don Rae Jok Fabric is a fabric with unique patterns, such as Kaab, Kaab Dok Kaew, and Nok Ku Kin Narm Huam Tao patterns. It is found in the Tai Yuan community, Don Rae subdistrict, Huai Phai subdistrict, Nong Pla Mo subdistrict, and Rang Bua subdistrict. The characteristics of Jok consist of a variety of patterns and will be tightly woven into the fabric as well as there is little space left on the bottom part, which reduces the prominence of the main pattern while retaining the color of the fibers mainly in red. It is not popular to use multi-colored fibers and the Teen Jok fabrics are about 14-15 inches wide. - Tai Yuan Ratchaburi Jok fabrics are used in many types of daily life, including Pok Hua Nak (used to cover the head of the Naga while the Naga is ordained), Jok bag, Jok loincloth, Jok Tae (a small Jok fabric used for wiping face or wiping red spit of betel nut chewer), Jok pillows, and Teen Jok sarongs. 76
ผ้าซ่ินตีนจก คือ ซิ่นท่ีมีตีนประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นผ้า ลวดลายทอด้วยวิธีจก หรือควักเส้นด้ายพิเศษมา ผูกมัดขัดกับเส้น อ่ืนเป็นลวดลายแบบต่างๆ ซ่ึงซิ่นตีนจกมีโครงสร้างประกอบด้วยผ้า 3 ส่วน คือ หัวซิ่น ตัวซ่ิน และตีนซ่ิน ซิ่นตีนจกท่ีพบ ในลักษณะการแต่งกายของสตรีชาวไท-ยวน ราชบุรี มี 3 ลักษณะ คือ - ซิ่นตีนจก จกเฉพาะตีน ตัวซิ่นเป็นผ้าพ้ืนสีดําหรือสีคราม ซิ่นบางผืนมีตัวซ่ินทอด้วยวิธยี กมุกหัวซ่ิน ใช้ผ้าขาวผ้าแดงเย็บ ต่อกันแล้วจึงเย็บต่อกันกับตัวซิน่ - ซิ่นตีนจก จกท้ังตัว ซ่ึงลักษณะน้ีจะมีตัวซ่ินและตีนซ่ินทอด้วยวิธีจก แต่ทอเป็นผ้าคนละช้ิน แล้วนํามาเย็บต่อ เป็นผืน เดียวกัน ตัวซิ่นส่วนมากจะทอด้วยลายกูด ลายนก ลายมะลิเล้ือย เป็นลายพันรอบตัวซ่ินตีนซิ่นทอลายหลักท้ัง 9 ลาย หัว ซิ่นมีลักษณะเดียวกับซิน่ ตีนจกจึงถือได้ว่าซิน่ ชนิดน้ีเป็นผลงานทางศิลปหัตถกรรมช้ันสูงของไท-ยวน ราชบุรี - ซิ่นตีนจก ตัวยกมุกสลับมัดหม่ี ตีนซ่ินทอด้วยวิธีจกเหมือนตัวซ่ินตีนจกท่ัวไป ตัวซ่ินทอด้วยวิธียกมุกสลับด้วยการทอ แบบมัดหม่ี ถือได้ว่าเป็นเทคนิคของภาคอีสาน ตัวซิ่นใช้เส้นใยประเภทไหมเป็นวัสดุทอ พบไม่มากในผ้าซิ่นตีนจกของ ไท-ยวน ราชบุรี A Teen Jok Sarong is a piece of cloth that has a bottom consisting of a piece of fabric. The pattern is woven in a lifting way, or special yarn is tied together with other lines to create different patterns. It has a structure consisting of 3 parts of fabric: the buckle, the sarong, and the bottom part. There are 3 characteristics found in the dress style of Tai Yuan Ratchaburi women: - Jok fabric - Bottom part only: The sarong is a black or indigo ground cloth. Some of them are woven with a pearl-lifting method, using a white and red cloth to sew together and then sew with the sarong. - Jok fabric - Whole part: This style has a sarong and the bottom part woven together, but it is woven into different pieces of fabric before sewing into one piece. Most of them are woven in Good, Bird, and Jasmine patterns around the sarong. The bottom part is woven with all 9 main patterns. Buckle has the same characteristics as Teen Jok sarong, so it can be considered a high-class art and craft work of Tai Yuan Ratchaburi. - Jok fabric – Pearl Lifting and Ikat: The Teen sarong are woven in the same way as the normal Jok fabric. The sarong is woven by the pearl lifting method, alternating with Ikat weaving, which is considered to be a technique of the Northeast. The sarong uses silk fibers as woven materials. It is rarely found in Tai Yuan Ratchaburi's sarongs. 77
ผา้ จกตระกูลคูบัว Kubua Jok Fabric ผา้ จกตระกูลหนองโพ – บางกะโด Nong Pho – Bangkado Jok Fabric ผา้ จกตระกูลดอนแร่ Fabric Don Rae Jok Fabric 78
5. ผ้ายกมุกไทยวน จังหวัดสระบุรี เป็นผ้าทอยกลายในตัว โดยใช้เส้นยืนพิเศษ 2 ชุด เพ่ิมจากเส้นยืนปกติบนก่ีทอ ผ้าลายมุกบนผ้าเกิดจากการใช้ตะกอยก ซ่ึงด้ายยืนพิเศษชุดน้ีต่างกับขิดและจกตรงท่ีใช้ด้ายพุ่งพิเศษ เส้นยืนพิเศษ 2 ชุดน้ัน ประกอบไปด้วย ชุดแรกใช้เส้นด้าย ยืนสีเดียวหรือหลายสี ทอเป็นลายขัดธรรมดา ชุดท่ี 2 ใช้เส้นด้ายยืนท่ีเพิ่มพิเศษจาก เส้นด้ายยืนธรรมดา มีสีเดียวหรือ หลายสี อาจสอดแทรกด้วยเส้นไหม หรือดิ้นสีต่างๆ ลักษณะลวดลายผ้ายกมุกเป็นลวดลายซ้ํายาวติดต่อกันเป็นเส้นริ้ว หรือแถบตามทิศทางของเส้นด้ายยืน ลวดลายเรียงชิดติดกันหรือเว้นระยะห่างกันจนเต็มหน้าผ้า ผ้าซ่ินของผู้หญิงชาว ไทยวนประกอบด้วยสว่ นต่างๆ คือ - หัวซ่ิน เป็นผ้าสีขาวเย็บต่อกับผ้าแดง ริมชายบนของผ้าสีขาวจะไม่เย็บริมปล่อยให้ริมผ้าฟูข้ึน ด้วยความเช่ือท่ีว่าจะนํา ความรุ่งเรืองเฟ่ ืองฟูมาให้กับผู้ท่ีใช้ผ้าซ่ินผืนน้ัน ซ่ึงนอกจากน้ียังมีคติในการประกอบหัวซิ่น โดยต้องเอาผ้าแถบสีขาวมา ต่อตามความกว้างของหัวซิ่น เรยี กว่า ผ้าป้าว เพ่ือป้องกันการทําคณุ ไสยและเสนห่ ์ยาแฝด - ตัวซ่ิน นิยมทอเป็นลวดลายต่างๆ เช่นลายตามขวาง ลายตามยาว หรือเป็นผ้าพ้ืนบางคร้ังทอยกดอกผ้ายกมุก ลาย ต่างๆ ท่ีได้จากการสํารวจและเก็บตัวอยา่ ง 5. Tai Yuan Pearl Fabric, Saraburi It is a self-woven fabric using 2 sets of special warp threads, added from the normal warp thread on the loom. The pearl pattern on the fabric is formed by lifting a heddle which special warp thread is different from Khid and Jok in that it uses a special weft thread. The 2 sets of special warp lines consist of: The first set uses single or multi-colored warp yarns, weaved in a plain pattern. The second set uses extra warp yarn from ordinary warp yarn, using one or several colors, which may be inserted with silk threads or tinsel of various colors. The pearl lifting pattern is a long repetitive pattern in a row of streaks or strips along the direction of the warp yarn. The patterns are aligned or spaced together until the entire fabric is covered. The sarong of Tai Yuan women consists of the following parts: - Sarong Buckle: It is a white fabric sewn together with a red cloth. The upper edge of the white fabric will not be sewn on the edges, leaving the hems fluffy with the belief that it will bring prosperity to those who use that sarong. There is also a motto to assemble the buckle by having a white stripe of cloth attached to the width of the buckle called Pao cloth to prevent making occult and a love potion. - Sarongs: It is commonly woven into various patterns such as transverse patterns, longitudinal patterns, or plain fabrics, sometimes brocade weaving, and various pearl lifting patterns obtained from surveys and samples. 79
นอกจากน้ีภาคกลางยังนิยมทอผ้าฝ้าย ซ่ึงเป็นผ้าทอท่ีมีความเก่าแก่ท่ีสุดชนิดหน่ึง ซ่ึงมีการใช้งานมาต้ังแต่สมัยโบราณท่ัว โลก โดยฝ้ายเป็นเส้นใยท่ีได้มาจากปุยฝ้าย เม่ือนําไปป่ ันเป็นเส้นและทอเป็นผ้าจะได้ผ้าท่ีแข็งแรงและทนทาน สวมใส่ สบาย สามารถนําไปผลิตเป็นเคร่อื งนุ่งหม่ ได้หลากหลายอีกด้วย เม่ือพ.ศ. 2506 ขณะเสด็จพระราชดําเนินแปรพระราชฐานจากกรุงเทพฯ ไปประทับแรม ณ วังไกลกังวล อําเภอหัวหิน พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงทราบว่าพระภิกษุและราษฎรบ้านเขาเต่าไม่มี นํ้าจืดใช้ จึงมีพระราชดําริให้สร้างอ่างเก็บนํ้าเขาเต่า และเม่ือสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงทราบว่าราษฎรใน หมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ แห่งน้ีไม่สามารถออกหาปลาในฤดูมรสุม จึงมีพระราชดําริส่งเสริมอาชีพทอผ้าฝ้ายแก่หญิง ชาวบ้านเขาเต่า เริ่มต้นจากสมาชิก 30 คน ฝึกหัดทอผ้าจําหน่ายเป็นรายได้เสริม จนถึงพ.ศ. 2509 มีสมาชิกท่ียังขยัน ขันแข็งเหลือ 13 คน ได้รับพระราชทาน เหรียญคนขยัน จากพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ ร Furthermore, the central region also prefers cotton weaving, one of the oldest types of woven fabrics that have been used since ancient times around the world. Cotton is a fiber derived from cotton fluff. When spun into strips and woven into fabrics, it will be a strong and durable fabric that is comfortable to wear. It can be used to produce a variety of apparel as well. His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great traveled from Bangkok to Klai Kangwon Palace in Hua Hin District in 1963 and discovered that the monks and people of Khao Tao lacked access to clean water, therefore, the royal initiative was to build the Khao Tao reservoir. However, when Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother learned that the people of this small fishing village could not fish during the monsoon season, the Queen Mother decided to promote the profession of cotton weaving to the women of Khao Tao. This is starting with 30 members who practiced weaving for sale as an extra occupation and until 1966, 13 active members received the Diligence Medal from His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great. ผา้ ยกมกุ ไทยวน จังหวัดสระบุรี Tai Yuan Pearl Fabric, Saraburi 80
ผ้ายกดอกลําพูน ผ้ายกดอกลําพูน เป็นงานศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านของลําพูนท่ีมีความงดงามประณีตด้วยฝีมือและเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาหลายช่ัวอายุคน เช่นเดียวกับศิลปวัฒนธรรมอ่ืนๆ ของลําพูน มีการเร่ิมต้นในคุ้มเจ้า ซ่ึงแต่เดิม มีการทอผ้ายกดอกกันอยู่ก่อน แต่เป็นการทอผ้ายกดอกในผ้าฝ้ายและเป็นลวดลายธรรมดาๆ ไม่สวยงามวิจิตรนัก จนกระท่ังพระราชชายาเจ้าดารารัศมีซ่ึงเป็นพระญาติกับเจ้าเมืองลําพูน ได้ถ่ายทอดความรู้เร่ืองการทอผ้ายกดอกท่ีมี ลวดลายสวยงามและมีความวิจิตรบรรจง ให้แก่หมู่ข้าราชบริพารในคุ้มเจ้า ต่อมาการทอผ้ายกดอกจึงได้เผยแพร่ไปสู่ สาธารณะชนท่ัวไป โดยได้มีการฝึกหัดชาวบ้านจนมีความรู้ เร่ืองการทอผ้ายกดอกเป็นอย่างดี จึงทําให้จังหวัดลําพูน กลายเป็นศูนย์กลางการทอผ้าไหมยกดอกแหล่งสาํ คัญของประเทศไทย Lamphun Brocade Fabric (Yok Dok) Lamphun brocade fabric, like other Lamphun arts and cultures, is a traditional Lamphun craft that is exquisitely crafted and a cultural heritage that has been passed down through generations. It started in the royal residence, which was originally a brocade weaving, but it was a cotton weaving, and the patterns were not so beautiful. Until the royal consort Dararasami, who is a relative of the governor of Lamphun passed on the knowledge of weaving brocade with exquisite patterns to the royal courtiers in the royal residence. Later, brocade weaving was made available to the general public, where the villagers were trained until they became knowledgeable. Therefore, Lamphun province has become an important center of silk weaving in Thailand. 1. เอกลักษณ์เฉพาะของผ้ายกดอกลําพูน ผ้ายกดอกลําพูน คือ ผ้าท่ีทอยกลวดลายให้สูงกว่าผืนผ้า คําว่า “ยก” มาจากลักษณะการทอ เส้นไหมท่ีเชิดข้ึนเรียกว่า “ยก” และเส้นไหมท่ีจมลงเรียกว่า “ข่ม” แล้วพุ่งกระสวยไปในระหว่างกลางโดยเลือกยกบางเส้นข่มบางเส้นเพ่ือให้เกิด ลวดลาย โดยผ้ายกลําพูนจะเป็นผ้ายกท่ีใช้เส้นไหมเพ่ิมพิเศษทอยกให้เกิดลวดลาย ซ่ึงแยกกับการทอโครงสร้างผ้าท่ีเป็น การทอด้วยลวดลายขัด 2 ตะกอ ในปัจจุบันมีการใช้ด้ินทองด้ินเงินมาทอยกเส้นเพ่ิมพิเศษให้เกิดลวดลายท่ีสวยงาม เพิ่มข้ึน โดยจะใช้ตะกอลอยแถวใดแถวหน่ึง ไม่สามารถท่ีจะเปล่ียนลายได้ ถ้าจะเปล่ียนลายต้องถอดตะกอลอยออกท้ัง หมดแล้วเก็บลายใหม่ข้ึนมา ลายผ้าท่ีเก็บเป็นตะกอลอยน้ันสามารถทําได้ไม่ต่ํากว่า 15 ไม้ต่อหน่ึงลายผ้าไหมยกดอกของ ลําพูน มีจุดเด่นคือ การใช้กลุ่มตะกอแยกสีเส้นไหมเพ่ิมพิเศษออกเป็น 2-3 ตะกอในหน่ึงแนวของไหมยกเพิ่มพิเศษ ทําให้ เกิดสีสัน 2-3 สี ในลวดลายดอก เรียกว่า “ดอกสอดสี” อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของผ้ายกดอกลําพูนท่ีสวยงามและ ทรงคุณค่าของงานหัตถศิลป์ อันเป็นมรดกภูมิปัญญาของชาวลําพูนท่ีสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษสลู่ ูกหลานในปัจจุบัน 1. The Uniqueness of Lamphun Brocade Fabric Lamphun Brocade Fabric is a fabric that weaves a pattern higher than the fabric. The word \"Yok\" comes from the weaving style, the raised silk threads are called \"Yok\", and the sunken silk threads are called \"Khom\", and then plunge the bobbin in the middle by choosing to lift some strands to create a pattern. The Lamphun Brocade fabric is a lifting fabric that uses extra silk threads to create a pattern, which is separated from the weaving of the fabric structure that is woven with 2 heddles. Nowadays, gold and silver tinsels are used to weave extra strands to create more beautiful patterns by using one of any rows of heddles and it is not possible to change the pattern. If the pattern is needed to change, the heddle must be removed and repeat the whole steps. The pattern of the fabric collected as a heddle can be made no less than 15 sticks per pattern. Lamphun's brocade silk has the advantage of using a group of heddles to separate the extra silk color into 2-3 heddles in one line of extra lifting silk, creating 2-3 colors in the flower pattern, called \"Dok Sort Si\" which is a unique identity of the beautiful and valuable handicraft Lamphun brocade fabric and is a legacy of Lamphun wisdom passed down from ancestors to descendants today. 81
2. ผ้ายกดอกลายดอกพิกุล ลายดอกพิกุล เป็นลวดลายผ้าโบราณท่ีมีการออกแบบสําหรับทอผ้าลําพูนในอดีต ซ่ึงต่อมาได้มีการออกแบบลวดลาย ดอกพิกุลท่ีหลากหลายข้ึน เช่น พิกุลเครือ พิกุลมีขอบ พิกุลก้านแย่ง พิกุลเชิงใหญ่ พิกุลถมเศร พิกุลเล็ก พิกุลใหญ่ พิกุล สมเด็จ และพิกุลกลม เป็นต้น ซ่ึงแต่ละลวดลายจะมีรูปแบบท่ีแตกต่างกันคือขนาดดอกพิกุล และสีสันของเส้นไหมหรือ ด้ินเงินดิ้นทองท่ีกําหนดลงไปให้แตกต่างกัน นอกจากน้ียังมีการเพ่ิมลวดลายอ่ืนๆ ลงไปประกอบกับดอกพิกุล เช่น การ เพิ่มกลีบ ก้าน ใบ เกสร และเพ่ิมเหล่ียมของดอกพิกุล เป็นต้น เน่ืองด้วยลายดอกพิกุลเป็นลวดลายโบราณท่ีเป็น เอกลักษณ์ของผ้ายกลําพูน และเป็นท่ีรู้จักของคนส่วนมาก ดังน้ัน ผู้ออกแบบจึงนิยมนําลายดอกพิกุลมาผสมผสานกับ ลวดลายประยุกต์อ่ืนๆ เพ่อื คงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ของผ้าลําพนู ให้ดํารงอยูส่ ืบไป 2. Pikul (Bullet Wood) Brocade Fabric The Pikul flower pattern is an ancient fabric pattern that was designed for weaving Lamphun fabrics in the past. Later, a variety of Pikul flower patterns were designed, such as Krue Pikul, Me Khob Pikul, Karn Yaeng pikul, Cherng Yai Pikul, Thom Sane Pikul, Small Pikul, Large Pikul, Somdej Pikul, and Round Pikul, etc. Each pattern has a different pattern characteristic, namely the size of the Pikul flower, and the color of the silk or silver and gold tinsels are set differently. In addition, other patterns are added to the Pikul flower, such as adding petals, stalks, leaves, pollen, and adding the square of the Pikul flower, etc. The Pikul flower pattern is an ancient pattern that is unique to Lamphun fabrics and is known to most people. Therefore, the designers prefer to combine the Pikul flower pattern with other applied patterns to maintain the identity of the Lamphun fabric. 82
4. ผ้าไทยภาคใต้ ผ้าท่ีทอในบริเวณดินแดนภาคใต้ต้ังแต่จังหวัดชุมพรลงไปจรดเขตประเทศมาเลเซีย ภูมิประเทศเป็นแผ่นดินแคบและ คาบสมุทร ชายฝ่ ังทะเลด้านตะวันออกทอดไปตามอ่าวไทย ได้แก่ บริเวณจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สงขลา จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส จากชายฝ่ ังทะเลด้านตะวันออกข้ึนไปทางด้านทิศตะวันตกบนผืนแผ่นดิน มี เทือกเขาสาํ คัญท่ีเป็นสนั ของคาบสมุทร ได้แก่ เทือกเขาตะนาวศรี ซ่ึงเป็นเทือกเขาท่ีต่อเช่ือมมาจากเทือกเขาหิมาลัยทอด ยาวลงไปจนถึงเขตจังหวัดกระบ่ี ต่อลงไปเป็นเทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรีทอดยาวลงไปจนสุด เขตประเทศไทย เทือกเขาเหล่าน้ีเป็นต้นกําเนิดแม่น้ําสําคัญๆ ของภาคใต้ท่ีไหลจากทิศตะวันตกผ่านท่ีราบไปสู่ทะเลด้าน ทิศตะวันออก ทําให้เกิดปากแม่น้ําเป็นอ่าวสําหรับจอดเรือเพ่ือการคมนาคม และท่าเรือประมงได้เป็นอย่างดี เช่น อ่าว ชุมพร อ่าวบ้านดอน และอ่าวสงขลา นอกจากน้ีแม่นํ้าเหล่าน้ียังนําความชุ่มช้ืนไปสู่บริเวณภาคใต้ ทําให้เกิดอาชีพ เกษตรกรรมในท่ีราบผืนแผ่นดิน ท้ังยังนําโคลนตมไปทับถมกันในบริเวณปากแม่นํ้า ผสานเข้ากับทรายท่ีเกิดจากการพัด เข้าหาฝ่ ังของคล่ืนลมจากทิศตะวันออก ทําให้เกิดสนั ทรายท่ีอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลกู และการต้ังถ่ินฐานจึงทํา ให้เกิดชุมชนตลอดแนวชายฝ่ ังมาแต่โบราณ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ความเป็นมาของภาคใต้ดังกล่าว เป็นรากฐานทางวัฒนธรรมทางหน่ึง อีกทางหน่ึงเกิดจากการติดต่อค้าขายกับชาติท่ีเจริญแล้ว เช่น จีน อินเดีย และ อาหรับ ชาติเหล่าน้ีได้นําอารยธรรมของตนเข้ามาพร้อมกับการค้าขาย จึงเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรมจีนและอินเดียท่ีผสมกับวัฒนธรรมของชนพ้ืนเมือง วัฒนธรรมจีนผสมวัฒนธรรมของชนพ้ืนเมืองเช้ือสาย มาเลย์อย่างท่ีเรียกว่า วัฒนธรรมบ้าบ๋า เป็นต้น อีกทางหน่ึงเกิดข้ึนจากผลของการเคล่ือนย้ายแลกเปล่ียนประชากรและ ชุมชนด้วยเหตุผลทางการเมือง เช่น พ.ศ. 2354 เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชไปกวาดต้อนครอบครัวเชลยชาวไทรบุรีมาไว้ท่ี เมืองนครศรีธรรมราชเป็นจํานวนมาก ซ่ึงมีช่างฝีมือหลายประเภทปะปนมาด้วย เช่น ช่างทอง ช่างเงิน ช่างเคร่ืองประดับ รวมท้ังช่างทอผ้าด้วย โดยให้ต้ังถ่ินฐานอยู่ในบริเวณเมืองนครศรีธรรมราช ช่างเหล่าน้ีได้ประกอบอาชีพของตน และ เผยแพร่วิชาช่างให้กับคนพ้ืนเมืองจนแพร่หลายสืบต่อมาจนทุกวันน้ี เช่น การทําเคร่ืองถม การทอผ้ายก เป็นต้น เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การทอผ้าท่ีเมืองนครศรีธรรมราชได้เริ่มต้นมาต้ังแต่สมัยกรุงธนบุรี แล้วสืบต่อมาเร่ือยๆ จากการทอผ้ายกสําหรับใช้ในหมู่เจ้าเมืองและกรมการเมืองช้ันสูง ก่อนท่ีแพร่หลายไปสู่ชาวเมือง และประชาชนท่ัวไป 83
4. Southern Thai Fabric Fabrics woven in the southern regions from Chumphon province down to Malaysia, the narrow terrain, and the eastern coastal peninsula stretching along the Gulf of Thailand include Chumphon, Surat Thani, Songkhla, Pattani, and Narathiwat provinces. From the eastern coast to the west of the land, there are important mountain ranges that form the ridge of the peninsula, namely the Tenasserim Mountains, a mountain range that connects from the Himalayas down to Krabi province, then the Nakhon Si Thammarat Mountain range and the San Kala Khiri Mountain range stretching down to the end of Thailand. These mountains are the source of the major rivers of the South that flow from the west through the plains to the sea on the east side, forming estuaries as bays for a mooring for transportation and fishing ports, such as Chumphon Bay, Ban Don Bay, and Songkhla Bay. In addition, these rivers bring moisture to the southern regions, creating agricultural careers in the plains of the land, and depositing mud in the estuary. It merges with the sand produced by blowing toward the shore of the wind waves from the east. This resulted in fertile sandbars suitable for cultivation and settlement, thus creating communities along the coast since ancient times. The geographical and historical features of the South are one cultural foundation. On the other hand, it stems from trade contacts with civilized nations such as China, India, and Arabia. These nations brought their civilizations together with trade, thus creating cultural combinations such as Chinese and Indian cultures mixed with indigenous cultures, or Chinese cultures mixed with indigenous Malay cultures called Baba culture, etc. Alternatively, this was due to the effect of population and community exchange for political reasons, for example, in 1811, the ruler of Nakhon Si Thammarat herded a large number of families of Sai buri captives to Nakhon Si Thammarat and there are many types of artisans mixed in, such as goldsmiths, silversmiths. jewelers, including weavers allowing them to settle in the city of Nakhon Si Thammarat. These specialists pursued their professions and provided knowledge to indigenous peoples until today, including nielloware, brocade weaving, etc. Such historical events show that the weaving in Nakhon Si Thammarat began during the Thonburi period and continued from the weaving of brocade fabrics for use among the rulers and the high political departments before spreading to the townspeople and the general public. 84
1. ผ้ายกเมืองนคร ผ้าทอพ้ืนเมืองของจังหวัดนครศรีธรรมราชท่ีทอสืบต่อกันมาแต่โบราณ เป็นผ้าท่ีได้รับการยกยอ่ งมาแต่โบราณว่าสวยงาม แบบอย่างผ้าช้ันดี การทอผ้ายกมีกระบวนการทอโดยเพิ่มลวดลายผ้าให้เป็นพิเศษข้ึน มีข้ันตอนและวิธีการทอคล้ายการ ทอผ้าขิดหรือผ้าจก แต่ต่างกันท่ีบางคร้ังผ้ายกจะทอเป็นลายพิเศษ มีตะกอเขาลอยยกดอกแยกเส้นยนื ต่างหาก จะยกคร้ัง ละก่ีเส้นก็ได้ ข้ึนอยู่กับการออกแบบลายทอต้องการลวดลายอย่างไร มีลายมีเชิงท่ีแปลกออกไป การทอจึงต้องใช้ข้ันตอน และวิธีการเก็บลายด้วยไม้เรียวปลายแหลม ตามลวดลาย ท่ีกําหนดจนครบ คัดยกเส้นยืนข้ึนเป็นจังหวะมีลวดลายเฉพาะ ส่วนสอดเส้นพุ่งไปสานขัดตามลายท่ีคัดไว้การเก็บตะกอเขาลอยยกดอกเพ่ือผู้ทอจะได้สะดวกไม่ต้องคัดเก็บลายทีละเส้น เป็นความสามารถและเทคนิคเฉพาะตัวของช่างแกะดอกผูกลาย ซ่ึงการร้อยตะกอเขาลายน้ีใช้เวลามาก เพราะต้องทํา ด้วยมือท้ังหมด บางลายเสียเวลาหลายเดือนกว่าจะมัดเขาเสร็จ และเม่ือร้อยตะกอเสร็จแล้ว ถ้าเป็นก่ีกระตุกก็จะทอได้ รวดเร็วแต่ถ้าเป็นก่ีโบราณก็จะทอได้ช้า การทอผ้ายกดอกน้ีสามารถตกแต่งลวดลายให้สวยงาม และทอออกมาได้หลายสี ลักษณะผ้ายกเมืองนครมีรูปแบบการทอ 3 รูปแบบ แตกต่างกันในการทอและการนําไปใชง้ าน ดังน้ี แบบท่ี 1 กรวยเชิงซ้อนหลายช้ัน เป็นผ้าสําหรับเจ้าเมือง ขุนนางช้ันสูง และพระบรมวงศานุวงศ์ นิยมทอผ้าด้วยเส้นทอง ลักษณะกรวยเชิงจะมีความละเอียดอ่อนช้อย ลวดลายหลายลักษณะประกอบกัน ริมผ้าจะมีลายขอบผ้าเป็นแนวยาว ตลอดท้ังผืน กรวยเชิงส่วนใหญ่มีต้ังแต่ 2 ช้ันและ 3 ช้ัน ลักษณะพิเศษของกรวยเชิงรูปแบบน้ี คือ พ้ืนผ้าจะมีการทอสลับ สีด้วยเทคนิคการมัดหม่ีเป็นสีต่างๆ เช่น แดง นํ้าเงิน ม่วง ส้ม น้ําตาล ลายท้องผ้าพบนิยมทอผ้าพ้ืนและยกดอก เช่น ยก ดอกลาย เกร็ดพิมเสน ลายดอกพกิ ลุ เป็นต้น 1. Mueng Nakhon Brocade Fabric The traditional woven fabrics of Nakhon Si Thammarat province have been woven since ancient times has been regarded as beautiful and exemplary fine fabric since ancient times. Brocade weaving involves a weaving process by adding a special fabric pattern. There are procedures and methods of weaving similar to Khid or Jok, but the difference is that sometimes the brocade fabric is woven into a special pattern. There is a floating heddle lifting the flower pattern to separate the warp threads. It can be lifted as many strands at a time depending on the design needed. There are various patterns with strange orients. Therefore, weaving requires the process and method of collecting the pattern with a pointed wand according to the pattern. The warp thread is needed to be woven in rhythm. There is a specific pattern inserted into the weft threads to weave along the selected pattern. Collecting floating heddles so that the weavers will be more convenient without picking up the pattern one by one is the special skill and technique of the pattern designer. Complete the heddle takes a lot of time because it has to be done entirely by hand. Some patterns took months to finish tying up. After completing the heddles, if it is a modern loom, it will be woven quickly, on the other hand, if it is an ancient loom, it will be done slowly. This brocade weaving can decorate the patterns beautifully and weave them in many colors. Mueang Nakhon Brocade Fabric has three types of weaving that differ in weaving and functionality as follows: Type 1: Multi-Layer Complex Cone. It is a fabric for governors, noblemen, and the royal family, and is popular weaving with gold threads. The conical characteristics are detailed and tender. Many patterns are assembled, and the edges of the fabric are lined with long stripes throughout the fabric. Most oriented cones range from 2 layers and 3 layers. A special feature of this pattern is that the plain fabric is woven in alternating colors with the Ikat technique into different colors such as red, blue, purple, orange, and brown. Thong Pha motifs are commonly found in plain and brocade weaving, such as brocade, Kled Pimsane, Pikul patterns, etc. 85
ผา้ ยกเมอื งนครมรี ูปแบบการทอ กรวยเชิงซ้อนหลายช้ัน Mueang Nakhon Brocade Fabric with Multi-Layer Complex Cone Weaving 86
แบบท่ี 2 กรวยเชิงช้ันเดียว นิยมทอผ้าด้วยเส้นทองหรือเส้นเงิน จะพบในผ้ายกเมืองนครซ่ึงเป็นผ้าสําหรับคหบดีและ เจ้านายลูกหลานเจ้าเมือง ลักษณะกรวยเชิงจะส้ัน ทอค่ันด้วยลายประจํายามก้ามปู ลายประจํายามเกลียวใบเทศ ไม่มี ลาย ขอบในส่วนของลายท้องผ้านิยมทอด้วยเส้นไหมเป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายดอกพิกุล ลายก้านแย่ง ลายดอกเขมร ลายลูกแก้วฝูง เป็นต้น Type 2: Single-Layer Cone. Popular weaving with gold or silver threads. It will be found in Mueang Nakhon Brocade Fabric, which is a cloth for barons, royal families, and descendants of the governors. The oriented cone characteristics are short, woven with Prajamyarm Karmpu, and Prajamyarm Kliewbaithes, and have no patterns. The edges of the fabric pattern are popularly woven with silk threads into various patterns, such as Pikul, Karn Yang, Khmer Flower, and Plexiglass patterns, etc. ผา้ ยกเมอื งนครมรี ูปแบบการทอ กรวยเชงิ ช้นั เดียว Mueang Nakhon Brocade Fabric with Single-Layer Cone Weaving 87
แบบท่ี 3 กรวยเชิงขนานกับริมผ้า ผ้ายกเมืองนครลักษณะน้ีเป็นผ้าสําหรับสามัญชนท่ัวไปใช้นุ่ง ลวดลายกรวยเชิงถูก ดัดแปลงมาไว้ท่ีริมผ้าด้านใดด้านหน่ึง โดยผสมดัดแปลงนําลายอ่ืนมาเป็นลายกรวยเชิงเพ่ือให้สะดวกในการทอและการ เก็บลาย สามารถทอได้เร็วข้ึน ผ้าลักษณะน้ีมีท้ังทอด้วยไหม ทอด้วยฝ้าย หรือทอผสมฝ้ายแกมไหม ท่ีพบจะเป็นผ้านุ่ง สาํ หรับสตรี หรือใชเ้ ป็นผ้านุง่ สาํ หรบั เจ้านาคในพิธอี ุปสมบท Type 3: Parallel-Hem Cone. This style of city cloth is a fabric for ordinary people to use. The cone pattern has been adapted to one side of the fabric by mixing and modifying other patterns into Kluay Cherng patterns to make it easier to weave and complete patterns that can be woven faster. This type of fabric is either woven with silk, or cotton or woven with cotton and silk. It is found to be a garment for women or used as a garment for Nagas in ordination. ผา้ ยกเมอื งนครมรี ูปแบบการทอ กรวยเชงิ ขนานกับรมิ ผา้ Mueang Nakhon Brocade Fabric with Parallel-Hem Cone Weaving 88
2. ผ้าทอนาหม่ืนศรี นาหม่ืนศรีเป็นช่ือตําบลหน่ึงในอําเภอนาโยง ซ่ึงมีช่ือเสียงในด้านผ้าทอพ้ืนเมืองของจังหวัดตรัง ตรังเป็นจังหวัดหน่ึงทาง ภาคใต้ของประเทศไทยด้านฝ่ ังทะเลตะวันตก ผ้าทอนาหม่ืนศรี แบ่งตามลักษณะโครงสร้างของผืนผ้า ได้ 3 ชนิด ได้แก่ ผ้าพ้นื ผ้าตา และ ผ้ายกดอก ซ่ึงแต่ละชนิดแบง่ ยอ่ ยเป็นช่อื ลายต่างๆ ได้อีกหลายลาย ดังน้ี ผ้าพ้ืน เป็นผ้าท่ีใช้ด้ายยืนสีเดียว มีผ้าพ้ืนธรรมดา แบ่งเป็นผ้าพ้ืนสีเรียบ และผ้าพ้ืนสีเหลือบ ผ้าหางกระรอก และผ้าล่อง หรอื ผ้าริว้ มีลายต่าง ๆ ได้แก่ ลายหัวพลู ลายดอกเข็ม ลายดอกขอ่ ย ผ้าตา เป็นผ้าท่ีใชด้ ้ายยืนสลับกันต้ังแต่สองสีข้นึ ไป ลายตาสมุก ลายลกู โซต่ าราง ลายตานก และลายดอกมุด ผ้ายกดอก เป็นผ้าท่ีใช้ด้ายพุ่ง 2 ชนิด เกิดจากการทอด้วยวิธียกดอก หรือการสร้างลวดลายโดยการเพิ่มด้ายพุ่ง มักใช้ ลวดลายด้ังเดิมท่ีมีความซับซ้อน ใช้จํานวนตะกอ (เขา) มาก ในอดีตมีการทอผ้าเป็นคําสอนในพระพุทธศาสนา ซ่ึงมี จํานวนตะกอนับร้อย ลวดลายเฉพาะของผ้ายกนาหม่ืนศรี ได้แก่ ลายลูกแก้ว ลายแก้วชิงดวง ลายลูกแก้วโข่ง ลายลูกแก้ว ส่ีหน่วยในลายราชวัตร ลายดอกจัน ลายเกสร ลายดอกกก ลายดอกพิกุล ปัจจุบันมีลวดลายท่ีนิยมทอเพ่ิมอีกกว่า 30 ลาย เช่น ลายพิกุล แก้ว ลายดาวล้อมเดือน ลายลูกแก้วลูกศร ลายขนมเปียกปูน ลายลูกหวาย ลายจัตุรัส ลายดาวล้อมเดือน ลายช่อมาลัย ลายช่อลอกอ ลายดอกมะพร้าว ลายดอกเทียน ลายท้ายมังคุด ลายเม็ดแตง ลายข้าวหลามตัด ลายราชวัตร ห้อง ลายทีนัด ลายครุฑ ลายนกเหวก (นกการะเวก) ลายต๊กุ ตาถือดอกบวั ลายกินรี ลายตัวหนังสอื และลายประสม 2.Nameunsri Fabric Nameunsri Fabric is the name of a subdistrict in Na Yung District, which is famous for the traditional textiles of Trang Province. Trang is a province in southern Thailand on the west coast. Nameunsri fabric can be divided into 3 types according to the structural characteristics of the fabric such as plain, Ta, and brocade fabric. Each type can be subdivided into several different patterns: Plain-colored cloth is a fabric that uses a monochromatic warp thread. There are plain fabrics which are divided into plain, and iridescent colors, squirrel tail, and groove fabrics or stripes with various patterns such as Hua Plu, Ixora (Dok Khem), and Toothbrush Tree (Dok Khoi) patterns. Ta fabric is a fabric that uses two or more colors of warp thread such as Ta Smook, Square Chain, Ta Bird, and Dok Mood patterns. Brocade fabric is a fabric that uses 2 types of weft threads weaving by lifting or creating patterns by adding weft threads, often using intricate original patterns. It takes a lot of heddles (horns) to get a variety of patterns. In the past, weaving was a Buddhist teaching which had hundreds of heddles. The specific patterns of the Nameunsri fabric are plexiglass, Kaew Ching Duang, Khong Plexiglass, 4 Plexiglasses, Ratchawat, Asterisk, Pollen, Reed, and Pikul patterns. Currently, there are more than 30 popular patterns woven: Pikulkaew, Dao Lom Duen, Arrow-Plexiglass, Rhombus, Rattan, Square, Dao Lom Duen, Chor Malai, Chor Lor Kor, Dok Maprao, Dok Tian, Tai Mungkood, Med Taeng, Diamond-Shaped, Rachawat Hong, Tee Nud, Garuda, Paradisaea (Karawek bird), Doll with Flower, Kinnaree, Letter, and Mixed patterns. 89
ลักษณะพิเศษของผ้าทอนาหม่ืนศรี ได้แก่ โครงสร้างของผืนผ้า ลวดลาย และสี ผู้ทอท่ีมีฝีมือจะนําลายหลายๆ ลายมา รวมไว้ เช่น ลายลูกแก้วใหญ่ ลายลูกแก้วส่ีหน่วยใน ลายดอกจัน บางผืนประสมเฉพาะชุดลูกแก้ว เป็นต้น ส่วนท่ีเป็น เอกลักษณ์ด้านสี ถ้าเป็นประเภทผ้าห่ม และผ้าเช็ดหน้ายกดอก ท่ีทอข้ึนใช้เองหรือให้แก่กัน จะใช้ด้ายยืนสีแดงยกดอกสี เหลือง มีบ้างท่ียกดอกสีขาวหรือสีเขียว หากเป็นผ้าทอเพ่ือขาย พบว่ามีการเปล่ียนแปลงสีด้ายยืนและด้ายพุ่งตามความ ต้องการตลาด และในกรณที อใชเ้ อง ยังคงเป็นสแี ดงเหลืองไมเ่ ปล่ียนแปลง The characteristics of Nameunsri fabrics include the structure of the fabric, patterns, and colors. Skilled weavers combine several patterns, such as large plexiglass, 4 Plexiglasses, and asterisk patterns. Some of them contain only plexiglass sets, etc. In terms of color, if the blanket and handkerchief are woven for personal use or for given to each other, a red warp thread is used to lift the yellow flower patterns and, on occasion, the white or green flower patterns. If it is woven for sale, the color of the weft and warp threads will change according to market demand, whereas if it is woven for personal use, the color will remain unchanged in red and yellow. 90
3. ผ้าพุมเรียง เป็นผ้ายกท่ีมีลวดลายสวยงาม และมีเอกลักษณ์ต่างไปจากผ้ายกของภาคอ่ืนๆ มีการทอยกดอกด้วยไหมหรือด้ินเงินดิ้น ทอง ในสมัยโบราณจะมีการใช้วัตถุดิบท้ังฝ้ายและไหม โดยแบ่งออกเป็นผ้าท่ีใช้ในชีวิตประจําวันทอโดยใช้ฝ้าย และผ้าท่ี ใช้ในงานสําคัญหรือพิธีการต่างๆ จะทอโดยใช้ไหม การทอผ้าพุมเรียงเป็นศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้านภาคใต้ของตําบล พุมเรียงอําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยชาวไทยมุสลิมท่ีอพยพมาจากจังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี และเมืองไทร บุรี ประเทศมาเลเซีย ซ่ึงสืบเช้ือสายมาจากชาวมลายูในหมู่เกาะอินโดนีเซีย เป็นผู้นําความรู้กระบวนการทอผ้าติดตัวมา ด้วย ผ่านถ่ายทอดสืบต่อกันมาด้วยวิธีการสังเกต จดจํา และทดลองปฏิบัติทอจริงโดยไม่มีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษรได้รับการส่ังสมองค์ความรู้ ภูมิปัญญา และสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เป็นท่ียอมรับกันโดยท่ัวไปในความสวยงาม ของลายผ้า และความประณีตของฝีมือการทอผ้า ซ่ึงมีลักษณะเด่นแตกต่างไปจากผ้าทอของภูมิภาคอ่ืนๆ เช่น การทอย กดอกด้วยไหมและด้ิน ผ้ายกชุดหน้านาง ผ้ายกดอกถมเกสร และผ้ายกดอกลายเชิง เป็นต้น โดยถือว่าการทอผ้าเป็น หน้าท่ีของผู้หญิงท้ังชาวไทยพุทธและไทยมุสลิม ท่ีจะต้องเตรียมไว้ใช้สอยในครอบครัว โดยเฉพาะหญิงสาวท่ีจะออก เรือนจําเป็นจะต้องเรียนรู้วิธีการทอผ้าเพ่ือเตรียมไว้ใช้ในการแต่งงาน เช่น ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และเคร่ืองใช้ต่างๆ ท่ีทําด้วยผ้า ดังน้ันการมีฝีมือในการทอผ้าจึงเป็นการแสดงถึงความเป็นกุลสตรี 3. Pumriang Fabric It is a lifting fabric with beautiful patterns and is unique from the lifting fabrics of other regions. It is also woven with silk or gold and silver tinsel. Cotton and silk were both used as raw materials in ancient times. It can be characterized that fabrics used in everyday life are woven with cotton, while fabrics used in important events or ceremonies are woven with silk. Pumriang fabric weaving is a southern folk art and craft of Pumriang Subdistrict, Chaiya District, Surat Thani Province. Thai Muslims who migrated from Songkhla, Pattani, and Saiburi provinces in Malaysia, who are descended from Malays in the Indonesian archipelago, was the group of people who brought the knowledge of this weaving process. It is passed down through observation, recognition, and practical practice without written notes and accumulated knowledge, and wisdom and passed down from generation to generation. It is generally accepted in the beauty of the fabric and the sophistication of the weaving craftsmanship, which has distinctive characteristics that distinguish it from the woven fabrics of other regions such as weaving with silk and tinsel, Na Nang fabric, Thom Kesorn brocade fabric, and Cherng fabric, etc. It is considered that weaving is the duty of both Thai Buddhist and Thai Muslim women to prepare for their families, especially young women who will leave the house for marriage, it is necessary to learn how to weave fabrics to prepare for the weddings, such as garments, blankets, and utensils made of fabric. Therefore, being skilled in weaving is an expression of femininity. 91
ประเภทของผ้าพุมเรียง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ผ้าทอพุมเรียงประเภทผ้าฝ้าย ผ้าไหมพุมเรียง และผ้าไหมปนฝ้าย ลวดลายเก่าซ่ึงเป็นลายด้ังเดิมท่ีนิยมกันมาแต่เก่าก่อน เช่น ลายยกเบ็ด ลายดอกพิกุล ลายคชสีห์ ลายราชสีห์ ลายครุฑ ลายกินรี ลายเทพพนม ลายเบญจรงค์ ลายศรีวิชัย ลายกริช ลายโบต๋ัน ลายราชวัตร ลายก้านต่อดอก ลายผ้ายกเชิงครุฑ และลายนพเก้า ช่างทอผ้าท่ีตําบลพุมเรียงจะมีลวดลายต้นแบบท่ีใช้เป็นตัวอย่างเก็บดอกผ้าเรียกว่า ครูผ้า อาจจะเป็นผ้า ท่ีปักด้วยไหมเป็นลวดลายต่างๆ หรือเศษผ้ายกท่ีช่างทอเก็บไว้แต่เดิม กรรมวิธีการทอผ้าพุมเรียงใช้เทคนิคกรรมวิธีท่ี เรียกว่า ยกดอก คือ เทคนิคการทอผ้าให้เกิดลวดลาย ใช้วิธีเก็บตะกอลายเช่นเดียวกับการทอขิด โดยการยกตะกอเพ่ือ แยกเส้นด้ายยืน ให้ด้ายเส้นพุ่งผ่านไปเฉพาะเส้น จะยกคร้ังละก่ีเส้นก็ได้ แล้วแต่ลวดลายท่ีกําหนดเอาไว้ เม่ือทอพุ่ง กระสวยไปมาควบคู่กับการยกตะกอ จะเกิดเป็นลวดลายนูนข้ึนจากผืนผ้า ด้ายเส้นพุ่งนิยมใช้ด้ินเงินด้ินทองเพ่ือเพ่ิม ความงดงาม There are 3 types of woven fabrics: cotton, silk, and cotton-silk. Old patterns which are traditional patterns that have been popular since the past include Yok Bed, Pikul, Khotchasi, Lion, Garuda, Kinnaree, Thep Phanom, Benjarong, Srivichai, Dagger, Peony, Ratchawat, Stalk-to-flower, Garuda Lifting, and Nine-Gems patterns. The weavers at Pumriang have a prototype pattern that is used as an example to complete flowers pattern, called a cloth teacher. It may be fabrics embroidered with silk in various patterns, or brocade rags originally stored by weavers. The process of weaving Pumriang uses a technique called Brocade, which is the technique of weaving fabrics to create patterns and uses the method of keeping the heddle the same as Khid weaving by lifting the heddle to separate the warp yarn, allowing the weft yarn to pass through only the strands. Depending on the pattern, it can be lifted with as many strands as needed. When weaving the bobbin back and forth along with lifting the heddle, a pattern is formed and embossed from the fabric. The weft yarn is commonly used with gold and silver tinsels to enhance its beauty. ผา้ พมุ เรียงลายขห้ี นอน (ลายกินนร) ใชท้ อในส่วนลายท้องผา้ Pumriang Fabric with Khee None Pattern (Kinnara Pattern) is Used to Weave in the Middle of the Fabric 92
4. ผ้าจวนตานี หรือผ้าล่องจวน เป็นผ้าทอด้ังเดิมในพ้ืนท่ีทางภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส ซ่ึงเดิมมีศูนย์กลางคือเมืองปัตตานีในอดีต ซ่ึงเป็นเมืองท่าสําคัญเมืองหน่ึงในคาบสมุทรมลายู มีความสัมพันธ์ทางการค้า และการเมือง มีการซ้ือขายแลกเปล่ียนสินค้าและวัฒนธรรมกับประเทศต่างๆ ท่ีเข้ามาติดต่อค้าขาย เช่น จีน อินเดีย ประเทศในแถบอาหรับ ยุโรป และมาลายา โดยมีสินค้าประเภทผ้าไหม เส้นไหม และฝ้ายเป็นสินค้าท่ีมีการซ้ือขาย แลกเปล่ียนอยู่ด้วยจึงนับได้ว่าเมืองปัตตานีเป็นเมืองสําคัญในการค้าขายสินค้าผ้าไหมและแลกเปล่ียนวัฒนธรรมเก่ียวกับ ผ้าแห่งหน่ึง ไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจนว่ามีการใช้และการผลิตเริ่มในภาคใต้เม่ือใด แต่ผู้เช่ียวชาญบางคนเช่ือว่าเริ่มมีมา ก่อนราชอาณาจักรศรวี ิชยั เจริญรุง่ เรอื ง จากการท่ีมีการติดต่อและการค้าขายกับประเทศจีนและอินเดีย ชาวพ้ืนเมืองของ ปัตตานีท่ีอาจจะมีความรู้ในการทอผ้าอยู่แล้วได้มีการรับและแลกเปล่ียนวัฒนธรรมเกิดการสร้างสรรค์ส่ิงทอข้ึนใหม่ ผ้า ทอท้องถิ่นแบบง่ายถูกแทนท่ีด้วยกรรมวิธีมัดหม่ี และทอแบบประณีตท่ีมีรูปแบบท่ีเรียกว่าจวนตานี หรือผ้าลิมา หรือผ้า ยกตานี ขณะท่ีเม่ือเวลาผ่านไปคุณภาพและความงามของส่ิงทอเหล่าน้ี กลายเป็นท่ีรู้จักกันอย่างแพร่หลายในช่วงสมัย อยุธยา และเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่าชุมชนในภาคใต้ โดยเฉพาะในสามจังหวัดภาคใต้ชายแดนไทย-มาเลเซีย เอกลักษณ์เฉพาะท่ี การออกแบบลวดลาย และสีสัน โดยมีการทอท้ังจากเส้นไหม และเส้นใยฝ้าย และยกด้วยเส้นเงินหรือเส้นทอง ผ้าจวน ตานีจะมีแถบริ้วลวดลายวางเป็นแนวแทรกอยู่ระหว่างผืนผ้าและชายผ้าท้ังสองด้าน มีคําเรียกในภาษาพ้ืนถ่ินว่า จูวา หรือจวน ซ่ึงแปลว่า ร่อง หรือทางจึงมีช่ือท่ีเรียกผ้าชนิดน้ีอีกช่ือหน่ึงว่าผ้าล่องจวน สีของผืนผ้านิยมใช้สีท่ีตัดกัน โดย บริเวณท้องผ้าจะใช้สีหลัก ได้แก่ ม่วง เขียว ฟ้า น้ําตาล ส่วนชายผ้าท่ัวไปจะใช้เฉดสีแดง โดยผ้าและชายผ้าท้ังสองด้าน ทอเป็นผืนผ้าเดียวกัน นอกจากการใช้สีท่ีตัดกันแล้ว พบว่าแต่ละแถบของผ้าจวนตานี โดยท่ัวไปมีห้าสี ซ่ึงคําว่า ลิมา เป็น อีกช่ือของผ้าจวนตานี เป็นคําภาษามาเลย์ หมายถึง ห้า จํานวนลวดลายบนผืนผ้าจะมีต้ังแต่ 5-7 ลาย เช่น ลายโคม ลาย ประจํายามก้านแย่ง ลายตาราง เป็นต้น ซ่ึงมีการทอลวดลายท้ังวิธีการทอแบบมัดหม่ี และทอแบบยกสอดดิ้นเสริมในผืน ผ้า จึงนับเป็นผ้าท่ีมีลักษณะพเิ ศษเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท่ีทอยาก มีราคา และใช้เฉพาะในโอกาสพเิ ศษเท่าน้ัน ผา้ จวนตานลี ายสานแบบตาขา่ ย Juantani Fabric, Mesh Pattern 93
4. Juantani or Juan Groove Fabric It is a traditional woven fabric in the lower southern regions of Thailand, including Pattani, Yala, and Narathiwat provinces. It was originally centered on the former city of Pattani, one of the major port cities in the Malay Peninsula. Pattani is considered an important city in the trade of silk products and the exchange of cloth culture because it has trade and political relations, and exchanges of goods and cultures with countries such as China, India, Arab countries, Europe, and Malaya with the product category of silk fabric, silk thread, and cotton. There is no clear evidence of when its use and production began in the south, but some experts believe it began before the Kingdom of Srivichai flourished. Through contact and trade with China and India, the natives of Pattani, who may already know about weaving, have been receiving and exchanging cultures to create new textiles. Simple local woven fabrics have been replaced by Ikat and elaborate weavings with a pattern called Juantani, Lima, or Yoktani. As time passes, the quality and beauty of these textiles became widely known during the Ayutthaya period and it is valuable in communities in the south, especially in the three southern provinces on the Thai-Malaysian border, because of their unique design of patterns and colors. It is woven from both silk and cotton fibers and lifted with silver or gold strands. Juantani fabric has stripes of patterned stripes placed between the fabric and the hem on both sides. It is called in the local dialect “Juwa” or “Juan”, which means groove. It is also known as “Long Juan Fabric”. The color of the fabric is often used in contrasting colors, with the main color used in the middle area such as purple, green, blue, and brown, and the hemline generally uses red shades. The fabric and hem on both sides are woven into the same fabric. In addition to the use of contrasting colors, it is found that each strip of Juantani fabric generally has five colors, of which the word Lima is another name for the Juantani fabric, it is a Malay word meaning five. The number of patterns on the fabric ranges from 5-7 patterns, such as Lantern patterns, Prajamyarm Karnyaeng patterns, Grid patterns, etc. The patterns are woven in both Ikat weaving and lifting tinsel in the fabric. Therefore, it is a unique fabric that is difficult to weave, has a high price, and is used only for special occasions. ผา้ จวนตานี ลายแถบ Juantani Fabric, Striped Pattern 94
5. ผ้าปะลางิง เป็นผ้าทอมือท่ีใช้เทคนิคการพิมพ์ลายบนผืนผ้าด้วยบล็อกไม้ แกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ มีการใช้ในกลุ่มชาวมุสลิม ชายแดนใต้แถบจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เป็นผ้าท่ีสะท้อนเอกลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และมี ความเช่ือมโยงเก่ียวพันกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ความเช่ือ ค่านิยม จารีต ประเพณี และศาสนา จนเกิดเป็นมรดกทางภูมิ ปัญญาสืบทอดต่อกันมา เอกลักษณ์ท่ีสําคัญของผ้าปะลางิงในอดีต คือ ลวดลาย ด้วยเทคนิคการพิมพ์ลายจากบล็อกไม้ ช่างทําแม่พิมพ์สําหรับพิมพ์ผ้าปะลางิงในอดีตจะเป็นกลุ่มช่างแกะสลักลายไม้ทําหัวกริช หรือแกะลายด้ามกริช ด้วย วิธกี ารแกะลายลงบนแป้นพิมพ์ไม้ลวดลายต่างๆ โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจาก สถาปัตยกรรมในท้องถิ่น เช่น ช่องลมใน อาคารบ้านเรือน วังเก่า บ้านเก่า มัสยิด ลายประตู ลูกกรง ตลอดจนแป้นพิมพ์ลายกนกเก่าๆ ท่ียังคงหลงเหลืออยู่ใน ชุมชนหรือท้องถิ่น เป็นต้น ก่อนนํามาพิมพ์ลงบนพ้ืนผ้าตามจินตนาการของช่าง ท่ีกําหนดให้ลวดลายบนผืนผ้าจะออกมา อย่างไร โดยมีการใช้สีท่ีเน้นความแตกต่างของค่านํ้าหนักอ่อน-แก่ของสี เพ่ือสร้างมิติ ความโด่ดเด่น และน่าสนใจให้แก่ ลายผ้าท่ีปรากฏบนผืนผ้าปะลางิง 5. Palanging Fabric It is a hand-woven fabric that uses the technique of printing patterns on the fabric with wooden blocks, carved into various patterns, and used among Muslims in the southern border of Pattani, Yala, and Narathiwat provinces. It is a fabric that reflects uniqueness, and local wisdom and relates to the way of life, living, beliefs, values, customs, and religion until it becomes a heritage of wisdom. The main characteristics of Palanging fabrics in the past are patterns, with the technique of printing patterns from wooden blocks. In the past, mold makers for printing Palanging fabrics were a group of wood carvers who made dagger heads or carved dagger handles. The pattern is inspired by local architecture, such as air vents in buildings, old palaces, old houses, mosques, door patterns, and grilles, as well as old Kanok patterns that remain in the community or locality, etc. Before printing on the fabric according to the imagination of the craftsman who set the pattern on the fabric, it is necessary to use colors that emphasize the difference in the shades of the color to create dimension, distinctive, and interesting to the pattern that appears on the Palanging fabric. 95
ประโยชน์ใช้สอยผ้าปะลางิงในสมัยโบราณ ผู้หญิงมุสลิมนิยมใช้เป็นผ้าคลุมศรีษะ (ฮิญาบ) ใช้สําหรับตัดเย็บเป็นเคร่ือง แต่งกาย ผ้าคาดอก หรือผ้านุ่ง ส่วนผู้ชายใช้สําหรับเป็นผ้าคาดเอว แล้วเหน็บด้วยกริชรามัน ซ่ึงถือเป็นวิถีชีวิตของชายใน แถบชายแดนใต้ในสมัยอดีต จนเม่ือในพ้ืนท่ีประสบปัญหาเร่ืองวัตถุดิบ ส่งผลให้การผลิตผ้าปะลางิงหยุดชะงักลง จน เกือบจะสูญหายไปจากวิถีชีวิตชายแดนใต้เกือบ 80 ปี แต่ในช่วงประมาณ 10 ปี ท่ีผ่านมาน้ี ผ้าปะลางิงได้ถูกร้ือฟ้ ืนข้ึนมา อีกคร้ัง การสร้างสรรค์ผ้าปะลางิง มีความแตกต่างจากการสร้างสรรค์ผ้าชนิดอ่ืน โดยเฉพาะในส่วนของการให้สีของผ้า ปะลางิง สามารถทําได้เพียงคร้ังเดียว เน่ืองจากทําด้วยเทคนิคการเขียนสีสด ถ้านําไปเขียนลายลงบนผ้าปะลางิงผืนต่อไป จะไม่สามารถทําซํ้าได้ ดังน้ันจึงสามารถกล่าวได้ว่าการสร้างสรรค์ผ้าปะลางิงน้ันเปรียบเหมือนการสร้างสรรค์งานศิลป์ลง บนผืนผ้า อีกท้ังยังเป็นการ ส่งเสริมให้ผืนผ้ามีเสน่ห์มากข้ึน ส่วนลวดลายท่ีอยู่บริเวณหัวผ้าและท้ายผ้า อาจใช้ทฤษฎีคู่สี ตรงขา้ ม หรอื ค่สู ีตัดกัน หรอื ใช้เทคนิคการเขียนเทียนปิดทับอีกคร้ังหน่ึงก่อนลงสีซ้ําเพ่ือให้เกิดมิติบนผืนผ้า Utility of Palanging cloth in ancient times: Muslim women used it as a headscarf (hijab), used for sewing as a costume, breast cloth, or garment. The men used it as a sash and then tucked it in a Raman dagger, which was considered a way of life for men on the southern border in the past. When the area experienced problems with raw materials, the production of Palanging fabric was halted. It has almost disappeared from the southern border lifestyle for nearly 80 years. But in the last 10 years, the Palanging fabric has been revived. Palanging fabric creation differs from other types of fabrics, particularly in the area of coloring, which can only be done once because it is using the technique of writing bright colors. It cannot be repeated as if it is written on the next Palanging cloth. Therefore, it can be said that creating Palanging is like creating art on a fabric. It also encourages fabrics to be more attractive. The patterns around the top and bottom of the fabric may use the theory of opposing color pairs or contrasting color pairs or use the technique of writing candles over them again before repainting them to create dimension on the fabric. ผา้ ปะลางิง Palanging Fabric 96
6. ผ้าบาติก หรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคําท่ีใช้เรียกผ้าชนิดหน่ึงท่ีมีวิธีการทําโดยใช้เทียนปิดส่วนท่ีไม่ต้องการให้ติดสี และใช้วิธีการแต้ม ระบาย หรือย้อมใน ส่วนท่ีต้องการให้ติดสีเท่าน้ัน ผ้าบาติกบางช้ินอาจจะผ่านข้ันตอนการปิดเทียน แต้มสี ระบายสี และย้อมสีนับเป็นสิบๆ คร้ัง ส่วนผ้าบาติกอย่างง่ายอาจทําโดยการเขียนเทียนหรือพิมพ์เทียน แล้วจึงนําไปย้อมสีท่ีต้องการ เม่ือย้อนกลับไปคําว่า บาติก (Batik) หรือปาเต๊ะ เดิมเป็นคําในภาษาชวาท่ีใช้เรียกผ้าท่ีมีลวดลายท่ีเป็นจุด คําว่า ติก มีความหมายว่า เล็กน้อย หรือจุดเล็กๆ มีความหมายเชน่ เดียวกับคําว่า ตริติก หรอื ตารติ ิก ดังน้ัน คําว่า บาติก จึงมีความหมายว่าเป็นผ้าท่ีมีลวดลาย เป็นจุดๆ โดยวิธีการทําผ้าบาติกด้ังเดิมในสมัยก่อนน้ัน ใช้วิธีการเขียนด้วยเทียนเป็นหลัก ดังน้ัน ผ้าบาติกจึงเป็นลักษณะผ้าท่ีมี วิธีการผลิตโดยใช้เทียนปิดในส่วนท่ีไม่ต้องการให้ติดสี แม้ว่าวิธีการทําผ้าบาติกในปัจจุบันจะก้าวหน้าไปไกลมากด้วย เทคโนโลยีและองค์ความรู้แล้วก็ตาม ทว่าลักษณะเฉพาะประการหน่ึงของผ้าบาติกท่ียังคงอยู่ก็คือ จะต้องมีวิธีการผลิต โดยใช้เทียนปิดส่วนท่ีไม่ต้องการให้ติดสี หรือปิดส่วนท่ีไม่ต้องการให้ติดสีซ้ําอีกเป็นมาตรฐาน นับเป็นกรรมวิธีท่ีแสดงให้ เห็นถึงภูมิปัญญาของชาวบ้านอย่างแท้จริง อีกท้ังลายของผ้าบาติก โดยส่วนมากแล้วจะเป็นลวดลายและสีสัน ท่ีอิงจาก ธรรมชาติและอัตลักษณ์วัฒนธรรมรอบตัวของแต่ละชุมชนท่ีนําเสนอความเป็นภาคใต้ได้อย่างดี ความโดดเด่นของผ้า บาติกจึงอยู่ท่ีการใช้สี และลวดลายท่ีคมชัดของภาพท่ีสามารถบอกอะไรได้หลายอย่างท้ังถิ่นท่ีมา วัฒนธรรม ความ เป็นอยู่ ธรรมชาติ ไปจนถึงเอกลักษณ์ของแหล่งผลิต หรือกระท่ังความรู้สึกนึกคิดของคนในท้องถ่ินน้ันๆ น่ันจึงนับได้ว่า ผ้าบาติกได้รวมอารยธรรมของความเป็นภาคใต้เอาไว้ได้อยา่ งสมบูรณแ์ บบ 6. Batik It is a term used to refer to a type of fabric using wax to cover the parts that do not want to be colored and to use the point method, drain or dye only the part that needs to be colored. Some batik pieces may go through the process of closing wax, coloring, and dyeing dozens of times. A simple batik may be made by writing a wax or printing a wax and then dyeing it to the desired color. Back then, Batik or Pa Teh was originally a Javanese word used to refer to a fabric with a dotted pattern. The word “Tik” means little or small dot. It has the same meaning as Tritik or Taritik, so the word batik means a fabric with a dotted pattern. The traditional batik-making method in the old days was mainly written with wax. So, Batik is therefore characterized by a fabric that is produced using a closed wax in the part that does not require coloring. Although today's batik method has advanced far with technology and knowledge, one of the characteristics of batik remains that it must be produced using wax to cover parts that do not want to be colored or to close parts that do not want to be re-colored as standard. It is a method that truly demonstrates the wisdom of the villagers. Furthermore, the patterns of batik are mostly based on nature and the cultural identity of each community that presents a true southern identity. The distinctiveness of batik lies in the use of bold colors and patterns that can reveal everything from the origin, culture, lifestyle, and nature to the uniqueness of the production site or even the feelings of the locals. That is why batik perfectly unites the South's civilization. 97
ผา้ บาติก หรอื ผา้ ปาเต๊ะ Batik 98
5. การปลูกหม่อนเล้ียงไหม การปลูกหม่อน เล้ียงไหม สาวไหม ทอผ้าไหม เป็นกระบวนการละเอียดประณีต ใช้เวลา ความช่างสังเกต ความเอาใจใส่ ต่อเน่ือง และมีใจรัก ชาวไร่ชาวนามักปลูกหม่อนช่วงต้นฤดูฝน บริเวณไม่ไกลจากตัวบ้าน หรือปลูกเชิงบันไดก่อนเข้าบ้าน ถ้าเล้ียงไหมท่ีชานบ้าน จะเด็ดใบหม่อนมาสับให้หนอนไหมกินได้สะดวก ทุกวันน้ี พันธุห์ ม่อนพ้ืนเมืองยังคงพบได้ท่ัวไปใน ภาคอีสาน ซ่ึงมีการปลูกหมอ่ นเล้ียงไหมกันมากท่ีสดุ ในประเทศไทย บริเวณเล้ียงไหมจะเป็นท่ีสงบ เด็กๆ จะไม่ส่งเสียงดัง พ่อจะหยุดสูบบุหร่ีหรือยาเส้น คนในบ้านจะช่วยกันรักษาความ สะอาด มีผ้าคลุมกระด้งป้องกันหนอนไหมจากแมลงวัน แมลงหว่ี ยุง หรือมด คอยเก็บใบหม่อนอ่อนมาห่ันสับเล้ียงหนอน ไหมให้เพียงพอ คัดเลือกหนอนไหมท่ีไม่แข็งแรงหรือเป็นโรคแยกออกไปป้องกันการแพร่ระบาด คอยสังเกตเม่ือหนอน ไหมตัวโต จึงแยกกระด้งไม่ให้แน่นเกินไป จนโตเต็มท่ีมีสีออกเหลืองเรียกว่าไหมสุก จึงย้ายไปยังจ่อเพ่ือให้สร้างรังในช่วง ไหมทํารังก็ต้องระบายอากาศให้ดี เพราะขณะไหมพ่นเส้นใยสร้างรังถ้าความช้ืนสูงจะทําให้กาวไหมแห้งช้า เม่ือกดทับ หลายช้ัน กาวจะเกาะติดแน่นทําให้สาวยาก เส้นไหมขาดง่าย และเม่ือทํารังเต็มท่ีแล้ว ก็ต้องเก็บเศษผลท่ีติดอยู่กับรังไหม ออกก่อนนําไปสาว นับแต่อดีต คนเล้ียงไหมสังเกตเรียนรู้ด้วยตนเองว่า หลังจากเล้ียงไหมพันธุ์เดิมไปนานๆ หนอนไหมเร่ิมอ่อนแอ ก็จะ แสวงหาพันธุ์ไหมจากหมู่บ้านอ่ืน ท้ังท่ีอยู่ใกล้และห่างไกลออกไป นําพันธุ์ท่ีมีลักษณะดีน่าพอใจ มาผสมกับพันธุ์ไหมของ ตน ทําให้ได้พันธุ์ไหมใหม่ท่ีแข็งแรง เล้ียงง่าย ให้ผลผลิตดีกว่าเดิม เป็นภูมิปัญญาพ้ืนบ้านด้านการปรังปรุงและคัดเลือก พันธุ์ท่ีเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง แม่พันธุ์หนอนไหมท่ีแข็งแรงให้ไข่ได้มากกว่า 300 ฟอง เม่ือเป็นดักแด้มีรังไหมหุ้มแล้ว นําไปสาวไหม รังหน่ึงได้เส้นไหมยาว 200-400 เมตร 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 484
Pages: