Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sdg ฉะเชิงเทรา

sdg ฉะเชิงเทรา

Published by กลุ่มนโยบายและแผน, 2021-09-26 13:34:15

Description: sdg ฉะเชิงเทรา

Search

Read the Text Version

แผนทน่ี ำทำง กำรขับเคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ ัง่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ สำนักงำนศึ กษำธิกำรจังหวัดฉะเชิงเทรำ

คำนำ สืบเนื่องจากประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองพันธะสัญญาทางการเมืองระดับผู้นำใน เอกสาร “Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable Development” ซึ่งเป็น การยืนยันเจตนารมณ์และกำหนดทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกใน 15 ปีข้างหน้าร่วมกัน เพื่อผลักดัน และขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในทุกมิติ ประกอบด้วย เป้าหมายหลัก 17 เป้าหมาย ที่ครอบคลุมด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการดำเนินการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเทศไทย กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีสำนักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ (สศช.) เป็นฝ่ายเลขานุการ โดยการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการดำเนินการในระดับพื้นที่ (Localizing SDGs) และให้ทุกภาคส่วนท่ี เกี่ยวข้องเกิดกระบวนการและกลไกการมีส่วนร่วมในการดําเนนิ งานตา่ งๆ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ เพื่อ ถ่ายทอดเป้าหมายร่วมระดับโลก สู่เป้าหมายระดับประเทศและระดับพื้นที่ เพื่อให้สามารถนำไปสู่การ ปฏบิ ัตใิ หบ้ รรลุเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืนท่ีกำหนดไว้ ทั้งนี้ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบระดับพื้นที่ด้านการศึกษา จึงได้จัดทำแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านการศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา (SDG4 Roadmap) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ SDG4 Roadmap กบั หน่วยงานทุกภาคส่วนท่ีเกยี่ วข้อง ซ่ึงเป็นวาระการพัฒนาใหม่ของโลกในชว่ งระยะเวลา 15 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2559 – 2573) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนที่นำทางการ ขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา (SDG4 Roadmap) จะเป็น แนวทางและเป้าหมายการดำเนินงานของการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (SDG4) ส่กู ารปฏบิ ัติไดอ้ ย่างชัดเจนและเปน็ รูปธรรม สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา กันยายน 2564 แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) (1) จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ

สำรบญั คำนำ หน้า สารบัญ (1) (2) ส่วนท่ี 1 บทนำ 2 - หลกั การและเหตผุ ล 2 - วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดทำ SDG4 Roadmap 5 - ขนั้ ตอนการดำเนินการจัดทำแผนทนี่ ำทาง (SDG4 Roadmap) 5 - สาระสำคัญของแผนที่นำทางการขับเคล่อื นเป้าหมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื 6 ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) - ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ การขับเคลอื่ นสู่การปฏิบตั ิ 7 ส่วนที่ 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 9 กบั การพัฒนาประเทศไทย - วาระการพัฒนาทย่ี ั่งยนื : เป้าหมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื (Sustainable 10 Development Goals: SDGs) - เปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืนของประเทศไทย : ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) 46 - ความเช่ือมโยงจากเปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่ังยนื (SDGs) สู่เป้าหมายการพัฒนา 55 ประเทศไทย - ความกา้ วหน้าของการดำเนินงานตามเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื 56 ส่วนที่ 3 ความสำคัญของเป้าหมายการพัฒนาท่ียัง่ ยืน 62 - ความสำคญั ของการศึกษากับการพฒั นาประเทศ 62 - ความสอดคลอ้ งระหว่างเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื (เป้าหมายท่ี 4) กับเป้าหมาย 66 การพัฒนาประเทศ - ความกา้ วหน้าการดำเนินงานขบั เคลือ่ นเปา้ หมายที่ 4 108 - ประเดน็ ทา้ ทายและข้อเสนอแนะ 115 - ข้อมลู คุณภาพด้านการศกึ ษาจงั หวัดฉะเชิงเทรา 118 แผนทน่ี ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) (2) จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

สำรบญั (ตอ่ ) ส่วนที่ 4 สาระสำคัญของแผนท่นี ำทาง หนา้ - กจิ กรรมและข้นั ตอนการดำเนินงาน - สาระสำคัญของแผนทีน่ ำทาง ฯ 130 133 สว่ นที่ 5 การขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เปา้ หมายหลักที่ 4 สู่การปฏบิ ตั ิ 133 และการติดตามประเมินผล - กรอบแนวทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน (SDGs) 168 - กรอบแนวทางการขับเคล่อื นเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน เป้าหมายหลกั ท่ี 4 (SDG4) 169 - แนวทางการบรหิ ารสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 180 - ข้อมลู รายชอ่ื หนว่ ยงานและผู้ประสานงานหลัก 195 ภาคผนวก 196 - อภธิ านศัพท์ - คำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดฉะเชิงเทรา ท่ี 375 / 2564 198 เรื่อง แตง่ ต้งั คณะทำงานจัดทำแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนา 199 ท่ียัง่ ยืนดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) จังหวดั ฉะเชิงเทรา 201 - คณะผ้จู ดั ทำ 203 แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอ่ื นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำทยี่ งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) (3) จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ

SDG4 Roadmap สว่ นท่ี 1 บทนำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ สว่ นท่ี 1 บทนำ แผนทน่ี ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) “เปำ้ หมำยที่ 4 สรำ้ งหลกั ประกนั วำ่ ทกุ คนมกี ำรศึกษำทมี่ คี ณุ ภำพอยำ่ งครอบคลมุ และเทำ่ เทยี ม และสนบั สนนุ โอกำสในกำรเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ” 1. หลักกำรและเหตุผล การจัดทำแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (SDG4) ฉบับน้ี มีเหตุผลความจำเป็นเนื่องมาจาก คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยนื (กพย.) ซง่ึ มอี ำนาจหน้าท่ีในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การ พัฒนาท่ยี ่ังยนื ของประเทศ ให้ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดล้อมอยา่ งสมดลุ และบรู ณาการ รวมทั้งเป็นไปตามข้อตกลงหรือความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน กับ ดแู ล ใหข้ อ้ เสนอแนะในการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องทั้งภาครฐั และเอกชน เพอ่ื ให้เป็นไปตาม นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนที่กำหนดไว้ ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2562 โดย กพย. ได้ให้ความเห็นชอบแผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap) เพือ่ ใชเ้ ป็นแผนสำหรับการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยืนของประเทศไทย และให้ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 4 คณะ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ขับเคล่ือนเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ่ังยนื ไปสู่การปฏิบัตใิ หบ้ รรลุเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ และต่อมา กพย. ได้ มมี ติเหน็ ชอบการกำหนดหน่วยงานรับผดิ ชอบและประสานงานหลักการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาท่ี ยั่งยืน จำนวนทั้งสิ้น 17 เป้าหมายหลัก เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2563 โดยกระทรวงศึกษาธิการได้รับ มอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน “เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและ สนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ซึ่งภายใต้เป้าหมายนี้มีเป้าหมายย่อย 10 เป้าหมาย กระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบเป้าหมายย่อย 8 เป้าหมาย กระทรวงการ ต่างประเทศ 1 เป้าหมาย และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 1 เป้าหมาย ดงั น้ี แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอ่ื นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 2 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ เปา้ หมายย่อย หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบ 4.1 สร้างหลกั ป ระกนั ว่าเด็กชายและเด็กหญิงทกุ คนสำเร็จการศกึ ษาระดับ ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาทมี่ ีคุณภาพ เทา่ เทยี ม และไม่มีคา่ ใชจ้ ่าย นำไปสผู่ ลลัพธ์ ศธ. ทางการเรยี นทม่ี ปี ระสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573 ศธ. 4.2 สรา้ งหลักประกนั ว่าเด็กชายและเดก็ หญงิ ทุกคนเข้าถงึ การพัฒนา การดูแล และการจดั การศึกษาระดบั ก่อนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยทม่ี ีคณุ ภาพ อว. เพื่อให้เด็กเหลา่ น้ันมีความพร้อมสำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573 ศธ. 4.3 สรา้ งหลักประกนั ใหช้ ายและหญิงทุกคนเข้าถงึ การศึกษา อาชวี ศกึ ษา อุดมศึกษา ศธ. รวมถึงมหาวิทยาลยั ที่มีคณุ ภาพ ในราคาทส่ี ามารถจา่ ยได้ ภายในปี พ.ศ. 2573 ศธ. 4.4 เพ่ิมจำนวนเยาวชนและผูใ้ หญ่ทีม่ ีทักษะท่ีเกีย่ วข้องจำเปน็ รวมถึงทักษะทางด้านเทคนิค ศธ. และอาชีพ สำหรบั การจา้ งงาน การมงี านที่มีคุณคา่ และการเปน็ ผู้ประกอบการ ภายในปี พ.ศ. 2573 ศธ. 4.5 ขจดั ความเหลี่อมล้ำทางเพศด้านการศึกษา และสรา้ งหลักประกันว่ากลุ่มท่ีเปราะบาง กต. ซึง่ รวมถึงผ้พู ิการ ชนพื้นเมืองและเดก็ เขา้ ถงึ การศึกษาและการฝกึ อาชีพทุกระดับ อยา่ งเทา่ เทียม ภายในปี พ.ศ. 2573 4.6 สรา้ งหลกั ประกันวา่ เยาวชนทุกคนและผใู้ หญ่ ท้ังชายและหญิงในสัดส่วนสูง สามารถอ่านออกเขยี นได้และคำนวณได้ภายในปี พ.ศ. 2573 4.7 สรา้ งหลักประกันว่าผู้เรยี นทกุ คนไดร้ บั ความรู้และทักษะท่จี ำเป็นสำหรับส่งเสรมิ การพัฒนาทยี่ ั่งยืน รวมไปถงึ การศึกษาสำหรับการพัฒนาทยี่ ่ังยืนและการมีวิถชี ีวติ ทย่ี ั่งยืน สิทธมิ นุษยชน ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ การส่งเสริมวฒั นธรรมแห่งความสงบสุขและการ ไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมอื งของโลก และความชน่ื ชมในความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและการที่วฒั นธรรมมสี ่วนชว่ ยให้เกิดการพัฒนาทย่ี ั่งยนื ภายในปี พ.ศ. 2573 4.a สร้างและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเคร่ืองมือและอุปกรณก์ ารศึกษาท่ีอ่อนไหว ตอ่ เดก็ ผู้พกิ าร และเพศภาวะ และใหม้ ีสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรูท้ ป่ี ลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมปี ระสิทธิผลสำหรับทกุ คน 4.b เพิ่มจำนวนทุนการศึกษาท่วั โลกทใ่ี ห้แก่ประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศ พฒั นาน้อยที่สดุ รฐั กำลังพฒั นาท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็กและประเทศในทวีปแอฟริกา เพอื่ เขา้ ศึกษาต่อในระดับอดุ มศกึ ษา รวมถึงการฝึกอาชีพ และโปรแกรมดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค วศิ วกรรม และวิทยาศาสตร์ ในประเทศพัฒนา แลว้ และประเทศกำลังพฒั นาอน่ื ๆ ภายในปี พ.ศ. 2573 แผนทนี่ ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 3 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ เปา้ หมายย่อย หนว่ ยงาน รบั ผิดชอบ 4.c เพม่ิ จำนวนครทู ี่มีคณุ วุฒิ รวมถงึ การดำเนนิ การผา่ นความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ ในการฝึกอบรมครูในประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยทสี่ ุด ศธ. และรฐั กำลังพฒั นาท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็ก ภายในปี พ.ศ. 2573 สำหรับแนวทางในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำ หรับ ประเทศไทยไปสู่การปฏิบัติ ในระยะ 10 ปีข้างหน้า กพย. กำหนดให้หน่วยงานรับผิดชอบและ ประสานงานหลักดำเนินการจัดทำแผนการขับเคลื่อนระดับเป้าหมายหลัก (SDG Roadmap) และ กำหนดเป้าหมายหรือหมุดหมาย (Milestone) ระดบั เปา้ หมายย่อย (Targets) รวมท้งั ให้กำหนดตัวช้ีวัด ทเ่ี หมาะสม โดยพิจารณาจากตัวชวี้ ดั ทส่ี หประชาชาติกำหนด (global SDGs indicators) เป็นหลกั ทั้งน้ี ใน การดำเนินการขอให้คำนึงถึงความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนทเ่ี กยี่ วข้อง เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของการพัฒนาประเทศดว้ ย กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการในฐานะเป็นหน่วยงาน รับผิดชอบและประสานงานหลักการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เป้าหมายที่ 4 จึงได้กำหนด แนวทางการดำเนินงานเพ่ือการขับเคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืน เป้าหมายที่ 4 ให้บรรลุเปา้ หมาย และมคี วามสอดคล้องกับแนวทางการดำเนนิ งานที่ กพย. กำหนด ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อทำ หน้าที่กำหนดกรอบแนวทางและเป้าหมายการดำเนินงานในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านการศกึ ษา รวมถึงพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบแผนทน่ี ำทาง (Roadmap) การขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) และกำกับ ติดตาม รายงานผลการดำเนินงาน และ แก้ไขปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน เพอื่ ใหก้ ารดำเนินงานบรรลุเป้าหมายการขบั เคลื่อนเปา้ หมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาในภาพรวม โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นที่ปรึกษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ผู้บริหารหน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนกระทรวง/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ โดยมี ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้อำนวยการสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรรมการและ เลขานกุ ารรว่ ม 2. แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย ตัวช้ีวัด และแนวทางการดำเนินงาน ภายใต้ (ร่าง) แผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา และจัดทำ (ร่าง) แผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เสนอต่อ คณะกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นขอบ รวมท้ัง กำหนดแนวทางการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศึกษา โดยมี นางสาวดุริยา อมตวิวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวง แผนทนี่ ำทำงกำรขับเคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 4 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ ศกึ ษาธิการ เปน็ ประธาน มผี ูแ้ ทนหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องเป็นคณะทำงาน และมผี ู้อำนวยการสำนักนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ คณะทำงานและเลขานุการ 3. แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนแผนที่นำทางเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศึกษา (SDG4 Roadmap) ระดับภาคและระดับจังหวัด เพื่อทำหน้าที่กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วดั และ แนวทางการดำเนินงานในระดับพื้นที่ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง และขับเคลื่อนแผนที่นำทาง SDG4 Roadmap ภาพรวมไปสกู่ ารปฏิบตั ใิ นระดับพ้นื ท่ภี าคและจงั หวัด 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรจัดทำ SDG4 Roadmap 2.1 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางและเป้าหมายของการดำเนินงานในการขับเคลื่อน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (SDG4) ไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง ชดั เจน เปน็ รปู ธรรม 2.2 เพือ่ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการตดิ ตาม ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงานในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้าง หลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการ เรียนรูต้ ลอดชวี ิต (SDG4) สู่การปฏบิ ัติ 2.3 เพื่อให้การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหน่วยงานรับผดิ ชอบและ ประสานงานหลักเป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยนื เป้าหมายที่ 4 สร้างหลกั ประกันวา่ ทุกคนมีการศึกษาที่มี คุณภาพ ครอบคลมุ และเท่าเทียม และสนบั สนุนโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต (SDG4) เป็นไปตามแนว ทางการดำเนินงานที่ กพย. กำหนด 3. ขน้ั ตอนกำรดำเนินกำรจดั ทำแผนท่ีนำทำง (SDG4 Roadmap) ในการดำเนนิ งานเพอื่ จดั ทำแผนท่นี ำทางเพ่ือการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่า ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเท่าเทียม และ สนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (SDG4) กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ ารได้กำหนดข้นั ตอนการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลจากการประชุม สัมมนา ผลงานวิจัย หรือบทความท่ี เกี่ยวข้องจากเอกสารสิ่งพิมพ์ เอกสาร/ตำราที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งข้อมูลเผยแพร่ผ่านบน เว็บไซต์ต่าง ๆ 3.2 สังเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญและจำเป็นนำมาใช้เป็นกรอบสำหรับ การจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (เปา้ หมายท่ี 4) 3.3 จัดประชุมคณะทำงานฯ ยกร่างแผนทนี่ ำทางฯ (SDG4 Roadmap) 3.4 จัดประชุมคณะกรรมการฯ พิจารณา (รา่ ง) แผนทน่ี ำทางฯ (SDG4 Roadmap) แผนทน่ี ำทำงกำรขบั เคลอ่ื นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำทย่ี งั่ ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 5 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ 3.5 นำเสนอผู้บรหิ ารกระทรวงศกึ ษาธิการพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ 3.6 จัดส่งแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (SDG4 Roadmap) ฉบับสมบูรณ์ ให้สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ใน ฐานะฝา่ ยเลขานกุ าร กพย. เพอื่ นำเสนอ กพย. ต่อไป 4. สำระสำคัญของแผนทีน่ ำทำงกำรขบั เคลอื่ นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยืน ด้ำนกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) ในการจัดทำเอกสาร SDG4 Roadmap ฉบับนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมมือกับ กระทรวง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดทำ SDG4 Roadmap ขึ้น โดยยึดองค์ประกอบของ แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap) ตามที่ กพย. เห็นชอบ นำมาใช้เป็นกรอบหรือองค์ประกอบหลักของ SDG4 Roadmap ทั้งนี้ กระทรวงศกึ ษาธิการพจิ ารณาแลว้ เห็นว่า เพ่อื ใหก้ ารสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับ SDG4 Roadmap กับหน่วยงานหรือทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องหรือภาคีเครือข่ายการพัฒนาได้ง่ายขึ้น จึงได้ปรับการกำหนด องค์ประกอบหรือเนื้อหาสาระ SDG4 Roadmap ใหม่ โดยแบ่งเนื้อหาสาระออกเป็น 5 ส่วน (ยึดตาม องค์ประกอบท่ี กพย. กำหนด เรียงลำดับใหม่) ดงั น้ี ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืน (SDGs) กับการพฒั นาประเทศไทย สว่ นที่ 3 ความสำคัญของเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน (เปา้ หมายท่ี 4) ต่อประเทศไทย • ความสำคญั ของเป้าหมายที่ 4 ต่อประเทศไทย • ความเชื่อมโยงของเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน (SDGs) กับเป้าหมาย ย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ สว่ นที่ 4 สาระสำคัญของแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศกึ ษา (SDG4 Roadmap) • ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศกึ ษา เป้าหมายที่ 4 • การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การกำหนด แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อขับเคลื่อน) สว่ นท่ี 5 การขับเคล่ือน SDG4 Roadmap สู่การปฏบิ ตั ิ และการติดตามประเมินผลและ รายงาน • กรอบแนวทางการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs)การ สรา้ งการตระหนกั รู้ • กลไกการขบั เคลือ่ นเปา้ หมายที่ 4 • ภาคีการพัฒนา แผนทน่ี ำทำงกำรขบั เคลอ่ื นเป้ำหมำยกำรพัฒนำทย่ี ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 6 จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ

สว่ นท่ี 1 บทนำ • การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน การศึกษา 5. ปัจจัยแหง่ ควำมสำเร็จกำรขับเคลอื่ นสูก่ ำรปฏบิ ตั ิ 5.1 ผู้บริหารและบุคลากรต้องมีความรู้ เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ ควรประชุมชี้แจง สร้าง ความรู้ความเข้าใจกับผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ให้รับรู้ และมีความเข้าใจ รวมท้ัง กำหนดให้การขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของกระทรวงหรือ หน่วยงาน เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการดำเนินงานขับเคลื่อน SDG4 Roadmap ไปสูก่ ารปฏิบัติ 5.2 ทุกภาคสว่ นท่ีเกย่ี วข้องต้องรบั รู้ เขา้ ใจ และเขา้ มามสี ่วนร่วมดำเนนิ การ ควรพฒั นา รูปแบบและวิธีการประชาสัมพันธ์ สร้างความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืนภาพรวม และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายหลักที่ 4 กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ภาค วิชาการ รวมถึงองค์กรทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อให้เห็นความสำคัญ และเข้ามามีส่วนร่วมในการ ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง กับการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศให้มีความยั่งยืน โดยใช้ รูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เข้าใจง่าย และเข้าถึงได้ง่าย ทั้งในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ์ สื่อ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอ่ื ดจิ ทิ ัล รวมถึงการเผยแพร่ผา่ นทาง website ของกระทรวง และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง 5.3 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานหรือกำหนดผู้รับผิดชอบชัดเจน ตั้งแต่ ระดับประเทศ ไปจนถึงชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และต้องเปน็ ผูท้ ่ีมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับเปา้ หมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนถูกต้องด้วย ควรแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ในระดับพื้นที่ ท้ัง ในระดับภาค หรือกลุ่มจังหวัด (สำนักงานศึกษาธิการภาค) และระดับจังหวัด (สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัด) ซึ่งเป็นหน่วยงานปฏิบัติที่มีการดำเนินงานขับเคลื่อนการพัฒนาที่แท้จริง โดยกำหนดให้มี คณะกรรมการที่ประกอบด้วยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมกัน รับผิดชอบกำหนดแนวทางการ ดำเนินงานในระดับพื้นที่ภาคและจังหวัด โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับแผนที่นำทาง SDG4 Roadmap และ Thailand’s SDGs Roadmap ตามลำดับ 5.4 มฐี านข้อมูล หรือระบบฐานข้อมูลสำหรับการจัดเก็บ รวบรวมข้อมลู ผลการดำเนินงาน ตามแผนที่นำทาง SDG4 Roadmap เพื่อใช้สำหรับการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการ ดำเนินงานเป็นรายปี เพื่อรายงานผลการดำเนินงานต่อ กพย. และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพิจารณาปรับปรุง ทบทวนแนวทางการดำเนินงานหรือ เปา้ หมายของแผนท่ีนำทาง SDG4 Roadmap ให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณใ์ นแต่ละปีควบคู่ไปดว้ ย แผนทน่ี ำทำงกำรขับเคลอื่ นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยนื ดำ้ นกำรศึกษำ (SDG4 Roadmap) 7 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ

SDG4 Roadmap สว่ นที่ 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) กับการพัฒนาประเทศไทย

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) กบั การพัฒนาประเทศไทย “เปา้ หมายที่ 4 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ ทกุ คนมกี ารศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งครอบคลมุ และเทา่ เทยี ม และสนบั สนนุ โอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ” การพัฒนาเพื่อให้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) หรือเป้าหมายการพัฒนาของโลก “The Global Goals” นั้น เป็นความพยายามที่จะขจัดความ ยากจน ความไม่เท่าเทียม และสิ่งที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ ในขณะที่จะไม่ทิ้งให้มี ผู้ใดอยู่ข้างหลังส่วนเป้าหมายการพัฒนาประเทศไทยภายใต้วิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติ คือ “ประเทศ ไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดำรงอยู่อย่างมั่นคง และยั่งยืนของสถาบันหลักของชาติและ ประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็นปึกแผ่น มีความมั่นคงทาง สังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความ เป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความย่งั ยนื ของฐานทรัพยากรธรรมชาติส่งิ แวดล้อม ความม่ันคง ทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของ สภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติประสานสอดคล้องกันด้านความมัน่ คงใน ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ดังนั้น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) กับเป้าหมายการพัฒนาประเทศไทยตามยุทธศาสตร์ชาติจึงมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน เพียงแต่จุดเน้นและเป้าหมายของการพัฒนาประเทศไทย ถูกกำหนดข้ึนภายใต้บริบท สภาวะแวดล้อม สภาพปัญหาและความพร้อมท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศไทย แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 9 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื 1. วาระการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื : เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนา ของโลก โดยการตั้งเป้าหมายการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ของโลก เริ่มจากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) มีระยะเวลา 15 ปี (พ.ศ. 2543-2558) ตั้งเป้าหมายของ การพัฒนาไว้ 8 เป้าหมาย ประกอบด้วย 1) ขจดั ความยากจนและความหวิ โหย 2) ให้เด็กทุกคนได้รับการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา 3) สง่ เสริมความเท่าเทียมกันทางเพศและบทบาทสตรี 4) ลดอตั ราการตายของเด็ก 5) พฒั นาสขุ ภาพสตรีตั้งครรภ์ 6) ต่อสูก้ ับโรคเอดส์ มาลาเรีย และโรคสำคญั อน่ื ๆ 7) รกั ษาและจัดการส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื 8) สง่ เสริมการเป็นหุ้นส่วนเพ่อื การพัฒนาในประชาคมโลก ผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษที่ผ่านมา มีทั้งในส่วนท่ี ประสบผลสำเร็จและไม่ประสบผลสำเร็จ หลังจากสิ้นสุดเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ สหประชาชาติได้ริเริ่มดำเนินการหารือเกี่ยวกับการพัฒนาของโลกให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน ภายใต้ ชือ่ เป้าหมายเพื่อการพัฒนาทีย่ ่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยเพ่ิมเปา้ หมายจาก 8 เป้าหมาย เป็น 17 เป้าหมายหลัก (Goals) โดยในแต่ละเป้าหมายจะกำหนดเป้าหมายย่อย เรียกว่า เป้าประสงค์ (Targets) และในแตล่ ะเป้าประสงค์ จะกำหนด ตวั ชว้ี ัด (Indicators) เพื่อใช้ใน การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในแต่ละเป้าหมาย ทั้งนี้ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมายหลัก ประกอบด้วย 1) ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกท่ี 2) ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริม เกษตรกรรมทย่ี ง่ั ยืน 3) สร้างหลักประกนั การมสี ุขภาวะท่ีดี และสง่ เสริมความเปน็ อยู่ที่ดสี ำหรับทุกคนในทุก ชว่ งวยั 4) สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนนุ โอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 5) บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพ่มิ บทบาทของสตรแี ละเด็กหญิงทกุ คน 6) สร้างหลักประกันเรื่องน้ำและการสุขาภิบาล ให้มีการจัดการอย่างยั่งยืนและมีสภาพ พรอ้ มใช้สำหรับทุกคน 7) สรา้ งหลกั ประกันวา่ ทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหมใ่ นราคาที่สามารถซือ้ หาได้ เช่ือถือ ได้ และยั่งยนื แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 10 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื 8) ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงาน เต็มท่ี และมีผลิตภาพ และการมงี านทมี่ คี ุณค่าสำหรบั ทุกคน 9) สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการพัฒนา อตุ สาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยนื และส่งเสริมนวัตกรรม 10) ลดความไมเ่ สมอภาคภายในและระหวา่ งประเทศ 11) ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุ่นต่อ การเปลี่ยนแปลงและยงั่ ยืน 12) สรา้ งหลกั ประกันให้มแี บบแผนการผลติ และการบริโภคทยี่ งั่ ยืน 13) ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ ผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ 14) อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอยา่ งยั่งยนื เพือ่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน 15) ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้ที่ ยั่งยืน ต่อสู้การกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้นสภาพกลับมาใหม่ และ หยุดการสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ 16) ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความ ยุติธรรมและสรา้ งสถาบนั ทมี่ ีประสิทธิผล รบั ผิดชอบ และครอบคลุมในทกุ ระดับ 17) เสริมความแข็งแกร่งให้แก่กลไกการดำเนินงานและฟื้นฟูหุ้นส่วนความร่วมมือ ระดบั โลกเพอื่ การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 11 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วดั (Global SDG indicators) เป้าหมายท่ี 1 ยุตคิ วามยากจนทกุ รปู แบบในทุกท่ี (No poverty) 1.1 ภายในปี พ.ศ. 2573 ขจัดความยากจนข้ันรุนแรง 1.1.1 สัดส่วนของประชากรท่ีมรี ายได้ตำ่ กว่าเสน้ ความ ของประชาชนในทกุ พ้นื ที่ให้หมดไป ซ่งึ ปัจจุบันความ ยากจนสากลจำแนกตาม เพศ อายุ สถานะการจา้ ง ยากจนวดั จากคนทีม่ ีค่าใชจ้ า่ ยดำรงชพี รายวันต่ำกว่า งาน และ ทตี่ ัง้ ทางภมู ิศาสตร์ (ชุมชนเมอื ง/ชนบท) $1.90 ตอ่ วัน 1.2 ภายในปี พ.ศ. 2573 ลดสดั สว่ น ชาย หญิง และ 1.2.1 สัดสว่ นของประชากรท่ีอยตู่ ่ำกว่าเส้นความ เดก็ ในทุกช่วงวัย ทอ่ี ยู่ภายใต้ความยากจนในทุกมิติ ยากจนของประเทศ จำแนกตามเพศ และอายุ ตามนิยามของแต่ละประเทศ ให้ลดลงอย่างน้อย 1.2.2 สดั ส่วนของผู้ชาย ผู้หญงิ และเด็กในทุกชว่ งวยั ครง่ึ หนง่ึ ทีย่ ากจนในทุกมิติ ตามนยิ ามของแต่ละประเทศ 1.3 ดำเนินการให้ทุกคนมรี ะบบและมาตรการการ 1.3.1 สัดส่วนของประชากรที่ไดร้ ับความค้มุ ครองตาม คุ้มครองทางสงั คมระดบั ประเทศที่เหมาะสม ซ่ึงรวมถงึ ระบบและมาตรการการคุ้มครองทางสังคม จำแนก ฐานการคมุ้ ครองทางสงั คม (floors) โดยใหค้ รอบคลมุ ตามเพศ และแบง่ เปน็ เด็ก ผู้วา่ งงาน ผู้สูงอายุ ผูพ้ กิ าร กล่มุ ประชากรยากจน และกลุ่มเปราะบางใหม้ ากพอ หญิงตัง้ ครรภ์ เด็กเกดิ ใหม่ ผูท้ ี่ได้รับบาดเจ็บจากการ ภายในปี พ.ศ. 2573 ทำงาน ผ้ทู ่ียากจนและเปราะบาง 1.4 ภายในปี พ.ศ. 2573 สรา้ งหลักประกนั ว่าชาย 1.4.1 สดั ส่วนของประชากรอาศัยในครัวเรอื น และหญิงทุกคน โดยเฉพาะผู้ท่ยี ากจนและเปราะบาง ทเ่ี ขา้ ถึงบริการข้นั พ้นื ฐาน มีสิทธิเทา่ เทยี มกันในทรัพยากรทางเศรษฐกิจ รวมถงึ 1.4.2 สัดสว่ นของประชากรผู้ใหญ่ทม่ี สี ิทธคิ รอบครอง การเขา้ ถงึ บรกิ ารข้นั พื้นฐาน การเปน็ เจา้ ของและมี ที่ดนิ อยา่ งมนั่ คง โดย (ก) มเี อกสารสทิ ธิใ์ นทด่ี ิน สิทธใิ นทด่ี นิ และทรพั ยส์ ินในรูปแบบอ่นื มรดก ตามกฎหมาย และ (ข) ทราบวา่ สทิ ธคิ รอบครองทดี่ นิ ทรพั ยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีใหมท่ ่ีเหมาะสม ของตนมคี วามม่นั คง จำแนกตามเพศ และประเภท และบริการทางการเงิน ซ่งึ รวมถงึ ระบบการเงินระดับ การถือครอง ฐานราก (microfinance) 1.5 ภายในปี พ.ศ. 2573 สรา้ งภูมติ ้านทานให้กับ 1.5.1 จำนวนผู้เสียชวี ิต สญู หาย และผูท้ ไ่ี ด้รบั ผู้ทีย่ ากจนและอยใู่ นสถานการณ์เปราะบาง รวมทง้ั ลด ผลกระทบโดยตรงจากภัยพิบัตติ ่อประชากร 100,000 ความเสย่ี งและความลอ่ แหลมตอ่ ภาวะสภาพอากาศ คน (ภัยพิบัติ รวมถึง อุทกภัย อัคคภี ัย วาตภัย และภยั ผันผวนรนุ แรง การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรนุ แรง แล้ง) ทางเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม และภยั พิบัติ 1.5.2 การสญู เสยี ทางเศรษฐกิจอันเนอ่ื งมาจาก ภยั พบิ ตั โิ ดยตรง ต่อ GDP โลก 1.5.3 จำนวนประเทศที่มแี ละดำเนนิ การ ตามยทุ ธศาสตร์การลดความเสย่ี งจากภัยพบิ ตั ิ ระดบั ประเทศท่ีสอดคล้องกบั กรอบการดำเนินงาน เซนไดเพือ่ การลดความเสี่ยงจากภัยพบิ ัติ พ.ศ. 2558 – 2573 แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 12 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) 1.a สรา้ งหลกั ประกนั วา่ จะมกี ารระดมทรัพยากร 1.5.4 สดั ส่วนขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นทีม่ ีและ อยา่ งมนี ัยสำคญั จากแหลง่ ที่หลากหลาย รวมไปถงึ การ ดำเนินการตามยุทธศาสตร์การลดความเสยี่ งจากภัย ยกระดบั ความร่วมมือเพ่ือการพัฒนา เพ่ือใหป้ ระเทศ พบิ ตั ิระดับทอ้ งถ่นิ ทีส่ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ กำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศพฒั นาน้อย ระดับประเทศ ท่สี ดุ มีวธิ กี ารท่ีเพียงพอและคาดการณ์ได้ในการ ดำเนนิ งานตามแผนงานและนโยบายเพอ่ื ยตุ ิความ 1.a.1 สดั สว่ นของเงินสนบั สนุนให้เปลา่ (ODA grants) ยากจนในทุกมิติ เพอื่ มงุ่ ลดความยากจน จากผู้ใหก้ ารสนบั สนนุ ทงั้ หมด ต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNI) ของประเทศผูร้ ับ 1.b สร้างกรอบนโยบายท่ีเหมาะสมในระดบั ประเทศ (เปลยี่ นตัวชวี้ ดั ) ระดบั ภูมิภาค และระดับนานาชาติ บนฐาน 1.a.2 สดั ส่วนการใช้จ่ายรวมของรัฐบาลในบรกิ าร ของยุทธศาสตร์การพัฒนาทเี่ อ้อื ประโยชนแ์ กค่ นจน ท่ีสำคัญจำเปน็ (การศึกษา สุขภาพ และการคุ้มครอง (pro-poor) และคำนึงถงึ ความละเอียดอ่อนเชิงเพศ ทางสังคม) ภาวะ (gender-sensitive) เพอ่ื ส่งเสริมให้มีการเรง่ การลงทุนเพื่อปฏบิ ตั ิการขจดั ความยากจน 1.b.1 รายจา่ ยสาธารณะทางสังคมทีเ่ อื้อประโยชน์ แก่คนจน เปา้ หมายที่ 2 ยตุ คิ วามหวิ โหย บรรลุความมัน่ คงทางอาหารและยกระดบั โภชนาการ และสง่ เสริม เกษตรกรรมที่ย่ังยืน (Zero hunger) 2.1 ยุติความหวิ โหยและสรา้ งหลักประกันใหท้ กุ คน 2.1.1 ความชุกของภาวะขาดสารอาหาร (รอ้ ยละ) โดยเฉพาะคนทีย่ ากจนและอยใู่ นภาวะเปราะบาง (Prevalence of undernourishment) อนั รวมถงึ ทารก ได้เขา้ ถึงอาหารทป่ี ลอดภัย มี 2.1.2 ความชุกของความไมม่ ั่นคงทางอาหาร โภชนาการ และเพียงพอตลอดทงั้ ปี ภายในปี พ.ศ. ของประชากรในระดบั ปานกลางหรือรนุ แรง โดยใช้ 2573 Food Insecurity Experience Scale (FIES) 2.2 ยตุ ภิ าวะทพุ โภชนาการทุกรปู แบบและแก้ไข 2.2.1 ความชกุ ของภาวะเต้ียในเด็กอายุตำ่ กว่า 5 ปี ปญั หาความต้องการสารอาหารของหญิงวยั รนุ่ หญงิ (ประเมนิ สว่ นสูงตามเกณฑอ์ ายุ ทมี่ ีส่วนสงู หา่ งจาก ต้ังครรภแ์ ละใหน้ มบุตร และผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ. ค่ามัธยฐานตามมาตรฐานการเจรญิ เติบโตของเดก็ ของ 2573 รวมถึงบรรลเุ ปา้ หมายท่ตี กลงร่วมกันระหว่าง องค์กรอนามยั โลก (WHO) ในชว่ งน้อยกวา่ -2 SD) ประเทศวา่ ดว้ ยภาวะเตีย้ (stunting) และแคระแกร็น 2.2.2 ความชกุ ของภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ (wasting) ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ภายในปี พ.ศ. ตำ่ กวา่ 5 ปี จำแนกตาม (ก) ภาวะผอม (wasting) (ข) 2568 ภาวะน้ำหนักเกิน (overweight) (ประเมินนำ้ หนักตาม เกณฑส์ ่วนสูง ทม่ี นี ้ำหนกั เม่ือเทยี บกับความสงู ห่างจาก คา่ มธั ยฐานตามมาตรฐาน แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 13 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวดั (Global SDG indicators) การเจริญเตบิ โตของเด็กของ WHO ในชว่ งมากกวา่ +2 2.3 เพ่มิ ผลติ ภาพทางการเกษตรและรายได้ของผ้ผู ลิต SD หรอื ต่ำกว่า -2 SD) อาหารรายเลก็ โดยเฉพาะผู้หญิง คนพน้ื เมือง 2.2.3 ความชุกของภาวะโลหิตจาง (anemia) ครวั เรอื นเกษตรกร เกษตรกรผ้เู ลยี้ งสตั ว์ และ ในหญิง อายุระหว่าง 15 – 49 ปี จำแนกตามภาวะ ชาวประมงให้เพิ่มข้ึนเปน็ 2 เทา่ โดยรวมถึงการเข้าถงึ ตัง้ ครรภ์ (เพมิ่ ตวั ช้วี ดั ) ท่ดี นิ ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต ความรู้ บริการ 2.3.1 มูลคา่ การผลิตต่อหนว่ ยแรงงาน จำแนกตาม ทางการเงิน ตลาด และโอกาสสำหรบั การเพิม่ มลู คา่ ขนาดกิจการของการทำฟาร์ม/เล้ียงสัตว์/การป่าไม้ และการจา้ งงานนอกฟาร์ม อย่างมัน่ คงและเท่าเทียม 2.3.2 รายไดเ้ ฉลย่ี ของเกษตรกรผผู้ ลติ อาหาร ภายในปี พ.ศ. 2573 รายย่อย จำแนกตามเพศ และสถานะพืน้ เมือง 2.4 สร้างหลักประกันวา่ จะมรี ะบบการผลติ อาหาร (เพ่ือแยกชนพ้ืนเมือง หรอื ชนเผา่ ) ท่ียงั่ ยืนและดำเนินการตามแนวปฏิบตั ทิ างการเกษตร ทีม่ ีภูมคิ ุม้ กนั ท่ีจะเพ่ิมผลิตภาพและการผลติ ซงึ่ จะช่วย 2.4.1 รอ้ ยละของพ้ืนทเี่ กษตรทมี่ ีการทำการเกษตร รกั ษาระบบนิเวศ เสรมิ ขีดความสามารถในการปรับตวั อยา่ งมผี ลติ ภาพและยัง่ ยืน ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ภาวะอากาศ รนุ แรง ภยั แลง้ อุทกภยั และภัยพบิ ตั อิ นื่ ๆ และจะ 2.5.1 จำนวนแหล่งพนั ธุกรรมพชื และสตั วเ์ พื่ออาหาร ช่วยพฒั นาคณุ ภาพของดินและท่ดี ินอย่างต่อเนือ่ ง และการเกษตรที่เกบ็ รักษาในสถานที่สำหรบั อนุรักษท์ ั้ง ภายในปี พ.ศ. 2573 ในระยะกลางและระยะยาว 2.5 คงความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของเมลด็ พันธุ์ 2.5.2 สัดสว่ นพนั ธ์ุสตั วท์ ้องถิ่น ที่จดั อย่ใู นระดบั พืชทใี่ ชเ้ พาะปลูก สัตว์ในไร่นาและทเ่ี ลยี้ งตาม ความเสยี่ งท่จี ะสูญพันธ์ุ บ้านเรือน และชนดิ พันธตุ์ ามธรรมชาตทิ ่ีเกย่ี วข้องกบั พชื และสัตว์เหลา่ นน้ั รวมถงึ ให้มีธนาคารพชื และเมลด็ พนั ธุ์ทม่ี ีการจดั การท่ีดแี ละมีความหลากหลาย ทัง้ ใน ระดับประเทศ ระดบั ภมู ิภาค และระดบั นานาชาติ และสรา้ งหลกั ประกันวา่ จะมีการเขา้ ถงึ และแบ่งปัน ผลประโยชนอ์ นั เกดิ จากการใช้ทรพั ยากรทาง พันธกุ รรมและองคค์ วามรู้ท้องถิน่ ที่เกย่ี วขอ้ งอย่างเป็น ธรรมและเท่าเทียม ตามท่ีตกลงกันระหวา่ งประเทศ ภายในปี พ.ศ. 2563 แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 14 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวดั (Global SDG indicators) 2.a เพมิ่ การลงทุน ตลอดจนยกระดับความร่วมมือ 2.a.1 ดัชนี Agriculture Orientation (AOI) ของ ระหว่างประเทศในเร่ืองโครงสรา้ งพน้ื ฐานในชนบท รายจา่ ยของภาครัฐ (สัดส่วนของรายจา่ ยภาครัฐ การวิจัยและส่งเสริมการเกษตร การพฒั นาเทคโนโลยี ด้านการเกษตรต่อสดั ส่วนของ GDP ในภาค และการทำธนาคารเช้ือพนั ธ์ุ (gene bank) ของพืช การเกษตร) และสตั ว์ เพอ่ื ยกระดับขดี ความสามารถในการผลิต 2.a.2 กระแสความช่วยเหลอื รวม (ความชว่ ยเหลือเพ่ือ สนิ ค้าเกษตรในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่าง การพัฒนาอยา่ งเปน็ ทางการ (Official ย่งิ ในประเทศพฒั นาน้อยท่ีสดุ Development Assistance: ODA) และกระแสความ ช่วยเหลืออย่างเปน็ ทางการอ่ืน (Other Official Flows: OOF) ทใี่ หไ้ ปยงั ภาคการเกษตร 2.b แกไ้ ขและป้องกนั การกดี กันและการบิดเบือน 2.b.1 การอุดหนุนการสง่ ออกสินค้าเกษตร ทางการค้าในตลาดเกษตรโลก รวมถึงทางการขจดั การ อุดหนุนสินค้าเกษตรเพ่อื การสง่ ออกทกุ รูปแบบและ มาตรการเพ่อื การส่งออกทุกแบบท่ใี ห้ผลในลกั ษณะ เดียวกัน โดยใหเ้ ป็นไปตามอาณตั ิของรอบการพฒั นา โดฮา 2.c เลอื กใชม้ าตรการทส่ี รา้ งหลกั ประกันไดว้ า่ ตวั ชี้วดั ราคาอาหารท่ีผดิ ปกติ ตลาดโภคภณั ฑอ์ าหารและตลาดอนุพันธส์ ามารถ ทำงานได้อย่างเหมาะสม และอำนวยความสะดวกใน การเข้าถงึ ข้อมูลของตลาดและข้อมูลสำรองอาหารได้ อย่างทนั การณ์ เพ่อื จำกดั ความผนั ผวนของราคา อาหารทรี่ ุนแรง เป้าหมายท่ี 3 สร้างหลกั ประกนั การมสี ขุ ภาวะท่ดี ี และส่งเสรมิ ความเปน็ อยู่ที่ดีสำหรบั ทุกคนในทกุ ชว่ งวยั (Good health and well-being) 3.1 ลดอตั ราการตายของมารดาทัว่ โลกให้ต่ำกว่า 70 3.1.1 อตั ราการตายของมารดา (ตอ่ การเกดิ มชี ีพ คน ต่อการเกิดมชี ีพ 100,000 คน ภายในปี พ.ศ. 100,000 คน) 2573 3.1.2 สดั สว่ นของการคลอดบุตรท่ดี แู ลโดยบคุ ลากร ดา้ นสาธารณสขุ ทมี่ ีความชำนาญ 3.2 ยตุ ิการตายท่ีป้องกนั ได้ของทารกแรกเกิดและเดก็ 3.2.1 อัตราการตายของทารกอายตุ ่ำกวา่ 5 ปี อายุตำ่ กว่า 5 ปี โดยทุกประเทศมงุ่ ลดอตั ราการตาย (ตอ่ การเกิดมีชพี 1,000 คน) ในทารกลงให้ต่ำถึง 12 คน ต่อการเกิดมชี ีพ 1,000 คน 3.2.2 อตั ราตายของทารกแรกเกิด (ต่อการเกิดมีชพี และลดอัตราการตายในเด็กอายตุ ่ำกว่า 5 ปี ลงใหต้ ่ำ 1,000 คน) ถึง 25 คน ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ภายในปี พ.ศ. 2573 แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 15 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวดั (Global SDG indicators) 3.3 ยตุ กิ ารแพร่กระจายของเอดส์ วณั โรค มาลาเรยี 3.3.1 จำนวนผตู้ ิดเชือ้ HIV รายใหมต่ อ่ ประชากร และโรคเขตร้อนที่ถกู ละเลย และต่อสูก้ บั โรคตับอักเสบ ท่ไี ม่มกี ารติดเช้ือ 1,000 คน (จำแนกตาม เพศ อายุ โรคติดตอ่ ทางนำ้ และโรคติดตอ่ อ่นื ๆ ภายในปี และกลมุ่ ประชากรหลกั ) พ.ศ. 2573 3.3.2 อตั ราการเกิดโรควัณโรคต่อประชากร 100,000 คน 3.3.3 อตั ราการเกิดโรคมาลาเรียต่อประชากร 1,000 คน ต่อปี 3.3.4 จำนวนของผูต้ ิดเชือ้ ไวรสั ตับอกั เสบบี ตอ่ ประชากร 100,000 คน 3.3.5 จำนวนผู้ที่ต้องการความช่วยเหลอื ในการดูแล รักษาโรคเขตร้อนท่ีถูกละเลย (Neglected tropical diseases) 3.4 ลดการตายก่อนวยั อนั ควรจากโรคไมต่ ิดตอ่ ให้ 3.4.1 อตั ราการตายของผูท้ ี่เป็นโรคหวั ใจและหลอด ลดลงหน่งึ ในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรกั ษา เลอื ด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน หรอื โรคระบบทางเดิน โรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเปน็ อยทู่ ี่ดี หายใจเรื้อรงั ภายในปี พ.ศ. 2573 3.4.2 อัตราการฆ่าตัวตาย 3.5 เสริมสร้างการป้องกนั และการรักษาการใชส้ าร 3.5.1 ความครอบคลุมของการรักษา (การรกั ษา ในทางที่ผดิ ซง่ึ รวมถงึ การใช้ยาเสพติดในทางทีผ่ ิด โดยใช้ยา ทางจิตสังคมและการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ และ และการใชแ้ อลกอฮอล์ในทางที่เปน็ อันตราย บริการการติดตามผลการรักษา) สำหรบั ผู้ทใี่ ช้สารเสพ ตดิ 3.5.2 การด่มื แอลกอฮอล์ในระดับอนั ตราย นยิ ามตาม บริบทของประเทศ คิดเปน็ ปริมาณแอลกอฮอลต์ ่อหวั ประชากร (อายุต้งั แต่ 15 ปขี ึ้นไป) ในจำนวนลิตรของ แอลกอฮอลบ์ รสิ ุทธิ์ ภายในปีปฏทิ นิ 3.6 ลดจำนวนการตายและบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุจาก 3.6.1 อัตราผูเ้ สยี ชวี ติ จากการบาดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุ การจราจรทางถนนทวั่ โลกลงครึง่ หน่ึง ภายในปี พ.ศ. ทางถนน 2563 3.7 สร้างหลกั ประกนั ถ้วนหน้า ในการเขา้ ถึงบริการ 3.7.1 สัดส่วนของหญงิ วยั เจรญิ พนั ธุ์ (อายุ 15-49 ป)ี สุขภาวะทางเพศและอนามยั การเจริญพนั ธุ์ รวมถงึ ทีพ่ งึ พอใจกบั การวางแผนครอบครวั ด้วยวิธสี มัยใหม่ การวางแผนครอบครัว ข้อมูลข่าวสารและความรู้ 3.7.2 อัตราการคลอดในหญงิ อายุ (10-14 ปี, และการบูรณาการอนามัยการเจริญพันธ์ใุ นยุทธศาสตร์ 15-19 ปี) ต่อผู้หญิงอายุ (10-14 ปี 15-19 ปี) และแผนงานระดับชาติ ภายในปี พ.ศ. 2573 1,000 คน แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 16 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวัด (Global SDG indicators) 3.8 บรรลกุ ารมหี ลักประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ รวมถึง 3.8.1 ความครอบคลมุ ของบริการดา้ นสขุ ภาพ การป้องกนั ความเส่ยี งทางการเงิน การเขา้ ถงึ การ ท่จี ำเป็น (นยิ ามความครอบคลมุ ของบริการที่จำเป็น บริการสาธารณสขุ จำเปน็ ที่มีคุณภาพ และเขา้ ถงึ ยา เฉลี่ยโดยยดึ การติดตามการรักษา ซ่งึ ประกอบดว้ ย และวคั ซนี จำเป็นทปี่ ลอดภัย มีประสทิ ธิภาพ ภาวะเจรญิ พันธุ์ มารดา เดก็ เกิดใหม่และสุขภาพเดก็ มคี ุณภาพ และมีราคาท่ีสามารถซอื้ หาได้ โรคติดต่อ โรคไมต่ ดิ ต่อ และความสามารถในการ เข้าถึงบริการระหว่างคนท่วั ไปและผู้ด้อยโอกาส) 3.8.2 สดั สว่ นของประชากรท่ีมคี ่าใช้จา่ ยครัวเรือนด้าน สุขภาพตอ่ ค่าใชจ้ ่ายครวั เรือนหรอื รายได้ท้ังหมด อยใู่ นระดบั สงู 3.9 ลดจำนวนการตายและการเจ็บปว่ ยจากสารเคมี 3.9.1 อัตราการตายท่เี กิดจากมลพิษทางอากาศ อันตรายและจากมลพษิ และการปนเป้อื นทางอากาศ ในบ้านเรอื นและในบรรยากาศ นำ้ และดิน ให้ลดลงอย่างมาก ภายในปี พ.ศ. 2573 3.9.2 อตั ราการตายทีเ่ กิดจากน้ำ และการสขุ าภิบาล ทไ่ี ม่ปลอดภัย และปราศจากสขุ ลกั ษณะ (เผชญิ กบั บรกิ ารดา้ นนำ้ สขุ าภบิ าลและสขุ อนามัยทีไ่ ม่ปลอดภัย) 3.9.3 อตั ราการตายทเ่ี กดิ จากการได้รบั สารพิษ โดยไม่ตง้ั ใจ 3.a เพมิ่ ความเข้มแข็งในการดำเนนิ งานตามกรอบ 3.a.1 ความชุกทป่ี รับมาตรฐานอายุแลว้ (age- อนุสญั ญาขององค์การอนามยั โลกว่าด้วยการควบคุม standardized) ของการใชย้ าสบู /บหุ รีใ่ นปัจจบุ ันของ ยาสูบในทุกประเทศตามความเหมาะสม กลมุ่ ผู้สูบบุหรท่ี ่ีมีอายตุ ้งั แต่ 15 ปีขน้ึ ไป 3.b สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาวคั ซีนและยา 3.b.1 สัดสว่ นของประชากรท่ีเขา้ ถงึ ยาและวัคซีน สำหรับโรคตดิ ต่อและไม่ตดิ ต่อที่ส่งผลกระทบโดยตรง ในราคาทส่ี ามารถหาซ้ือได้ท่ีตั้งอยบู่ นพ้ืนฐานของความ ตอ่ ประเทศกำลงั พฒั นา ใหม้ กี ารเข้าถึงยาและวัคซีน ยั่งยืน จำเป็นในราคาที่สามารถซื้อหาไดต้ ามปฏญิ ญาโดฮาว่า 3.b.2 ยอดรวมสทุ ธิความช่วยเหลือด้านการพฒั นา ด้วยความตกลงทรัพย์สนิ ทางปัญญาท่เี ก่ียวขอ้ งกับ อยา่ งเป็นทางการ (ODA) ด้านการวิจยั ทางการแพทย์ การค้า (TRIPS) และการสาธารณสุข ซ่ึงเน้นย้ำสทิ ธิ และดา้ นสุขภาพพน้ื ฐาน สำหรับประเทศกำลงั พฒั นาท่ีจะใชบ้ ทบัญญตั ิในความ 3.b.3 สัดสว่ นของสถานพยาบาลที่มีชดุ ยาจำเปน็ ตกลง TRIPS อย่างเต็มท่ีในเรื่องการผ่อนปรนเพ่ือจะ (core set of relevant essential medicines) ปกปอ้ งสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเข้าถงึ ยา ในราคาท่ซี ื้อหาไดอ้ ย่างย่งั ยนื โดยถว้ นหน้า 3.c เพ่มิ การใช้เงนิ สนับสนุนดา้ นสขุ ภาพ และการสรร 3.c.1 ความหนาแนน่ และการกระจายตวั ของบุคลากร หา การพฒั นา การฝกึ ฝน และการเก็บรักษากำลงั คน ด้านสาธารณสุข ด้านสุขภาพในประเทศกำลังพฒั นา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ในประเทศพัฒนาน้อยทสี่ ดุ และรฐั กำลงั พัฒนาท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็ก แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 17 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วดั (Global SDG indicators) 3.d เสริมขดี ความสามารถของทุกประเทศ โดยเฉพาะ 3.d.1 ศกั ยภาพในการดำเนนิ การตามกฎอนามยั อย่างยิ่งประเทศกำลังพฒั นา ในดา้ นการแจง้ เตือน ระหวา่ งประเทศ (International Health ลว่ งหน้า การลดความเสย่ี ง และการบรหิ ารจัดการ Regulations) และการเตรียมความพร้อมสำหรบั ความเส่ยี งดา้ นสขุ ภาพท้ังในระดับประเทศและระดบั ภาวะฉุกเฉินดา้ นสุขอนามยั โลก 3.d.2 ลดสดั ส่วนการตดิ เช้อื ในกระแสเลือดเนื่องจาก เชอื้ ดอ้ื ยาต้านจุลชีพ เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพอยา่ งครอบคลุมและเทา่ เทยี มและสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Quality education) 4.1 สรา้ งหลักประกันว่าเด็กชายและเดก็ หญิงทุกคน 4.1.1 สดั สว่ นของเด็ก/เยาวชนใน (ก) ระดบั ชนั้ ป.2 สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่ หรอื ป.3 (ข) ป.6 และ (ค) ม.3 ที่มคี วามสามารถตาม มีคุณภาพ เทา่ เทยี ม และไม่มีคา่ ใชจ้ ่าย นำไปสู่ผลลพั ธ์ เกณฑ์ขน้ั ตำ่ เป็นอยา่ งน้อย ใน (1) ด้านการอา่ น และ ทางการเรยี นท่มี ีประสทิ ธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573 (2) ด้านคณติ ศาสตร์ หรือการคิดคำนวณ จำแนกตาม เพศ 4.1.2 อตั ราการสำเร็จการศึกษา (ระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย) 4.2 สร้างหลกั ประกันวา่ เด็กชายและเดก็ หญิงทุกคน 4.2.1 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกวา่ 5 ปี ท่ีมีพฒั นาการ เขา้ ถงึ การพัฒนา การดแู ล และการจดั การศึกษา ทางดา้ นสุขภาพ การเรยี นรู้ และพฒั นาการ ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา สำหรับเดก็ ปฐมวัยทมี่ ี ทางบุคลกิ ภาพตามวยั จำแนกตามเพศ คณุ ภาพ เพ่อื ใหเ้ ดก็ เหล่านน้ั มีความพร้อมสำหรบั 4.2.2 อตั ราการเข้าเรยี นปฐมวัย (อยา่ งน้อย 1 ปี กอ่ น การศกึ ษาระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573 ถงึ เกณฑ์อายเุ ขา้ เรียนประถมศึกษา) จำแนกตามเพศ 4.3 สร้างหลักประกันให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึง 4.3.1 อตั ราการเข้าเรยี นของเยาวชนและผูใ้ หญ่ การศกึ ษา อาชีวศึกษา อดุ มศึกษา รวมถึง ท้ังในระบบ นอกระบบการศึกษา รวมทั้งการฝึกอบรม มหาวทิ ยาลัยท่ีมีคุณภาพ ในราคาทสี่ ามารถจา่ ยได้ ในช่วง 12 เดอื นทผ่ี า่ นมา จำแนกตามเพศ ภายในปี พ.ศ. 2573 4.4 เพม่ิ จำนวนเยาวชนและผู้ใหญ่ทม่ี ที ักษะที่ 4.4.1 สดั สว่ นของเยาวชน/ผู้ใหญ่ท่ีมที ักษะทางด้าน เก่ียวข้องจำเปน็ รวมถึงทักษะทางดา้ นเทคนิคและ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร จำแนกตาม อาชพี สำหรับการจ้างงาน การมีงานท่ีมีคณุ ค่า และการ ประเภททักษะ เป็นผูป้ ระกอบการ ภายในปี พ.ศ. 2573 4.5 ขจดั ความเหลอี่ มล้ำทางเพศด้านการศึกษา 4.5.1 ดชั นีความเทา่ เทียมกนั (ผู้หญงิ -ผูช้ าย/ในเขต- และสรา้ งหลกั ประกันว่ากล่มุ ทีเ่ ปราะบางซงึ่ รวมถึงผู้ นอกเขตเมือง/ความมั่งค่ังสูง-ต่ำ และอ่ืนๆ เช่น พกิ าร ชนพน้ื เมือง และเด็ก เขา้ ถงึ การศึกษาและการ สถานะความพิการ คนพ้นื เมือง และคนที่ไดร้ บั ฝึกอาชพี ทุกระดบั อย่างเท่าเทียม ภายในปี พ.ศ. 2573 ผลกระทบจากความขัดแย้งหากมขี ้อมูล) สำหรับ ทุกตวั ชี้วดั ทใ่ี นรายการนี้ท่ีสามารถแยกได้ แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 18 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) 4.6 สรา้ งหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผ้ใู หญ่ 4.6.1 สดั ส่วนของประชากรในกล่มุ อายุทกี่ ำหนด ทงั้ ชายและหญิงในสดั สว่ นสงู สามารถอา่ นออกเขียน มีความรู้ความสามารถสำหรบั การทำงานในดา้ น ไดแ้ ละคำนวณได้ ภายในปี พ.ศ. 2573 ก) การอ่านออกเขียนได้ ข) ทักษะในการคำนวณ จำแนกตามเพศ 4.7 สรา้ งหลักประกันว่าผ้เู รยี นทุกคนไดร้ บั ความรู้ 4.7.1 ระดับการดำเนินการเพ่ือบรรจุ และทกั ษะที่จำเปน็ สำหรับสง่ เสริมการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (i) การศึกษาเพื่อความเปน็ พลเมอื งโลก และ รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพฒั นาทย่ี ง่ั ยืนและการ (ii) การจัดการศึกษาเพื่อการพฒั นาทีย่ ่งั ยนื มวี ิถชี วี ิตท่ีย่งั ยืน สทิ ธมิ นษุ ยชน ความเสมอภาค เปน็ เรือ่ งหลกั ใน (ก) นโยบายการศกึ ษาของประเทศ ระหวา่ งเพศ การส่งเสริมวฒั นธรรมแห่งความสงบสขุ (ข) หลกั สูตร (ค) การศึกษาของครู และ (ง) การ และการไมใ่ ช้ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก ประเมินผลนักเรียน และความชืน่ ชมในความหลากหลายทางวฒั นธรรม และการทว่ี ฒั นธรรมมีส่วนชว่ ยให้เกดิ การพฒั นาท่ี ย่ังยนื ภายในปี พ.ศ. 2573 4.a สร้างและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเคร่อื งมือ 4.a.1 สดั ส่วนของโรงเรียนทม่ี กี ารเขา้ ถงึ บรกิ าร และอปุ กรณ์การศึกษาท่ีอ่อนไหวตอ่ เด็ก ผู้พิการ ขน้ั พ้ืนฐาน จำแนกตามประเภทบรกิ าร และเพศภาวะ และจดั ให้มสี ภาพแวดลอ้ มทางการ (สดั สว่ นของโรงเรียนท่มี ีการเขา้ ถงึ (a) ไฟฟา้ เรยี นรทู้ ป่ี ลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลมุ (b) อินเทอรเ์ นต็ ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน และมปี ระสทิ ธผิ ลสำหรับทกุ คน (c) เครื่องคอมพวิ เตอร์ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน (d) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน และวัสดุอุปกรณท์ ี่ได้รับการ ปรับให้เหมาะสมกับนักเรียนท่ีมคี วามบกพร่อง ทางรา่ งกาย (e) นำ้ ด่ืมพ้นื ฐาน (f) สิ่งอำนวยความ สะดวกพื้นฐานดา้ นสุขอนามยั ท่ีแบ่งแยกตามเพศ และ (g) สง่ิ อำนวยความสะดวกพ้ืนฐานในการทำความ สะอาดมอื (ตามนยิ ามตัวช้วี ดั ของ WASH ในเร่ือง นำ้ สุขอนามัย และสขุ ลกั ษณะสำหรับทุกคน) 4.b เพม่ิ จำนวนทนุ การศึกษาทว่ั โลกท่ใี ห้แก่ประเทศ 4.b.1 ปริมาณความช่วยเหลือเพ่ือการพฒั นา กำลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศพฒั นาน้อยทสี่ ุด อย่างเปน็ ทางการ (ODA) ทเ่ี ป็นทุนการศึกษา จำแนก รฐั กำลังพัฒนาท่ีเป็นเกาะขนาดเลก็ และประเทศใน ตามสาขาและประเภทการศึกษา ทวีปแอฟรกิ า เพื่อเขา้ ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝกึ อาชีพ และโปรแกรมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร ด้านเทคนิค วศิ วกรรม และวทิ ยาศาสตร์ ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศ กำลังพฒั นาอนื่ ๆ ภายในปี พ.ศ. 2563 แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 19 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วัด (Global SDG indicators) 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคณุ วุฒิ รวมถงึ การดำเนนิ การ 4.c.1 สัดส่วนของครูที่มีคุณวุฒิเหมาะสมในการจดั ผา่ นความรว่ มมือระหว่างประเทศในการฝกึ อบรมครู การศึกษาพื้นฐาน จำแนกตามระดับการศกึ ษาสดั ส่วน ในประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในประเทศ ของครูในระดับ (a) ก่อนประถมศึกษา พฒั นาน้อยท่สี ุด และรฐั กำลงั พัฒนาทีเ่ ป็นเกาะขนาดเลก็ (b) ประถมศกึ ษา (c) มธั ยมศึกษาตอนต้น ภายในปี พ.ศ. 2573 และ (d) มัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้ซ่งึ อยา่ งน้อยได้รบั การฝกึ อบรม (เชน่ การฝกึ อบรมการสอน) ซึ่งตอ้ ง ดำเนนิ การก่อนหรอื ระหวา่ งชว่ งที่ทำการสอนในระดับ ทเ่ี กี่ยวข้องของแต่ละประเทศ เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรแี ละเดก็ หญิงทุกคน (Gender equality) 5.1 ยุติการเลอื กปฏิบตั ิทุกรูปแบบทม่ี ตี ่อผู้หญิง 5.1.1 สนับสนนุ บงั คบั ติดตามตรวจสอบความเท่าเทียม และเดก็ หญิงในทุกท่ี และการไม่แบ่งแยกในหลกั พ้ืนฐานทางด้านเพศ ไมว่ า่ จะมีหรือไม่มีกรอบกฎหมายกำหนดไวก้ ต็ าม 5.2 ขจดั ความรนุ แรงทุกรูปแบบท่มี ีต่อผูห้ ญงิ และเดก็ หญิงทง้ั ในท่สี าธารณะและท่รี โหฐาน รวมถึง 5.2.1 สัดส่วนของผหู้ ญงิ และเดก็ หญงิ อายุ 15 ปีขึ้นไป การคา้ มนุษย์ การแสวงประโยชนท์ งั้ ทางเพศ ทเ่ี คยอยูร่ ว่ มกับคู่ครองได้รบั ความรนุ แรงทางรา่ งกาย และในรปู แบบอื่น ทางเพศ หรอื ทางจิตใจโดยคู่ครองคนปัจจบุ ัน หรอื คน กอ่ นหนา้ ในชว่ ง 12 เดือนทผี่ ่านมา จำแนกตาม 5.3 ขจดั แนวปฏิบัติที่เปน็ ภัยทุกรูปแบบ อาทิ การ รปู แบบความรนุ แรงและอายุ แตง่ งานในเด็กก่อนวยั อนั ควรและโดยการบังคับ และ 5.2.2 สดั ส่วนของผู้หญิงและเดก็ หญิงอายุ 15 ปขี นึ้ ไป การทำลายอวยั วะเพศหญิง ทีไ่ ด้รบั ความรนุ แรงทางเพศจากบคุ คลอ่นื ที่ไม่ใช่ คู่ครอง ในชว่ งระยะเวลา 12 เดอื นที่ผา่ นมา จำแนก 5.4 ตระหนักและใหค้ ุณค่าต่อการดแู ลและการทำงาน ตามอายุ และสถานทเ่ี กิดเหตุ บ้านแบบไม่ได้รับค่าจา้ ง โดยจดั ใหม้ บี ริการสาธารณะ โครงสรา้ งพ้ืนฐานและนโยบายการค้มุ ครองทางสงั คม 5.3.1 สัดสว่ นของผหู้ ญงิ อายุระหวา่ ง 20-24 ปี และสนับสนุนความรับผดิ ชอบรว่ มกันภายในครัวเรอื น ทแ่ี ต่งงานหรืออยู่ดว้ ยกนั ก่อนอายุ 15 และ 18 ปี และครอบครัว ตามความเหมาะสมของแตล่ ะประเทศ 5.3.2 สดั สว่ นของเดก็ หญงิ และผูห้ ญงิ (อายุระหวา่ ง 15-49 ปี) ที่ได้รับการขลิบ/ตัดอวัยวะเพศหญงิ จำแนกตามอายุ 5.4.1 สัดส่วนของเวลาที่ใชไ้ ปในการทำงานบา้ น และดแู ลคนในครัวเรอื นที่ไม่ได้รบั คา่ ตอบแทน จำแนก ตามเพศ อายุ และสถานท่ีอยู่ แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 20 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวัด (Global SDG indicators) 5.5 สรา้ งหลกั ประกนั ว่าผหู้ ญิงจะมีส่วนร่วมอยา่ งเต็มที่ 5.5.1 สดั สว่ นของผู้หญิงดำรงตำแหนง่ ใน และมปี ระสิทธิผล และมีโอกาสทีเ่ ทา่ เทยี มในการเปน็ (ก) รัฐสภา และ (ข) การปกครองท้องถนิ่ ผ้นู ำในทุกระดับของการตัดสินใจในเรื่องการเมือง 5.5.2 สัดสว่ นของผู้หญงิ ในตำแหนง่ บริหาร เศรษฐกจิ และสาธารณะ 5.6 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ จะมีการเขา้ ถงึ สุขภาวะทาง 5.6.1 สดั ส่วนของผู้หญิงอายุ 15-49 ปี ท่ที ำการ เพศและอนามยั การเจริญพนั ธ์ุ และสทิ ธิดา้ นการเจริญ ตดั สินใจดว้ ยตนเองบนพ้ืนฐานขอ้ มลู ที่เพยี งพอ พันธโุ์ ดยถว้ นหนา้ ตามท่ตี กลงในแผนปฏิบตั ิการของ (informed decision) ในเรอ่ื งความสมั พนั ธ์ทางเพศ การประชุมนานาชาตวิ า่ ด้วยประชากรและการพัฒนา การคมุ กำเนิด และการดูแลดา้ นอนามัยการเจริญพันธ์ุ และแผนปฏบิ ัติการปักกิ่งและเอกสารผลลพั ธ์ 5.6.2 จำนวนประเทศท่ีมกี ฎหมายและกฎระเบยี บ ของการประชุมทบทวนเหลา่ นนั้ ทร่ี ับประกันได้วา่ ผูห้ ญิงและผู้ชายทม่ี ีอายุ 15 ปีขึน้ ไป เข้าถงึ การศึกษา ข้อมลู และการดแู ลดา้ นสขุ ภาวะทาง เพศและอนามยั เจรญิ พันธุ์ ได้อยา่ งเต็มทแี่ ละเทา่ เทียม 5.a ดำเนินการปฏิรูปเพอื่ ให้ผ้หู ญงิ มสี ทิ ธิที่เท่าเทียม 5.a.1 (a) สดั สว่ นของจำนวนประชากรในภาค ในทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ รวมทงั้ การเขา้ ถึงการเป็น การเกษตรทง้ั หมดทีเ่ ป็นเจา้ ของหรอื มีสิทธิเหนือพน้ื ท่ี เจา้ ของและมสี ิทธใิ นที่ดิน และทรัพยส์ นิ ในรปู แบบอ่นื ทำการเกษตร จำแนกตามเพศ และ (b) สดั สว่ นของ การบรกิ ารทางการเงิน การรับมรดก และ ผหู้ ญิงที่เปน็ เจ้าของหรอื มีสทิ ธิถือครองพื้นที่ ทรพั ยากรธรรมชาติ ตามกฎหมายของประเทศ ทางการเกษตร จำแนกตามประเภทการครอบครอง 5.a.2 สดั สว่ นของประเทศทีก่ รอบกฎหมาย (รวมถึงกฎ จารีตประเพณ)ี ท่รี บั ประกนั ความเท่าเทยี ม ของผู้หญิงในสทิ ธิการเปน็ เจา้ ของ หรอื มีสิทธใิ นท่ดี ิน 5.b เพม่ิ พูนการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยี 5.b.1 สดั ส่วนของผทู้ ี่เป็นเจ้าของโทรศัพท์เคล่อื นที่ สารสนเทศและการส่ือสารเพื่อเพิ่มบทบาทแกส่ ตรี จำแนกตามเพศ 5.c เลอื กใชแ้ ละเสริมความเข้มแขง็ แกน่ โยบายที่ดี 5.c.1 สดั ส่วนของประเทศทีม่ ีระบบตดิ ตามและจดั สรร และกฎระเบยี บที่บงั คบั ใช้ได้ เพื่อส่งเสริมความเสมอ ทรพั ยากรภาครัฐเพ่ือสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศ ภาคระหวา่ งเพศและการเพม่ิ บทบาทแก่ผู้หญงิ และ และเพิ่มบทบาทแก่สตรี เด็กหญงิ ทุกคนในทกุ ระดับ เป้าหมายที่ 6 สรา้ งหลักประกนั เรื่องน้ำและการสขุ าภบิ าล ใหม้ ีการจดั การอย่างยง่ั ยนื และมสี ภาพพร้อมใช้ สำหรบั ทุกคน (Clean water and sanitation) 6.1 บรรลุเป้าหมายการให้ทุกคนเข้าถึงนำ้ ดื่มท่ี 6.1.1 สดั ส่วนของประชากรท่ีใช้บรกิ ารนำ้ ดม่ื ท่ีได้รบั ปลอดภยั และมีราคาทสี่ ามารถซ้อื หาได้ ภายในปี การจัดการอย่างปลอดภัย พ.ศ. 2573 แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 21 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวชี้วัด (Global SDG indicators) 6.2.1 สัดสว่ นของประชากรที่ใช้ (ก) บรกิ ารดา้ นการ 6.2 บรรลเุ ป้าหมายการให้ทุกคนเขา้ ถึงการสุขาภบิ าล สุขาภิบาลท่ีได้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย และสขุ อนามยั ท่ีพอเพียงและเปน็ ธรรม และยุติการ (ข) สงิ่ อำนวยความสะดวกในการล้างมือด้วยสบู่ ขับถา่ ยในท่ีโลง่ โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อความ และนำ้ ต้องการของผ้หู ญงิ เดก็ หญิง และกลมุ่ ที่อยู่ใน สถานการณเ์ ปราะบาง ภายในปี พ.ศ. 2573 6.3.1 สัดสว่ นของนำ้ เสยี ครัวเรอื นและอุตสาหกรรม 6.3 ปรับปรุงคณุ ภาพน้ำ โดยการลดมลพิษ ขจัดการ ที่ไดร้ บั การบำบัดอยา่ งปลอดภยั ทิ้งขยะและลดการปล่อยสารเคมีอนั ตราย และวัตถุ 6.3.2 สดั สว่ นของแหลง่ นำ้ (เชน่ มหาสมทุ ร, ทะเล, อนั ตราย ลดสัดสว่ นนำ้ เสยี ท่ไี ม่ผ่านการบำบัดลง ทะเลสาบ, แม่น้ำ, ธารน้ำ, คลอง, หรอื สระน้ำ) ครึ่งหน่ึง และเพม่ิ การนำกลบั มาใช้ใหม่และการใชซ้ ้ำที่ ทมี่ คี ณุ ภาพนำ้ โดยรอบทีด่ ี ปลอดภัยอยา่ งย่งั ยนื ทว่ั โลก ภายในปี พ.ศ. 2573 6.4.1 การเปลย่ี นแปลงของประสทิ ธิภาพการใช้นำ้ 6.4 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใช้น้ำในทกุ ภาคส่วน ในช่วงเวลาทผี่ ่านมา และสรา้ งหลกั ประกันวา่ จะมีการใชน้ ้ำและจดั หาน้ำ 6.4.2 ระดับความตึงเครยี ดด้านน้ำ (สดั สว่ นการใช้ ท่ยี ั่งยนื เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และลด น้ำจืดต่อปรมิ าณน้ำจดื ทั้งหมด) จำนวนประชากรที่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ ภายในปี พ.ศ. 2573 6.5.1 ระดบั การดำเนินงานการจัดการทรพั ยากรนำ้ 6.5 ดำเนนิ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำแบบองค์ แบบบรู ณาการ (0-100) รวมในทุกระดบั รวมถึงผา่ นทางความรว่ มมือขา้ มเขต 6.5.2 สดั สว่ นของพ้นื ที่ลุ่มนำ้ ขา้ มเขตแดนท่ีมีการ แดนตามความเหมาะสม ภายในปี พ.ศ. 2573 จัดการดำเนินงานเพ่ือความร่วมมอื ด้านนำ้ 6.6.1 การเปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศท่เี ก่ยี วข้อง 6.6 ปกปอ้ งและฟนื้ ฟรู ะบบนิเวศทเี่ ก่ยี วข้องกบั แหล่ง กับนำ้ ในชว่ งเวลาท่ผี ่านมา นำ้ รวมถงึ ภเู ขา ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มนำ้ แม่นำ้ ช้นั หนิ อุ้มน้ำ และทะเลสาบ ภายในปี พ.ศ. 2563 6.a.1 ปริมาณความชว่ ยเหลือเพอ่ื การพฒั นา 6.a ขยายความร่วมมือระหวา่ งประเทศและสนับสนุน อย่างเป็นทางการ (ODA) ในด้านทเี่ กย่ี วข้องกบั น้ำและ การเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถให้แก่ประเทศ สขุ าภิบาล ซึ่งเปน็ ส่วนหนง่ึ ของแผนบรู ณาการการใช้ กำลังพฒั นาในกจิ กรรมและแผนงานที่เก่ยี วข้องกบั น้ำ จา่ ยของภาครฐั และสุขาภบิ าล ซงึ่ รวมถงึ การเก็บกักน้ำ การขจัดเกลือ ประสทิ ธภิ าพการใช้น้ำ การบำบดั นำ้ เสยี เทคโนโลยี 6.b.1 สดั สว่ นของหน่วยงานบรหิ ารส่วนท้องถน่ิ การนำนำ้ กลับมาใช้ใหม่ ท่จี ดั ตัง้ และวางนโยบายปฏิบัตกิ าร และกระบวนการ 6.b สนับสนนุ และเพิ่มความเขม้ แข็งในการมีสว่ นร่วม ปฏิบัติ เพือ่ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนทอ้ งถิ่น ของชมุ ชนท้องถน่ิ ในการพัฒนาการจดั การนำ้ และ ในดา้ นการจดั การนำ้ และการสุขาภิบาล สุขาภิบาล แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 22 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวชี้วดั (Global SDG indicators) เปา้ หมายที่ 7 สร้างหลักประกนั วา่ ทกุ คนเข้าถงึ พลังงานสมยั ใหม่ในราคาทีส่ ามารถซื้อหาได้ เชือ่ ถอื ได้ และ ยั่งยืน (Affordable and clean energy) 7.1 สร้างหลกั ประกันวา่ มีการเข้าถึงการบริการ 7.1.1 สดั ส่วนของประชากรท่ีเข้าถงึ ไฟฟ้า พลงั งานสมัยใหม่ทเี่ ชื่อถอื ได้ ในราคาทส่ี ามารถซ้ือหา 7.1.2 สดั ส่วนของประชากรท่ีพงึ่ พาเชอ้ื เพลงิ ได้ ภายในปี พ.ศ. 2573 และเทคโนโลยสี ะอาดเป็นหลัก 7.2 เพิ่มสดั ส่วนของพลงั งานหมนุ เวียนในสัดส่วน 7.2.1 สัดสว่ นการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อการใช้ พลังงานของโลก (global energy mix) ภายในปี พลังงานขนั้ สุดท้าย พ.ศ. 2573 7.3 เพมิ่ อตั ราการปรบั ปรุงประสิทธิภาพการใช้ 7.3.1 ความเข้มของการใช้พลังงาน ทส่ี มั พันธ์กบั พลงั งานของโลกให้เพม่ิ ขนึ้ เป็น 2 เท่า ภายในปี พลังงานข้นั ตน้ และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ พ.ศ. 2573 (GDP) 7.a ยกระดบั ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพ่ืออำนวย 7.a.1 การไหลเวียนของเงนิ ทุนระหวา่ งประเทศ ความสะดวกในการเขา้ ถึงการวิจัย และเทคโนโลยี สูป่ ระเทศกำลงั พัฒนาเพ่ือสนับสนนุ การวิจยั พลังงานท่ีสะอาด โดยรวมถึงพลังงานหมุนเวยี น และพัฒนาด้านพลงั งานสะอาด และการผลติ พลังงาน ประสทิ ธิภาพการใช้พลังงาน และเทคโนโลยเี ช้ือเพลิง หมุนเวยี น รวมทง้ั ระบบไฮบริด ฟอสซลิ ชัน้ สงู และสะอาด และสนบั สนนุ การลงทนุ ในโครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นพลงั งานและเทคโนโลยี พลงั งานท่ีสะอาด ภายในปี พ.ศ. 2573 7.b ขยายโครงสรา้ งพ้นื ฐานและพัฒนาเทคโนโลยี 7.b.1 กำลงั ผลิตติดตั้งพลงั งานหมนุ เวียนในประเทศ สำหรบั การจดั สง่ บรกิ ารพลงั งานสมยั ใหมแ่ ละย่ังยืน กำลังพัฒนา (วัตต์ต่อหวั ประชากร) โดยถ้วนหนา้ ในประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ ในประเทศพฒั นาน้อยที่สดุ และรฐั กำลังพฒั นาที่ เป็นเกาะขนาดเล็ก ท่สี อดคลอ้ งกับโครงการสนบั สนุน ของประเทศเหลา่ นนั้ ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าหมายท่ี 8 ส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และย่ังยนื การจา้ งงานเตม็ ท่ี และมผี ลิตภาพ และการมีงานท่ีมคี ุณคา่ สำหรับทุกคน (Decent work and economic growth) 8.1 ทำให้การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ต่อหัวประชากร 8.1.1 อตั ราการเติบโตเฉล่ยี ต่อปขี องผลติ ภัณฑ์ มคี วามยง่ั ยนื ตามบรบิ ทของประเทศ โดยเฉพาะอย่าง มวลรวมในประเทศทีแ่ ทจ้ รงิ (real GDP) ต่อหวั ย่งิ ใหผ้ ลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศของประเทศ ประชากร พัฒนาน้อยท่สี ุด มกี ารขยายตัวอยา่ งน้อยร้อยละ 7 ต่อปี แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 23 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวัด (Global SDG indicators) 8.2 บรรลกุ ารมผี ลติ ภาพทางเศรษฐกจิ ในระดบั ทส่ี งู ขึน้ 8.2.1 อัตราการเตบิ โตเฉลยี่ ต่อปีของ real GDP ผา่ นการสรา้ งความหลากหลาย การยกระดับ ตอ่ ประชากรผมู้ งี านทำ เทคโนโลยีและนวตั กรรม รวมถึงการมุ่งเนน้ ภาคการ ผลิตที่มีมูลค่าเพิม่ สงู และใช้แรงงานเปน็ หลัก (Labour-intensive) 8.3 ส่งเสริมนโยบายทม่ี งุ่ เน้นการพฒั นาที่สนบั สนนุ 8.3.1 สัดสว่ นการจา้ งงานนอกระบบต่อการจ้างงาน กิจกรรมท่ีมผี ลติ ภาพ การสรา้ งงานที่มีคณุ ค่า ความ ท้งั หมด จำแนกตามสาขา และเพศ เปน็ ผู้ประกอบการ ความสร้างสรรคแ์ ละนวฒั กรรม และใหก้ ารสนบั สนนุ การรวมตัวและการเตบิ โตของ วิสาหกจิ รายย่อย ขนาดเล็ก และขนาดกลาง ผ่านการ เขา้ ถึงบริการทางการเงิน 8.4 ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการใช้ทรพั ยากรของโลก 8.4.1 รอ่ งรอยการใช้วตั ถุดิบ (Material Footprint) ในการบริโภคและการผลิตอย่างต่อเนื่อง และพยายาม รอ่ งรอยการใชว้ ัตถุดบิ ต่อหัวประชากรและตอ่ ที่จะแยกการเติบโตทางเศรษฐกจิ ออกจากความเสือ่ ม ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) โทรมของส่ิงแวดลอ้ ม ซึ่งเปน็ ไปตามกรอบการ 8.4.2 การบรโิ ภควตั ถุดบิ ในประเทศ การบริโภค ดำเนินงาน 10 ปี ว่าดว้ ยการผลิตและการบริโภคท่ี วัตถุดิบในประเทศต่อหัวประชากร และต่อผลติ ภัณฑ์ ย่งั ยนื โดยมีประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ เป็นผู้นำในการ มวลรวมในประเทศ (GDP) ดำเนินการไปจนถงึ ปี พ.ศ. 2573 8.5 บรรลุการจ้างงานเต็มทีแ่ ละมีผลติ ภาพ และการมี 8.5.1 รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ชวั่ โมงของลกู จา้ ง จำแนก งานทม่ี คี ุณค่าสำหรบั หญิงและชายทกุ คน รวมถึง ตามเพศ อายุ อาชีพ และความพิการ เยาวชนและผูม้ ภี าวะทพุ พลภาพ และให้มกี ารจ่าย 8.5.2 อตั ราการว่างงาน จำแนกตามเพศ อายุ คา่ จ้างท่เี ท่าเทยี มสำหรับงานทม่ี ีคุณคา่ เท่าเทยี มกนั และ ความพิการ ภายในปี พ.ศ. 2573 8.6 ลดสัดสว่ นของเยาวชนทไ่ี มม่ งี านทำ ทไ่ี ม่มี 8.6.1 สัดส่วนของเยาวชน (15-24 ป)ี ท่ีไมไ่ ด้อยู่ การศกึ ษา และท่ีไมไ่ ด้รบั การฝึกอบรม ลงอย่างมาก ในระบบการศึกษา การจ้างงานหรอื การฝึกอบรม ภายในปี พ.ศ. 2563 8.7 ดำเนนิ มาตรการที่มีประสทิ ธภิ าพโดยทนั ที เพื่อ 8.7.1 สดั สว่ นและจำนวนเดก็ อายุ 5-17 ปี ที่เขา้ ข่าย ขจัดแรงงานท่ถี กู บงั คับ ยตุ ิความเป็นทาสสมยั ใหม่ แรงงานเด็ก จำแนกตามเพศและอายุ และการค้ามนษุ ย์ และยบั ยั้งและกำจดั การใชแ้ รงงาน เด็กในรปู แบบทีเ่ ลวร้ายที่สดุ ซงึ่ รวมถงึ การเกณฑ์ และการใช้ทหารเดก็ และภายในปี พ.ศ. 2568 ยุตกิ ารใช้แรงงานเดก็ ในทกุ รปู แบบ แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 24 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวัด (Global SDG indicators) 8.8 ปกป้องสิทธแิ รงงานและส่งเสรมิ สภาพแวดลอ้ ม 8.8.1 อัตราความถ่ขี องการบาดเจ็บรา้ ยแรง และไม่ ในการทำงานที่ปลอดภยั และม่นั คงสำหรับผู้ทำงาน รา้ ยแรง จากการทำงาน ต่อแรงงาน 100,000 คน ทกุ คน รวมถึงผ้ทู ำงานต่างดา้ ว โดยเฉพาะหญิงต่าง จำแนกตามเพศ และสถานะแรงงานต่างด้าว ด้าว และผูท้ ีท่ ำงานเสย่ี งอันตราย 8.8.2 ระดับการปฏบิ ัตติ ามสิทธแิ รงงานในประเทศ (เสรภี าพในการสมาคม และการเจรจาตอ่ รองรว่ ม) โดยยึดหลักธรรมนญู ของ ILO และกฎหมาย ภายในประเทศ จำแนกตามเพศ และสถานะแรงงาน ต่างด้าว 8.9 ออกแบบและใช้นโยบายเพอื่ ส่งเสริมการท่องเทย่ี ว 8.9.1 สัดส่วนผลิตภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ ทยี่ ่งั ยืน ซ่ึงช่วยสรา้ งงานและส่งเสริมวัฒนธรรม จากการท่องเทย่ี วตอ่ GDP ท้ังหมด และอัตราการ และผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่ิน ภายในปี พ.ศ. 2573 เติบโตของ GDP จากการท่องเที่ยว 8.10 เสริมความแข็งแกร่งของสถาบนั ทางการเงิน 8.10.1 จำนวน (ก) สาขาของธนาคารพาณชิ ย์ ภายในประเทศเพื่อสง่ เสริมและขยายการเขา้ ถงึ และ (ข) เคร่ืองรบั จา่ ยเงนิ อตั โนมตั ิ (ATMs) ต่อผใู้ หญ่ การธนาคาร การประกนั และบรกิ ารทางการเงนิ แก่ 100,000 คน ทุกคน 8.10.2 สัดส่วนของผใู้ หญ่ (อายุต้ังแต่ 15 ปีข้ึนไป) ทีม่ บี ัญชกี ับธนาคาร หรอื สถาบันการเงนิ อนื่ ๆ หรือกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารทางการเงินผา่ นโทรศัพท์เคล่ือนที่ 8.a เพิม่ การสนับสนนุ ในกลไกความช่วยเหลือเพ่ือ 8.a.1 มลู ค่าความช่วยเหลือ/ภาระผกู พนั การค้า (Aid for Trade) แกป่ ระเทศกำลงั พัฒนา (Commitments) และการเบิกจา่ ยเงนิ ชว่ ยเหลอื โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยท่สี ดุ ซ่ึง (Disbursements) ภายใตก้ ลไกความชว่ ยเหลือ รวมถึงผ่านกรอบการทำงานแบบบูรณาการสำหรับ เพือ่ การค้า (Aid for Trade) ความช่วยเหลอื ทางวชิ าการที่เกี่ยวข้องกับการคา้ แก่ ประเทศพฒั นาน้อยท่ีสดุ (Enhanced Integrated Framework for Trade-related Technical Assistance to Least Developed Countries) 8.b พัฒนาและดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร์โลก 8.b.1 การมแี ละดำเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ สำหรับการจ้างงานเยาวชนและดำเนินงานตามข้อตกลง ระดับประเทศเฉพาะด้านการจ้างงานเยาวชน เร่ืองงานของโลก (Global Jobs Pact) ขององค์การ หรอื เปน็ ส่วนหนึง่ ของยุทธศาสตรด์ า้ นการจ้างงานของ แรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO) ภายในปี พ.ศ. 2563 ประเทศ แผนทน่ี าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 25 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วดั (Global SDG indicators) เปา้ หมายที่ 9 สรา้ งโครงสรา้ งพื้นฐานที่มคี วามยดื หยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสรมิ การพฒั นาอตุ สาหกรรม ทคี่ รอบคลมุ และย่ังยืน และส่งเสริมนวัตกรรม (Industry, innovation, infrastructure) 9.1 พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่มี คี ุณภาพ เชอ่ื ถือได้ 9.1.1 สัดสว่ นของประชากรชนบททอ่ี าศัยอยภู่ ายใน ยง่ั ยืนและมีความตา้ นทานและยดื หย่นุ ต่อการ ระยะ 2 กโิ ลเมตรจากถนนทีส่ ามารถใชง้ านไดท้ ุกฤดู เปลย่ี นแปลง ซง่ึ รวมถึงโครงสร้างพ้นื ฐานของภมู ภิ าค 9.1.2 ปริมาณผโู้ ดยสาร และสินคา้ ทีข่ นส่ง จำแนกตาม และทขี่ ้ามเขตแดน เพ่ือสนบั สนุนการพัฒนาทาง รปู การขนสง่ เศรษฐกจิ และความเป็นอยู่ท่ดี ีของมนษุ ย์ โดยเฉพาะ การเขา้ ถงึ ได้ในราคาท่ีสามารถจ่ายไดแ้ ละเท่าเทียม 9.2.1 (ก) สดั ส่วนของมูลค่าเพ่ิมผลผลติ สำหรบั ทุกคน (Manufacturing value added: MVA) ต่อ GDP และ (ข) MVA ต่อหวั ประชากร 9.2 สง่ เสริมการพฒั นาอตุ สาหกรรมที่ครอบคลุมและ 9.2.2 สัดส่วนการจา้ งงานในอุตสาหกรรมการผลิตต่อ ยง่ั ยนื และภายในปี พ.ศ. 2573 ให้เพ่ิมส่วนแบง่ ของ การจ้างงานรวมทั้งหมด ภาคอตุ สาหกรรมในการจ้างงานและผลติ ภณั ฑม์ วล รวมของประเทศ โดยให้เป็นไปตามบริบทของประเทศ 9.3.1 สดั ส่วนของมูลคา่ เพม่ิ ของอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และใหเ้ พม่ิ ส่วนแบง่ ขึน้ เป็น 2 เทา่ ในประเทศพฒั นา ตอ่ มูลคา่ เพิ่มของอุตสาหกรรมทงั้ หมด น้อยท่สี ุด 9.3.2 สดั ส่วนของอตุ สาหกรรมขนาดเลก็ ทีม่ กี ารกู้ยืม หรือมีวงเงินท่ีธนาคารใหก้ ยู้ ืม 9.3 เพมิ่ การเข้าถึงบรกิ ารทางการเงนิ โดยรวมถงึ เครดติ ในราคาท่ีสามารถจ่ายได้ ให้แกโ่ รงงาน 9.4.1 ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อตุ สาหกรรมและวิสาหกจิ ขนาดเล็ก โดยเฉพาะใน ต่อหนว่ ยมูลคา่ เพ่มิ ประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งเชือ่ มโยงผปู้ ระกอบการ เหลา่ นเ้ี ข้าสู่หว่ งโซ่มูลคา่ และตลาด 9.5.1 สัดส่วนของคา่ ใช้จ่ายด้านการวจิ ัยและพฒั นา ต่อ GDP 9.4 ยกระดับโครงสร้างพน้ื ฐานและปรบั ปรงุ 9.5.2 สดั ส่วนนักวิจยั (เทียบเท่ากบั การทำงานเต็ม อตุ สาหกรรมเพ่ือให้เกดิ ความยง่ั ยืน โดยเพม่ิ เวลา) ต่อประชากร 1,000,000 คน ประสิทธภิ าพการใช้ทรพั ยากรและการใชเ้ ทคโนโลยี และกระบวนการทางอตุ สาหกรรมทส่ี ะอาดและเปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อมมากขึ้น โดยทกุ ประเทศดำเนนิ การ ตามขดี ความสามารถของแต่ละประเทศ ภายในปี พ.ศ. 2573 9.5 เพมิ่ พนู การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ยกระดบั ขดี ความสามารถทางเทคโนโลยขี องภาคอุตสาหกรรมใน ทกุ ประเทศ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา และให้ ภายในปี พ.ศ. 2573 มีการสง่ เสริมนวตั กรรมและให้ เพิ่มจำนวนผู้ทำงานวิจัยและพัฒนา ต่อประชากร 1 ล้านคน และเพมิ่ คา่ ใชจ้ ่ายในการวจิ ัยและพฒั นาใน ภาครฐั และเอกชน แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 26 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) 9.a อำนวยความสะดวกการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน 9.a.1 การสนบั สนนุ ระหว่างประเทศอยา่ งเปน็ ทางการ ทยี่ ่ังยนื และมีความยืดหยนุ่ ในประเทศกำลังพฒั นา ทัง้ หมด (ความช่วยเหลอื เพ่ือการพฒั นาอย่างเปน็ ผ่านทางการยกระดบั การสนับสนุนทางการเงิน ทางการ (ODA) และกระแสความช่วยเหลอื อย่างเปน็ เทคโนโลยี และด้านวิชาการให้แกป่ ระเทศในแอฟริกา ทางการอืน่ (OOF)) ในด้านโครงสร้างพน้ื ฐาน ประเทศพัฒนาน้อยทีส่ ดุ ประเทศกำลงั พฒั นาที่ไม่มี ทางออกส่ทู ะเล และรฐั กำลงั พัฒนาทเี่ ป็นหมู่เกาะขนาด เลก็ 9.b สนบั สนุนการพฒั นาเทคโนโลยี การวจิ ัย และ 9.b.1 สดั ส่วนมูลค่าเพิม่ ของอุตสาหกรรมเทคโนโลยี นวตั กรรมภายในประเทศกำลังพฒั นา รวมถึงการให้มี ระดบั สูง และระดบั กลาง ตอ่ มลู ค่าเพิ่มรวมท้งั หมด สภาพแวดล้อมทางนโยบายที่นำไปสู่ความหลากหลาย ของอุตสาหกรรมและการเพิ่มมลู ค่าของสนิ คา้ โภคภัณฑ์ 9.c เพิ่มการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ 9.c.1 สัดส่วนของประชากรท่ีอยใู่ นพน้ื ท่ีทีม่ ีสัญญาณ สือ่ สาร และมุ่งจัดใหม้ ีการเข้าถงึ อนิ เตอรเ์ นต็ โดยถ้วน โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ จำแนกตามเทคโนโลยี หน้าและในราคาท่ีสามารถจา่ ยได้ในประเทศพัฒนา น้อยท่ีสดุ ภายในปี พ.ศ. 2563 เป้าหมายที่ 10 ลดความไม่เสมอภาคภายในและระหว่างประเทศ (Reduced inequalities) 10.1 บรรลุการเตบิ โตของรายไดข้ องกลุ่มประชากร 10.1.1 (ก) อัตราการเตบิ โตของการใชจ้ า่ ยในครัวเรือน รอ้ ยละ 40 ท่ีมรี ายไดต้ ำ่ สดุ อยา่ งก้าวหน้าและย่ังยืน หรอื รายได้ต่อหัวในกลุม่ ประชากรรอ้ ยละ 40 ทมี่ ี โดยใหม้ ีอตั ราเตบิ โตสูงกวา่ คา่ เฉลีย่ ของประเทศ รายได้ต่ำสุด และ (ข) อตั ราการเติบโตของการใชจ้ า่ ย ภายในปี พ.ศ. 2573 ในครวั เรือน หรือรายไดต้ ่อหวั ในกล่มุ ประชากรทัง้ หมด 10.2 เสริมสร้างศักยภาพและส่งเสรมิ ความครอบคลมุ 10.2.1 สัดส่วนประชากรทมี่ รี ายได้ต่ำกว่ารอ้ ยละ 50 ทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งสำหรบั ทุกคน ของรายไดม้ ธั ยฐาน จำแนกตามเพศ อายุ และ โดยไม่คำนึงถึงอายุ เพศ ความพกิ าร เช้ือชาติ ชาติ ความพิการ พนั ธ์ุ แหล่งกำเนิด ศาสนา สถานะทางเศรษฐกิจหรือ อน่ื ๆ ภายในปี พ.ศ. 2573 10.3 สรา้ งหลักประกนั ถึงโอกาสท่เี ท่าเทียมและลด 10.3.1 สัดส่วนของประชากรที่รายงานวา่ รูส้ กึ ถูกเลือก ความไม่เสมอภาคของผลลพั ธ์ รวมถึงโดยการขจดั ปฏิบัตหิ รือถูกคุกคามในชว่ ง 12 เดือนที่ผา่ นมา ตาม กฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏบิ ตั ิทเี่ ลือกปฏิบตั ิ ข้อบญั ญัติพน้ื ฐานของการหา้ มเลอื กปฏิบัติภายใต้ และสง่ เสรมิ การออกกฎหมาย นโยบาย และการ กฎหมายสิทธมิ นุษยชนระหว่างประเทศ ปฏบิ ตั ิทเ่ี หมาะสมในเร่ืองดังกลา่ ว 10.4 นำนโยบาย โดยเฉพาะนโยบายการคลงั คา่ จา้ ง 10.4.1 สว่ นแบง่ แรงงานต่อ GDP (ประกอบไปดว้ ย และการคุม้ ครองทางสังคมมาใช้ และให้บรรลุความ ค่าจ้าง และประกันสงั คมทจี่ ่ายโดยนายจ้าง) เสมอภาคยิ่งขึ้นอยา่ งกา้ วหนา้ 10.4.2 ผลกระทบด้านการถา่ ยโอนรายได้ (redistributive impact) จากนโยบายการคลงั แผนทน่ี าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 27 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวดั (Global SDG indicators) 10.5 ปรับปรุงกฎระเบยี บและการตดิ ตามตรวจสอบ 10.5.1 ตัวชว้ี ดั เสถยี รภาพของระบบการเงิน ตลาดการเงินและสถาบันการเงนิ ของโลก และเสรมิ (Financial Soundness Indicators) ความแข็งแกร่งในการดำเนินการตามกฎระเบยี บ ดังกล่าว 10.6 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ จะมีตวั แทนและเสยี ง 10.6.1 สดั สว่ นของสมาชิก และสทิ ธิในการออกเสยี ง ของประเทศกำลังพัฒนาในการตดั สนิ ใจในสถาบนั ของประเทศกำลังพฒั นาในองค์กรระหวา่ งประเทศ การเงินและเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพม่ิ มากขึน้ เพอ่ื ใหเ้ ป็นสถาบันที่มีประสทิ ธิผล นา่ เชอื่ ถอื มคี วาม รบั ผิดชอบ และมีความชอบธรรมมากข้นึ 10.7 อำนวยความสะดวกในการโยกย้ายถิ่นฐาน 10.7.1 คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดหางานทลี่ กู จ้างต้องจ่าย คิด และเคลื่อนย้ายของคนให้เปน็ ระเบยี บ ปลอดภัย ปกติ เป็นสดั สว่ นของรายได้ประจำเดอื น/ปีท่ีได้รบั จาก และมคี วามรับผิดชอบ รวมถึงให้การดำเนนิ งานเปน็ ไป ประเทศปลายทาง ตามนโยบายด้านการอพยพที่มกี ารวางแผนและการ 10.7.2 จำนวนประเทศท่ีมนี โยบายเออ้ื ต่อการโยกยา้ ย จัดการที่ดี ถิน่ ฐานและเคล่ือนย้ายของคนท่เี ปน็ ระเบยี บ ปลอดภยั ปกติ และมีความรบั ผดิ ชอบ 10.7.3 จำนวนแรงงานข้ามชาตทิ ีเ่ สียชวี ติ ระหว่างการ ข้ามพรมแดนท้ังทางทะเล ทางบก และทางอากาศ 10.7.4 สดั ส่วนประชากรท่เี ป็นผูอ้ พยพ (refugee) จำแนกตามประเทศตน้ ทาง 10.a ปฏบิ ัติตามหลักการปฏิบตั อิ ย่างเป็นพเิ ศษและ 10.a.1 สดั สว่ นของรายการภาษีศลุ กากร (tariff lines) แตกต่าง (special and differential treatment: ของสินค้านำเข้าจากประเทศพฒั นานอ้ ยท่ีสดุ และ S&D) สำหรับประเทศกำลงั พัฒนา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศกำลงั พฒั นา ทไ่ี ม่มีข้อกดี กนั ทางภาษีอากร ประเทศพัฒนาน้อยท่ีสดุ ให้สอดคล้องตามขอ้ ตกลง (zero-tariff) ขององค์การการค้าโลก 10.b สนบั สนนุ การใหค้ วามช่วยเหลอื เพ่อื การพัฒนา 10.b.1 ทรพั ยากรเพื่อการพฒั นาทงั้ หมด จำแนก อย่างเป็นทางการ (ODA) และการไหลของเงิน รวมถึง ตามประเทศท่ีได้รับความช่วยเหลอื และประเทศผู้ให้ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ไปยงั รัฐท่มี ีความจำ การชว่ ยเหลือ และประเภทของการให้ความชว่ ยเหลือ เปน็ มากทสี่ ดุ โดยเฉพาะประเทศท่ีพฒั นาน้อยท่สี ุด (เช่น การช่วยเหลอื ดา้ นการพัฒนาอยา่ งเป็นทางการ ประเทศแถบแอฟรกิ า รัฐกำลังพฒั นาทีเ่ ปน็ หมู่เกาะ (ODA) การลงทุนทางตรงของต่างประเทศ (FDI) และ ขนาดเลก็ และประเทศกำลังพฒั นาท่ีไม่มีทางออกสู่ อื่น ๆ) ทะเล โดยให้สอดคล้องกับแผนและแผนงานของ ประเทศเหล่านน้ั แผนทนี่ าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 28 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วดั (Global SDG indicators) 10.c ลดคา่ ใช้จา่ ยในการทำธุรกรรมของการสง่ เงิน 10.c.1 สัดส่วนของค่าใช้จา่ ยการสง่ เงนิ กลบั ประเทศ กลับประเทศของแรงงานย้ายถ่ิน (migrant ตอ่ จำนวนเงนิ รวมที่สง่ กลับ remittance) ใหต้ ่ำกวา่ ร้อยละ 3 และขจัดการชำระ เงนิ ระหว่างประเทศ (remittance corridors) ทมี่ ี ค่าใช้จา่ ยสูงกวา่ รอ้ ยละ 5 ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าหมายท่ี 11 ทำให้เมืองและการตง้ั ถนิ่ ฐานของมนุษย์มคี วามครอบคลุม ปลอดภัย ยดื หยนุ่ ต่อการ เปลย่ี นแปลง และย่ังยืน (Sustainable cities and communities) 11.1 สร้างหลกั ประกันวา่ ทุกคนเขา้ ถึงท่ีอยูอ่ าศยั และ 11.1.1 สัดสว่ นของประชากรในเขตเมืองที่อาศยั อย่ใู น การบรกิ ารพนื้ ฐานที่เพยี งพอ ปลอดภยั ในราคา ชมุ ชนแออดั ที่อยู่อาศยั นอกระบบ ท่สี ามารถจ่ายได้ และยกระดับชุมชนแออัด ภายในปี หรอื ไม่เหมาะสม พ.ศ. 2573 11.2 จัดให้ทกุ คนเขา้ ถึงระบบคมนาคมขนสง่ ท่ียั่งยืน 11.2.1 สัดส่วนของประชากรท่เี ขา้ ถึงการขนสง่ เข้าถึงได้ ปลอดภยั ในราคาท่ีสามารถจา่ ยได้ พัฒนา สาธารณะได้อยา่ งสะดวก จำแนกตามเพศ อายุ ความปลอดภัยทางถนน ขยายการขนสง่ สาธารณะ และผพู้ ิการ และคำนงึ ถึงกลุ่มคนที่อยู่ในสถานการณ์ทเ่ี ปราะบาง ผ้หู ญิง เดก็ ผู้พิการ และผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ. 2573 11.3 ยกระดับการพฒั นาเมืองและขีดความสามารถ 11.3.1 สัดสว่ นของอัตราการใชท้ ่ดี ินตอ่ อัตราการ ใหค้ รอบคลุมและยั่งยืน เพ่ือการวางแผนและการ เติบโตของประชากร บรหิ ารจดั การการตั้งถ่นิ ฐานของมนุษย์อยา่ งมีสว่ นร่วม 11.3.2 สดั ส่วนของเมืองทภ่ี าคประชาสังคมเข้ามา บรู ณาการและยงั่ ยนื ในทุกประเทศ ภายในปี พ.ศ. มีสว่ นรว่ มโดยตรงในการวางแผนและการจดั การเมือง 2573 โดยมกี ารดำเนนิ การเปน็ ประจำและเป็นประชาธิปไตย 11.4 เสริมความพยายามในการปกป้องและคมุ้ ครอง 11.4.1 รายจ่ายรวมต่อหัวประชากร ในดา้ นการสงวน มรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาตขิ องโลก การป้องกัน และการอนรุ ักษ์มรดกทางวฒั นธรรมและ มรดกทางธรรมชาติ จำแนกตามแหล่งเงนิ สนับสนนุ (ภาครฐั /เอกชน) ประเภทมรดก (ทางวฒั นธรรม ทาง ธรรมชาติ) และระดับของรัฐบาล (ประเทศ ภมู ภิ าค และท้องถ่ิน/เทศบาล) 11.5 ลดจำนวนผู้เสยี ชีวิตและผู้ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบ 11.5.1 จำนวนผู้เสียชวี ติ สญู หาย และผ้ทู ี่ไดร้ บั ตลอดจนลดความสูญเสยี โดยตรงทางเศรษฐกจิ ผลกระทบโดยตรงจากภัยพบิ ัตติ อ่ ประชากร 100,000 เทียบเคียงกับ GDP ของโลก ทเี่ กดิ จากภัยพิบตั ิ คน (ภัยพิบตั ิ รวมถงึ อทุ กภัย อัคคภี ยั วาตภัย และภยั ซึ่งรวมถงึ ภยั พิบตั ิทีเ่ ก่ยี วกับน้ำ โดยมุ่งเปา้ ปกป้องคน แล้ง) จนและคนท่ีอยใู่ นสถานการณ์ทเี่ ปราะบาง ภายในปี พ.ศ. 2573 แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 29 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วัด (Global SDG indicators) 11.6 ลดผลกระทบทางลบของเมอื งต่อสง่ิ แวดล้อมต่อ 11.5.2 ความสญู เสยี โดยตรงทางเศรษฐกจิ เทียบเคยี ง หัวประชากร รวมถึงการให้ความสำคัญกับคณุ ภาพ กบั GDP ของโลก รวมถึงความเสียหายทเ่ี กิดกับ อากาศ และการจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอื่น ๆ โครงสร้างพ้นื ฐานและการหยุดชะงักของการบรกิ ารข้ัน ภายในปี พ.ศ. 2573 พื้นฐานทีส่ ำคัญอ่นื ๆ อันเนื่องมาจากภัยพบิ ัติ 11.7 จดั ใหม้ กี ารเข้าถึงพน้ื ทสี่ าธารณะสเี ขยี ว ท่ี 11.6.1 สดั ส่วนของขยะมูลฝอย (MSW) ทม่ี ีการจัดเกบ็ ปลอดภัยครอบคลุมและเขา้ ถึงได้ โดยถว้ นหน้า และจดั การในสถานท่ีทีม่ ีการควบคุมต่อปริมาณขยะ โดยเฉพาะสำหรบั ผู้หญิง เด็ก คนชรา และผู้พิการ มูลฝอยรวม จำแนกตามเมือง ภายในปี พ.ศ. 2573 11.6.2 ระดับค่าเฉล่ยี ทง้ั ปีของฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก (เชน่ PM2.5 และ PM10) ในเขตเมือง (ถว่ งนำ้ หนักกบั 11.a สนับสนุนการเช่อื มโยงเชิงบวกทางเศรษฐกจิ ประชากร) สงั คม และสิ่งแวดล้อมระหว่างพน้ื ทเ่ี มือง รอบเมือง และชนบท โดยการเสรมิ ความแข็งแกรง่ ของการวาง 11.7.1 สว่ นแบ่งเฉลีย่ ของพน้ื ที่เมืองทีถ่ ูกสรา้ งขึน้ แผนการพัฒนาในระดับชาติและระดบั ภมู ิภาค ใหเ้ ป็นสถานท่ีท่ีใช้ประโยชน์สาธารณะสำหรบั ทุกคน จำแนกตามเพศ อายุ และผูพ้ ิการ 11.b ภายในปี พ.ศ. 2563 เพ่ิมจำนวนเมอื งและ 11.7.2 สดั ส่วนของผทู้ ี่ตกเป็นเหยอ่ื ของการคุกคาม กระบวนการตั้งถนิ่ ฐานของมนุษย์ทเ่ี ลือกใช้และ ทางร่างกาย หรอื เพศ จำแนกตาม เพศ อายุ ดำเนินการตามนโยบายและแผนทบี่ ูรณาการ สถานภาพความพกิ าร และสถานที่เกิดเหตุในชว่ ง 12 เพอ่ื นำไปสูค่ วามครอบคลุม ประสทิ ธิภาพในการใช้ เดือนท่ีผา่ นมา ทรัพยากร การลดผลกระทบและปรบั ตัวตอ่ การ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ มภี มู ติ ้านทานต่อภัย 11.a.1 จำนวนประเทศท่ีมีนโยบายระดับชาติ พบิ ตั ิ และให้พัฒนาและดำเนินการตามการบริหาร ดา้ นการพฒั นาเมืองหรือแผนการพัฒนาภาค ความเสยี่ งจากภัยพิบตั ิแบบองค์รวมในทุกระดับ โดย ซึ่งมี (ก) ความสอดคล้องกบั พลวัตของประชากร เปน็ ไปตามกรอบการดำเนินงานเซนไดเพอ่ื การลด (ข) ความสมดุลของการพัฒนาเชิงพ้นื ที่ ความเสย่ี งจากภยั พิบตั ิ พ.ศ. 2558 - 2573 และ (ค) การเพ่มิ พ้ืนที่การคลัง (fiscal space) ของ ทอ้ งถ่ิน 11.b.1 จำนวนประเทศทมี่ ีและดำเนินการตาม ยุทธศาสตรก์ ารลดความเสย่ี งจากภยั พิบตั ริ ะดับ ประเทศทส่ี อดคล้องกบั กรอบการดำเนินงานเซนได เพ่ือการลดความเส่ยี งจากภัยพบิ ัติ พ.ศ. 2558– 2573 11.b.2 สดั ส่วนขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นท่มี ี และดำเนนิ การตามยุทธศาสตรก์ ารลดความเสย่ี งจาก ภัยพบิ ัติระดบั ท้องถ่นิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ ระดบั ประเทศ แผนทนี่ าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 30 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวัด (Global SDG indicators) 11.c สนับสนุนประเทศพฒั นานอ้ ยท่ีสุด รวมถงึ ผา่ น 11.c.1 สัดส่วนของการสนับสนุนทางการเงินทจี่ ดั สรร ทางความชว่ ยเหลือทางการเงินและวชิ าการในการ ให้กับการกอ่ สร้าง และการเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความ สร้างอาคารที่ย่ังยนื และมีความต้านทานและยืดหยุน่ ยงั่ ยนื ยืดหยนุ่ และอาคารท่ใี ชท้ รพั ยากรอยา่ งมี โดยใช้วัสดทุ อ้ งถิน่ ประสิทธิภาพ (ในการประชุมคณะกรรมาธกิ ารสถิตแิ หง่ สหประชาชาติ ครัง้ ท่ี 51 ระหวา่ งวนั ที่ 3 – 6 มนี าคม 2563 เสนอให้ยกเลกิ ตวั ชีว้ ดั 11.c.1 เนอ่ื งจากยังไม่มี การจัดทำ methodology และข้อมลู ) เป้าหมายที่ 12 สร้างหลกั ประกันให้มแี บบแผนการผลติ และการบริโภคทยี่ ั่งยนื (Responsible consumption, production) 12.1 ดำเนนิ การให้เปน็ ผลตามกรอบระยะ 10 ปี 12.1.1 จำนวนประเทศที่มีการพฒั นาหรอื นำใช้ ของแผนงานวา่ ดว้ ยแบบแผนการผลติ และการบรโิ ภค เคร่ืองมือการดำเนินนโยบายท่มี วี ตั ถปุ ระสงค์ ที่ยั่งยนื ทุกประเทศนำไปปฏิบัติโดยประเทศทีพ่ ัฒนา เพ่ือส่งเสริมการเปล่ยี นผ่านสู่การผลิตและการบริโภคที่ แลว้ เป็นผ้นู ำ โดยคำนงึ ถึงการพฒั นาและ ย่งั ยนื ขดี ความสามารถของประเทศกำลังพัฒนา 12.2 บรรลุการจัดการท่ยี ่ังยนื และการใชท้ รัพยากร 12.2.1 ร่องรอยการใช้วัตถุดบิ (Material Footprint) ธรรมชาตอิ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ภายในปี พ.ศ. 2573 ร่องรอยการใช้วตั ถดุ ิบต่อหัวประชากร และต่อ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) 12.3 ลดของเสยี อาหาร (food waste) ของโลก 12.2.2 การบรโิ ภควัตถดุ บิ ในประเทศ การบริโภค ลงครึง่ หน่ึงในระดบั ค้าปลีกและผบู้ รโิ ภค และลดการ วัตถุดบิ ในประเทศต่อหัวประชากร และต่อผลิตภัณฑ์ สูญเสียอาหาร (food loss) ตลอดการผลติ และหว่ งโซ่ มวลรวมในประเทศ (GDP) อปุ ทาน รวมถงึ การสูญเสยี หลังการเก็บเกยี่ ว ภายในปี 12.3.1 (ก) ดัชนกี ารสญู เสยี อาหาร (ข) ดัชนขี องเสีย พ.ศ. 2573 อาหาร 12.4 บรรลุเรอ่ื งการจดั การสารเคมีและของเสียทุก 12.4.1 จำนวนภาคสี มาชิกของขอ้ ตกลงพหภุ าคี ชนดิ ตลอดวงจรชีวิตของส่งิ เหลา่ น้ันด้วยวธิ ีท่เี ป็นมติ ร ดา้ นสิ่งแวดล้อมดา้ นของเสียอันตรายและ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ตามกรอบความรว่ มมือระหว่าง สารเคมีอื่น ๆ ทบี่ รรลวุ ตั ถุประสงคข์ องพนั ธกรณีและ ประเทศท่ตี กลงกนั แลว้ และลดการปลดปล่อยสิง่ ข้อผกู พันในการถ่ายทอดข้อมูลตามท่กี ำหนดไว้ใน เหลา่ น้ันออกสูอ่ ากาศ น้ำ และดินอยา่ งมนี ยั สำคัญ แต่ละข้อตกลงท่เี กยี่ วข้อง เพอ่ื จะลดผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของมนุษยแ์ ละ 12.4.2 (ก) ของเสยี อนั ตรายที่เกดิ ขนึ้ ต่อหวั ประชากร สิ่งแวดลอ้ มให้มากทีส่ ุด ภายในปี พ.ศ. 2563 และ (ข) สัดสว่ นของเสียอันตรายทีไ่ ด้รบั การบำบดั จำแนกตามประเภทการบำบัด แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 31 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) 12.5 ลดการเกิดของเสยี โดยใหม้ ีการป้องกัน การลด 12.5.1 อตั ราการนำขยะกลับมาใชใ้ หม่ (recycling ปริมาณ การใช้ซ้ำ และการนำกลับมาใชใ้ หม่ ภายในปี rate) ในระดับประเทศ (จำนวนตนั ของวสั ดุทถ่ี ูกนำ พ.ศ. 2573 กลบั มาใชใ้ หม่) 12.6 สนับสนุนให้บรษิ ัท โดยเฉพาะบรษิ ทั ข้ามชาติ 12.6.1 จำนวนบริษทั ที่ตีพิมพ์รายงานความยัง่ ยืน และบรษิ ทั ขนาดใหญ่ รับแนวปฏบิ ัติท่ีย่ังยืนไปใช้ และ (ตัวช้วี ัดเทยี บเคยี ง รายงานความยัง่ ยนื ของบรษิ ัท บูรณาการข้อมลู ด้านความยง่ั ยนื ไว้ในรอบการรายงาน ท่จี ดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์) ของบริษทั เหลา่ น้นั 12.7 ส่งเสรมิ แนวปฏิบัตดิ ้านการจัดซ้อื จดั จ้างของ 12.7.1 ระดับการดำเนินการตามนโยบายและ ภาครัฐทีย่ ่งั ยืน ตามนโยบายและการให้ลำดบั ความ แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการจดั ซ้ือจัดจา้ งของภาครัฐ ความสำคัญของประเทศ ทย่ี ง่ั ยนื 12.8 สรา้ งหลักประกันว่าประชาชนในทกุ แหง่ มีข้อมลู 12.8.1 ระดับการดำเนินการเพอ่ื บรรจุ ทเี่ กี่ยวข้องและมีความตระหนักถงึ การพฒั นาที่ยัง่ ยนื (i) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก และ และวถิ ีชีวติ ที่สอดคล้องกับธรรมชาติ ภายในปี พ.ศ. (ii) การจัดการศึกษาเพ่อื การพฒั นาท่ียัง่ ยืน เปน็ เรื่อง 2573 หลักใน (ก) นโยบายการศึกษาของประเทศ (ข) หลักสตู ร (ค) การศึกษาของครู และ (ง) การประเมนิ ผลนกั เรียน 12.a สนับสนุนประเทศกำลังพัฒนาในการเสรมิ 12.a.1 กำลังผลติ ติดต้ังพลงั งานหมนุ เวยี นในประเทศ ความแข็งแกร่งของขดี ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ กำลังพฒั นา (วัตต์ต่อหัวประชากร) และเทคโนโลยีทจ่ี ะขบั เคล่ือนไปสู่แบบแผนการผลิต และการบรโิ ภคที่ย่ังยนื ยิ่งข้นึ 12.b พฒั นาและดำเนินการใช้เคร่อื งมือเพื่อตดิ ตาม 12.b.1 ดำเนินการใชเ้ ครอ่ื งมือทางการบัญชีทม่ี ี ผลกระทบของการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนในดา้ นการท่องเทีย่ ว มาตรฐานเพ่ือตดิ ตามมติ ิทางเศรษฐกจิ และส่ิงแวดลอ้ ม ท่ียงั่ ยืนทีส่ ร้างงานและสง่ เสริมวัฒนธรรมและ ของความยั่งยืนทางการทอ่ งเทยี่ ว ผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ 12.c ทำใหก้ ารอดุ หนนุ เชอ้ื เพลิงฟอสซิลท่ีไร้ 12.c.1 (ก) สดั ส่วนของเงินอุดหนนุ เชือ้ เพลิงฟอสซลิ ต่อ ประสิทธภิ าพและนำไปสู่การบริโภคทีส่ ิ้นเปลืองมีความ GDP และ (ข) สัดสว่ นของเงนิ อดุ หนุนเช้อื เพลงิ สมเหตุสมผล โดยกำจัดการบิดเบอื นทางการตลาด ฟอสซลิ ต่อค่าใชจ้ า่ ยรวมของประเทศในด้านเชอ้ื เพลงิ ให้สอดคล้องกบั บริบทของประเทศ รวมถึงการปรับ ฟอสซลิ โครงสร้างภาษีและเลกิ การอุดหนุนทเี่ ป็นภัยเหล่าน้นั เพ่อื สะท้อนให้เหน็ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยคำนงึ ถึงความจำเป็นและเงอ่ื นไขเฉพาะของ ประเทศกำลงั พฒั นาและลดผลกระทบทางลบที่อาจ เกดิ ขน้ึ ต่อการพฒั นาของประเทศเหลา่ นั้นในลักษณะท่ี เปน็ การค้มุ ครองคนจนและชุมชนทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบ แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 32 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เป้าหมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) เปา้ หมายที่ 13 ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งเรง่ ด่วนเพ่ือต่อสกู้ ับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและผลกระทบที่ เกิดขนึ้ (Climate action) 13.1 เสริมภูมติ ้านทานและขีดความสามารถในการ 13.1.1 จำนวนผู้เสียชีวิต สูญหาย และผทู้ ่ไี ด้รบั ปรับตัวตอ่ อนั ตรายและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาตทิ ่ี ผลกระทบโดยตรงจากภยั พบิ ัตติ อ่ ประชากร 100,000 เกีย่ วข้องกบั ภมู ิอากาศในทุกประเทศ คน (ภยั พบิ ตั ิ รวมถงึ อุทกภัย อคั คภี ัย วาตภัย และภัยแลง้ ) 13.2 บูรณาการมาตรการดา้ นการเปล่ยี นแปลงสภาพ 13.1.2 จำนวนประเทศท่มี ีและดำเนนิ การตาม ภูมอิ ากาศในนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการวางแผน ยทุ ธศาสตร์การลดความเส่ยี งจากภยั พิบตั ริ ะดับ ระดบั ชาติ ประเทศท่สี อดคล้องกบั กรอบการดำเนนิ งานเซนได เพอ่ื การลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 -2573 13.3 พัฒนาการศกึ ษา การสร้างความตระหนักรู้ 13.1.3 สดั ส่วนของหนว่ ยงานระดับท้องถน่ิ ทม่ี แี ละ และขีดความสามารถของมนุษย์และของสถาบนั ใน ดำเนนิ การตามยุทธศาสตรก์ ารลดความเสี่ยงจาก เร่ืองการลดผลกระทบและการปรบั ตัวตอ่ การ ภยั พบิ ตั ริ ะดับท้องถิน่ ท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และการเตือนภยั ระดับประเทศ ล่วงหนา้ 13.a ดำเนินการให้เกิดผลตามพนั ธกรณีที่ผูกพัน 13.2.1 จำนวนประเทศทม่ี ีเป้าหมายการลดก๊าซ ตอ่ ประเทศพัฒนาแล้วซึง่ เปน็ ภาคขี องอนุสญั ญา เรอื นกระจกของประเทศ (NDCs) ยทุ ธศาสตร์ สหประชาชาติว่าดว้ ยการเปลีย่ นแปลงสภาพ ระยะยาว แผนการปรบั ตัวตอ่ ผลกระทบจากการ ภูมอิ ากาศ ทีม่ ีเป้าหมายรว่ มกันระดมทุนจากทุกแหลง่ เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ยุทธศาสตร์ในรายงาน ให้ไดจ้ ำนวน 1 แสนล้านเหรียญสหรฐั ต่อปี ภายในปี การดำเนินงานด้านการปรบั ตัว (Adaptation พ.ศ. 2563 เพือ่ สนองความต้องการของประเทศกำลงั communications) และในรายงานแห่งชาติ (National communications) 13.2.2 ปรมิ าณรวมการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกต่อปี 13.3.1 ระดบั การดำเนนิ การเพ่อื บรรจุ (i) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมอื งโลก และ (ii) การจดั การศึกษาเพ่ือการพฒั นาท่ียั่งยนื เป็นเรอื่ งหลักใน (ก) นโยบายการศึกษาของประเทศ (ข) หลกั สตู ร (ค) การศึกษาของครู และ (ง) การประเมินผลนกั เรียน 13.a.1 ปรมิ าณเงนิ ดอลลารส์ หรฐั ทรี่ ะดมไดต้ อ่ ปี เทยี บเคยี งกบั เปา้ หมายการระดมทุนสะสมต่อเน่อื งให้ ได้ 1 แสนล้านเหรียญสหรัฐตามพันธะสัญญาจนถงึ ปี พ.ศ. 2568 แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 33 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) พัฒนา ภายใต้บรบิ ทของการดำเนนิ มาตรการลด 13.b.1 จำนวนประเทศพัฒนานอ้ ยทส่ี ดุ รฐั กำลัง ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและ พฒั นาทีเ่ ป็นเกาะขนาดเลก็ ท่ีมีเปา้ หมายการลดกา๊ ซ ความโปร่งใสในการดำเนนิ งาน ตลอดจนจดั หาเงนิ ทนุ เรอื นกระจกของประเทศ (NDCs) ยุทธศาสตร์ระยะ เพ่อื ใหก้ องทนุ Green Climate Fund ดำเนินการได้ ยาว แผนการปรบั ตัวตอ่ ผลกระทบจากการ เต็มท่ีโดยเรว็ เปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ยทุ ธศาสตร์ในรายงาน การดำเนนิ งานด้านการปรบั ตัว (Adaptation 13.b ส่งเสริมกลไกที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการ communications) และในรายงานแหง่ ชาติ วางแผนและการบรหิ ารจดั การทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การ (National communications) เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศอยา่ งมปี ระสิทธผิ ล ในประเทศพฒั นาน้อยท่ีสุด และรัฐกำลงั พัฒนาทเ่ี ป็น เกาะขนาดเล็ก โดยใหค้ วามสำคัญตอ่ ผหู้ ญิง เยาวชน ชุมชนท้องถิน่ และชมุ ชนชายขอบ เป้าหมายที่ 14 อนรุ กั ษแ์ ละใช้ประโยชน์จากมหาสมทุ ร ทะเลและทรพั ยากรทางทะเลอยา่ งยั่งยนื เพอื่ การ พฒั นาทยี่ ่ังยืน (Life below water) 14.1 ป้องกนั และลดมลพษิ ทางทะเลทุกประเภทอย่าง 14.1.1 (ก) ดชั นีของปรากฏการณย์ ูโทรฟเิ คชนั่ มนี ยั สำคัญ โดยเฉพาะจากกจิ กรรมบนแผ่นดนิ รวมถึง (Eutrophication) และ (ข) ความหนาแนน่ ของขยะ ขยะในทะเลและมลพษิ จากธาตุอาหาร (nutrient พลาสตกิ ในทะเล pollution) ภายในปี พ.ศ. 2568 14.2 บรหิ ารจัดการและปกป้องระบบนิเวศทางทะเล 14.2.1 จำนวนประเทศทใี่ ชแ้ นวทางเชงิ ระบบนเิ วศ และชายฝ่ังเพื่อหลีกเล่ยี งผลกระทบทางลบท่มี ี ในการบริหารจดั การพน้ื ท่ีทางทะเล นัยสำคญั รวมถงึ โดยการเสริมภูมติ า้ นทานและ ปฏบิ ัติการเพื่อฟ้นื ฟู เพ่ือบรรลุการมีมหาสมุทรทมี่ ี สขุ ภาพดีและมผี ลิตภาพ ภายในปี พ.ศ. 2563 14.3 ลดและแก้ปัญหาผลกระทบของการเป็นกรด 14.3.1 คา่ ความเปน็ กรดในทะเลเฉลีย่ (pH) โดยวดั ในมหาสมทุ ร โดยรวมถึงผ่านทางการเพิม่ พูน จากสถานสี ุ่มตวั อย่าง ความร่วมมอื ทางวิทยาศาสตร์ในทกุ ระดับ 14.4 ภายในปี พ.ศ. 2563 ให้กำกบั การทำการประมง 14.4.1 สัดส่วนของมวลสตั ว์นำ้ (fish stocks) อยา่ งมีประสิทธิผล และยตุ กิ ารประมงเกนิ ขดี จำกัด ท่อี ยู่ในระดับความย่งั ยืนทางชวี ภาพ การประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การ ควบคุม (IUU) และแนวปฏิบตั ิด้านการประมงท่ีเป็นไป ในทางทำลาย และดำเนนิ การให้เปน็ ผลตามแผนการ บรหิ ารจัดการที่อยู่บนฐานวิทยาศาสตร์ เพื่อจะฟ้นื ฟู มวลปลา (fish stock) ในเวลาทส่ี ้ันทส่ี ุดทจ่ี ะเปน็ ไปได้ แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 34 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ช้ีวดั (Global SDG indicators) อย่างน้อยทสี่ ุดให้อยใู่ นระดับผลผลติ สงู สดุ ทีย่ ั่งยืน (maximum sustainable yield) ตามคุณลกั ษณะ ทางชีววทิ ยาของสตั ว์น้ำเหล่านั้น 14.5 ภายในปี พ.ศ. 2563 อนุรักษ์พนื้ ท่ที างทะเลและ 14.5.1 ขอบเขตของพน้ื ทีค่ ุ้มครองที่เกี่ยวข้องกบั พ้ืนท่ี ชายฝัง่ อย่างน้อยร้อยละ 10 โดยให้เป็นไปตาม ทางทะเล กฎหมายระหวา่ งประเทศและภายในประเทศ และอยู่ บนพ้ืนฐานของข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ท่ดี ที ีส่ ดุ ท่ีมีอยู่ 14.6 ภายในปี พ.ศ. 2563 ยับย้ังการอุดหนุนการ 14.6.1 ความกา้ วหนา้ ของประเทศต่าง ๆ ในการใช้ ประมงบางรูปแบบที่มสี ่วนทำให้เกดิ การประมงเกิน เครือ่ งมือ/กลไกระหว่างประเทศ เพ่ือต่อสกู้ บั ขดี จำกดั ขจัดการอดุ หนนุ ทมี่ ีส่วนทำใหเ้ กดิ การประมง การประมงทผ่ี ิดกฎหมาย ขาดการรายงาน ทผ่ี ิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม และไร้การควบคุม และระงบั การรเิ ริ่มการอุดหนุนในลกั ษณะดังกลา่ ว โดยตระหนักว่าการปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ พิเศษและแตกตา่ งท่ี เหมาะสมและมปี ระสิทธผิ ลสำหรับประเทศกำลงั พฒั นาและประเทศพฒั นาน้อยทส่ี ุดควรเปน็ ส่วนควบ ในการเจรจาการอุดหนุนการประมงขององค์การ การคา้ โลก 14.7 ภายในปี พ.ศ. 2573 เพิ่มผลประโยชน์ทาง 14.7.1 ร้อยละของผลผลติ จากการประมงที่ย่ังยนื เศรษฐกิจแกร่ ฐั กำลงั พฒั นาทีเ่ ป็นเกาะขนาดเล็กและ ต่อ GDP ในรฐั กำลังพฒั นาท่ีเป็นเกาะขนาดเลก็ ประเทศพฒั นาน้อยท่ีสุดจากการใช้ทรพั ยากรทาง ประเทศกลุ่มพัฒนานอ้ ยทส่ี ดุ และทกุ ประเทศ ทะเลอย่างย่งั ยืน รวมถงึ ผ่านทางการบริหารจัดการ อยา่ งย่งั ยืนในเร่ืองการประมง การเพาะเล้ียงสัตว์นำ้ และการทอ่ งเท่ยี ว 14.a เพมิ่ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาขีด 14.a.1 สัดสว่ นการจดั สรรงบประมาณเพื่อวจิ ยั ความสามารถในการวจิ ัย และถา่ ยทอดเทคโนโลยี เกยี่ วกับเทคโนโลยที างทะเล ตอ่ งบประมาณการวิจัย ทางทะเล โดยคำนงึ ถงึ หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ท้งั หมด เกี่ยวกับการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทางทะเล ของคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าดว้ ยสมทุ ร ศาสตร์ เพื่อจะพัฒนาคุณภาพมหาสมุทรและเพ่ิมพนู ให้ความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเลมสี ่วน สนับสนุนการพัฒนาของประเทศกำลงั พฒั นามากข้นึ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในรฐั กำลงั พฒั นาที่เป็นเกาะขนาด เลก็ และประเทศพัฒนาน้อยที่สดุ แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 35 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวดั (Global SDG indicators) 14.b จดั ให้ชาวประมงพนื้ บา้ นรายเล็กเขา้ ถึงทรัพยากร 14.b.1 ความก้าวหนา้ ของแต่ละประเทศทม่ี ีการใช้ ทางทะเลและตลาด และดำเนนิ การดา้ นข้อกฎหมาย / ข้อบังคับ / นโยบาย / กรอบการปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานที่ ตระหนักและปกป้องสิทธิของการทำประมงขนาดเลก็ 14.c เพ่มิ พนู การอนรุ ักษ์และการใช้มหาสมุทรและ 14.c.1 จำนวนประเทศที่มคี วามก้าวหน้าในการ ทรัพยากรอยา่ งยั่งยืน โดยการดำเนนิ การใหเ้ กิดผล ให้สัตยาบัน ยอมรบั และนำกรอบการทำงาน ตามกฎหมายระหวา่ งประเทศตามทส่ี ะท้อนใน เชงิ กฎหมาย/ นโยบาย/สถาบัน และเครอื่ งมือในการ UNCLOS ซึง่ เปน็ กรอบทางกฎหมายสำหรบั การ แปลงกฎหมายระหว่างประเทศทเ่ี ก่ยี วกบั มหาสมุทรมา อนรุ ักษ์และการใช้มหาสมทุ รและทรัพยากรเหล่านน้ั ใช้ ดงั ที่สะท้อนอยู่ใน UNCLOS เพอื่ การอนรุ ักษ์ และ อยา่ งยั่งยนื ตามที่ระบใุ นยอ่ หนา้ ท่ี 158 ของเอกสาร การใช้มหาสมุทรและทรัพยากรอย่างย่ังยนื The Future We Want เปา้ หมายท่ี 15 ปกป้อง ฟ้ืนฟู และสนับสนนุ การใชร้ ะบบนเิ วศบนบกอยา่ งย่ังยืน จัดการปา่ ไมท้ ย่ี ่งั ยืน ตอ่ สู้ การกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเส่ือมโทรมของที่ดนิ และฟ้ืนสภาพกลับมาใหม่ และหยดุ การสูญเสีย ความหลากหลายทางชีวภาพ (Life on land) 15.1 สรา้ งหลกั ประกนั ว่าจะมีการอนรุ ักษ์ การฟ้นื ฟู 15.1.1 สัดส่วนของพ้ืนท่ปี ่าไม้ต่อพน้ื ที่ดนิ ทงั้ หมด และการใชร้ ะบบนิเวศบนบกและแหล่งน้ำจืดใน 5.1.2 สัดสว่ นของพื้นทีส่ ำคัญตอ่ ความหลากหลายทาง แผน่ ดนิ รวมท้งั บรกิ ารทางระบบนิเวศอยา่ งยัง่ ยนื ชีวภาพทง้ั ทางบกและแหล่งน้ำจดื ซง่ึ เป็นพนื้ ท่ี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ป่าไม้ พ้นื ท่ีชมุ่ น้ำ ภเู ขาและพ้ืนที่ คุ้มครอง จำแนกตามประเภทระบบนเิ วศ แห้งแล้ง โดยเปน็ ไปตามข้อบังคบั ภายใต้ความตกลง ระหว่างประเทศ ภายในปี พ.ศ. 2563 15.2 ส่งเสรมิ การดำเนินการด้านการบริหารจัดการป่า 15.2.1 ความก้าวหนา้ ในการบริหารจดั การป่าไมอ้ ยา่ ง ไมท้ ุกประเภทอย่างยั่งยืน หยุดยั้งการตดั ไมท้ ำลายป่า ย่งั ยนื ฟ้นื ฟูป่าท่เี สอ่ื มโทรม และเพิม่ การปลกู ป่าและฟ้นื ฟูปา่ ทั่วโลกอยา่ งจริงจัง ภายในปี พ.ศ. 2563 15.3 ตอ่ ต้านการกลายสภาพเป็นทะเลทราย ฟ้ืนฟู 15.3.1 สัดสว่ นของทดี่ ินท่ถี ูกทำใหเ้ สือ่ มโทรม ที่ดนิ และดินทเ่ี ส่ือมโทรม รวมถงึ ท่ีดินที่ได้รับ ตอ่ พนื้ ทด่ี นิ ทัง้ หมด ผลกระทบจากการกลายสภาพเปน็ ทะเลทราย ภยั แล้ง และอุทกภัย และพยายามที่จะบรรลุถงึ ความสมดุล ของการจัดการทรัพยากรทดี่ ิน ภายในปี พ.ศ. 2573 15.4 สร้างหลักประกนั วา่ จะมีการอนุรักษ์ระบบนิเวศ 15.4.1 ขอบเขตของพ้ืนที่คมุ้ ครองท่มี ีความสำคัญ ภเู ขาและความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนิเวศ ต่อความหลากหลายทางชีวภาพบนภเู ขา เหลา่ นน้ั เพอื่ เพมิ่ พูนขีดความสามารถของระบบนเิ วศ 15.4.2 ดชั นพี ้ืนท่ีภเู ขาสีเขยี ว (Mountain Green ในการสร้างผลประโยชน์อนั สำคัญต่อการพฒั นาที่ Cover Index) ยัง่ ยืน ภายในปี พ.ศ. 2573 แผนทน่ี าทางการขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 36 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วัด (Global SDG indicators) 15.5 ปฎบิ ัตกิ ารท่ีจำเปน็ และเรง่ ด่วนเพ่ือลดการ 15.5.1 ดัชนีบญั ชกี ารเปลย่ี นแปลงสถานภาพพนั ธ์ุพชื เสอื่ มโทรมของถ่ินท่ีอยู่ตามธรรมชาติ หยุดยงั้ การ และพันธุส์ ตั ว์ที่เส่ียงต่อการถกู คุกคาม (Red List สูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภายในปี Index) พ.ศ. 2563 ปกป้องและป้องกันการสญู พันธขุ์ องชนดิ พันธ์ทุ ถ่ี ูกคุกคาม 15.6 ส่งเสริมการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดจากการใช้ 15.6.1 จำนวนประเทศที่มีการยอมรับกรอบกฎหมาย ประโยชนท์ รัพยากรพนั ธุกรรมอย่างเทา่ เทียมและ กรอบการบรหิ ารจดั การ และกรอบนโยบายเพ่ือสร้าง ยตุ ธิ รรม และส่งเสรมิ การเข้าถึงทรัพยากรเหลา่ นนั้ ความมนั่ ใจในความเป็นธรรม และความเทา่ เทยี ม อย่างเหมาะสม ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ในการแบง่ ปนั ผลประโยชน์ 15.7 ปฏบิ ตั กิ ารอย่างเร่งดว่ นเพ่ือจะยตุ กิ ารลา่ และการ 15.7.1 สัดสว่ นของการค้าสตั วป์ า่ และพชื ปา่ ท่ีถูกลา่ ขนยา้ ยชนดิ พันธุ์พชื และสตั ว์ค้มุ ครอง และแกป้ ญั หา หรือถูกขนย้ายอย่างผิดกฎหมาย ทั้งอุปสงคแ์ ละอปุ ทานต่อผลิตภณั ฑ์สตั วป์ ่าทผี่ ดิ กฎหมาย 15.8 นำมาตรการเพื่อปอ้ งกนั การนำเข้าและลด 15.8.1 สดั สว่ นประเทศที่ไดใ้ ชก้ ฎหมายระดับชาติ ผลกระทบของชนดิ พนั ธ์ตุ า่ งถิ่นทรี่ กุ รานต่อระบบนิเวศ ท่เี กี่ยวข้อง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อปอ้ งกันหรือ บกและน้ำ และควบคุมหรือขจดั priority species ควบคุมชนดิ พันธ์ุต่างถ่ินที่ถกู รุกรานอย่างเพยี งพอ ภายในปี พ.ศ. 2563 15.9 บูรณาการมูลคา่ ของระบบนเิ วศและ 15.9.1 (ก) จำนวนประเทศท่ีกำหนดเปา้ หมาย ความหลากหลายทางชวี ภาพเขา้ ไปส่กู ารจดั ทำแผน ระดับชาติท่สี อดคล้องหรือใกล้เคียงกบั เป้าประสงค์ กระบวนการพัฒนา ยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจน ท่ี 2 ของ Aichi Biodiversity ของแผนยุทธศาสตร์ และบัญชที ั้งระดับท้องถิน่ และระดบั ประเทศ ภายในปี ความหลากหลายทางชวี ภาพ ค.ศ. 2011-2020 พ.ศ. 2563 ไวใ้ นยุทธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ตั ิการความหลากหลาย ทางชีวภาพระดับชาติ (NBSAP) และมกี ารรายงาน ความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าว (ข) บูรณาการความหลากหลายทางชวี ภาพในระบบการ รายงานและการบัญชีของประเทศ (การดำเนินการ ตามระบบบัญชเี ศรษฐกจิ และส่งิ แวดล้อม) 15.a ระดมและเพิ่มทรพั ยากรทางการเงนิ จากทุก 15.a.1 (ก) การชว่ ยเหลือเพ่อื การพัฒนาอยา่ งเป็น แหล่ง เพื่ออนุรกั ษ์และใชค้ วามหลากหลายทางชีวภาพ ทางการ (ODA) เพอ่ื การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ และระบบนิเวศอยา่ งยั่งยืน จากความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งย่ังยนื และ (ข) รายได้และเงินที่ระดมได้จากการใช้เครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตรท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับความหลากหลายทาง ชวี ภาพ แผนทน่ี าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 37 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวดั (Global SDG indicators) 15.b ระดมทรัพยากรจากทกุ แหลง่ และทุกระดับ 15.b.1 (ก) การชว่ ยเหลือเพ่ือการพฒั นาอยา่ งเปน็ เพอ่ื สนับสนุนเงนิ แก่การบรหิ ารจดั การป่าไมอ้ ย่าง ทางการ (ODA) เพอื่ การอนุรักษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ ยั่งยนื และสรา้ งแรงจูงใจทเี่ หมาะสมสำหรบั ประเทศ จากความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งยั่งยนื และ (ข) กำลังพฒั นาใหเ้ กดิ ความก้าวหน้าในการบรหิ ารจัดการ รายได้และเงินทร่ี ะดมได้จากการใช้เครือ่ งมอื ซงึ่ รวมถงึ การอนุรักษแ์ ละการปลกู ปา่ ทางเศรษฐศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้องกับความหลากหลายทาง ชวี ภาพ 15.c เพม่ิ พนู การสนบั สนนุ ในระดับโลกแก่ความ 15.c.1 สัดส่วนของการค้าสัตวป์ ่าและพชื ป่าที่ถูกลา่ พยายามท่จี ะต่อสู้กับการล่า การเคล่อื นย้ายชนดิ พนั ธุ์ หรอื ถูกขนย้ายอยา่ งผดิ กฎหมาย ค้มุ ครอง รวมถงึ โดยการเพิ่มขีดความสามารถของ ชมุ ชนท้องถน่ิ ในการดำรงชีพอยา่ งยงั่ ยืน เป้าหมายท่ี 16 ส่งเสริมสังคมทส่ี งบสขุ และครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยนื ให้ทุกคนเขา้ ถึงความยุติธรรม และสรา้ งสถาบันท่ีมีประสิทธิผล รับผิดชอบ และครอบคลุมในทุกระดับ (Peace, justice and strong institutions) 16.1 ลดความรุนแรงทุกรูปแบบและอัตราการตาย 16.1.1 จำนวนเหยือ่ ฆาตกรรม ต่อประชากร 100,000 ที่เกยี่ วข้องในทุกแห่งให้ลดลงอยา่ งมนี ยั สำคญั คน จำแนกตามเพศ และอายุ 16.1.2 การเสยี ชวี ิตที่เกี่ยวข้องกบั ความขดั แยง้ ต่อประชากร 100,000 คน จำแนกตาม อายุ เพศ และ สาเหตุ 16.1.3 สดั สว่ นของประชากรที่ไดร้ บั (ก) ความรุนแรงทางรา่ งกาย (ข) จิตใจ และ (ค) ทาง เพศ ในชว่ ง 12 เดือนทีผ่ ่านมา 16.1.4 สดั สว่ นประชากรทร่ี ้สู ึกปลอดภยั เมื่อเดนิ ในบริเวณพนื้ ท่ีท่อี าศัยเพยี งลำพงั 16.2 ยุติการข่มเหง การแสวงหาประโยชน์ 16.2.1 สัดส่วนของเด็กอายุ 1-17 ปี ทเี่ คยถูกทำร้าย อยา่ งไมถ่ ูกต้อง การค้ามนุษย์ และความรุนแรง ทางร่างกาย และ/หรือข่มเหงทางจติ ใจโดยผดู้ ูแล และการทรมานทุกรปู แบบที่มีต่อเดก็ ในเดอื นทีผ่ า่ นมา 16.2.2 จำนวนเหยอ่ื การค้ามนุษย์ต่อประชากร 100,000 คน จำแนกตามเพศ อายุ และรูปแบบ การแสวงหาประโยชน์ 16.2.3 สัดสว่ นของผหู้ ญงิ และผูช้ าย อายุ 18-29 ปี ที่เคยถูกกระทำความรุนแรงทางเพศก่อนอายุ 18 ปี แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 38 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วดั (Global SDG indicators) 16.3 ส่งเสรมิ หลักนิตธิ รรมท้ังในระดบั ชาติและ ระหวา่ งประเทศ และสรา้ งหลักประกันว่าทกุ คน 16.3.1 รอ้ ยละของเหย่ือความรนุ แรงใน 12 เดือน สามารถเขา้ ถงึ ความยุตธิ รรมอยา่ งเท่าเทียม ที่ผ่านมา ซึ่งได้แจง้ การกระทำอันรนุ แรงนน้ั ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีที่มีอำนาจหน้าที่ หรอื กลไก 16.4 ลดการลักลอบเคลอ่ื นย้ายอาวุธและเงิน เสริม ทางการในการยตุ ิข้อขดั แย้ง ความแขง็ แกร่งของกระบวนการติดตามและการสง่ คนื 16.3.2 สดั ส่วนของจำนวนผตู้ ้องขังทศ่ี าลยังไม่ สินทรัพยท์ ถี่ ูกขโมยไป และต่อสกู้ ับอาชญากรรมที่ พิพากษาต่อจำนวนนกั โทษทง้ั หมด จดั ตงั้ ในลักษณะองคก์ รทุกรปู แบบ ภายในปี 16.3.3 สัดส่วนประชากรทม่ี ปี ัญหาความขัดแยง้ ในชว่ ง พ.ศ. 2573 12 เดือนทผ่ี า่ นมา และผู้ทีเ่ ข้าถงึ กลไก การแกป้ ัญหาความขดั แย้งทง้ั ท่ีเป็นทางการและ 16.5 ลดการทุจริตในตำแหนง่ หนา้ ทแี่ ละการรบั สินบน ไม่เป็นทางการ จำแนกตามประเภทของกลไก ทกุ รูปแบบ 16.4.1 มลู ค่ารวมทง้ั หมดของกระแสเขา้ ออกของเงนิ ที่ 16.6 พัฒนาสถาบันที่มปี ระสิทธผิ ล มคี วามรบั ผิดชอบ ผดิ กฎหมาย (หนว่ ยเป็น ดอลลารส์ หรัฐ) และโปร่งใสในทุกระดบั 16.4.2 สดั ส่วนของอาวุธ (อาวธุ เล็กและอาวุธเบา) ทถ่ี กู ยึด ค้นพบและส่งมอบ ซ่ึงเจ้าหนา้ ทไ่ี ด้ตดิ ตามและ ระบุแหล่งท่ีมาหรือบรบิ ททผ่ี ิดกฎหมายของอาวุธ โดยเปน็ ไปตามมาตรฐานและเคร่อื งมือทางกฎหมาย ระหว่างประเทศ 16.5.1 สดั ส่วนของบคุ คลทเี่ คยติดตอ่ กับเจา้ หนา้ ท่ีของ รัฐอยา่ งนอ้ ย 1 ครัง้ และมีการใหส้ ินบนหรือถูกเรยี ก สนิ บนโดยเจา้ หน้าทขี่ องรัฐในช่วงระยะเวลา 12 เดอื น ทผ่ี า่ นมา 16.5.2 สดั ส่วนขององคก์ รธรุ กิจที่เคยติดตอ่ กับ เจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐอย่างน้อย 1 ครง้ั และมีการ ให้สนิ บน หรือถกู เรียกสินบนโดยเจา้ หน้าที่ของรฐั ในช่วงระยะเวลา 12 เดือนที่ผา่ นมา 16.6.1 การใช้จ่ายภาครฐั ข้นั พนื้ ฐานคดิ เป็นสัดสว่ น ของงบประมาณที่ได้รบั การอนุมัติแล้ว จำแนกเป็น ภาค (หรอื จำแนกตามรหสั งบประมาณ หรือทม่ี ี ลกั ษณะคล้ายคลงึ กนั ) 16.6.2 สัดสว่ นประชากรท่พี งึ พอใจกับบรกิ าร สาธารณะคร้งั ล่าสุดที่ตนได้ใชบ้ ริการ แผนทน่ี าทางการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 39 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวดั (Global SDG indicators) 16.7 สรา้ งหลักประกันวา่ จะมีกระบวนการตัดสนิ ใจท่ี 16.7.1 สัดสว่ นตำแหน่งในสถาบนั ของรัฐ มคี วามรบั ผิดชอบ ครอบคลุม มสี ่วนรว่ ม และมีความ ระดับประเทศและระดบั ท้องถ่นิ ซงึ่ รวมถึง เป็นตัวแทนท่ีดี ในทุกระดบั การตัดสนิ ใจ (ก) สภานิตบิ ญั ญัติ (ข) บรกิ ารสาธารณะ และ (ค) คณะตลุ าการ เปรียบเทยี บกบั การกระจายตัว ในระดับชาติ โดยจำแนกตามเพศ อายุ ผพู้ กิ าร และ กล่มุ ประชากร) 16.7.2 สัดสว่ นของประชากรที่เชือ่ ว่ามกี ระบวนการ ตดั สินใจท่ีครอบคลมุ และตอบสนองความต้องการ จำแนกตามเพศ อายุ ความพิการ และกลุ่มประชากร 16.8 ขยายและเสริมความแข็งแกร่งของการมสี ่วนรว่ ม 16.8.1 สัดส่วนของสมาชิก และสทิ ธิการออกเสยี งของ ของประเทศกำลังพฒั นาในสถาบันท่เี กีย่ วขอ้ ง ประเทศกำลงั พฒั นาในองค์กรระหวา่ งประเทศ กับธรรมาภิบาลโลก 16.9 จดั ให้มีอัตลกั ษณ์ทางกฎหมายสำหรบั ทกุ คน 16.9.1 สัดสว่ นของเดก็ อายตุ ่ำกวา่ 5 ปี ท่มี กี าร โดยรวมถึงการใหม้ ีการจดทะเบยี นเกดิ (สตู ิบัตร) จดทะเบยี นแจ้งเกดิ กบั หน่วยงานของรัฐ ภายในปี พ.ศ. 2573 จำแนกตามอายุ 16.10 สรา้ งหลกั ประกนั วา่ สาธารณชนสามารถเข้าถงึ 16.10.1 จำนวนคดีที่พิสูจน์แล้ววา่ เปน็ ความจรงิ ข้อมูลและมีการปกป้องเสรีภาพขน้ั พ้นื ฐาน เก่ยี วกบั การฆาตกรรม (killing) การลกั พาตัว ตามกฎหมายภายในประเทศและความตกลงระหวา่ ง (kidnapping) การอมุ้ หาย (enforced ประเทศ disappearance) การควบคุมตัวโดยพลการ (arbitrary detention) การทรมาน (torture) ที่กระทำต่อผูส้ อ่ื ข่าว บคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ส่ือ สหภาพแรงงาน และผู้พทิ ักษ์สทิ ธิมนุษยชน ในชว่ ง 12 เดอื นท่ผี ่านมา 16.10.2 จำนวนประเทศท่ีใช้และดำเนนิ การ ตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมายและ/หรอื นโยบาย ท่รี ับประกนั วา่ สาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ 16.a เสรมิ ความแข็งแกรง่ ของสถาบันระดับชาติ 16.a.1 การมอี งค์กรอสิ ระด้านสิทธมิ นษุ ยชน ที่เกย่ี วข้อง โดยรวมถึงกระทำผา่ นทางความร่วมมือ ทสี่ อดคล้องกับหลักสนธิสญั ญาปารีส (Paris ระหวา่ งประเทศ เพื่อสร้างขีดความสามารถในทกุ Principles) ระดับ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา เพ่ือจะ ป้องกันความรุนแรงและต่อส้กู บั การกอ่ การรา้ ย และอาชญากรรม แผนทน่ี าทางการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 40 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตัวชี้วดั (Global SDG indicators) 16.b สง่ เสริมและบังคบั ใชก้ ฎหมายและนโยบาย 16.b.1 สัดสว่ นของประชากรท่รี ายงานวา่ รูส้ กึ ที่ไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิเพอื่ การพฒั นาทย่ี ่ังยนื ถูกเลอื กปฏบิ ตั ิ หรอื ถูกข่มขู่/คุกคามในชว่ ง 12 เดือนท่ี ผา่ นมา ตามข้อบัญญัติพ้นื ฐานของการห้ามเลือก ปฏิบัตภิ ายใตก้ ฎหมายสิทธมิ นษุ ยชนระหว่างประเทศ เปา้ หมายที่ 17 เสริมความแข็งแกร่งใหแ้ กก่ ลไกการดำเนินงานและฟื้นฟูหุ้นส่วนความร่วมมอื ระดับโลก เพ่อื การพัฒนาที่ยั่งยืน (Partnerships for the goals) การเงนิ 17.1 เสริมความแข็งแกร่งของการระดมทรัพยากร 17.1.1 สดั สว่ นรายไดภ้ าครัฐรวม ตอ่ GDP จำแนก ภายในประเทศ โดยรวมถึงการสนับสนนุ ระหว่าง ตามแหล่งทมี่ าของรายได้ ประเทศไปยงั ประเทศกำลังพัฒนา เพอ่ื ปรบั ปรงุ 17.1.2 สดั สว่ นงบประมาณภายในประเทศทีจ่ ดั สรร ขดี ความสามารถของประเทศในการเกบ็ ภาษแี ละ จากภาษีภายในประเทศ รายไดอ้ นื่ ๆ ของรฐั 17.2 ประเทศพฒั นาแลว้ จะดำเนินการใหเ้ ป็นผล 17.2.1 ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็น ตามพันธกรณเี ร่อื งการให้ความช่วยเหลอื เพ่ือการ ทางการ (ODA) สุทธิ ยอดรวม และทใี่ ห้แก่ประเทศ พฒั นาอยา่ งเป็นทางการ (ODA) อยา่ งเต็มที่ โดยรวม พัฒนานอ้ ยที่สุด โดยคดิ เป็นสัดสว่ นรายได้มวลรวม ถึงพันธกรณที ีใ่ ห้ไวโ้ ดยประเทศพัฒนาแลว้ หลาย ประชาชาติ (GNI) ของ ผูบ้ รจิ าคทเี่ ปน็ สมาชิก ประเทศท่ีจะบรรลเุ ปา้ หมายการมสี ัดส่วน ODA/GNI ของคณะกรรมการความช่วยเหลอื เพ่ือการพัฒนา ทใี่ หแ้ ก่ประเทศกำลงั พัฒนา ร้อยละ 0.7 และมสี ัดสว่ น (Development Assistance Committee) ของ ODA/GNI ทีใ่ หแ้ ก่ประเทศพัฒนานอ้ ยทสี่ ุด รอ้ ยละ OECD 0.15 ถงึ 0.20 โดยผู้ให้ ODA ควรพจิ ารณา ตง้ั เปา้ หมายทีจ่ ะใหม้ ีสัดส่วน ODA/GNI ทใ่ี ห้แก่ ประเทศพฒั นาน้อยทส่ี ุด 17.3 ระดมทรัพยากรทางการเงินสำหรบั ประเทศกำลัง 17.3.1 สดั ส่วนของการลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศ พฒั นาเพิ่มเติม จากแหลง่ ทีห่ ลากหลาย (FDI) การช่วยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยา่ งเป็นทางการ (ODA) และความรว่ มมอื ใต้-ใต้ ตอ่ รายได้มวลรวม ประชาชาติ (GNI) 17.3.2 สดั ส่วนของมูลค่าของการโอนเงนิ กลับประเทศ (เปน็ สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ) ตอ่ GDP ท้ังหมด 17.4 ชว่ ยประเทศกำลงั พัฒนาในการบรรลคุ วามย่ังยืน 17.4.1 สัดส่วนภาระหน้ี (debt service) ต่อรายได้ ของหน้ีระยะยาว โดยใช้นโยบายท่ีประสานงานกนั ที่ จากการสง่ ออกสินค้าและบริการ มุ่งสง่ เสริมการจดั หาเงนิ ทุนโดยการก่อหน้ี การบรรเทา หนแ้ี ละการปรับโครงสรา้ งหนี้ตามความเหมาะสม และ แก้ปญั หาหนีต้ า่ งประเทศของประเทศยากจนท่ีมี แผนทน่ี าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 41 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวช้ีวัด (Global SDG indicators) หน้ีสินในระดับสงู เพ่ือลดการประสบปัญหาหนี้ (debt distress) 17.5 ใช้และดำเนินการให้เกิดผลตามระบอบการ 17.5.1 จำนวนประเทศที่ยอมรบั และดำเนินการ ส่งเสรมิ การลงทนุ สำหรบั ประเทศพฒั นาน้อยท่ีสดุ ตามกฎเกณฑ์การส่งเสรมิ การลงทุนของประเทศกำลัง พฒั นา รวมท้ังประเทศพฒั นาน้อยทีส่ ดุ เทคโนโลยี 17.6 เพิ่มพูนความร่วมมอื ระหว่างประเทศ 17.6.1 จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตบรอดแบนดป์ ระจำ และในภมู ภิ าคแบบเหนอื -ใต้ ใต-้ ใต้ และไตรภาคี และ ท่ี ตอ่ ผอู้ ยู่อาศัย 100 คน จำแนกตามความเร็ว การเขา้ ถึงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และยกระดบั การแบง่ ปนั ความรตู้ ามเงื่อนไขท่ตี กลง (ตดั ตวั ชวี้ ดั 17.6.1 เดิมออก และใช้ตวั ชวี้ ดั 17.6.2 รว่ มกนั โดยรวมถึงผ่านการพัฒนาการประสานงาน เดมิ แทน) ระหว่างกลไกท่มี ีอยเู่ ดิมโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับ ของสหประชาชาติ และผา่ นทางกลไกอำนวยความ สะดวกด้านเทคโนโลยี (Technology Facilitation 17.7.1 จำนวนเงนิ ทนุ รวมท่ีให้แกป่ ระเทศกำลงั พัฒนา Mechanism) ของโลก เพอื่ สนับสนนุ การพฒั นา การถ่ายทอด และการ 17.7 สง่ เสรมิ การพัฒนา การถ่ายทอด และการ เผยแพร่เทคโนโลยที เี่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมให้กับ ประเทศกำลงั พฒั นาภายใต้เง่ือนไขทอี่ ำนวยประโยชน์ เผยแพร่ เทคโนโลยีทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม แก่ประเทศกำลงั พัฒนารวมทั้งตามเง่ือนไขสทิ ธพิ เิ ศษ ตามท่ีตกลงร่วมกนั 17.8 ใหธ้ นาคารเทคโนโลยแี ละกลไกการเสริมสรา้ ง 17.8.1 สดั สว่ นของประชากรทใ่ี ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ขีดความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ นวัตกรรมสำหรบั ประเทศพฒั นาน้อยทส่ี ดุ ทำงานได้ อย่างเต็มทภ่ี ายในปี พ.ศ. 2560 และเพ่ิมพูนการใช้ เทคโนโลยีสนบั สนนุ ท่สี ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร การเสริมสร้างความสามารถ 17.9 เพม่ิ พนู การสนับสนนุ ระหวา่ งประเทศสำหรับการ 17.9.1 มลู คา่ (ดอลลาร์) ของการให้ความช่วยเหลือ ดำเนนิ การด้านการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถท่ีมี ทางการเงิน และทางวชิ าการ (รวมถึงผ่านความ ประสิทธผิ ลและมีการต้ังเปา้ ในประเทศกำลงั พฒั นา รว่ มมอื เหนอื -ใต้ ใต-้ ใต้ และไตรภาค)ี ท่ีได้ให้คำม่นั ไว้ เพือ่ สนบั สนนุ แผนระดับชาติทจ่ี ะดำเนนิ งานในทุก กับประเทศกำลังพฒั นา เป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน รวมถึงผา่ นทาง ความรว่ มมือแบบเหนอื -ใต้ ใต้-ใต้ และไตรภาคี แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 42 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เปา้ หมายย่อย (Targets) ตวั ชี้วัด (Global SDG indicators) การค้า 17.10 สง่ เสริมระบบการคา้ พหุภาคีที่เปน็ สากล มี 17.10.1 คา่ เฉล่ยี ของอัตราภาษศี ลุ กากรถว่ งน้ำหนกั กติกา เปิดกวา้ ง ไมเ่ ลือกปฏิบัติ และเสมอภาค ภายใต้ ทว่ั โลก องค์การการค้าโลก โดยรวมถึงผ่านข้อสรปุ ของการ เจรจาภายใตว้ าระการพัฒนารอบโดฮา 17.11 เพมิ่ สว่ นแบ่งการสง่ ออกของประเทศกำลงั 17.11.1 ส่วนแบง่ ของการส่งออกในระดบั สากล พฒั นาให้สูงขนึ้ อย่างมีนัยสำคัญ โดยมุง่ เพิ่มสว่ นแบ่ง ของประเทศกำลังพัฒนา และประเทศพัฒนา ของประเทศพัฒนาน้อยท่สี ดุ ในการสง่ ออกท่วั โลก นอ้ ยที่สุด ใหส้ งู ข้ึน 2 เท่าในปี พ.ศ. 2563 17.12 ทำใหเ้ กดิ การดำเนนิ การในเวลาท่ีเหมาะสม 17.12.1 ภาษศี ลุ กากรเฉล่ียถ่วงนำ้ หนกั ทป่ี ระเทศ ในเรอื่ งการเขา้ ถงึ ตลาดปลอดภาษแี ละปลอดการจำกัด กำลังพัฒนา ประเทศพฒั นาน้อยท่ีสดุ และรัฐกำลัง ปรมิ าณในระยะยาวสำหรับประเทศพัฒนาน้อยท่สี ดุ พัฒนาทเี่ ป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก เผชิญอยู่ โดยให้สอดคลอ้ งกับคำตัดสนิ ขององค์การการคา้ โลก โดยรวมถงึ การสรา้ งหลกั ประกนั ว่ากฎว่าด้วยแหลง่ กำเนิดสนิ ค้าที่มีการให้สทิ ธิพเิ ศษทางการค้าที่ใช้กับ ประเทศพฒั นาน้อยท่ีสุดจะมีความโปรง่ ใสและเรยี บ งา่ ย และมสี ่วนช่วยอำนวยความสะดวกในการเข้าถึง ตลาด ประเด็นเชงิ ระบบ ความสอดคล้องเชิงนโยบายและเชงิ สถาบนั 17.13 เพ่มิ พูนเสถียรภาพเศรษฐกจิ มหภาคของโลก 17.13.1 ผังตดิ ตามเศรษฐกิจมหภาค โดยรวมถงึ ผา่ นทางการประสานงานนโยบายและ (Macroeconomic Dashboard) ความสอดคล้องเชงิ นโยบาย 17.14 ยกระดับความสอดคล้องเชงิ นโยบายเพื่อการ 17.14.1 จำนวนประเทศที่มีกลไกเสรมิ สร้างนโยบาย พัฒนาทีย่ ่งั ยนื ให้มีความสอดคล้องกบั การพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื 17.15 เคารพพ้นื ท่ที างนโยบายและความเปน็ ผนู้ ำ 17.15.1 ขอบเขตการใช้กรอบผลลัพธแ์ ละเครอื่ งมือ ของแตล่ ะประเทศทจี่ ะสรา้ งและดำเนินงานตาม การวางแผนทปี่ ระเทศเปน็ เจา้ ของโดยผ้ใู ห้ความ นโยบายเพ่ือการขจดั ความยากจนและการพัฒนา ร่วมมอื เพ่ือการพฒั นา ทยี่ ง่ั ยืน 17.16 ยกระดับหุ้นส่วนความร่วมมือระดับโลกเพ่ือการ 17.16.1 จำนวนประเทศทรี่ ายงานความก้าวหน้า พฒั นาทีย่ ่งั ยืน โดยร่วมเตมิ เต็มโดยหุ้นสว่ นความ ตามกรอบการตดิ ตามประสิทธผลของการพฒั นาทีม่ ี ร่วมมอื จากภาคส่วนท่หี ลากหลายซ่ึงจะระดมและ ผู้มีส่วนไดเ้ สียที่หลากหลาย ที่สนบั สนนุ การบรรลุ แบ่งปันความรู้ ความเชยี่ วชาญ เทคโนโลยี และ เปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน ทรพั ยากรทางการเงิน เพื่อจะสนับสนนุ การบรรลุ แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 43 จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื เปา้ หมายหลัก (Goals) / เป้าหมายย่อย (Targets) ตัวชี้วดั (Global SDG indicators) เป้าหมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืนในทกุ ประเทศ โดยเฉพาะ ในประเทศกำลังพฒั นา 17.17 สนับสนุนและสง่ เสริมหนุ้ สว่ นความร่วมมอื 17.17.1 จำนวนเงนิ ดอลลาร์สหรัฐที่มีภาระผูกพัน ระหว่างภาครัฐ ภาครฐั -ภาคเอกชน และประชาสังคม ใหใ้ ช้ในโครงการความรว่ มมือภาครฐั -เอกชน สรา้ งบนประสบการณแ์ ละกลยุทธ์ด้านทรพั ยากร ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ของหุน้ ส่วน 17.18 ยกระดับการสนบั สนนุ ดา้ นการเสรมิ สรา้ ง 17.18.1 ตวั ชี้วดั ขีดความสามารถเชงิ สถติ ิเพื่อการ ขดี ความสามารถให้กบั ประเทศกำลงั พฒั นา รวมถงึ ติดตามเปา้ หมายการพัฒนาท่ีย่งั ยนื ประเทศพฒั นาน้อยทส่ี ุดและรัฐกำลงั พัฒนาทเี่ ปน็ เกาะ 17.18.2 จำนวนประเทศท่ีมีกฎหมายทางสถติ ิ ขนาดเล็ก ใหเ้ พ่มิ การมีอย่ขู องข้อมูลท่ีมีคุณภาพ ของประเทศ ทส่ี อดคล้องกบั หลักพน้ื ฐานของสถิติ ทันเวลาและเชอ่ื ถือได้ จำแนกตามรายได้ เพศ อายุ ทางการ เช้อื ชาติ ชาติพันธ์ุ สถานะการอพยพ ความพกิ าร 17.18.3 จำนวนประเทศท่ีมีแผนสถติ ิระดับประเทศ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ และคุณลกั ษณะอนื่ ๆ ท่ี ทีไ่ ด้รับเงินทนุ อยา่ งเต็มท่ี และอยู่ระหว่างการ เกยี่ วขอ้ งตามบริบทของประเทศ ภายในปี พ.ศ. 2563 ดำเนนิ การใหบ้ รรลุ จำแนกตามแหล่งเงินทนุ 17.19 ตอ่ ยอดจากข้อริเริ่มที่มีอย่แู ล้วในการพฒั นา 17.19.1 มลู คา่ เงนิ ดอลลารข์ องทรัพยากรทใี่ ชใ้ นการ การวดั ความกา้ วหน้าของการพฒั นาท่ยี ่ังยืนที่มีผล เสริมสรา้ งขีดความสามารถด้านสถติ ขิ องประเทศกำลัง ต่อผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ และสนับสนุน พัฒนา การสรา้ งขดี ความสามารถด้านสถติ ใิ นประเทศกำลงั 17.19.2 สดั ส่วนของประเทศท่ี ก) มีการดำเนนิ การสำ พฒั นา ภายในปี พ.ศ. 2573 มะโนประชากรและสำมะโนครัวเรอื นอย่างน้อยหนึง่ ครั้งในรอบ 10 ปที ผ่ี า่ นมา และ ข) มีการจดทะเบยี น เกิด ร้อยละ 100 และ จดทะเบียนการตาย ร้อยละ 80 สำหรับการพัฒนาตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 เป้าหมายหลัก ครอบคลุมมิติการ พัฒนา ทั้งด้านการพัฒนาคน เศรษฐกิจและความมั่งคั่ง สิ่งแวดล้อม สันติภาพและความยุติธรรม และ ความเป็นหุ้นส่วนการพฒั นา ดังน้ี 1. การพัฒนาคน (People): 1 ยุติความยากจน, 2 ยุติความหิวโหย, 3 สุขภาพที่ดี, 4 การศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพ, 5 ความเสมอภาคระหว่างเพศ 2. สิ่งแวดล้อม (Planet): 6 การจัดการน้ำและสุขาภิบาล, 12 การผลิตและบริโภค อย่างยั่งยืน, 13 การต่อสู้ปัญหาเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, 14 ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน, 15 ระบบนเิ วศบนบกอย่างยั่งยืน 3. เศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity): 7 พลังงานสมัยใหม่, 8 การเติบโตทาง เศรษฐกิจที่ครอบคลุม และการมีงานที่มีคุณค่า, 9 โครงสร้างพื้นฐานที่มั่นคง, 10 ลดความไม่เสมอภาค, 11 เมืองและการต้งั ถิน่ ฐาน 4. สนั ติภาพและความยุตธิ รรม (Peace): 16 สงั คมทสี่ งบสขุ และความยตุ ธิ รรม 5. ความเปน็ ห้นุ ส่วนการพัฒนา (Partnership): 17 ห้นุ สว่ นความร่วมมือระดบั โลก แผนทนี่ าทางการขับเคลอื่ นเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 44 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สว่ นท่ี 2 เปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยนื ภายใต้ 17 เป้าหมายหลัก (Goals) ในแต่ละเป้าหมายจะมีเป้าหมายย่อย (Targets) รวมทั้งสิ้น 169 เป้าหมาย โดยเป้าหมายย่อยจะเป็นตัวกำหนดประเด็นหรือขอบเขตของการพัฒนา ของเป้าหมายหลักให้มีความชัดเจน เจาะจงมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ในแต่ละเป้าหมายหลัก จะ ประกอบด้วย เป้าหมายย่อย 2 รูปแบบ คือ เป็นตัวเลขล้วน เช่น 1.1 1.2 เป็นต้น กับเป็นตัวเลขและ ตัวอักษร เช่น 1.a 1.b เป็นต้น ความแตกต่างของเป้าหมายย่อยที่เป็นตัวเลขล้วน กับตัวเลขผสม ตัวอักษร คือ เป้าหมายย่อยที่เป็นตัวเลขล้วน เป็นการกำหนดเป้าหมายความสำเร็จในเชิงผลลัพธ์ของ การดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป้าหมายนั้น ๆ ส่วนเป้าหมายที่เป็นตัวเลขผสม ตัวอักษร เป็นการกำหนดเป้าหมายในเชิงแนวทางหลักหรือประเด็นหลักที่ควรให้ความสำคัญในการ ดำเนินงานเพ่ือใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยนื เป้าหมายนน้ั ๆ สำหรบั หลกั การการพฒั นาเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs มุ่งเน้นให้ความสำคญั กบั การพัฒนาที่เน้นครอบคลมุ ทั่วถึง ไม่ทิ้งใครไว้ ข้างหลัง จะเห็นได้จากหลายเป้าหมายระบุให้ความสำคัญกับคนยากจน เปราะบาง หรือชายขอบให้ ได้รับประโยชน์หรือมีโอกาสเข้าถึงการพัฒนาทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และบริการสาธารณะต่าง ๆ และมุ่งเน้นให้ประเทศที่พัฒนาแล้วให้ความช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนาหรือพัฒนาน้อย มุ่งเน้นให้ ความสำคัญกับการพัฒนาแบบบูรณาการ กล่าวคือ การพัฒนาที่ต้องดำเนินการพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน ในทุกมิติ ทุกด้าน ไม่สามารถดำเนินการแบบแยกส่วนเป็นด้าน หรือเป็นเป้าหมายได้ เนื่องจากแต่ละ เป้าหมายหลักมีส่วนส่งเสริม และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายซึ่งกันและกัน เช่น การบรรลุเป้าหมายหลักที่ 4 การสร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ เท่าเทียม ย่อมมีความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องเชื่อมโยง เป้าหมายหลกั ท่ี 1 การให้เดก็ ยากจนเขา้ ถงึ บรกิ ารพ้ืนฐาน เป้าหมายหลักที่ 2 เก่ยี วกับปัญหาเดก็ เต้ยี แคระ แกรน หรือมีภาวะทุพโภชนาการ เป้าหมายหลักที่ 6 การมนี ำ้ ดื่มท่ีสะอาด ปลอดภยั เปา้ หมายหลักที่ 9 การ เขา้ ถงึ เทคโนโลยี ขอ้ มูลข่าวสาร และอินเทอร์เน็ต เป้าหมายหลักท่ี 13 การพฒั นาหลักสูตร เพื่อสร้างความ ตระหนักรู้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป้าหมายหลักที่ 17 เรื่องเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เป็นต้น แผนทนี่ าทางการขับเคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื ดา้ นการศึกษา (SDG4 Roadmap) 45 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook