1พรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี Plant s “พรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์” in Valaya ทป่ี รกึ ษา ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี กองบรรณาธกิ าร ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานันต์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วัฒนา อัจฉริยะโพธา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณวิภา แพงศรี อาจารย์ ดร.มทั นภรณ์ ใหม่คามิ อาจารย์ ดร.ตีรณรรถ ศรีสนุ นท์ นางสาวพมิ นารา นิลฤทธิ์ จัดพิมพ์โดย ISBN
2 Plant s in Valaya คำนำ “หนังสือพรรณไม้ในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จงั หวัดปทมุ ธานี” จดั ทาขนึ้ เพอ่ื รวบรวมพรรณไมท้ ปี่ ลกู ในพืน้ ท่ีของมหาวิทยาลยั จานวน 381 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา จาก การดาเนนิ การภายในโครงการวิจัยการสารวจพรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ โดยมวี ัตถุประสงค์สารวจและรวบรวมข้อมูลพรรณไม้และจัดทาข้อมลู พน้ื ฐานเกีย่ วกบั พรรณไม้ ในมหาวิทยาลัยทีถ่ ูกต้องให้แก่ นักเรยี น นกั ศึกษา คณาจารย์ บคุ ลากร ตลอดจนบุคคลทั่วไป ท่สี นใจ นาขอ้ มูลไปใช้ประโยชน์ในอนาคต ในการน้ี ขอขอบคุณนักศกึ ษาทีช่ ่วยรวบรวมขอ้ มูลในการจัดทาหนงั สือ นางสาวบญุ ฑรกิ า วุยชยั ภมู ิ นางสาวรังสติ า ตน้ กลุ นางสาวศนั ศนยี ์ กนกแสง นางสาวพิมพาวรรณ สบื สายทองคา นางสาววรรณิภา ขนุ อินทร์ นายพริ ยิ พงศ์ จาปีทอง นายสวนิต พงษส์ มบรู ณ์ นางสาวสุวชั รา อุ่นชน้ื นางสาวอมรรัตน์ อ่อนศรี นางสาวมลิวรรณ ศรชี ยั นางสาวกนกวรรณ กลุ ชาติ นางสาวพนิดา ทวยเศษ นางสาวนิภาพร จุลมสุ กิ นางสาวพสญุ าณยี ์ เทศทอง และนายพงศกร สหี าวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี เป็นพ้นื ที่สถานศกึ ษาอีกแหง่ หน่งึ ทถี่ กู รายล้อมไปด้วยเมือง ส่ิงปลูกสรา้ ง ชมุ ชน ตลอดจนโรงงาน อุตสาหกรรม จงึ มคี วามตระหนกั ถงึ ความสาคัญในการเพิ่มพืน้ ทส่ี ีเขียวให้กับพ้นื ทเ่ี มือง ดังจะเหน็ ได้จาก ภายในบริเวณรว้ั มหาวิทยาลัยลว้ นเตม็ ไปดว้ ยพรรณไมห้ ลากหลายชนิด ทั้งไมย้ ืนต้นขนาดใหญ่ ไม้พมุ่ และ ไมล้ ้มลุก ซ่ึงสง่ ผลใหเ้ กิดสวยงามและรม่ ร่นื แมว้ า่ พรรณไม้เดมิ เกือบท้งั หมดของมหาวิทยาลยั จะได้รบั ความเสยี หายจากเหตุอทุ กภยั ในปี พ.ศ. 2554 แต่ทางมหาวิทยาลัยก็ได้เร่งฟ้นื ฟูพืน้ ทท่ี ้ังหมดดว้ ย การปลกู พรรณไมท้ ดแทน ซึ่งทาใหเ้ กิดความหลากหลายของพรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี เป็นจานวนมาก
3พรรณไม้ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี ดว้ ยเหตุนก้ี ารศึกษาและร้จู กั พรรณไม้ในพ้ืนท่ีมหาวิทยาลัยจะช่วยส่งเสริมใหม้ คี วามรู้และความ เขา้ ใจในการจาแนกพรรณไม้ เพือ่ การอนรุ ักษแ์ ละตระหนักถึงคณุ คา่ ของพรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั จึงไดม้ ี แนวคดิ จดั ทาโครงการสารวจ และข้อมลู ทางพฤกษศาสตร์ของพรรณไม้ในมหาวทิ ยาลัยที่ถกู ต้องได้แก่ ชื่อพ้นื เมือง ช่อื วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พรอ้ มภาพประกอบของพรรณไมท้ ุกชนิด เพอ่ื เป็นการเผยแพร่ข้อมลู พรรณไม้ในมหาวทิ ยาลยั ให้แก่ นักเรยี น นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร ตลอดจนบุคคลทว่ั ไป ที่สนใจนาข้อมลู ไปใชป้ ระโยชน์ ตลอดจนนาองค์ความรู้ทไ่ี ดจ้ ดั ทา ฐานขอ้ มลู และพฒั นาเปน็ แหล่งเรียนร้ทู รัพยากรธรรมชาติตอ่ ไป กองบรรณาธกิ าร
4 Plant s in Valaya
5พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี คำนิยม ประเทศไทยทั่วทกุ ท้องถิ่น มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นจุดเดน่ ทสี่ าคัญ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความหลากหลายทางพันธุกรรมพืช ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากในท้องถ่ิน ท้องทีต่ า่ งๆ ลว้ นยังมพี นั ธไ์ มห้ รอื พันธุ์สัตว์ ต่างๆ ปรากฏให้เห็นอยอู่ ีกเป็นจานวนมาก แมว้ ่าจะมคี วามเปล่ียนแปลงในเชิงกายภาพอันเนอื่ งมาจาก การพฒั นาทางด้านเศรษฐกจิ และสงั คมทไ่ี ด้ดาเนินการมาโดยตอ่ เนื่อง โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มวี ตั ถปุ ระสงคส์ าคัญทจ่ี ะอนุรักษ์ ฟ้นื ฟู สบื สานให้พันธกุ รรมพืชของประเทศไทยอยคู่ ู่กับสงั คมไทยโดยตอ่ เนื่อง หนงั สอื พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จังหวัดปทุมธานี จดั ทาขึน้ เพอื่ รวบรวมข้อมูลพันธ์ไุ มท้ ปี่ ลกู ในมหาวทิ ยาลยั เพ่อื เผยแพรส่ รา้ งการเรยี นรูแ้ ละความตระหนัก ในคุณค่าของทรัพยากรพันธไ์ุ ม้ เพื่อนาไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์อยา่ งย่งั ยืนและสร้างจิตสานกึ ในการ รกั ทรพั ยากร จัดทาขึ้นในวาระทีม่ หาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ และโครงการ อนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อันเนื่อง มาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) สานกั พระราชวัง ร่วมกับสว่ นราชการ และสถาบนั การศกึ ษาทรี่ ่วมสนองพระราชดาริ ได้จดั การ ประชมุ วิชาการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ ระดับภมู ภิ าค ครงั้ ท่ี ๕ ขอขอบคุณคณาจารย์และนักศึกษา รวมทั้งเจา้ หน้าท่ี บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี ท่ีมีความตง้ั ใจในการจัดทา “หนังสือพรรณไม้ ในมหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี” เพอ่ื แสดงลกั ษณะ การจาแนกทางอนกุ รมวิธานและการใช้ประโยชน์ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์แก่ เด็ก เยาวชน ประชาชน นกั เรียน นกั ศกึ ษา ตลอดจนผสู้ นใจ เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษา อันจะเป็นประโยชน์ ในการสร้างจติ สานึก ตระหนักถึงความสาคญั ของทรพั ยากร ให้เกิดความรูส้ ึกหวงแหน ร่วมกนั ปกปักรกั ษาทรพั ยากร ไวใ้ ชป้ ระโยชน์อยา่ งยั่งยืน ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จังหวดั ปทมุ ธานี
6 Plant s in Valaya Contenสtำรบัญ 2-3 4-5 7-57 คำนำ คำนยิ ม กำรจัดจำแนก 59-273 275-276 พรรณไม้ บรรณำนกุ รม 277-286 ดัชนีชื่อพรรณไม้ 287-292 ดัชนีชือ่ วิทยำศำสตร์
7พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี การจัดจาแนก
8 Plant s in Valaya
9พรรณไม้ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี ราก Root ราก (root) เป็นสว่ นท่ียดึ ลาตน้ ไวก้ ับพ้นื ดิน และมโี ครงสร้างทไ่ี ม่มีข้อ ปลอ้ ง ตา และใบ เจริญเตบิ โตลงสู่พื้นดนิ ตามแรงโนม้ ถว่ งของโลก โดยมขี นราก (root hair) ทาหน้าท่ี ดูดนา้ และแร่ธาตุจากดิน รากที่เจรญิ จากเอมบรโิ อมีระบบราก 2 ระบบคอื ระบบรากแก้ว (tap root system) และระบบรากฝอย (fibrous root system) รากทเ่ี กดิ จากส่วนต่าง ๆ เช่น ลาต้น และใบ เรียกว่ารากพิเศษ (adventitious root) นอกจากทาหนา้ ท่ีในการดูดน้า และแร่ธาตแุ ล้ว รากพชื หลายชนิดดัดแปลงไปทาหน้าทพี่ เิ ศษ (modified root) เชน่
10 Plant s in Valaya ระบบรากแก้ว tap root system ระบบรากฝอย fibrous root system ภาพที่ 1 ระบบราก (root system) 1. รากค้า (prop root) เป็นรากที่เกิดจากสว่ นของลาตน้ ทอ่ี ยเู่ หนอื ดนิ เพือ่ ค้ายันลาตน้ เช่น โกงกาง เตยทะเล ขา้ วโพด 2. รากสังเคราะหแ์ สง (photosynthetic root) เป็นรากทีแ่ ตกออกจากลาต้นหรอื กิ่งแลว้ ห้อยอยู่ในอากาศ ส่วนปลายมีสเี ขยี วของคลอโรฟิลล์จงึ สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น กลว้ ยไม้ 3. รากหายใจ (pneumatophore) เป็นรากทีแ่ ทงตั้งฉากขน้ึ จากผิวดนิ เพอ่ื ช่วยในการ หายใจ เชน่ แสม ลาพู ลาแพน 4. รากเกาะ (climbing root) เป็นรากท่ีแตกออกจากข้อของลาต้น เพอ่ื ยดึ เกาะกบั หลกั เพ่อื ชูลาตน้ ใหข้ ้ึนสงู เชน่ พลู พรกิ ไทย 5. รากสะสมอาหาร (storage root) เป็นรากแก้วหรอื รากฝอยท่อี ยู่ใต้ดนิ ทาหน้าที่สะสม อาหารประเภทแป้ง น้าตาล และโปรตนี เชน่ แครอท มนั แกว กระชาย 6. รากพอน (buttress root) เปน็ รากท่ีสว่ นของลาตน้ มลี กั ษณะคล้ายปกี ทาหนา้ ทชี่ ่วยพยงุ และค้าจนุ ลาตน้ เชน่ ยาง สมพง
11พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี รากคา้ รากสงั เคราะหแ์ สง รากสะสมอาหาร prop root photosynthetic root storage root รากเกาะ รากพอน climbing root butress root ภาพท่ี 2 รากทดี่ ดั แปลงไปทาหนา้ ทพี่ ิเศษ (modified root)
12 Plant s in Valaya
13พรรณไม้ในมหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี ลาตน้ Stem ล้าต้น (stem) เปน็ ส่วนตอ่ เนอื่ งจากรากประกอบดว้ ย ข้อ (node) ปล้อง (internode) และตา (bud) โดยปกติเจรญิ อยู่เหนอื พืน้ ดนิ มีทิศทางการเจริญเติบโตตรงข้าม กบั ราก ลาตน้ เป็นส่วนชู ก่ิง กา้ น ใบ และดอก นอกจากนน้ั ลาต้นยังทาหน้าทีล่ าเลียงน้า ธาตุอาหาร และสารต่าง ๆ ไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพชื พืชหลายชนิดลาต้นอาจเปล่ยี นแปลงรปู ร่าง และหนา้ ท่ี (modified stem) มีท้ังลาตน้ เหนือดิน (aerial stem) และลาต้นใตด้ ิน (subterranean stem) ดังน้ี
14 Plant s in Valaya ลา้ ต้นเหนอื ดนิ : ลาต้นของพชื สว่ นมากจะเจริญอยู่บนดิน จาแนกเปน็ ชนดิ ตา่ ง ๆ เช่น 1. ไหล (stolon): ลาต้นทีเ่ จรญิ ทอดขนานไปบนผิวดนิ หรอื ผวิ น้า ส่วนขอ้ หรอื ปลายยอด โค้งลงสมั ผัสดินจะเกิดรากและหน่อใหม่ เชน่ สตรอเบอรี่ บัวบก ผกั กระเฉด 2. ลา้ ตน้ คลา้ ยใบ (cladophyll / phylloclade): ลาต้นทีม่ ีสีเขยี วของคลอโรฟลิ ล์ สามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ เชน่ สลัดได แคคตัส พญาไร้ใบ 3. มอื จับ (tendril): ลาต้นท่มี กี ง่ิ เปล่ียนแปลงไปเป็นมอื จบั เพอื่ เกาะส่ิงทอ่ี ยู่ใกลเ้ คียง เชน่ ตาลงึ พวงชมพู เสาวรส 4. ไมเ้ ล้ือย (climber): ลาต้นเกาะพันกับส่งิ อน่ื ๆ โดยสรา้ งรากเกาะมายึดกบั สิ่งที่เกาะ เชน่ พลู พลดู ่าง ลา้ ตน้ ใตด้ ิน: พชื บางชนิดมีลาตน้ อยูใ่ ตด้ นิ ทาหน้าท่ีเกบ็ สะสมอาหาร สว่ นมากมกั มปี ล้องสั้น จาแนกเปน็ ชนิดตา่ ง ๆ เช่น 1. เหงา้ (rhizome): ลาต้นมกั ขนานไปกบั พืน้ ดนิ มีขอ้ และปล้องสน้ั ๆ เห็นได้ชัดเจน มใี บเกล็ด (scale leaf) และหนอ่ อ่อนเกดิ บริเวณขอ้ เชน่ ขิง ข่า พุทธรกั ษา 2. หวั แบบมนั ฝรั่ง (tuber): ลาต้นทสี่ ่วนปลายของก่งิ ท่ีอยใู่ ตด้ ินโป่งพองออกเพ่ือสะสม อาหาร มขี อ้ และปล้องไม่ชัดเจน บริเวณขอ้ ไมม่ ีใบเกลด็ และพบตาบริเวณขอ้ เช่น มนั ฝรั่ง มนั มอื เสอื 3. หัวแบบเผอื ก (corm): ลาต้นเจรญิ ในแนวต้ัง ส่วนมากกลม มีข้อ ปลอ้ งและตา ชัดเจน แตป่ ล้องมีขนาดส้นั อาจมใี บเกลด็ ห่อหุ้มตา เช่น เผือก แหว้ แกลดโิ อลัส 4. หัวแบบหอม (bulb): ลาตน้ ตง้ั ตรงลดรปู มขี นาดเลก็ มีใบเกล็ดทมี่ ลี กั ษณะอวบหนา เพอ่ื สะสมอาหาร และหอ่ หุม้ ลาตน้ ไว้ เช่น หอม กระเทียม ว่านส่ีทศิ
15พรรณไมใ้ นมหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี เหงา้ หัวแบบหอม rhizome bulb หัวแบบเผือก หัวแบบมนั ฝรั่ง corm tuber ภาพท่ี 3 ลาตน้ ใตด้ นิ ทีด่ ัดแปลงไปทาหน้าท่พี เิ ศษ (modified stem)
16 Plant s in Valaya
17พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี ใบ Leaf ใบ (leaf) เปน็ สว่ นเจริญออกตามด้านข้างของลาต้น เพื่อทาหนา้ ที่สังเคราะหด์ ้วยแสง แลกเปล่ียนก๊าซ และคายนา้ ใบประกอบด้วย แผ่นใบ (lamina / leaf blade) กา้ นใบ (petiole) และหูใบ (stipule) แผน่ ใบ: ลักษณะเปน็ แผ่น มีขนาด รูปร่าง และเนอื้ ใบแตกตา่ งกนั ออกไป ส่วนใหญ่ มีสีเขียว หรอื อาจมสี ีอน่ื ๆ ข้ึนอยูก่ ับชนิดและอายขุ องพชื ตัวแผน่ ใบประกอบด้วยส่วน ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เสน้ กลางใบ (midrib) เส้นใบ (vein) ปลายใบ (apex) โคนใบ (base) และขอบใบ (margin) ก้านใบ: ติดกับแผน่ ใบตรงโคนใบ ทาหน้าท่ชี ูแผน่ ใบใหส้ ามารถรับแสงได้เต็มท่ี ใบพืชที่มี ก้านใบเรียกว่า petiolate leaf ส่วนใบที่ไม่มกี ้านใบเรยี กว่า sessile leaf ซ่ึงกา้ นใบของ พืชบางชนดิ มีลกั ษณะจาเพาะแตกตา่ งกนั ออกไป หูใบ: เกดิ ที่โคนของก้านใบ มีลกั ษณะตา่ ง ๆ กัน ทาหนา้ ที่ปอ้ งกนั ใบออ่ นขณะทีอ่ ยู่ในตา
18 Plant s in Valaya แผ่นใบ ปลายใบ lamina/leaf blade leaf apex เสน้ ใบ เสน้ กลางใบ vein midrib โคนใบ ขอบใบ leaf base leaf margin หใู บ กา้ นใบ stipule petiole ภาพที่ 4 ใบ (leaf)
19พรรณไม้ในมหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี ชนดิ ของใบ (leaf type) ใบพชื สามารถแบ่งออกได้ 2 ชนดิ โดยจาแนกตามจานวน ของใบที่ตดิ หรือมีอยบู่ นกา้ นใบ คอื 1. ใบเดี่ยว (simple leaf): ใบที่มีเพียงใบเดียวตดิ อยูบ่ นก้านใบ มักมหี ใู บและตาเกดิ ข้นึ บรเิ วณซอกใบหรอื บริเวณก้านใบติดกับลาตน้ เช่น กลว้ ย มะม่วง ฝรงั่ 2. ใบประกอบ (compound leaf): ใบที่มีใบมากกวา่ 1 ใบบนแกนกลางเดียวกนั ใบแตล่ ะใบเรยี กใบย่อย (leaflet) โดยใบประกอบสามารถแบง่ ออกได้ 2 แบบ คือ 2.1 ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaf): ใบประกอบทม่ี ใี บยอ่ ยติด อยู่ 2 ข้างของแกนกลาง (rachis) ซึ่งเปน็ ส่วนทีต่ อ่ จากก้านใบ ใบประกอบแบบขนนกน้ี มีทง้ั ที่เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ (odd-pinnately compound leaf) เชน่ กุหลาบ แคฝร่ัง คนู และใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ (even-pinnately compound leaf) เชน่ ขี้เหลก็ มะขาม ก้ามปู นอกจากน้ันใบประกอบแบบขนนก สามารถจาแนกตามการแตกแขนงของกา้ นใบยอ่ ยไดด้ ังตอ่ ไปน้ี • ใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดยี ว (unipinnately compound leaf): ใบประกอบทม่ี ีก้านย่อยแตกออกไป 1 ครัง้ เช่น อัญชนั มะขาม คูน • ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnately compound leaf): ใบประกอบ ที่มกี ารแตกของก้านใบยอ่ ย 2 ครงั้ โดยมกี า้ นใบทตี่ ดิ กับลาตน้ เป็นแกนกลาง และมกี ารแตกแขนงออกเป็นแกนกลางอีกหน่งึ ช้นั (rachilla) จึงจะเปน็ กา้ นใบ ยอ่ ย (petiolule) เชน่ หางนกยูง นนทรี กระถินณรงค์ • ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnately compound leaf): ใบประกอบ แบบขนนกที่มกี ารแตกแขนงออกจากแกนกลาง 2 คร้งั จงึ ประกอบดว้ ยก้านใบ ท่ีเป็นแกนกลาง แกนกลางยอ่ ยช้นั ที่หนง่ึ (primary rachilla) แกนกลางยอ่ ย ชน้ั ท่ีสอง (secondary rachilla) และก้านใบย่อย เช่น มะรมุ 2.2 ใบประกอบนว้ิ มือ (palmately compound leaf): ใบประกอบทีม่ ใี บย่อยทกุ ใบ จะแตกออกจากกา้ นใบทีจ่ ดุ เดียวกัน คือ บริเวณปลายสดุ ของก้านใบ และแผอ่ อกคลา้ ย นว้ิ มอื เช่น สตรอเบอรี่ ผักแว่น สัตบรรณ
20 Plant s in Valaya การจัดเรยี งของใบ (phyllotaxis / leaf arrangement): การจัดเรียงตวั ของ ใบบนกง่ิ หรือลาต้น 1. เรียงสลบั (alternate): แตล่ ะข้อมใี บเพียง 1 ใบ อาจเปน็ ซา้ ยหรือขวา สว่ นขอ้ ตอ่ ไปจะออกสลับกัน เช่น ขนุน มะมว่ ง มะยม 2. เรียงเวียน (spiral): แต่ละข้อมีใบเพยี ง 1 ใบ ใบท่ีอยูใ่ นลาดับถัดไปจะเรียงตวั เย้ืองกนั ไปเพียงเล็กนอ้ ยไปเรือ่ ย ๆ เมอ่ื ดโู ดยรวมจะคลา้ ยเกลียว เช่น ฝ้าย พู่ระหง 3. เรียงตรงข้าม (opposite) : แตล่ ะข้อมใี บออกเปน็ คตู่ รงข้ามกนั ตลอด เช่น กาแฟ หว้า ต้อยตง่ิ 4. เรยี งตรงขา้ มสลับตั้งฉาก (opposite decussate) : แต่ละข้อมใี บออกเปน็ ค่ตู รง ขา้ มกนั อีกข้อหนง่ึ กจ็ ะแตกใบเป็นคูต่ รงขา้ มเช่นกัน แต่จะทามมุ ฉากกับใบค่ลู ่าง เช่น เขม็ ชมพูพันทพิ ย์ ยอ 5. เรยี งแบบวงรอบขอ้ (whorl) : แตล่ ะขอ้ มใี บมากกว่า 2 ใบ เรยี งอยเู่ ป็นวงรอบ ๆ ขอ้ เช่น บานบุรี ยโ่ี ถ สัตบรรณ 6. เรยี งแบบกหุ ลาบซอ้ น (rosette) : แต่ละขอ้ มีใบ 1 ใบ ใบเกดิ เป็นกระจุกท่ีโคน ใกลร้ ากหรอื ผิวดินแตล่ ะขอ้ จะอยูช่ ดิ กนั มากทาใหด้ เู ปน็ กระจกุ อย่รู วมกนั เช่น ปา่ นศรนารายณ์ ว่านหางจรเข้ สับปะรด
21พรรณไม้ในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี เรียงเวยี น spiral เรียงสลับ alternate เรียงตรงข้าม opposite เรยี งตรงข้ามสลับต้ังฉาก opposite decussate เรยี งแบบกหุ ลาบซ้อน rosette เรียงแบบวงรอบขอ้ whorl ภาพท่ี 5 การจดั เรียงของใบ (phyllotaxis or leaf arrangement)
22 Plant s in Valaya การจัดเรียงตัวของเสน้ ใบ (leaf venation) แบง่ ออกได้ 3 ชนิดคอื 1. เส้นใบแบบร่างแห (netted venation หรือ reticulate venation) พบในพชื ใบเลี้ยงคู่ มีเส้นใบประสานกนั ลกั ษณะคล้ายรา่ งแหหรือตาขา่ ย สามารถแบ่งได้ 2 แบบ • เสน้ ใบแบบร่างแหคล้ายขนนก (pinnately netted venation) เสน้ ใบทแ่ี ยกออก จากเสน้ กลางใบแลว้ พ่งุ ไปยงั ขอบใบทง้ั 2 ข้าง เช่น มะม่วง ขนนุ ชบา • เสน้ ใบแบบร่างแหคล้ายนวิ้ มอื (palmately netted venation) เส้นใบท่แี ยก ออกจากฐานใบแลว้ พุ่งไปยงั ขอบใบ เชน่ มะละกอ อบเชย ฝักทอง 2. เส้นใบแบบขนาน (parallel venation) เสน้ ใบทกุ เสน้ เรยี งขนาน ซ่ึงสามารถ แบง่ ได้ 2 แบบ • เสน้ ใบแบบขนานคล้ายขนนก (pinnately parallel venation) เสน้ ใบออกจาก เสน้ กลางใบแลว้ พงุ่ ไปยังขอบใบท้งั 2 ข้าง เชน่ กลว้ ย ขิง พทุ ธรกั ษา • เส้นใบแบบขนานคล้ายน้ิวมือ (palmately parallel venation) เสน้ ใบออกจาก ฐานใบถงึ ปลายใบ และขนานกบั เส้นกลางใบ เช่น ปาล์มพดั ไผ่ ผกั ตบชวา 3. เส้นใบแยกออกเปน็ 2 แฉก (dichotomous venation / open venation) เส้นใบจะเรียงขนานกันส่วนปลายแยกเปน็ 2 แฉก พบในพชื ช้ันต่า พืชโบราณ เช่น เฟนิ ก้านดา แปะกว๊ ย
23พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี เส้นใบแบบร่างแหคล้ายนิ้วมือ palmately netted venation เส้นใบแบบร่างแหคลา้ ยขนนก pinnately netted venation เสน้ ใบแบบขนานคลา้ ยนิ้วมือ palmately parallel venation เสน้ ใบแบบขนานคล้ายขนนก pinnately parallel venation เส้นใบแยกออกเป็น 2 แฉก dichotomous venation /open venation ภาพที่ 6 การจัดเรยี งตัวของเส้นใบ (leaf venation)
24 Plant s in Valaya รูปร่างใบ (leaf shape) : แผน่ ใบของพชื แตล่ ะชนิดจะมีรูปร่างแตกตา่ งกนั ออกไปดังนี้ • รูปลม่ิ แคบ (subulate): แผน่ ใบมขี นาดเลก็ คลา้ ยรูปสามเหล่ียมปลายเรียวแหลม • รูปเขม็ (acicular): แผน่ ใบเรียวแหลมคลา้ ยเขม็ เช่น สนสองใบ สนสามใบ • รูปแถบ (linear): แผ่นใบยาวและแคบ มีความยาวมากกว่า 4 เท่าของความกว้าง ขอบท้ังสองดา้ นขนานหรือเกือบขนานกัน เชน่ หญ้าตา่ ง ๆ • รูปขอบขนาน (oblong): แผ่นใบรูปร่างคล้ายส่ีเหลย่ี วผนื ผา้ มีความยาวมากกวา่ 2-4 เท่า ของความกว้างขอบท้งั สองดา้ นขนานหรอื เกอื บขนานกัน • รูปใบหอก (lanceolate): แผ่นใบรปู ร่างคล้ายใบหอก สว่ นโคนใบกวา้ งแลว้ คอ่ ย ๆ แคบ สปู่ ลายใบ ความยาวเปน็ 3-5 เท่าของความกว้าง เช่น อโศกอินเดีย มะม่วง • รูปใบหอกกลบั (oblanceolate): แผ่นใบรปู รา่ งคลา้ ยใบหอก แต่กลบั ดา้ นแหลม ลงด้านลา่ ง • รูปรี (elliptic): แผ่นใบรปู ร่างรี สว่ นกวา้ งที่สดุ อยู่ตรงกลางใบ และเรยี วไปหาหวั ท้าย เช่น กหุ ลาบพุกาม กระดงั งาไทย • รูปไข่ (ovate): แผ่นใบรปู ร่างคล้ายไขส่ ่วนกว้างท่ีสดุ อยตู่ า่ กวา่ กงึ่ กลางใบ ความยาวเป็น 1.5-2 เท่าของความกวา้ ง • รูปไขก่ ลับ (obovate): แผน่ ใบรปู ร่างคล้ายไข่ แต่ด้านปา้ นหรอื ส่วนที่กว้างกวา่ อยู่ ดา้ นบน • รปู ก้นปดิ (peltate): แผน่ ใบท่มี ีก้านใบตดิ อย่ตู รงกลางทางดา้ นล่างของแผ่นใบ มักมรี ปู ร่างคล้ายโล่ เชน่ บัวหลวง • รปู ไต (reniform): แผ่นใบรูปร่างคล้ายไตหรอื เมล็ดถวั่ ดา สว่ นกว้างทส่ี ดุ อยูท่ ป่ี ลาย และโคนหยักเวา้ เล็กน้อย เช่น บัวบก
25พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี • รูปเคียว (falcate): แผ่นใบรูปร่างคล้ายเคียวหรือเสี้ยวพระจนั ทร์ เชน่ ส่วนคล้ายแผน่ ใบ ของกระถินณรงค์ ยูคาลิปตัส • รปู สามเหล่ียม (deltoid): แผ่นใบคลา้ ยสามเหล่ียม ท่มี ีอัตราสว่ นความกว้างต่อความ ยาวเปน็ 1:1 • รปู หัวใจ (cordate): แผน่ ใบรปู ร่างคลา้ ยหวั ใจ • รูปหัวใจกลบั (obcordate): แผ่นใบรปู ร่างคล้ายหัวใจแตเ่ อาด้านแหลมลงข้างล่าง • รปู หัวลกู ศร (sagittate): แผ่นใบรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยมที่ฐานโค้งเรยี วแยกไปสมู่ ุม ทงั้ สองของฐานใบ เชน่ ต้นขาเขียด • รปู เงย่ี งใบหอก (hastate): แผน่ ใบรูปร่างคล้ายหัวลูกศรแตฐ่ านใบ 2 ข้างกางออกทามุม ประมาณ 90 องศากับเส้นกลางใบ • รปู ชอ้ น (spathulate): แผน่ ใบรปู ร่างคลา้ ยชอ้ น สว่ นปลายกว้างแลว้ สอบเรยี วสโู่ คนใบ • รูปพดั (flabellate): แผน่ ใบรปู ร่างคลา้ ยพัด เช่น ตาล ลาน แป๊ะกว๊ ย รูปใบหอกกลบั oblanceolate รูปขอบขนาน oblong รูปใบหอก lanceolate ภาพที่ 7.1 รูปรา่ งใบ (leaf shape)
26 Plant s in Valaya รปู ไข่ ovate รปู ไขก่ ลับ obovate รปู ช้อน spathulate cordate รปู หวั ใจ รปู หวั ใจกลับ elliptic รูปรี obcordate ภาพที่ 7.2 รปู ร่างใบ (leaf shape)
27พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี รูปแถบ รูปหวั ลกู ศร รูปเงีย่ งใบหอก linear sagittate hastate รปู เขม็ acicular falcate รูปเคียว peltate รปู ก้นปิด reniform รูปไต ภาพท่ี 7.3 รปู ร่างใบ (leaf shape)
28 Plant s in Valaya ลักษณะของปลายใบ (leaf apex) • ปลายเรยี วแหลม (acuminate): ปลายใบแหลม แตแ่ ผน่ ใบสว่ นปลายโคง้ เว้าเขา้ เล็กน้อย • ปลายแหลม (acute): ขอบใบทั้งสองดา้ นสอบเข้าชนกันที่ปลาย เช่น เขม็ พุดพชิ ญา • ปลายมน (obtuse): ปลายใบมนหรอื เป็นมุมปา้ น • ปลายกลมหรือหรอื เกอื บกลม (rounded): ปลายใบมนกลมแผ่กวา้ งกว่ารูปป้าน • ปลายใบตดั (truncate): ปลายใบตดั ตรง • ปลายเวา้ ตืน้ (emarginate): ปลายใบมน และมรี อยเวา้ หยกั ลกึ • ปลายรูปหัวใจกลับ (obcordate): ปลายใบเว้าลึก เหมอื นรปู หัวใจ • ปลายสองพู (bilobed): ปลายใบมีสองพู • ปลายสองแฉก (bicuspid): ปลายใบหยกั เปน็ สองแฉก • ปลายยาวคล้ายหาง (caudate): ปลายใบยาวเรียว แคบ แตไ่ ม่แข็งคล้ายหางยาว ๆ เชน่ โพศรมี หาโพธิ • ปลายตงิ่ แหลม (cuspidate): ปลายใบสองขา้ งมน และตรงกลางเป็นติง่ แหลมตรงและส้นั
29พรรณไมใ้ นมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี ปลายใบเรียวแหลม ปลายแหลม ปลายมน acuminate acute obtuse ปลายกลม/เกือบกลม ปลายตัด ปลายเว้าตน้ื rounded truncate emarginate ปลายรปู หัวใจกลับ ปลายสองพู ปลายสองแฉก obcordate bilobed bicuspid ภาพท่ี 8 ลักษณะของปลายใบ (leaf apex)
30 Plant s in Valaya ลกั ษณะของฐานใบ (leaf base) • ฐานใบรูปลม่ิ (cuneate): โคนใบสอบแหลมตรงเข้าหาก้านใบคล้ายรูปลม่ิ หรือ สามเหลี่ยมหัวกลบั • ฐานใบแหลม (acute): โคนใบแหลมหรือค่อนขา้ งตรง • ฐานใบป้าน (obtube): ฐานใบโค้งมน • ฐานใบกลม (round): โคนใบกลมหรอื เกือบกลม • ฐานใบตดั (truncate): ฐานใบตดั ตรงหรอื เกือบตรง • ฐานใบเบี้ยว (oblique): โคนใบท่ีดา้ นขา้ งสองข้างไมเ่ ท่ากนั ทาใหม้ ลี ักษณะเหมอื น เอียงไปขา้ งหนึง่ • ฐานใบรูปหวั ใจ (cordate): โคนใบท่ีหยักเว้าคล้ายรปู หัวใจ • ฐานใบรูปหวั ลูกศร (sagitate): โคนใบเหมือนฐานลูกศร มฐี านโค้งเรียวทามุมกับแกน นอ้ ยกว่า 90 องศา • ฐานใบรูปเงย่ี งใบหอก (hastate): โคนใบท่ีฐานสองขา้ งทามุมประมาณ 90 องศา กบั เส้นกลางใบ • ฐานใบสอบเรยี ว (attenuate): โคนใบค่อย ๆ เรียวสอบลงมาคลา้ ยก้านใบมีครีบ
31พรรณไมใ้ นมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี ฐานใบรปู ล่มิ ฐานใบแหลม ฐานใบป้าน cuneate acute obtuse round ฐานใบกลม ฐานใบตดั ฐานใบเบย้ี ว truncate oblique ฐานใบรูปหัวใจ ฐานใบรปู หวั ลกู ศร ฐานใบรปู เงย่ี งใบหอก cordate sagitate hastate ภาพที่ 9 ลกั ษณะของฐานใบ (leaf base)
32 Plant s in Valaya ลักษณะขอบใบ (leaf margin) • ขอบใบเรียบ (entire): ขอบใบเรยี บสมา่ เสมอ ไม่มีรอยหยักเวา้ • ขอบใบหยักมน (crenate): ขอบใบท่หี ยักเว้าตน้ื ๆ เปน็ รอยหยักโคง้ เล็ก ๆ ต่อเนือ่ งกนั • ขอบใบเปน็ คลน่ื (unducate): ขอบใบหยกั เปน็ คล่ืน • ขอบใบแฉกแบบน้ิวมือ (palmatified): ขอบใบเว้าลึกลงประมาณครง่ึ หน่ึงของระยะ จากขอบใบถึงฐานใบ • ขอบใบหยกั ลึก (divided): ขอบใบเว้าลึกจนถงึ เส้นกลางใบ • ขอบใบเว้าลกึ (cleft): ขอบใบเวา้ ลกึ ลงไปประมาณครึ่งหนงึ่ ของระยะขอบใบถงึ เส้นกลางใบ • ขอบใบแหว่ง (lacerate): ขอบใบหยักหรือฉกี เป็นรอยไมส่ มา่ เสมอ คล้ายถกู ฉีกเปน็ รอย เวา้ ๆ แหว่ง ๆ • ขอบใบจกั ฟันเลือ่ ย (serrate): ขอบใบทีจ่ ักเปน็ ฟันเลอื่ ย และปลายแตล่ ะอนั ชี้ไปข้างหนา้ เช่น ชบา • ขอบใบแฉก (parted): ขอบใบเวา้ ลกึ ลงประมาณไม่เกนิ คร่งึ ของระยะจากขอบใบถึงฐานใบ หรอื เกือบถงึ เส้นกลางใบ มองเผนิ ๆ คล้ายใบประกอบ • ขอบใบเว้าเป็นคลื่น (sinuate): ขอบใบเวา้ เป็นคล่นื • ขอบใบรปู นิ้วมือ (palmate): ขอบใบหยกั เวา้ เป็นแฉก ๆ แบบน้วิ มอื • ขอบใบหยกั ซฟ่ี นั (dentate): ขอบใบทรี่ อยหยกั เป็นซ่ีฟนั รอยหยกั แตล่ ะอนั ต้ังฉากกบั ขอบใบ • ขอบใบหยกั แบบขนนก (pinnatified): ขอบใบหยกั เว้าลึกเขา้ ไปหาเส้นกลางใบ แบบขนนก ลึกคร่ึงหนึ่งหรือมากกวา่ ครงึ่ หน่ึงของระยะจากขอบใบถึงฐานใบ
33พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี ขอบใบเรียบ ขอบใบหยัก ขอบใบเปน็ คลน่ื ขอบใบแฉกแบบนิ้วมือ unducate palmatified entire crenate ขอบใบหยกั ลึก ขอบใบเว้าลึก ขอบใบแหวง่ ขอบใบจักฟันเล่อื ย divided cleft lacerate serrate ขอบใบแฉก ขอบใบเว้าเป็นคลื่น ขอบใบรูปนิว้ มอื parted sinuate palmate ภาพท่ี 10 ลกั ษณะขอบใบ (leaf margin)
34 Plant s in Valaya ลกั ษณะเนื้อใบ (leaf texture) • ใบเปน็ เยื่อ (membraneous): เนอ้ื ใบบาง ก่งึ โปรง่ แสง เชน่ มอส • ใบคล้ายกระดาษ (chartaceous): ใบทึบแสงมีความเหนียวพอสมควร ใช้เขยี นแทนกระดาษได้ • ใบคล้ายแผน่ หนงั (coriaceous): ใบเหนียวมากคลา้ ยหนัง • ใบบางและแห้ง (scarious): ใบบาง แห้ง และหงกิ งอ • ใบอวบนา้ (succulent): ใบอวบหนา และมีน้ามาก
35พรรณไมใ้ นมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี ดอก Flower ดอก (flower) เกดิ จากตาดอก (flowering bud) อาจอยู่ปลายยอด ปลายก่ิง ซอกใบ หรอื ตามก่ิง และลาตน้ ดอกมีหนา้ ที่เกยี่ วกับการสบื พนั ธุ์ จงึ จาเป็นต้องมีสีสันสวยงาม และมกี ลนิ่ หอม (ในพชื บางชนดิ ) เพอื่ ชว่ ยลอ่ แมลง โดยทั่วไปดอกมสี ว่ นประกอบสาคัญคอื กลบี เล้ยี ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ซึ่งส่วนประกอบท้ังหมดติดอย่บู นฐานรองดอก
36 Plant s in Valaya ส่วนประกอบพนื้ ฐานของดอก (basic of component of the flower) 1. วงกลบี เลี้ยง (calyx): เป็นส่วนท่ีอยู่นอกสดุ ประกอบดว้ ยกลีบเลี้ยง (sepal) หลายกลบี สว่ นมากมสี ีเขียว 2. วงกลบี ดอก (corolla): เป็นส่วนทีอ่ ย่ถู ัดจากกลบี เลย้ี งเข้าไป ประกอบดว้ ยกลีบดอก (petal) หลายกลีบท่มี สี ีสันสวยงามสะดดุ ตา ซึ่งแต่ละกลีบอาจจะแยกเป็นอสิ ระ (apopetalous) หรอื เชอ่ื มติดกัน (sympetalous) 3. วงเกสรเพศผู้ (androecium): เปน็ สว่ นท่ีอยู่ถดั จากกลบี ดอกเขา้ ไป ประกอบดว้ ย เกสรเพศผู้ (stamen) ตงั้ แต่ 1 อนั จนถึงจานวนมาก เกสรเพศผู้แตล่ ะอันมีอบั เรณู (anther) และก้านชูอับเรณู (filament) ซึ่งก้านชูอับเรณูอาจเช่ือมติดกนั เปน็ กลุ่มเดยี วเรียกว่า monoadelphous ถา้ เช่ือมติดกนั เปน็ สองกลมุ่ เรียกวา่ diadelphous และถา้ มากกว่าสอง กล่มุ จะเรยี กวา่ polyadelphous พืชบางชนดิ มีอับเรณเู ช่ือมตดิ กนั แต่ก้านชูอบั เรณแู ยกจาก กันเรยี ก syngenesis 4. วงเกสรเพศเมีย (gynoecium): เป็นส่วนประกอบทีอ่ ย่กู ึง่ กลางดอก ประกอบด้วย เกสรเพศเมีย (pistil) โดยแต่ละอันจะเกดิ จากโครงสร้างคาร์เพล (carpel) ซงึ่ กค็ อื ใบท่ี เปลย่ี นแปลงไปทาหนา้ ท่สี ร้าง และหอ่ หมุ้ ออวุล (ovule) ไว้ภายใน เกสรเพศเมยี ประกอบด้วย รังไข่ (ovary) ซ่งึ ภายในมีออวลุ กา้ นเกสรเพศเมยี (style) และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) ดอกของพชื อาจประกอบดว้ ยคาร์เพล 1 อันเรยี กว่าเกสรเพศเมียเดย่ี ว (simple pistil) แต่ถา้ ประกอยดว้ ยคาร์เพลมากกวา่ 1 อัน แล้วแตล่ ะอันแยกจากกันเรยี กวา่ apocarpous pistil ในขณะท่ปี ระกอบด้วยหลายคาร์เพลที่เชื่อมตดิ กนั จะเรียกว่า syncarpous pistil
37พรรณไม้ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวดั ปทุมธานี stigmยaอดเกสรเพศเมีย รงั ไข่ ovary อบั เรณู anther กา้ นชอู ับเรณู filament กลีบดอก petal กลบี เลีย้ ง sepal กา้ นดอก peduncle ภาพท่ี 11 สว่ นประกอบพน้ื ฐานของดอก
38 Plant s in Valaya รปู แบบและชนิดของดอก (forms and types of flowers) : สามารถแบง่ ได้หลายชนิด โดยขึน้ อยู่กบั เกณฑ์ท่ใี ช้การแบ่ง 1. ส่วนประกอบของดอกทั้ง 4 วง คือ กลีบเล้ียง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ถา้ มี ครบท้ัง 4 สว่ นน้เี รียกดอกสมบูรณ์ (complete flower) และดอกทข่ี าดส่วนใดสว่ นหนึ่งเรียก ดอกไมส่ มบรู ณ์ (incomplete flower) 2. สว่ นประกอบของดอกท่จี า้ เปน็ ต่อการสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศ คือ เกสรเพศผู้และเกสร เพศเมยี ถ้ามีทั้งสองเพศในดอกเดียวกนั เรียกดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) ถา้ มเี พยี ง เพศเดยี วซ่ึงอาจจะเป็นดอกเพศผู้ (staminate flower) หรือดอกเพศเมยี (pistillate flower) เรียกว่าดอกไม่สมบรู ณ์เพศ (imperfect flower) 3. สมมาตร (symmetry) ของดอก คือ เมื่อมองจากด้านบน ถ้าดอกมสี มมาตร (regular flower) คอื เม่ือแบง่ ครง่ึ ดอกผ่านศูนย์กลางจะได้ 2 ส่วนที่เหมอื นกันทุกประการ (radial symmetry) ถ้าดอกทีม่ สี มมาตรดา้ นข้าง (bilaterally symmetrical flower) คอื เมอ่ื คร่งึ ดอกผา่ นศูนยก์ ลางตามแนวยาวจะไดส้ ่วนของดอกที่เหมอื นกันเพียงระนาบเดยี ว หรอื อาจ เรียกว่าดอกไมส่ มมาตร (irregular flower) ต้าแหน่งการตดิ ของรังไข่กับฐานรองดอก โดยเปรยี บเทียบกับการติดของกลบี เลี้ยง กลบี ดอก และเกสรเพศผู้บนฐานรองดอก รังไขต่ ิดอยู่ตา่ กวา่ สว่ นอื่น ๆ ของดอก (inferior ovary) : รงั ไขอ่ ย่ใู ตว้ งกลีบ รังไข่ติดอยู่สงู กว่าส่วนอ่นื ๆ ของดอก (superior ovary) : รังไข่อย่เู หนอื วงกลีบ รงั ไขต่ ดิ อยู่กง่ึ ใตว้ งกลบี (half-inferior ovary) : บางสว่ นของรงั ไขอ่ ยูต่ า่ ว่าสว่ นอ่นื ๆ ดอกบางชนดิ ฐานรองดอกขยายออกเป็นรปู ถว้ ย (hypanthium) โดยมกี ลีบเลี้ยง กลบี ดอก และเกสรเพศผูต้ ิดอย่รู อบ ๆ ฐานรองดอก ซึ่งจะเรยี กดอกทีม่ ลี กั ษณะแบบนี้วา่ ดอก วงกลีบรอบรังไข่ (perigynous flower)
39พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี ลักษณะการเชือ่ มกันของกลีบดอก (cohesion of petals) • รูปกงลอ้ (rotate): โคนเชือ่ มกันเป็นหลอดส้นั ๆ ปลายแผอ่ อกแนวรัศมี เชน่ มะเขอื มะแว้ง • รปู ระฆงั (campanulate): โคนเชือ่ มตดิ กนั คล้ายระฆัง ปลายแฉกเล็กน้อย เช่น จมูก ปลาหลด ดอกระฆงั • รปู คนโท (urceolate): โคนเชื่อมตดิ กันเปน็ หลอดจะกว้างออก และคอดแคบเขา้ ด้านบน เช่น เดป สร้อยใบโพธิ์ • รปู ดอกเขม็ (salverform): โคนเชอื่ มติดกนั เป็นหลอดยาว ปลายแผก่ ว้างเป็นกลบี ตั้ง ฉากกบั หลอด เช่น เขม็ • รปู หลอด (tubular): กลบี ดอกเช่อื มกนั เป็นหลอดคลา้ ยรูปดอกเขม็ แต่แฉกกลีบดอก สน้ั เชน่ ประทัดจีน • รปู กรวย (funnelform): โคนเชอ่ื มกนั แคบและคอ่ ย ๆ กว้างข้ึนจนถึงปลายแผ่ ออกเป็นกลบี เช่น ผกั บุ้ง • รปู ลิ่ม (ligulate): กลีบดอกเช่ือมติดกนั สั้นมาก ส่วนปลายแผอ่ อกเปน็ แผ่นแบน คล้ายลน้ิ เชน่ ทานตะวัน บานชน่ื • รปู ปากเปดิ (bilabiate form): กลีบดอกเชื่อมตดิ กัน แตท่ ่ีแฉกกลีบดอกแยกเปน็ สองซีก คือด้านบน (upper lip) และดา้ นลา่ ง (lower lip)
40 Plant s in Valaya การจดั เรียงตัวของกลีบเลยี้ ง กลบี ดอก หรอื กลีบรวมในดอกตูม (aestivation or prefloration) • เรยี งกลบี แบบซอ้ นเล่อื ม (imbricate): ขอบของกลบี ดอกทอ่ี ย่นู อกสุดเกยทบั ขอบทง้ั สองข้างของกลีบทีอ่ ยู่ด้านในถัดเข้าไปเปน็ ลาดับ เชน่ หางนกยงู ไทย ผกากรอง • เรียงกลีบแบบบดิ เวียน (convolute / contorted): ขอบของกลีบหนึง่ เกยทบั กบั ขอบของอีกกลบี หนึ่งสลับกันทง้ั วง เชน่ ชบา ยีโ่ ถ ชวนชม • เรียงกลีบแบบจรดกัน (valvate): ขอบของแต่ละกลบี เรยี งชนกัน และไม่มีการ ซอ้ นทบั เช่น ตะขบฝรง่ั • เรยี งกลบี ซ้อนคลมุ (vexillary): กลีบเลยี้ งหรือกลบี ดอกทม่ี ีกลบี หนง่ึ คอู่ ยู่ด้านในสุด และหันหน้าประกบกนั โดยมีกลีบอีกคหู่ นงึ่ ประกบคลมุ ไว้ และมกี ลบี สุดทา้ ยอยูด่ ้าน นอกสดุ ซึ่งเปน็ การจดั เรยี งกลบี ดอกของดอกถ่วั (papilionaceous form) • เรยี งกลีบแบบควนิ คนั เชียล (quincuncial): กลบี ทอ่ี ยดู่ า้ นนอกสดุ สองกลีบ และอีก สองกลบี ท่อี ยู่ด้านในสุด ส่วนกลีบที่ 5 มขี อบด้านหนง่ึ ซ้อนทบั ขอบกลีบตดิ กันทอี่ ยใู่ น สุด อีกขอบข้างหน่งึ ของกลบี ถูกกลบี ที่อยู่นอกสดุ มาซ้อนทับ • เรียงกลบี แบบขอบพบั เขา้ (induplicate): กลบี ชนกนั ขอบของกลีบโคง้ เข้าด้านใน ของดอก • เรยี งกลีบแบบขอบพับออก (reduplicate): กลบี ชนกนั ขอบของกลบี โค้งเขา้ ดา้ น นอกของดอก
41พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี ซ้อนเหล่ือม imbricate บิดวยี น convolute / contorted จรด valvate ควินคนั เชยี ล quincuncial ขอบพับเขา้ induplicate ขอบพับออก reduplicate ซ้อนคลุม vexillary ภาพท่ี 12 การจดั เรียงตัวของกลบี เลยี้ ง กลีบดอก หรอื กลบี รวมในดอกตูม (aestivation or prefloration)
42 Plant s in Valaya จ้านวนดอกท่ีเกิดจากตาดอก ดอกเดี่ยว (solitary flower) คือดอกหนง่ึ ดอกทีพ่ ฒั นา มาจากตาดอกหน่งึ ตา ถา้ ตาดอกหน่งึ ตามหี ลายดอกเรียกช่อดอก (inflorescence) ช่อดอก ของพืชจะประกอบดว้ ยกา้ นช่อดอก (peduncle) กา้ นดอกย่อย (pedicel) ดอกยอ่ ย (floret) และอาจมีใบประดับ (bract) หรอื ใบยอ่ ยประดับ (bracteole) ทซ่ี อ้ นกนั มาก ๆ เปน็ ชนั้ ๆ ในช่อเรยี กว่า involucre of bract การจดั จาแนกชนดิ ของชอ่ ดอก แบง่ ตามลกั ษณะการเจรญิ ของดอกไดเ้ ปน็ 2 กลุม่ คือ 1. ชอ่ ดอกแบบกระจะ (racemose type / indeterminate inflorescence): ดอกย่อยจะทยอยบานจากโคนสูป่ ลายหรือจากรอบนอกไปสดู่ ้านใน เนื่องจากดอกยอ่ ยที่อยู่ บริเวณโคนหรือรอบนอกเกิดกอ่ น มีอายุมากกว่าจงึ บานกอ่ น • ช่อกระจะ (raceme) : ชอ่ ดอกและแกนดอกคอ่ นข้างยาว ดอกยอ่ ยเรียงสลับซา้ ยขวา กา้ นดอกย่อยยาวเท่า ๆ กัน เชน่ กล้วยไม้ พวงทอง • ช่อเชิงลด (spike): ลักษณะคล้ายชอ่ กระจะ แตไ่ ม่มกี ้านดอกยอ่ ย เชน่ กระถนิ ณรงค์ • ช่อเชงิ ลดมีกาบ (spadix): ชอ่ ดอกมีใบประดับขนาดใหญ่ (spathe) รองรับกล่มุ ดอกย่อย ซ่งึ อัดกนั แนน่ บนแกนช่อดอก เป็นดอกสมบรู ณเ์ พศ หรอื ดอกแยกเพศ เช่น หน้าวัว • ช่อแบบหางกระรอก (catkin): แกนช่อดอกยาว กา้ นดอกสน้ั หรอื ไม่มีชอ่ ดอกสว่ นใหญ่ หอ้ ยลงเป็นดอกไม่สมบรู ณ์เพศ เชน่ หางกระรอกแดง • ช่อเชิงหลน่ั (corymb): คลา้ ยช่อดอกกระจะแตก่ า้ นดอกยาวไม่เท่ากนั โดยกา้ นดอก รอบนอกจะยาวทส่ี ดุ และลดหลน่ั ลงมาถึงดอกกลางทาใหด้ อกย่อยอยรู่ ะดับเดียวกนั ท้ังช่อ • ช่อซ่รี ม่ (umbel): ไม่มีแกนช่อดอก ดอกยอ่ ยเกิดทป่ี ลายกา้ นช่อดอก ก้านดอกย่อยยาว เท่า ๆ กัน มองดูคล้ายซร่ี ่ม เช่น ดอกพลับพลึง แต่พืชบางชนดิ ปลายก้านดอกย่อยจะแตก แขนงเป็นซี่ร่มซ้อนอกี ชนั้ หนง่ึ (compound umbel) เชน่ ผกั ชลี ้อม • ชอ่ กระจะแนน่ (head): ชอ่ ดอกท่ดี อกย่อยท้งั หมดเกดิ ที่ปลายกา้ นช่อดอกโดยไมม่ ีกา้ น ดอกยอ่ ย ชอ่ ดอกคอ่ นข้างกลมหรือแบน เชน่ ทานตะวนั • ชอ่ ดอกแขนง (panicle): ชอ่ ดอกท่มี ีการแตกแขนงเปน็ ช่อย่อยหลายครงั้ แตล่ ะชอ่ ดอก ยอ่ ยอาจจะเป็นช่อกระจะ หรือช่อเชิงลด เช่น มะมว่ ง
43พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี 2. ช่อดอกแบบกระจุก (cymose type / determination inflorescence): ชอ่ ดอกท่ี ดอกจะทยอยบานจากยอดลงสู่โคน หรือจากกลางดอกสู่รอบนอก เน่ืองจากดอกทปี่ ลายยอด หรอื ดา้ นในเกิดกอ่ น มอี ายุมากกว่าจึงบานกอ่ น ชอ่ ดอกซีร่ ่ม (umbel) ชอ่ กระจุกแนน่ (head) ชอ่ แยกแขนง (panicle) มลี กั ษณะเหมือนช่อดอกแบบกระจะ แตต่ า่ งกนั ตรงลาดับการบาน ของดอก • ชอ่ ดอกกระจกุ ด้านเดียว (simple monochasium): มีดอกยอ่ ยเพยี ง 2 ดอกบนก้านช่อดอก ดอกดา้ นบนมอี ายมุ ากกวา่ ดอกดา้ นลา่ ง • ชอ่ ดอกกระจุกสองด้าน (simple dichasium): มดี อกยอ่ ย 3 ดอก บานบนกา้ นชอ่ ดอก ดอกบนมอี ายมุ ากกวา่ บานกอ่ นดอกล่าง เชน่ มะลิ ตอ้ ยตง่ิ ถา้ มกี ารแตกแขนงเป็นกระจุก สองด้านซ้ากนั หลาย ๆ คร้ัง จะเรียกช่อดอกกระจกุ สองด้านเชงิ ประกอบ (compound dichasium) เชน่ สบู่ดา ผักบงุ้ ฝรงั่ • ช่องวงแถวเดยี ว (helicoid cyme): ชอ่ ดอกแตกแขนงเป็นช่อดอกย่อย แต่ละชอ่ ดอกจะ มี 2 ดอกย่อยเรยี งอยู่บนข้างเดยี วกัน เชน่ หญ้างวงช้าง • ชอ่ งวงปลายคู่ (scorpioid cyme): คลา้ ยกบั ช่องวงแถวเดียวแตด่ อกยอ่ ยเรียงสลบั ขา้ งกนั • ชอ่ ดอกกระจกุ แตกแขนง (thyrse): ชอ่ ดอกแบบรวม มีการเจรญิ ของชอ่ คล้ายแบบชอ่ กระจะ และมชี อ่ ดอกย่อยท่ีแยกแขนงจากแกนกลางช่อเปน็ ช่อแบบกระจุก เช่น ขิง ขา่ พุทธรกั ษา • ช่อฉตั ร (verticillate): ชอ่ ดอกแบบรวมท่ีมกี ลุ่มชอ่ ดอกแบบกระจุกเรียงเป็นวงรอบ แกนกลาง ส่วนการเจริญของชอ่ ดอกท้งั หมดจะคลา้ ยกับช่อดอกแบบช่อกระจะ เช่น โหระพา แมงลกั นอกจากนั้นยงั มีชอ่ ดอกท่ีมแี กนช่อ ดอกรปู ถ้วย (hypanthodium) : ชอ่ ดอกทมี่ ี แกนชอ่ ดอกลักษณะเหมือนฐานรองดอกรูป ถว้ ย (hypanthium) มีรู หรอื ชอ่ งเปิดเลก็ ๆ ดา้ นบน ผิวดา้ นในมดี อกย่อยจานวนมาก พบในพืชสกุล Ficus เช่น มะเดือ่ ไทร โพธ์ิ
44 Plant s in Valaya ชอ่ เชิงลด ช่อกระจะ ชอ่ งวงแถวเดยี ว spike racyme helicioid cyme ชอ่ แยกแขนง ช่อกระจกุ แยกแขนง ชอ่ แบบหางกระรอก panicle thyrse catkin ช่อฉัตร ชอ่ งวงปลายคู่ ชอ่ เชงิ ลดมีกาบ verticillate scorpioid cyme spadix ภาพที่ 13.1 ลักษณะชอ่ ดอก
45พรรณไม้ในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ชอ่ ซ่ีร่มกลม ชอ่ ซ่รี ่มแบน ชอ่ กระจุกแน่น umbel umbel head ช่อซรี่ ่มแบบกลุ่ม ดอกเดย่ี ว compound umbel solitary flower ชอ่ เชงิ หลน่ั ช่อเชิงหลัน่ เชงิ ประกอบ ช่อกระจุก corymb compound corymb simple dichasium ภาพท่ี 13.2 ลักษณะดอกเด่ยี วและชอ่ ดอก
46 Plant s in Valaya การเรียงพลาเซนตา (placentations): บรเิ วณทอี่ อวุลตดิ กับรงั ไข่เรียกพลาเซนตา ซ่ึงลักษณะ และตาแหนง่ ของพลาเซนตาภายในช่องของรังไข่ (locule) มีหลายแบบ • พลาเซนตาแนวเดยี ว (marginal placenta): การติดของออวุลภายในรังไขข่ องเกสรเพศเมีย โดยออวุลจะตดิ อยเู่ ปน็ แนวเดยี วทข่ี อบของคารเ์ พลท่ีโค้งมาเชื่อมตดิ กนั เชน่ หางนกยงู กระถิน ถวั่ ชนิดตา่ ง ๆ • พลาเซนตาตามแนวตะเขบ็ (pariental placenta): การตดิ ของออวลุ ภายในรงั ไขข่ อง เกสรเพศเมยี ทีม่ ีคาร์เพลเชื่อมติดกนั และมชี ่องว่างภายในรังไข่หนึง่ ช่อง และออวุลติดอยตู่ าม แนวท่เี ช่อื มชนกันของคาร์เพล โดยแนวพลาเซนตาจะมีจานวนเท่ากบั คาร์เพลที่เชื่อมกนั เชน่ ตาลึง แตงกวา กะทกรก • พลาเซนตาทั่วผนัง (laminar placenta): การตดิ ของออวลุ ภายในรงั ไขข่ องเกสรเพศเมีย ทมี่ คี าร์เพลเช่อื มติดกัน มีช่องวา่ งภายในรงั ไข่หลายช่อง และมีแกนอยูต่ รงกลาง โดยออวุล จะติดอยู่ทั่วไปท่ีผนงั รงั ไขด่ า้ นในของแตล่ ะชอ่ ง เชน่ บัวสาย • พลาเซนตารอบแกนรว่ ม (axile placenta): คล้ายกับพลาเซนตาทว่ั ผนัง แต่ออวุลจะอยู่ ภายในช่อง และตดิ อย่ทู ่ีแกนกลาง เช่น มะนาว สม้ • พลาเซนตารอบแกน (free-central placenta): คลา้ ยกับพลาเซนตาแกนร่วมแตม่ ี ช่องวา่ งภายในรงั ไข่เพียงช่องเดียว • พลาเซนตาที่ฐาน (basal placenta): การตดิ ของออวลุ ท่ีผนงั บริเวณส่วนฐานของรงั ไข่ เช่น ทานตะวัน • พลาเซนตาทย่ี อด (apical placenta): การติดของออวุลท่ีผนงั บริเวณส่วนยอดของรงั ไข่ ลักษณะออวลุ จะหอ้ ยลงมา เชน่ บัวหลวง
47พรรณไมใ้ นมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี พลาเซนตารอบแกนร่วม พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ axile placenta parietal placenta พลาเซนตาท่ีฐาน พลาเซนตารอบแกน basal placenta free central placenta พลาเซนตาท่ียอด พลาเซนตาท่ีผนัง apical placenta laminar placenta พลาเซนตาแนวเดียว marginal placenta ภาพที่ 14 การเรียงพลาเซนตา (placentations)
48 Plant s in Valaya
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294