Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 full_270665

โครงสร้างหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 full_270665

Published by sitchai tasaiwa, 2022-06-27 08:52:39

Description: โครงสร้างหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 full_270665

Search

Read the Text Version

293 ๒.๘ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” การเปล่ยี นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดังนี้ ๑) กรณผี ู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทง้ั หมด ใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้เรยี นเพมิ่ เตมิ โดยใช้ช่ัวโมงสอนซอ่ มเสริม หรือ เวลาว่าง หรือวันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่กำหนดไว้สำหรับรายวิชานั้นแล้วจงึ ให้สอบเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดบั ผลการเรียนไม่เกิน “๑”การแก้ “มส”กรณีน้ีให้กระทำ ให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้นี้ให้เรียนซ้ำ ยกเวน้ มีเหตุสดุ วิสยั ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาค เรียน แตเ่ ม่อื พน้ กำหนดนี้แล้ว ใหป้ ฏิบัติดงั น้ี  ให้เรียนซ้ำรายวิชา ถา้ เปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน  ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมโดยให้อยู่ในดุลย พนิ ิจของสถานศกึ ษา ๒) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียน ทั้งหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ำในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ได้ สำหรบั รายวชิ าเพิ่มเตมิ เท่าน้นั ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวิชา ใหม่ ในกรณีภาคเรียนท่ี ๒ หากผู้เรียนยังมีผลการเรยี น “๐”“ร”“มส” ใหด้ ำเนินการให้เสรจ็ สน้ิ ก่อนเปิดเรยี นปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแก้ไขผล การเรยี นของผูเ้ รียนได้ ท้ังน้ี โดยสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/ต้นสังกัดควรเปน็ ผู้พจิ ารณาประสานให้ มีกา๒ร.ด๙ำเนกินากรเาปรเลรี่ยียนนกผาลรกสาอรนเใรนียภนาค“ฤมดผรู ”้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดใหผ้ เู้ รียน เขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๓ กจิ กรรม คือ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ หรือนักศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรียนเลือกอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ๑ กิจกรรมและเลือกเขา้ รว่ มกจิ กรรมชุมนุม หรอื ชมรมอีก ๑ กจิ กรรม ๓) กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ในกรณีที่ผูเ้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมจน ครบตามเวลาที่กำหนด หรอื ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะที่ต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข แลว้ จึงเปล่ียนผลการ เรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ทั้งนี้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ใน ดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษา ๒.๑๐ การเล่ือนช้ัน ผู้เรียนจะไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนทกุ ภาคเรียนและได้รับการเลื่อนชั้นเมื่อสนิ้ ปกี ารศึกษา โดย มคี ุณสมบตั ติ ามเกณฑ์ ดงั น้ี

294 ๑) รายวิชาพ้ืนฐาน ได้รบั การตดั สนิ ผลการเรียนผ่านทุกรายวิชา ๒) รายวชิ าเพม่ิ เติม ได้รบั การตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด ๓) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด ใน การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔) ระดับผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศกึ ษานน้ั ควรไดไ้ มต่ ำ่ กว่า ๑.๐๐ ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับ การแกไ้ ขในภาคเรยี นถัดไป ๒.๑๑ การเรียนซ้ำ สถานศึกษาจะจดั ใหผ้ ูเ้ รยี นเรยี นซ้ำใน ๒ กรณี ดงั นี้ กรณีที่ ๑ เรียนซ้ำรายวิชา หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้ว ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาในการจัดให้เรยี นซ้ำ ในชว่ งใดชว่ งหนงึ่ ท่ีสถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เชน่ พกั กลางวนั วนั หยดุ ช่ัวโมงว่างหลงั เลกิ เรยี น ภาคฤดู รอ้ น เป็นต้น กรณที ี่ ๒ เรียนซ้ำชั้น มี ๒ ลักษณะ คอื ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ำกว่า ๑.๐๐และมีแนวโน้มว่าจะเป็น ปญั หาตอ่ การเรยี นในระดับชนั้ ท่ีสงู ขนึ้  ผ้เู รียนมผี ลการเรียน ๐ , ร , มส เกนิ คร่งึ หน่งึ ของรายวชิ าทีล่ งทะเบียนเรยี นในปีการศึกษานนั้ ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง ๒ ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ พิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและ ให้ใช้ผลการเรียนใหม่ แทน หากพจิ ารณาแล้วไมต่ ้องเรียนซำ้ ชน้ั ให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาในการแก้ไขผลการเรียน ๒.๑๒ การสอนซ่อมเสรมิ การสอนซ่อมเสริม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการให้โอกาสแก่ ผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ การ สอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติเพื่อแก้ไข ข้อบกพร่องที่พบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ของผู้เรยี น การสอนซอ่ มเสริมสามารถดำเนินการไดใ้ นกรณีดังต่อไปน้ี ๑) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัด การ สอนซอ่ มเสริม ปรับความรู/้ ทกั ษะพนื้ ฐาน ๒) การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือ เจตคติ / คณุ ลกั ษณะท่กี ำหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั ๓) ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับผล การเรยี น “๐” ตอ้ งจัดการสอนซ่อมเสรมิ ก่อนจะให้ผเู้ รยี นสอบแกต้ วั ๔) ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ให้อยู่ใน ดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษา

295 การเทยี บโอนผลการเรยี น สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การละทิ้งการศึกษาและขอกลับ เข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอน ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบัน การฝึกอบรมอาชีพ การศกึ ษาโดยครอบครัว การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกหรือต้นภาคเรียนแรก ท่ี สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นนักเรียน ทั้งนี้นักเรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา จำนวนหนว่ ยกิตท่ีจะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทียบโอนสามารถดำเนนิ การได้ดงั นี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึ่งจะให้ข้อมูลที่แสดงความรู้ ความสามารถของนักเรียนใน ดา้ นตา่ งๆ ๒. พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏบิ ตั ิจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ เป็นต้น ๓. พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏบิ ตั ิจรงิ ๔. ในกรณีมีเหตุผลจำเป็นระหว่างเรียน นักเรียนสามารถแจ้งความจำนงขอไปศึกษาบางรายวิชาใน สถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนำมาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลักสตู รและวิชาการของสถานศึกษา ๕. การเทียบโอนผลการเรียนให้ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนจำนวนไม่น้อย กวา่ ๓ คน แตไ่ ม่ควรเกิน ๕ คน ๖. การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดงั น้ี ๖.๑ กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นำรายวิชาหรือหน่วยกิตที่มี ตัวชีว้ ดั /มาตรฐานการเรียนร้/ู ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั /จุดประสงค์/เนื้อหาทีส่ อดคลอ้ งกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มา เทียบโอนผลการเรียนและพจิ ารณาใหร้ ะดบั ผลการเรียนให้สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรทรี่ บั เทยี บโอน ๖.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มกี ารประเมินด้วยเคร่อื งมือทห่ี ลากหลายและใหร้ ะดบั ผลให้สอดคล้องกบั หลกั สูตรท่รี ับเทียบโอน ๖.๓ กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดำเนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสำหรับนักเรี ยนที่เข้าร่วม โครงกาแลกเปลย่ี น ทั้งน้ี วธิ ีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและ แนวปฏบิ ัติที่เก่ียวขอ้ ง แผนการวดั และประเมินผลการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา เม่ือสถานศึกษาจดั ทำหลักสูตรท่ีสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและเหมาะสม กับสภาพบริบทของตนเองแล้ว ภารกิจต่อไปคือวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ หลักสูตร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการวัดและประเมินผลในระดับช้ันเรียนสำหรับผู้สอน โดยในการ ประเมินความรู้ และทักษะต่าง ๆ นั้นควรยึดบูรณาการไปพร้อมๆ กับการประเมินคุณลักษณะอื่นๆ มี รายละเอยี ดทส่ี ถานศกึ ษาตอ้ งประเมิน ดงั น้ี

296 ๑. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ๒. การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ๓. การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๔. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น นอกจากนี้ สิ่งที่สถานศึกษาต้องตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อให้มั่นใจว่าการจัดการเรียนรู้และการ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนดำเนินการนั้น นำสู่การพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕ ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดย การประเมินสมรรถนะสำคัญทั้ง ๕ ด้านนั้นควรเป็นการประเมินในลกั ษณะบูรณาการไปพรอ้ มๆ กับการประเมนิ คุณลักษณะอนื่ ๆ การประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ั้ง ๘ กลุม่ สาระ เป็นการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตาม ตัวชี้วัดในหลกั สูตร ซึ่งจะนำไปสู่การสรปุ ผลการเรียนรูข้ องผู้เรยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไป ภารกิจของ สถานศึกษาในการดำเนนิ การประเมินผลการเรยี นรูต้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ ๑. กำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค โดยให้ความสำคัญของ คะแนนระหว่างเรียนมากกวา่ คะแนนปลายปี/ปลายภาค เชน่ ๖๐:๔๐ , ๗๐:๓๐ , ๘๐:๒๐ เป็นต้น ๒. กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน โดยพิจารณาความเหมาะสมตามระดับชั้นเรียน เช่น ระดับประถมศึกษาอาจกำหนดเป็นระดับผลการเรียน หรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนเป็นระบบ ตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละและระบบคุณภาพสะท้อนมาตรฐาน สำหรับระดับมธั ยมศึกษากำหนด เป็นระดับผลการเรียน ๘ ระดับ และกำหนดเงือ่ นไขตา่ งๆ ของผลการเรียน เช่น การประเมินท่ี ยงั ไม่สมบูรณ์ (ได้ ร) การไม่มีสิทธิเข้ารับการสอบ (ได้ มส) เป็นต้น นอกจากนี้ สถานศึกษาอาจกำหนดคุณลักษณะของ ความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะชน้ั ปเี ป็นระดบั คุณภาพเพ่ิมอีกก็ได้ ๓. กำหนดแนวปฏิบัตใิ นการสอนซอ่ มเสรมิ การสอบแก้ตวั กรณผี ้เู รียนมรี ะดับ ผลการเรยี น “๐” และแนวดำเนินการกรณผี เู้ รยี นมผี ลการเรียนท่ีมเี งอ่ื นไข คือ “ ร ” “ มส.” ๔. กำหนดแนวปฏิบัติในการอนุมตั ิผลการเรียน ๕. กำหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมนิ ต่อผู้เกีย่ วขอ้ ง เช่น ผู้ปกครอง ๖. กำหนดแนวทาง วิธีการในการกำกับ ติดตามการบันทึกผลการประเมินในเอกสารหลักฐาน การศึกษา ทัง้ แบบทีห่ ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแบบท่สี ถานศกึ ษากำหนด การประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้มีการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ดังนั้นสถานศึกษาต้องวางแผนการพัฒนาความสามารถ ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน ควบคไู่ ปกับการจัดการเรียนร้ใู นรายวิชาตา่ งๆ สถานศึกษาอาจกำหนดข้ันตอนดำเนนิ การ ดงั แผนภาพ

297 ขนั้ ตอนดำเนนิ การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น รูปภาพประกอบที่ 1 แสดงขัน้ ตอนการประเมนิ การอา่ น การคิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น แนวดำเนินการพัฒนาและประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน การพัฒนาและประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สถานศึกษาอาจกำหนดแนว ดำเนินการ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ของสถานศึกษากำหนดผลการเรียนรู้ หรอื ความสามารถ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น จากกลุ่มสาระการเรยี นรู้พรอ้ มกำหนดเกณฑต์ ัดสนิ คุณภาพ (ดีเย่ียมดีและผ่าน)ให้เหมาะสมกับระดบั การศึกษา ๒. ผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระออกแบบการประเมิน เพื่อประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขยี น ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียนแตล่ ะชั้นปีและการจดั การเรยี นรู้ในแต่ละภาคเรยี น รูปแบบและวิธกี ารพฒั นาและประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณะกรรมการการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สามารถดำเนนิ การไดห้ ลายวิธดี งั น้ี ๑. ประเมินจากผลงานและการเข้ารว่ มกิจกรรม ๑.๑ กรณีท่ีบคุ ลากรสอนตามเพยี งพอ ใชว้ ิธีการบูรณาการความสามารถ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เข้ากับหน่วยการเรียนรู้ ในรายวิชา ที่มีสัดส่วนเพียงพอสามารถเป็นตัวแทนได้ เมื่อนำหน่วยการ เรียนรูไ้ ปจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แต่ละรายวิชาแล้ว มีผลการประเมินของผู้เรียนเป็นผลงานในหน่วยการเรียนรู้ น้ัน ใหน้ ำผลการประเมินนน้ั นับเข้าเป็นผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นดว้ ย ๑.๒กรณีที่สถานศึกษามีบุคลากรเพียงพอ นอกจากส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขยี น ในกลมุ่ สาระที่สอนแลว้ ยังสามารถจัดโครงงาน/กจิ กรรมเสริมอีก เช่น โครงการรักการอ่าน-การเขียน เป็นต้น การประเมินผลก็ใช้ผลจากการประเมินในกล่มุ สาระและผลจากการเขา้ รว่ มโครงการและกจิ กรรม

298 ๒. ประเมินจากแบบทดสอบมาตรฐานประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน โดยทดสอบกับ ผู้เรียนทุกคน การนำแบบทดสอบมาตรฐานมาใช้ประเมินผลต้องมีความมั่นใจในความเที่ยงตรง(Validity) ความยุติธรรม(Fair) และความเชอื่ ถอื ได้ (Reliability) เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน การวเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ือตัดสนิ ระดับคณุ ภาพ ใชว้ ิธีการท่ีเหมาะสมกบั ลักษณะของข้อมูลซ่ึงไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ได้แก่ ฐานนิยม (Mode) แล้วตัดสินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่งผลให้แก่คณะกรรมการดำเนินการ ประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน เพ่ือดำเนินการส่งเสริมพฒั นาต่อไป เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้กำหนดเป็นระดับคุณภาพดีเยี่ยม ดีและผ่าน อย่างไรก็ตามใน กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาควรกำหนดให้ผู้สอนได้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อการพัฒนา การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ได้บรรลุเปา้ หมายของสถานศึกษา การให้ข้อมูลย้อนกลับจะทำได้ดีหากมีการใช้เกณฑ์ การให้คะแนน (Rubrics) เป็นแนวทางการกำหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน สถานศึกษาสามารถดำเนินการได้ดงั นี้ ๑. กำหนดระดับคณุ ภาพตามที่หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไว้ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดี และผ่าน ๒. กำหนดประเดน็ การประเมนิ ให้สอดคลอ้ งกบั ความสามารถท่ีจะประเมิน เชน่ - การนำเสนอเนือ้ หา - การใชภ้ าษา ๓. ใหค้ ำอธิบายระดบั คณุ ภาพของประเด็นการประเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตารางท่ี 1.54 เกณฑก์ ารตัดสินผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน ประเดน็ ระดับคะแนน การ ๓ ๒ ๑ ประเมิน - เรยี งลำดบั เรอ่ื งราวได้ แตม่ กี ารวกวนบา้ ง การนำเสนอ - เรียงลำดับเร่อื งราวได้ เหมาะสม ไม่ - เรยี งลำดับเรอื่ งราวได้ - แสดงความคดิ เห็น ประกอบ เน้ือหา วกวน เหมาะสม ไม่วกวน - ข้อมูลสนบั สนนุ หรือ ประเด็นยงั ไมช่ ัดเจน - แสดงความคิดเห็นประกอบได้อย่าง - แสดงความคิดเห็น มีเหตผุ ลและสรา้ งสรรค์ ประกอบได้อยา่ งมี - นำเสนอประเด็นสำคัญที่ทำให้เห็น เหตุผล ความชัดเจนของเรอ่ื ง - นำเสนอขอ้ มลู ชัดเจน - ประเมินสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ในการ แตบ่ างประเดน็ ไม่ชัดเจน ดำเนนิ ชีวติ ไดถ้ กู ตอ้ ง การใช้ภาษา - เขียนสะกดคำถกู ต้องตามอักขรวธิ ี - เขียนสะกดคำถูกต้องตาม - เขียนสะกดคำถูกต้องตาม - เลอื กใชค้ ำตรงความหมาย - ใชภ้ าษาเหมาะสมกบั ระดบั ภาษา อกั ขรวธิ ี อกั ขรวธิ ี - ใช้ภาษาสือ่ สารตรงจดุ ประสงค์ - เลือกใช้คำตรงความหมาย - เลือกใชค้ ำตรงความหมาย - ใช้ภาษาเหมาะสมกับระดับ ภาษา

299 การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์หมายถึงลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่ สังคมต้องการ ในด้านคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม จิตสำนกึ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดซึ่ง มีอยู่ ๘ คุณลักษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ ทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ นอกจากน้สี ถานศึกษาสามารถกำหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์เพ่ิมเตมิ ให้สอดคลอ้ งกับบริบทและ จุดเน้นของตนเองได้ การพัฒนาคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลุผลไดน้ ั้น ต้องอาศัยการบรหิ ารจัดการ และการมีส่วนรว่ มจากทุกฝา่ ย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูที่ปรึกษา ครูผูส้ อน ผู้ปกครองและชุมชนทตี่ ้องมุ่งขดั เกลา บ่มเพาะ ปลกู ฝงั คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ใหเ้ กิดขึ้นแก่ผู้เรียน ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์สามารถกระทำไ ด้โดยนำพฤติกรรมบ่งชี้หรือพฤติกรรมท่ี แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละด้านที่วิเคราะห์ไว้ บูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและโครงการพิเศษต่าง ๆ ที่สถานศึกษาจัดทำขึ้น เช่น โครงการวันพ่อ วันแม่แห่งชาติ โครงการลดภาวะโลกร้อน วันรักษส์ ่ิงแวดล้อม แห่เทียนพรรษา ตามรอยคนดี หรือกิจกรรม ทอี่ งค์กรในทอ้ งถิน่ จัดขึน้ เปน็ ต้น สำหรับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินเป็นระยะๆ โดยอาจประเมินผลเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน รายภาค รายปีด้วย เพื่อให้มีการสั่งสมและการพัฒนาอย่าง ต่อเน่อื ง โดยเฉพาะการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และประเมนิ ผลสรุปเมื่อจบปีสดุ ทา้ ยของแตล่ ะระดับการศึกษา รปู ภาพประกอบท่ี 2 ข้นั ตอนการวัดและประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องสถานศกึ ษา

300 แนวดำเนนิ การพัฒนาและประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สถานศึกษาควรดำเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบกลับการดำเนินงานได้ แผนภูมิ แสดงขั้นตอนการดำเนินการวัดและประเมินคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ท่สี ถานศกึ ษาสามารถนำไปปรับใชต้ ามบริบทของสถานศึกษา โดย ๑) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการการพฒั นาและประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา เพื่อ ๑.๑กำหนดแนวทางในการพัฒนาและแนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และแนวทาง การปรบั ปรงุ แก้ไขปรบั พฤติกรรม ๑.๒พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายปี (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดบั มัธยมศกึ ษา) และจบการศกึ ษาแตล่ ะระดับ ๑.๓จัดระบบการปรับปรุงแก้ไขปรับพฤติกรรมด้วยวิธีการอันเหมาะสมและส่งต่อข้อมูลเพื่อการ พฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง ๒) พิจารณานิยามหรือความหมายของคุณลักษณะแต่ละตัว พร้อมทั้งกำหนดตัวชี้วัดหรือพฤติกรรม บ่งชี้หรือพฤติกรรมที่แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละตัว และหากสถานศึกษาได้กำหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพิม่ เตมิ สถานศกึ ษาตอ้ งจัดทำนิยาม พรอ้ มทั้งตัวชวี้ ัดเพ่มิ เติมด้วย ๓) กำหนดเกณฑ์และแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้สอดคล้องกับบริบทและ จุดเน้นของสถานศึกษา กำหนดระดับคุณภาพ หรือเกณฑ์ในการประเมินตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พื้นฐานกำหนดไว้ ๓ ระดบั คอื ดเี ยย่ี ม ดี และ ผ่าน กำหนดประเด็นการประเมินใหส้ อดคล้องกับตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๔) เลือกใช้วิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ได้แก่ ค่าฐานนิยม (Mode) แล้วตัดสินผลตาม เกณฑ์ท่กี ำหนดไว้ นำผลการตัดสนิ ให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ พิจารณา เพ่อื ดำเนนิ การสง่ เสริม พฒั นาตอ่ ไป ๕) ให้ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายรับผิดชอบการพัฒนาและประเมิน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะทำการประเมินแยกจากการประเมินของกลุ่มสาระการ เรียนรโู้ ดยดำเนนิ การดังน้ี ๑. คณะกรรมการการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาทำความเข้าใจ กับคณะครูผูส้ อนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู/้ รายวิชาครูทีป่ รกึ ษาครูผู้ดูแลกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ถึงนโยบายของ สถานศึกษาในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนโดยขอให้ครูที่ปรึกษา ครูประจำสาระวิชา ครู ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการต่างๆได้ให้ความสนใจรว่ มกันพัฒนา คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกข้อและร่วม กำหนดตัวชี้วัดหรือพฤติกรรมบ่งชี้ หรือพฤติกรรมที่แสดงออกของแต่ละคุณลักษณะตามที่คณะกรรมการ พฒั นาและประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษาไดว้ ิเคราะห์ไว้ ให้เหมาะสมกับธรรมชาติของวัย และวฒุ ิภาวะของนกั เรยี น ๒. กำหนดเกณฑแ์ ละคำอธบิ ายระดบั คุณภาพใหส้ อดคล้องกับเกณฑก์ ารประเมนิ ที่หลักสูตร แกนกลางกำหนด ๓. กำหนดวิธกี ารประเมนิ และเครื่องมือการประเมินใหเ้ หมาะสมกับตัวช้วี ัด ๔. ดำเนินการประเมนิ ผู้เรยี นอย่างต่อเนื่องและรายงานผลการประเมนิ เปน็ ระยะๆ

301 ๕. กำหนดระดับของพฤติกรรมที่บ่งชี้ว่า พฤติกรรมนักเรียนอยู่ในระดับ “เสี่ยง” กล่าวคือการ พัฒนาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนดว้ ยวิธธี รรมดาอาจจะไม่สามารถทำให้ผู้เรียนบรรลุตามเกณฑ์ได้มี ความจำเป็นที่ครูที่ปรึกษาหรือครูผู้สอนร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลั กษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศกึ ษาตอ้ งใช้กระบวนการวจิ ัยเขา้ มาชว่ ยในการแกป้ ัญหาโดยทำกรณีศึกษา ๖. เมื่อสิ้นภาคเรียน/สิ้นปีครูผู้สอนส่งผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกคนที่ รบั ผิดชอบใหค้ ณะกรรมการของสถานศกึ ษาซึง่ มีครูวัดผลเป็นเลขานกุ าร ๗. ครวู ดั ผลดำเนนิ การประมวลผลตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด โดยใชฐ้ านนยิ ม (mode) ๘. นำเสนอผบู้ ริหารสถานศกึ ษาเพ่อื พจิ ารณาอนุมัติ การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกระดับชั้น เพื่อส่งเสริมพัฒนา ความสามารถของตนเองตามความถนัดความสนใจ ให้เต็มศักยภาพโดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของความเป็น มนุษย์ทั้งด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์และสังคม สร้างเยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมและสามารถบริหาร การจัดการตนเองได้ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนแบง่ เปน็ ๓ ลกั ษณะ ได้แก่ ๑. กิจกรรมแนะแนวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความสามารถ ความ ถนัดและความสนใจ โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ดว้ ยกระบวนการทางจิตวิทยา การแนะแนว ให้ สอดคลอ้ งครอบคลุมด้านการศึกษา อาชีพสว่ นตวั และสังคม กจิ กรรมสำคัญในการพัฒนาได้แก่ กิจกรรมการรู้จัก เข้าใจและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น กิจกรรมการปรับตัวและดำรงชีวิต กิจกรรมแสวงหาและใช้ข้อมูล สารสนเทศ กจิ กรรมการตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หา เป็นตน้ ๒. กิจกรรมนักเรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี ความ รับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสมความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรบั ปรงุ การทำงาน เน้นการทำงานรว่ มกนั เป็นกลุ่มตามความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับวฒุ ิภาวะของผู้เรียน บรบิ ทของสถานศกึ ษาและทอ้ งถิน่ กิจกรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย ๒.๑กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพญ็ ประโยชนแ์ ละนักศกึ ษาวิชาทหาร เป็น กจิ กรรมท่ีมงุ่ พัฒนาความมรี ะเบียบวนิ ัย ความเปน็ ผูน้ ำผตู้ ามทีด่ ี ความรับผดิ ชอบ การทำงานรว่ มกัน การ รจู้ กั แกป้ ญั หา การตัดสนิ ใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปันกนั การประนีประนอม เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญท่ ม่ี ีความสมบรู ณ์ พรอ้ มทัง้ ดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและ สตปิ ัญญา เปน็ ตน้ ๒.๒ กิจกรรมชมุ นุม ชมรมเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนใหส้ อดคล้องกับ ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ โดยเน้นใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ต้งั แต่การศึกษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ัตติ ามแผน ประเมินและปรบั ปรงุ การทำงาน เนน้ การทำงานรว่ มกนั เป็นกลุ่ม กจิ กรรมสำคัญใน การพฒั นา ได้แก่ ชุมนุมหรอื ชมรมต่างๆ ที่สถานศกึ ษากำหนดขึ้นตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวฒุ ิ ภาวะของผเู้ รียนและบริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน

302 ๓. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์เป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสริมใหผ้ ้เู รียนได้ทำประโยชน์ตาม ความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สังคม มีจติ ใจม่งุ ทำประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม กจิ กรรมสำคญั ได้แก่ กจิ กรรม บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรคส์ ังคม กิจกรรมดำรงรักษา สบื สานศาสนา ศลิ ปะและวฒั นาธรรม กิจกรรมพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคม เป็นต้น เวลาเรยี นสำหรับกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นทกี่ ำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง ในระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีละ ๑๒๐ ชวั่ โมง และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ จำนวน ๓๖๐ ชว่ั โมง เป็นเวลาสำหรับปฏิบตั ิกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ใน สว่ นกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรยี นดงั นี้ ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง(เฉล่ียปลี ะ ๑๐ ชว่ั โมง) ระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชวั่ โมง(เฉลยี่ ปลี ะ ๑๕ ชั่วโมง) ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔-๖ รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง(เฉลยี่ ปลี ะ ๒๐ ชว่ั โมง) การจัดกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ สามารถนำไปสอดแทรก หรือบูรณาการ ใน กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ ได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี การทำกจิ กรรมเพื่อสงั คมและ สาธารณประโยชน์ ให้ผเู้ รยี นรายงานแสดงการเข้าร่วมกจิ กรรมและมีผ้รู บั รองผลการเข้ารว่ มกิจกรรมดว้ ย การประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น เปน็ เง่ือนไขสำคญั ประการหนึ่งสำหรบั การเลื่อน ชน้ั และการจบระดบั การศกึ ษา ผเู้ รียนต้องมเี วลาเข้ารว่ มและปฏบิ ัติกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ตลอดจนผา่ นการ ประเมินตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด โดยแนวทางการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน แนวดำเนินการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษาควรมีการดำเนนิ การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเป็นขั้นตอนท่ชี ดั เจน ๑. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นรายกิจกรรม มีแนวปฏบิ ัตดิ งั นี้ ๑.๑ ประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑ์ท่ี สถานศึกษากำหนด ด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย และใช้การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ๑.๒ ตรวจสอบเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมของผ้เู รียนว่า เป็นไปตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนดไว้ หรอื ไม่ ๑.๓ ในกรณีที่ กิจกรรมใดต้องใช้เวลาปฏบิ ตั ติ ลอดปี เม่อื สิ้นภาคเรยี นแรก ควรจดั ใหม้ กี าร ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียน เพื่อสรุปความก้าวหน้า ปรับปรุงแก้ไข และรายงานให้ผู้ปกครอง ทราบ (โดยนำผลการประเมินในภาคเรียนแรกไปรวมกับผลการประเมินในภาคเรียนท่ีสอง เพื่อตัดสินผลการ ผา่ นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นเม่อื จบปกี ารศึกษาในระดบั ประถมศึกษาและเม่ือสน้ิ ภาคเรียนในระดับมัธยมศึกษา) ๑.๔ ผ้เู รียนทีม่ ีเวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม การปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากำหนด เปน็ ผูผ้ ่านการประเมินรายกิจกรรมและนำผลการประเมนิ ไปบันทึกในระเบยี นแสดงผลการ เรียน ๑.๕ ผู้เรียนที่มีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม หรือเกณฑ์การ ปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนหรือทั้งสองเกณฑ์ ถือว่าไม่ผ่านการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้สอนต้องดำเนินการซ่อมเสริมและประเมินจนผา่ น ทั้งนี้ควรดำเนินการให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมี เหตสุ ดุ วิสยั ให้อยู่ในดุลพนิ ิจของสถานศึกษา

303 ๒.การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนเพือ่ เล่ือนชน้ั และจบระดับการศึกษา การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือเลื่อนช้นั และจบระดับการศกึ ษาเป็นการประเมินการ ผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นรายปี / รายภาค เพื่อสรุปผลการผ่านในแต่ละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อเลื่อนชนั้ และประมวลผลรวมในปีสุดทา้ ยเพ่ือการจบแตล่ ะระดับการศึกษา โดยการดำเนินการดงั กลา่ วมีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ๒.๑กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ของผเู้ รยี นทกุ คนตลอดระดบั การศกึ ษา ๒.๒ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็น รายบุคคลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด (เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดน้ัน ผ้เู รียนจะตอ้ งผ่านกจิ กรรม ๓ กจิ กรรมสำคัญ ดังนี้ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งได้แก่ (๑) กิจกรรมลูกเสือเนตรนารียุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์และนกั ศึกษาวชิ าทหาร(๒) กจิ กรรมชุมนมุ ชมรม ๓) กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๒.๓นำเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน เพอื่ ให้ความเหน็ ชอบ ๒.๔เสนอผู้บริหารสถานศึกษา พิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่าน เกณฑ์การจบแตล่ ะระดับการศกึ ษา ๓.ขอ้ เสนอแนะ การประเมนิ ผลการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้นั จะตอ้ งคำนงึ ถึงส่ิงต่อไปน้ี ๓.๑ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดสถานศึกษาควร กำหนดเวลาไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓.๒ ผลการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดโดยอาจจดั ให้ผเู้ รยี นแสดงผลงาน แฟม้ สะสมงานหรือจัดนิทรรศการ ๓.๔ ผู้เรียนทุกคนต้องมีผลการประเมินระดับผ่าน ทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การ ปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรยี นจึงจะได้ผลการประเมินเป็นผา่ น (ผ) เพื่อบันทึกในระเบียนแสดงผลการ เรยี น ๓.๕ กรณที ผี่ ้เู รียนไม่ผ่านกจิ กรรม (มผ) ใหเ้ ป็นหน้าทข่ี องครู หรอื ผรู้ ับผิดชอบกิจกรรม นั้น ๆ ที่จะต้องซ่อมเสริม โดยให้ผู้เรียนทำกิจกรรมจนครบตามเวลาที่ขาดหรือปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุตาม วัตถุประสงคข์ องกิจกรรมนั้นแล้วจึงประเมนิ ให้ผ่านกิจกรรมเพื่อบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน ยกเว้นมี เหตุสดุ วิสัยใหร้ ายงานผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบเพ่อื ดำเนนิ การช่วยเหลอื ผเู้ รียนอยา่ งเหมาะสมเปน็ รายกรณไี ป ๓.๖ ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หากสถานศึกษามีบุคลากรไม่เพียงพอ หรือไม่ สามารถจัดกิจกรรมได้อย่างหลากหลาย สถานศึกษาอาจจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการ หรือสอดแทรกใน กิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ เช่นกิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ เป็นต้น ซ่ึง สถานศึกษาสามารถดำเนินการประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวและนำมาเป็นส่วนหนึง่ ในการประเมิน กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นได้

304 เกณฑก์ ารผ่านการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ผู้เรียนจะต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษา กำหนด โดยกำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ อย่างเหมาะสม ดังน้ี ๑. กำหนดคุณภาพหรือเกณฑ์ในการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนด ไว้ ๒ ระดับ คอื ผา่ น และไม่ผา่ น ๒. กำหนดประเด็นการประเมนิ ให้สอดคล้องตามจุดประสงค์ในแต่ละกิจกรรมและกำหนด เกณฑก์ ารผา่ นการประเมิน ดงั นี้ ๒.๑ เกณฑ์การตดั สินผลการประเมนิ รายกิจกรรม ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเกณฑ์และปฏบิ ัติ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา กำหนด ไม่ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนมเี วลาเข้ารว่ มไม่ครบตามเกณฑ์ หรือไม่ผ่าน การปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผเู้ รยี นตามเกณฑ์ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๒.๒ เกณฑ์การตดั สินผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นในแตล่ ะภาค/ปี ผา่ น หมายถงึ ผ้เู รยี นมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกจิ กรรมสำคัญท้ัง ๓ กิจกรรม คือ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ไม่ผ่าน หมายถงึ ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ“ไมผ่ ่าน” ในกิจกรรมสำคัญ กจิ กรรมใดกจิ กรรมหนึ่งจาก ๓ กิจกรรม คือ กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๒.๓ เกณฑ์การตดั สินผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนเพอื่ จบระดบั การศกึ ษา ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกชัน้ ปี ในระดบั การศกึ ษานัน้ ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รียนมีผลการประเมินระดับ “ ไมผ่ า่ น ” บางช้นั ปี ในระดับการศึกษาน้ัน

โรงเรียนเซนตย์ อแซฟสกลนคร สำนกั งำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรศึกษำเอกชน กระทรวงศึกษำธิกำร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook