Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร-CMUJLSS Vol.12 No.2

วารสาร-CMUJLSS Vol.12 No.2

Published by E-books, 2021-06-18 09:13:39

Description: วารสาร-CMUJLSS Vol.12 No.2

Search

Read the Text Version

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 รว่ มกับรัฐ รวมถงึ การคัดคา้ นโครงการของรฐั ในประเดน็ ตา่ งๆ เช่น การสัมปทานเหมืองแร่ถ่านหิน การสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน การสารวจแร่โปแตช การปิดประตูเขื่อนปากมูล ประเด็นการประกาศ พื้นที่อุทยานทับที่ชุมชน การคัดค้านร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม โดยพบว่าบางกลุ่มและบาง ประเด็นถูกเจ้าหน้าที่ตารวจและเจ้าหน้าทหารข่มขู่ไม่ให้มีการชุมนุม หรือพยายามสกัดกั้นไม่ให้ ชาวบ้านเข้าร่วมการชุมนุม โดยอ้างว่าจะเข้าข่ายการกระทาความผิดตาม พ.ร.บ. การชุมนุม สาธารณะ พ.ศ. 25583 และมีกรณที ่ีผ้ชู ุมนมุ ถูกดาเนนิ คดีจานวน 7 คด4ี 3 เชน่ กรณกี ลุ่มรักษ์บ้านแหง เหตุการณ์เกดิ เมื่อวันที่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2558, รายละเอียดโปรดดู ศูนย์ทนายความ เพ่อื สทิ ธิมนษุ ยชน, “การจัดการทรพั ยากรเหมืองแรก่ บั การละเมดิ สิทธิมนุษยชนหลงั รัฐประหาร (2): บูรณาการการใชอ้ านาจ ของทหารกับการปฏริ ปู ,” (3 มถิ นุ ายน 2559), สืบคน้ เม่อื วันท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://tlhr2014.wordpress.com/tag/ กลุม่ รักษ์บ้านแหง/. กรณี กลุ่มคนรกั ษบ์ ้านเกดิ บาเหนจ็ ณรงค์ จดั งานทอดผา้ ป่าสามัคคี เพ่อื ระดมทุนในการต่อสูค้ ัดคา้ นก่อสรา้ ง โรงไฟฟ้าถ่านหินบาเหน็จณรงค์, รายละเอียดโปรดดู iLAW, “สถติ กิ ารปดิ ก้ันและแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะยคุ คสช.,” (6 กุมภาพันธ์ 2560), สืบค้นเม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2562, https://freedom.ilaw.or.th/blog/banonpublicactivities. กรณชี าวบ้านชุมนุมเร่อื งปดิ ประตเู ขอื่ นปากมูล รายละเอียดโปรดดู, ประชาไท, “ทหารเข้าคยุ ชาวบา้ น หา้ มตา้ นหาก ปดิ ประตูเขอื่ นปากมูลก่อนกาหนด,” (27 ตุลาคม 2558), สบื คน้ เม่อื วันที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2015/10/62128. 4 กรณที ่ี 1. คดี 7 แมห่ ญิงกลมุ่ คนรักษ์บ้านเกดิ รายละเอียดโปรดดู ศนู ยท์ นายความเพื่อสทิ ธิมนุษยชน, “อ่าน ประมวลคดี พ.ร.บ. ชุมนุมฯ 7 แม่หญิงกลุ่มคนรักษ์บ้านเกดิ กอ่ นศาลอ่านคาพพิ ากษา,” (19 เมษายน 2561), สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://www.tlhr2014.com/?p=6873 กรณที ่ี 2. คดีชมุ นมุ คดั ค้าน พ.ร.บ.ปิโตรเลยี มฯ โดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทยรายละเอียดโปรดดู, ผ้จู ดั การออนไลน์, “‘ปานเทพ’ ชนะอีกคดี ศาลอทุ ธรณย์ ืนยกฟ้อง ค้าน พ.ร.บ. ปโิ ตรเลียมไมผ่ ดิ พ.ร.บ.ชมุ นุมฯ,” (7 พฤศจกิ ายน 2561), สืบคน้ เม่อื วันท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://mgronline.com/politics/detail/9610000111310. กรณที ่ี 3. คดเี ครอื ข่ายประชาชนปฏริ ปู พลงั งานไทย (คปพ.) คดั ค้าน พ.ร.บ.ปโิ ตเลียม รายละเอียดโปรดดู, ประชา ไท, “คปพ.มอบตวั ถูกดาเนินคดี ตาม พ.ร.บ.ชมุ นุมฯ หลงั ย่ืนหนังสือคา้ น พ.ร.บ.ปโิ ตรเลยี ม หน้าสภา,” (21 เมษายน 2560), สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2017/04/71148. กรณที ่ี 4. คดีเครอื ข่ายคนสงขลา - ปัตตานีไม่เอาโรงไฟฟ้าถ่านหิน รายละเอียดโปรดดู, มลู นิธนิ ิตธิ รรมส่ิงแวดล้อม, “กอ่ น 2560 จะผ่านไป: ยอ้ นทบทวนเหตคุ ุกคามการใชส้ ทิ ธิเสรภี าพดา้ นสง่ิ แวดล้อมภายใต้รัฐบาล คสช.,” (31 ธันวาคม 2560), สืบคน้ เม่อื วันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2562, https://enlawfoundation.org/newweb/?p=3812. กรณีท่ี 5. คดี We walk โดย People Go, รายละเอียดโปรดด,ู VoiceTV, “เอ็นจีโอแจงจัดกิจกรรมเดินเท้า กทม. - ขอนแก่น ไมใ่ ชก่ ารลม้ รฐั บาล,” (20 มกราคม 2561), สืบค้นเม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2562, https://voicetv.co.th/read/BJqM_8eBM. กรณีท่ี 6. คดชี ุมนมุ คดั ค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบ่ี – เทพามจี านวน 2 คดี รายละเอียดโปรดด,ู มลู นธิ นิ ติ ิธรรม 44

“รฐั ประหาร พื้นที่ พลเมือง” กลุ่มที่สอง ประเด็นด้านสุขภาพ มีจานวน 1 เรื่อง จัดการชุมนุมโดยกลุ่มคนรัก หลักประกันสุขภาพ เพื่อคัดค้านรา่ ง พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแหง่ ชาตฉิ บับใหม่ ทางผู้ชุมนุมได้ แจ้งการชุมนุมแต่เจ้าหน้าที่ขอให้ย้ายสถานที่การชุมนุมและเลิกการชุมนุมตามเวลาที่กาหนด รวมถึงให้งดกจิ กรรมที่อาจเป็นการชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน เนื่องจากเห็นว่าอาจขัดตอ่ คาสง่ั หัวหนา้ คสช. ฉบับท่ี 3/25585 กลุ่มที่สาม ประเด็นด้านแรงงาน มีการจัดการชุมนุมจานวน 2 เรื่อง ซึ่งเป็นกรณีที่มีการ แจ้งการชุมนุมสาธารณะตามที่กฎหมายกาหนด 1 เรื่องและเจ้าหน้าที่อนุญาตให้จัดการชุมนุม แต่ ถูกเจ้าหน้าที่รัฐกีดกัน และถูกสั่งห้ามชูป้ายข้อความประเด็นทางการเมือง6 ด้านการชุมนุมของ สหภาพแรงงานซันโคโกเซ ซึ่งชุมนุมที่กระทรวงแรงงาน และไม่ได้แจ้งการชุมนุมแต่ทางกระทรวง แรงงานอนุญาตให้แรงงานพักค้างคืนบริเวณใต้ถุนของกระทรวง ต่อมาตารวจได้ควบคุมตัวผู้นา แรงงานสองคนแต่ได้ปล่อยตัวพร้อมขอร้องให้ผู้ชุมนุมเดินทางกลับบ้าน กรณีนี้ไม่ได้มีการ แจง้ ความผิดฐานตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ แตอ่ ย่างใด7 กลุ่มที่สี่ ประเด็นด้านการเมือง มีการจัดการชุมนุมจานวน 32 เรื่อง โดยภาพรวมจะเป็น การรวมกลุ่มของนักศึกษาและประชาชนที่ต้องการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองเพื่อเรียกร้อง ประชาธิปไตยและคัดค้านรัฐบาลเผด็จการ เช่น การจัดกิจกรรมราลึกเหตุการณ์ที่เป็นผลจากการ รัฐประหารในช่วงเวลาต่างๆ การราลึกเหตุการณ์ 14 ตุลา การเรียกร้องการเลือกตั้ง และคัดค้าน การแสดงความเห็นของผู้บัญชาการทหารบก เป็นต้น พบว่าการชุมนุมที่เกี่ยวข้องกับประเด็น ทางการเมืองมักถูกข่มขู่และปิดกั้นการชุมนุมสาธารณะเสมอ และมีการข่มขู่ว่าจะบังคบั ใช้ พ.ร.บ. ส่งิ แวดล้อม, “ยกคาร้องเลิกการชุมนุมคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบ่ี - เทพา ศาลชี้ชุมนุมชอบดว้ ยกฎหมาย,” (24 กุมภาพนั ธ์ 2561), สืบค้นเม่อื วันที่ 30 มถิ นุ ายน 2562, https://enlawfoundation.org/newweb/?p=4064 และ iLAW, “7 เรื่องตอ้ งรู้ ก่อนฟงั คาพพิ ากษา คดีเทใจให้เทพา,” (25 ธันวาคม 2561), สืบคน้ เมื่อวันท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://freedom.ilaw.or.th/blog/7-เรือ่ งตอ้ งรกู้ ่อนฟงั คาพิพากษา-คดีเทใจให้เทพา. 5 นักข่าวพลเมือง สถานโี ทรทัศน์ไทยพบี ีเอส, “ตร. - ทหารเบรก “คนรักหลกั ประกันสุขภาพ” นับ 1,000 นดั รวมตวั ค้านแกก้ ฎหมายบตั รทอง กระทบสิทธิ ปชช.,” (6 มถิ ุนายน 2561), สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://www.citizenthaipbs.net/node/20435. 6 ประชาไท, “เครือขา่ ยแรงงานภาคเหนือ ถูก จนท.ขดั ขวางกิจกรรมวันกรรมกรสากล,” (4 พฤษภาคม 2561), สบื คน้ เมื่อวันที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2018/05/76751. 7 กระทรวงแรงงาน, “ก.แรงงาน ‘หว่ ง’ ลูกจ้างซันโค โกเซ ฝา่ ฝนื “กฎหมายชุมนุม” จัดรถส่งกลับถึงบา้ น,” (7 มกราคม 2559), สบื คน้ เมื่อวันท่ี 30 มถิ ุนายน 2562, http://www.mol.go.th/en/node/46642. 45

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 การชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ควบคู่กบั ประกาศคาส่งั คสช. ฉบบั ที่ 3/25588 และมหี ลายกรณีท่ี ถกู จบั กุมดาเนินคด9ี ทั้งนี้ การชุมนุมทางการเมืองเป็นประเด็นที่เจ้าหน้าที่มักมีการกลั่นกรองการอนุญาตท่ี เข้มงวดและมีมาตรการควบคุมการชุมนุมอย่างเข้มข้น เช่น งดการใช้เครื่องขยายเสียง10 การ 8 1. กรณเี พจกลุม่ ประชาธปิ ไตยศกึ ษาจดั กิจกรรม “กรวดน้า คว่าขัน ร่างรฐั ธรรมนญู 2558”, รายละเอยี ดโปรดดู iLAW, “ปรากฏการณ์ ใช้ พ.ร.บ.ชมุ นุมฯ “ข่”ู ประชาชนหา้ มชุมนุมทุกประเภท,” (16 มกราคม 2559), สบื ค้นเมื่อวนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://ilaw.or.th/node/3991. 2. กิจกรรม “ร้องเพลงใหล้ ุงฟัง” ในวันครบรอบ 10 ปี รฐั ประหาร โดยอาเล็ก โชคร่มพฤกษ์, รายละเอียดโปรดดู iLAW, “สถติ ิการปดิ ก้นั และแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะยุค คสช.,” (6 กุมภาพนั ธ์ 2560), สบื ค้นเม่อื วันท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://freedom.ilaw.or.th/blog/banonpublicactivities. 9 การดาเนินคดตี ามพระราชบัญญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 เช่น คดอี านนท์ นาภา จัดกจิ กรรมราลกึ “ลงุ นวมทอง” ถูกดาเนินคดีตามขอ้ หาใช้เครื่องขยายเสยี งโดยไม่ได้ขอ อนุญาต, รายละเอียดโปรดดู iLAW, “ฐานข้อมลู คดี - ชอ่ื คดี อานนท์: ชุมนุมราลกึ นวมทอง,” (5 พฤศจกิ ายน 2558), สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://freedom.ilaw.or.th/case/693#progress_of_case. คดี MBK 39 กลุ่มคนอยากเลอื กตั้ง จานวน 2 คด,ี รายละเอียดโปรดดู ศูนย์ทนายความเพื่อสทิ ธิมนุษยชน, “MBK39 เข้ารับทราบข้อหา ท้ัง 2 ศาลสงั่ ปลอ่ ยตวั ทั้งหมด,” (8 กุมภาพันธ์ 2561), สบื ค้นเม่ือวันท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://www.tlhr2014.com/?p=6289. คดี PTY 12, รายละเอียดโปรดดู ศูนย์ทนายความเพือ่ สทิ ธิมนษุ ยชน, “คดคี นอยากเลือกตั้งพทั ยา: 7 คน เข้า รับทราบนัด อกี 5 คน นัดส่งตัวใหอ้ ัยการวันนี้,” (10 พฤษภาคม 2561), สบื คน้ เม่ือวันท่ี 30 มิถนุ ายน 2562, https://www.tlhr2014.com/?p=7167. คดีกลุ่มคนอยากเลอื กตัง้ ชมุ นุม หนา้ UN, รายละเอียดโปรดดู ประชาไท, “‘คนอยากเลือกตั้ง’ เข้ารับทราบหลาย ข้อกลา่ วหาที่ สน.นางเลิง้ รอบชุมนุม 4 ปี รัฐประหาร,” (7 มิถุนายน 2561), สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2018/06/77321. 10 กล่มุ ราลึกเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กนั ยายน 2549, รายละเอียดโปรดดู iLAW, “สถิตกิ ารปดิ กัน้ และแทรกแซง กจิ กรรมสาธารณะยคุ คสช.,” (6 กุมภาพันธ์ 2560), สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 30 มิถุนายน 2562, https://freedom.ilaw.or.th/blog/banonpublicactivities. 46

“รฐั ประหาร พน้ื ท่ี พลเมอื ง” ตอ่ รองเพือ่ ไม่ใหเ้ ดินขบวน11 การนารวั้ มากน้ั ระหว่างถนนและทางเท้าพรอ้ มตง้ั จุดตรวจค้นกระเป๋า และตรวจบตั รประชาชน พรอ้ มถา่ ยรปู เจ้าของบตั ร12 เปน็ ต้น กลุ่มที่ห้า ประเด็นปลีกย่อยอื่นๆ เช่น การชุมนุมเพื่อคัดค้านการย้ายสถานีขนส่ง หรือ เเปน็ กรณกี ารชมุ นุมเนื่องจากไม่พอใจการปฏบิ ัติหน้าทข่ี องตารวจ เปน็ ต้น ในกลุ่มนี้มีกรณีจานวน 5 เรือ่ ง ซ่ึงมีจานวน 2 คดีที่มีเหตกุ ารณ์คอ่ นขา้ งรุนแรง และมีการดาเนินคดีตาม พ.ร.บ. การชุมนุม สาธารณะ13 ส่วนอีก 1 คดี แม้จะไม่มีการดาเนินคดีแต่มีการอ้างว่าเข้าข่าย หรือจะบังคับใช้ กฎหมายการชมุ นุมสาธารณะ14 และอกี 2 คดที ่ีมีกจิ กรรมเข้าข่ายตามการชุมนุมสาธารณะ แตก่ ลบั ไม่ถกู แจง้ ความหรือดาเนนิ คดีแตอ่ ย่างใด15 11 กจิ กรรมชุมนุมราลึก 42 ปี 14 ตุลาฯ โดยกลุม่ พลเมืองโตก้ ลับ ประชาธปิ ไตยใหม่ และประชาธปิ ไตยศกึ ษา จดั กจิ กรรม จาก 3 ทรราช สู่ 3 ป. เผด็จการไมเ่ คยสูญ, รายละเอียดโปรดดู ประชาไท, “เคลือ่ นขบวนม่งุ อนสุ าวรยี ป์ ระชาธิปไตย จดุ เทียนราลกึ 42 ปี 14 ตุลา,” (14 ตุลาคม 2558), สบื คน้ เม่ือวันท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2015/10/61941. 12 กิจกรรมชุมนุม “หยดุ ยื้ออานาจ หยดุ ย้อื เลอื กต้ัง : หมดดวลา คสช. ถึงเวลาประชาชน” โดยกลุม่ ฟนื้ ฟู ประชาธิปไตย (DRG) และกลุ่ม Start up People ณ อนสุ าวรยี ,์ รายละเอยี ดโปรดดู ศนู ย์ทนายความเพอ่ื สิทธิมนุษยชน, “ประมวลภาพ-สถานการณ์ “หยดุ ยอื้ อานาจ หยุดยื้อเลือกตัง้ ” กอ่ นตารวจคมุ ตวั 3 แกนนา,” (10 กุมภาพันธ์ 2561), สืบคน้ เมื่อวันท่ี 30 มถิ ุนายน 2562, https://www.tlhr2014.com/?p=6309. 13 คดีชมุ นุมคัดค้านการย้ายสถานีขนส่งผโู้ ดยสาร แห่งท่ี 1 จังหวัดขอนแก่น คดนี ้ีเป็นคดแี รกทถี่ ูกดาเนินคดีตาม พระราชบัญญตั ิการชุมนุมฯ, รายละเอียดโปรดดู นกั ขา่ วพลเมอื ง สถานโี ทรทศั น์ไทยพีบเี อส, “คุก 2 ยกฟ้อง 1 กรณีชุมนุม คา้ น ‘ย้าย บขส.ขอนแก่น’ ปี 58 - ทนายเตรยี มอทุ ธรณ์ส้คู ด,ี ” (20 กันยายน 2559), สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://www.citizenthaipbs.net/node/9678. คดเี หตุจลาจลท่ี อ.ถลาง จ.ภเู กต็ , รายละเอียดโปรดดู กรุงเทพธรุ กิจ, “สรปุ คดีปิดโรงพักถลาง ออกหมายจบั เกือบร้อย บ้ีให้มอบตวั อกี อื้อ,” (16 ธันวาคม 2558), สบื ค้นเมื่อวันที่ 30 มถิ ุนายน 2562, https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/678700. 14 กรณี มอส. จัดค่าย “เยาวชนฮกั บ้านเจ้าของ”, รายละเอยี ดโปรดดู iLAW, “ปรากฏการณ์ใช้ พ.ร.บ.ชมุ นุม “ขู”่ ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท,” (16 มกราคม 2559), สืบคน้ เม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2562, https://ilaw.or.th/node/3991. 15 กรณมี ๊อบสวน ยางพารา, รายละเอียดโปรดดู ประชาไท, “‘ประยทุ ธ’์ ขอชาวสวนยางไมช่ ุมนุมกดดนั รัฐบาล ‘ประวิตร’ ระบุ ถ้ามาเจอ พ.ร.บ. ชุมนมุ ,” (9 มกราคม 2559), สืบค้นเมื่อวันท่ี 30 มถิ ุนายน 2562, https://prachatai.com/journal/2016/01/63381. กรณีคดั คา้ นประกาศกระทรวงการคลงั เร่ืองห้ามข้ึนเงินเดอื นพนกั งานชั่วคราว รพ.บัวใหญ่ นครราชสีมา, รายละเอียดโปรดดู Voice TV, “รพ.บัวใหญ่ ขน้ึ ปา้ ยค้านระเบียบคลัง-ลูกจ้าง ม.ราชภัฎโคราช นดั คา้ น 1 ม.ิ ย.,” (31 พฤษภาคม 2561), สืบค้นเม่ือวนั ที่ 30 มิถุนายน 2562, https://voicetv.co.th/read/BkaMu02JQ. 47

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 หากพิจารณาจากกลุ่มบุคคลทั้งห้ากลุ่มซึ่งต้องเผชิญกับการบังคับใช้ พ.ร.บ. การชุมนุม สาธารณะ พ.ศ. 2558 จะพบว่าการมุ่งบังคับใช้กฎหมายเกิดขึ้นอย่างเข้มข้นกับกลุ่มบุคคลที่ได้ เคลื่อนไหวในทิศทางที่เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ที่มีอานาจโดยตรง รวมถึงแม้กระทั่งกับกลุม่ บคุ คลที่มีการ ชุมนุมสาธารณะในลักษณะที่ขัดแย้งหรอื ไม่เห็นด้วยกบั นโยบายของผู้มีอานาจก็ล้วนต้องเผชิญกับ การบังคบั ใชก้ ฎหมายฉบบั น้ีดว้ ยเช่นเดียวกนั ทง้ั น้ี หากพจิ ารณาเปรียบเทียบไปกับการชุมนุมซ่ึงมี แนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันกับรัฐบาล เช่น การชุมนุมของพุทธอิสระหน้าสถานทูตสหรัฐฯ เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2558 เพื่อมายื่นหนังสือประท้วงทูตในการวิจารณ์กฎหมายอาญา มาตรา 112 โดยมปี ระชาชนมากกว่า 70 คนเขา้ รว่ ม16 กไ็ มป่ รากฏว่าได้มีการแจ้งความดาเนนิ คดีต่อพุทธอิสระ แต่อย่างใด กรณีดังกล่าวย่อมเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงว่าองค์กรในกระบวนการยุติธรรม ภายใต้อานาจของรัฐบาล คสช. เลือกที่จะบงั คับใช้ พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะกับบคุ คลบางกล่มุ เปน็ สาคัญ 3. สภาพปัญหาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ. ชุมนุมสาธารณะ ในยคุ คสช. หากพจิ ารณาสภาพปญั หาท่ีพบจากการบังคบั ใช้ พ.ร.บ. การชมุ นุมสาธารณะ จะสามารถ แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ระดบั ดงั น้ี17 ระดับที่หนึ่ง เป็นปัญหาของความหมายและการตีความ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเดน็ คือ ประเด็นแรก ความหมายของ “การชุมนุมสาธารณะ” ตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ได้กาหนดให้หมายความถึงการชมุ นมุ ของบุคคลในที่สาธารณะเพื่อเรียกร้อง สนับสนุน คัดค้าน หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึง่ โดยแสดงออกต่อประชาชนทั่วไปและบคุ คลอน่ื สามารถร่วมการชุมนุมนั้นได้ ไม่ว่าการชุมนุมนั้นจะมีการเดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายด้วยหรือไม่ ในทางปฏบิ ัตไิ ดเ้ กิดปญั หาในการตคี วามว่ากิจกรรมใดมีขอบเขตอยภู่ ายใตก้ ฎหมาย กิจกรรมซึ่งทาง 16 ไทยรฐั ออนไลน,์ “ม็อบหลวงปู่พุทธะอิสระ มาสถานทตู อเมรกิ า อดั อย่าจาบจ้วงกฎหมายเบ้ืองสูง” (28 พฤศจกิ ายน 2558), สบื คน้ เมอื่ วันที่ 30 มิถุนายน 2562, https://www.thairath.co.th/content/542395 17 ประมวลผล สงั เคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร, ดูมลู นิธนิ ติ ิธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw), ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิ มนุษยชน (TLHR),โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLAW), สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนษุ ยชน (HRLA) และ สถาบันวิจัยสังคม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , “เวทีเสวนาสะท้อนปญั หาการตีความบังคบั ใช้กฎหมายการชุมนมุ สาธารณะกบั การจากดั เสรภี าพประชาชน,” วันพธุ ท่ี 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เวลา 08.30 – 12.45 น. ณ ห้องประชุม Auditorium เดอะคอนเนค็ ชั่น สถานรี ถไฟฟ้าใต้ดนิ MRT ลาดพร้าว. 48

“รัฐประหาร พน้ื ท่ี พลเมือง” ผู้จัดเห็นว่าไม่ใช่การชุมนุมที่จะเข้าข่ายต้องแจ้งและปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ หรือ บางกรณีเป็นการชมุ นุมขนาดเลก็ และไม่ก่อให้เกดิ ผลกระทบต่อพ้นื ที่สาธารณะ แต่ทางเจา้ หน้าทร่ี ัฐ เห็นว่าต้องอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย เช่น การรวมตัวกันยื่นหนังสือถึงหน่วยงาน การเดินทาง เข้าร่วมรับฟงั การประชุมสภาของผู้ท่ีมีความเห็นต่างกับหน่วยงานรัฐ พบว่าเจ้าหน้าทีต่ ารวจได้ทา หนงั สือและแจง้ ว่าการทากิจกรรมดงั กล่าวเปน็ การชมุ นุมสาธารณะจะต้องแจง้ การชมุ นุมสาธารณะ กอ่ นจึงจะสามารถดาเนินการได้ ขณะที่ในบางกิจกรรม ซึ่งผู้จัดกิจกรรมเห็นว่าไม่เป็นการชุมนุม แต่ปรากฏว่าแกนนาถูก เจ้าหน้าที่แจ้งข้อหา ว่าจัดการชุมนุมโดยไม่แจ้งเจ้าพนักงาน ซึ่งได้เกิดขึ้นในหลายกรณี เช่น กรณี กลุ่มคนรักษ์บ้านเกิดยื่นหนังสือถึงองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหวั ทะเล อ. บาเหน็จณรงค์ จ. ชัยภูมิ เม่ือวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 แต่ภายหลงั การยน่ื หนงั สือ กลบั ถูกเจ้าหน้าท่ตี ารวจสถานีตารวจภูธร หัวทะเลทาหนังสือแจ้งกลบั มายังกลุ่มว่าการย่ืนหนงั สือดังกลา่ วเป็นการชมุ นุมสาธารณะ ดงั นั้น จึง ต้องแจง้ การชมุ นุมสาธารณะกอ่ นถงึ ดาเนินการได้ กรณีคดีกลุ่มคนรักษ์บ้านเกิด เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 ชาวบ้านประมาณ 150 คน เดินทางเข้าร่วมรับฟงั การประชุมสภา อบต. เขาหลวง อ. วังสะพุง จ. เลย ในวาระการพิจารณา เรื่องการขอต่อใบอนุญาตเพื่อขอให้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เพื่อทาเหมืองแร่ทองคาของบริษัท ทุ่งคา จากัด โดยชาวบ้านเรียกร้องให้ยกเลิกการ ประชุมในวาระดังกล่าว แต่ต่อมาสมาชิก 7 คน ได้ถูกแจ้งข้อกล่าวหาข่มขืนใจผู้อื่นฯ และข้อหา ชุมนุมสาธารณะกดี ขวางทางเข้าออกและรบกวนการปฏิบัตงิ านสถานท่ที าการของรัฐ และหน่ึงในผู้ ชุมนุมถูกแจ้งข้อหาจัดการชุมนุมโดยไม่แจ้งเจ้าพนักงานตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ประเด็นที่สอง สถานที่ชุมนุมและกาหนดระยะเวลาของประกาศ ปัญหาความไม่ชัดเจน ของระยะสถานที่การชุมนุมห้ามไม่ให้ชุมนุมตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างย่ิง พื้นท่ที ห่ี า้ มชุมนมุ ซึง่ มีลกั ษณะดงั นี้ 1. พน้ื ทใ่ี นรศั มี 150 เมตร ได้แก่ พระบรมมหาราชวัง พระราชวงั วงั ฯลฯ 2. พื้นที่ห้ามชมุ นุมภายใน ได้แก่ รัฐสภา ทาเนียบรัฐบาล และศาล ที่ผู้บัญชาการตารวจ แห่งชาติมีอานาจประกาศหา้ มชุมนมุ ในรศั มี 50 เมตร โดยดจู ากจานวนและพฤตกิ ารณผ์ ู้ชุมนุม 3. พน้ื ทท่ี ชี่ มุ นุมได้แต่ห้ามไม่ให้กีดขวางทางเข้าออก หรอื รบกวนการปฏิบัติงานหรือการ ใชบ้ ริการสถานท่ที าการหนว่ ยงานของรฐั 49

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ความไม่ชัดเจนดังกล่าว ทาให้เกิดปัญหาต่อผู้ชุมนุม คือ การไม่ทราบระยะรัศมี 150 เมตรที่ชัดเจนว่าวัดจากจุดใดและสิ้นสุดลง ณ จุดใด มักทาให้เกิดปัญหาขึ้นในบางพื้นที่ และ ถกู นามากล่าวหาอยู่เสมอ เชน่ คดขี องกล่มุ คนอยากเลอื กต้ัง เมือ่ วันที่ 27 มกราคม 2561 ผู้ชุมนุม 39 ราย ถูกดาเนินคดีข้อหาชุมนุมห่างจากเขตพระราชวังไมเ่ กิน 150 เมตร ทั้งที่พืน้ ที่ดังกลา่ วเป็น พน้ื ทีท่ ่ไี ดม้ ีการจดั กจิ กรรมทางการเมอื งมาหลายครั้งกอ่ นหน้า นอกจากนี้ ยังมีปัญหาของความชัดเจนเรื่องระยะเวลาของคาสั่งหรือประกาศ ในกรณีที่ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติกาหนดพื้นที่ห้ามชุมนุมในรัศมี 50 เมตร รอบทาเนียบรัฐบาลอันมี ลกั ษณะเป็นการถาวร มิใชอ่ อกประกาศเพ่ือบังคับใชเ้ ป็นรายกรณี ปัญหาความไม่ชัดเจนของบทบัญญัติในกฎหมายดังกล่าวมานี้ นาไปสู่การให้อานาจ ตัดสินใจที่ขึ้นกับดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ ดังการชุมนุมที่อาจกีดขวางทางเข้าออก รบกวนการ ปฏิบัติงาน หรือการใช้บริการสถานที่ ก็นาไปสู่การใช้ดุลพินิจของเจ้าพนักงานออกคาแนะนาให้ ย้ายสถานที่ชุมนุม หรือคาสั่งห้ามการชุมนุม เช่น กรณีการชุมนุมของกลุ่มคนรักประกันสุขภาพ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2560 มีการชุมนุมบริเวณเกาะกลางถนนหน้ากระทรวงศึกษาธิการ สถานี ตารวจนครบาลดุสิตมีคาสั่งให้แก้ไขสถานที่ชุมนุม โดยให้ย้ายไปจัดการชุมนุมที่บริเวณสนามม้า นางเลิ้ง เป็นต้น18 หรือกรณีท่ีเจ้าพนักงานกาหนดเงื่อนไขมาพรอ้ มกับหนังสือสรปุ สาระสาคัญของ การชุมนุม ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้ เช่น สรุปว่าการชุมนุมดังกล่าวเป็นการชุมนุมทาง การเมืองซึ่งขดั ตอ่ คาส่งั หัวหนา้ คสช. ท่ี 3/255819 ระดับที่สอง ปัญหาอันเป็นผลมาจากทางปฏิบัติของผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ สามารถ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเด็น ดังนี้ หน่งึ กระบวนการแจ้งและรบั แจ้งการชุมนุมของเจ้าหน้าท่ตี ารวจ ตามหลกั การของกฎหมายการชมุ นุมสาธารณะ กาหนดให้ผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมต้อง แจ้งการชุมนุมต่อผู้รับผู้รับแจ้งก่อนเริ่มการชุมนุมไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง20 ซึ่งในกรณีดังกล่าวได้ กลายเปน็ ขอ้ กล่าวหาทีเ่ จ้าหน้าทใี่ ช้ในการดาเนนิ คดตี อ่ ผชู้ ุมนมุ ดงั น้ี 18 มูลนิธินิติธรรมส่งิ แวดลอ้ ม (EnLaw), ศูนย์ทนายความเพือ่ สิทธิมนษุ ยชน (TLHR), โครงการอนิ เทอร์เน็ตเพ่ือ กฎหมายประชาชน (iLAW), สมาคมนักกฎหมายสทิ ธิมนุษยชน (HRLA), สถาบันวจิ ยั สังคม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, “เวที เสวนาสะท้อนปญั หาการตคี วามบังคับใชก้ ฎหมายการชุมนุมสาธารณะกบั การจากัดเสรีภาพประชาชน”, 11. 19 เรอื่ งเดยี วกัน, 7. 20 พระราชบัญญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ราชกิจจานุเบกษา เลม่ 132 ตอน 62 ก. (14 กรกฎาคม 2558), 50

“รัฐประหาร พน้ื ที่ พลเมือง” การดาเนินคดีตามข้อหาไม่แจ้งการชุมนุมสาธารณะล่วงหน้าก่อนการชุมนุม 24 ชั่วโมง กลายเป็นข้อหาหลังที่เจ้าหน้าที่ใช้ในการดาเนินการหลายคดี เช่น กรณีการคัดค้านการสารวจ เหมืองแร่โปแตช ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร มีผู้ดาเนินคดีจานวน 4 ราย หรือกรณีนายศตานนท์ ช่นื ตา ทีถ่ กู กลา่ วหาวา่ เป็นผู้จดั ให้มกี ารชุมนุมสาธารณะ21 โดยไม่แจง้ กอ่ นลว่ งหนา้ 24 ชว่ั โมง เป็น ต้น การชุมนุมสาธารณะโดยไม่แจ้งล่วงหน้า ยังสามารถนาไปสู่เหตุที่ทาให้เจ้าหน้าที่ใช้ อานาจในการเข้าจับกุมโดยอ้างว่าเป็นการกระทาความผิดซึ่งหน้า อันเป็นเหตุให้สามารถยกเลิก และสลายชุมนุมได้โดยทันที โดยไม่ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ เช่น คดียืนเฉยๆ ของนายอานนท์ นาภา ซึ่งไม่ได้แจง้ การชมุ นุมสาธารณะ เป็นเหตุให้เจ้าพนักงานเข้าจับกุมอนั เปน็ ผลใหก้ ารชมุ นุมตอ้ งยุติลง22 นอกจากนี้ ยังพบปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น กรณีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะล่วงหน้า ครบ 24 ชั่วโมง แต่เจ้าพนกั งานมิได้ตอบกลบั ภายในระยะเวลาที่กาหนด, กรณีแจ้งการชุมนุม โดย การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) แต่ที่อยู่ในการส่ง Email ของสถานีตารวจในบางพื้นที่ไม่ สามารถใช้ได้จริง หรอื เจ้าพนกั งานไม่มี Email Address ทาใหเ้ กดิ ความสับสน ความไม่แน่นอนว่า การชุมนุมจะสามารถจัดได้หรือไม่ เช่น กรณีการชุมนุมเทใจให้เทพา เดินทางมายื่นหนังสือถึง คณะรัฐมนตรีสัญจรที่อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เดิมไม่ได้แจ้งการชุมนุม แต่ต้องมาได้ทาการแจง้ การชุมนุมภายหลัง เมื่อครบระยะเวลา 24 ชั่วโมง การชุมนุมจึงดาเนินต่อไป แต่พนักงานกลับมี หนงั สอื หา้ มการชมุ นมุ และดาเนินคดีจากเหตุท่ตี ่อเนื่องในภายหลัง ประเด็นต่อมา คือเจ้าพนักงานไม่มีความชัดเจนเรื่องแนวทางการบังคับใช้เรื่องการนับ ระยะเวลา 24 ชั่วโมง กรณีที่มีการชุมนุมในหลายพื้นที่ ซึ่งเจ้าพนักงานในเขตพื้นที่หนึ่งไม่นับ ระยะเวลาแจ้งการชุมนุมต่อจากพื้นที่เดิม ทาให้ไม่ครบระยะเวลา 24 ชั่วโมง ซึ่งได้สร้างปัญหากบั มาตรา 10 วรรคแรก บัญญัติว่า “ผู้ใดประสงคจ์ ะจดั การชุมนุมสาธารณะ ให้แจ้งการชุมนมุ ตอ่ ผู้รับแจง้ ก่อนเริ่มการชุมนมุ ไม่น้อยกว่ายสี่ ิบสีช่ ว่ั โมง” 21 ศนู ยท์ นายความเพอ่ื สทิ ธิมนษุ ยชน, “แจ้งขอ้ หาผิด พ.ร.บ.ชุมนมุ ฯ ชาวบา้ นกลุ่มต้านเหมอื นโปแตช สกลนคร,” (27 มีนาคม 2560), สบื ค้นเม่ือวันท่ี 30 มิถุนายน 2562, https://www.tlhr2014.com/?p=3831. 22 มลู นิธินติ ิธรรมส่ิงแวดลอ้ ม (EnLaw), ศูนย์ทนายความเพ่ือสทิ ธิมนุษยชน (TLHR), โครงการอินเทอร์เนต็ เพื่อ กฎหมายประชาชน (iLAW), สมาคมนักกฎหมายสทิ ธิมนุษยชน (HRLA), สถาบันวิจยั สังคม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, “เวที เสวนาสะทอ้ นปญั หาการตีความบังคบั ใชก้ ฎหมายการชุมนุมสาธารณะกบั การจากดั เสรภี าพประชาชน,” หน้า 6. 51

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ผู้ชุมนุม ทั้งที่ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องที่ใดท้องที่ หนง่ึ เทา่ นนั้ 23 สอง การขอผอ่ นผนั ระยะเวลาการแจง้ การชุมนุม จากข้อมูลที่ปรากฏยังไม่พบว่ามีกรณีใดเลยที่ได้รับการผ่อนผันให้แจ้งการชุมนุม แตต่ รงกันข้าม พบวา่ มีการปิดก้นั การชุมนุมโดยเจ้าหน้าท่ี เช่น กลมุ่ ขบวนการประชาชนเพ่ือสังคม ทเ่ี ป็นธรรม (กลมุ่ P – Move) จ. ลาพนู กาลังเดนิ ทางเข้ารว่ มการชมุ นุมในกรุงเทพฯ ซ่ึงไดแ้ จ้งการ ชุมนุมไว้แล้ว แต่เจ้าหน้าที่กลบั มีหนังสือแจ้งเตือนให้ทางกลุ่มขอผอ่ นผันการชุมนุม เนื่องจากเปน็ เหตุการณ์ที่เกิดอย่างฉับพลันจากการสกัดของเจ้าหน้าที่จึงทาให้การใช้ช่องทางขอผ่อนผันนั้นไม่ อาจเกดิ ขึ้นไดจ้ รงิ ในทางปฏบิ ัติ24 สาม การกาหนดเงื่อนไขการชมุ นุม ตามมาตรา 19 กาหนดให้เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะมีอานาจหน้าที่อานวย ความสะดวกแก่ประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะอันเป็นสถานที่ชุมนุม รักษาความปลอดภัย อานวย ความสะดวกหรือบรรเทาเหตุเดือดร้อนราคาญแก่ผู้อื่นซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับสถานที่ชุมนุม รักษาความปลอดภัยหรืออานวยความสะดวกแก่ผู้ชุมนุมในสถานที่ชุมนุม อานวยความสะดวกใน การจราจรและการขนส่งสาธารณะ ในบริเวณที่มีการชุมนุมและบริเวณใกล้เคียงเพื่อให้ประชาชน ได้รับผลกระทบจากการชุมน ทั้งมีอานาจในการกาหนดเงื่อนไขหรือมีคาสั่งให้ผู้จัดการชุมนุม ผู้ชุมนุม หรอื ผู้อยู่ภายในสถานทีช่ ุมนุมต้องปฏบิ ตั ติ ามเพ่อื ประโยชน์ในการปฏบิ ตั หิ น้าที่ อย่างไรก็ตาม การกาหนดเงื่อนไขในการชุมนุมของเจ้าพนักงานถือเป็นดุลพินิจของ เจ้าหน้าที่ จึงทาให้มีการตั้งคาถามว่าเจ้าพนักงานสามารถกาหนดเงื่อนไขหรือคาสั่งได้ถึงระดับใด เช่น เจ้าหน้าที่สามารถกาหนดเงื่อนไขก่อนมีการชุมนุมได้หรือไม่, เจ้าพนักงานสามารถกาหนด เง่ือนไขทีเ่ กินไปกวา่ อานาจหนา้ ตามมาตรา 19 หรือไม่, กรณีทเ่ี จา้ พนักงานเข้ามาตรวจสอบควบคุม เนื้อหาของการชุมนุม โดยใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะร่วมกับคาสั่งหัวหน้า คสช. ท่ี 3/2558 ข้อ 12 เข้าไปพิจารณาเนื้อหาในการชุมนุม หรือการกาหนดเงื่อนไขห้ามใช้ป้ายผ้า อปุ กรณ์ เครอ่ื งขยายเสยี ง ห้ามใสเ่ สอ้ื ยืดซึ่งมีขอ้ ความรณรงคใ์ นประเด็นต่างๆ เป็นต้น 23 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องกำหนดวิธีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 132 ตอน พเิ ศษ 279 ง (3 พฤศจิกายน 2558), ข้อ 2. 24 เร่ืองเดียวกัน, 8. 52

“รฐั ประหาร พืน้ ที่ พลเมอื ง” สี่ การปดิ กนั้ และการใชก้ ฎหมายอื่นเพื่อจากดั เสรีภาพการชุมนุมโดยเจ้าหนา้ ที่ ก่อนการออกประกาศคาสงั่ คสช. ที่ 22/256125 ซึ่งใหส้ ิทธิประชาชนและพรรคการเมือง ในการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองได้ การใช้สิทธิชุมนุมสาธารณะหลายกรณีต้องเจอปัญหา เจ้าหน้าที่รัฐปิดกั้นการชุมนุมและการใช้กฎหมายฉบับอื่นเพื่อห้ามไม่ให้มีการชุมนุม แม้ว่าการ ชุมนุมจะมีการแจ้งการชุมนุมสาธารณะต่อเจ้าพนักงานแล้ว แต่เจ้าหน้าที่ปิดกั้นไม่ให้มีการชุมนุม และไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของ พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 โดยอ้างว่าผู้ชุมนุมกระทา ความผิดคาสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 หรือพบว่าเจ้าพนักงานจะใช้กฎหมายอื่นเพื่อเป็นเหตุใน การจับกุมโดยไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของ พ.ร.บ. ชุมนุมสาธารณะ เช่น คดีเทใจให้เทพา หรือคดียืน เฉยๆ ของอานนท์นาภา ถูกอ้างว่าเปน็ การกระทาทเ่ี ปน็ ความผิดซง่ึ หน้าจึงทาให้เจ้าหน้าท่ีสามารถ จับกุมได้ หรือกรณีการชุมนุมในพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมจากต่างจังหวัด แล้วเจ้าพนักงาน มักจะขัดขวางไม่ให้เข้าร่วมการชุมนุม เช่น กรณีกลุ่มขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม (กลุ่ม P – Move) เจ้าหน้าที่ทหารและตารวจสกัดกั้นการเดินทาง ณ บริเวณด่านตรวจแม่ทา จังหวัดลาพนู เปน็ ตน้ 26 นอกจากนี้ พบว่าเจ้าพนักงานยังใช้มาตรการอื่นๆ ที่สร้างความยุ่งยากในการใช้เสรีภาพ ในการชุมนุม เช่น การขอตรวจบัตรประชาชน การขอค้นรถ การปิดกั้นไม่ให้ผู้มาร่วมชุมนุมใน ภายหลัง หรือเจ้าหน้าที่ไม่มกี ารแสดงตัว มีพฤติกรรมข่มขู่ผู้เข้าร่วมชุมนุม การควบคุมตัว เชิญตวั จากที่ชุมนุมมาบันทึกประวัติไปจนถึงการติดตามไปยังที่พักอาศัย ทาให้ประชาชนเกิดความ หวาดกลวั ในการเข้ารว่ มการชมุ นมุ ระดับที่สาม ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางศาล สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเดน็ ดงั นี้ หนึ่ง ในชนั้ การไตส่ วนของศาล เมื่อเจ้าหน้าที่กาหนดระยะเวลาแก้ไข หรือกาหนดระยะเวลาให้เลิกการชุมนุมแล้ว27 ผู้ชุมนมุ ไมแ่ กไ้ ขการชุมนุมหรือไม่เลิกการชุมนุม เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะสามารถร้อง ขอต่อศาลแพ่งหรือศาลจังหวัดที่มีเขตอานาจเหนือสถานที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะเพื่อมีคาสั่งให้ 25 คำสงั่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 22/2561 เรื่อง การให้ประชาชนและพรรคการเมืองดำเนนิ กิจกรรม ทางการเมอื ง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนพิเศษ 314 ง. (11 ธันวาคม 2561). 26 เรือ่ งเดยี วกัน, 14. 27 พระราชบญั ญตั กิ ารชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558, มาตรา 21 53

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ผู้ชุมนุมเลกิ การชุมนุมสาธารณะ โดยตามมาตรา 22 ของ พ.ร.บ. การชมุ นมุ สาธารณะ ท่ีกาหนดว่า เมื่อไดร้ บั คาขอใหม้ คี าสั่งให้ผ้ชู ุมนุมเลกิ การชุมนุมสาธารณะ ให้ศาลพิจารณาคาขอน้นั เป็นการด่วน คาสงั่ ดงั กลา่ วสามารถอทุ ธรณ์ไปศาลอุทธรณ์หรือศาลอทุ ธรณภ์ าคไดแ้ ละเป็นที่สดุ ในทางปฏิบัติพบว่าเจ้าพนักงานมีคาขอต่อศาลให้มีคาสั่งให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุม สาธารณะและศาลนัดให้มีการไตส่ วนแลว้ แตร่ ะหว่างน้ันเจ้าหนา้ ท่ีตารวจและเจ้าหน้าท่ีทหารได้ใช้ อานาจตามกฎหมายอื่น เช่น คาสั่ง คสช. ที่ 3/2558 เพื่อควบคุมตัวแกนนาผู้ชุมนุมเข้าค่ายทหาร เช่น กรณกี ารชุมนุมคัดค้านถา่ นหนิ กระบี่ กรณีการชุมนุมเครือข่ายคนสงขลา – ปัตตานี ไม่เอาโรงไฟฟ้าถ่านหิน ก็ได้ปรากฏความ ไม่ชัดเจนของการส่งหมายหรือปิดหมายนัดไต่สวน กรณีที่เจ้าพนักงานได้ยื่นขอให้ศาลสั่งยกเลิก การชุมนุมเนอื่ งจากไมแ่ จง้ การชุมนุม แต่ผจู้ ัดการชมุ นุมซง่ึ ได้รบั แจง้ นดั หมายจากตารวจไม่มั่นใจว่า เปน็ หมายศาลจรงิ หรือไม่ ทาให้ไม่มกี ารส่งตวั แทนผู้ชุมนุมเข้ารว่ มการไต่สวน ซ่ึงทาให้ผู้ชุมนุมเสีย สทิ ธโิ ตแ้ ย้งคัดค้านและเมอ่ื มกี ารอุทธรณ์คาสงั่ ศาลอุทธรณ์ไม่รับพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งให้เลิกการ ชมุ นมุ ของศาลชนั้ ตน้ โดยอ้างเหตุวา่ การชุมนมุ สิน้ สดุ ไปแล้ว สอง กรณีการอทุ ธรณค์ าสงั่ ของเจา้ หนา้ ที่และการฟอ้ งคดีต่อศาลปกครอง กรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้รับแจ้งเห็นว่าการชุมนุมสาธารณะอาจขัดต่อมาตรา 7 และมาตรา 8 (เงื่อนไขในเรื่องสถานที่) ให้ผู้รับแจ้งมีคาสั่งให้ผู้แจ้งการชุมนุมแก้ไขภายในเวลาที่กาหนด หากผู้ แจ้งการชุมนุมไม่ปฏิบัติ เจ้าพนักงานจะสามารถสั่งห้ามการชุมนุมได้ กรณีที่ผู้แจ้งการชุมนุม ไม่เห็นชอบด้วยกบั คาสงั่ ดังกล่าวสามารถอุทธรณ์เปน็ หนงั สือตอ่ ผ้บู ังคับบัญชาเหนือผู้รับแจ้งขึ้นไป อีกหนึ่งชั้น และให้ผู้รับอุทธรณ์วินิจฉัยและแจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง คา วินจิ ฉยั อทุ ธรณน์ ้ันใหเ้ ป็นท่ีสุด โดยในระหว่างมีคาสั่งห้ามชุมนุม การอทุ ธรณ์และพิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ ใหง้ ดการชุมนมุ สาธารณะ กรณีดังกล่าว มีปัญหาว่าหากเป็นกรณีที่เจ้าพนักงานสั่งห้ามการชุมนุมเพราะเห็นว่าผิด ตามกฎหมายอื่น (คาสั่ง คสช. ที่ 3/2558) หรือด้วยเหตุผลอื่นอันมิใช่เป็นความผิดตามมาตรา 7 และมาตรา 8 (เชน่ การสง่ั หา้ มชุมนุมเนอื่ งจากเปน็ เดือนมงคล ฯลฯ) เนอื่ งจากขาดกลไกทางกฎหมาย เขา้ มาตรวจสอบวา่ กรณเี ชน่ นีต้ อ้ งอุทธรณต์ ่อองค์กรใด ตอ้ งยืน่ ในระยะเวลาเท่าใด และบางกรณียัง กระทบตอ่ การชุมนุมตามกาหนดระยะเวลาเดิมเพราะช่วงระยะเวลาที่มีการโต้แย้งคาสั่งไม่สามารถ ชมุ นมุ ได้ แม้กระบวนการอทุ ธรณด์ ังกลา่ วกฎหมายกาหนดให้เปน็ ไปตามกฎหมายวิธีปฏิบตั ิราชการ ทางปกครอง แตร่ ะยะเวลาในการอุทธรณอ์ าจไม่สอดคล้องกบั การชุมนุมท่ีเกิดขนึ้ จรงิ 54

“รฐั ประหาร พ้ืนที่ พลเมอื ง” ประเด็นสาคัญสาหรับการอุทธรณ์โต้แย้งเงื่อนไขในการสั่งห้ามที่ไม่เป็นไปตามมาตรา 7 และ มาตรา 8 นี้ จะมีผลให้ผู้ชุมนุมต้องงดการชุมนุมหรือไม่28 และการกาหนดเงื่อนไขในการ อุทธรณ์ต่อคาสั่งของเจ้าพนักงานที่ไม่เป็นไปตามสองมาตราดังกล่าว จะสามารถฟ้องต่อศาล ปกครองได้หรือไม่ เพราะมีกรณีคดีกลุ่มคนอยากเลือกตั้งฟ้องคดีต่อศาลปกครอง โดยเห็นว่า เจ้าหน้าที่ปฏิบัติมิชอบในการสั่งห้ามชุมนุมระหว่างวันที่ 21 – 22 พฤษภาคม 256129 ด้วยการ กาหนดเงอื่ นไขและมีคาสง่ั วา่ 1. ห้ามมิให้จัดการชุมนุมทางการเมอื งอันเปน็ การขดั คาสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เว้น แต่จะนาหนังสืออนุญาตจากหัวหน้า คสช. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมาแสดงก่อนเริ่มการชุมนุมไม่ น้อยกว่า 24 ชั่วโมง 2. ห้ามมิให้เคลื่อนย้ายผู้ชุมนุมในลักษณะที่ขัดต่อมาตรา 7 และมาตรา 8 แห่ง พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ 3. การโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียงด้วยกาลังไฟฟ้าจะต้องได้รับอนุญาตจากพนักงาน เจ้าหนา้ ท่กี ่อน ตามพระราชบัญญัติควบคุมการโฆษณาโดยใช้เครอื่ งขยายเสยี ง พ.ศ. 2493 แต่ศาลปกครองไม่รับไว้พิจารณา เนื่องจากกรณีดังกล่าวนั้นไม่ใช่คาสั่งใหแ้ ก้ไขหรอื ห้าม การชุมนุมตามมาตรา 11 แห่ง พ.ร.บ. การชมุ นมุ สาธารณะ จึงเปน็ กรณีทีต่ อ้ งอทุ ธรณ์ตอ่ หน่วยงาน ที่ออกคาสั่งก่อน (ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง) เมื่อผู้ฟ้องคดี (ผู้ชุมนุม) ไม่ได้ใช้ สิทธอิ ุทธรณ์คาสั่งภายในฝา่ ยปกครองก่อนจงึ ยงั ไมส่ ามารถฟ้องคดีตอ่ ศาลปกครองได้ จากกรณีที่ยกมาข้างต้น แสดงถึงข้อจากัดในด้านกระบวนการทางศาลที่จะสามารถใช้ สิทธิในการอุทธรณ์คาสั่งของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งห้ามหรือการไม่อนุญาตให้มีการชุมนุม จะต้องไปใช้กระบวนการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองก่อน รวมถึงการอุทธรณ์คาสั่งหวั หน้า คสช. ที่ 3/2558 ด้วย จึงจะสามารถนาคดีมาสู่ศาลปกครองได้ อันทาให้การโต้แย้งด้วยกระบวนการทาง กฎหมายมคี วามสลบั ซับซอ้ นและยุง่ ยากเพิ่มมากขน้ึ สาม กรณีขอคุ้มครองชวั่ คราว 28 พระราชบัญญตั ิการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558, มาตรา 11 วรรค 5 บญั ญัติว่า “ในระหว่างมคี าสั่งหา้ มชุมนุม การอุทธรณ์และพิจารณาวนิ ิจฉัยอุทธรณ์ ให้งดการชุมนมุ สาธารณะ” 29 ศาลปกครองกลาง, คาสงั่ ไมร่ บั คาฟ้อง หมายเลขแดงท่ี 925/2561 (21 พฤษภาคม 2561). 55

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 นบั แตก่ ารมกี ารบังคับใช้ พ.ร.บ. การชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 มีการนาคดีการชุมนุม ไปฟ้องต่อศาลปกครองและมีการขอคุ้มครองชั่วคราวในคดี We Walk เดินมิตรภาพ จากกรุงเทพ ถึงขอนแก่น ที่เป็นการรณรงค์ ในประเด็นร่วมของภาคประชาชน เช่น สุขภาพ สิทธิชุมชน และ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีจุดเริ่มต้นของการเดินที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรณีนี้มี ขอ้ สังเกตตอ่ การขอคุ้มครองชว่ั คราวในคดี We Walk ดงั นี้ ในคดี We Walk ผู้ชุมนุมยื่นฟ้องคดีต่อสานักงานตารวจแห่งชาติและเจ้าพนักงานใน สังกัด กรณีปฏิบัติการทางปกครองโดยมิชอบด้วยกฎหมายปิดกั้นการชุมนุม เมื่อวันที่ 20 – 21 มกราคม 2561 กรณีน้ี ศาลปกครองและศาลปกครองสูงสุดไดย้ ืนยันเสรีภาพในการชุมนุม ดว้ ยการ มีคาสั่งคุ้มครองชั่วคราวผู้ชุมนมุ โดยไม่ใหเ้ จ้าพนักงานดาเนินการสกัดกั้นผู้ชุมนุมจนทาให้สามารถ ดาเนินกจิ กรรมไปได้ แมม้ ีอุปสรรคจากปฏิบตั ิการของเจ้าหนา้ ที่ในการตดิ ตามและการกดดันต่อผู้ท่ี ใหท้ ่พี ักอาศยั แก่ผู้เขา้ ร่วมการชุมนุม กรณีดังกล่าวย่อมทาให้เห็นปัญหาได้ว่าแม้ศาลปกครองจะมีคาสั่งคุ้มครองชั่วคราวต่อ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยห้ามเจ้าหน้าที่รัฐดาเนินการในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการทากิจกรรม ของกลุ่มผู้ชุมนุม แต่เจ้าหน้าที่รัฐเลือกใช้ปฏิบัติการในทางอ้อม ด้วยการกดดันต่อหน่วยงานหรือ องค์กรต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนไม่ว่าจะเป็นที่พัก ความช่วยเหลือต่างๆ การมีคาสั่งให้ความ คุ้มครองชัว่ คราวจึงอาจจากัดอยู่เพียงปฏบิ ัติการโดยตรงของเจ้าหน้าท่รี ัฐต่อกลุ่มผู้ชุมนุมแต่ไม่รวม ไปถงึ ปฏิบัตกิ ารทางออ้ ม ทงั้ ที่อาจมผี ลอย่างสาคัญต่อการดาเนินกจิ กรรมของผชู้ ุมนมุ ด้วย (อยา่ งไร ก็ตาม วันที่ 28 กันยายน 2561 ศาลปกครองกลางได้พิพากษายกฟ้องโดยยืนยันว่าผู้ชุมนุมมี เสรีภาพในการชุมนุม แต่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการโดยชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 19 ตาม พ.ร.บ. การชมุ นมุ สาธารณะ พ.ศ. 2558) 4. กฎหมายล้มเหลวหรอื ระบอบการปกครองเปิดช่อง นอกจากการผลักดันให้รัฐธรรมนูญมีการรับรองสิทธิและเสรีภาพในแง่มุมต่างๆ ไว้เป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ความพยายามประการหนึ่งในการเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนในสังคมไทย ก็ยังรวมถึงการผลักดันให้เกิดการบัญญัติกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ รับรองสิทธดิ ังกล่าวในรายละเอียดบนความคาดหวงั ว่าจะสามารถทาให้เกดิ การรบั รองและคุ้มครอง สทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชนไดอ้ ย่างแท้จรงิ 56

“รัฐประหาร พนื้ ที่ พลเมอื ง” แตก่ รณีกฎหมายการชมุ นมุ สาธารณะนับเป็นตวั อย่างสาคัญอันหน่งึ ท่ีจะช่วยแสดงให้เห็น ว่าความพยายามในแนวทางดังกล่าวอาจมีผลในทางปฏิบัติจริงที่เป็นไปในทิศทางตรงกันข้ามได้ เจตนารมณ์ของการบญั ญัตกิ ฎหมายการชุมนุมสาธารณะ30 เพอื่ ปอ้ งกันไม่ใหก้ ารชมุ นุม ลกุ ลามไปสู่ เหตจุ ลาจล และความรนุ แรง ทเี่ คยเกิดข้ึนในอดีต ประกอบกบั การกาหนดหน้าที่ให้แกเ่ จ้าหน้าที่รัฐ เพ่อื อานวยการใหช้ มุ นมุ เปน็ ไปโดยสงบเรียบรอ้ ย หากพิจารณาจากประเดน็ ปญั หาท่ีเกิดขึ้นจาก พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ นบั ต้ังแต่การ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา กระทั่งถึงการเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 (ที่เกิดขึ้นภายหลังการรัฐประหาร) จะพบว่าโดยทั่วไปแล้วมีการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวเกิดข้ึน และนามาซึ่งผลกระทบอย่างกว้างขวาง เฉพาะอย่างยิ่งกับการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ของประชาชน และไม่จากัดไว้เพียงการชุมนุมสาธารณะเท่านั้น แต่หากยังรวมไปถึงกิจกรรมต่างๆ ที่แม้อาจยังมีข้อโต้เถียงได้ว่าจะเข้าข่ายเป็นการชุมนุมสาธารณะหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมยืน เฉยๆ หรอื การย่นื หนังสือแสดงความเหน็ ของประชาชนต่อโครงการท่ีดาเนนิ การโดยภาครัฐ เป็นต้น การบงั คบั ใช้กฎหมายเช่นนี้ เป็นการตคี วามเพือ่ ขยายขอบเขตของการชุมนุมอย่างกวา้ งขวางเกินไป ทาให้กฎหมายฉบับนี้กลายเป็นเครื่องมือ ในการสกัดกั้นเสรีภาพในการแสดงออกต่าง ๆ ให้ กลายเปน็ การชุมนมุ ท่ผี ดิ กฎหมาย และมโี ทษทางอาญา นอกจากนี้ การบังคับใช้กฎหมายอย่างคลุมเครือ เช่นการกาหนดพื้นที่ห้ามชุมนุม และ การชุมนุมที่กีดขวางพื้นที่สาธารณะ นามาซึ่งการห้ามชุมนุมในที่สุด ปัญหาในการบังคับใช้ กฎหมายน้ี รวมไปถึงกระบวนการในการจัดการชุมนุม ระยะเวลาในการตอบของเจ้าหน้าที่ไปจนถึง กระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล ที่มีแนวทางการตัดสินคดีในการขยายขอบเขตของกฎหมาย คล้อยตามการตีความของเจ้าหนา้ ทีร่ ฐั คาถามสาคัญที่เกิดขึ้นกับกฎหมายฉบับนี้ก็คือ สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเป็นผลมาจาก เนื้อหาของ พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ โดยตรงหรือว่าสภาพปัญหาส่วนใหญ่เกิดขึ้นเนื่องจาก ระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธปิ ไตยของสงั คมไทยในหว้ งระยะเวลาท่ีกฎหมายน้ีใชบ้ ังคับ หากพิจารณาจากข้อมูลที่ปรากฏขึ้นจากการบังคับใช้ พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ได้แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติและกระบวนการในการใช้สิทธิในการชุมนุมสาธารณะของ 30 สานักกรรมาธิการ 3 สานักงานเลขาธิการวุฒสิ ภา, เจตนารมณข์ องร่างพระราชบัญญัติการชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติแหง่ ชาต,ิ อ้างแลว้ . 57

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ประชาชนนั้นต้องเผชิญกับความยุ่งยากอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากตัวกฎหมายอย่างชัดเจน ความจาเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้จึงเป็นสิ่งที่ไม่อาจ หลีกเลี่ยง มิฉะนั้น ก็จะเป็นผลให้การรับรองสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ กลับตอ้ งมาเผชญิ กบั อุปสรรคขดั ขวางอยา่ งสาคญั จากกฎหมายพระราชบัญญตั ิ อย่างไรก็ตาม ก็เป็นที่ชัดเจนเช่นกันว่าในหลายกรณที ีไ่ ด้กลายเป็นข้อพิพาทอันสง่ ผลให้ กลุ่มคนจานวนไม่น้อยต้องตกเป็นผู้ต้องหาหรือจาเลยตามกฎหมายฉบับนี้ เป็นผลโดยตรงมาจาก การบังคับใช้กฎหมายอย่างบิดเบี้ยวของเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง การบังคับใช้กฎหมายที่มุ่งหมาย บังคบั ใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางกับผ้คู น โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลท่แี สดงความเหน็ ไปในทิศทางตรงกนั ข้ามกับ คณะรัฐประหารหรือรัฐบาลภายใต้การนาของคณะรัฐประหาร สะท้อนให้เหน็ วา่ ภายใต้ระบอบการ ปกครองในสภาวะที่ “ไม่ปกติ” มีผลอย่างสาคัญต่อการทาให้ประชาชนต้องได้รับผลกระทบอย่าง รนุ แรงจากการปฏิบัติหน้าท่ขี องเจา้ หน้าทร่ี ัฐในกระบวนการยตุ ธิ รรม ดังนั้น หากพิจารณาจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หากต้องการปรับปรุงหรือแก้ไข พ.ร.บ. ชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 เพื่อให้สอดคล้องกับหลกั การในระบอบเสรีประชาธิปไตยแล้ว ก็คงไม่อาจจากัดไว้เพียงการแก้ไขบทบัญญัติที่ปรากฏอยู่ในตัวบทกฎหมายเท่านั้น หากยังต้อง ครอบคลุมไปถึงการผลักดันให้เกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองของสังคมไทยให้ สอดคล้องกบั ระบอบเสรีประชาธปิ ไตยด้วยเชน่ กนั 58

“รฐั ประหาร พ้นื ที่ พลเมือง” References Central Administrative Court. คำส่ังไม่รบั คำฟอ้ ง หมายเลขแดงท่ี 925/2561 [Order of Dismissal no. 925/2561] (21 May 2015). (in Thai) C-Site Thai PBS. “คุก 2 ยกฟ้อง 1 กรณีชุมนุมค้าน ‘ย้าย บขส.ขอนแก่น’ ปี 58 – ทนายเตรียม อุทธรณ์สู้คดี.” [Imprisonment 2; Dismissal 1 for the Protesters Against Relocation of the Khon Kean Bus Terminal in 2015 – the Lawyer Prepared for the Appeal]. Accessed June 30, 2019. https://www.citizenthaipbs.net/node/9678. (in Thai) C-Site Thai PBS. “ตร. - ทหารเบรก “คนรักหลักประกันสุขภาพ” นับ 1,000 นัดรวมตัวค้านแก้ กฎหมายบตั รทอง กระทบสทิ ธิ ปชช..” [Police and Military Stopped ‘Healthy Coverage Protection Group’ Rally to Protest the Revision Bill on Health Security ‘Golden Card’ as It Compromised People’s Rights]. Accessed June 30, 2019. https://www.citizenthaipbs.net/node/20435. (in Thai) ENLAWTHAI Foundation. “ก่อน 2560 จะผ่านไป: ย้อนทบทวนเหตุคกุ คามการใชส้ ทิ ธิเสรีภาพด้าน ส่งิ แวดลอ้ มภายใตร้ ัฐบาล คสช..” [Before the Year of 2017 Pass by: Review the Incidents of Threaten of Environmental Rights and Freedom under the NCPO Government]. Accessed June 30, 2019. https://enlawfoundation.org/newweb/?p=3812. (in Thai) ENLAWTHAI Foundation. “ยกคารอ้ งเลกิ การชุมนมุ คัดคา้ นโรงไฟฟ้าถา่ นหนิ กระบี่ - เทพา ศาลชี้ ชุมนุมชอบดว้ ยกฎหมาย.” [Dismissal the Charge Against Public Assembly to Protest the Coal Power Plant in Krabi and Thaypha as the Court Ruled the Assembly was Legally]. Accessed June 30, 2019. https://enlawfoundation.org/newweb/?p=4064 (in Thai) iLAW. “7 เรื่องต้องรู้ก่อนฟังคาพิพากษา คดีเทใจให้เทพา.” [7 Issues Needed to Know Before Hearing the Judgement of Thay Jai Hai Thaypha Case]. Accessed June 30, 2019. https://freedom.ilaw.or.th/blog/7-เรื่องต้องรู้ก่อนฟังคาพิพากษา-คดีเทใจให้เทพา (in Thai) 59

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 iLAW. “ฐานข้อมูลคดี ชื่อคดี อานนท์: ชุมนุมราลึกนวมทอง.” [Case Database – Name of the Case – Anon: Remembrance of Numthong]. Accessed June 30, 2019. https://freedom.ilaw.or.th/case/693#progress_of_case. (in Thai) iLAW. “ปรากฏการณ์ ใช้ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ “ขู่” ประชาชนห้ามชุมนุมทุกประเภท.” [Phenomena of Using Public Assembly Act to ‘Threaten’ the People to Yield Public Assembly]. Accessed June 30, 2019. https://ilaw.or.th/node/3991. (in Thai) iLAW. “มาตรา19 (5) พ.ร.บ. ชมุ นมุ ฯ “มาตรการสยบ” การชุมนุมโดยสงบ,”[Article 19(5) of Public Assembly Act – the Measure to ‘Defeat’ Peaceful Assembly]. Accessed June 30, 2019. https://ilaw.or.th/node. (in Thai) iLAW. “สถิติการปิดกั้นและแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะยุค คสช.,” [Statistics of the Blockage and Intervention in Public Activities During the NCPO Era]. Accessed June 30, 2019. https://freedom.ilaw.or.th/blog/banonpublicactivities. (in Thai) Manager Online. “‘ปานเทพ’ ชนะอกี คดี ศาลอทุ ธรณย์ นื ยกฟ้อง ค้าน พ.ร.บ. ปิโตรเลียมไมผ่ ิด พ.ร.บ.ชุมนุมฯ.” [Padthep Won Another Case as the Appeal Court Dismissed the Case Opposing the Petroleum Act Does Not Violate the Public Assembly Act]. Accessed June 30, 2019. https://mgronline.com/politics/detail/9610000111310. (in Thai) Ministry of Labor. “ก.แรงงาน ‘หว่ ง’ ลูกจา้ งซนั โค โกเซ ฝา่ ฝนื “กฎหมายชมุ นมุ ” จดั รถสง่ กลบั ถึง บา้ น.” [Ministry of Labor Worried the Employee of Sanko Goze Co. Would Violate the Public Assembly Act, So They Prepared the Transportation for the Employee to Return Home]. Accessed June 30, 2019. http://www.mol.go.th/en/node/46642. (in Thai) Prachatai. “เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ถูก จนท.ขัดขวางกจิ กรรมวนั กรรมกรสากล.” [The Northern Labor Network Faced with Blockage the International May Day Activity by the Officers]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2018/05/76751. (in Thai) 60

“รัฐประหาร พ้นื ท่ี พลเมือง” Prachatai. “‘คนอยากเลือกตั้ง’ เข้ารับทราบหลายข้อกล่าวหาที่ สน.นางเลิ้งรอบชุมนุม 4 ปี ร ั ฐประหาร.” [People Calling the Election to Hearing the Charges at the Police Station for Rally Against the Coup d’état 4th Anniversary]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2018/06/77321. (in Thai) Prachatai. “‘ประยทุ ธ์’ ขอชาวสวนยางไมช่ มุ นมุ กดดนั รฐั บาล ‘ประวิตร’ ระบุ ถา้ มาเจอ พ.ร.บ. ชมุ นมุ .” [Prayut Asked the Rubber Farmers Do Not Put Pressure over the Government; Prawit Said ‘If They Come, They Will Be Charged for Public Assembly Act Violation’]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2016/01/63381. (in Thai) Prachatai. “เคล่อื นขบวนมงุ่ อนสุ าวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย จุดเทียนราลึก 42 ปี 14 ตุลา.” [March toward Democracy Monument to Remembering 42 Years of October the 14th Incident]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2015/10/61941. (in Thai) Prachatai. “คปพ.มอบตัว ถูกดาเนินคดี ตาม พ.ร.บ.ชุมนุมฯ หลังยื่นหนังสือค้าน พ.ร.บ.ปิโตรเลียม หน้าสภา.” [Thai Energy Reform Watch Reported for the Charge under the Public Assembly Act When Opposed the Petroleum Act]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2017/04/71148. (in Thai) Prachatai. “ทหารเข้าคุยชาวบ้าน ห้ามต้านหากปิดประตูเขื่อนปากมูลก่อนกาหนด.” [The Military Told the Villagers Not to Resist the Earlier Opening the Pak Moon Dam Gate]. Accessed June 30, 2019. https://prachatai.com/journal/2015/10/62128. (in Thai) Social Research Institute, Chulalongkorn University. “เวทีเสวนาสะท้อนปัญหาการตีความ บังคับใช้กฎหมายการชุมนุมสาธารณะกับการจากัดเสรีภาพประชาชน.” [Seminar on the Reflection of Problems on Interpretation to Enforce the Public Assembly Act and the Restriction on Freedom of the People] 21 November 2018. at Auditorium the Connection MRT Station, Ladprao, Bangkok. (in Thai) Thai Lawyers for Human Rights. “MBK39 เข้ารับทราบข้อหา ทั้ง 2 ศาลสั่งปล่อยตัวทั้งหมด.” [MBK39 Reported to Police, Then Released from Both Courts Without Bail]. Accessed June 30, 2019. https://www.tlhr2014.com/?p=6289. (in Thai) 61

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 Thai Lawyers for Human Rights. “แจ้งข้อหาผิด พ.ร.บ.ชุมนุมฯ ชาวบ้านกลุ่มต้านเหมือนโปแตช สกลนคร.” [Charging the Villagers Who Against the Potash Mining in Sakon Nakhorn for Violation of Public Assembly Act]. Accessed June 30, 2019. https://www.tlhr2014.com/?p=3831 (in Thai) Thai Lawyers for Human Rights. “การจัดการทรัพยากรเหมืองแร่กับการละเมดิ สิทธมิ นุษยชนหลัง รัฐประหาร (2): บูรณาการการใช้อานาจของทหารกับการปฏิรูป.” [Mining Resource Management and Human Rights Violation after the Coup d'état (2): Integration of the Military Use of Power and the Country Reform]. Accessed June 30, 2019. https://tlhr2014.wordpress.com/tag/กลุ่มรกั ษ์บา้ นแหง/ (in Thai) Thai Lawyers for Human Rights. “คดีคนอยากเลือกตัง้ พัทยา: 7 คน เขา้ รบั ทราบนดั อกี 5 คน นัด ส่งตัวให้อัยการวันน้ี.” [Case of People Calling the Election at Pattaya: 7 Persons Reported for Hearing the Charge, and Other 5 Met with the Public Prosecutors]. Accessed June 30, 2019. https://www.tlhr2014.com/?p=7167. (in Thai) Thai Lawyers for Human Rights. “อ่านประมวลคดี พ.ร.บ. ชุมนุมฯ 7 แม่หญิงกลุ่มคนรักษ์บ้าน เกิด ก่อนศาลอ่านคาพิพากษา.” [Read Case Database from Public Assembly Act: 7 Ladies from a Group of Home Protectors before Hearing the Judgement of the Court]. Accessed June 30, 2019. https://www.tlhr2014.com/?p=6873 (in Thai) Thairath Online. “ม็อบหลวงป่พู ุทธะอิสระ มาสถานทตู อเมรกิ า อดั อยา่ จาบจ้วงกฎหมายเบ้ืองสูง.” [Mob Led by Bhuddha Isara to the US Embassy Urged over the Criticism of Lèse Majesté]. Accessed June 30, 2019. https://www.thairath.co.th/content/542395. (in Thai) The Third Committee of the Senate. เจตนารมณ์ของร่างพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติแห่งชาติ . [The of Public Assembly Act – The National Assembly] (Bangkok: The Secretarial of the Senate Printing, 2015). (in Thai) Voice TV. “เอน็ จีโอแจงจัดกจิ กรรมเดนิ เท้า กทม. - ขอนแก่น ไมใ่ ชก่ ารล้มรฐั บาล.” [NGOs Claimed Walk to Bangkok - Khonkean Activity Does Not Ruin the Government]. Accessed June 30, 2019. https://voicetv.co.th/read/BJqM_8eBM. (in Thai) 62

“รัฐประหาร พืน้ ที่ พลเมอื ง” Voice TV. “รพ.บวั ใหญ่ ขึน้ ปา้ ยค้านระเบียบคลัง-ลูกจ้าง ม.ราชภัฏโคราช นดั ค้าน 1 มิ.ย.” [Bua Yai Hospital Opposed the Finance Ministerial Regulation; Kho Raj Ratchapat University Posted the Rally on the 1st of June]. Accessed June 30, 2019. https://voicetv.co.th/read/BkaMu02JQ. (in Thai) 63

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 รัฐองค์รวม (Integral State) กับการศกึ ษาเชิงวพิ ากษ์ของการจัดการทรัพยากร ป่าไม้และทีด่ นิ หลังพฤษภาคม 25571 Integral State: Critical Study on Land and Forest Management in the Post-May 2014 โอฬาร อ่องฬะA และ วัชรพล พทุ ธรักษาB Aนกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก (รัฐศาสตร์) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 99 หม่ทู ี่ 9 ตาบลทา่ โพธ์ิ อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพษิ ณโุ ลก 65000 Bคณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 99 หมู่ที่ 9 ตาบลท่าโพธิ์ อาเภอเมืองพษิ ณุโลก จังหวดั พษิ ณุโลก 65000 Olarn OnglaA and Watcharabon BuddharaksaB A PhD Candidate (Political Science) Faculty of Social Sciences, Naresuan University, 99 Moo 9, Tambon Tha Pho, Muang Phitsanulok, Thailand 65000 BFaculty of Social Sciences, Naresuan University, 99 Moo 9, Tambon Tha Pho, Muang Phitsanulok, Thailand 65000 Corresponding author E-mail : [email protected] Received: May 28, 2019; Revised: September 23, 2019; Accepted: September 29, 2019 บทคดั ย่อ นโยบายการจัดการทรัพยากรปา่ ไม้และท่ีดนิ ในสังคมไทยท่ีผ่านมาประกอบสร้างขึ้นอย่าง มีหลักคิดรวมถึงมีเหตุผลที่เชื่อมโยงกับการกากับจากชนชั้นผู้ปกครองมาอย่างยาวนาน การที่ ผู้ปกครองจะทาการควบคุมบังคับโดยอาศัยการใช้กาลังและกฎหมายเพียงอย่างเดียวอาจไม่ เพียงพอต่อการดารงรักษาอานาจให้ยาวนาน ดังนั้นผู้ปกครองจาเป็นต้องผลิตสร้างความรับร้ขู อง ผู้คนในสังคมให้เกิดความยินยอมพร้อมใจผ่านกลไกสถาบันทางสังคมต่าง ๆ ภายหลังการทา 1 บทความชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งในงานวิทยานิพนธ์ เรื่องรัฐไทยกับการเมืองของการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดิน กรณแี ม่แจ่มโมเดล : ความคดิ การเคลอ่ื นไหว และนโยบาย 64

“รัฐประหาร พ้นื ที่ พลเมือง” รัฐประหารใน พ.ศ. 2557 ไดเ้ กิดความเปล่ียนแปลงเชิงอานาจของจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดิน อย่างน้อย 2 ประการ คือ 1) การรวมศูนย์อานาจใหม่ผ่านการปรับกลไกในการควบคุมทรัพยากร ไปสอู่ านาจของกองอานวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) และ 2) การสร้าง ภาพของความเป็น “ผู้ปกป้องทรัพยากร” เพื่อสร้างชอบธรรมโดยการแสดงตัวเองให้เป็นผู้ที่เป็น ส่วนสาคัญในการปกป้องและดูแลทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้ลูกหลานและเพื่ออนาคตของคนใน ประเทศ คำสำคัญ: รัฐองคร์ วม, ทรัพยากรป่าไมแ้ ละที่ดิน, นโยบาย, การเคลอื่ นไหวตอ่ สู้ Abstract The land and natural resource management policies that have been implemented in Thailand have only served to strengthen the authority and control of the ruling classes.In order for these policies to allow for a more just rule of law, they would need to be acceptable to other social institutions. Following the 2014 military coup led by the National Council for Peace and Order, the forest and land policies have reflected a shift in power regarding at least two issues: (1) adjustment of control mechanisms and a new military-centric authority under the control of the Thailand National Security Council; and (2) a projection that State is the key protector and efficient provider of justice for their children’s natural resources. Key words: Integral State, Land and forest resource, Policy, Movement บทนำ “ธรรมชาติ และมนษุ ยเ์ ป็นรูปแบบทส่ี มั พันธเ์ ชือ่ มโยงกันทง้ั สนิ้ ดงั นน้ั การศกึ ษาธรรมชาตแิ ละมนุษย์จึงมิอาจจะแยกขาดออกจากกนั ได้” (Gramsci, A.,1971, Page 445-446) Antonio Gramsci (Q11,17; SPN) จากนัยการสะท้อนมุมมองของกรัมซี่ดังกล่าวนั้น ทาให้เราเข้าใจและตระหนักว่าแท้จริง แล้ว งานศึกษาในด้านทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นป่าไม้และที่ดิน มิได้ตั้งอยู่ 65

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 บนพื้นฐานงานศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร์แบบบริสุทธิ์ (Pure Science Nature) ในเชิงกายภาพที่ เน้นให้เห็นคุณค่าทางระบบนิเวศวิทยาเพียงเท่านั้น หากทว่าการศึกษาในประเด็นดังกล่าวต้อง ตระหนักถึงความโยงใยในมิติทางการเมืองสังคม เศรษฐกิจ รวมถึงวัฒนธรรมผ่านการทาความ เข้าใจโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงอานาจหรือที่เรียกว่า “การเมืองของการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาต”ิ รวมไปถึงการทาความเข้าใจขบวนการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนผ่านการ ต่อสู้ช่วงชิงพื้นที่ความคิดและความรู้ในปริมณฑลต่าง ๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับนโยบาย ท่ี สะท้อนจากการลุกขึ้นมาเรียกร้องการแก้ไขปัญหาในการเข้าถึงสิทธิในการดูแลรักษาและใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีผลมาจากการกาหนดทิศทางนโยบายการพัฒนาของรัฐ ที่ เปิดช่องให้มีการใช้ทรัพยากรไปสู่กระตุ้นการเติบโตในภาคเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน กลบั เบียดขบั ผ้คู นและชมุ ชนต่าง ๆ ออกจากกระบวนการพัฒนาของรัฐ การใช้แนวคิดรัฐองค์รวม (Integral State) เป็นเสมือนเครื่องมือที่สาคัญที่จะช่วยให้เรา ทาความเขา้ ใจรวมถึงค้นหาและการแกะกะเทาะชุดความคิด การปฏบิ ัตกิ ารในการกาหนดนโยบาย การจดั การทรพั ยากรป่าไมแ้ ละท่ดี ินของรัฐไทย เนอื่ งจากแนวทางของรัฐทผ่ี ่านมาสะท้อนให้เห็นถึง การดารงรักษาพลังและความสามารถในการประกอบสร้างบรรทัดฐานที่นาไปสู่การผลิตชุดความ เชื่อที่ดึงเอาพลังจากกลุ่มชนชั้นต่าง ๆที่เข้ามาเป็นฟันเฟืองสาคัญเพื่อให้การใช้อานาจของรัฐมี ความชอบธรรมที่จะเป็นกลไกหลักในการเข้ามาบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับการ จดั การปา่ ไม้และที่ดนิ ความสาคัญอกี จะทาใหเ้ ราได้เปดิ มุมมองใหม่ ๆ ในการทาความเข้าใจพลวัต ความสัมพนั ธ์เชงิ อานาจระหว่างรัฐกับชมุ ชนในบรบิ ทความสัมพนั ธ์ชุดใหม่ที่รัฐไม่ได้ดารงอยู่ด้วยตัว รฐั เองเท่านั้นและชุมชนกไ็ ม่ได้อยู่ในเง่ือนไขการตอ่ สู้โดยลาพงั กบั รัฐหรือดารงอยู่ในระบบกฎกติกา จารีตในการจัดการทรัพยากรแบบเดิมที่ผ่านมา ในบทความชิ้นนี้จะนาเสนอให้เห็นประเด็นที่ สาคัญ 2 ประเด็น ได้แก่ 1.การแนะนาแนวคิดรัฐองค์รวม (Integral State) ว่าแนวคิดนี้มี ความสาคัญท่ีจะนาไปสู่การเปิดมุมมองใหม่ๆ ในการวิเคราะห์ วิพากษ์ปรากฏการณข์ องสังคมไทย ได้อย่างไร และ2.การนาเอาแนวคิดรัฐองค์รวมมาประยุกตใ์ ช้ในการวพิ ากษก์ ารจัดการทรัพยากรป่า ไม้และทีด่ ิน ในสงั คมไทย 1. แนวคดิ รัฐองคร์ วม (Integral State) คอื อะไร? แนวคิดรัฐองค์รวม Integral State (หรือเข้าใจในอีกชื่อหนึ่งคือ Extended state (Liguori, G., 2015, pages 1)) เปน็ แนวคิดทีส่ าคญั ของอนั เตนโิ อ กรมั ซี่ (Antonio Gramsci) ที่จะ 66

“รฐั ประหาร พ้นื ท่ี พลเมอื ง” นาไปสู่การทาความเข้าใจรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทาความเข้าใจรฐั ในฐานะของการถกู ผลิตสร้าง จากกลไกและเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ผ่านวธิ กี ารหลากหลายไมว่ ่าจะเปน็ การบังคับ (Coercions) ผา่ นการ ใช้อานาจกฎหมายรวมถึงการสร้างความเห็นพ้อง (Consent) ของผู้คนต่าง ๆ ในสังคมที่นาไปสู่ส่ิง ที่เปน็ การรบั รรู้ ว่ มของโลกทัศน์ (Conception of the World) เพ่อื ทาหนา้ ท่ีในการครองอานาจนา (Hegemony) ทางความคดิ อย่างส้ินเชิง โดยเฉพาะอย่างย่งิ แนวทางนโยบายของรัฐในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้เข้มข้นมากยิ่งขึ้น ภายหลังจากการทารัฐประหารในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ภายใต้การบริหารงานของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้เพิ่มบทบาทให้เจ้าหน้าที่รัฐให้มี อานาจมากยิ่งขึ้นในการควบคุมป้องกันการบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดังจะเห็นได้ จากการออกคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 64/2557 ในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557 เรื่องการปราบปรามและการหยุดยั้งการบกุ รุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ โดยในเนื้อหาคาสั่งดังกล่าว ได้มุ่งเน้นในการปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ต่าง ๆ และให้ อานาจกบั เจ้าหน้าที่รัฐ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในฝ่ายทหาร กองทพั และกรมอทุ ยานแห่งชาติและสัตว์ ป่า กับกรมป่าไม้ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้ามาดาเนินการปราบปราม และจับกมุ ผู้บุกรุก เชน่ ในกรณที ี่เจ้าหน้าที่อทุ ยานแห่งชาติหว้ ยน้าดังเข้าไปดาเนนิ การตัดฟันข้าวไร่ และข้าวโพดของชาวบ้านบา้ นหว้ ยหก (ลีซู) อาเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ การปฏิบัตกิ ารผ่าน การใช้คาสั่งดังกล่าว ทาให้เห็นพลังการสนับสนุนจากคนชั้นกลางในเมืองรวมถึงกลุ่มอนุรักษ์ สิง่ แวดลอ้ มที่มองวา่ ควรมมี าตรการที่ทรงพลงั อย่างแท้จรงิ ในการเข้าไปป้องกันการบุกรกุ ทาลายป่า และเรง่ รดั ในการยึดคนื ทด่ี นิ ต่าง ๆ จากนายทนุ และผูม้ อี ทิ ธิพล หากทวา่ ผลท่เี กดิ ขึ้นกลบั พบว่าผู้ที่ ได้รับผลกระทบกลับกลายเป็นชาวบ้าน คนยากจนที่มีวิถีชีวิตการทามาหากินที่ต้องพึ่งพิงฐาน ทรัพยากรในพน้ื ท่ีป่าเป็นส่วนมาก ดังนั้นในการศึกษาสิ่งที่เรยี กว่ารัฐองค์รวม (Integral State) จึงต้องย้อนกลับไปทาความ เข้าใจความคิดของกรัมซี่ ซึ่งกรัมซี่มองว่าการจะทาความเข้าใจการทางานของรัฐองคร์ วม ต้องเริ่ม จากการทาความเข้าใจว่ารัฐองค์รวม นั้นได้ประกอบสร้างขึ้นมาอย่างไร มันทางานอย่างไรและ ปฏิบัติการผ่านกลไกทางสังคมในรูปแบบไหน กรัมซี่มองว่าอานาจสูงสุดของกลุ่มพลังทางสังคม ของกลุ่มชนชั้นนาสามารถดาเนินการผ่านปฏิบัติการกว้าง ๆ อยู่สองแนวทางคือ 1.การครอบงา หรือการควบคุม (Domination) โดยการใช้กาลังเข้าไปบีบบังคับเพื่อให้กลุ่มที่เป็นผู้ต่อต้าน (Antagonistic) หรือไม่เห็นด้วยกับกลุ่มของตนเองถูกลดทอนยอ่ ยสลายพลังในการตอ่ รองและการ 67

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ต่อสู้ และ 2.การเป็นผู้นาทางปัญญาหรือผู้นาทางหลักศีลธรรม จริยธรรม (Intellectual and Moral Leadership) จะทาให้เกดิ การยอมรับอานาจในการปกครองซึ่งตามมาหลังจากที่ได้มีการใช้ อานาจในการครอบงาและควบคุมไปแล้ว และจะสามารถเป็นไปได้ก็ต่อเม่ือมีการยึดกุมไว้อย่าง เหนยี วแนน่ 2 ดังนั้นเพื่อที่จะทาความเข้าใจรัฐองค์รวมให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น จาเป็นต้องทา ความเข้าใจโครงสร้างสังคมส่วนล่าง (Base Structure) และโครงสร้างสังคมส่วนบน (Super Structure) ไปด้วยกัน กรัมชีได้เน้นให้ความส าคัญกับบทบาทของโครงสร้างส่วนบน (Superstructure) โดยชี้ให้เหน็ ถงึ ความสาคญั ระหว่างสังคมสองแบบทอ่ี ยู่ภายในโครงสร้างส่วนบน โดยประกอบไปด้วยสังคมแรก คือรฐั / สงั คมการเมือง (Political Society) อนั ได้แก่รฐั และองค์กร การใช้อานาจต่าง ๆ ของรัฐ และสอง คือประชาสังคม (Civil Society) โดยได้แก่ส่วนที่เป็นเอกชน หรือส่วนอื่น ๆ ที่เป็นองค์กรนอกอานาจรัฐ3 ในงานของ Guido ชี้ให้เห็นว่าแนวทางการทาความ เขา้ ใจรฐั องค์รวม (Extended State) ของกรมั ซจี่ าเป็นต้องเข้าใจ 2 แนวทางที่สาคัญ คอื 1.การทา ความเข้าใจความสัมพันธ์ชุดใหม่ระหว่างการเมืองและเศรษฐกิจ และ 2.การทาความเข้าใจ ความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างสังคมการเมือง (Political Society) และประชาสังคม (Civil Society)4 เช่นนี้เองรัฐองค์รวม (Integral State) จึงเป็นส่วนที่สาคัญที่เกิดจากการประกอบสร้างเชื่อมต่อ อย่างเหนยี วแนน่ ระหว่างรฐั (State) กับประชาสงั คม (Civil Society) 1.1) สังคมการเมือง (Political Society) ภายใต้สังคมการเมือง กรัมชีมองว่าเป็น กระบวนการดาเนินการสร้างและสืบทอดอานาจครอบงา (Domination) โดยชนชั้นปกครองผู้ยึด กุมอานาจรัฐผ่านการใช้อานาจในการบังคับใช้กฎหมาย (Legislation) และมีอานาจบังคับรองรับ (Coercion) อยู่ด้วยกัน การบังคับใช้อานาจดังกล่าว จึงเป็นการใช้ผ่านกลไกเชิงสถาบันทาง การเมือง รวมถึงการใช้ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ ของรัฐ เช่นกฎหมาย ทหาร ตารวจ อานาจตุลาการ รวมไปถึงศาลเพื่อให้เกิดการควบคุมผู้คนในสังคมไม่ให้ออกจากกรอบที่รัฐกาหนดไว้ ดังนั้นเอง ความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมการเมืองจะเป็นลักษณะของการใช้อานาจบังคับ แนวคิดเรื่องการ 2 Gramsci, A., Selections from the prison notebook of Antonio Gramsci. ed. and trans. Hoare, Q and Nowell Smith, (G.New York: Lawrence & Wishart, London, and International Publishers., 1971), 57-58 3 วชั รพล พุทธรักษา, บทสารวจความคดิ ทางการเมืองของอันโตนโิ อ กรัมชี, (กรุงเทพฯ: สมมติ, 2557), 128-129 4 Liguori, Guido, Gramsci Pathway translate by David Broder, 2015, 1-5 68

“รัฐประหาร พน้ื ที่ พลเมอื ง” ใช้กาลังบังคับจะเน้นไปในด้านการปราบปราม เช่นหากมีการเดินขบวนชุมนุมประท้วง ชนชั้น ปกครองอาจจะใช้กาลงั ตารวจ ทหารบุกจับแกนนาหรอื เขา้ มาควบคุมการชมุ นุม อย่างไรก็ตาม กรัมซี่ย้าว่าในการใช้กาลังบังคบั เช่นนี้อาจเป็นผลแบบเพียงแคช่ ั่วคราวไม่ ถาวรเนื่องจากว่าที่มีการใช้กาลังปราบปรามเท่าไรก็ยิ่งมีขบวนการต่อต้านมากยิ่งขึ้นด้วย เหตุนี้ กรมั ซี่จงึ สรปุ วา่ เส้นทางทนี่ กั ปกครองรวมถงึ ชนช้นั ปกครองมักจะใช้ควบคไู่ ปกับกระบวนการบังคับ คอื กระบวนการสรา้ งความยินยอมพร้อมใจโดยผ่านกลไกของรฐั ด้านอุดมการณอ์ ันถือเป็นกลยุทธ์ที่ แทรกซมึ อยใู่ นชีวติ ประจาวนั ของชนชัน้ ผูถ้ กู ปกครองทั้งหลาย 1.2) ประชาสังคม (Civil Society) เป็นลักษณะของอานาจที่อ่อนตัวโดยเป็นการสร้าง ความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ปราศจากการใช้อานาจบังคับและการใช้อานาจบังคับในเชิง กายภาพแตเ่ ป็นการใช้อานาจลกั ษณะของการชักจูงโน้มนาหรือกล่อมเกลาความรู้ รวมถึงความคิด ของผู้คนเป็นหลักเพือ่ ให้เกิดความยินยอมพร้อมใจของผู้คนในสังคม และทาให้เกิดโลกทัศนท์ ี่เปน็ ชุดเดยี วกัน (Conception of the World) ผา่ นกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization) ที่จะทาหน้าที่ในการสร้างและส่งต่อสืบทอดในการแพร่กระจายชุดความคิด ความเชื่ออุดมการณ์ หนึ่งๆ ขึ้นมาตามที่กลุ่ม/ชนชั้นผู้พยายามสร้างภาวะการครองอานาจนาต้องการผ่านสถาบัน ครอบครัว สถาบันทางศาสนา สถาบันการศึกษา และสื่อมวลชน ที่จะสามารถลงลึกไปในระดับ ครอบครวั จะเห็นไดว้ ่าสถาบนั ในพน้ื ท่ปี ระชาสังคมดงั กล่าวน้ันเปน็ แหล่งรวมของความสัมพันธ์ของ ผู้คนต่าง ๆ ไว้ สาหรับกรัมซี่การช่วงชิงอานาจใดอานาจหนึ่งหรือการช่วงชิงอานาจของชนชั้นใดชน ชน้ั หน่ึงไมจ่ าเป็นตอ้ งได้มาดว้ ยกลไกการใชก้ าลงั บังคับ (Coercion) ไม่วา่ จะเปน็ ปลายกระบอกปืน ความรุนแรง การบังคบั เสมอไป แต่ภาคปฏบิ ัตกิ ารของอานาจยังเกิดข้ึนไดด้ ้วยการสร้างความชอบ ธรรมทางความคิดผ่านมโนทัศน์ จิตสานึก หรือที่เรียกว่ากลไกการสร้างความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ในวิธีคิดของสังคมไทยได้กล่าวเรื่องของอานาจไว้ว่าการใช้อานาจต้องเป็นทั้งไม้แข็ง และไม้อ่อน5การจะรักษาสืบทอดอานาจนาของกลุ่มตนเองให้ยาวนานนั้นจะต้องใช้วิธีการสร้าง ความยินยอมพร้อมใจให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนโดยที่ประชาชนไม่รู้สึกว่าเป็นการบังคับ หรือเป็น การยินยอมพร้อมใจโดยธรรมชาติ (Spontaneously Consensus) มากกว่าการเข้าไปใช้กาลังใน 5 กาญจนา แก้วเทพ, สายธารนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับการส่อื สารศกึ ษา, (กรงุ เทพฯ: ภาพพิมพ์, 2551) 69

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 การบังคับ การใช้ความรุนแรงในการปฏิบัติการ กล่าวให้เห็นชัดเจนคือประชาสังคม (Civil Society) จะเป็นการใช้อานาจนาโดยไม่ใช้กาลังหรือความรุนแรง แต่จะเป็นการครองอานาจนา ในเชิงพื้นที่ (Realm) หรือความคิดในการผลิตทางเศรษฐกิจและการดารงชีวิตผ่านทางเครื่องมือ หรือกลไกชนิดต่าง ๆ ในแง่นี้โลกทัศน์ของผู้คนในประชาสังคมจะถูกครองอานาจนาทางความคิด ความเชื่อ ทัศนคติโดยกลุ่มผู้ปกครอง และโลกทัศน์ที่ถูกครอบงาจะกลายไปเป็น \"วัฒนธรรมร่วม ของผ้คู น\" (Popular Culture) และแทรกซึมไปท่วั ประชาสังคม6 จากมุมมองประชาสังคมของกรัมซี่ทาให้เห็นว่ากรัมซี่เองก็ได้รับชุดอิทธิพลทางความคิด มาจากมาร์กซ์และเฮเกล โดยสาหรับเฮเกลนั้นประชาสังคมเป็นลักษณะของความสัมพันธ์และ ความร่วมมือของเอกชนในทางเศรษฐกิจในรูปลักษณะต่าง ๆ เช่นในเชิงธุรกิจการค้า (Commercial) ในเชิงการรวมตวั เป็นสมาคมต่าง ๆ เช่น สมาคมการคา้ เฮเกลมองวา่ ประชาสังคม เปน็ พน้ื ท่ีข้ันกลางระหวา่ งสถาบันครอบครัวและรฐั รวมไปถึงพ้ืนท่คี วามสัมพันธท์ างเศรษฐกิจควบคู่ ไปกับการกากับควบคุมเพื่อรองรับรัฐแบบเสรีนิยม (Liberal State) ประชาสังคมจึงเสมือนเป็น สังคมของนายทุน (Bourgeois Society)7และเป็นรัฐของนายทุน เช่นเดียวกับมาร์กซ์ท่ีมองว่า ประชาสงั คมเปน็ สถาบันหนง่ึ ในฐานะของความสัมพันธ์ทางสงั คมทที่ าหน้าที่สืบทอดอดุ มการณ์ของ นายทุนและประชาสังคมผนวกรวมปฏิสัมพันธ์เชิงวตั ถุของปัจเจกบุคคลเข้ากับพฒั นาการของการ ผลิตรวมถงึ พ้ืนท่กี ารค้าและอุตสาหกรรมเขา้ ไปดว้ ยกัน8 กรัมซี่ได้ทาการพัฒนาแนวคิดในเร่ืองประชาสังคมของเฮเกลและมาร์กซ์ให้โดดเด่นมาก ยิ่งขึ้น9โดยเสนอว่าประชาสังคมเป็นมิติของโครงสร้างส่วนบน ไม่ใช่พื้นที่ของความสัมพันธ์ในการ ผลิตตามแบบทีเ่ ฮเกลและมารก์ ซว์ เิ คราะหไ์ ว้ ประชาสังคม ในมุมมองของกรัมซี่ คอื พืน้ ทซี่ ง่ึ ชนช้ัน ต่าง ๆ ในสังคมที่มีการแก่งแย่งช่วงชิงการนา (Leadership) และความเห็นพ้อง (Consent) หรือ 6วชั รพล พุทธรักษา,. รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา. วิทยานพิ นธ์รัฐศาสตร มหาบณั ฑิต ภาควชิ าการปกครอง คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .2549 7 Bobbio, N., Gramsci and Conception of civil society, 1981, 28-29; Formia J., Gramsci’s political Thought; Hegemony, Consciousness and the revolutionary process.Oxford : Clarendon Press, 22. 8 Marx, K and Engels, F., The German Ideology, 2nd ed., Authur, C.J (ed). (London Lawrence &Wishart, 1974), 57 9 วชั รพล พุทธรักษา, บทสารวจความคิดทางการเมืองของอนั โตนิโอ กรัมชี, สมมุต,ิ 121. 70

“รฐั ประหาร พื้นที่ พลเมอื ง” การครองอานาจ (Hegemony)10เหนือกลุ่มคนในชนชั้นอื่น กรัมซี่มองว่าประชาสังคมพัฒนามาสู่ การเปน็ โครงสร้างของความสัมพนั ธ์ที่ซบั ซอ้ นและเป็นการสะท้อนผลกระทบจากความเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจอยา่ งรุนแรง ดงั น้นั ประชาสังคมของโครงสร้างสมบูรณ์ในแบบของกรัมซ่ีจึงเปรียบได้ กับสนามเพลาะ (Trench of Fortress) ของการทาสงคราม11 1.3) โครงสร้างสังคมส่วนล่าง (Base Structure) กรอบความคิดของกรัมชี่ในการมองรัฐ องค์รวมไม่ได้วิเคราะห์มองผ่านเฉพาะเพียงโครงสร้างสงั คมส่วนบน (Superstructure) ผ่านสังคม การเมือง กับประชาสังคมเท่านั้น หากแต่โครงสร้างสังคมส่วนล่าง (Base Structure) ก็เป็นส่วน สาคัญท่ที าหนา้ ทีค่ ้าจุนระบบรัฐองคร์ วมไวด้ ว้ ยเชน่ กนั กรมั ซี่พดู ถงึ แนวคดิ กาหนดนิยมแบบกลไก (Economism)12แนวคิดดังกล่าว นี้ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยเลนินที่มองว่าแนวคิดดังกล่าวนั้นเป็น การลดทอนปัจจัยด้านจิตสานึก (Conscious) ของมนุษย์ออกไปจากชีวิตทางสังคมของมนุษย์13 ดงั นั้นแนวคดิ กาหนดนิยมแบบกลไก (Economism) จะมบี ทบาทของตัวแสดงสองสว่ นท่ีสาคญั คือ 1) ชนชั้นกระฎุมพีหรือชนชั้นกลาง (Bourgeois) อันหมายถึงระบบการค้าเสรี เสรีนิยม และ 2) ชนชั้นกรรมาชีพ (Proletarian) โดยหลักกิจกรรมในทางเศรษฐกิจนั้นสังคมการเมืองและประชา สังคมจะไม่เข้าไปแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หรือกลไกทางการตลาด แต่ในความเป็นจริง พบว่าสังคมการเมืองและประชาสังคมเสมือนเป็นสิ่งเดียวกันมาตลอดผ่านอานาจในการควบคุม หรือแทรกแซงระบบการค้าเสรี คือการนาไปสู่การใช้กลไกอานาจรัฐผ่านการใช้กฎหมายเพื่อให้ ระบบเศรษฐกิจ การค้าเสรีสามารถควบคุมและแทรกแซงได้โดยใช้อานาจทางการเมืองเข้ามา จัดการ14 จะเห็นว่าภายใต้แนวคิดรัฐองค์รวม (Integral State) จึงไม่สามารถแยกส่วนคิดระหว่าง รัฐและประชาสังคม และการเมืองกับเศรษฐกจิ ออกจากกันได้ เพราะสิ่งเหล่านีถ้ ือว่าเป็นพื้นฐานท่ี สาคัญในการทาความเข้าใจบทบาทการเมืองใหม่ ๆ ที่เป็นความสัมพันธ์ของผลผลิตทางเศรษฐกจิ หรือผลตอ่ เนือ่ งท่ีสมั พันธ์กับองค์ประกอบทางชนช้นั ในสังคม 10 Thomas, P.D., The Gramscian Moment Philosophy, Hegemony and Marxism. (Leiden: Brill, 2009), 137. 11 Gramsci, A., Selections from the prison notebook of Antonio Gramsci. ed. and trans. Hoare, Q and Nowell Smith, 235-236. 12 Liguori, Guido, Gramsci Pathway translate by David Broder, 2015, 3. 13 วชั รพล พทุ ธรักษา, บทสารวจความคิดทางการเมืองของอนั โตนิโอ กรัมชี, สมมุติ,113 14 Liguori, Guido, Gramsci Pathway translate by David Broder, (2015), 3. 71

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 2. การประยุกต์แนวคิดรัฐองค์รวม (Integral State) กับการศึกษาเชิงวิพากษ์ของการ จดั การปา่ ไม้และท่ีดนิ พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรใ์ นการจัดการทรัพยากรปา่ ไมแ้ ละที่ดนิ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พื้นที่ภาคเหนือได้ปรากฏให้เห็นถึงการแย่งยึดช่วงชิง นับตั้งแต่การแผ่ขยายตัวของลัทธิล่า อาณานิคมที่ได้เข้ามาตักตวงและดูดซับฐานทรัพยากรต่าง ๆ ออกไปไม่ว่าจะเป็นไม้สัก แร่ธาตุ15 รวมไปถงึ ความหลากหลายทางชวี ภาพตา่ งๆ ที่จะนาไปสกู่ ารพัฒนาใหเ้ กดิ ความทันสมัย รวมถึงการ ขยายตัวทางระบบกลไกตลาด การส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อตอบสนองและรองรับการ เจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจผ่านการกาหนดนโยบายตา่ ง ๆ ของรฐั บาล ในทางกลับกัน รัฐเองกลับใช้ มาตรการทางอานาจผา่ นนโยบายและกฎหมายต่าง ๆ เข้ามาทาการควบคุมจากัดและลดทอนสทิ ธิ ของชาวบ้านท่ีต้องพ่ึงพาฐานทรัพยากรในการดารงชีพ การพัฒนาเศรษฐกิจ วิถีการผลิตจนนาไปสู่ ความขัดแย้งและการลุกขึ้นต่อสู้เรียกร้องสิทธิคนอยู่กับปา่ และสิทธิในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ วิธีคิดของรัฐไทยนั้นมีจุดอ่อนรวมถึงข้อจากัดทีส่ าคัญ อยู่ 2 ประการ ได้แก่ 1) การมอง แบบแยกส่วนที่ได้เบียดขับ ลดทอนอานาจของประชาชนและชาวบ้านที่ต้องอาศัยพึ่งพาผลผลิต จากทรพั ยากรป่าไม้และทดี่ ินในรปู แบบต่าง ๆ ขณะเดียวกนั ในวิธีมองดงั กล่าวนั้นเอง รัฐยังมองว่า ชุมชนเป็นต้นเหตุปัญหาในการจัดการทรัพยากร เนื่องจากขาดความรู้ขาดจิตสานึกและขาด การศึกษา รัฐจึงต้องมีการกาหนดมาตรการและนโยบายต่าง ๆ ออกมาทาหน้าที่ในการควบคุม จัดการทรัพยากร และผลิตสร้างเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อจัดการกับต้นเหตุของปัญหาผ่านการออก กฎหมายให้เป็นเครื่องมือในการบังคับและการใช้อานาจในการจับกุม ภาพดังกล่าวชัดเจนและ ปรากฏให้เห็นในการกฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ทีท่ าใหร้ ฐั เป็นผู้มหี น้าท่ีในการกาหนดกติกา ระเบียบ และให้ประชาชนกลายเป็นเพียงผู้ที่ต้องทาตามหน้าที่ที่รัฐได้กาหนดไว้ และ 2) วิธีคิด เชิงเดี่ยว ได้ให้ความสาคัญกับความคิดแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด (Exclusiveness) และการกีดกัน (Exclusion) จะเห็นได้จากการออกนโยบายของรัฐโดยมุ่งเน้นให้กลไกของรัฐเป็นกลไกเด่ียวในการ เข้ามาจัดการทรัพยากรและทาให้ชาวบ้านกลายเป็นผู้ถูกควบคุมและอาจกล่าวได้ว่ากฎหมายไทย ในปจั จบุ นั ถือหลักการในการจัดการทรัพยากรในรปู แบบการจัดการเชิงเด่ียว ดว้ ยการให้ความชอบ 15 Tim Forsyth and Andrew Walker, Forest Guardians, Forest Destroyers The politic of Environmental Knowledge in Northern Thailand, (University of Washington Press, 2008), 8. 72

“รฐั ประหาร พ้ืนที่ พลเมือง” ธรรมกับสิทธิในความเป็นเจ้าของ (Ownership Right) โดยเชื่อมโยงสิทธิในทรัพยากรชนิดหนึ่งให้ ผูกติดกับหน่วยใดหน่วยหนึง่ ในการจัดการทรัพยากรในพืน้ ท่ีแห่งหนึ่ง ขณะที่ปิดกั้นการมีส่วนร่วม ของหน่วยทางสังคมอื่น ๆ ดังจะปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในกรณีความคิดเกี่ยวกับสิทธิใน ทรัพยส์ นิ เอกชน (Private Property) และทรัพยส์ ินของรฐั (State Property) ซ่ึงอนุญาตใหเ้ อกชน และรัฐสามารถยึดครองไว้ได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดดว้ ยการผกู ขาดสิทธิและรวมศนู ยอ์ านาจในการ จัดการทรัพยากร16 แนวทางนโยบายของรัฐในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมได้เขม้ ข้นมาก ยิ่งขึ้นภายหลังจากการทารัฐประหารในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ภายใต้การบริหารงานของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรอื คสช. ในส่วนทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้เพิ่มบทบาทให้เจ้าหน้าที่รัฐให้มีอานาจมากยิ่งขึ้นในการควบคุมป้องกันการบุกรุก ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมดงั จะเหน็ ได้จากการออกคาส่ังคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ที่ 64/2557 ในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557 เรื่องการปราบปรามและการหยุดยั้งการบุกรุกทาลาย ทรัพยากรป่าไม้ โดยในเนื้อหาคาสั่งดังกล่าวได้มุ่งเน้นในการปราบปรามและหยุดยั้งการบุกรุก ทาลายทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ต่าง ๆ และให้อานาจกับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฝ่าย ทหาร กองทพั และกรมอทุ ยานแหง่ ชาติและสัตว์ป่า กบั กรมปา่ ไมข้ องกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เข้ามาดาเนินการปราบปรามและจับกุมผู้บุกรุก ยึดถือครอบครอง ทาลาย หรือ กระทาด้วยประการใด ๆ อนั เป็นการทาให้เสอื่ มเสยี แก่สภาพป่า รวมถงึ การตดิ ตามผลคดีป่าไม้และ ดาเนินการฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทาลายให้คืนสภาพป่าที่สมบูรณ์ รวมถึงการประกาศใช้แผน แม่บทแก้ไขปัญหาการทาลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐและบริหารทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อชุมชนในเขตป่าเป็นอย่างมาก อีกทั้งคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) ยังได้ใหอ้ านาจกับกองอานวยการรกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ. รมน.) กับกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในการวางยุทธศาสตรเ์ พอื่ พทิ ักษ์ทรัพยากร 16 เสนห่ ์ จามริก อานนั ท์ กาญจนาพนั ธ์ สมศักด์ิ สขุ วงศ์ บณั ฑูร เศรษฐศิโรตม์ จักรกฤษณ์ ควรพจน์, ฐานทรพั ยากร ....ทนุ ชีวติ ของสงั คมไทย. (สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และสถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2546), 48- 50. 73

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ป่าไมข้ องชาต1ิ 7 จากประเดน็ ดังกล่าวเองไดส้ ะท้อนภาพการเปล่ียนแปลงเชิงอานาจของการจัดการ ทรัพยากรป่าไมแ้ ละทีด่ นิ อย่างนอ้ ย 2 ประการทีส่ าคัญ คือ 2.1) การปรับกลไกในการควบคมุ จดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงจากเดิม กลไกหลกั ที่เปน็ กรมป่าไม้กับกรมอทุ ยานแหง่ ชาติและสัตวป์ ่า ในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เป็นกลไกในเชิงโครงสร้างอานาจหน้าที่โดยตรง (Functional) ที่มีกฎหมาย อานาจ บทบาทหน้าที่ภารกจิ ในการควบคุม และแก้ไขปัญหาป่าไม้และท่ีดนิ โดยได้ถูกลดทอนและเปลี่ยน ผ่านการควบคุม ติดตาม กากับผ่านกลไกอานาจของกองทัพคือกองอานวยการรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) คาสงั่ คสช. ฉบบั ที่ 66/2557 ขอ้ ท่ี 1 ระบุไวว้ า่ “กองอานวยการรกั ษาความม่ันคงภายใน ราชอาณาจักร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบดังกล่าวเพิ่มเติม” ผลที่เกิดขึ้นจากคาสั่งทาให้ กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เข้ามาเป็นหน่วยงานของฝ่าย ทหารที่มีอานาจเต็มในการสั่งการควบคุมและจัดระเบยี บพืน้ ทีใ่ หม่ รวมถึงมีอานาจในการรายงาน ผลการปฏิบตั ิงานตรงตอ่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ 17เอกสารแผนแม่บทแกไ้ ขปัญหาการทาลายทรพั ยากรป่าไม้การบุกรุกทด่ี นิ ของรัฐและบริหารทรพั ยากรธรรมชาติ อยา่ งยัง่ ยืน กองอานวยการรกั ษาความม่ันคงภายในราชอาณาจกั ร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 2557. 74

“รัฐประหาร พ้นื ที่ พลเมือง” ภาพท่ี 1 แสดงคาส่ังคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 64/2557 ภาพที่ 2 แสดงคาส่ังคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติท่ี 66/2557 75

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 การยึดคืนพื้นที่ทากินจากประชาชนในห้วง 4 เดือนหลังคาสั่ง คสช.ที่ 64/2557 และ 66 /2557 มีจานวนเพิ่มสูงข้ึนถึงสองเท่าจากจานวนพืน้ ที่ทากินที่มีการยึดคืน ในเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคมจานวน 17,527 ไร่ในเดือนมิถุนายน ถึง กันยายน 2557 เพิ่มมาเป็นจานวน 34,505 ไร่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มีการแถลงข่าวผลความคืบหน้าการ ดาเนินงานตามแผนแม่บทป่าไม้ฯ ตามนโยบายของรัฐบาล เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2559 ที่กองบญั ชาการกองทัพบก โดยมีโฆษกกองกาลังรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เป็นผู้แถลงโดยมีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กองกาลังรักษาความสงบเรียบร้อย และสานกั งานตารวจแห่งชาติ ได้บูรณาการ การทางานรว่ มกันต้งั แตว่ ันที่ 17 มถิ ุนายน 2557 ว่าสามารถทวงคนื ผนื ป่าเป็นจานวน 450,000 ไร่ และอยู่ในระหว่างการตรวจสอบจานวน 300,000 ไร่ โดยได้มีการปลูกป่าทดแทนไปแล้วประมาณ 90,000 ไร่ และนาพ้นื ทบี่ างส่วนจากการยดึ คนื และจัดสรรให้ผู้ยากไร้ไปแลว้ จานวน 200,000 ไร่18 เครื่องมือที่สาคัญในการสร้างความชอบธรรมของการยึดคืนพื้นที่ทากินจากชุมชน คือ การใช้มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 หรือเรียกว่า มติค.ร.ม 30 มิ.ย.41 เป็น กระบวนการพิสูจน์สิทธิโดยเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินได้ น ามาใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินในเขตป่าไม้ของรัฐ โดยเป็นไปตามมติ คณะกรรมการนโยบายป่าไมแ้ ห่งชาติ เพื่อทาหน้าที่การตรวจสอบ พิสูจน์การครอบครองที่ดินของ ราษฎร มติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เกิดจากแนวคิดที่มองว่าประชาชนคือตัวการ ทาลายป่าและเป็นอุปสรรคของการดูแลป่า หากทว่าสาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้และ ที่ดินไม่ได้มีสาเหตุมาจากประชาชนเป็นหลัก แต่มีสาเหตุอื่นๆ อีกมากมายที่ทาให้เรามองข้ามไป เช่นการส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวเพ่ือป้อนสู่ระบบอุตสาหกรรมและส่งออกภายนอก ประเทศ โครงการพัฒนาขนาดใหญข่ องรฐั ไม่วา่ จะเป็นการสร้างเขือ่ น การสัมปทานปา่ เป็นตน้ กระบวนการในการพิสูจน์สิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี 30 มิถุนายน 2541 กาหนดในการ ใช้ภาพถ่ายทางอากาศรวมถงึ ภาพถ่ายทางดาวเทยี มเปน็ เครื่องมือในการตรวจเช็กการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ทากินของชาวบ้าน แต่ในหลักวิชาการของการใช้เครื่องมือชนิดนี้ผู้เชี่ยวชาญหลายคน ยอมรบั ว่ายังมีข้อจากัดทางเทคนคิ ในการตคี วามและแปลความหมายของสญั ลักษณห์ รือสตี ่าง ๆ ท่ี ปรากฏในภาพถ่ายโดยจาเปน็ ต้องลงไปตรวจสอบในพืน้ ที่เพื่อตรวจสอบความแมน่ ยาในการตีความ 18 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม, สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 15 มิถุนายน 2559 www.mnre.go.th 76

“รัฐประหาร พน้ื ที่ พลเมือง” ประเด็นสาคัญอีกเรื่องหนึ่งคอื ลักษณะการใช้ที่ดินของชาวบ้านโดยเฉพาะในพื้นทีภ่ าคเหนือนั้นมี ความซับซ้อนภายใต้เงื่อนไขของสภาพพื้นที่ซึ่งเป็นเขตป่าบนพื้นที่สูง เช่นระบบป่าเมี่ยง ที่จะต้อง อาศัยไม้ใหญ่ในการป้องกันแสงแดด ถ้าหากใช้ภาพถ่ายทางอากาศมาตรวจสอบแล้วในภาพถ่ายก็ จะแสดงสัญลักษณ์พ้ืนท่ีป่าเม่ียงเปน็ พื้นท่ปี ่าทงั้ หมด หรอื แม้กระทงั่ ระบบไร่หมนุ เวียน ท่ีจะวนการ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทด่ี นิ ขณะเดียวกัน การแถลงข้อมูลจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยนายแพทย์ นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ19กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในฐานะประธานอนุกรรมการด้านสิทธิ ชุมชนและประธานอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า ก็แถลงสอดคล้องกับจานวนและ กระบวนการในการใช้ของคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ใช้เป็นเครื่องมือในการจับกุม ดาเนินคดีกับชุมชนกับชาวบ้าน “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้รับเรื่องร้องเรียนจาก ราษฎรหลายพ้ืนที่รวม 41 คาร้อง วา่ ไดร้ ับผลกระทบจากการทเ่ี จ้าหน้าทอ่ี ้างคาสัง่ คณะรักษาความ สงบแห่งชาติ ที่ 64 / 2557 เข้าดาเนินการขับไล่ บุกยึด และรื้อทาลายทรัพย์สินของราษฎรที่อยู่ อาศยั และทากนิ ในพืน้ ที่ป่า โดยเจ้าหน้าท่กี ลับไม่ได้ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ อย่างรอบด้าน” แผนภาพที่ 1 แสดงผลการปฏิบัติตามคาสั่ง คสช.ที่ 64 และ 66/2557 ในภาพรวมห้วง 4 เดือน20 นับตั้งแต่มีการ ประกาศคาสั่งห้วงเดือนมิถุนายนถึงกนั ยายน 2557 จากศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 4 กองอานวยการรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร (ศปป.4 กอ.รมน.) 19 ประธานอนุกรรมการดา้ นสทิ ธิชุมชนและประธานอนกุ รรมการสทิ ธมิ นุษยชนดา้ นที่ดินและป่า, สานกั งาน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ, 2558, สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 25 เมษายน 2560 www.nhrc.or.th/News/Humanrights- News 20 ศนู ย์ประสานการปฏบิ ัตทิ ่ี 4 กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ศปป.4 กอ.รมน.). รายงาน สรปุ การปฏิบตั ิงานประจาเดือนมกราคม 2558, สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 www.isoc04.go.th 77

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ปงี บประมาณ จำนวนเน้อื ที่ทวงคืน ผตู้ อ้ งหา (คน) คดี (ไร่) พ.ศ. 2558 280,000 1,183 6,919 (1 ต.ค. 57– 30 ก.ย. 58) พ.ศ. 2559 35,131.21 119 982 (1 ต.ค.– 28 ธ.ค. 58) รวม 315,131.21 1,302 7,901 ตารางที่ 1 แสดงตารางสรุปข้อมูลผลการทวงคนื ผนื ปา่ ปี 2558 ท่ีมา: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม www.mnre.go.th วนั ที่ 29 ธนั วาคม 2558 จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น พบว่าผู้ที่ได้รับผลกระทบส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่มาแต่เดิม มีรายได้น้อย และมีที่ดินขนาดเล็ก ไม่ใช่นายทุนหรือผู้มีอิทธิพลที่ถือครองที่ดิน ขนาดใหญแ่ ตอ่ ย่างใด การเข้าไปตัดฟนั ร้ือถอน และทาลายพชื ผลอาสินที่ชาวบ้านปลกู ไว้ถึงแม้ว่า จะมีการยอมรับในภายหลงั ว่าเปน็ ความผิดพลาดในการดาเนนิ การของเจ้าหน้าที่ ความขดั แยง้ และ เงื่อนปมของปัญหาได้นาไปสู่การเคลื่อนไหวเรียกร้องของภาคประชาชน ภาคประชาสังคมรวมถึง กลุ่มต่างๆ ในสังคมให้นายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และหัวหน้าคณะ คสช. รวมทั้ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ทบทวนและยกเลิกการใช้นโยบายทวงคืนผนื ป่าตามคาสั่ง คสช. และแผน แม่บทป่าไม้การทวงคืนป่าไม้ ขณะเดียวกันกระแสการออกมาวิพากษ์วิจารณ์นโยบายการทวงคืน ผืนป่าเริ่มเป็นที่สนใจของสังคมมากยิ่งขึ้น กองกาลังรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ. รมน.) และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในฐานะที่เป็นหน่วยงานหลักในการ ดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลก็ได้มีการปรบั แผนการทางานใหม่เพ่ือให้สอดรับกับการปฏิบัติการ ตามแผนแม่บทป่าไม้ในห้วงปีที่ 2 โดยเปลี่ยนชื่อจาก “นโยบายทวงคืนผืนป่า” มาเป็น “นโยบาย พลิกฟน้ื ผืนป่าสูก่ ารพฒั นาทย่ี ่งั ยืน” 2) การสร้างภาพของความเป็น “ผู้ปกปอ้ ง” ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รัฐบาล ต้องการสร้างความชอบธรรมโดยการแสดงตัวเองให้เป็นผู้ที่เป็นส่วนสาคัญในการปกป้อง ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้ลูกหลานเพื่ออนาคตของคนในประเทศ ดังนั้นเองความชอบธรรมนี้เป็น การแสดงเพื่อให้ “ชนชั้นกลาง” ในเมืองที่ยึดโยงอยู่กับความโรแมนติก (การแสวงหาที่พักผ่อน หย่อนใจ การได้ชื่นชมปา่ สเี ขยี ว นา้ ตกใสเยน็ ) ยอมรบั การรฐั ประหารวา่ ได้ทาส่งิ ท่ีดีงามให้แก่สังคม ด้วยการรักษาพืน้ ท่ปี ่าเอาไว้ ความพยายามสร้างความชอบธรรมของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 78

“รฐั ประหาร พน้ื ท่ี พลเมอื ง” เสมือนเป็นการทาลายหลกั การขอ้ ตกลงการจัดความสัมพันธร์ ะหว่างรัฐกับชาวบ้านทดี่ าเนินมากว่า สามทศวรรษลงอย่างสิ้นเชิง21 การทาลายหลักการข้อตกลงการจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ชาวบ้านเช่นนี้เป็นเพียงความปรารถนาที่จะครองอานาจโดยให้มีแรงต่อต้านน้อยที่สุด โดยเฉพาะ แรงตอ่ ตา้ นจากชนช้ันกลางในเมือง แตค่ วามชอบธรรมทางการเมืองนี้ กลับเปน็ การทาลายรากฐาน หลักการการปกครองโดยนิติธรรมอย่างสิ้นเชงิ การสร้างความชอบธรรมบนคราบน้าตาของชาวบ้าน ที่กาลังระบาดออกไปอย่างกว้างขวางจึงไม่ใช่ปฏิบัติการเพื่อรักษา “สิ่งแวดล้อม” อย่างที่ชนชั้น กลางในเมืองเลือกเชื่อทหารหากแต่เป็นกระบวนการทาลายพันธสัญญาระหว่างรัฐกับสังคมอย่าง รุนแรงและลกึ ซึง้ เพื่อทาให้ภาพลักษณ์ของการเป็น“ ผู้ปกป้อง” ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ สามารถครองหัวใจคนชั้นกลางและชาวบ้านในท้องถิ่นได้นั้นจึงนาไปสู่กระบวนการยกระดับ ภาพลกั ษณใ์ หเ้ ป็น “ผูใ้ หท้ ด่ี ี ผู้มคี วามเมตตา” เม่ือคณะรฐั มนตรไี ด้มีมติเมื่อวันที่ 14 ตลุ าคม 2557 เห็นชอบระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ พ.ศ. 2559 โดย มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) นอกจากนี้ก็ได้มีการ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการภายใต้ระเบียบฯ 3 คณะ22 ประกอบด้วย 1.คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดิน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นประธาน มีหน้าที่ในการ สารวจ ตรวจสอบจัดทาขอ้ มลู ที่ดินและแผนท่ีขอบเขตทด่ี นิ ทีจ่ ะจดั ใหแ้ กผ่ ู้ยากไรท้ ี่ไม่มีท่ีทากินและ ที่อยู่อาศัย 2.คณะอนุกรรมการจัดที่ดิน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน มี หน้าที่ในการสารวจ ตรวจสอบจัดทาข้อมูลและแผนปฏิบัติการจัดที่ดินทากินให้แก่ผู้ยากไร้ไม่มีที่ ทากนิ และทอ่ี ยอู่ าศัย รวมถึงกาหนดหลกั เกณฑใ์ นการจัดท่ีดินและจัดท่ดี ินให้แก่ผู้ยากไร้ในรูปแบบ กรรมสิทธิ์ร่วมของชุมชนที่เหมาะสม 3.คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ โดยมี รฐั มนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน มหี น้าทใ่ี นการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ และ การตลาดในรูปแบบเศรษฐกจิ ชมุ ชนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง 21 อรรถจกั ร์ สัตยานรุ ักษ์, (วันที่ 12 มถิ ุนายน 2558) ,สืบคน้ เม่ือวันที 12 มิถุนายน 2558. www.bangkokbiznews.com 22 คู่มือการจดั ทดี่ นิ ทากนิ ให้ชุมชนตามนโยบายรฐั บาล (ฉบับปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 2). 2561.ฝา่ ยเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แห่งชาติ (คทช.), (กรุงเทพ: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม, 2561), 12-13 79

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ผลการดาเนินการในช่วงที่ผ่านมารัฐบาลได้มอบ “หนังสืออนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ หรอื อยู่อาศยั ในเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ (สทช.)” ภายใตโ้ ครงการจัดที่ดินทากนิ ใหช้ ุมชนตามนโยบาย รฐั บาลโดยครั้งแรกได้มอบพ้นื ท่ีท่ีตาบลแมท่ า อาเภอแม่ออน จงั หวดั เชียงใหม่ หรือทีเ่ รียกว่า “แม่ ทาโมเดล” เมือ่ วันท่ี 5 เมษายน 2558 โดยพืน้ ทที่ ากินอยู่ภายใต้พน้ื ทปี่ ่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่ทา จานวน 7,282 ไร่ มีชาวบ้านได้รับประโยชน์จานวน 1,235 ราย จากแนวทางดังกล่าวนาไปสู่การ สร้างภาพของรัฐโดยการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงลงพื้นที่ที่อยู่ในเงื่อนไขและเข้า กรอบเกณฑข์ องคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติเพ่ือท่ีจะมอบเอกสารการใหส้ ิทธิในการใช้เข้า ไปประโยชน์จากที่ดินของรัฐใหก้ ับประชาชนผ่านการผลิตกระบวนการประชาสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ สื่อโทรทัศน์ วิทยุของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ในการปฏิบัติการดังกล่าว นอกจากจะเป็นการสร้าง ฐานมวลชนในระดับพื้นที่รัฐยังได้รับความเชื่อมั่นของคนชั้นกลาง รวมถึงมีภาพลักษณ์ที่ดีในการ ทางานการแกไ้ ขปญั หาใหก้ บั คนยากจน 3.บทสรุป การจดั การทรัพยากรป่าไม้และที่ดนิ ในสงั คมไทยที่ผ่านมาสะท้อนเห็นวา่ รฐั ได้สร้างสังคม การเมือง (Political Society) ผ่านการใช้กลไกอานาจของรัฐ เช่นเจ้าหน้าทีป่ ่าไม้ เจ้าหน้าที่หน่วย ป้องกนั ปราบปราม รวมถงึ เจา้ หนา้ ที่ตารวจเขา้ มาทาหน้าท่ีควบคมุ และบังคบั (Coercion) ชาวบ้าน ชุมชนท่จี ะทาให้เกิดความหวาดกลวั เพ่อื ทีร่ ฐั จะสามารถเข้าไปควบคุมจัดการได้ ขณะเดียวกันรัฐก็ สร้างประชาสังคม (Civil Society) ขึ้นมาเป็นพื้นที่เพื่อที่เป็นกลไกในการผลิตภาพลักษณ์การ ทางานของรัฐให้ผู้คนและกลุ่มคนในสังคมเห็นพ้องถึงการทางานและเข้ามาสนับสนุนรัฐในการ ทางาน หลัง พ.ศ. 2530 เปน็ ตน้ มา กระบวนการสรา้ งการครองอานาจนาท่รี ัฐใช้ทงั้ สงั คมการเมือง (Political Society) และประชาสังคม (Civil Society) ได้ถูกสั่นคลอนและถกู ชว่ งชงิ พ้ืนที่ความคดิ รวมถึงพื้นที่ทางสังคมจากการเคลื่อนไหวของปัญญาชนรวมไปถึงภาคประชาสังคม เช่นปราชญ์ ชาวบา้ น ผนู้ าชุมชน ในการสร้างพ้ืนทีส่ ื่อสารกับผู้คนในวงกว้างเพื่อช่วงชิงให้ความหมายและสร้าง นิยามการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินใหม่ ๆ ข้ึนมา เช่นการสร้างความหมายป่าชุมชน สิทธิ ชุมชน คนอยู่กับป่า ไร่หมุนเวียน เป็นต้น การเคลื่อนไหวดังกล่าวนั้นได้ช่วงชิงเอาพื้นที่ความคิด ของผู้คนรวมถึงชนชั้นกลางในสังคมให้ออกมาเป็นพลังในการเคลื่อนไหวและสนับสนุนการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชุมชน ขณะเดยี วกนั กลไกรัฐทมี่ ีอยู่เชน่ เจ้าหน้าทปี่ ่าไม้ เจ้าหน้าท่ีอุทยานก็ มีภาพลักษณ์ของความไม่โปร่งใสในการทางาน การใช้อานาจและกาลังที่มีความรุนแรงส่งผลให้ 80

“รฐั ประหาร พ้ืนที่ พลเมอื ง” พลังประชาสังคม (Civil Society) ที่รัฐสร้างขึ้นมาถูกลดทอนภาพลักษณ์ลงทาให้ส่งผลต่อการ ควบคุมและครองอานาจนาอยา่ งชัดเจน และค่อย ๆ ออ่ นกาลังลงอยา่ งต่อเนื่อง พื้นที่อานาจดังกล่าวนั้นได้ถูกปลุกขึ้นมาขึ้นใหม่อีกครั้งหลังการทารัฐประหารในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2557 แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาตปิ ่าไม้และทด่ี ินไดน้ าไปสู่การจัดวาง โครงสร้างทางอานาจในการควบคุมและจัดการทรัพยากรข้นึ มาใหม่ บทเรยี นจากการสูญเสียพื้นที่ การครองอานาจนาจากทีผ่ า่ นมาทาให้รัฐมกี ารปรบั ตวั และสร้างพลังของสังคมการเมือง (Political Society) และประชาสงั คม (Civil Society) ข้ึนมาใหมโ่ ดยใช้ 3 กระบวนการที่สาคญั คอื 1) การปรับกลไกการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินขึ้นมาใหม่ จากที่อานาจและการ จัดการอยู่ท่ีกรมป่าไม้และกรมอุทยานแหง่ ชาติ ภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้เปลี่ยนผ่านอานาจมาสู่การควบคุมและสั่งการโดยกองอานวยการรักษาความมั่นคง ภายใน (กอ.รมน) 2) การสร้างการโฆษณาและผลิตส่ือให้เกิดการสอื่ สารกบั กลุ่มคนในทางสงั คมเพื่อทาลาย ความชอบธรรมของชาวบ้านที่ลุกขึ้นมาปกปอ้ งฐานทรัพยากรผ่านการผลิตซ้าภาพของชาวบ้านใน การบุกรุกป่า การชูภาพพื้นที่เขาหัวโล้นโดยเชื่อมโยงถึงกลุ่มนายทุนอยู่เบื้องหลัง การทาให้ภาพ ชาวบ้านเป็นผู้ที่ไม่รู้จักพอต้องการขายที่ดิน เป็นต้น ภาพลักษณ์ที่ผลิตออกมาดังกล่าวทาให้กลุ่ม คนในสงั คมเริม่ คลอ้ ยตามและเข้ามาเป็นแรงสนบั สนุนให้เกิดการจัดการอย่างเด็ดขาดกับการบุกรุก ปา่ 3) การสร้างภาพรัฐในฐานะผู้ปกป้องทรัพยากรโดยการแสดงตัวเองให้เป็นผู้ที่เป็นส่วน สาคัญในการปกป้องและดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ไว้ให้ลูกหลานเพื่ออนาคตของคนในประเทศ ภาพดังกล่าวปฏิบัติการผ่านการจับกุมนายทุนบางกลุ่มและยึดพื้นทีท่ ากินที่เกิดการบุกรุกมาปลกู ป่า ขณะเดียวกันก็พยายามแก้ไขปัญหาสิทธิและความมั่นคงของการเข้าไปใช้ประโยชน์จากที่ดิน ของรัฐโดยการแจกที่ดินให้คนจนผู้ยากไร้ให้สามารถเข้าถึงสิทธิและการผลิตในพื้นที่ได้ การสร้าง ภาพดังกลา่ วสามารถครองหวั ใจคนชน้ั กลางและชาวบ้านได้เปน็ อย่างดี กระบวนการดังกลา่ วทาให้ ผู้คนในสังคมมีความรู้สึกเห็นพ้องใช้อานาจในลักษณะที่เป็นสิ่งที่ถูกต้องและเป็นความดีงามท่ี รฐั บาลลกุ ขนึ้ มาปกป้องทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม จากทั้ง 3 กระบวนการดังท่ีกล่าวมานั้นส่งผลให้พลังรวมถึงการขับเคลื่อนของปัญญาชน ภาคประชาสงั คมรวมถึงภาคประชาชนต้องทบทวนและออกแบบการทางานบนบริบทใหม่ ๆ ข้ึนมา การขับเคลื่อนพลังดังกล่าวจาเปน็ ต้องมีความชัดเจนและยึดโยงกับชนชั้นและมีภาคีที่หลากหลาย 81

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ชนชั้นภายใต้สถานการณ์ที่รัฐสร้างสังคมการเมือง (Political Society) และประชาสังคม (Civil Society) ที่มีความเชื่อมโยงกันอยา่ งเป็นอย่างมาก การทางานและการช่วงชิงความคิดเพื่อใหเ้ กิด การเปลีย่ นแปลงความคิดและเปลยี่ นความสัมพันธต์ าแหนง่ แห่งที่ใหมใ่ นการจัดการทรัพยากรป่าไม้ และที่ดินจาเป็นต้องสร้างพื้นที่ของประชาสังคม (Civil society) เพื่อต่อสู้กับความคิดกระแสหลัก ว่าประชาสังคม (Civil society) ต้องเป็นอิสระจากรัฐเพราะในความเป็นจริงไม่มีทางที่การช่วงชิง พื้นที่รวมถึงการเคลื่อนไหวจะเป็นอิสระจากรัฐ (Correlative Autonomous) ไปได้เพราะพื้นที่ ความคิดรวมถึงพ้นื ทีค่ วามรู้ และการต่อสู้ไดป้ ฏิสมั พันธช์ ่วงชงิ กนั มาตลอด ดังนั้นเองการขับเคลื่อนของภาคประชาสังคมเพื่อขยับไปข้างหน้าจึงต้องทาความเข้าใจ ลักษณะ ประชาสังคมบนความเคลื่อนไหว (Civil Society on the Move) กล่าวคือความเป็น ประชาสังคม (Civil Society) ของแต่ละพื้นที่มคี วามหลากหลายและไม่เหมือนกันท้ังหมด แตกต่าง กันไปตามบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ได้เปลี่ยนแปลงผู้คนและวิถีชีวิตไปจากสังคม แบบเดิม เช่นในพื้นที่ที่ชุมชนและชาวบ้านมีการปรับระบบการผลิตจากระบบดั้งเดิมไปสู่การปลูก พืชเชิงเดี่ยวเช่นข้าวโพด จากผู้ปลูกข้าวโพดกลายมาเป็นโบรกเกอร์และมาเป็นผู้จัดการระบบ แรงงาน ในบางกรณีได้เปลี่ยนจากผู้ปลูกผู้ผลิตมาเป็นผู้ประกอบการค้าปุ๋ย ยา ทาให้เห็นว่าใน แต่ละกลุ่มที่มีการปรับตัวก็ทาให้เกิดการจัดความสัมพันธ์กับรัฐที่แตกต่างกัน นั้นเองจึงต้องทา ความเข้าใจนัยของประชาสังคม (Civil Society) ไม่ได้หมายถึงกลุ่มก้อนเดยี วแตม่ ีความหลากหลาย ของกลุ่มคน พื้นที่ รวมถึงการจัดความสัมพันธ์และการสร้างคุณค่าใหม่ที่แตกต่างกันไปของแต่ละ กลุ่ม เพื่อนาไปสู่การเคลื่อนไหวอย่างมีพลังในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าในระดับนโยบายรวมถึงในระดับ ท้องถิ่นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องรื้อสร้างและวิเคราะห์สังคมใหม่ รวมไปถึงศึกษาการเกิดขึ้นของ ประชาสงั คม (Civil Society) แบบใหม่และรปู แบบการจดั ความสัมพนั ธก์ ับรัฐต่อไป 82

“รฐั ประหาร พืน้ ที่ พลเมือง” References Bobbio, N. Gramsci and Conception of civil society. Pp 28-29; Formia J., Gramsci’s political Thought; Hegemony, Consciousness and the revolutionary process. Oxford: Clarendon Press 1981 Forsyth.T and Walker.A. Forest Guardians, Forest Destroyers, The politic of Environmental Knowledge in Northern Thailand. University of Washington Press, 2008 Gramsci, A. Selections from the prison notebook of Antonio Gramsci. ed. and trans. Hoare, Q and Nowell Smith, G.New York: Lawrence & Wishart, London, and International Publishers, 1971 Kanjana kaewthep. สายธารนกั คิดทฤษฎีเศรษฐศาสตรก์ ารเมืองกับการสื่อสารศึกษา [philosopher Thought of Political Economy Theory and Communication Study]. Bangkok: PABPIM, 2008 (in Thai) Liguori, Guido. Gramsci Pathway translate by David Broder,2015Marx, K and Engels, F.The German Ideology, 2nded, Author, C.J (ed) London Lawrence &Wishart, 1974 Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. ค่มู อื การจดั ท่ีดินทากนิ ให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). [ Handbook of Community Land used Management by Government Policy (Improved 2)]. The Secretary of National Land management Committee (KOR TOR COR) Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. Bangkok, 2018 (in Thai) Operation Center Sector 4 The Internal Security Operations Command. รายงานสรุปการ ปฏิบัติงานประจาเดือนมกราคม [Monthly Action Report on January]. Bangkok, 2015 (in Thai) Sanae jamaric Anan Kanjanaphan Somsak Sukawong Buntoon Srethasirote Jakkrit Kuanphot, ฐานทรัพยากร...ทุนชีวิตของสังคมไทย [Natural Resource: Thai Society Capital of life]. Bangkok Thailand Research Fund, 2003 (in Thai) 83

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 The Internal Security Operations Command. เอกสารแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการท าลาย ทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดินของรัฐและบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน [Master Plan of Resolution Deforestation and Sustainable Natural Resource Management].Ministry of Natural Resources and Environment,2014 (in Thai) Thomas, P.D. The Gramscian Moment Philosophy, Hegemony and Marxism. Leiden; Brill, 2008 Watcharabon Buddharaksa. รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา [ThaksinGovernment's attempts to build hegemony]. Degree of Master Program in Government, Department of Government Faculty of political Science Chulalongkorn University, 2006 (in Thai) Watcharabon Buddharaksa. บทสารวจความคิดทางการเมืองของอันโตนิโอกรัมชี [A Survey of Gramsci’s political thought]. Bangkok. Sommadhi Publishers, 2014 84

“รัฐประหาร พน้ื ท่ี พลเมือง” สิทธทิ ่ีจะมสี ่วนร่วมในเมือง The Right to the City บุญเลิศ วเิ ศษปรชี า คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ ังสิต 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12121 Boonlert Visetpricha Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University, 99 Moo 18 Paholyothin Road, Klong Nueng, Klong Luang, Pathumthani Thailand. 12121 E-mail: [email protected] Received: August 31, 2019; Revised: December 2, 2019; Accepted: December 7, 2019 บทคดั ย่อ บทความชิ้นนี้ทบทวนและสังเคราะห์แนวคิดสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในเมือง ซึ่งเป็นแนวคิด ในทางสังคมวิทยาที่ถูกกล่าวถึงอย่างแพร่หลายโดยนักวิชาการที่ศึกษาเรื่องเมืองในต่างประเทศ ในหลายสาขาวิชา อีกทั้งแนวคิดนี้ยังมีอิทธพิ ลต่อการกาหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ในการประชมุ ระหว่างประเทศอีกด้วย แนวคิดนี้มีเป้าหมายสาคัญเพื่อสร้างสรรค์เมืองที่มีความยุติธรรมแก่ ผู้อยู่อาศัยในเมือง ไม่ใช่มุ่งเพียงแสวงหากาไรจากเมือง อย่างไรก็ดี ความเข้าใจแนวคิดสิทธิที่จะ มีส่วนรว่ มในเมืองในแวดวงวิชาการไทยและในแวดวงผกู้ าหนดนโยบายยงั มีไม่มากนัก บทความชิ้น น้ี ซง่ึ เป็นงานวิจัยเอกสารจงึ ได้ทบทวนและสังเคราะห์แนวคิดดงั กลา่ ว เพือ่ แนะนาแนวคิดน้ีสาหรับ การนามาประยุกต์ใช้และวิเคราะห์การพัฒนาเมืองที่มากกว่าด้านกายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน หากแต่ต้องตระหนักถึงความเป็นธรรมทางสังคมในเมืองด้วย บทความสืบค้นที่มาของแนวคิดสิทธิ ที่จะมีส่วนร่วมในเมืองจากนักทฤษฎีแนวมาร์กซิสต์ จากนั้นจะสังเคราะห์การตีความแนวคิดของ นักวิชาการกลุ่มต่างๆ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการวิจัยและการกาหนดนโยบาย ตลอดจนข้อ วจิ ารณท์ ีม่ ตี อ่ แนวคิดน้ี โดยเฉพาะขอ้ อ่อนเมื่อพิจารณาจากฐานมโนทศั น์เรอื่ งสิทธิในทางกฎหมาย เพราะแนวคิดน้ีไม่ปรากฏชดั ว่าผู้ใช้สิทธินีค้ ือใคร และการบังคับใช้เปน็ อย่างไร ในตอนท้ายผู้เขียน 85

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 เน้นจุดแข็งของแนวคิดดังกล่าวสาหรับการประยุกต์ใช้ทั้งในทางวิชาการและการเคลื่อนไหวทาง สงั คม คำสำคัญ: สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในเมือง, ทฤษฎีเมืองเชิงวิพากษ์, เสรีนิยมใหม่, อองรี เลอแฟรบ, เดวดิ ฮาร์วีย์ Abstract This article reviews and synthesizes the concept of “the Right to the City.” It is a sociological concept which is widely referred by urban scholars aboard from several disciplines. Moreover, this concept also influences policy makers in different countries and vision statements of international conferences. The concept claims for creating just cities for all urban inhabitants, not only for earning profit from the city. However, Thai scholars and policy makers have known this concept limitedly. Therefore this review article derived from document research aims to introduce this concept to Thai academic circle so as to apply this concept to analyze urban development. The contribution of this concept is to broaden analytical frameworks to go beyond physical and infrastructure aspects and concern urban social justice. The article traces the roots of the Right to the City concept from Marxist theorists, and then, synthesizes the interpretations and applications of the concept to academic research and policy making. The article includes several comments on this concept, particular from a legal perspective that this concept is weak in terms of the concept of right, because it does not clarify who has the right, and how to exercise this right. At the end, the author emphasizes the strengths of this concept for being applied both to academic and social movement purposes. Key words: the Right to the City, critical urban theory, neoliberalism, Henry Lefebvre, David Harvey 86

“รฐั ประหาร พืน้ ท่ี พลเมือง” บทนำ บทความชิ้นนี้ทบทวนและสังเคราะห์แนวคิด สิทธิที่จะมีส่วนรว่ มในเมือง (the Right to the City) 1 ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถูกกล่าวถึงอย่างแพร่หลายในการศึกษาเรื่องเมืองในต่างประเทศใน หลายสาขาวิชา อีกทั้งยังมีอิทธิพลต่อการกาหนดวิสัยทัศน์เกี่ยวกับเมืองในเวทีประชุมระหว่าง ประเทศอีกด้วย โดยมีเป้าหมายสาคัญเพื่อสร้างสรรค์เมืองที่มีความยุติธรรมแก่ผูอ้ ยู่อาศัยในเมือง อย่างไรก็ดี การรับรู้และการเข้าใจแนวคิดดังกล่าวในแวดวงวิชาการไทยและแวดวงผู้กาหนด นโยบายยังมีไม่มากนัก บทความชิ้นนี้ ซึ่งเป็นงานวิจัยเอกสารจึงได้ทบทวนแนวคิดดังกล่าว เพื่อ แนะนาแนวคดิ น้ีสาหรบั การนาไปประยุกต์และการวิเคราะห์การพัฒนาเมืองในสงั คมไทยท่ีมากกว่า มิตดิ ้านกายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน หากแต่ตระหนักถึงความเปน็ ธรรมทางสังคมในเมืองดว้ ย บทความเรม่ิ ต้นดว้ ยการสบื ค้นที่มาของแนวคิดสิทธทิ ่ีจะมสี ว่ นรว่ มในเมืองจากนักทฤษฎี แนวมาร์กซิสต์คนสาคัญสองคน คือ อองรี เลอแฟรบ (Henry Lefebvre) และ เดวิด ฮาร์วีย์ (David Harvey) จากนั้นจะสังเคราะห์การตีความแนวคิดน้ีโดยนักวิชาการกลุ่มต่างๆ อภิปราย ตัวอย่างของการประยุกต์แนวคิดนี้ไปใช้ในการวิจัยและการกาหนดนโยบาย รวมถึงข้อวิจารณ์ที่มี ต่อแนวคิดดังกล่าว โดยเฉพาะข้ออ่อนเมื่อพิจารณาจากฐานมโนทัศน์เรื่องสิทธิในทางกฎหมาย เพราะแนวคิดนี้ไม่ปรากฏชดั ว่าผู้ใชส้ ทิ ธินี้คือใคร และการบังคับใช้เปน็ อย่างไร ในตอนท้ายผู้เขียน เน้นจุดแข็งของแนวคิดดังกล่าวสาหรับการประยุกต์ใช้ทั้งในทางวิชาการและการเคลื่อนไหวทาง สงั คม 1. อองรี เลอแฟรบ และ เดวิด ฮารว์ ีย์ กับแนวคิดสิทธิท่ีจะมีส่วนรว่ มในเมอื งเชิงวิพากษ์ ทนุ นยิ ม แนวคิดสิทธิที่จะมีส่วนในการร่วมในเมือง (the Right to the City) มีที่มาจากนักคิด แนวมาร์กซิสต์ (Marxism) ที่ให้ความสนใจเรื่องเมือง หรืออาจเรียกนักคิดกลุ่มนี้ว่า แนวทฤษฎี เศรษฐศาสตร์การเมืองและเมืองเชิงวิพากษ์ (Critical Urban and Political Economy Theory)2 1 ผู้เขียนแปลความหมายของคาว่า the right to the city ว่า สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในเมือง เพื่อให้ครอบคลุม ความหมายสาคัญของแนวคิดนท้ี ี่ว่า ผอู้ ยูอ่ าศยั ในเมอื งควรมีสทิ ธิที่จะกาหนดความเป็นไปและเปลยี่ นแปลงเมือง และมีสิทธิท่ี จะใช้ชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของเมือง โดยถูกแปลกแยกจากพื้นท่ีเมือง ซึ่งมีความหมายกว้างกว่า สิทธิที่จะอยู่ในเมือง ซึ่งมี นักวชิ าการไทยบางท่านใช้คาน้ี รายละเอียดเพิม่ เตมิ จะปรากฏในเนื้อหาของบทความ 2 Pattillo, Mary. “Housing: Commodity versus right.” Annual Review of Sociology 39, (2013): 519. 87

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 ซึ่งสนใจวิเคราะห์และวิพากษ์เมือง ไม่ใช่เพียงมิติการออกแบบเมืองเพื่อความสวยงาม ความสะดวกสบาย หากแต่ตระหนักถึงแง่มุมเชิงโครงสร้างที่ว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้นมี ความหลากหลาย ความต้องการและผลประโยชนจ์ ึงแตกต่างกัน ความสะดวกสบายของคนบางกลุ่ม อาจหมายถึงการเบียดขบั คนกลุม่ อ่ืนออกไปจากการใช้พื้นทีข่ องเมือง โดยนักสังคมวิทยาเมืองแนว มาร์กซิสต์คนสาคัญสองคน คือ อองรี เลอแฟรบ (Henry Lefebvre) และเดวิด ฮาร์วีย์ (David Harvey) มีส่วนสาคัญที่ทาให้แนวคิดนี้เป็นที่สนใจทั้งในแวดวงวิชาการ ก่อนที่จะแพร่ขยายไปสู่ แวดวงผ้กู าหนดนโยบาย อองรี เลอแฟรบ (Henry Lefebvre) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส เขียน “The Right to the City” เปน็ บทหนึ่ง รวมอยู่ในหนงั สือ Le Droit à la ville (Writing on Cities)3 ซึ่งตีพมิ พ์ครั้ง แรกเปน็ ภาษาฝรัง่ เศสในปี 1968 อันเป็นปที ม่ี ีการเคลอื่ นไหวใหญข่ องขบวนการฝ่ายซ้ายในฝรั่งเศส ที่นักศึกษาและผู้ใช้แรงงานเข้ายึดครองเมืองปารสี ก่อนจะถูกปราบปรามภายหลัง ดังนั้น งานของ เลอแฟรบจึงเขียนขึ้นในบริบทที่กระแสฝ่ายซ้ายในยุโรปยังแพร่หลายและได้รับความนิยมสูง ซ่ึง อาจจะไม่เข้ากับสถานการณ์ปจั จุบนั นัก ถึงกระนั้นแนวคิดของเขาก็เป็นแรงบันดาลใจอย่างสาคัญ สาหรับผู้ที่ปรารถนาจะผลักดันให้สร้างสรรค์เมืองที่มีความยุติธรรม (just city)4 เลอแฟรบให้ ความสาคัญกับเมืองในฐานะพื้นที่สาคัญของการต่อสู้กับทุนนิยม ข้อเสนอของเขามีลักษณะถอน รากถอนโคน (radical) คือให้ขา้ มพ้นระบบทนุ นยิ ม โดยผู้กระทาการเปลี่ยนแปลง (agent) ไมจ่ ากดั เฉพาะแรงงานในโรงงานเหมือนแนวคิดมาร์กซิสต์ดงั้ เดิม แต่เป็นชาวเมือง5 ดังที่กล่าวแล้วว่า “the right to the city” เป็นบทหนึ่งในหนังสือ Writing on Cities6 ของเลอแฟรบ โดยภาพรวมหนงั สือเล่มนกี้ ลา่ วถงึ แนวคิดทฤษฎีทจ่ี ะทาความเข้าใจเมอื งจากมุมมอง มาร์กซิสต์ บทดังกล่าวเริ่มด้วยการเสนอว่า ที่ผ่านมาความต้องการของปัจเจกชน (Individual Needs) ถูกกระตุ้นให้ต้องการบริโภคในระดับที่มากเกินไป แต่ความต้องการเชิงสังคม (Social 3 ผเู้ ขยี นไม่มีความรูภ้ าษาฝรัง่ เศส และได้ทราบจากผทู้ รงคณุ วฒุ วิ ่า ความหมายตามตัวอักษรของช่อื หนงั สือ Le Droit à la ville คอื กฎของหมบู่ ้าน จึงขอขอบพระคุณมา ณ ท่ีน้ี 4 Uitermark, Justus. “An in memoriam for the just city of Amsterdam.” City 13, no. 2-3 (2009): 347- 361.; Susan S. Fainstein, The just city. Ithaca: Cornell University Press, 2010. 5 Marcuse, Peter. “Reading the right to the city.” City 18, no. 1 (2014): 5. 6 Lefebvre, Henry. Writings on cities. ed. and trans. Eleomore Kofman and Elizabeth Lebas. (Oxford: Blackwell, 1996). 88

“รฐั ประหาร พ้ืนที่ พลเมือง” Needs) ซึ่งเป็นความต้องการของมนุษย์ (Anthropological Needs) ที่มีหลายด้าน คือ ต้องการ ทั้งความรสู้ ึกทม่ี น่ั คงผสานกับความรูส้ ึกตื่นเตน้ ผจญภัย มนุษยม์ ิได้ต้องการทางานเพอื่ ยังชีพเท่านั้น แต่ต้องการกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ (oevre) 7 ด้วย อย่างไรก็ดี ความต้องการด้านนี้ถูกลด ความสาคญั ลง8 จากนัน้ เลอแฟรบวพิ ากษก์ ารศกึ ษาและการวางผังเมืองท่ถี กู ผูกขาดอยู่ในมอื ของสถาปนิก และนักผังเมืองว่า สถาปนิกดูเหมือนจะก่อร่างและสร้างความเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับความหมายของ พน้ื ทห่ี รอื สถานทตี่ า่ งๆ ด้วยการตีความของพวกเขาเอง แล้วกท็ าให้เปน็ ศัพท์แสงทางทฤษฎี รวมถึง สถาปนาให้เป็นสถาบันและเรียกการออกแบบนี้อย่างชอบธรรมว่า การวางแผน (Planning) ข้อผิดพลาดอย่างสาคัญของการออกแบบดังกล่าว ซึ่งเลอแฟรบเรียกว่า ระบบที่ปิดต่อผู้อยู่อาศัย คือ มองข้ามผู้คนที่รับรู้และอยู่อาศัยในพื้นที่นั้นๆ9 เขาเสนอว่า ศาสตร์ในการทาความเข้าใจเมือง ต้องการมุมมองทางประวัตศิ าสตรแ์ ละทางสังคมวิทยา พร้อมเน้นความสาคัญว่า ต้องผนวกรวมวิถี ของการอยู่อาศัยของผู้คนในเมืองเข้ากับการวางผังและออกแบบเมืองว่า คนที่อยู่อาศัยรับ ความหมาย (Reception) และปรับเปลี่ยนความหมาย (Adoption) โดยการกระทาและปฏิบัติการ ของพวกเขาอย่างไร10 จากน้นั เลอแฟรบไดก้ ลา่ วถงึ สทิ ธิตา่ งๆ (Rights) ว่า นบั แตห่ ลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 สิทธิ ทเ่ี ปน็ นามธรรมไดถ้ กู ทาให้เปน็ รปู ธรรมข้ึน ไม่วา่ จะเป็นสิทธิตามอายุและเพศ เช่น สิทธิของผู้หญิง ผู้สูงอายุ และเดก็ สทิ ธิตามสถานภาพ เชน่ ผ้ใู ช้แรงงาน ชาวนา สทิ ธทิ ีจ่ ะได้รบั การอบรม การศึกษา การทางาน วัฒนธรรม การพักผอ่ น สขุ ภาพ ทีอ่ ยอู่ าศยั เขากลา่ วตอ่ ไปถงึ สทิ ธทิ ี่จะเขา้ ถึงธรรมชาติ (right to nature) เพราะสังคมให้ความสาคัญกับการพักผ่อนหย่อนใจ (leisure) ซึ่งเป็นสิทธิ ส่วนรวมที่จะไม่ถูกรบกวนจากมลภาวะที่กระจุกตัวอยู่ในพื้นทีข่ องเมืองอันเนื่องมาจากความเสื่อม โทรมลงของเมือง แต่ข้อทีน่ ่าประหลาดก็คือการเข้าถงึ สิทธทิ างธรรมชาติถูกกาหนดด้วยแง่มุมด้าน คณุ ค่าในการแลกเปล่ยี น (Exchange Value) คอื เป็นสินคา้ สาหรับซ้อื และขาย11 ในทน่ี ี้ เลอแฟรบ 7 เลอแฟรบ ใช้คาน้ซี ง่ึ เปน็ ภาษาฝร่งั เศส ที่มีความหมายลึกซ้ึงกว่า งาน (work) ทั่วไป แตเ่ ป็นงานเชิงศลิ ปะ 8 Lefebvre, Writings on cities, 147. 9 Lefebvre, Writings on cities, 152-153. 10 Ibid., 153-154. 11Ibid., 158. 89

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 หมายถึง การปรับปรุงพื้นที่ธรรมชาติให้สวยงาม แต่ก็เป็นพื้นที่ท่ีถูกทาให้เป็นสินค้า การเข้าถึงมี ราคาที่ตอ้ งจ่าย ดงั น้ันการเขา้ ถึงธรรมชาตจิ ึงไมใ่ ชส่ ทิ ธิทที่ ุกคนสามารถเข้าถงึ ได้ เลอแฟรบเรียกสิทธิที่ถูกทาให้เป็นสินค้าว่า สิทธิเทียม (Pseudo-Right) ต่างกับ สิทธิท่ี จะมสี ่วนรว่ มในเมือง (the Right to the City) ที่เขากาลงั นาเสนอ ซง่ึ ไมไ่ ด้มีความหมายแค่วา่ การ ได้ไปเยี่ยมชม หรือ กลับไปสู่เมืองในอดตี แต่เป็นสทิ ธิที่จะมีส่วนร่วมในการกาหนดชีวติ เมือง และ ให้ความสาคัญกับคุณคา่ ของการใช้สอย (Used Value) เหนือคุณค่าของการแลกเปลี่ยน กล่าวคือ เมืองต้องไม่ถูกพิจารณาในฐานะสินค้าท่ีผู้มีฐานะมั่งคั่งกว่าสามารถเข้าถึงไดม้ ากกว่า หากแต่เมือง จะตอ้ งเปน็ ทซ่ี ง่ึ คนเมืองทงั้ หลายตา่ งมสี ทิ ธิได้ใชพ้ ื้นท่เี มืองรว่ มกัน และเหนืออนื่ ใดคือคนทอ่ี าศัยอยู่ ในเมือง (Urban Inhabitants) ต้องมีส่วนในการกาหนดการใช้พื้นที่ของเมือง ไม่ใช่แค่เฉพาะ นายทุนเท่านั้นที่สามารถกาหนดและหาประโยชน์จากพื้นที่ของเมอื งด้วยการทาให้เป็นสินค้า และ กีดกันคนอีกจานวนมากจากการใช้พื้นที่ของเมือง เลอแฟรบ ย้าว่า งานศึกษาเมืองจาเป็นต้องเผย ให้เห็นความปรารถนาและความยากลาบากของคนกลุ่มต่างๆ ที่อยู่อาศัยในเมือง เช่น คนที่อาศัย อยูใ่ นย่านสลัมชานเมือง ชีวติ ของคนท่ีต้องต่นื แตเ่ ชา้ ว่งิ ออกจากท่พี ักไปสถานีรถไฟ แลว้ ก็แออัดอยู่ ในรถไฟเพอ่ื ไปทางาน จากนนั้ ก็กลบั ท่พี กั ด้วยสภาพเดียวกัน พักผอ่ นไม่กชี่ ว่ั โมง แลว้ ก็ต้องทาแบบ เดียวกันในวันรุ่งขึ้น ภาพของชีวิตที่ย่าแย่เช่นนี้ ไม่ควรถูกปล่อยให้ผ่านเลยไป เพียงเพราะมันถูก กลบเกล่อื นดว้ ยความพึงพอใจของคนทไี่ ดป้ ระโยชนจ์ ากสภาวะเชน่ นี้12 อยา่ งไรกด็ ี บทความชิน้ สาคญั ของเลอแฟรบจากต้นฉบับภาษาฝรงั่ เศสในปี 1968 กว่าจะ ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษและตีพิมพ์รวมในหนังสือ ชื่อ Writing on Cities ก็ปี 1996 แล้ว และ แนวคดิ ของเขามาไดร้ บั ความสนใจอยา่ งกว้างขวางเมอ่ื เดวิด ฮาร์วีย์ (David Harvey)13 นาแนวคิด ทีค่ อ่ นข้างเป็นนามธรรมของเลอแฟรบมาขยายความ ฮาร์วยี เ์ ปน็ นักวิชาการรว่ มสมยั แนวมาร์กซิสต์ ที่มีชื่อเสียงในด้านการวิเคราะห์ระบบเสรีนิยมใหม่ (Neo-Liberalism)14 เขาอ้างถึงแนวคิดของ เลอแฟรบที่ต้องการเรียกหาความยุติธรรมในเมือง และชี้ว่า หากเราตระหนักว่า เมืองเป็นพื้นที่ซึง่ ทุนนิยมแสดงออกมากท่ีสุด เมืองจึงเป็นสนามของการต่อสูท้ ี่สาคัญ ดังนั้น แนวคิดสิทธทิ ่ีจะมสี ว่ น ร่วมในเมอื งในทัศนะของฮาร์วยี ์จึงไม่ใชแ่ ค่การมสี ิทธทิ ี่จะเข้าถงึ สง่ิ ท่มี ีอยู่แลว้ แตห่ มายถึงสิทธิที่จะ 12 Ibid., 153-154. 13 Harvey, David. “The right to the city.” International journal of urban and regional research 27, no. 4 (2003): 939-941., Harvey, David. “The right to the city.” New Left Review 53 (2008): 23-40. 14 Harvey, David. A brief history of neoliberalism. (Oxford: Oxford University Press, 2007). 90

“รัฐประหาร พ้ืนท่ี พลเมอื ง” เปลี่ยนแปลงเมืองให้สอดคล้องกับสิ่งที่ใจปรารถนา เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า เราสามารถอยู่ อาศยั กับสิง่ ทเี่ ราเองได้สร้างสรรคข์ น้ึ 15 ในบทความทั้งสองชิ้นของฮาร์วีย์16 เขากล่าวถึงปรัชญาพื้นฐานเกี่ยวกับมนุษย์และเมือง โดยอ้างถึง โรเบิร์ต ปาร์ค (Robert Park) หนึ่งในนักสังคมวิทยาเมืองผู้ก่อตั้งสังคมวิทยาสานัก ชิคาโก (Chicago School) ในช่วง 1920-1930 ว่า ความพยายามที่ประสบความสาเร็จมากที่สุด ของมนุษย์คือ การเปลี่ยนโลกให้สอดคล้องกับความปรารถนา แต่เมืองซึ่งเป็นโลกที่มนุษย์ สร้างสรรคข์ ึ้นกลับเป็นโลกที่มนุษย์ถูกสาปให้ต้องอยูอ่ าศัย ดังนั้น เราจึงควรหนั กลบั มาสร้างสรรค์ เมืองในแบบที่เอื้อให้มนุษย์สามารถสร้างสรรค์ตัวเองขึ้นใหม่ด้วยพร้อมๆ กัน การพัฒนาเมืองที่ เป็นอยู่ทัว่ โลกทาให้การสร้างสรรคเ์ มอื งด้วยตัวเองกลายเป็นเรื่องยากมาก มนุษย์เราต่างสรา้ งและ ผลิตซ้าเมืองโดยที่เราไม่รู้เลยว่า เมืองนั้นถูกสร้างทาไม อย่างไร ที่ไหน และเพื่อเป้าหมายอะไร รวมถึงเราจะสามารถใชส้ ทิ ธทิ จี่ ะสร้างสรรค์เมอื งไดอ้ ย่างไร17 ฮาร์วีย์อธิบายว่า เมืองถูกสร้างขึ้นด้วยการผนวกผลผลิตส่วนเกินของดินแดนที่อยู่ ห่างไกลออกไป การควบคุมการแจกจ่ายผลผลิตนั้นก็อยู่ในมือคนไม่กี่คน เมืองและทุนนิยมจึง เป็นส่งิ ทีเ่ กิดขน้ึ ควบคูก่ นั เพราะทนุ นิยมตอ้ งการการผลิตเพ่อื สร้างมูลคา่ ส่วนเกิน แล้วนากาไรจาก ส่วนเกินนั้นมาลงทุนเพื่อผลิตซ้ามูลค่าส่วนเกิน ประวัติศาสตร์ของการสะสมจนเกิดทุนนิยมจึง ควบคไู่ ปกับกระบวนการกลายเปน็ เมอื งในระบบทนุ นิยม ซง่ึ เป็นระบบที่กระทาทุกวถิ ที างเพื่อสร้าง กาไรจากการผลิต หากเผชญิ อุปสรรคกต็ ้องหาทางจดั การแกไ้ ข เช่น หากแรงงานไม่มีคุณภาพก็ต้อง ทาให้มคี ุณภาพและมีวนิ ัย หรอื หากขาดแคลนแรงงานก็ตอ้ งแก้ไขด้วยการนาเข้าแรงงาน อย่างไรก็ ดี จนถึงจุดหนึ่งเมื่อระบบทุนนิยมไม่สามารถแก้ไขอุปสรรคที่ฝังอยู่ในตัวระบบได้ก็จะเกิดวิกฤติ สินค้าล้นตลาด จนกาไรและมูลค่าของเงินตราลดลงเพราะเงินเฟ้อ ถึงจุดนี้ฮาร์วีย์วิเคราะห์ว่า กระบวนการกลายเป็นเมือง (ควบคู่กับค่าใช้จ่ายทางการทหาร) มีบทบาทสาคัญในการดึงผลผลิต ส่วนเกินในระบบทนุ นยิ มมาชว่ ยฝ่าวิกฤติ18 ฮาร์วีย์ชีว้ ่า การปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1848 ปะทุขึ้นเพราะเกิดการว่างงานอย่างกว้างขวาง ในยุโรปจึงเกิดรัฐประหารโดยนโปเลียนในปี 1851 และแต่งตั้งตัวเองเป็นจักรพรรดิ วิธีการที่เขา 15 Harvey, “The right to the city”, 939. 16 Harvey, David. “The right to the city.” 2003; Harvey, David. “The right to the city.” 2008. 17 Harvey, “The right to the city,” 939. 18 Harvey, David. “The right to the city.” New Left Review 53 (2008): 24-25. 91

CMU Journal of Law and Social Sciences Vol.12 No. 2 รับมือกับปัญหาเศรษฐกิจ คือ การลงทุนในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานและนาจอร์จ ยูจีน เฮาส์แมน (Georges-Eugene Haussmann) มารับผิดชอบก่อสร้างโครงการสาธารณะในปี 1853 การสร้างเมืองได้ช่วยดูดซับแรงงานส่วนเกิน และทาให้เกิดเสถียรภาพทางสังคม เฮาส์แมนยัง ออกแบบเมืองปารีสใหม่ให้มีถนนกว้างถึง 120 เมตร จากเดิมมีผู้เสนอแบบถนนที่กว้างเพียง 40 เมตร รวมถึงต้องการสถาบันการเงินใหม่สาหรับกู้เงนิ มาลงทุน หรืออาจกล่าวได้ว่า โครงการสร้าง เมืองปารีสใหม่ของเฮาส์แมน ซึ่งใช้วิธีการดูดซับปัญหาทุนส่วนเกินด้วยการก่อหนี้เพื่อสร้าง สาธารณูปโภคพื้นฐานในเมือง เป็นการวางแผนกระตุ้นเศรษฐกิจแบบเคนส์ที่มาก่อนกาล (Proto Keyenesian System)19 โดยเศรษฐกิจแบบเคนส์คือการใช้เงินของภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในช่วงวกิ ฤติเศรษฐกิจตกต่า (the Great Depression) ในทศวรรษ 1930 ฮาร์วีย์ เปรียบเทียบวิกฤติและแนวทางที่ถูกใช้ในปารีสกับสหรัฐอเมริกาในช่วง 1940s ที่ประสบปัญหาทุนส่วนเกินจานวนมากและผู้คนก็กังวลเกี่ยวกับสภาวะความเป็นอยู่หลังสงคราม ในปี 1942 กลุ่มสถาปนิกได้กลับมาทบทวนและนาแผนงานของเฮาส์แมนที่ปารีสกลับมาใช้ใหม่ บทความของโรเบิร์ต โมเสส (Robert Moses) ใน Architectural Forum เสนอการเปลี่ยนขนาด (scale) ของการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของเมืองที่ไม่ใช่แค่ระดับของเมือง แต่ขยายสู่ระดับ มหานคร (Metropolitan region) ด้วยการก่อสร้างถนนระหว่างเมืองและย่านชานเมือง กระบวนการเปล่ียนผ่านเช่นนเ้ี กิดข้ึนในหลายเมอื งและมีบทบาทสาคัญในการทาให้เกิดเสถียรภาพ ของทนุ นิยมโลกในปี 194520 การขยายตัวของเมืองไปสู่ชานเมือง (Suburbanization) ในสหรัฐอเมริกา มิได้มีบทบาท เพียงแค่การเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐาน แต่ยังทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์อย่างสิ้นเชิง เช่นเดียวกับที่เมืองปารีสกระทาต่อชาวปารีส ได้แก่ เกิดการอุปโภคเครื่องใช้อย่างตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ รถยนต์ส่วนตัว และการบริโภคน้ามัน การอุดหนุนให้ชนชั้นกลางเป็นเจ้าของ บ้าน ยิ่งเป็นการส่งเสริมการปกป้องค่านิยมการมีทรัพย์สินและอัตลักษณ์ส่วนบุคคล อย่างไรก็ดี ถงึ แม้โครงการเหลา่ น้ีจะชว่ ยดูดซับทนุ ส่วนเกินและทาให้เกิดเสถียรภาพทางสงั คม แต่ต้นทุนที่ต้อง 19 Ibid., 25-26. 20 Ibid., 27. 92

“รัฐประหาร พน้ื ท่ี พลเมือง” แลกไปก็คอื เกิดสุญญากาศในใจกลางเมือง เพราะชนชั้นกลางย้ายออกไปนอกเมือง และเกิดความ ไมส่ งบในหมู่คนทไี่ ม่สามารถเข้าถงึ ความม่ังคง่ั แบบใหม่ โดยเฉพาะชาวอเมริกันเชือ้ สายแอฟรกิ า21 ในสถานการณ์ปัจจุบัน เมื่อทุนนิยมระหว่างประเทศเกิดปัญหา ไม่ว่าจะเป็นวิกฤติ เศรษฐกิจในเอเชียปี 1997 ที่รัสเซียในปี 1998 และอาร์เจนตินาในปี 2001 บทบาทของโครงการ ก่อสร้างในเมืองก็มีส่วนช่วยให้เกิดเสถียรภาพในสังคม อาทิ ในสหรัฐอเมริกา เมื่ออุตสาหกรรม เทคโนโลยีขัน้ สงู ล่มสลาย เพราะถูกเคลือ่ นยา้ ยไปต่างประเทศในช่วง 1990s อุตสาหกรรมก่อสร้าง ภาคอสงั หาริมทรพั ย์ ทง้ั ที่อย่อู าศยั และสานกั งานลว้ นมสี ่วนสาคัญในการดูดซับแรงงาน แต่ก็ทาให้ เกดิ ปญั หาตามมา คือ ราคาสง่ิ ปลกู สร้างในภาคอสงั หาริมทรัพย์สูงเกนิ ไป การขยายตัวของเมืองใน สหรัฐอเมริกายังมีผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจโลก โดยที่สหรัฐอเมริกาเสียดุลการค้าให้กับประเทศ อื่นๆ และต้องกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ เพื่ออุดหนุนการบริโภคที่ไม่มีเสถียรภาพและสงครามที่ สหรฐั อเมรกิ ากอ่ ขน้ึ เอง22 แต่ส่งิ สาคัญที่เกิดในระบบทุนนิยมรว่ มสมัยก็คือ กระบวนการขยายเมืองเพ่ือรักษาระบบ ทุนนิยมนี้ได้ขยายขนาดมากขึ้นเป็นระดับโลก ดังเช่นการขยายตัวอย่างรวดเร็วของตลาด อสังหาริมทรัพย์ในอังกฤษ สเปน และประเทศอื่นๆ ซึ่งเกิดขึ้นในทิศทางเดียวกับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะการกลายเป็นเมืองของจีนในช่วงยี่สิบปีหลังที่มีการก่อสร้ างสาธารณูปโภคพื้นฐาน มากมายและมีผลต่อทุนนิยมโลก นบั แตป่ ี 2000 จีนเปน็ ประเทศทบ่ี ริโภคซเี มนตเ์ กือบครึ่งหนึ่งของ โลก การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งเขื่อนและถนนสายใหญ่ได้เปลี่ยนภูมิทัศน์ของเมือง และ บริโภควัตถุดิบจากหลายประเทศ เช่น ทองแดงจากชิลี รวมถึงวัตถุดิบจากบราซิล ออสเตรเลีย อาร์เจนตนิ า่ 23 กระบวนการกลายเป็นเมืองที่มีอิทธิพลต่อทุนนิยมโลก เกิดขึ้นในขนาดใหญ่กว่าที่เฮาส์- แมนเคยจินตนาการเมื่อครั้งสร้างเมืองปารสี มาก รวมถึงนวัตกรรมทางด้านการเงิน ซึ่งมีการจัดต้ัง กองทนุ ใหป้ ระชาชนจากท่วั โลกสามารถลงทุนในกองทุนโครงสรา้ งพื้นฐาน บ่งชถ้ี ึงการขยายตัวของ ทุนนิยมที่ควบคู่กับการกลายเป็นเมือง อย่างไรก็ดี อีกด้านหนึ่งกระบวนการเช่นนี้ก็ส่งผลให้ความ เสี่ยงขยายตัวเพิ่มมากขึ้นด้วย ดังเช่นการเกิดขึ้นของที่อยู่อาศัยตลาดรอง (Sub-Prime Market) 21 Ibid., 30-31. 22 Ibid., 29. 23 Ibid., 29-30. 93


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook