Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

BPI

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:38:52

Description: BPI

Search

Read the Text Version

1 รปู แบบการนําเสนอแนวปฏิบัติท่ีดี โครงการประชุมสมั มนาเครอื ขา ยการจัดการความรูฯ คร้ังท่ี12 “การจดั การความรสู ูม หาวทิ ยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรบั อาจารย/ บุคลากรสายสนบั สนนุ / นกั ศึกษา ชือ่ เร่ือง/แนวปฏบิ ัติที่ดี การสรา งสรรคส ื่อการเรียนการสอนพิณอยา งยง่ั ยนื ชื่อ-นามสกุล ผูนาํ เสนอ นายโยธิน พลเขต ชื่อสถาบันการศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปรอ ยเอด็ หนวยงาน สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม เบอรโทรศัพทม อื ถือ 065-0941493 เบอรโทรสาร 043-511403 E-Mail address [email protected]

2 องคประกอบประเด็นการเขียนบทความแนวปฏบิ ัติท่ีดี โครงการประชมุ สมั มนาเครอื ขายการจดั การความรูฯ ครง้ั ที่12 “การจัดการความรูส ูมหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรบั อาจารย การสรางสรรคสือ่ การเรียนการสอนพณิ อยา งยง่ั ยนื The Creating a Sustainable Phin Teaching Media นายโยธิน พลเขต ตาํ แหนง ครูวทิ ยฐานะ ชาํ นาญการพิเศษ วิทยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอด็ E-mail address: [email protected] .......................................................................................................................................................... บทสรุป การสรางสรรคสือ่ การเรยี นการสอนพณิ อยา งยงั่ ยนื พณิ เปน เครือ่ งดนตรพี น้ื บา นอสี านประเภทเคร่อื งดดี ท่ีมคี วาม ไพเราะ และมคี วามโดดเดนคือเปน เคร่อื งดนตรีที่ดําเนินทาํ นองหลัก และมเี ทคนิคลีลาท่สี นุกสนานเราใจ จะเห็นไดจากบทบาท หนาทขี่ องพณิ ท่ีมอี ยูในวงดนตรพี ื้นบา นประเภทตางๆ เชน วงโปงลาง วงกลองยาวประยกุ ต วงดนตรหี มอลํา หรือแมก ระทงั่ วง พณิ ที่มพี ณิ เปน เครื่องดนตรหี ลกั เปนตน ดังนนั้ องคความรแู ละเทคนคิ ในการบรรเลงพณิ ใหม ีความไพเราะ จงึ เปน ความรูท ่คี วร ศึกษาเพ่ือจัดทาํ หรือสรางสรรคเ ปน ส่อื การเรียนการสอนพิณอยางย่งั ยืน ใหคงอยสู ืบไป วตั ถุประสงคใ นการจัดการความรูใน คร้งั นเ้ี พอื่ ศึกษากระบวนการและสรางสรรคสื่อการเรียนการสอนพิณอยางยงั่ ยนื ดาํ เนินการจัดเกบ็ ขอ มลู โดยการสมั ภาษณแ ละ สงั เกตแบบมสี ว นรวม ผลการดาํ เนนิ งานการสรางสรรคสอ่ื การเรยี นการสอนพิณอยา งย่งั ยนื ทาํ ใหคนพบเทคนิควธิ ีการบรรเลง พิณและผเู ขา รว มโครงการศึกษาสื่อการเรียนการสอนพิณอยางยง่ั ยนื มคี วามรูความเขา ใจสามารถปฏบิ ัตพิ ิณไดต ามตน แบบ สวนความไพเราะของการบรรเลงอยใู นระดับดแี ละปานกลาง เนือ่ งจากปจ จัยสาํ คัญคือการศึกษาสือ่ การเรยี นการสอนพณิ อยา ง ยั่งยืนใหป ระสบความสําเรจ็ ไดน ้ัน ผูศกึ ษาจะตอ งใชเวลาในการศึกษาและปฏบิ ัติ ผลจากการสรางสือ่ การเรียนการสอนพณิ ดังกลาว สามารถเปนแนวทางในการนําผลไปปรบั ใชใ นการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาผเู รยี นใหมีศกั ยภาพในระดบั สูงขนึ้ Summary คาํ สาํ คัญ การสรางสรรค สือ่ การเรยี นการสอน พณิ ยง่ั ยืน The Phin is a folk instrument of Isan.There is a distinctive musical instrument that performs the main melody.And there are exciting techniques.It can be seen from the role of the harp in various folk bands

3 such as Pong Lang, Long Band, Drum Band, Orchestra, or even a harp with a mandolin as its main instrument.So the knowledge and techniques to play the harp melodious. This is a knowledge that should be studied to create or create a sustainable teaching phin. Keep alive The purpose of this knowledge management is to study the process and create a sustainable teaching of the harp.Collect data by interview and observation. Performance of creative teaching of harp rhymes. The technique of playing the harp and the participant in the study of the harp. Have knowledge and practice the harp by the master.The melody of the play is good and moderate.The key factor is the study of sustainable harp instructional media.The student must spend time studying and practicing. The result of the creation of the teaching harp.It can be used as a guideline to apply the results in teaching and learning to develop students with higher potential. บทนํา ความรดู านดนตรพี ื้นบานอสี าน เกดิ จากภมู ิปญญาของบรรพชนท่ีสบื ทอดมาถงึ ปจ จบุ นั จากรนุ สรู นุ โดยสว นใหญเปน ความรใู นตัวคน (Tacit Knowledge) ท่นี บั วันจะสูญหายไปตามตวั คน อันสบื เนอ่ื งมาจากขาดการจดั เกบ็ จัดการและเผยแพร องคความรูในดานดงั กลาวอยางเปนระบบ ทาํ ใหอ งคความรูดานดนตรพี นื้ บานอีสานเกยี่ วกบั พิณ นับวนั จะสูญหาย ทําใหเกดิ การขาดสูญทางวฒั นธรรมเหมอื นในอดีตท่ีผานมา จึงควรเรงศึกษาองคค วามรูดานการบรรเลงพิณจากศลิ ปนทีม่ ชี ือ่ เสยี งและมี ความเช่ียวชาญคือ นายทองใส ทับถนน นายบุญมา เขาวง และนายทรงศกั ด์ิ ประทมุ สินธุ ซ่งึ ทั้งสามทานเปน ผูเชยี่ วชาญ ดานดนตรีพ้ืนบานอีสานทม่ี ีชอ่ื เสียงเปน ท่รี จู กั เปน อยางดี โดยเฉพาะองคค วามรดู า นเทคนคิ วิธกี ารบรรเลงพิณที่ทาํ ใหเ กดิ ความ ไพเราะ การทาํ ใหเ สียงพณิ มีคุณภาพเปน สงิ่ ท่ีมคี ุณคาอยา งย่งิ จึงควรมกี ารจดั เกบ็ องคความรูขอมลู ตา งๆในรูปแบบทีเ่ ปน เอกสารสอ่ื การเรียนการสอน และจดั ทาํ เปน วดี ที ศั นเพอ่ื พัฒนาองคความรู ภมู ปิ ญญาดา นการบรรเลงพิณใหเปน แหลงสบื คน สาํ หรับผเู รียนและผทู ่สี นใจศึกษาสืบไป ปญหาของกระบวนการหรือวธิ กี ารดําเนินงานที่ผา นมา กอ นจะมกี ารจัดการความรเู รื่อง การสรา งสรรคสอ่ื การเรียน การสอนพณิ ยงั่ ยืน ไมคอยมผี ูใ หความสนใจอยากศึกษาเรื่องนเ้ี ทา ท่คี วร ทัง้ นเ้ี หตุเพราะขาดความเขาใจและตระหนกั ถึง ความสําคัญขององคค วามรูท ีม่ ีในตวั ศิลปน เยาวชนมองไมเ หน็ คุณคาของเครอ่ื งดนตรพี ณิ หรืออาจเปน เพราะอทิ ธพิ ลของ วัฒนธรรมตะวันตกเขามาครอบงาํ ผูทีจ่ ะฝก ดดี พิณตอ งมคี วามขยนั อดทน มงุ มน่ั มีความละเอียดออ น ตองมสี มาธแิ ละเปนคน ใจเย็น จงึ จะประสบความสําเร็จในการฝก พณิ สามารถนาํ ความรไู ปบรรเลงในงานตางๆ นําไปประกอบอาชีพสว นตวั หรอื เปด สอนนักเรยี นเปน การสรา งรายไดใ หกบั ตนเอง ดงั นั้นถือวาองคค วามรูเก่ยี วกับพิณ เปนความรทู ี่มีคุณคา และเปนประโยชนตอ สงั คมประเทศชาติอยา งแทจริง วิธกี ารดําเนนิ งาน จากการดําเนนิ งานดา นการเรยี นการสอนของสาขาวิชาศลิ ปะดนตรีและการแสดงพ้ืนบา นอีสาน โดยรบั ผิดชอบ การจัดการเรียนการสอนหลกั สูตรศลิ ปะดนตรแี ละการแสดงพ้ืนบานอีสาน จดุ เร่ิมตนของแนวคิดหรือแรงบันดาลใจในการ ดาํ เนินการจดั การความรูค รงั้ นค้ี ือ รายวิชา ทกั ษะพณิ ที่เปด สอนในหลักสตู รศิลปะดนตรแี ละการแสดงพ้ืนบา นอีสาน วิทยาลัย นาฏศลิ ปรอยเอ็ด สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป กระทรวงวัฒนธรรม ยังไมมตี าํ ราหรือเอกสารประกอบการสอนในรายวชิ าดงั กลา ว และในเวลาทต่ี อ งการศึกษาเทคนิควธิ กี ารบรรเลงลายตางๆ นักศึกษากไ็ มส ามารถสบื คน หรือแสวงหาความรดู านลายเพลงท่ี ตอ งการ ทําใหนกั ศึกษาบางคนเกดิ ความทอถอยหมดกาํ ลงั ใจในการศกึ ษา บางคนท่อี ยากเลนพิณแตไมข วานขวยในการ

4 แสวงหาองคความรู กย็ ิ่งเกิดทัศนคติทไี่ มด ี ไมสนใจศกึ ษาเคร่อื งดนตรีและลายเพลงในหลักสตู ร ดว ยเหตุผลและความสําคัญ ดงั กลาว สาขาวชิ าศลิ ปะดนตรีและการแสดงพนื้ บา นอสี าน จงึ มแี นวความคดิ ทจี่ ะศึกษาองคความรเู รอื่ ง การบรรเลงพิณ จากศิลปนผูเช่ยี วชาญดานพณิ คือ นายทองใส ทับถนน นายบุญมา เขาวง และนายทรงศกั ด์ิ ประทมุ สินธุ เพือ่ นําเอาองค ความรูด ังกลา วมาจดั เก็บและจําแนก วเิ คราะหเพ่อื ศึกษาและสรางสรรคเปน ส่อื การเรียนการสอนพณิ อยา งย่ังยนื ตอ ไป การดาํ เนนิ งานโครงการจดั การความรูสรา งสรรคส่อื การเรยี นการสอนพณิ อยา งยั่งยืนมวี ตั ถปุ ระสงคเพอ่ื ศึกษาเทคนิค วิธีการบรรเลงพณิ ลายเพลงท่ใี ชบ รรเลงพณิ และเพอ่ื สรางสรรคส อ่ื การเรยี นการสอนพิณย่ังยนื จึงดําเนนิ การเสนอโครงการ จดั การความรู เร่ือง การสรางสรรคสือ่ การเรยี นการสอนพณิ ย่ังยืน นําเสนอตอ ฝา ยวจิ ยั และนวตั กรรม สถาบันบณั ฑิตพัฒน ศิลป กระทรวงวัฒนธรรม เมอ่ื ไดร ับอนุมัติโครงการจากสถาบนั แลว จึงเริ่มดาํ เนินการโครงการตามแผนงานและกระบวนการ จดั เก็บองคค วามรู 7 ขัน้ ตอน ดามลาํ ดบั หัวขอ ดงั น้ี 1. การบงช้ีความรู วิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอด็ มวี สิ ัยทศั น คอื เปน แหลงเรยี นรูดา นดานวิชาชพี เฉพาะทางท่ีไดมาตรฐานทางดา น วิชาการและศิลปวฒั นธรรม เปน ทีย่ อมรับในสังคมระดบั ชาติ โดยมปี ณิธานคอื มงุ มัน่ ศึกษา สืบสาน สรา งสรรค ทํานบุ าํ รุง และเผยแพรศ ลิ ปวฒั นธรรม มีพนั ธกจิ ท่สี ําคญั คอื พฒั นาวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอ็ดใหเ ปนแหลงเรียนรดู า นวชิ าชพี เฉพาะทาง ในดา นวชิ าการ และศิลปวฒั นธรรม ยกระดบั คณุ ภาพทางดา นวิชาชพี เฉพาะทางใหไดม าตรฐานดานวชิ าการ และ ศลิ ปวัฒนธรรมยกระดบั คณุ ภาพครู และบคุ ลากรทางการศึกษาท้ังระบบ พฒั นาผเู รยี นใหเปน บุคคลทมี่ คี วามรทู างดา นวิชาชพี เฉพาะทางทีไ่ ดมาตรฐานในดา นวชิ าการ และศิลปวฒั นธรรม จัดการองคความรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และการเผยแพรใ หเ ปน แหลงความรใู นระดับชาติ ยุทธศาสตรเ ปาหมายในครงั้ นี้คือ ศึกษาและการสรางสรรคส ่อื การเรียนการสอนพิณอยางย่ังยืน และ เพ่ือใหโครงการจดั การความรูบรรลุถึงเปา หมาย จึงเก็บขอมูลโดยใชว ิธกี ารสมั ภาษณ การสงั เกตและการสนทนากลุม ดําเนนิ การปรกึ ษาผูเชีย่ วชาญดานสอื่ การสอน เพ่ือใหความรแู ละชแี้ นะแนวทางในการสรางส่ือการเรยี นการสอนดนตรพี ้นื บาน ใหม คี ุณภาพ 2. การสรา งและแสวงหาความรู ขนั้ ตอนการสรา งความรใู หม โดยการแสวงหาความรูจากศิลปน ผูเชยี่ วชาญดานดนตรีพนื้ บา นอีสานจากภายนอก คือ นายทองใส ทบั ถนน นายบญุ มา เขาวง และนายทรงศักด์ิ ประทุมสนิ ธุ โดยการเชญิ ทา นเปนวทิ ยากรในการบรรยาย และสาธิตการบรรเลงพณิ อยา งละเอยี ดทุกขน้ั ตอน โดยเปน ความรูใหมท่เี ปนประโยชนต อ การแสวงหาความรู รวมถงึ จดั การ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการดานบรรเลงพิณทสี่ าขาวิชาศลิ ปะดนตรีและการแสดงพน้ื บาน วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอยเอด็ สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม มีการบนั ทึกขอ มูลเปนเอกสารและวดี ีทศั น 3. การจดั ความรูใหเปนระบบ เกยี่ วกบั การจดั การความรูใหเ ปน ระบบ เพอ่ื เปน การวางโครงสรา งความรู เพ่ือเตรยี มพรอมสาํ หรบั การเกบ็ ความรอู ยางเปน ระบบในอนาคต จงึ มีการรวบรวมองคความรทู ่มี ีอยูในตัวศิลปน ผเู ชีย่ วชาญดา นดนตรีพ้ืนบา นอีสาน(พิณ) ประกอบดว ย เทคนคิ การบรรเลงพิณและลายพณิ ซ่งึ กระจัดกระจายอยูในตัวศิลปนและเอกสารตา งๆ มาพัฒนาใหเ ปนระบบ โดยจําแนกขอมลู องคความรใู นแตละประเด็น เชน การจับไมด ดี กลวิธกี ารดีด ทาทางการดีด และทาํ นองของลายเพลง รวมถงึ ระบบเสียงของพิณในการบรรเลงลายตางๆท่ใี ชระบบเสยี งท่แี ตกตา งกัน เปนตน เม่ือดําเนินการจัดการความรโู ดยการจาํ แนก ขอมูลใหเปนระบบแลว จึงเรมิ่ ขน้ั ตอนในการประมวลและกลั่นกรองความรู 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู

5 ขน้ั ตอนในการประมวลและกล่ันกรองความรู โดยการระดมความคิดในการปรบั ปรุงรูปแบบของส่อื การเรียนการ สอนพิณอยา งย่ังยืนใหม คี วามเปน มาตรฐาน ตรวจสอบความถูกตอ งของโนต ลายเพลง ตรวจสอบภาษาที่ใชในสอ่ื การเรยี นการ สอน ปรบั ปรงุ เนอ้ื หาใหมีความสมบูรณ ถกู ตองและมคี วามทนั สมยั โดยใชก ารสนทนากลมุ จากน้นั นาํ ไปใหผ เู ชี่ยวชาญดานสอ่ื การเรยี นการสอนตรวจสอบความถูกตองของเนอ้ื หาและกระบวนการ แลว นาํ ขอแนะนาํ ดังกลา วมาปรบั ปรุงแกไขใหมคี วาม สมบรู ณ จงึ นาํ สือ่ การเรยี นการสอนพณิ อยางยง่ั ยนื ดงั กลาว มาจดั พมิ พเปนรูปเลม ประกอบวดี ที ศั นการบรรเลงพณิ เพ่อื นาํ มาใช ในการเรยี นการสอนในรายวชิ า ทกั ษะพิณ สําหรบั นักศึกษาในสาขาวิชาและผูสนใจตอไป 5. การเขา ถึงความรู การเขาถึงความรโู ดยนําองคค วามรแู ละสอ่ื การเรยี นการสอนที่ไดปรบั ปรุงเนื้อหาใหมีความสมบูรณถกู ตองและ ทนั สมัยแลว มาเผยแพรแ ละแบง ปน โดยการอับโหลดขอ มูลลงในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board ของทาง วทิ ยาลัยฯ ทางชองทางยทู ปู หรือ แฟนเพจ เฟสบคุ ฝา ยประชาสัมพนั ธ วทิ ยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป ตอ ไป เพื่อใหผูเรยี นและผทู ่ีมีความสนใจดนตรพี นื้ บานอสี าน(พิณ) ไดศ ึกษา องคค วามรแู ละกลวิธกี ารบรรเลงพิณ สามารถ เขา ถึงความรทู ต่ี อ งการไดงายและสะดวก โดยไมจ าํ กัดเวลา และสถานท่ี 6. การแบง ปนแลกเปลี่ยนความรู การแบง ปนแลกเปล่ียนเรยี นรู โครงการจัดการความรู เรอ่ื ง การสรางสรรคส่อื การเรยี นการสอนพณิ อยาง ยัง่ ยนื โดยจัดทําเปนเอกสาร ฐานความรู เทคโนโลยสี ารสนเทศ การจดั อบรมเพือ่ ถา ยทอดเทคนิคการบรรเลงพิณ หรอื อบรม เชิงปฏิบัติการบรรเลงพณิ หรือจดั เวทีแลกเปลีย่ นความรูเร่ือง การบรรเลงพิณ 7. การเรียนรู การเรียนรู คอื ทําใหการเรียนรูเ ปนสวนหนงึ่ ของงาน การเรยี นรรู วมกนั ของคณะกรรมการจดั การความรแู ละ นักศึกษา ผา นการปฏิบัตคิ ือการเรียนรูเทคนคิ การบรรเลงลายเพลงพื้นบา นอีสาน ทําใหเกิดระบบการเรียนรจู ากการสรา งองค ความรู การนาํ ความรูท่ีไดรับไปใชในการบรรเลงในวงดนตรีพืน้ บานอสี านประเภทตา งๆ รวมทง้ั มกี ารเขา ไปปรับปรุง พัฒนา แนวทางดําเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชเคร่ืองมอื การจดั การความรูทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ มีขอบเขตของการดาํ เนินงาน อยา งชัดเจน สรุปผลและอภิปรายผลการดําเนนิ งาน การดําเนนิ กิจกรรมการจดั การความรกู อใหเกดิ องคค วามรูใ หมท ่ีมคี ุณคาเก่ียวกับกระบวนการสรางสรรคเปน สือ่ การเรยี นการสอนพณิ อยา งยัง่ ยืน สามารถสรุปกระบวนการได 7 ขั้นตอนดงั น้ี ข้นั ที่ 1 การบง ชคี้ วามรู เปน การพจิ ารณาวาจะทาํ อยางไรใหวิทยาลยั สามารถบรรลเุ ปา หมาย โดยจะคัดเลือกวา จะใช เครอ่ื งมืออะไร และขณะน้เี รามีความรอู ะไรบาง อยใู นรปู แบบใด อยทู ใ่ี คร โดยพจิ ารณาจากวิสยั ทัศน พันธกจิ ยทุ ธศาสตร เปา หมายของวิทยาลัยพบวา มีปณิธานคือมงุ มน่ั ศกึ ษา สบื สาน สรา งสรรค ทาํ นุบาํ รุง และเผยแพรศิลปวฒั นธรรมมพี ันธกจิ ท่ี สําคญั คอื พัฒนาวทิ ยาลัยนาฏศิลปรอ ยเอด็ ใหเปนแหลงเรียนรดู า นวิชาชพี เฉพาะทางในดานวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม ยกระดบั คณุ ภาพทางดานวิชาชพี เฉพาะทางใหไดมาตรฐานวชิ าการ และศลิ ปวัฒนธรรมยกระดบั คุณภาพครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษาทงั้ ระบบ พัฒนาผูเ รียนใหเปนบคุ คลท่มี ีความรทู างดานวิชาชีพเฉพาะทางท่ไี ดม าตรฐานในดานวิชาการ และ ศลิ ปวัฒนธรรม จัดองคความรูท างศิลปวฒั นธรรม และการเผยแพรใหเปนแหลงความรูในระดับชาติ สว นเปา หมายทาง ยทุ ธศาสตรของทางวิทยาลยั ในครง้ั นี้คือ การสรา งสรรคส ่ือการเรียนการสอนพณิ อยางยัง่ ยืน และเพอ่ื ใหโครงการจัดการความรู บรรลุถงึ เปาหมายทต่ี ง้ั ไว จึงเกบ็ ขอ มูลโดยใชว ิธีการสมั ภาษณ การสงั เกตและการสนทนากลมุ จดั เก็บขอมลู ดาํ เนินการ

6 ปรกึ ษาผูเ ช่ยี วชาญดานสอื่ การสอน เพ่ือใหค วามรแู ละคําแนะนําแนวทางในการสรา งสอ่ื การเรยี นการสอนดนตรพี น้ื บา น(พณิ ) อยา งย่ังยนื ใหม ีคณุ ภาพ ขนั้ ท่ี 2 การสรา งและแสวงหาความรู การสรางและแสวงหาความรูในคร้งั นี้ โดยการสรา งความรูใหม และแสวงหาความรูจ ากภายนอก โดยการสัมภาษณ สงั เกต และสนทนากลมุ รวมกบั ศลิ ปน พื้นบานอีสานทมี่ คี วามเช่ียวชาญ สวนความรูเ ดมิ ที่มคี ุณคาและเปน ประโยชนกเ็ ก็บรักษาความรูดังกลา วไว สวนองคความรเู กา ท่ไี มส ามารถนาํ มาใชไดอกี ก็กาํ จดั ความรูเหลา นนั้ ออกไปจาก ฐานขอ มูล ขน้ั ท่ี 3 การจัดความรูใ หเ ปน ระบบ โดยวางโครงสรา งความรู เพ่อื เตรยี มพรอมสําหรับการจดั เก็บความรูอยางเปนระบบ สามารถ เรยี กใชงานไดอ ยางรวดเรว็ และถูกตองในอนาคต

7 ภาพประกอบท่ี 1 การสัมภาษณ การสังเกต และสนทนากลุม ขั้นท่ี 4 การประมวลและกลน่ั กรองความรู การประมวลและกล่ันกรองความรูมขี ้นั ตอนดังนี้ 1) ปรับปรงุ รูปแบบเอกสารใหเปนมาตรฐาน ใชภาษาเดียวกนั 2) ปรบั ปรงุ เนื้อหาใหมีความสมบรู ณทนั สมยั ถูกตองและเหมาะสม ขัน้ ที่ 5 การเขาถึงความรู มขี ั้นตอนดงั น้ี 1) นําความรไู ปแบง ปนผา นชองทางโซเซยี ล เชน ไลน เฟสบคุ อนิ สตราแกรม ยทู ปู เปน การทาํ ใหผูใชความรเู ขา ถึงความรทู ตี่ องการไดง ายและสะดวก หรอื โดยการใชระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ(IT) 2) โดยการประชาสัมพนั ธและแบงปน องคค วามรูบน Web board ของทางวทิ ยาลัยอีกชอ งทาง หนึ่ง ขั้นที่ 6 การแบง ปนแลกเปลย่ี นความรู

8 การแบงปนแลกเปลีย่ นความรู ทําไดสองกรณไี ดแ ก Explicit Knowledge คอื จดั ทําเปนเอกสาร ฐานความรู และเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆ หรือ Tacit Knowledge จัดทําเปน ระบบ กิจกรรมกลุมคณุ ภาพและนวัตกรรม ชมุ ชนแหงการเรียนรู ระบบพีเ่ ล้ยี ง และจดั เวทกี ารแลกเปล่ียนความรู เปน ตน ข้ันท่ี 7 การเรียนรู มวี ธิ กี ารดงั น้ี โดยการทาํ ใหก ารเรยี นรูเปนสวนหนึ่งของงาน เชน การเรียนรูจากสรางองคความรู การนําความรูไปใช ใหเ กิดการเรียนรแู ละประสบการณใ หมๆ และนาํ ความรูทีไ่ ดไ ปหมนุ เวยี นตอไปอยา งตอ เนอื่ งดังภาพ ภาพประกอบที่ 2 นาํ ความรทู ีไ่ ดไ ปหมนุ เวยี นตอ ไปอยา งตอ เนื่อง ปจจัยทท่ี ําใหเ กดิ ผลสําเรจ็ ปญ หา อปุ สรรคและแนวทางแกไ ขของการดาํ เนินกิจกรรมจัดการความรู การดาํ เนินการ จัดการความรเู รอื่ ง การสรางสรรคส ือ่ การเรียนการสอนพิณอยา งยง่ั ยนื สามารถอภิปรายผลทเ่ี กดิ จากการดําเนินกิจกรรม ดังกลา วท่ีเกดิ ผลกระทบทเ่ี ปนประโยชน โดยจําแนกเปนดานตา งๆ ดังนี้ ๑. ดานผเู รยี น ผลจากการดาํ เนินการจัดเกบ็ องคค วามรเู ร่ือง การสรางสรรคส อ่ื การเรียนการสอนพณิ อยา งย่ังยืน มีการนํา สื่อการเรียนการสอนพิณอยางย่งั ยนื ท่ปี ระกอบดว ยเอกสารและวดี ที ศั นสาธติ การบรรเลงพณิ ไปใช ในขณะเดียวกันไดเ ชิญ ศิลปนผูเช่ียวชาญดา นดนตรพี ืน้ บานอีสาน(พณิ ) มาสาธิตและอบรมเชงิ ปฏิบัติการบรรเลงพิณโดยมนี ักศกึ ษามสี ว นรวมใน กิจกรรมทกุ กระบวนการ ตั้งแตข้ันตอนการเกบ็ ขอ มูลโดยวิธีการสงั เกตและสมั ภาษณศ ลิ ปน พื้นบานอีสานดานพิณ โดย นักศกึ ษาไดร วมกิจกรรมดังกลาวดวย ขน้ั การสาธิตและอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ นักศกึ ษามสี วนรวมในกจิ กรรมโดยการเขา รว ม อบรม เพอ่ื เกบ็ เอากลวธิ ีการบรรเลงพิณท่สี าํ คัญของศลิ ปน ทาํ ใหนกั ศึกษาทร่ี วมโครงการจดั เกบ็ องคความรดู า นการบรรเลงพณิ คร้งั นี้ เกิดองคค วามรใู หมใ นการบรรเลงพณิ ใหไ ดเ สยี งไพเราะวามีเทคนคิ กลวธิ อี ยา งไร กขารั้นสรา งสือ่ การเรยี นการสอนและ นําไปใช ทาํ ใหน ักศึกษาไดรบั ความรูความเขา ใจและสามารถพฒั นาศกั ยภาพดา นการบรรเลงพิณไดดีข้นึ เพยี งแตถาตองการจะ พัฒนาตนเองใหม ีฝมือมากขึน้ จะตองใชเวลาในการฝกฝนเพือ่ พฒั นาทักษะจนเกดิ ความชํานาญตอ ไป ๒. ดานผสู อน ผลจากการดําเนินการจัดเก็บองคความรูเ รือ่ ง การสรา งสรรคส ื่อการเรียนการสอนพณิ อยา งยัง่ ยืน จากการ สนทนากลมุ จากการสงั เกต ทําใหผ ูส อนทราบกระบวนการในการสรางสรรคสื่อการเรยี นการสอนพิณอยา งยั่งยืนทกุ ข้นั ตอน

9 สามารถนาํ องคค วามรดู งั กลาวมาเรียบเรียงเปนเอกสารประกอบการสอนรายวิชา ทกั ษะพณิ ในเน้อื หาเรอ่ื ง ความเปนมาและ สว นประกอบของพิณ การดแู ลรกั ษาพณิ ระบบเสยี งพณิ และกลวิธีการบรรเลงมาใชในการเรยี นการสอนในรายวิชา ทักษะพิณ ทําใหผูสอนในหลักสูตรวิชาศลิ ปะดนตรแี ละการแสดงพนื้ บา นอสี าน วทิ ยาลยั นาฏศิลปรอ ยเอด็ สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป มเี อกสารส่ปื ระกอบการสอน ส่ือและนวตั กรรมประกอบการเรียนการสอนในรายวชิ า ดนตรีพน้ื บานอสี าน(พิณ) ๓. ดา นสถานศึกษา ผลจากการดําเนินการจดั เก็บองคความรูเรอื่ ง การสรางสรรคส ่ือการเรยี นการสอนพิณอยางย่ังยนื ทําให สถานศึกษามสี ่ือและนวัตกรรมแหลงเรียนรเู พิม่ ขน้ึ กลา วคอื สาขาวิชาศลิ ปะดนตรีและการแสดงพ้นื บาน วทิ ยาลัยนาฏศิลป รอ ยเอ็ด สถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลปเ ปน แหลง เรยี นรทู ี่นา สนใจเพราะผูเรียนมีสื่อและนวัตกรรม มที กั ษะความสามารถในการ บรรเลงพณิ สาํ หรบั ผูท ่ีสนใจในเรือ่ งการบรรเลงพิณ สามารถนาํ มาศึกษาไดดวยตนเอง นอกจากนี้สถานศกึ ษายังมีเอกสารสื่อ และนวตั กรรมทจี่ ดั ทําขนึ้ เกีย่ วกับการจดั เก็บองคค วามรูภมู ิปญญาทองถน่ิ เรอ่ื ง “การสรา งสรรคสือ่ การเรยี นการสอนพิณอยา ง ยงั่ ยนื ” สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนใ นการพฒั นาตนเองดานการบรรเลงพิณ เปนการอนรุ ักษ สบื ทอดองคค วามรภู ูมปิ ญ ญาดา น ดนตรพี ้ืนบานอสี าน “พิณ” ใหคงอยคู ูกับประเทศชาติสืบไป ทําใหเกิดการพฒั นา กระบวนการทํางานในการปฏิบัติงานใน องคก ร การทาํ งานในขน้ั ตอไป ขอเสนอแนะวา ควรสรางเครือขา ยการเรยี นรทู ั้งในและตา งประเทศ โดยเฉพาะสงั คมโซเซยี ล มีเดีย เพ่ือแลกเปล่ียนองคความรูใหม นํามาใชพฒั นาตนเอง องคก ร เพื่อปรับตัวและเตรียมรับมือกับความเจริญทางเทคโนโลยี ทรี่ วดเร็ว ซึง่ สงผลกระทบตอ การดาํ เนินกจิ กรรมจัดเก็บองคค วามรูในอนาคตอยางแนนอน บรรณานกุ รม เจริญชยั ชนไพโรจน. หมอลาํ -หมอแคน. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรสมัย. (คณะกรรมการโครงการ สง เสรมิ หนังสอื ตามแนวพระราชดาํ ริ จดั พิมพอ อกเผยแพรร ะหวางงานสัปดาห หนงั สือ แหง ชาติ สวนภมู ิภาคเปนคร้ังแรก), 2526. . ดนตรีและการละเลน พนื้ บานอสี าน. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม, 2526. อัดสําเนา. สาํ เร็จ คาํ โมง. ดนตรีอสี าน : แคนและดนตรอี น่ื ๆ ที่เกย่ี วขอ ง. มหาสารคาม : ภาควิชาดนตรี คณะมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบนั ราชภฏั มหาสารคาม, 2538. สะอาด สมศรี. การศกึ ษาเร่ืองพันธไ มทใ่ี ชท าํ เครื่องดนตรีพน้ื บานอสี านในจังหวัดรอ ยเอ็ด. รายงานการศกึ ษาคน ควา อสิ ระ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2542. บุญโฮม พรศรี. พณิ อสี านกบั การเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรม : กรณีศกึ ษาจังหวัดอุดรธานี. วิทยานพิ นธ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2543. ประยุทธ เหลก็ กลา.“ซุงเครอื่ งดนตรขี องชาวตะวันออกเฉยี งเหนอื ,”คุรุสมั พนั ธ. 2 : 43 - 46 : กมุ ภาพันธ, 2521. โยธนิ พลเขต. องคค วามรแู ละภมู ิปญ ญาดา นดนตรพี น้ื บานอสี าน(พิณ) กรงุ เทพ ฯ : สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป, 2552. วรี ยุทธ สคี ุณหลิ่ว. เทคนคิ การบรรเลงพิณของศลิ ปนพืน้ บานอีสาน. วิทยานพิ นธ ศป.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2554.

10

โครงการประชุมสมั มนาเครือขายการจัดการความรูฯ คร้ังท่ี12 “การจัดการความรสู มู หาวิทยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) การประยกุ ตก ระบวนการวจิ ยั สูการพัฒนาการเรยี นการสอน Application of research processes to teaching and learning development นางสาวจรยิ า ตะลงั วทิ ย ตาํ แหนง อาจารย หนวยงาน คณะศิลปศกึ ษา สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป E-Mail address [email protected] ………………………………………………………………………………………………………..... บทสรุป ในการแลกเปลี่ยนองคค วามรขู องคณะศลิ ปศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการจดั การองคความรูดานการวจิ ัย คณะศลิ ปศึกษาไดม กี ารประชุมและหาขอ สรุปใน การแลกเปลยี่ นองคค วามรเู รื่อง การประยกุ ตกระบวนการวิจยั สูก ารพัฒนาการเรยี นการสอน โดยมีผลของการจดั การความรใู นประเดน็ ตางๆ ดังนี้ การสาํ รวจปญหาทีเ่ กิดข้นึ ในช้ันเรียนดวยกระบวนการวจิ ยั ผสู อนสาํ รวจหองเรยี นเพ่อื หาประเด็นในการวิจยั โดยสํารวจผเู รยี นรายบคุ คล ทดสอบ ถาม-ตอบ สังเกตแบบมีสว นรวม และสัมภาษณแ บบเจาะจงเพื่อเก็บขอ มูลในภาพรวม จากน้ันนาํ ขอ มลู มาวิเคราะหสาเหตุ เพ่ือหาแนวทางในการแกไ ข โดยศกึ ษาวธิ กี ารแกปญหาท่หี ลากหลายให เหมาะสมกับบรบิ ทของผูเรียนและชั้นเรยี น นอกจากนผ้ี ูส อนตอ งตรวจสอบความถนดั ของตนเอง เพอ่ื วางแผนการดําเนนิ การวิจัยหรือการจัดรปู แบบการเรียนการสอนใหเ หมาะสมกับผูเรยี นและ ความถนัดของผสู อน แลว จงึ ทาํ การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ งเพือ่ พจิ ารณาแนวทางในการนาํ กระบวนการวิจยั มาปรับใช สรา ง Research design เพื่อกาํ หนดวิธกี ารในการทาํ การวิจัยและ สรา งกรอบแนวคดิ ในการวิจัย ทสี่ าํ คัญผูสอนตองทํา กระบวนการ PAOR โดยทาํ กระบวนการ PAOR อยางนอย 2 รอบ

การวางแผนในการแกไขปญหาตามกระบวนการวจิ ยั จัดการสอนแบบ Active learning เพื่อใหผูเรยี นมีสวนรว มในการเรยี น ผูส อนตองสราง ความสงสยั ใหผ ูเรียน เพอ่ื เปนแรงขับในการคนควาหาคําตอบ แนะนาํ วิธกี ารที่จะใหไ ดม าซ่งึ ขอมูล ท่ตี องการ ฝก ฝนใหผูเรียนวิเคราะหข อมูล ประเมินและพิจารณาวาควรเช่อื ขอมลู จากแหลง ความรูใด มกี ารจัดทําสอ่ื ที่ชว ยใหผ เู รียนสามารถเขา ใจเน้ือหาของเร่ืองทส่ี อนไดช ดั เจน และใชก าร วัดและประเมนิ ผลโดยใหเพ่อื นในหอ งชวยกันประเมนิ รว ม หรอื ใชการประเมนิ แบบรอบดา น การใชกระบวนการวจิ ยั ในการจัดการเรียนการสอน ผูสอนควรสอดแทรกกระบวนการวจิ ยั ใหแ กผ ูเ รยี น เพือ่ ใหฝ กฝนทักษะการคิดวเิ คราะห สงั เคราะห การเขา ถึงแหลงขอ มูลและการประมวลผลขอ มลู ฝก ฝนผูเรียนใหสามารถสอบถาม สังเกต และสมั ภาษณบ ุคคล รวมถึงการศกึ ษาคนควาเอกสาร ตาํ รา เพ่ือศึกษารายละเอียดของ เนอ้ื หาท่ีตองการ ใหผูเรยี นลงพื้นทจ่ี รงิ สํารวจ ศึกษา และทดลองสมั ภาษณแ หลง ขอมลู ท่ีตอ งการ การกาํ กับและตดิ ตามผล การประเมินผล ตดิ ตามผลผเู รยี น ควรใชก ารสังเกต โดยผูสอนจะตอ งเปนนกั สังเกตและ นกั วิจยั ที่ดี มีการเฝาติดตามและบนั ทึกขอ มูลอยางเปนระบบ ควบคมุ กระบวนการวิจัยและการ จัดการเรียนการสอน ใชวิธีการเชงิ ระบบ เพ่อื เปน แนวทางในการดําเนินการและวิเคราะห ตรวจสอบ นํากระบวนการ PDCA มาใชเ พื่อพัฒนาใหเ กิดประสทิ ธิภาพสงู สุด คาํ สําคญั : การวิจัย การเรยี นการสอน วธิ กี ารเชงิ ระบบ PDCA PAOR Summary In the knowledge Management of the faculty of Arts 2018, The Research and Management Committee have a meeting and a conclusion on the exchange of knowledge. The application of research into teaching development with the effect of management of knowledge in the following issues: Survey of problems in the classroom with research process Instructor to explore research by surveying individual learners, testing, asking-answering, participatory observation and specific interviews to collect data in the overview then analyze the data for the cause to find solutions. Next step, study a variety of appropriate solutions with the context of learners and

classroom. Beside teachers must check their own aptitude to plan the implementation of research or the model of instruction to suitable for the learners and the aptitude of the instructor. After that review the literature to consider ways to apply the research process and create a research design to determine the method of research and create a conceptual framework for research. The instructor must complete the PAOR process at least 2 times. Planning to solve problems based on research processes Manage Active learning to allow participants to participate in their classes. The instructor must create a suspicion for the learner to be the driving force in finding answers suggesting ways to get the information, train students to analyze data. Assess and consider which should believe information. There should be a media that helps learners to understand the contents of the subject. And use measurement and evaluation by allowing friends in the room to help check or use a comprehensive assessment Using the research process in Instruction management Instructors should insert research processes for learners. In order to practice thinking skills, analyze, synthesize, access to data sources and data processing. Train students to be able to inquire, observe and interview people. Including studying and researching textbooks to study the details of the desired content allow students to enter the actual area, explore, study and experiment with the desired source of information. Compliance and follow-up Evaluation of learners follow-up results should use observation the instructor must be a good observer and researcher. There is a systematic monitoring and recording of information. Control the research process and teaching management use a systematic approach to be a guideline for

conducting and analyzing, examining, using the PDCA process to develop for most efficiency. Key Words: Research Instruction systematic approach PDCA PDOR บทนํา คณะศิลปศึกษาเปนหนวยงานท่มี ีภารกิจหลกั ในการผลิตบัณฑิตวิชาชีพครู สาขาวิชาชีพ เฉพาะ ดา นศิลปวัฒนธรร ม ซงึ่ นอกจากการจัดการเรียนการสอนแลวคณะศลิ ปศกึ ษายงั มีภารกิจ ในการจดั ทาํ งานวิจัยท้งั ในดานศลิ ปวฒั นธรรมและการเรยี นการสอน เพอ่ื นาํ ขอ มูลทไ่ี ดจ ากการ วจิ ัยมาพัฒนาการเรียนการสอนและธํารงไวซ งึ่ ศาสตรท างศลิ ปวฒั นธรรมใหค งอยคู กู บั แผน ดินไทย ดังน้ันคณะศิลปศึกษาจึงไดด าํ เนินการจัดเก็บองคค วามรเู กย่ี วกบั กระบวนการวจิ ยั ของผสู อนในทกุ สาขาวชิ าท่มี ปี ระสบการณเ ก่ยี วกบั งานวิจยั ท้งั ในดานศิลปวัฒนธรรม ดา นการเรยี นการสอน และ ไดนาํ เอากระบวนการวจิ ัยมาประยกุ ตใ ชในการจัดการเรียนการสอน เพ่อื พัฒนาการเรียนรูใ หแ ก ผเู รียน ซงึ่ นอกจะเปน ประโยชนแกอ าจารยข องสถาบันบณั ฑติ พัฒนศิลป และหนวยอนื่ ๆ ท่ี เกี่ยวขอ ง แลว ยัง สามารถนําไปเปนแนวทางในการ นํากระบวนการวิจัยมาพฒั นาการเรียนการ สอนใหมปี ระสทิ ธิภาพ หรือใชประโยชนด า นอืน่ ๆ ตอ ไป วธิ ดี าํ เนินการ กิจกรรมท่ี 1 การคนหาความรู คณะศิลปศกึ ษาไดด ําเนินการแตง ตง้ั คณะกรรมการจดั การความรดู านการ วิจยั ของคณะ และดาํ เนินการจดั ประชมุ คณะกรรมการฯ ขึ้น โดยทีป่ ระชมุ ไดม ีความเห็น รว มกนั เกยี่ วกบั การ ดําเนินการจดั การความรูดา นการวิจยั ของคณะ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 25 61 ในประเด็นเรื่อง “การประยกุ ตก ระบวนการวิจัย สูการพัฒนาการเรยี นการสอน” กิจกรรมท่ี 2 การสรา งและการแสวงหาความรู เมอื่ ไดขอ สรปุ เก่ียวกบั องคความรดู านการ วจิ ัยทีจ่ ะดาํ เนินการจัดเกบ็ ทางคณะกรรมการ ฯ จึงไดจ ดั ตง้ั KM Team และนดั หมายวัน เวลา ในการเสวนาแลกเปล่ียนประเดน็ ความรูเกีย่ วกบั การประยกุ ตกระบวนการวิจัย สกู ารพัฒนาการเรียนการสอน โดย KM Team ที่ไดด าํ เนินการ แลกเปลี่ยนองคความรูใ นคร้งั นีน้ ้นั เปน คณาจารยท่มี ี ผลงานวิจยั ทงั้ ในดานการเรยี นการสอนและ ดานศลิ ปวฒั นธรรม มปี ระสบการณ สอนอยางนอย 5 ป ของคณะศลิ ปศกึ ษา โดยกอนการเสวนา แลกเปลี่ยนไดม อบหมายให KM Team ศึกษา ทบทวนแนวทาง การประยุกตก ระบวนการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอนของตนเอง และแนวทางอน่ื ๆ ท่เี กีย่ วของ หรอื สนใจ โดย KM Team

มีการแลกเปลย่ี นเรียนรจู าํ นวน ไมน อ ยกวา 2 ครง้ั ตอเดือน รวมทง้ั สน้ิ 5 คร้ัง ซึง่ เปน การนําเสนอ โดย KM Team แตละคนๆ ละไมเ กนิ 3 นาที ท่เี หลอื รับ ฟง โดยไมเสนอความคดิ เห็นใดๆ ท้งั นี้ ฝายเลขานกุ ารของ KM Team เปน ผจู ดบนั ทกึ ประเดน็ องคความรูข องแตละรายบุคคล เพ่ือสรุป ในแตละครง้ั และเผยแพรใ ห KM Team ไดแลกเปลย่ี นกอ นการพูดคุยในครัง้ ตอ ไป และเมื่อ ดําเนนิ การเสวนาแลกเปลยี่ นแลว เสรจ็ คณะศิลปศกึ ษาไดด าํ เนินการจดั ทาํ เปนเอกสารเผยแพรใ ห คณาจารยภ ายในองคกรไดรับทราบและเรยี นรรู ว มกัน กจิ กรรมที่ 3 การจดั การความรใู หเ ปน ระบบ คณะศลิ ปศกึ ษาไดดําเนนิ การจดั ทาํ เอกสาร ส่ือ ที่เก่ียวกับองคค วามรูท่ีดาํ เนินการจดั เกบ็ รวมถงึ การจัดทําชองทางในการสบื คน เก่ียวกบั องคค วามรดู า นการเรยี นการสอนที่จัดเก็บไว เพือ่ ใหก ลุมเปาหมายซง่ึ ไดแ ก คณาจารยภ ายในคณะ รวมถงึ ผูสนใจท่ัวไป สามารถ เขาถงึ องค ความรทู ่ดี าํ เนนิ การจดั เกบ็ ไวไ ดโดยงาย สะดวกตอ การสืบคนและเผยแพร กิจกรรมท่ี 4 การประมวลและการกลนั่ กรอง เมอ่ื การดําเนินการจัดการองคค วามรแู ลวเสร็จ คณะศลิ ปศึกษาไดดาํ เนินการวิพากษ ผล การแลกเปลี่ยนความรูของ KM Team เพือ่ ดาํ เนนิ การจัดทาํ เอกสารขอสรปุ ท่ีไดจ ากการเสวนา และเปล่ียน เพอื่ ใหค ณะกรรมการ ฯไดต รวจสอบความถูกตองเน้ือหา ขอ สรปุ รวมถงึ การใชภาษา อกี คร้งั หนง่ึ กอนดาํ เนินการจัดทาํ รูปเลม และสอ่ื เพือ่ เปน การดําเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ ง ความครบถว น ของเนื้อหา ภาษา องคค วามรูทจ่ี ัดเกบ็ ใหต รงกบั การใชงานของกลมุ เปาหมาย มี การนยิ ามศัพท การกําหนดคาํ สําคัญในการสืบคน กิจกรรมที่ 5 การเขาถึงความรู เมื่อคณะศิลปศกึ ษาไดดําเนนิ การจัดทําองคความรทู ่จี ัดเกบ็ เปนรูปแบบของเอกสารหรือ ส่อื เพือ่ งา ยแกการเผยแพรแลว น้ัน ไดมกี ระบวนการในการเผยแพรอ งคความรูทจ่ี ัดเกบ็ ไปสู คณาจารยแ ละกลมุ เปาหมายในหลากหลายชองทาง โดยอาศัยกระบวนการทั้งแบบการปอน ความรู (push) และการใหโ อกาสเลือกใชความรู (pull) เชน การเผยแพรไปสูภาควิชาโดยการใช ระบบเอกสารทางราชการผา นบนั ทกึ ราชการ (push) การเผยแพรท าง Website/ Face book / บอรดประชาสัมพนั ธ/ และชอ งทางอื่นๆ ของคณะ (pull) เพือ่ งายแกก ารสบื คนและศกึ ษาคน ควา รวมถงึ การใหข อเสนอแนะตา งๆ

กจิ กรรมที่ 6 การแบงปนแลกเปลยี่ นความรู คณะศิลปศึกษาไดจ ดั เตรยี มชอ งทางการแลกเปลย่ี นองคค วามรูด า น การวจิ ยั ทไ่ี ด ดาํ เนินการจัดเก็บ ท้งั ในสวนของการแลกเปล่ยี นและเสวนาของบคุ ลากรภายในคณะ ดวยการ ประชุมหรอื การสมั มนา การแลกเปล่ยี นความรูทาง Face book, Email หรือชองทางทางเอกสาร อื่นๆ เพื่อเปน การแลกเปลี่ยนเรยี นรูเก่ยี วกับผลของการนําองคความรทู จี่ ดั เก็บไปใชประโยชน โดยกลมุ เปาหมายหรือผสู นใจ ผานชองทางการสอ่ื สารตางๆ เพอื่ ใหเ สนอแนะ หรือคําติชมใน ประเดน็ ตางๆ กิจกรรมท่ี 7 การเรียนรู เม่ือไดรบั ขอ เสนอแนะ และคําแนะนําเกี่ยวกบั องคค วามรทู ด่ี าํ เนนิ การจดั เกบ็ แลว นัน้ คณะศลิ ปศกึ ษาไดด ําเนนิ การนําผลการนําองคค วามรไู ปใช มาแกไ ข ปรับปรุง องคความรูเ ดิม ตามขอ เสนอแนะทไ่ี ด โดยเปนการนาํ ผลทไ่ี ดจ ากการแลกเปลย่ี นเรยี นรูเ กย่ี วกับผลของการนาํ องค ความรูที่จดั เก็บไปใชประโยชน มาวางแผนในการสงเสรมิ แกไ ข เปลี่ยนแปลง องคความรทู ่ี จัดเก็บเดิม ใหม คี วามสมบรู ณ ชัดเจน และเกิดเปนองคค วามรใู หมต อไป ผลและอภิปรายผลการดําเนินงาน องคค วามรทู ี่ไดร ับ การสํารวจปญหาท่ีเกดิ ข้นึ ในชนั้ เรียนดว ยกระบวนการวจิ ยั 1. กอ นการจัดการเรียนการสอน ผูสอนสามารถสํารวจสภาพภายในหองเรียน เพอื่ หาประเด็นในการวิจยั โดยตองวางแผนในการจดั การเรยี นการสอน โดยการสํารวจผเู รียน รายบุคคล การทดสอบ การถาม-ตอบ การสงั เกตแบบมสี วนรว ม และการสมั ภาษณแบบเจาะจง เพื่อเก็บขอมูลในภาพรวมของบริบทผเู รียนและสภาพการจัดการเรยี นการสอน 2. ผสู อนสามารถวเิ คราะหส าเหตุท่ีไดสาํ รวจไว เพือ่ หาแนวทางในการแกไข ปญ หาทเ่ี กดิ ข้นึ และศึกษาวธิ กี ารแกป ญหาที่หลากหลายเพ่ือใหไ ดม าซ่ึงแนวทางท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของผเู รียนและชน้ั เรียน โดยการสมั ภาษณ การพูดคยุ หรือการทดสอบตามความเหมาะสม 3. ผสู อนควรตรวจสอบความถนัดของตนเองมีความรู ความสามารถในดาน ใดบาง เพ่อื จะวางแผนในการดําเนินการวจิ ัยหรือการจัดรูปแบบการเรียนการสอนใหเ หมาะสมกบั ผูเรยี นและความถนดั ของผสู อน ซึง่ จะทําใหม แี นวทางในการดาํ เนินการท่ีชดั เจนมากยง่ิ ขนึ้

4. ผูส อนควรมกี ารทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวขอ งกบั ปญ หาการวิจัย หรอื รูปแบบการเรยี นการสอนแบบเกาๆ เพ่อื พจิ ารณาแนวทางในการนาํ กระบวนการวิจัยมาปรบั ใช กับบริบทของผูเ รยี น 5. ควรมีการสราง Research design เพื่อกาํ หนดวิธีการในการทําการวิจัยและ สรา งกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 6. ผสู อนควรมีการ วางแผนการพัฒนา ผเู รียนโดยใชกระบวนการ PAOR คอื Plan การวางแผนวิธกี ารแกไขปญ หาการเรยี นรขู องผเู รียน Action คือ ใชแผนการจัดการเรียนรู ทีส่ รางขนึ้ Observation สอบถามหลงั การใชโดยการสงั เกต สัมภาษณ โดยการทํากระบวนการ PAOR น้ัน ควรมอี ยางนอย 2 รอบการดาํ เนนิ การ การวางแผนในการแกไ ขปญหาตามกระบวนการวจิ ยั 1. ปจจุบนั รูปแบบการสอนไดเปลยี่ นแปลงจาก Passive เปน Active learning โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ พือ่ ใหผ ูเ รยี นมสี ว นรวมในการเรียนมากยง่ิ ขึ้น โดยผสู อนจะตองสรางความ สงสัยใหเกิดขน้ึ กบั ผเู รียน เพอ่ื เปน แรงขบั ใหผูเรียนมีความตองการในการคน ควาหาคาํ ตอบดวย ตนเอง รวมถงึ การสรางขอ คําถามเพอื่ รวมกนั อภิปรายภายในหองเรยี น 2. ผูส อนจะตอ งแนะนําวิธีการที่จะใหไ ดมาซึ่งความรแู ละขอมลู ทีต่ อ งการ โดย ฝกฝนใหผูเ รยี นสามารถวเิ คราะหข อ มลู ทไ่ี ดรบั เพอ่ื ประเมินและพจิ ารณาวา ควรตดั สินใจเชอ่ื ขอ มลู จากแหลงความรใู ด 3. ผูสอนควรมีการจัดทาํ สอื่ และนวตั กรรมท่ีชวยใหผ ูเรยี นสามารถเขา ใจเนอื้ หา ของเรอ่ื งทีส่ อนไดช ัดเจนและรวดเรว็ กวา การฟง การบรรยายจากผูส อนเพียงอยา งเดยี ว 4. ควรมีการเปล่ียนวิธีการวดั และประเมินผลจากเดมิ ที่ผสู อนเปน ผูประเมิน ให เปลีย่ นวธิ ีการโดยใหเ พือ่ นในหอ งชว ยกนั ประเมินผลรวมกับผูสอน และนําผลคะแนนมาวิเคราะห รว มกัน หรือใชก ารประเมินแบบรอบดา น การใชก ระบวนการวจิ ยั ในการจัดการเรยี นการสอน 1. ผูสอนควรสอดแทรกกระบวนการวิจัยใหแ กผ เู รียน เพื่อใหผูเรยี นไดฝ ก ฝน ทักษะการคดิ วิเคราะห สังเคราะห การเขา ถึงแหลง ขอมูลและการประมวลผลใหไ ดมาซึ่งขอมลู จําเปน มากท่ีสุด

2. ผูสอนควรฝกฝนผูเรียนในการดาํ เนนิ สอบถาม สงั เกต และสัมภาษณบคุ คลใน สถานการณต างๆ รวมถึงการศึกษาคนควา เอกสาร ตํารา เพ่ือศึกษารายละเอยี ดของเนอ้ื หาที่ ตนเองตองการ 3. ฝกใหผูเรียนไดม ีโอกาสเรียนรูดว ยการลงพืน้ ทีจ่ ริง เพ่อื ทาํ การสํารวจ ศกึ ษา และทดลองสมั ภาษณแหลงขอมูลทต่ี องการ ซึ่งจะทาํ ใหผ ูเรียนมปี ระสบการณจ ากสถานการณจ ริง การกํากบั และติดตามผล 1. การประเมนิ ผล ตดิ ตามผลผูเ รยี น ผูสอนควรใชก ารสังเกตโดยผสู อนจะตอง เปนนักสังเกตและนักวิจัยทีด่ ี มกี ารเฝา ติดตามและบนั ทกึ ขอ มลู อยางเปนระบบ และยึดหลกั จรรยาบรรณของนักวิจัย 2. ผสู อนจะตอ งควบคุมกระบวนการวจิ ัยและการจดั การเรยี นการสอน โดยใช วธิ กี ารเชงิ ระบบคือ ไดแ ก input process output และ impact เพ่ือเปนแนวทางในการ ดําเนินการและวเิ คราะหต รวจสอบ หากเกดิ ปญ หาวา เปนขอ ผิดพลาดหรอื ขอ บกพรอ งในข้ันตอน ใดจะไดพฒั นาแกไ ขไดตรงประเดน็ 3. ควรมกี ระบวนการ PDCA มาใชไ ดต ลอดการจดั การเรยี นการสอนในแตละ รายวิชา เพื่อพฒั นาประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นการสอนและพัฒนาผเู รียนไดอ ยา งตอเนอื่ ง สรปุ ผลการดําเนินงาน จากการเผยแพรองคค วามรูที่จัดเกบ็ พบวา คณาจารยในคณะศิลปศกึ ษามแี นวทางใน การนาํ กระบวนการทางดานการวจิ ัยมาประยุกตในการเรยี นการสอนมากข้นึ โดยกาํ หนดการสอน แบบวจิ ัยเปนฐานในการจดั การเรยี นการสอนใน มคอ.3 และสงผลใหคณาจารยหลายทา นไดร ับ ทุนสนับสนุนการวจิ ัยดา นการเรียนการสอนจากสถาบันบณั ฑติ พฒั นศิลป ประจาํ ปง บประมาร พ.ศ.2562 เพมิ่ ข้ึน ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการกาํ หนดองคค วามรูในประเดน็ ทเี่ ปน ภาพรวมของสถาบนั ในดา นการ วิจยั อยางนอย 1 เร่ือง เพ่ือดาํ เนินการแลกเปลี่ยนองคความรูจากคณาจารยในภาพรวมของสถาบันฯ 2. ควรมีการจัดกจิ กรรม หรือเสวนาแลกเปล่ียนระหวา งหนวยงานสว นกลางและสวน ภูมภิ าค ในประเด็นความรรู วมกนั เพอ่ื หาความสอดคลอ งรวมถึงการแลกเปล่ยี นองคค วามรตู างๆ ระหวา งกนั 3. ควรมกี ารจดั ต้ังคณะกรรมการของสถาบนั ฯ ในการพิจารณาองคค วามรูท่ีเปน ประโยชนต อองคกร และดําเนนิ การจดั สมั มนาแลกเปลยี่ นเพือ่ กล่ันกรองใหม คี วามชัดเจนและ

ดําเนนิ การเผยแพรท ง้ั ภายในองคก ร และผูส นใจภายนอกตอไป รวมถงึ การวางแผนการ ประชาสมั พนั ธเ ผยแพรอ งคความรทู จี่ ัดเกบ็ อยา งเปน ระบบ บรรณานกุ รม ทศิ นา แขมณี. (2551). ศาสตรก ารสอน. (พิมพค ร้ังท่ี 7). กรุงเทพฯ : สาํ นักพมิ พแหง จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . สมประสงค เสนารัตน. ม.ป.ป.. PDCA เครอ่ื งมอื ในการจดั การคุณภาพ. สาขาวิจยั และ ประเมนิ ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

1 รปู แบบการนําเสนอแนวปฏบิ ัติท่ีดี โครงการประชุมสมั มนาเครือขายการจัดการความรฯู คร้งั ท่ี 12 “การจดั การความรูสมู หาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative Universsity) สําหรับอาจารย/บุคลากรสายสนับสนุน/นักศกึ ษา ชื่อเรื่อง /แนวปฏิบัตทิ ่ดี ี การใช facebookกับการเรยี นการสอน ชื่อ-นามสกลุ ผนู าํ เสนอ นางอัญชัน เพง็ สุข ชอ่ื สถาบันการศึกษา สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป หนว ยงาน วิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ี เบอรโ ทรศพั ทมอื ถอื 089 7754988 เบอรโ ทรสาร - E-mail address [email protected]

2 การใช Facebook กับการเรยี นการสอน Using Facebook with teaching อัญชัน เพง็ สขุ * AnchanPengsook* วิทยาลัยนาฏศลิ ปลพบุรี บทสรุป ปจจุบนั ขณะเรยี นผูเรียนสว นใหญใ ชโทรศัพทมอื ถือตลอดเวลา จนทําใหข าดความสนใจ ในการเรียน รู ครูผสู อนจงึ ตองหาวธิ ที จ่ี ะนําเทคโนโลยมี าใชเ พอ่ื ดึงดดู ความสนใจของผูเ รียน จากการศึกษาเอกสาร ตาํ รา และการเขา รบั การอบรม ดานการเรียนการสอน การจดั การเรยี น การสอนในศตวรรษท่ี 21 เนนการ เรียนรูโดยใชActive learning ผูเรยี นมีสว นรวมและลงมือปฏบิ ตั ิ ดวยตนเอง คณะผูจดั ทําเลือกทีจ่ ะนาํ Facebook มาใชใ นการเรียนการสอน เพื่อกระตุนใหผูเรียน สนใจและเกิดการเรียนรมู ากยง่ิ ขึน้ วธิ ีดาํ เนนิ งานเริม่ จากการสํารวจขอ มูลการใช Facebook ของครูผูสอนจากสถานศกึ ษาตางๆ นําขอ มูลมาสรุปเปนรูปแบบการใช Facebook กับการเรียน การสอน ไดแ กก ารเชค็ ช่ือ ,การมอบหมายงาน ,การตดิ ตามการสง งาน ,การนําเสนอเน้อื หา/ความรู , การแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และการแจงผลการเรียน นํา ขอมูลท่ีได มาจดั ทาํ แบบสมั ภาษณ และดาํ เนนิ การสมั ภาษณผ ชู วยศาสตราจารย รฐั สภา แกน แกว มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุมซึ่งเปน ผเู ชย่ี วชาญ ดานนี้ หลงั จากนั้นนําขอ มูลมาจดั ทาํ คมู ือการใช Facebook กบั การเรยี นการสอน เผยแพรใ หค รขู องวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี นาํ ไป ทดลองใชใ นการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน , ตอนปลาย และอดุ มศึกษา จํานวน 13 รายวชิ า เปาหมาย คือ ครทู ่อี ายุมากและไมชาํ นาญการ ใชเ ทคโนโลยี มกี าร ประเมนิ ผลการใชค ูมือ โดยการประชมุ กลมุ ยอ ย ครูผสู อนสรปุ ไดว า คูม อื การใช Facebook กับการเรียนการสอน ที่จดั ทําข้นึ สามารถใชเปน แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนและชวยใหผูเรียนมีความสนใจ กระตอื รอื รนและมคี วามสุขในการเรยี น Summary Nowadays, most students use mobile phones. The lack of interest in learning. Teachers must find ways to bring technology to the attention of the learner.

3 The study of texts, textbooks, and participation in training courses. Teaching in the 21st century focuses on learning using Active learning, focus on students participate in learningand do it themselves.We are interested in bringing Facebook to use in teaching. To encourage students to learn and learn more. Start fromFacebook's survey of teachers from educational institutes brings the information to Facebook as a form of instruction, including name checking, job assignment, job tracking, presentation/ content. Know, exchange ideas. And the results. Bring information to interview. And interview the assistant professor Rattasapa Kankaew, Sripatum University.This is an expert. Then put the information to make a manual for Facebook with teaching.This is a very good knowledge of the field. Then put the information to make a manual for Facebook with teaching. Publish to teachers Lopburi Collegeof Dramatic Arts.Tested in secondary, upper and higher education 13 subjects.The goal is that teachers are very old and unskilled in technology.Have a manual evaluation. The teachers' group meeting concluded that Facebook's instructional manual could be used as a guideline for teaching activities. It helps the students to be enthusiastic and happy in their studies. คาํ สาํ คัญ Facebook, การเรียนการสอน บทนํา ในการจดั การเรียนการสอนป จจบุ ัน พบวา ข ณะเรยี น ผูเรยี นสว นใหญใช โทรศพั ทม อื ถือ ตลอดเวลา จน ทาํ ใหข าดความสนใจในการเรยี น รู ครูผสู อนจึง ตองหาวธิ ที ี่จะนําเทคโนโลยมี าใช เพ่ือดึงดดู ความสนใจของผเู รียน จากการศกึ ษาเอกสาร ตํารา และการเขารับการอบรมดานการเรยี น การสอน การจัดการเรยี น รูในศตวรรษท่ี 21 เนนการ เรยี นรโู ดยใช Active learning เนน ผูเรียน มสี วนรวมและลงมือปฏบิ ัติดวยตนเอง คณะผูจัดทําสนใจ จงึ สนใจที่จะนาํ Facebook มาใชใน การเรียนการสอน เพอ่ื กระตุนใหผ เู รียนสนใจและเกิดการเรยี นรูม ากย่งิ ข้นึ โดยจดั ทาํ คูมือ การใช

4 facebook กบั การเรียนการสอนขนึ้ สําหรับ ครทู ี่อายมุ ากและไมช าํ นาญการใชเ ทคโนโลยี จดั เก็บ องคค วามรเู ปนแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนตอไป วิธกี ารดําเนนิ งาน 1. จดั ประชุมครูและบคุ ลากรของวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปลพบุรีเพือ่ หาแนวทางในการจัดทํา KM 2. แตงตัง้ คณะกรรมการจัดการความรู ดา นการเรยี นการสอน 3. ประชมุ คณะกรรมการจดั การความรู ระดมความคิด เพ่อื คัดเลอื กองคค วามรูที่ตอ งการ ใหส อดคลอ งกับการจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 และจาํ เปน ตอ องคก รกาํ หนดหัวขอองคความรูท่ีจะ ศึกษารวบรวม ปก ารศกึ ษา 2561 ไดแ ก เรอื่ ง การใช Facebook กับการเรยี นการสอน 4. กําหนดวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู 2 แบบ คอื 1)การสาํ รวจขอมลู และการสัมภาษณผ มู ี ความรแู ละเชี่ยวชาญดา นการใช Facebook กับการเรียนการสอน และ 2)การศกึ ษาคน ควา จาก เอกสาร เว็บไซตต างๆ 5. จดั ทาํ แบบสํารวจการใช Facebook กบั การเรียนการสอน เก็บขอมูลโดยใชแ บบสาํ รวจ กับผูส อนภายในสถานศกึ ษาจํานวน 30 คน และผูสอนภายนอกสถานศึกษาจาํ นวน 25 คน จากมหาวทิ ยาลยั ตางๆ วทิ ยาลัยนาฏศิลปในสงั กัดสถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป โรงเรยี นในสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 6. ประชมุ คณะกรรมการเพื่อนาํ ขอ มลู ทีไ่ ดมาประมวลผล และจําแนกประเดน็ ตา ง ๆ เปนรปู แบบการใช facebook ในการทาํ กจิ กรรมการเรยี นการสอนไดแก การเชค็ ช่ือนักเรียน , การมอบหมายงาน,การติดตามการสงงาน, การนาํ เสนอเนอ้ื หา/ความรู , การแลกเปล่ียนความคิดเห็น , และการแจงผลการเรยี น 7. คณะกรรมการระดมความคดิ เสนอช่ือบุคคลที่เปนผเู ช่ียวชาญดา นการใช facebook กบั การเรยี นการสอน คณะกรรมการลงมตใิ หสมั ภาษณผ ชู ว ยศาสตราจารย รฐั สภา แกน แกว สาขา วิทยุกระจายเสยี ง และวทิ ยโุ ทรทศั น คณะนเิ ทศศาสตร มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ กรงุ เทพมหานคร เนอื่ งจากทา นเปน ครตู นแบบของมหาวทิ ยาลยั และมีความเช่ียวชาญการใช facebook ไดอยา งเปน ระบบ 8. กําหนดขอบเขตของการสัมภาษณก ารใช Face book กบั การเรียนการสอนตดิ ตอและ ดําเนนิ การสัมภาษณผ ูช วยศาสตราจารย รฐั สภา แกน แกว และบนั ทกึ ขอมลู

5 9. ประชมุ คณะกรรมการเพอื่ นาํ ขอ มูลท่ีไดมา จัดทําคมู อื การใช Face book กับการเรยี น การสอนโดยใชขอมูลจากการสํารวจ สัมภาษณ และการศึกษาคนควาจากเอกสารและเว็บไซต 10. นําคมู อื การใช Face book กบั การเรียนการสอน เผยแพรแกค รผู ูสอนในวิทยาลยั นาฏศิลปลพบุรขี อความรวมมือใหครผู สู อนทดลองนําคมู อื ไปใชในการจดั การเรยี นการสอน 11. จดั ประชมุ กลมุ ยอ ย กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู ระหวา งครผู ูส อนทท่ี ดลองใช facebook กับการเรียนการสอน สรปุ วิธีการ ผลการนําใชในแตละดานขอ ดแี ละขอเสยี 12. จดั เก็บองคความรูเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ผลและอภปิ รายผลการดําเนินงาน ผลการดําเนนิ งาน จากการจัดทาํ คมู ือ การ ใช facebook กบั การเรยี นการสอน และไดเผยแพรแกครูผสู อนใน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรแี ละขอความรว มมอื ใหค รผู สู อนทดลองนาํ คูมือไปใชใ นการจัดการเรียนการ สอน อยางนอ ยหลกั สูตรละ 1 รายวิชา มคี รูใหค วามรว มมือนําคมู อื ไปใชในการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน 5 รายวิชา, มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3 รายวิชา และช้นั ปรญิ ญาตรี 5 รายวชิ า รวม 13 รายวิชา มกี ารติดตามผลทดลองใช facebookกับการเรยี นการสอน จากครผู ูสอน และผูเรียน ไดดังน้ี 1. การเช็คชือ่ วธิ กี าร 1. การใชภ าพถา ย ครถู า ยภาพผเู รียนขณะเขา ช้ันเรยี นและทําการสอน โพสตพ รอม ลงวันท่ีกาํ กับไวเมอ่ื ไมสามารถเขา ช้ันเรียนไดน กั เรียน นักศกึ ษาจะถา ยภาพโพสตลงในชอ งความ คิดเห็น ตอ จากครู พรอ มพิมพข อความบอกเหตุผลทไี่ มส ามารถเขา เรียนได ไดแกถ ายภาพขณะทํา กิจกรรมอ่นื ของวิทยาลยั ฯภาพกิจกรรมการบรรเลง และการแสดง ภาพใบอนญุ าตซอ มหรอื ไป ปฏบิ ตั ิงานการแสดงภาพขณะปวย ภาพใบรับรองแพทย และภาพใบนดั แพทย 2. การแพรภ าพสดกจิ กรรมการฝกซอ ม การแสดงและการบรรเลง การรวม กิจกรรมการเผยแพรศิลปวัฒนธรรม และกจิ กรรมอนื่ ๆ ของวิทยาลยั ฯ เมือ่ นักเรยี น นกั ศึกษาไม สามารถเขา ชน้ั เรียนได

6 3. การใชตาราง X cell โดยกําหนดสี สแี ดงคือขาด สีเหลอื งคอื มาสาย และสีเขยี ว คือมาเรยี นเพ่อื ใหผเู รยี นสามารถเช็คตนเองไดว าขาดเกนิ กําหนดหรอื ไม 2. การมอบหมายงาน วิธีการ 1. มอบหมายงานลวงหนา กอ นเรียน โดยผเู รยี นจะศกึ ษา คน ควา แลวนําขอ มลู มา อภปิ รายในช้นั เรยี นหรือผเู รียนสามารถสง งานลวงหนา ทาง Facebook ได 2. มอบหมายงานในชวั่ โมงเรียนผูเรียนจะศึกษา คน ควา สรปุ องคค วามรู สง งานภาย หลังจากเรยี นแลว โดยโพสตผานทางหนา Facebook หรอื ผา นทางกลองขอความ หรอื สง ในช่ัวโมง เรยี นตอไป 3. การตดิ ตามการสงงาน วิธีการ 1. ผเู รยี นสามารถสง ขอ มลู ผา นทางหนา facebook หรอื ทางกลอ งขอ ความไดแ ก ภาพถายสมุดจดบันทกึ ทา รํา คลปิ วดี โี อทาราํ ของตนเอง แผนผงั ความคิด การสรุปบทเรยี น เปน ตน 2. ผเู รยี นสามารถออกแบบชนิ้ งาน และวิธกี ารสงชน้ิ งานของตนเองไดอยา ง หลากหลายเชน Power Point,Microsoft Word , Clip VDO โดยไมตองรอพบครผู สู อน 4. การนาํ เสนอเนือ้ หา/ความรู วธิ ีการ 1. ผเู รยี นสามารถนําเสนอเนื้อหา/ความรู ที่ศึกษา คน ควา หรอื สรปุ องคค วามรู ไดตลอดเวลา 2. ครูสามารถนาํ เสนอเน้อื หา/ความรูทีต่ อ งการใชเปนส่ือการสอนไดตามตองการ 3. การนําเสนอ เนื้อหา/ความรู มไี ดห ลากหลายรปู แบบ เชนรปู ภาพ เอกสาร วดิ โี อไฟลเ สียง การแชร linkการทําโพลส ํารวจ และการแพรภ าพสด 5. การ แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น วิธกี าร

7 1. ครสู ามารถต้งั คาํ ถาม/ประเด็นใหผเู รยี นแสดงความคดิ เหน็ ตอจากคําถาม/ ประเดน็ ทีก่ าํ หนดในชอ งแสดงความคิดเหน็ 2. ครนู าํ เสนอส่ือการสอนทเ่ี ปนรูปภาพ เสียง VDO หรอื คลปิ สนั้ ๆ ใหผ ูเ รียนได ศกึ ษา เรียนรู วเิ คราะห วิจารณ และแสดงความคดิ เห็น 3. ผเู รยี นสามารถแสดงความคดิ เหน็ เปน ภาพ เสียง VDO หรอื คลปิ สนั้ ๆ ลงในชอง แสดงความคดิ เหน็ ใหทกุ คนในช้ันเรียนไดแ ลกเปลีย่ นเรียนรรู ะหวางกนั ได 6. การแจงผลการเรียน วธิ กี าร 1. ครแู จง ผลคะแนนสอบไดท ้ังแบบกลุมและเดยี่ วโดยทันที 2. ครูแจงผลการพฒั นาการเรยี น / ความกา วหนาทางการเรยี น เชน ทกั ษะการปฏบิ ัตทิ ารํา ของผเู รียนไดอยา งตอเนื่อง 3. การแจง ผลการเรยี นทําไดห ลายวิธี เชน ภาพ/ตารางคะแนนเก็บของนกั เรยี น ทั้งชัน้ เรยี น โปรแกรม X-cell ท่ีบันทึกคะแนนไว การแจงเฉพาะผทู คี่ ะแนนสูงสุด เฉพาะผทู ีม่ ี คะแนนผานเกณฑ ก็สามารถทาํ ได อภปิ รายผลการดําเนินงาน ขอ ดขี องการใช facebook กบั การเรยี นการสอน 1. การเชค็ ชื่อ ประหยัดเวลา สามารถใชเปนหลกั ฐานที่เชื่อถอื ไดและกระตุนใหผ เู รยี น มวี นิ ัยในการเขาชนั้ เรียนและตรงเวลามากขนึ้ 2. การมอบหมายงาน สามารถทําไดทง้ั แบบกลุม และรายบคุ คล ผูเรยี นสามารถซักถาม ขอสงสยั ไดตลอดเวลา ผเู รยี นกระตือรอื รนในการเรียน ในการติดตามการมอบหมายงาน การสง งาน และวจิ ารณงานของเพ่ือนไดเมอ่ื ครพู รอม และมเี วลา ครสู ามารถตอบขอ ซักถามไดต ลอดเวลา โดยไมต อ งพบผเู รยี น 3. การ ตดิ ตามการสงงานสามารถทาํ ไดทั้งแบบกลุมและรายบุคคล และสามารถ ตรวจสอบ วัน เวลา ทสี่ งงานได ครูสามารถตรวจสอบผูเขารวมกิจกรรมไดวาครบหรือไม ใครเขา รวมเปนลําดบั แรกๆใครยังไมไ ดเ ขา รวม และ สามารถตรวจสอบความถูกตองเบื้องตน ของ ช้นิ งานท่ผี ูเรียนสงไดตลอดเวลา

8 4. การนาํ เสนอเนอื้ หา/ความรู ผเู รียนไดแ ลกเปลี่ยนความรไู ดทัง้ ช้ันเรียน สามารถ ยอนกลับไปดภู ายหลงั ไดแ ละผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองไดตลอดเวลา ไดทกุ ที่ ตามศกั ยภาพ 5. การแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น สามารถใช เปนเวทแี สดงความคิดเหน็ แลกเปลยี่ น เรยี นรูระหวา งครูกบั ศษิ ย และเพ่อื นกับเพือ่ น ทงั้ แบบกลมุ และรายบคุ คล ทาํ ไดทันทีและรวมกนั ได ทัง้ ชั้นเรียน ครสู ามารถตรวจสอบไดว าผูเรยี นคนใดยงั ไมไดเขา มาแสดงความคดิ เห็นผเู รยี นสามารถ เรียนรรู วมกันอยางกระตอื รือรนและผูเรียนสามารถเรียนรงู านของเพอื่ น และพฒั นางานของตนเอง จากขอบกพรอ งของเพ่อื นที่สงกอ น 6. การ แจง ผลการเรียนสามารถทาํ ไดท ง้ั แบบกลมุ และรายบุคคล ผเู รยี นสามารถ ตรวจสอบคะแนน ความกาวหนา ทางการเรยี นของตนเองไดท ันที เปนการกระตนุ ใหผเู รยี นพัฒนา ตนเองอยางตอเน่อื งตลอดเวลา 7. การใช facebook สามารถเรียนไดท กุ ท่ีทุกเวลา โดยสามารถเรยี นผานมอื ถือโนตบุก หรอื คอมพิวเตอรต ้งั โตะ เปน คลงั ความรนู อกเวลาสามารถยอ นกลบั มาดูเวลาใด กีค่ รั้งก็ได 8. การใช facebook สื่อท่ใี ชกับการเรยี นการสอนเปน ส่ือเสรมิ เทคโนโลยกี ารส่อื สาร สามารถใชร ว มกบั แอพพิเคชน่ั อนื่ ๆ ได 9. ขอดีอน่ื ๆ ที่ไดจากการใช facebook กบั การเรยี นการสอน ไดแ ก การ ตดิ ตอ ลูกศิษยผา น facebook ไดท นั ทีเมอื่ มเี หตฉุ กุ เฉิน หรอื กรณีเรง ดว น เชน ผลการเรียนผดิ พลาด หรอื ลูกศษิ ยป ระสบอุบตั ิเหตุ ความพงึ พอใจ จากการสอบถามความพงึ พอใจของครผู ูสอนและผูเรียนในการใช facebook กบั การเรยี น การสอน ครูผูสอนเห็นวา facebook ชวยเตอื นความจาํ และชวยแกปญหาการท่ีผเู รยี นติดภารกจิ ตอ ง ไปปฏบิ ตั ิราชการการแสดงและไมส ามารถเขาชัน้ เรียนได ชว ยใหก ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เปน ไปตามวัตถปุ ระสงค โดยการนาํ สื่อเทคโนโลยมี าใช ผเู รยี นรูสึกมคี วามสขุ และกระตอื รอื รน ใน การเรียนรู ผเู รียนสวนใหญช่นื ชอบท่ไี ดใชโ ทรศพั ทใ นขณะเรียน และทาํ กิจกรรมรว มกันกับเพ่ือน ผา น facebook แลว มีผลสะทอ นกลบั มาทันที สามารถยอ นกลบั ไปดกู จิ กรรมและเน้ือหาสาระท่โี พสต ไวไ ดต ลอดเวลา โดยภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดบั มาก

9 ปญหาและอุปสรรค 1. ครตู อ งมคี วามรแู ละเขาใจในเทคโนโลยีท่ที ันสมยั และสามารถใช Facebook ได อยางหลากหลายจึงจะทาํ ใหผ เู รียนเกิดความสนใจในการเรยี นรู 2. สญั ญาณอินเตอรเ นต็ ตองพรอมใชงานในการใช facebook พรอมกันหลายๆ เคร่อื ง สรุป จากการสาํ รวจ สัมภาษณ และศึกษา เอกสาร ตํารา และเว็บไซต นําขอ มูลท่ไี ดมาจัดทาํ คูมือ การใช facebook กบั การเรยี นการสอน ใหครูผูส อนทดลองใช แลว นาํ ผลสะทอ นที่ไดมาปรับปรุง คูมือใหมคี วามสมบรู ณยง่ิ ข้นึ คมู อื การใช facebook กบั การเรียนการสอน สามารถนํามาใชใน ไดอยางหลากหลายทกุ รายวชิ าทั้งวิชาพ้ืนฐานและวชิ าชพี (ปฏบิ ัติเอกนาฏศลิ ป – ดนตรี)ผเู รียน สามารถฝกการใชภาษาในการสอ่ื สารกับครูและเพอ่ื นใหถกู ตองผานการใช Facebook อยา งเหมาะสม เปนการเรียนรรู ว มกันระหวางครแู ละผเู รียน ผูเรียนและผเู รยี น ทําใหม ีปฏสิ ัมพันธ ท่ีดีขึ้น ครแู ละผเู รียนตอ งมคี วามกระตือรือรนตลอดเวลา นอกจากนีย้ งั เปนการประหยดั กระดาษ ในการจัดทําเอกสารการเรียนการสอนแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนผาน facebook สามารถใช รว มกับแอพพิเคช่นั อน่ื ๆ ได เปนการพัฒนาศกั ยภาพครูใหสามารถนาํ เทคโนโลยีมาใชใ น การจดั การเรียนการสอน และผเู รียนสามารถนํา Smart phone มาใชใหเกิดประโยชนในการเรยี นรู ไดม ากขึ้น ซง่ึ เปน การจัดการเรยี นรูที่ทนั สมยั สอดคลอ งกับศตวรรษท่ี 21 และ Thailand 4.0 บรรณานกุ รม กลุม เผยแพรแ ละพัฒนาบคุ ลากรดา นเทคโนโลย,ี สํานกั เทคโนโลยีเพ่ือการการเรียนการสอน (ม.ป.ป.). คูมอื การใช facebook. สืบคน วนั ท่ี 25 มนี าคม 2561 เขาถึงไดจ าก http://smedukrusaipin.files.wordpress.com/2011/05/facebook.pdf. ภารตี หนสู ังข. (2556). รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรยี น เรอ่ื ง ผลการใชเ ครื่องมือการสื่อสารใน เฟสบุก กรุป จัดกจิ กรรมการเรียนรู ตามแนวคดิ โซเซยี ลคอนสตรคั ติวิสต (Social

10 Constructivist) ในรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 เรือ่ งการสรางเวบ็ ไซต ดว ย โปรแกรม Adobe Dreamweaver cs4 สําหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 4/11. สาขาธรุ กิจและคอมพิวเตอรศ ึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร. รฐั สภา แกน แกว. ผูช วยผอู าํ นวยการฝายวชิ าการ ศนู ยมเี ดยี กลุม งานบริการเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม. สมั ภาษณ. 12 มีนาคม 2561. แอนณา อิม่ จาํ ลองและวไิ ลวรรณ จงวไิ ลเกษม. 2556. “การใชเ ฟสบคุ เปน ชอ งทางการส่ือสาร การเรยี นการสอนทางดา นนเิ ทศศาสตร” วารสารนเิ ทศศาสตรธุรกิจบัณฑติ 7,1 (มกราคม- มิถุนายน) : 75-93. ……………………………………………………..

1 บทความการจดั การความรู้ ประจาปี งบประมาณ 2561 สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ ช่ือเร่ือง เทคนคิ การสร้างสรรคผ์ ้าพระบฏนครศรีธรรมราช ชอื่ -สกลุ นายชเู กยี รติ สุทิน หน่วยงาน วิทยาลยั ช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช การจดั การความรดู้ ้าน ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น Email address [email protected] บทสรปุ การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในพิธีแห่ผ้าข้ึนธาตุ เป็น การนาผ้าพระบฏที่สร้างสรรค์ข้ึนห่มพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นประเพณีสาคัญ ทีม่ ีมาอยา่ งยาวนานในจงั หวัดนครศรธี รรมราช โดยมีการแห่ผา้ และนาผา้ ขึ้นห่มพระบรมธาตใุ นวัน สาคญั ทางพุทธศาสนา ในวันขึน้ 15 ค่า เดอื น 3 คือวันมาฆบชู า และวันขึ้น 15 คา่ เดอื น 6 ซง่ึ เป็น วันวสิ าขบชู า ในทุกปีประชาชนจานวนมากท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมาร่วมพิธี แหผ่ า้ ข้ึนธาตุ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร กันอย่างคับค่ัง ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นิยม ใช้ผ้าขาวขนาดยาวเขียนเป็นภาพจิตรกรรมไทย เร่ืองราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ หรือทศชาติชาดก เพื่อนาไปหม่ องคพ์ ระบรมธาตเุ จดีย์ ถวายเปน็ พุทธบชู า การจัดการความรู้เรื่อง เทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช เป็นการจัด กระบวนการการจัดการความรู้ แบ่งปันความรู้ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันของผู้เช่ียวชาญด้าน การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเก่ียวกับ เทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ซึ่งจัดเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีมีการดาเนินการกันมาอย่าง ต่อเนื่องและยาวนานในทุกปี อันเกิดประโยชน์ในการดารงรักษาไว้ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่น และ เผยแพร่ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าแก่ผู้สนใจได้ใช้เป็นแนวทางในการสืบทอดในการสร้างสรรค์ ผ้าพระบฏ เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ยี วจังหวดั นครศรีธรรมราช และเกิดประโยชน์ในการเรยี นรู้ด้าน ศิลปวฒั นธรรมแก่นักเรียน นักศึกษา และผสู้ นใจ คาสาคญั : การสรา้ งสรรค์ ผา้ พระบฏ Summary The creators create Nakhon Si Thammarat Prabot Clothes for wrapping Nakhon Si Thammarat stupa in Phra Mahathat Woramahawihan temple. It is an important tradition in Nakhon Si Thammarat. People take Prabot Clothes to wrap

2 the stupa on Makha Bucha and Visakha Bucha Festival. Every year, a lot of people from around the world come to join this tradition. People use long white clothes to create Prabot Clothes. The Prabot Clothes were created in the story of Buddha's biography, or about ten incarnations of the Buddha. The knowledge management in the topic of Nakhon Si Thammarat Prabot Clothes Creation Technique is performed in knowledge management process. Some professors about Prabot Clothes creation have knowledge sharing. Nakhon Si Thammarat Prabot Clothes creation is a kind of local wisdom in Nakhon Si Thammarat. People create Prabot Clothes for a long time. Prabot Clothes creation should preserve for the next generation. The knowledge about Prabot Clothes creation is useful for cultural learning, and tourism promotion. Keywords : Creation Prabot Clothes บทนา จังหวัดนครศรธี รรมราช ได้จัดประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ซึง่ เป็นประเพณสี าคัญทีจ่ ดั ข้ึนในวัน มาฆบูชา และวิสาขบูชา เป็นประจาทุกปีและมีการสืบทอดกันมาอย่างยาวนานนับแต่ยุคสมัย อาณาจักรศรีวิชัย จวบจนปัจจุบัน โดยหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน และประชาชนทั้งใน จังหวัดนครศรีธรรมราชและต่างจังหวัด รวมท้ังชาวต่างชาติ จานวนมากได้เดินทางมาเข้าร่วมพิธี โดยมีความเชื่อว่าได้ร่วมกุศลอันย่ิงใหญ่ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุจึงเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางทั้ง ชาวไทยและชาวต่างชาติ ดังนั้นส่วนราชการ องค์กรต่าง ๆ และประชาชนท่ัวไปจึงได้จัดหาและ จัดเตรียมผ้าพระบฏเพื่อใช้ในพิธี ส่วนราชการจึงได้ดาเนินการจัดสร้างผ้าพระบฏพระราชทาน และผา้ พระบฏประจาหนว่ ยงานข้นึ เพื่อใช้ประกอบพิธี รวมทง้ั องคก์ รเอกชนและประชาชนทั่วไปก็ ได้จัดเตรียมผ้าพระบฏเพ่ือใช้ในพิธีเช่นกัน ดังนั้นส่วนราชการ องค์กรและประชาชนได้ขอความ ร่วมมือแก่ผู้เช่ียวชาญท่ีมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏให้ดาเนินการสร้างสรรค์ ผ้าพระบฏขน้ึ ในทกุ ๆ ปี สถาบันการศึกษา องค์กร และส่วนราชการต่าง ๆ มีพันธกิจหลักในด้านการทะนุบารุง ศิลปวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏจัดเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นอันมีค่า ย่ิงในจังหวัด นครศรธี รรมราช ทีค่ วรทาการรวบรวมองค์ความรแู้ ละถ่ายทอดเพ่ือการอนรุ ักษ์และสบื ทอดแก่คน รุ่นต่อไป การดาเนินการจัดการความรู้เร่ือง เทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช ได้ ทาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เช่ียวชาญเพ่ือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคนิควิธีการ สร้างสรรค์ ทั้งในรูปแบบการนาเสนอและการสาธิต ผู้เช่ียวชาญได้ร่วมกันกลั่นกรองความรู้ และ เผยแพร่องค์ความรู้ท้ังในรูปแบบเอกสารและเผยแพร่ผ่านเวปไซต์ แก่นักเรียน นักศึกษาใน สถาบันการศึกษา องคก์ รต่าง ๆ และผ้สู นใจโดยทวั่ ไปได้นาองค์ความรู้ไปใช้ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งใน สถาบันการศึกษาสามารถนาองค์ความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักเรียน นักศึกษา ทั้งด้านประวัติความ เป็นมา และการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ซ่ึงในส่วนของวิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราชได้นาองค์ ความรู้ไปใช้เพื่อการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏแก่นักเรียน นักศึกษาในวิชาศิลปะไทย และนักศึกษา

3 สามารถนาความรู้ไปใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ รวมทั้งส่วน ราชการ และองค์กรต่าง ๆ สามารถนาความรู้ไปใช้ เช่น นาองค์ความรู้ไปใช้เพื่อส่งเสริมการ ท่องเท่ียว การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏเพ่ือจัดจาหน่าย และนาองค์ความรู้เผยแพร่แก่ประชาชน เพ่ือให้ทราบถึงความเป็นมาและแนวทางในการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ในเทศการมาฆบูชา และ วิสาขบชู า เป็นตน้ วธิ ีดาเนนิ การ การจัดการความรู้เร่ืองเทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) รวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกบั เทคนิคการสรา้ งสรรคผ์ ้าพระบฏ (2) เพอ่ื เผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏท้ังภายในวิทยาลัย และสถานศึกษาอื่น ส่วนราชการ องค์กรต่าง ๆ และประชาชนทัว่ ไปท่สี นใจนาองคค์ วามรู้ไปใช้ โดยการดาเนินงานจัดการความรู้ ได้ ดาเนนิ การ 7 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1.การค้นหาความรู้ ดาเนินการประชุม ติดตอ่ ประสานงาน เพ่ือค้นหาผเู้ ชี่ยวชาญเก่ียวกับ เทคนิคการสรา้ งสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช เปน็ กรรมการและเปลี่ยนเรียนรู้ 2.การสรา้ งและแสวงหาความรู้ จดั ประชมุ เพ่อื ใหค้ ณะกรรมการ KM นาเสนอความรู้ 3.การจัดการความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ นาข้อมูลที่ไดจ้ ากการนาเสนอแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ในแต่ ละครั้งมากลนั่ กรอง และจดั หมวดหมู่ จัดพมิ พเ์ ปน็ เอกสาร 4.การประมวลและกลน่ั กรององค์ความรู้ คณะกรรมการ KM นาข้อมลู ที่ได้จากการจัด หมวดหมูม่ าปรับภาษาใหเ้ ปน็ ภาษาทส่ี ามารถเขา้ ใจไดง้ ่าย จัดทารูปเลม่ แจกจ่ายแก่คณะกรรมการ เพ่ือตรวจสอบแกไ้ ข 5.การแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยนาองค์ความรู้ที่จัดรูปเล่มแจกจ่ายในห้องสมุด วิทยาลัยฯ เผยแพร่ ไปยังนักศึกษา ครู อาจารย์ และผู้สนใจ รวมทั้งแจ้งให้ทราบถึงช่องทางการ เข้าถึงขอ้ มลู 6.การเข้าถึงความรู้ นาข้อมูลเผยแพร่ความรู้ในรูปแบบเอกสาร ลงเวปไซด์วิทยาลัย เฟสบุ๊ค และไลน์กลุ่ม รวมทั้งประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เร่ืองเทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ แก่ นักศกึ ษา ครู อาจารย์ ผูส้ อนได้นาแนวทางไปประยกุ ตใ์ ช้ รวมทัง้ ประชาชนผู้สนใจนาความรู้ไปใช้ 7.การเรียนรู้ ได้นาเสนอและประชาสัมพันธ์แก่ส่วนราชการ องค์กร และประชาชนท่ัวไป ในโอกาสการจัดสร้างผ้าพระบฏในวิทยาลัย ซ่ึงเป็นการสร้างในโอกาสที่องค์กร หรือส่วนราชการ ขอความร่วมมือ และประชาสมั พันธ์ในโอกาสการให้บริการทางวชิ าการแก่จงั หวัดในการสาธิตการ เขยี นผา้ พระบฏของวทิ ยาลยั ชา่ งศลิ ปนครศรธี รรมราช

4 สรปุ และอภิปรายผลการดาเนนิ งาน สรุปผลการดาเนนิ งาน จากการนาเสนอแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ของคณะกรรมการซ่ึงเป็นผู้เช่ียวชาญในการสร้างสรรค์ ผ้าพระบฏ ผลท่ีไดจ้ ากการจดั การความรู้ มีรายละเอียดดังน้ี การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ จังหวัดนครศรีธรรมราช จะออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวยาว ติดต่อกัน ซ่ึงถือเป็นเอกลักษณ์ สร้างสรรค์ภาพเร่ืองราวเก่ียวกับพระพุทธประวัติ เป็นเหตุการณ์ ต่อเนื่องกัน นับแต่ภาพนิมิตก่อนประสูติ ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ตามลาดับติดต่อกันเป็น ตอน ๆ หรือเป็นเร่ืองราวเก่ยี วกบั ทศชาตชิ าดก การแหผ่ า้ ตามความเชื่อเดิม ใชท้ ูนข้นึ เหนือศรีษระ ปจั จบุ ันมกี ารถือแนบลาตวั ในการสมโภชน์ผา้ พระบฏ จะให้ผถู้ อื ถือแนบลาตวั ให้ชาวบ้านได้ช่ืนชม ผลงาน โดยในพิธีแห่ผ้าข้ึนธาตุ ซึ่งเป็นการแห่ผา้ พระบฏ ข้ึนห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ในปัจจุบนั จะมที ้งั การทูนผ้าพระบฏขึ้นเหนอื ศรษี ระ และถือแนบลาตัว องค์ความรู้ที่เกิดจากการแลกเปล่ียน เรียนรู้สามารถสรุปเป็นขั้นตอนเก่ียวกับเทคนิคใน การสรา้ งสรรค์ผ้าพระบฏนครศรธี รรมราชได้ 8 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. ขนั้ เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ โดยวสั ดุท่ใี ช้ ไดแ้ ก่ ผ้าขาว หรือผ้าใบ (แคนวาส) สโี ปสเตอร์ สพี ลาสตคิ สีอครลิ ิค สีฝนุ่ พู่กันเบอรต์ ่าง ๆ ไม้บรรทัด ดินสอ ยางลบ เปน็ ต้น 2. เตรียมข้อมูลเก่ียวกับพุทธประวัติ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบผ้าพระบฏ ซ่ึง เอาแบบอย่างมาจากการค้นคว้าภาพจิตรกรรมไทยในฝาผนังอุโบสถของวัดต่าง ๆ ท้ังในสมัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ เช่นจิตรกรรมวัดสุวรรณาราม พระท่ีน่ังพุทไธสวรรค์ จากหนังสือท่ีมี ผู้เขียนภาพจิตรกรรมไทยเป็นต้นแบบ เช่น อาจารย์เหม เวชกร อาจารย์คานวณ ชานันโท และ อาจารยส์ นน่ั รตั นะ เป็นต้น

5 3. ร่างภาพต้นแบบลงบนกระดาษบรู๊ฟขาว โดยกาหนดขนาดภาพให้เหมาะสมกับความ กว้าง ความยาวของผ้าขาว และจานวนภาพท่ีต้องการเขียน โดยกาหนดให้ภาพร่างทุกตอนมี ลกั ษณะเดยี วกันทั้งรปู แบบตัวภาพ ลักษณะสถาปตั ยกรรม หรือทวิ ทศั น์ 4. ใช้ภาพต้นแบบที่วาดไว้บนกระดาษบรู๊ฟขาว สอดไว้ด้านล่างผ้าขาว และใช้ดินสอ 2B ลากเส้นตามภาพต้นแบบจนเสรจ็ ทุกตอน 5. ใช้สีอะครลิ กิ สขี าวผสมน้าให้ค่อนขา้ งเหลว ระบายรองพนื้ ในส่วนของภาพในกรอบและ ปล่อยไว้ ใหแ้ ห้งสนิท ระบายรองพื้นประมาณสองถึงสามครงั้ และนากระดาษทรายละเอียดมาขัด เบา ๆ เพอ่ื ให้พืน้ ผา้ สาหรับเขยี นไม่สากกระด้าง และดูดสี ง่ายสาหรบั การระบายสีและตัดเส้น

6 6. กาหนดโครงสีและระบายสีส่วนรวมของภาพ โดยให้ทุกตอนท่ีจะระบายสีให้อยู่ในโทน สีท่ีใกล้เคียงกัน กาหนดสีส่วนรวมของงานเช่น โทนสีเหลืองทอง ในภาพพระบฏพระราชทาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 9 ซง่ึ ทุกภาพในผืนผา้ จะคลมุ ส่วนรวมโดยสเี หลอื งทองเพื่อ ส่อื ถึงความขลัง ศกั ดิส์ ิทธ์ิ สง่างาม เปน็ ยุคทองของแผน่ ดนิ ไทยในรัชสมัยของพระองค์ เปน็ ต้น 7. ลงสีเก็บรายละเอียดของภาพโดยเร่ิมจากทิวทัศน์ สถาปัตยกรรม อาคารบ้านเรือน ตัวภาพ ลายผ้า เคร่ืองทรง ปิดทอง ตัดเส้นเน้นความชัดเจนของภาพตามแนวการเขียนภาพ จติ รกรรมไทยให้วิจิตรงดงาม อนั แสดงถงึ ความศรัทธาเพ่อื ถวายเป็นพทุ ธบูชา หม่ องคพ์ ระบรมธาตุ

7 8. ตรวจสอบความสมบูรณ์ และตกแต่งผ้าด้วยการใช้ผ้าที่งดงามเย็บขอบผ้าทั้งด้านล่าง ด้านบน เพื่อความงดงามและประณีต ขณะเดียวกันก็ส่ือถึงผืนผ้าพระบฏที่ถวาย เช่น ผ้าพระบฏ พระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ิ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลท่ี 9 จะเย็บผ้าแพรสีฟ้าที่ งดงามเป็นสีประจาพระองค์ และช่วยขับเน้นภาพพระบฏและผืนผ้าพระบฏ ที่เขียนให้มีความ งดงาม สมบูรณ์ มีคุณค่าสมพระเกียรติ และส่ือให้เห็นถึงความศรัทธาอันยิ่งใหญ่ของชาว นครศรธี รรมราช ตัวอยา่ งผา้ พระบฏทส่ี ร้างสรรคเ์ สรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว ภาพเขยี นผา้ พระบฎพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชทานแก่จังหวดั นครศรธี รรมราช สรา้ งสรรคโ์ ดยครู อาจารย์ และนักเรียนวิทยาลัยช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช เรือ่ งราวเกีย่ วกับทศชาตชิ าดก และเรื่องราวบางส่วนเป็นพุทธประวตั ิ การนาองคค์ วามรูไ้ ปใช้ การจัดการความรู้เร่ืองเทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช ได้สาเร็จลุล่วง ไปด้วยดีตามกระบวนการการจัดการความรู้ ส่งผลให้เกิดการนาองค์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเป็น รูปธรรม เช่น สถาบันการศึกษาสามารถนาองค์ความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักเรียน นักศึกษา ท้ังด้าน ประวัติความเป็นมา และการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ซึ่งในส่วนของวิทยาลัยช่างศิลป นครศรีธรรมราชได้นาองค์ความรู้ไปใช้เพ่ือการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏแก่นักเรียน นักศึกษาในวิชา ศิลปะไทย และนักศึกษาสามารถนาความรู้ไปใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ศิลปะ กลุ่มโรงเรียนและสถานศึกษาเครือข่ายนาองค์ความรู้ไปถ่ายทอดสู่นักเรียน นักศึกษา รวมท้ังส่วนราชการ และองค์กรต่าง ๆ สามารถนาความรู้ไปใช้ เช่น นาองค์ความรู้ไปใช้เพื่อ

8 ส่งเสริมการท่องเท่ียว การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏเพื่อจัดจาหน่าย และนาองค์ความรู้เผยแพร่แก่ ประชาชนเพื่อให้ทราบถึงความเป็นมาและแนวทางในการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ในเทศการ มาฆบูชา และวิสาขบูชา และนาผ้าพระบฏที่ทางวิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช และคณะ ผู้เช่ียวชาญไดส้ รา้ งสรรค์ขน้ึ ไปใชใ้ นพิธีแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตุ ในทกุ ปี

9 อภปิ รายผลการดาเนินงาน การจัดการความรู้เร่ืองเทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช ได้ดาเนินการ ตามกระบวนการจัดการความรู้และสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยปัจจัยสาคัญแหง่ ความสาเรจ็ ได้แก่ 1. ความร่วมมือและความมุ่งมั่นของครู อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาที่ได้รับคัดเลือก เป็นคณะกรรมการการจดั การความรู้ ร่วมกนั ผลกั ดันใหก้ ารดาเนินงานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 2. การได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งถือเป็นอีกหน่ึงปัจจัย สาคญั ทก่ี ่อใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ที่เปน็ รปู ธรรม เกิดประโยชนแ์ ก่นกั ศกึ ษา สงั คม และประเทศชาติ บรรณานุกรม วมิ ล ดาศร.ี (2556). ผา้ พระบฏพระราชทาน. ศนู ยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช. ชูเกยี รติ สุทนิ . วทิ ยาลัยชา่ งศิลปนครศรธี รรมราชนครศรธี รรมราช. นายชานาญ นาคนิ ทร์. โรงเรยี นกัลยาณศี รธี รรมราช นายจักรชยั สายมณี. โรงเรยี นปากพนงั . นายวาที ทรพั ยส์ นิ . ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช. นายสมพร ธรรมรตั น.์ โรงเรยี นเบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช. ................................................................

รูปแบบการนาํ เสนอแนวปฏบิ ัติทดี่ ี โครงการประชมุ สัมมนาเครอื ขายการจัดการความรูฯ คร้งั ท1ี่ 2 “การจดั การความรสู ูมหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรบั อาจารย/ บุคลากรสายสนบั สนุน/ นกั ศึกษา ชือ่ เร่ือง/แนวปฏิบัติทีด่ ี วถิ ีคา ย วถิ ศี ิลปน ช่อื -นามสกลุ ผูน าํ เสนอ ชอื่ นางสาวณฐั หทยั พงศพทิ ักษ สถาบันการศึกษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป หนว ยงานหนว ยงาน ภาควิชาดุริยางคศิลป คณะศิลปนาฏดุริยางค เบอรโทรศัพทมือถือ 089-1973994 เบอรโทรสาร 02-2250197 E-Mail address [email protected] บทสรปุ ความถูกตอ งของเนอื้ หา วธิ กี ารบรรเลงในการพฒั นาทกั ษะเพอ่ื คุณภาพในการบรรเลง จะตองไดรับ การควบคุมอยางเครง ครดั จากผถู า ยทอดและผา นการตรวจสอบจากผเู ชยี่ วชาญ KM เร่อื งนเี้ นน การศกึ ษา แนวลึก ไดแกการฝกฝนคนควาของแตล ะคนใหเชีย่ วชาญ ชํานาญ แตกฉาน ในฐานะนกั ปฏิบัตทิ ุกคน จาํ เปนตองศึกษาทางแนวกวา งควบคูกันไปดว ย การศกึ ษาตามแนวกวา งนีห้ มายถึงการศกึ ษาใหร ใู หท ราบ ถึงวิทยาการสาขาอ่ืน ๆ ตลอดจนความรรู อบตัวเกี่ยวกับสภาวะและววิ ฒั นาการของสังคมในทุกแงมุม เพือ่ ชว ยใหมองเหน็ ใหเ ขาใจปญหาตางๆ อยางชดั เจนและสามารถนําวชิ าการดา นของตน ประสานเขา กับวิชา ดานอ่ืนๆไดโ ดยสอดคลองถูกตอ งและเหมาะสม กระบวนการถา ยทอดดนตรีไทยท่เี ปน เอกลกั ษณของศลิ ปนตนแบบทางดานดนตรไี ทยเพือ่ เปน การ อนรุ กั ษ สืบทอด และพัฒนาเปนการรอ ยเรยี งใหเกิดสายใยในการเช่ือมตอกนั ของศลิ ปน จากรนุ สูรนุ วชิ าชพี ดนตรีไทยจะพัฒนาไปไกลแคไหน แตร ากเหงา ของดนตรไี ทยทง้ั หมดยงั คงอยู และสามารถบอกเลา ได ตลอดเวลาผลงานและกระบวนการถายทอดของศลิ ปนแตละทา นจะถกู จารกึ ไวใ นบทความนคี้ วามสําคญั อีก ประการหนึ่งกเ็ พ่ือสรางโมเดลแบบฝกจากครตู น แบบ ใหน ักดนตรไี ทยรนุ ตอ ๆ ไป ไดนําไปเรยี นรู ทาํ ความ เขาใจเพ่ือสามารถนําองคความรทู ั้งหมดไปวเิ คราะห สังเคราะห เพ่ือหาแนวทางท่เี หมาะสมกับผเู รียน นําไป ประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมกับเทคนคิ กระบวนการถา ยทอดของตนเอง ดงั นั้นไมวาจะอนรุ ักษข องเกา หรือ พฒั นาตอยอด สรา งสรรคนวัตกรรมใหม ทั้งสองสง่ิ น้ีลว นแลวแตมีความสําคัญ และเปนสิ่งท่ีมีคา กับวงการ ดนตรีไทยท้ังสิ้น เขา ใจของเดิมสรางสรรคสิง่ ใหมก็เพื่อปรับใหเ ขา กบั สังคม คน และวฒั นธรรมในปจ จบุ ัน

Summary (บทสรุปเปน ภาษาองั กฤษ) Content accuracy and skills development of playing Thai classical instruments for the purpose of performance competency would have been strictly controlled by the knowledge transfers and rechecked by the experts. This knowledge management emphasizes In depth learning such as reseach practice which the individual learner should be proficiently and skillfully trained . As a practitioner, one must study In width Learning at the same time. This In width Learning means to learn in other branches of arts and sciences and , also, general knowledge which concludes conditions and evolution of society in every aspect so as to see and understand the problems clearly. Hence, academic study can be concordantly and appropriately applied to other knowledge . Transmission methods of Thai classical music ,renowned for the unique of the Thai classical master artists for preservation , inherit and development ,absolutely, is the connection of making relationship among artists from generation to generation. No matter how far the profession of Thai classical music may go, confidently, its roots will be remained and passed on beyond time. Each master artist's works and transmission methods will be recorded in this article. By the way, the importance is to create Practice Model from Thai classical master teachers to the descendant of Thai musicians for learning ,understanding and utilizing the explicit knowledge to analyze ,synthesize until each learner can realize one's own style and apply to one's technique of transmission methods appropriately. Therefore, whether preservation in traditional ways or further development by innovative creation, both truly maintain importance and values to Thai classical music circles. So, Camp HUB Way strongly builds up the Thai classical artist way to live harmoniously with society, human and culture nowadays. คาํ สําคญั Keyword 1.collective learning (การเรยี นรูรว มกัน) 2.เนื้อหา Content 3.ผูถายทอด Knowledge transfer 4.ผเู ชย่ี วชาญ expert 5.นกั ศึกษาหรือผูเรยี น learner

บทนาํ ความสําคัญ “วิถีคาย วิถีศิลปน : ตามรอยครูตนแบบ” เปนการถอดองคความรูท่ีมีในตัวของครู ตนแบบนํามาสรา งเปนแบบฝก หดั เพือ่ พฒั นาทกั ษะของผูเรียนศลิ ปน KM เร่ืองนี้จะชวยเติมเต็มความเปน ศิลปนของนักศึกษาอีกทางหน่ึง นอกจากกระบวนการเรียนการสอน ซึ่งท้ังสองสวนนี้ถือเปนส่ิงสําคัญที่จะ สงผลใหผูสําเร็จการศึกษาเปนผูมีความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานเปนที่ยอมรับระดับชาติ ใน เสนทางของ “ศลิ ปน ” ประเดน็ ของเรื่องเปาหมายในการจดั การความรู มีทัง้ หมด 4 ประเด็นดงั นี้ ประเดน็ ที1่ คือ เน้อื หา การสรางแบบฝกหัดสาํ หรบั การบรรเลงเพลงเดย่ี วสารถี 3 ชั้นเครือ่ งมือจะเขเพือ่ ฝก พัฒนาทักษะ ใหบรรเลง ไดอยา งถกู ตอ งและมีคุณภาพตามกรอบที่ผเู ชย่ี วชาญไดว างไว ประเดน็ ท่ี 2 คือผถู า ยทอด บคุ ลากรของคณะ วชิ าฯ จากการกําหนดประเด็นความรู คณะ KM Team ไดรว มกันจัดทาํ แผนการจดั การความรู เสนอตอ สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลปและแตง ต้ังคณะกรรมการการจดั การความรบู คุ ลากรของภาควิชา ฯจาํ นวน 3 ทาน คอื 1) อาจารยณัฐหทยั พงศพ ิทักษ 2)อาจารยห ทยั รตั น พงศพ ิทักษ 3)อาจารยอญั ญาภ แสงเทียน ประเดน็ ที่ 3 คอื ผูเ ช่ยี วชาญ โดยประกอบดว ยผเู ช่ยี วชาญทางดานดนตรีไทย จํานวน 1 ทา นทางดานคีตศิลปจ าํ นวน 1 ทา นเพื่อตรวจสอบแบบฝกหดั และประเด็นที่ 4 คอื นักศึกษา เครือ่ งมอื เอกเคร่ืองสายไทย ผูไดรับการ ถา ยทอดเพลงเดี่ยวสารถี 3 ชัน้ โดยคณะกรรมการทง้ั หมดลวนมีความรแู ละประสบการณในการสอนไมนอ ย กวา 5 ป เมื่อแตงต้งั คณะกรรมการในการจดั การความรเู รียบรอยแลว จึงประชุมคณะกรรมการเพือ่ จัดทาํ Knowledge Mapping เพอ่ื หาวาความรใู ดมคี วามสําคญั ตอ วถิ ีคาย วถิ ศี ิลปน : ตามรอยครตู น แบบ ปญ หาของกระบวนการ ตามหลกั การแบบศลิ ปน คอื คน เครอื่ งและเพลง โดยเริ่มท่ีผูบรรเลงตอง มีความกลาเปนที่ตั้ง ตองเครงครัดในระเบียบ วินัย ทาน่ังทาจับ ถูกตองตรงตามกระบวนการ บรรเลง ถูกตองตามแบบแผนที่มีมาแตโบราณ ดําเนินทํานองไดถูกตองเรียบรอย ใชทางไดเหมาะสม สละสลวย รักษาจังหวะและความถูกตองเม่ือบรรเลงรวมกับหนาทับ แนวชา เร็ว เหมาะสมตามลักษณะของเพลง เพลงถูกตอง ครบถวน ฝกทักษะอยางคลองแคลว ฝมือเปนเลิศ บรรเลงไดอยางชัดเจนไมเพี้ยนสวนในการ บรรเลงเพลงเด่ียวสารถีนั้น เปนเพลงท่ีมีลูกสะบัด ลูกขย้ี ลูกเก็บ ลูกหวานปนอยู มีหลากหลายอรรถรส จะเขจ ะบรรเลงเปน กลอนเก็บ ไมส ะบัดมากนัก ขยี้ไดนิดหนอย แตไมควรขย้ีท้ังเพลง จะไมโลดโผนมากนัก แตจะบรรเลงเกบ็ ตามเนอื้ ฆอ งโดยไมใ หหา งจากทํานองหลักมาก จะเขจะตองดีดใหกลอนมีความสัมพันธกับ เคร่ืองดนตรีอื่นในวงดวย การบรรเลงจะตองเรียบรอยที่สุด น้ําหนักเสียงจะตองพอดี ไมเบาหรือดัง จนเกินไป ในการบรรเลงน้ันผูบ รรเลงจะตองปฏิบัติตามครูสอน แบบที่ครูตอให ครบจังหวะ ครบหนาทับ บรรเลงแบบฉะฉาน สะบัด ขยี้ ใหเปนไปตามชองไฟ แนวในการบรรเลงยิ่งสําคัญ ส่ิงที่สําคัญอีกประการ คอื พืน้ ฐานของผบู รรเลง ความเฉลยี วฉลาด การจดจํา และความเขา ใจในทาํ นองเพลง วิธีการดําเนินงาน ใชกระบวนการการเรียนรูโดยการปฏิบัติ (Action Learning) คือ การเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหเขาใจถึงสาเหตุและนําไปสูการแกไขปญหา โดยสามารถ พัฒนาวิธีการทํางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได และใชทฤษฎี 5 เกลียวรู (รู:จัก ใจ ลึก จริง พอ) ของ ศ.ดร. ณรงคชัย ปฎกรัชต เพื่อศึกษากระบวนการถายทอดใหไดมาซึ่งแบบฝก ตามครูตนแบบ และใช กระบวนการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ

1.ข้ันตงั้ ปญ หา (Problem) 2.ขัน้ ต้ังสมมุตฐิ าน (Hypotheses) 3.ขัน้ เก็บรวบรวมขอ มูล (Gathering Data) 4.ขน้ั วิเคราะหข อมลู (Analysis) 5.ขัน้ สรปุ (conclude) ผลและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน สง่ิ สําคัญจากคณะกรรมการ ไดกลา วถงึ การบรรเลงเพลงเด่ียว ตามหลักการแบบศิลปน คือ คน เครื่อง และเพลง โดยเรม่ิ ท่ีผูบ รรเลงตองมีความกลา เปน ท่ตี งั้ ตองเครง ครัดในระเบยี บ วนิ ยั ทาน่ังทาจับ ถูกตองตรงตาม กระบวนการ บรรเลงถูกตองตามแบบแผนท่ีมมี าแตโ บราณ ดําเนินทาํ นองไดถูกตองเรียบรอย ใชท างไดเ หมาะสม สละสลวยรกั ษาจังหวะและความถูกตองเม่ือบรรเลงรว มกับหนาทบั แนวชา เรว็ เหมาะสมตามลักษณะของเพลง เพลงถูกตอ ง ครบถว น ฝก ทักษะอยา งคลองแคลว ฝม ือเปนเลศิ บรรเลงไดอ ยางชดั เจนไมเพีย้ นสวนในการบรรเลง เพลงเดีย่ วสารถนี นั้ เปน เพลงที่มลี กู สะบัด ลกู ขยี้ ลกู เกบ็ ลูกหวานปนอยู มหี ลากหลายอรรถรส จะเขจะบรรเลง เปนกลอนเกบ็ ไมสะบดั มากนัก ขยไ้ี ดน ดิ หนอย แตไมควรขยท้ี ั้งเพลง จะไมโลดโผนมากนัก แตจ ะบรรเลงเก็บ ตามเนื้อฆอ งโดยไมใ หหา งจากทาํ นองหลักมากจะเขจะตองดีดใหก ลอนมคี วามสมั พันธก บั เคร่ืองดนตรีอื่นในวงดวย การบรรเลงจะตองเรียบรอยที่สดุ น้ําหนักเสยี งจะตองพอดี ไมเ บาหรือดงั จนเกนิ ไป ในการบรรเลงน้นั ผบู รรเลง จะตอ งปฏิบัติตามครูสอน แบบที่ครูตอให ครบจงั หวะ ครบหนาทบั บรรเลงแบบฉะฉาน สะบัด ขย้ี ใหเ ปน ไปตาม ชอ งไฟ แนวในการบรรเลงยิง่ สาํ คัญ สิ่งทส่ี ําคญั อีกประการคือ พืน้ ฐานของผบู รรเลง ความเฉลียวฉลาด การจดจํา และความเขา ใจในทาํ นองเพลง เพลงสารถี 3 ช้นั ใชหนาทบั ปรบไก มีทั้งหมด 3ทอนเพลงทุกเพลงยอมมีความงามอยูในตัวเองแลวความ งามของ เพลงสารถี 3 ชัน้ อยูตรงไหน เสนหข องเพลงน้ีอยูตรงไหน ความนาสนใจอยูตรงไหน ลกั ษณะทํานอง ตอนทายมี โครงสรา งเหมือนกันในการบรรเลงเพลงเดี่ยวนี้ผบู รรเลงมีหนา ทีแ่ สดงใหเ ห็นถงึ ความงามความไพเราะ ความวจิ ติ ร พิสดาร ท่ีคนอน่ื ไมรแู ตเราในฐานะศลิ ปน เรารู เพราะเราสรา งจากพ้ืนฐานของการเรียนรกู ารบรรเลง เด่ยี วกับ การรวมวงมนั แตกตางกันอยา งไรวธิ คี ดิ งายๆอะไรท่ีเราพบเจอในเพลงเดีย่ ว แลวไมเ จอในการรวมวง เราดงึ วธิ ีนน้ั เอาออกมาฝก เปนพเิ ศษ ความพิเศษจึงจะเกิดข้นึ เพราะลกั ษณะของเด่ียวมกั จะโลดโผนกวาคแู ปด ดดี จะเขในเพลงสารถี 3 ช้นั ดีดอยางไรและดีดจะเขในเพลงเดี่ยวสารถี3 ชนั้ ดีดอยา งไร เพราะฉะนนั้ การดีดจะเข ในแต ละเพลงจึงมีความแตกตา งกนั จึงเรียกวา ความงามของการบรรเลงการดีดสํานวนตาง ๆ เราสนใจอะไรแนว เพลงชา-เรว็ ความเหมาะสมตองรสู าํ นวนกลอนเขา ใจแนวเพลง ความพอดี คอื ตรงไหน เทคนิคมีอะไรกลวธิ พี ิเศษ ใน การบรรเลงคือ อะไร แตล ะวิธแี ตล ะสํานวน มีวธิ กี ารอยางไรใหเ สียงออกมาคมชดั สรา งแบบฝก ออกมาเพือ่ ตอบ สนองความคมชดั สรางแบบฝกเพ่ือพฒั นาฝมอื พละกําลัง เพ่ือคณุ ภาพในการบรรเลง เมอื่ ไดแบบฝกหดั ผู บรรเลงสามารถนาํ วิธกี ารทง้ั หมดน้ี ไปใชก ับทุกกลุม เพลงในโลกใบน้ีกอนที่จะสรางแบบฝกหดั เราจะตองทราบ และทําความเขา ใจถึงวธิ ีการท้ังหมดในการบรรเลงจะเข

องคค วามรู ปจจัยสาํ คญั ท่ที ําใหงานบรรลุเปา หมาย 1.องคความรูจากครูตน แบบ “ผเู ชี่ยวชาญ” 2.แบบฝก ทไ่ี ดมาจากประสบการณตรงของผูเช่ยี วชาญ 3.ครูผถู ายทอด จากรุน สรู ุน 4.ลกู ศิษยผ ูส บื ทอด

การสรปุ ผลความรู ดานที่ 1 โนต เพลงเด่ียวสารถี 3 ช้นั ดานท่ี 2 แบบฝก ทไ่ี ดมาจากประสบการณตรงของผูเช่ียวชาญ แบบท่ี 1 ดีดเกบ็ เรียงเสียง ในเพลงเดี่ยวสารถี ซมรด ซดรม ฟซฟม ฟซฟล ซฟมฟ ซรมฟ ดรมฟ ซฟมร แบบฝกท่ี 2 สะบัดเสยี งเดียว เกณฑมาตรฐานสาขาวชิ าและวิชาชพี ดนตรไี ทย. (2538:189) ไดอธบิ ายวิธกี ารบรรเลง การ ดดี สะบัดเสยี งไวดังน้ี “การดดี สะบัดโดยใชไ มดดี “เขา -ออก-เขา ” และเพิ่มความเร็วจากการเก็บดดี ปกติสองเสยี ง เปนสามเสยี งในชว งจังหวะเดียวกัน มีทง้ั ดีดสะบดั เสยี งเดียว ดีดสะบดั สองเสยี งและ ดดี สะบดั สามเสยี ง” ในเพลงเดยี่ วสารถี ดรมฟ ซล ลลล ดรํ ํดํล ซฟ ฟฟฟ ดรมฟ ซล ลลล ดํรํดํล ซฟ ฟฟฟ สะบัด 2 เสียง (ขามเสียง) ลดล -ซ ในเพลงเดี่ยวสารถี ดรม ซ ดรด- ล มรม ดรด รมร สะบดั 3 เสียง เรียงนิ้ว (สะบัดลง) มํรํดํรมํ ํ ในเพลงเด่ยี วสารถี ทลซ ลท ดทํ ล ทดํ รํดํทดํรํ สะบัด 3 เสียง เรียงน้วิ (สะบดั ขน้ึ ) ทดรํ ดํ ํ ฟซล ซ ในเพลงเดยี่ วสารถี ดํ ซ ฟซลซ ดรม ร ซร

สะบัด 3 เสียง ขา มเสยี ง (สะบัดขน้ึ ) ซ มซล ซ ในเพลงเดีย่ วสารถี ซ มซมรด ดรม ร ม รมซ ม ซ แบบฝกที่ 3 ดดี ขย้ี เกณฑมาตรฐานสาขาวชิ าและวิชาชพี ดนตรีไทย. (2538:190) ไดอธิบายวิธีการดดี ขย้ไี ววา “คอื การ บรรเลงเพิม่ เติมเสยี งใหถี่ขึ้นกวา “เก็บ” อีก 1 เทา ตวั คือ 8 ตวั ใน 1 หอ งโนตไทย” จากการศกึ ษาขอมลู การดดี ขยี้ คอื การบรรเลงโดยการเพิ่มเสยี งใหถข่ี ้นึ จากการเกบ็ อีก 1 เทา ตัว กลาวคือ 8 ตัวโนตใน 1 หอ ง ในเพลงเดี่ยวสารถี ร ฟซลซฟร ฟซลดลซฟร ฟซลรดลซ ซลด ดานท่ี 3 จากการเรยี นรู ขอ เสนอแนะของครู แนวทางการแกป ญ หาเพอ่ื พัฒนาทักษะของผูเรียน 1.การดีดสะบดั วธิ ีการดดี สะบดั ปญหาที่พบ วิธีแกป ญ หา จะเร่มิ จากการดดี เขา-ออก อยางชาๆ ดีดไมคมชดั มีเสยี งบางเสยี ง เริม่ ฝกท่ลี ะจดุ จุดท1่ี คือ ใหช ดั ทกุ เสียง จากนน้ั สังเกตคณุ ภาพของ ทีห่ ายไป เบาไป ดังไป นาํ้ หนัก เรอื่ งของนาํ้ หนักการใชน ิว้ ท่ีกด เสียงดูวา มีความชัดเจนพอที่จะเพ่ิม ในการดีดไมเทากนั ทาํ ใหเ สยี งท่ี ตรงนม จดุ ท่ี2คือน้ําหนักมือใน ความเรว็ ได วธิ ีการสะบัดตองคาํ นึงถงึ ออกมาไมชดั เจน การใชไมดีด เสยี งทงั้ 3 เสียง จะตองดงั สม่ําเสมอ และ โดยฝก โดยจากการดดี ชา ๆ มีความกังวานเทากบั การดดี ชาๆ แตถ า แลว คอยๆเพิ่มความเร็ว เนน ยาํ้ ไมไดดีดสายเปลา เพียงอยางเดยี ว จะตอ ง สิ่งสาํ คัญในชว งแรกๆ คือครู กดนมดวย มอื ขา งซายทก่ี ดนม และมือ จะตอ งคอยควบคุมการฝก อยาง ขางขวาท่ีดีด จะตองมีความสัมพันธก ัน ใกลชดิ คอยแกป ญหา อธบิ าย ความเร็วเทา กัน จนกวา นกั ศึกษาจะเขา ใจ หลงั จากนน้ั จึงแยกใหน ักศึกษา ไปฝก พฒั นาทกั ษะของตนเอง ดว ยตนเองตอไป

2.การดดี ขย้ี ปญหาที่พบ วิธแี กป ญ หา วิธีการดดี ขยี้ ดีดไมค มชดั มีเสยี งบางเสยี ง เริ่มฝกท่ีละจุด นํา้ หนกั นิ้วที่ การดีดขย้ีคือการเพิ่มพยางคเ สยี งใน การบรรเลงใหถ่ีขึ้น เปนอีกเทาตัว ที่หายไป เบาไป ดังไป นํา้ หนัก กดนม นาํ้ หนกั มือในใชไ มดีด ฝก คลา ยคลงึ กบั การสะบดั เพยี งแตมี ในการดดี ไมเทา กนั ชอ งไฟไมได โดยการจําโนต ใหครบถว นกอน พยางคเ สยี งของการขยีม้ ากกวา วธิ ขี ย้กี ็ จะเรมิ่ จากการดีดโนตใหครบทกุ ตัวโนต ทาํ ใหเสยี งที่ออกมาไมชดั เจน คอยๆดีดชาๆ แลว คอ ยๆเพมิ่ ดีดชา ๆ เมอ่ื เสียงชดั คอยๆเพ่ิมความเรว็ ตรวจสอบชองไฟ ใหท ุกสวนมี ความเร็ว และฝก ทักษะ(ทําซา้ํ ๆ) ความสมั พันธกัน จนกวา จะชาํ นาญ สิ่งสาํ คัญคอื ในชวงแรก ครู ตอ งคอยควบคุมอยางใกล เม่ือ นกั ศกึ ษาเขาใจ จงึ แยกฝกดวย ตนเองตอไป หลังจากตรวจสอบแกปญหาไปทีละวธิ กี าร นกั ศึกษาจึงบรรเลงเพลงเดย่ี วทัง้ เพลง เพื่อเช็ควา เม่อื ฝก นอก เพลงบอ ย ๆซํา้ ๆแลว การนําวธิ ีการเหลา นั้นไปใชในเพลง จะเปน อยางไรบา ง ยง่ิ พบกันบอยเทา ไหร ปญ หาในการ บรรเลงจะย่ิงนอ ยตาม และจะสง ผลใหการบรรเลงเพลงเด่ียว ยง่ิ มคี ณุ ภาพมากขึ้น ตามลาํ ดับ ความตงั้ ใจของคณะกรรมการKM คือเม่ือสรปุ เลม ( โนต เพลง / แบบฝก หดั /แบบประเมิน) มคี วามต้ังใจ อยางย่งิ ทจี่ ะนาํ องคความรูท ี่ไดม าไปปฏิบัติ (เพื่อนําไปใชจริง) 2 ประการคือ 1.ตงั้ ใจทจ่ี ะจัดโครงการคายข้ึนมาเพ่ือใชแบบฝก หดั นี้ในการตอเพลงเดย่ี วสารถี 2.สง มอบใหกบั นักเรยี นนักศึกษาสาขาวชิ าดนตรไี ทย สังกัดสถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ปนักศึกษาสาขาวชิ าดนตรีไทยของ ทกุ มหาวทิ ยาลยั รวมถึงบุคคลทั่วไปทต่ี องการศึกษา สรา งแบบประเมินผลเพอ่ื นําไปสรุปผล โดยมีครตู นแบบเปนผูประเมิน ตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด แลวนําขอ มลู มาสรปุ ผล เพ่ือเสนอในท่ีประชมุ ในการพัฒนางานในลาํ ดับตอ ไป

บรรณานกุ รม ณรงคช ัย ปฏกรชั ต.2542.สารานกุ รมเพลงไทย. กรุงเทพ:โรงพมิ พเ รือนแกวการพมิ พ. ทบวงมหาวิทยาลยั ,สาํ นกั งานปลัด.2544.เกณฑมาตรฐานวิชาชพี ดนตรีไทยและเกณฑการประเมนิ . กรุงเทพฯ:ประกายพรึก. นธิ ิ เอ่ยี วศรวี งศ. 2536. ภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ กับการจัดการทรัพยากร. ทศิ ทางไทย. มานพ วิสทุ ธิแพทย. 2533.ดนตรไี ทยวเิ คราะห.กรุงเทพ:โรงพมิ พช วนพมิ พ. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส พับลเิ คช่นั ส

องคป ระกอบประเด็นการเขยี นบทความแนวปฏบิ ัตทิ ่ีดี โครงการประชุมสมั มนาเครือขายการจัดการความรูฯ ครงั้ ท1ี่ 2 “การจดั การความรสู ูมหาวิทยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรับอาจารย การสอนวชิ าชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21 Knowledge management in Thai stringed vocational teachingin the 21st century นางสาววัชรมณฑ คงขุนเทียน (Miss Watcharamon Kongkhunthian) ตําแหนง ครู สถานทที่ ํางาน วิทยาลัยนาฏศิลป E-mail address [email protected] ........................................................................................................................................... ชอื่ เรื่อง/แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษท่ี 21 ชื่อ-นามสกุล นางสาววัชรมณฑ คงขนุ เทียน สถาบนั การศึกษา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป หนวยงาน วิทยาลยั นาฏศลิ ป เบอรโทรศพั ทมือถือ 081-866-1640 E-mail Address [email protected] บทสรปุ ผบู รหิ าร การจัดการความรู เรื่อง การสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทยในศตวรรษท่ี 21 วิทยาลัย นาฏศิลปในสายการสอนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีวัถุประสงค เพ่ือรวบรวมองคความรูและการ ระดมความคิดเพ่ือหาประเด็นหัวขอหลักท่ีจะดําเนินการจัดการความรู เพ่ือเผยแพรองคความรู จากการแลกเปลย่ี นเรยี นรูเกย่ี วกบั แนวทางการปฏิบัตแิ ละกิจกรรมการสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทย ในศตวรรษท่ี 21 โดยกลุมเปาหมายในครั้งน้ี คือ ครู กลุมสาระการเรียนรูเครื่องสายไทย ภาควิชาดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏศิลป จํานวน 11 คน มีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการ สัมภาษณแบบสนทนากลุม ระดมความคิด และการแลกเปล่ียนเรียนรู เปนกลุมใหญ 2 คร้ัง คร้ังละประมาณ 60 นาที และทําการสัมภาษณแบบเจาะลึกเปนรายคน คนละ 2 – 3 ครั้ง เพื่อคนหาแนวคิด การวางแผน และแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือนําขอมูล

2 มาแลกเปล่ียนเรียนรู สรุปวิเคราะหเนื้อหา และนําเสนอผลการจัดการเรียนรู โดยผาน กระบวนการดําเนินการจัดการความรู 7 ข้ันตอน มีประธานจะเปนผูดําเนินการ โดยมีเลขานุการ เปนผูจดบันทึก คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียนการสอน รวมกันหาขอสรุป นําเสนอในการประชุมเพื่อใหบุคลากรสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูตาม ภาควิชาตางๆ เพื่อใหครูอาจารย ไดนําไปใชประโยชน นอกจากน้ีนําองคความรูเผยแพร ใน Blog KM ของวิทยาลัย และจัดนิทรรศการในสัปดาหวิชาการของวิทยาลัยนาฏศิลป หลังจากนั้น คณะกรรมการจัดทําองคความรูในรูปแบบของเอกสาร โดยมีกระบวนการในการเผยแพรองค ความรูไปสูครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาควิชาตางๆ ในวิทยาลัยนาฏศิลป หลากหลาย ชองทาง เชน การประชุมสัมมนา การเผยแพรในระบบเอกสารทางราชการผานบันทึกราชการ การเผยแพรผ า นเวบ็ ไซด บอรดประชาสัมพันธ และชองทางอื่นๆ ของวิทยาลัยนาฏศิลป เพื่องาย ตอ การสบื คน ศึกษาคนควา และการใหขอเสนอแนะตางๆ และนําผลจากการนําองคความรูไปใช มาแกไข ปรับปรุงองคความรูเดิมตามขอเสนอแนะตางๆ เพ่ือใหมีความชัดเจน และมีความ สมบรู ณขององคค วามรู และจัดทําบัญชีผูน ําองคค วามรูไปใชแลว ประสบผลสาํ เรจ็ ตอไป Summary Knowledge management in Thai stringed vocational teaching in the 21st century College of Dramatic Arts in the teaching of basic education level has a purpose. In order to gather knowledge and brainstorming to find the main topics to implement knowledge management in order to disseminate knowledge from the exchange of learning about the practices and activities of Thai stringed vocational teaching in the 21st century. This target group is teachers. Thai String Learning Group Department of Thai Orchestra the College of Dramatic Arts, number 11, has a method to collect data by interviewing, group discussion, brainstorming and learning exchange. Is a large group, 2 times, each time about 60 minutes, and conducting in-depth interviews with each person 2 - 3 times to find the concept, planning and guidelines for teaching and learning activities In order to exchange information and learn Summary of content analysis and present the results of learning management .Through the process of knowledge management 7 steps with the president to be the operator with the secretary as the note-maker Knowledge management committee Teaching and learning together find a conclusion presented in the meeting to allow personnel to

3 exchange learning organize a forum to exchange knowledge in various departments. For teachers have been utilized in addition, bringing knowledge to be published in KM blogs of colleges and exhibitions in the academic week of the College of Dramatic Arts. After that, the committee created the knowledge in the form of documents with the process of disseminating knowledge to teachers and personnel Faculty of Education in various disciplines in the College of Dramatic Arts, such as seminars, through websites and other announcements of the College of Dramatic Arts for continuing education and providing a variety of advice. Various suggestions for clarity and completeness of knowledge and accounting for knowledge leaders. คาํ สําคญั การสอนวชิ าชีพเคร่ืองสายไทย/การสอนในศตวรรษท่ี 21/ดรุ ยิ างคไทย บทนํา ในการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที 21 เปนการใชกลยุทธการสอน แนวการสอน รูปแบบการเรียนการสอน และวิธีสอนตางๆ ซึ่งแตละวิธีน้ันประกอบดวยกระบวนการตางๆ ท้ัง การเรียนรู การคิดและการปฏิบัติ ซึ่งเปนการเสริมสรางทักษะการคิดและกระบวนการคิด ทักษะ ปฏิบัติอันเปนความชํานาญทั่วไป และความชํานาญของแตละกลุมสาระการเรียนรูและแตละ สาขาวิชา ซึ่งผูสอนควรเห็นความสําคัญและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนทั้งยุคนี้และยุค ใหมตอไป เพื่อใหเขากับสถานการณในปจจุบันที่กําลังกาวสูโลกยุคดิจิตอล เพ่ือนําพาไปสูการ เรยี นรูท่ียง่ั ยืน กลุ่มสาระการเรียนรู้วชิ าชีพเคร่ืองสายไทย ภาควชิ า ดุรยิ างคไ์ ทย วทิ ยาลยั นาฏศิลป มหี น้าทใ่ี นการทาํ การสอน รายวชิ าเครอ่ื งสายไทยให้แกผ่ ูเ้ รยี น มุงผลิต นักเรียน นกั ศึกษา สูความเปน เลิศดานนาฏศิลปและดุริยางคศิลป ผสมผสานกับวิทยาการที่เปนสากลใหเกิดความงอกงามทาง สติปญญา สามารถพัฒนาตนเองใหเพยี บพรอมดว ยวิชาการ จริยธรรม และคุณธรรม มีพันธกิจใน ดานการจัดการศึกษาดานนาฏศิลปและดนตรีระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จนถึงระดับอุดมศึกษา อยางมีคุณภาพ สรางพัฒนาและเผยแพรงานวิจัยดานนาฏศิลปและดนตรีมีคุณคาสูสังคม ใหบริการทางวชิ าการดานนาฏศิลปแ ละดนตรี กับองคก รภาครัฐ เอกชน และบคุ คลท่ัวไป อนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม และรักษาส่ิงแวดลอม และเปนแหลงรวมองคความรูดานนาฏศิลป ดนตรี ซ่ึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook