Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี)

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี)

Description: แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี)

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญ เก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจว่าภารกิจใดท่ีมีความจำเป็น หรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการหรือไม่ โดยให้คำนึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลง ต่อรัฐสภาและแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง และสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แจ้ง ให้ส่วนราชการจัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้ทันต่อการจัดทำ คำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดสรร งบประมาณประจำปีของสำนักงบประมาณ และเม่ือจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แลว้ เสร็จ ใหน้ ำเขา้ ระบบ eMENSCR กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมอื่ วันที่ 12 มนี าคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ นัน้ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณ รายจ่ายประจำปี) ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี (โครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเช่ือมโยง ข้อมูลสู่ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบี ยบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 ส ำห รั บ ใช้ เป็ น ก ร อ บ แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด ท ำ ค ำ ข อ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ป ร ะ จ ำ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์ ก

บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญ เกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทด่ี ี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 มาตรา 7 ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจว่าภารกิจใดท่ีมีความจำเป็น หรือสมควรท่ีจะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปล่ยี นแปลงการดำเนินการหรือไม่ โดยให้คำนึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของ คณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภาและแผนอื่นท่ีเกี่ยวข้อง และสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ได้แจ้งให้ส่วนราชการจัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้ทันต่อการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือใช้เป็นข้อมูล ประกอบการจัดสรรงบประมาณประจำปีของสำนักงบประมาณ และเมื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แล้วเสร็จ ให้นำเข้าระบบ eMENSCR กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ นั้น ดังน้ัน เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี (โครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ และเช่ือมโยงข้อมูล สู่ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตาม ระเบี ยบ ว่าด้วย การติ ดต าม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิ รูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) ขึ้น เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการ ปฏิบัติงานและจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ วสิ ัยทศั น์ การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสทิ ธภิ าพ ผูเ้ รยี นได้รบั การเรียนรู้ ตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพและมที ักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 พันธกจิ 1. ส่งเสริมสนับสนุนการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการทุกระดบั ทุกพื้นที่ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รียน 2. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องกับทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ข

3. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา อย่างทว่ั ถงึ ตามศกั ยภาพของผู้เรียน เพือ่ ลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษา 4. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะ ของข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะท่ีจำเป็นของผู้เรียน ในศตวรรษท่ี 21 เป้าประสงค์รวม 1. สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารมีการบริหารและการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการ ตามหลกั ธรรมาภิบาล 2. ผู้เรียนมีการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมีทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษท่ี 21 3. ผเู้ รยี นได้รบั โอกาสเขา้ ถงึ การศึกษาที่มีคณุ ภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาค 4. ขา้ ราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามสี มรรถนะการปฏิบัติงานในศตวรรษที่ 21 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง 2. พฒั นากำลงั คน การวิจยั เพื่อสรา้ งความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ใหม้ คี ุณภาพ 4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 5. พฒั นาระบบบริหารจัดการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ เป้าประสงคต์ ามประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคลอ้ ง เหมาะสมกับการเสรมิ สร้างความมน่ั คงในแตล่ ะบรบิ ท 2. ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะที่ตอบสนอง ความต้องการของตลาดแรงงานและการแขง่ ขนั ของประเทศ 3. ผเู้ รียนมคี ุณภาพ ทักษะและสมรรถนะการเรียนรทู้ ี่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อการพัฒนา ทักษะทีจ่ ำเปน็ ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 5. หนว่ ยงาน/สถานศึกษา มีกจิ กรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์และปรับเปลยี่ น พฤตกิ รรมใหเ้ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 6. ผูเ้ รียนได้รบั โอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพ อย่างทั่วถึง และเสมอภาคดว้ ยรปู แบบ ท่หี ลากหลาย 7. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผรู้ ับบรกิ ารไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส ตามหลักธรรมาภบิ าล ค

กลยทุ ธ์ภายใตป้ ระเด็นยุทธศาสตร์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่ันคง กลยุทธ์ 1.1 ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดท่ีถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพสถาบันหลัก ของชาติ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข น้อมนำ เผยแพร่ศาสตร์ พระราชาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางพระราชดำริ 1.2 ยกระดับและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและพัฒนา สมรรถนะการเรียนรู้/วิชาชีพในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนท่ี พิเศษ (พ้ืนท่ีสูง พื้นที่ตามตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบและแรงงานตา่ งดา้ ว) 1.3 พัฒนากลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหา ภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ (ยาเสพติด, ภยั ไซเบอร,์ ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติ, โรคอบุ ัติใหม่ ฯลฯ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนากำลังคน การวิจัย เพื่อสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กลยทุ ธ์ 2.1 พัฒนาทักษะแรงงานฝีมือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพ้ืนที่ และภมู ภิ าค (อาทิ พื้นที่และเมอื งน่าอยู่อัจฉริยะ ดจิ ิทัลชุมชน) 2.2 ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากร วจิ ัยทางการศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มี คุณภาพ กลยุทธ์ 3.1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาโดยบรู ณาการองคค์ วามรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา 3.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ผ่านประสบการณต์ รงจากการลงมอื ปฏิบตั ิ 3.3 สร้างเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต ทีเ่ ท่าทนั และสามารถอยรู่ ่วมในสังคมศตวรรษที่ 21 3.4 สร้างแพลตฟอรม์ ดิจิทัลรองรับการเรียนรรู้ ูปแบบใหม่ 3.5 พัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและสมรรถนะที่จำเป็นของผู้เรียน ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 3.6 บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างหลักคิดและทัศนคติท่ีถูกต้อง ดา้ นระเบียบ วินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะ ความเป็นพลเมอื ง 3.7 พัฒนาทักษะการสื่อสารและการใช้ภาษาไทย ภาษาถิ่น (ภาษาแม่) ต่อยอด การเรียนรูแ้ ละการประกอบอาชีพ 3.8 พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3.9 สง่ เสริมกจิ กรรมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั ในการจดั การคณุ ภาพ ส่งิ แวดล้อมด้วยกระบวนการมีสว่ นร่วม ง

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา กลยทุ ธ์ 4.1 เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างหลากหลายครอบคลุม ทกุ พนื้ ท่ี และกลุ่มเป้าหมาย 4.2 ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และสื่อการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัลออนไลน์ แบบเปิด ทเ่ี หมาะสมตอ่ การเขา้ ถงึ และพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 5.1 ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการ/ บริการประชาชน 5.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ภาค และฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษา ใหเ้ ป็นเอกภาพ เชอื่ มโยงกัน เปน็ ปัจจุบนั และทนั ต่อการใช้งาน 5.3 สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการ บรู ณาการเชอื่ มโยงทกุ ระดบั รวมทง้ั การมสี ว่ นร่วมกับทุกภาคสว่ นในพื้นทนี่ วตั กรรมการศึกษา 5.4 เร่งรัด ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับบรบิ ททีเ่ ปลยี่ นแปลง 5.5 ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งและอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานให้มีความยืดหยุ่น คลอ่ งตัว ไมซ่ ำ้ ซอ้ น และทันสมยั เอือ้ ตอ่ การพฒั นาประสทิ ธิภาพและขีดสมรรถนะองค์กร 5.6 พัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบให้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง และตดิ ตามพฤติกรรมเส่ยี งการทุจริต 5.7 พัฒนาระบบงานการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน เพ่ือยกระดับ สมรรถนะการปฏิบัติงาน จ

สรุปงบประมาณตามแผนปฏิบตั ิราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) จำแนกรายประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป. งบ/งาน/ประเด็นยทุ ธศาสตร์/ จำนวน คำของบประมาณ กลุม่ โครงการ โครงการ ประจำปีงบประมาณ รวมงบประมาณรวมท้ังสน้ิ 544 พ.ศ.2565 109 (หน่วย : บาท) งบบุคลากรภาครฐั 18 2 62,552,459,400 งบลงทนุ 60 8,888,426,100 5 3,711,202,800 งานบริหารจัดการสำนักงาน 24 2,886,606,455 135 47,066,224,045 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 78 2,739,025,844 56 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป.ที่ 1 พัฒนาการจดั การศึกษาเพือ่ ความ 1 422,358,900 ม่ันคง 112 1.1 กลมุ่ โครงการเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของสถาบนั หลกั ของชาติ 36 73,972,200 ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข 15 1,847,701,100 1.2 กลุ่มโครงการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ 15 8 33,086,015 1.3 กลมุ่ โครงการพฒั นาการศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจ 361,907,629 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 2,183,830,261 1.4 กลมุ่ โครงการจดั การศึกษาเพื่อความม่ันคงในเขตพน้ื ทพี่ ิเศษ 2,068,660,561 1.5 กลมุ่ โครงการพฒั นาความรว่ มมือดา้ นการศึกษากับต่างประเทศ 57,027,900 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป.ที่ 2 พัฒนากำลังคน การวจิ ยั เพอื่ สรา้ ง 58,141,800 ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ 1,847,046,980 2.1 กลุ่มโครงการพืน้ ทีแ่ ละเมืองน่าอยูอ่ จั ฉริยะ 334,900,265 2.2 กลมุ่ โครงการวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม 500,764,385 2.3 กลุ่มโครงการดจิ ทิ ัลชุมชน 359,713,700 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ สป. ที่ 3 พัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพ 315,052,230 ทรพั ยากรมนษุ ย์ใหม้ คี ณุ ภาพ 3.1 กลมุ่ โครงการปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม จติ สาธารณะ และความเปน็ พลเมือง 3.2 กลมุ่ โครงการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิตต้งั แต่ปฐมวยั จนถงึ วยั ผ้สู งู อายุ 3.3 กลมุ่ โครงการปฏริ ปู การเรยี นรู้ 3.4 กลมุ่ โครงการพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของขา้ ราชการครู และบุคลกรทางการศกึ ษา ฉ

งบ/งาน/ประเด็นยุทธศาสตร์/ จำนวน คำของบประมาณ กล่มุ โครงการ โครงการ ประจำปีงบประมาณ 3.5 กลุ่มโครงการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา 23 พ.ศ.2565 12 (หน่วย : บาท) 3.6 กลุ่มโครงการพฒั นาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ 3 260,183,750 3.7 กล่มุ โครงการจดั กจิ กรรมเสริมสร้างคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มติ ร 38 62,707,620 กบั สิ่งแวดลอ้ ม 13,725,030 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป. ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาค 25 ทางการศกึ ษา 13 38,273,702,000 4.1 กลุ่มโครงการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 150 37,653,907,100 4.2 กลุ่มโครงการพฒั นาคณุ ภาพสอื่ การเรยี นรผู้ า่ นระบบดจิ ทิ ลั 619,794,900 และแหล่งเรียนรทู้ เ่ี ขา้ ถงึ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต 9 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป. ท่ี 5 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ี 3 2,022,618,960 ประสทิ ธภิ าพ 4 5.1 กลมุ่ โครงการบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ 131,107,450 7 13,310,800 5.2 กลุ่มโครงการต่อต้านการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ 4,548,300 83 5.3 กลมุ่ โครงการพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บงั คับดา้ น 1,167,639,750 การศึกษา 2 5.4 กลุม่ โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมลู ของจงั หวัด ภาค 7 593,227,640 และฐานขอ้ มลู กลางดา้ นการศกึ ษา 5.5 กล่มุ โครงการสรา้ งและพัฒนากลไกการบรหิ ารจดั การศึกษา 32 10,879,900 และการมีสว่ นรว่ มกบั ทุกภาคส่วน 42,007,770 5.6 กลุ่มโครงการปรบั ปรงุ โครงสร้างอำนาจหนา้ ทขี่ องหนว่ ยงาน 3 58,072,350 5.7 กลมุ่ โครงการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ พลเรือนและบุคลากรทางการศกึ ษาอื่น 1,825,000 5.8 กลุ่มโครงการพัฒนาบุคลากรของสำนกั งานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ 5.9 กลมุ่ โครงการประชาสมั พันธ์ดา้ นการศึกษา ช

สารบัญ หนา้ (ก) คำนำ (ข) บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหาร (ซ) สารบัญ สว่ นที่ 1 บทนำ 1 1 1. ความเป็นมา 2 2. วตั ถุประสงค์ 2 3. วธิ ีการดำเนนิ งาน 3 4. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ 4 สว่ นที่ 2 กรอบแนวคิดและความสอดคล้องกับแผน 3 ระดบั 4 1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 6 2. ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561–2580 7 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็น 13 ยทุ ธศาสตรช์ าติ อันเปน็ ผลมาจากสถานการณโ์ ควดิ - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) 20 และโครงการสำคัญเพื่อบรรลเุ ปา้ หมายยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแม่บทภายใต้ 20 ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 21 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทสี่ บิ สอง พ.ศ. 2560–2564 21 6. นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562-2565) 24 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี 26 8. เปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : 30 SDGs) 33 9. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 35 10. นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 11. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค 46 12. (รา่ ง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ 54 13. ผลการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 55 14. อำนาจหนา้ ที่ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 15. ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก ของสำนกั งาน ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 16. ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั ตามนยั ยะมตคิ ณะรฐั มนตรี เมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม 2560 ซ

สารบัญ (ตอ่ ) ส่วนที่ 3 สาระสำคญั ของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หนา้ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณ 72 ส่วนท่ี 4 รายจา่ ยประจำปี) ส่วนที่ 5 1. วสิ ยั ทศั น์ 72 2. พนั ธกจิ 72 3. คา่ นยิ ม 73 4. เปา้ ประสงค์รวม 73 5. ตัวช้ีวดั เป้าประสงค์รวมและค่าเป้าหมาย 73 6. ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงคแ์ ละกลยทุ ธ์รายประเด็นยุทธศาสตร์ 75 7. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ตวั ชว้ี ัดและค่าเป้าหมายรายประเด็นยุทธศาสตร์ 77 8. ความเชอ่ื มโยงแผน 3 ระดับของประเทศ ส่แู ผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี 80 งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 81 (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี) 9. แผนผงั ความเชอ่ื มโยงสาระสำคญั ของแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี 82 งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี) 84 ตารางสรุปภาพรวมงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 85 (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำป)ี งาน/โครงการและงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ สป. 86 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 1. ตารางสรปุ โครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 96 พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คง 97 1.1) กลมุ่ โครงการเสริมสรา้ งความมัน่ คงของสถาบนั หลกั ของชาติ 120 ตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ 123 140 1.2) กลุ่มโครงการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 1.3) กลมุ่ โครงการพัฒนาการศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ 141 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1.4) กลมุ่ โครงการจัดการศึกษาเพ่ือความมน่ั คงในเขตพนื้ ท่ีพเิ ศษ 1.5) กลมุ่ โครงการพฒั นาความร่วมมอื ด้านการศึกษากบั ต่างประเทศ 2. ตารางสรปุ โครงการและงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นากำลังคน การวิจยั เพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 2.1) กลมุ่ โครงการพนื้ ที่และเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ ฌ

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 172 2.2) กลมุ่ โครงการวิจยั และพฒั นานวตั กรรม 184 2.3) กลุ่มโครงการดจิ ิทัลชุมชน 185 3. ตารางสรปุ โครงการและงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ยใ์ หม้ ีคณุ ภาพ 186 3.1) กลุ่มโครงการปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม จิตสาธารณะ 192 และความเปน็ พลเมือง 3.2) กลุ่มโครงการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ตั้งแต่ปฐมวัย 198 204 จนถงึ วยั ผู้สูงอายุ 3.3) กลมุ่ โครงการปฏิรปู การเรยี นรู้ 209 3.4) กลุ่มโครงการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครู 220 223 และบคุ ลากรทางการศึกษา 3.5) กล่มุ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 226 3.6) กลมุ่ โครงการพฒั นาทักษะภาษาต่างประเทศ 3.7) กลุ่มโครงการจดั กจิ กรรมเสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ ร 227 232 กบั ส่งิ แวดล้อม 4. ตารางสรปุ โครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 240 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 241 4.1) กลมุ่ โครงการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 242 4.2) กลุม่ โครงการพัฒนาคณุ ภาพส่อื การเรยี นรผู้ า่ นระบบดจิ ิทัล 244 และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเข้าถงึ การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ 245 5. ตารางสรุปโครงการและงบประมาณตามประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 247 พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ีประสิทธภิ าพ 5.1) กลุม่ โครงการบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ 273 5.2) กลมุ่ โครงการต่อต้านการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ 274 5.3) กลมุ่ โครงการพฒั นากฎหมาย กฎ ระเบยี บและขอ้ บังคบั ดา้ นการศึกษา 5.4) กลมุ่ โครงการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ของจังหวัด ภาค และฐานขอ้ มูล กลางดา้ นการศกึ ษา 5.5) กลมุ่ โครงการสร้างและพัฒนากลไกการบรหิ ารจัดการศกึ ษา และการมสี ่วนร่วมกับทุกภาคส่วนในพน้ื ท่นี วตั กรรมการศึกษา 5.6) กลุ่มโครงการปรับปรุงโครงสร้างอำนาจหนา้ ท่ีของหน่วยงาน 5.7) กลมุ่ โครงการพัฒนาระบบการบริหารงานบคุ คลของขา้ ราชการ พลเรือนและบุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืน ญ

สารบญั (ตอ่ ) สว่ นท่ี 6 5.8) กลุม่ โครงการพฒั นาบคุ ลากรของสำนักงานปลัดกระทรวง หน้า ภาคผนวก ศึกษาธิการ 276 5.9) กลมุ่ โครงการประชาสมั พันธด์ ้านการศึกษา 283 ระบบการติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลแผนปฏบิ ตั ิราชการ 284 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี) 286 287 ภาคผนวก 1 288 รายละเอยี ดตวั ชีว้ ัดเปา้ ประสงคร์ วมและเป้าประสงคร์ ายประเด็น 294 ยุทธศาสตร์ 295 ภาคผนวก 2 ความสอดคล้องระหวา่ งโครงการกับนโยบาย/แผนงาน/โครงการสำคัญ/ 307 308 กิจกรรม Big Rock ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 316 ภาคผนวก 3 317 คำสั่งคณะทำงานจดั ทำแผนปฏิบตั ริ าชการฯ 323 ภาคผนวก 4 324 อักษรย่อหน่วยงาน ภาคผนวก 5 หนังสอื อนมุ ตั สิ าระสำคัญของแผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั จดั ทำคำขอ งบประมาณรายจ่ายประจำป)ี และหนังสืออนมุ ัติแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธิการ (ฉบบั จดั ทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำป)ี ฎ

ส่วนที่ 1 บทนำ 1. ความเปน็ มา ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญ เก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ ของงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 ให้ส่วนราชการทบทวนภารกิจว่าภารกิจใดท่ีมีความจำเป็น หรือสมควร ท่ีจะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการหรือไม่ โดยให้คำนึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภาและแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง และสำนักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แจ้งให้ส่วนราชการจัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้ทันต่อการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อใช้ เปน็ ขอ้ มูลประกอบการจัดสรรงบประมาณประจำปีของสำนกั งบประมาณ และเม่อื จดั ทำแผนปฏบิ ัติ ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แล้วเสร็จ ให้นำเข้าระบบ eMENSCR กอรปกับมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ใหส้ อดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ นัน้ ดังน้ัน เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 แผนระดับ 2 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์ โควิด - 19 พ.ศ. 2564 - 2565 ที่ประกาศราชกิจจานุเบกษาเป็นแผนระดับ 2 รวมท้ังให้สอดรับกับ มติคณะรัฐมนตรี (โครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) นโยบายรัฐบาล เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สำหรับประเทศไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ร่าง แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการและเช่ือมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ ตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติ ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำขอ งบประมาณรายจ่ายประจำปี) ข้ึน

2. วตั ถุประสงค์ เพ่ือจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัด กระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำป)ี สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทาง ในการปฏิบัติงานและจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. วิธีการดำเนนิ งาน 1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 ของประเทศและบริบท ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทเฉพาะกิจ ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควดิ - 19 พ.ศ. 2564 - 2565 โครงการ สำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง (คณะ รัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เม่ือวันท่ี 8 ธนั วาคม 2563) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สำหรับประเทศไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ร่าง แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ.2565 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและบริบทต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง 2. กำหนดกรอบเค้าโครง แนวทางการจดั ทำแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี) 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศที่เก่ียวข้องและยกร่างสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำขอ งบประมาณรายจ่ายประจำปี) เพื่อประกอบการพิจารณาทบทวนสาระสำคัญของแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ให้สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผล มาจากสถานการณ์โควิด – 19 โครงการสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย ความม่ันคงแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สำหรับประเทศไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อำนาจหนา้ ท่ีของสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการและบริบทอ่นื ทเี่ ก่ยี วข้อง 2

4. ประชุมทบทวนสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) เมอื่ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2563 5. ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) เพ่ือจัดทำรายละเอียดงาน/โครงการและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับสาระสำคัญของแผนปฏิบัติ ราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับจัดทำคำขอ งบประมาณรายจา่ ยประจำป)ี 6. จัดทำ ร่าง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั จดั ทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี) 7. เสนอขออนุมัติแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจา่ ยประจำป)ี ต่อผู้บริหารระดับสูง 8. เผยแพร่แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) ทั้งในรูปแบบเอกสาร เว็บไซต์ของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ สป. และระบบ BPSI ของสำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สป. 4. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั จัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) ที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและจัดทำคำของบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 3

ส่วนท่ี 2 กรอบแนวคิดและความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั กรอบแนวคิด แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) ได้จัดทำภายใต้กรอบแนวคิดแผนระดับ 1 ระดับ 2 และแนวนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย ยุทธศาสตร์ จุดเน้น แผน รายงานผลการปฏิบัติราชการ และผลการวิเคราะห์ SWOT ท่ีเก่ียวข้อง กับภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และป ระเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ดังนี้ 1. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 2. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) และโครงการสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เม่ือวันที่ 8 ธันวาคม 2563 5. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับทสี่ ิบสอง (พ.ศ.2560 - 2564) 6. นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี) 8. เป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 9. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579) 10. นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 11. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค (พ.ศ. 2560 – 2565) ฉบับทบทวน 12. ร่าง แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี พ.ศ.2565 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 13. ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 14. อำนาจหน้าทีข่ องสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 15. ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ 16. ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติ ครม. เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2560

1. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการ ปกครองประเทศได้กำหนดหมวดสำคัญๆ ที่เก่ียวกับการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศกึ ษาและการเขา้ รบั บริการการศึกษาของประชาชน หมวดหน้าท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าท่ีเข้ารับการศึกษาอบรม ในการศกึ ษาภาคบังคับ หมวดหน้าที่ของรัฐ มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา สิบสองปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้อง ดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มี การร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดำเนินการกำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ท้ังนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีวินัย ภมู ใิ จในชาติ มีความสามารถเชย่ี วชาญไดต้ ามความถนดั ของตนและมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศึกษาภาคบังคับ หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ และได้รับ การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือ ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหล่ือมล้ำในการศึกษาและเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอสิ ระและกำหนดให้มกี ารใช้จา่ ยเงนิ กองทุนเพื่อบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศในด้าน การศกึ ษา ใหเ้ กิดผลดงั ตอ่ ไปน้ี 1) เริ่มดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่าย 2) ดำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนเพ่ือใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลน ทุนทรพั ย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้ำในการศึกษาและเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ให้แล้วเสร็จภายในหนง่ึ ปนี ับต้งั แตว่ นั ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ 5

3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบ คณุ ธรรมในการบรหิ ารงานบคุ คลของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู 4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเปา้ หมายดังกล่าว โดยสอดคล้อง กันทั้งในระดบั ชาติและระดับพน้ื ท่ี หมวดการปฏริ ูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ดา้ นการศึกษา ให้มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระคณะหน่ึงท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดำเนินการศึกษาและจัดทำ ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย เพ่ือเสนอ คณะรัฐมนตรีดำเนินการ 2. ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561-2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำ แผนตา่ ง ๆ ใหส้ อดคล้องและบรู ณาการกันเพื่อให้เกดิ เป็นพลงั ผลักดันร่วมกันไปสู่เปา้ หมาย วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกจิ พฒั นาอย่างต่อเน่ือง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยง่ั ยนื ” ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 6 ด้าน และภารกิจสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ สนบั สนนุ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาทส่ี ำคัญทัง้ 6 ดา้ น ดังนี้ 1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง 2) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 4) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ 1) ความอยดู่ ีมีสขุ ของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากร ธรรมชาติ 6) ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ 6

3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสำคัญเพ่ือบรรลุ เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 3.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมายตามท่ีกำหนด ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 23 ประเด็น 62 แผนย่อย (ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การประกาศแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วนั ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึง่ เกย่ี วข้องกับภารกิจสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 12 ประเดน็ 21 แผนย่อย 1) ประเด็นความมั่นคง ใน 2 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การรักษาความสงบภายใน ประเทศ 3.2 การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทมี่ ีผลกระทบต่อความม่ันคง 6) ประเด็นพ้ืนท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การพัฒนา เมืองนา่ อยอู่ ัจฉริยะ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ ใน 3 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก 3.2 การพัฒนาพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ 3.3 การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พเิ ศษชายแดน 10) ประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และการเสริมสร้างจติ สาธารณะและการเป็นพลเมืองท่ีดี 11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.2 การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น 3.4 การพฒั นาและยกระดับศกั ยภาพวยั แรงงาน 3.5 การส่งเสริมศักยภาพผสู้ งู อายุ 12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การปฏิรูป กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 17) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การคมุ้ ครองทางสงั คมขัน้ พ้นื ฐานและหลักประกนั ทางเศรษฐกิจ สงั คม และสุขภาพ 18) ประเด็นการเติบโตอย่างย่ังยืน ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.5 การยกระดับ กระบวนทศั น์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ 20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ใน 4 แผนยอ่ ย ได้แก่ 3.1 การพัฒนาบริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบ บริหารงานภาครัฐ 3.5 การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 21) ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การปอ้ งกันการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ 22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การพัฒนากฎหมาย 23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.4 การวิจัย และพฒั นานวัตกรรมด้านองค์ความรู้พน้ื ฐาน 7

3.2 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจาก สถานการณ์โควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 คณะรฐั มนตรมี มี ติเห็นชอบ เมอื่ วันที่ 29 กันยายน 2563 รวม 2 เรอ่ื ง 1) การแก้ไขเพ่ิมเติมแผนแม่บทให้สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลงหรือความจำเป็น ของประเทศ ตามมาตรา 10 ของพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 โดยมอบให้ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดำเนินการตามแนวทางการจัดทำ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติในรูปแบบเฉพาะกิจ เพื่อรองรับผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด-19 ในช่วงระหว่างปี 2564-2565 คือ ใช้ ร่าง แผนแม่บทเฉพาะกิจฯ เบ้ืองต้น ไปรับฟัง ความคิดเห็นและนำเสนอ ร่าง แผนแม่บทเฉพาะกิจฯ ฉบับสมบูรณ์ ต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ และคณะรฐั มนตรี ภายในเดือนพฤศจิกายน 2563 2) โครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 571 โครงการ โดยมอบให้ สศช. สำนัก งบประมาณและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง ดำเนนิ การตามแนวทางการขับเคล่ือนโครงการสำคญั ดงั นี้ 2.1) สำนักงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณรองรับการดำเนินการ โครงการสำคัญประจำปีงบประมาณ 2565 ทั้ง 571 โครงการ ในลักษณะงบประมาณพิเศษ หรืองบประมาณแบบบูรณาการ และให้ใช้ ร่าง “แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด-19 พ.ศ. 2564-2565” และห่วงโซ่คุณค่าของประเทศ (Final Value Chain Thailand) เพ่ือประกอบการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณเพื่อการบรรลุ เปา้ หมายยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.2) สศช.ร่วมกับหน่วยงานท่ีมีโครงการสำคัญ จัดทำรายละเอียดโครงการ สำคัญฯ ให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน และ สศช.ร่วมกับหน่วยงานเจ้าภาพแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีวันท่ี 5 พฤษภาคม 2563 เพ่ือขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานใหบ้ รรลุเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566-2570 แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ (ประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนพิเศษ 305 ง. ณ วันท่ี 30 ธันวาคม 2563) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) ภายใต้แนวคิด Resilience ใน 3 มิติสำคัญ คือ การพร้อมรับ (Cope) การปรับตัว (Adapt) และการเปลี่ยนแปลงเพ่ือพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) เป้าหมายสำคัญและตัวช้วี ัดของแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ 1. คนสามารถยังชีพอยู่ได้ มีงานทำ กลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง มี 5 ตวั ชี้วัด 2. สร้างอาชพี และกระจายรายได้สทู่ อ้ งถิ่น มี 2 ตวั ช้ีวดั 3. เศรษฐกจิ ประเทศฟนื้ ตัวเข้าสภู่ าวะปกติ มี 3 ตัวช้ีวัด 4. มกี ารวางรากฐาน เพอื่ รองรับการปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจใหม่ มี 5 ตัวชี้วดั 8

แนวทางการพัฒนาที่ควรให้ความสำคัญเป็นพิเศษในระยะ 2 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2564 -2565) 4 แนวทางหลัก 16 แนวทางย่อย และความสอดคล้องสู่“เป้าหมาย” ยุทธศาสตร์ชาตฯิ 6 ดา้ น ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวทางหลักท่ี 1, 3 และ 4 ดังนี้ แนวทางหลักท่ี 1 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายใน ประเทศ (Local Economy) สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เพื่อลดความเสี่ยงในการพ่ึงพาต่างประเทศ โดยกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปยังระดับพ้ืนที่ ส่งเสริมการลงทุน สร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ท้องถ่ิน และผู้ประกอบการโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมถึงเสริมสร้างศักยภาพของท้องถิ่นให้พร้อมรับการกระจายตัวของการพัฒนา และการเคลื่อนย้ายกำลังแรงงานกลับคืนถิ่น เพื่อให้เศรษฐกิจฐานรากเป็นกำลังหลักในการ ขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ของประเทศ ทัง้ ด้านการผลติ และการบรโิ ภค ประกอบด้วย 3 แนวทางยอ่ ย 1.1) การส่งเสรมิ การจ้างงาน 1.2) การช่วยเหลอื และพัฒนาศักยภาพวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 1.3) การกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจไปยังหัวเมืองหลัก ในภูมิภาค และเมืองรอง ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเก่ียวข้องกับแนวทางย่อย ที่ 1.3) ในมิติการเปล่ียนแปลงเพ่ือพร้อมเติบโตอย่างย่ังยืน (Transform) ท่ี 3) ยกระดับสถาบัน การศึกษาในพื้นท่ีให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาและการเรียนรู้ ด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมท่ีส่งเสริม จดุ เดน่ ทางเศรษฐกิจของพ้ืนท่นี ้ัน ๆ แนวทางหลักที่ 3 การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนให้เป็นกำลังหลัก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (Human Capital) สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยการยกระดับและปรับทักษะแรงงานให้ตรงกับ ความต้องการของนายจ้าง ร่วมกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากให้สอดคล้องกับ อุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายที่ประเทศไทยมีโอกาสและมีศักยภาพตามที่ได้ระบุไว้ใน ประเด็น การพัฒนาข้อ 2) Future Growth ตลอดจนให้มีความสอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และโครงสร้างเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนไป พร้อมทั้งเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤต และจัดสวัสดิการทางสังคมให้เหมาะสม เพียงพอกับความจำเป็นในการดำรงชีวิต ท้ังความม่ันคง ทางรายไดแ้ ละสขุ ภาพ ประกอบด้วย 3 แนวทางยอ่ ย 3.1) การยกระดับทักษะ ปรบั ทกั ษะ และส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 3.2) การขยายและพัฒนาระบบหลักประกันทางสงั คม 3.3) การเสรมิ สร้างความมน่ั คงทางสขุ ภาพ 9

ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวทางย่อย ที่ 3.1) ใน 3 มิติ มิติการพร้อมรับ (Cope) ที่ 3) ส่งเสริมการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่จำเป็น สำหรับการเรียนการสอน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาทักษะอาชีพ และการแสวงหาโอกาส ทางเศรษฐกิจ มิติการปรับตัว (Adapt) ที่ 1) ส่งเสริมให้แรงงานมีทักษะที่หลากหลาย มีความยืดหยุ่น พร้อมปรับตัวสู่วิธีการทำงานหรืออาชีพใหม่เมื่อมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนด้วยการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของแรงงาน 2) ปรับรูปแบบการเรียนรู้และพัฒนาทักษะให้มีความยืดหยุ่น และตอบสนองต่อภาวะวิกฤตมากขึ้น อาทิ การเรียนรู้ทางไกล หลักสูตรระยะส้ันและการผสมผสาน การเรียนรู้แบบออฟไลน์และออนไลน์ 3) ส่งเสริมทักษะที่จำเป็น โดยเฉพาะทักษะภาษา ต่างประเทศ และทักษะดิจิทัล รวมถึงทักษะที่สำคัญอื่น ๆ เช่น ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะ ทางการเงิน และทักษะทางอารมณ์ เป็นตน้ มิติการเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างย่ังยืน (Transform) ท่ี 2) สร้าง สภาพแวดล้อมและพัฒนาบุคลากรให้เอ้อื ต่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต เพื่อใหค้ นทุกชว่ งวัยสามารถเขา้ ถึง โอกาส ในการยกระดับและปรับทักษะความรู้และทักษะเพ่ือการพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพ ที่หลากหลายได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง แนวทางหลักที่ 4 การปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมการฟ้ืนฟู และพัฒนาประเทศ (Enabling Factors) สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ ด้านยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และด้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเร่งรัด พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานท่ีสำคัญ แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายและการดำเนินงานของภาครัฐให้ทันสมัย พัฒนาและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ และนวัตกรรม เสริมสร้างความมั่นคงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึง ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย ภาคประชาชน ภาคเอกชน ท้องถิ่น สถาบัน และองค์กรต่าง ๆ เพื่อลดอุปสรรค ข้อจำกัด และส่งเสริมการฟื้นฟูและพัฒนาประเทศ ตามประเดน็ การพัฒนาทั้ง 3 ข้อขา้ งต้น ประกอบด้วย 5 แนวทางย่อย 4.1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือรองรบั การปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจใหม่ 4.2) การปรบั ปรงุ กฎหมายและสง่ เสรมิ ภาครฐั ดิจทิ ลั 4.3) การพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรม 4.4) การเสริมสรา้ งความม่นั คงและบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง 4.5) การสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของเครือขา่ ยและภาคีการพัฒนา ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเก่ียวข้อง 4 แนวทางย่อย ใน 3 มิติ แนวทางย่อยที่ 4.1 ในมิติการพร้อมรับ (Cope) ที่ 2) พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน เชิงระบบ เช่น ระบบบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐ ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยสู่การผลิต เชงิ พาณชิ ย์ และระบบการแกป้ ญั หาและเยยี วยาผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากวกิ ฤตตา่ ง ๆ 10

แนวทางย่อยท่ี 4.2 ใน 3 มิติ มิติการพร้อมรับ (Cope) ที่ 1) ปรับปรุงและพัฒนาฐานข้อมูลแบบบูรณาการ โดยการจัดเก็บและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงการเปิดเผยและใช้ประโยชน์ จากฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ ศักยภาพ และวางแผนการพัฒนาให้สอดคล้อง กับบริบทเชิงพื้นที่ อาทิ ฐานข้อมูลประชาชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในพื้นที่และฐานข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาตเิ พ่ือพัฒนาการผลติ มิติการปรับตัว (Adapt) ท่ี 1) นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการให้บริการ ประชาชน อาทิ กลไกเพ่ือช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายและระบบเตรียมความพร้อมด้านการจัดการ สาธารณภัยเพอ่ื บริการทร่ี วดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพ มิติการเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) ที่ 4) ปรับโครงสร้างและวิธีปฏิบัติราชการ ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว มีความบูรณาการเชื่อมโยงระหว่าง ห น่ ว ย งาน ที่ เกี่ ย ว ข้ อ งเพ่ื อ เพ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ใน ก า รท ำงาน ท่ี ยึ ด ภ าร กิ จ ห รือ พื้ น ที่ เป็ น พ้ื น ฐ า น และสามารถตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงได้อยา่ งเท่าทนั แนวทางย่อยท่ี 4.4 ในมิติการปรับตัว (Adapt) ท่ี 1) พัฒนาระบบการเตรียม ความพร้อมด้านการจัดการภาวะวิกฤตให้มีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการระบบการจัดการ ในภาวะฉุกเฉินให้มีเอกภาพ สามารถรองรับเหตุการณ์ความขัดแย้งและสาธารณภัยรูปแบบใหม่ ในทกุ มิติ อาทิ ความปลอดภยั ทางไซเบอร์ และภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ แนวทางย่อยที่ 4.5 ในมิติการเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) ท่ี 1) เพิ่มบทบาทและศักยภาพของท้องถ่ิน และยกระดับการมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในการบรหิ ารราชการ แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาประเทศ 3.3 โครงการสำคัญเพ่ือบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะรัฐมนตรีมมี ตเิ ห็นชอบแนวทางการขับเคล่ือนการดำเนินงานเพื่อบรรลเุ ป้าหมาย ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ 2565 เม่ือวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 ตามท่ี สศช. เสนอ โดยมอบสว่ นราชการดำเนินการ ดังนี้ 1) สศช. และทุกสว่ นราชการดำเนินการตามแนวทางการขบั เคล่ือนท้ัง 4 แนวทาง 1.1) การมองเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน แมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 1.2) การจดั ทำโครงการสำคญั ตามการวเิ คราะหห์ ว่ งโซค่ วามสมั พนั ธ์และช่องว่าง การพัฒนาต่อการบรรลเุ ป้าหมาย (xyz) 1.3) การจัดลำดับความเร่งด่วนของโครงการสำคญั 1.4) การจัดทำแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี ตามกระบวนการที่กำหนดไวใ้ น พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบรหิ ารจดั การบา้ นเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 2) สศช. ร่วมกับหนว่ ยงานเจา้ ภาพขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ทงั้ 3 ระดับ และสำนักงบประมาณ เพ่ือใหไ้ ด้ผลลัพธต์ ามแนวทางการดำเนนิ การ 11

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ โครงการสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 571 โครงการ เมื่อวนั ที่ 29 กันยายน 2563 จำแนกเปน็ 1) โครงการสำคัญประจำปีงบประมาณ 2565 ตามแผนแม่บทเฉพาะกิจฯ ซง่ึ เปน็ โครงการที่ต้องใหค้ วามสำคัญเป็นพิเศษ (Top Priorities) รวม 250 โครงการ 2) โครงการสำคัญรองรับการพัฒนาประเทศ ท่ีสอดคล้องกับการดำเนินการ เพื่อบรรลุเป้าหมายย่อยท่ีเกี่ยวข้องจากท้ัง 140 เป้าหมายของ 23 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ รวม 321 โครงการ ภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้รับการ คัดเลือกเป็นรายการโครงการสำคัญ (รายการห่วงโซ่คุณค่าของประเทศไทย : Value Chain Thailand) 6 โครงการสำคัญ 3 เป้าหมายแผนแม่บทย่อย ใน 571 โครงการสำคัญ 140 เป้าหมาย แผนแม่บท ย่อยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติให้ความเห็นชอบ (29 กันยายน 2563) ประกอบดว้ ย 1) แผนแม่บทท่ี 1 ประเดน็ ความมั่นคง เปา้ หมายแผนแม่บทย่อย/โครงการสำคัญฯ ปี 2565 010102 คนไทยมีความจงรักภักดี ซ่ือสัตย์ พร้อมธำรงรักษาไว้ซึ่งสถาบันหลัก ของชาติ สถาบันศาสนา เป็นที่เคารพยึดเหน่ยี วจิตใจของคนไทยสงู ข้นึ 1. โครงการสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนวทางการจัดการความขัดแย้ง โดยแนวทางสันตวิ ธิ ี 2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนเอกชนในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี ใหม้ คี ณุ ภาพ 2) แผนแมบ่ ทที่ 11 ประเด็นการพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต เป้าหมายแผนแมบ่ ทย่อย/โครงการสำคญั ฯ ปี 2565 110301 วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถ ในการแก้ปญั หา ปรับตวั สือ่ สาร และทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื ได้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ลตลอดชีวติ ดขี ้ึน 1. โครงการพฒั นาหลักสูตรทม่ี ีทกั ษะอาชีพสงู ตามความต้องการตลาดแรงงาน 3) แผนแม่บทที่ 12 ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ เป้าหมายแผนแมบ่ ทย่อย/โครงการสำคญั ฯ ปี 2565 120101 คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะทจ่ี ำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิตดีขึน้ 1. โครงการพฒั นาหลักสตู รกระบวนการจัดการเรยี นรู้การวัดและประเมินผล 2. โครงการส่งเสริมเวทีเพ่ือการจัดทำรูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง เช่ือมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนท่ีฐานกับอาชวี ศึกษาและอดุ มศึกษา 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะการจดั การเรียบนการสอนสำหรับศตวรรษที่ 21 12

4. แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) คณะรฐั มนตรมี มี ติเห็นชอบ เมอ่ื วันท่ี 8 ธนั วาคม 2563 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ด้าน พร้อมกับแนวทางการขับเคลอื่ นแผนฯ (ฉบับปรับปรุง) เมื่อวนั ที่ 8 ธันวาคม 2563 โดยมีสาระสำคัญ ดงั น้ี 1. เห็นชอบ ร่าง แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ด้าน ตามที่คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบแล้วเมื่อวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 ได้แก่ 1) ด้านการเมือง 2) ดา้ นการบริหารราชการแผ่นดนิ 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ดา้ นเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ 12) ดา้ นการศึกษา และ 13) ดา้ นวัฒนธรรม กฬี า แรงงาน และการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ 2. เห็นชอบแนวทางการขับคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศฯ (ฉบับปรับปรุง) และกิจกรรมปฏิรูปท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) สาระสำคญั ทเี่ กี่ยวข้อง ดงั น้ี 2.1 การดำเนินกิจกรรมของแผนการปฏิรูปประเทศเดิม ให้ดำเนินการคู่ขนานกับ กจิ กรรม Big Rock โดยหน่วยงานรับผิดชอบหลักรบั ไปดำเนนิ การในลกั ษณะภารกิจปกติของหนว่ ยงาน 2.2 สำนักงบประมาณให้ความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณเพ่ือใช้ในการ ดำเนินโครงการภายใต้กิจกรรม Big Rock เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแผนการปฏิรูปประเทศไปสู่ การปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งเป็นรูปธรรม 2.3 คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ 2 คณะ และหน่วยงานหลัก 36 แห่ง รับผิดชอบ 62 กิจกรรม Big Rock ท่ีมีเป้าหมายสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ที่กำหนดไว้ใน ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทฯ ร่วมกันขับเคล่ือนแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในปี 2565 โดยมกี ฎหมายท่ตี อ้ งจดั ทำหรอื ปรับปรุง รวมทงั้ สิ้น 45 ฉบับ ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเก่ียวข้องและสนับสนุนเป้าประสงค์ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) รวม 10 ด้าน ประกอบด้วย (1) ด้านการเมือง (2) ด้านการ บริหารราชการแผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (5) ด้านเศรษฐกิจ (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (8) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (9) ด้านสังคม (11) ด้านการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (12) ด้านการศึกษา (13) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ 1) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) ดา้ นการเมอื ง เป้าประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ทางการเมืองและกระบวนการนโยบายสาธารณะ การเมืองมีเสถียรภาพและความมั่นคงและเกิด ความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ ตลอดจนเพื่อให้พรรคการเมืองและนักการเมือง ยึดมัน่ ในประโยชน์ของประเทศชาตแิ ละประชาชนเป็นหลกั 13

กจิ กรรม Big Rock ด้านการเมอื ง ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรมปฏิรปู สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องกิจกรรมปฏริ ูปที่ 1 และ 3 (1) การส่งเสริมความรู้ทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข (2) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในกระบวนการนโยบาย สาธารณะทกุ ระดบั (3) การสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันทข์ องคนในชาติ (4) การสง่ เสริมการพฒั นาพรรคการเมือง (5) การปรบั ปรงุ กระบวนการร่างรฐั ธรรมนูญ 2) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดิน เป้าประสงค์ เพื่อให้ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ในทกุ มติ แิ ละรองรบั ผลกระทบของสถานการณช์ ีวิตวิถีใหม่ และทิศทางทีก่ ำหนดไว้ตามยุทธศาสตร์ชาติ กิจกรรม Big Rock ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ปฏริ ูป สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกี่ยวขอ้ งทง้ั 5 กจิ กรรมปฏริ ปู (1) ปรบั เปลี่ยนรปู แบบการบรหิ ารงานและการบรกิ ารภาครัฐไปสู่ระบบดิจิทลั (2) จัดโครงสร้างองค์กร และระบบงานภาครัฐให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว และเปลีย่ นแปลงได้ตามสถานการณ์ (3) ปรับเปล่ียนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสู่ระบบเปิด เพ่ือให้ได้มา และรักษาไวซ้ ง่ึ คนเกง่ ดี และมคี วามสามารถอย่างคล่องตัว ตามหลกั คุณธรรม (4) สร้างความเข้มแข็งในการบริหารราชการในระดับพื้นท่ี โดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน (5) ขจัดอุปสรรคในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ และการเบิกจ่ายเงินเพื่อให้เกิด ความรวดเร็ว คมุ้ ค่าโปร่งใส ปราศจากการทจุ ริต 3) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ด้านกฎหมาย เป้าประสงค์ เพื่อให้เกิดผลอันพึงประสงค์ในการมีกฎหมายที่ดีและมีเพียงเท่าท่ี จำเป็นตามหลักการของมาตรา 258 ค. ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย กิจกรรม Big Rock ดา้ นกฎหมาย ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏริ ูป สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏริ ปู ที่ 1 และ 3 (1) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่สร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการ ดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของประชาชน เพ่ือขับเคลื่อนให้เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพและเป็น รูปธรรม (2) จัดให้มีกลไกทางกฎหมายเพื่อให้มีการพิจารณาปรับเปล่ียนโทษทางอาญา ท่ีไม่ใช่ความผิดร้ายแรงให้เป็นโทษปรับเป็นพินัย เพ่ือลดผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน (3) จัดให้มีกลไกกำหนดให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซ่ึงมีหน้าท่ีควบคุม กำกับดูแล และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย นำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการบงั คบั ใช้กฎหมาย 14

(4) จัดให้มีกลไกชว่ ยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอร่างกฎหมาย (5) จัดทำประมวลกฎหมายเพ่ือรวบรวมกฎหมายเรื่องเดียวกันไว้ด้วยกัน เพ่ือความสะดวกในการใชง้ าน 5) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรบั ปรุง) ดา้ นเศรษฐกิจ เปา้ ประสงค์ เพ่ือยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ กระจายความเจริญ และความเข้มแข็งของภาคสังคม และปรับบทบาท โครงสร้าง และกลไกสถาบันบริหารจัดการ เศรษฐกิจของประเทศตามหลักแนวคิดการบริหารงานคุณภาพท่ีมีบทบาทสำคัญต่อการขับเคล่ือน ประเด็นปฏิรูปเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และลดความเหลื่อมล้ำให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ กจิ กรรม Big Rock ด้านเศรษฐกิจ ประกอบดว้ ย 5 กจิ กรรมปฏิรูป สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏริ ปู ท่ี 5 (1) การสร้างเกษตรมูลคา่ สูง (2) การส่งเสรมิ และพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วคุณภาพสูง (3) การเพ่ิมโอกาสของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กในอุตสาหกรรม และบริการเป้าหมาย (4) การเปน็ ศูนยก์ ลางดา้ นการค้าและการลงทุนของไทยในภมู ภิ าค (5) การพฒั นาศกั ยภาพคนเพอื่ เป็นพลังในการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ 6) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ได้รับการดูแล รักษา และฟื้นฟูอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและมีความสมบูรณ์ย่ังยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และการใช้ ประโยชน์ลดความขัดแย้งของการพัฒนาที่ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มที่มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นตามแนวทางประชารัฐ กิจกรรม Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย 4 กิจกรรมปฏิรูป สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ียวขอ้ งกิจกรรมปฏริ ปู ที่ 2 (1) เพ่มิ และพฒั นาพนื้ ทีป่ า่ ไม้ใหไ้ ด้ตามเปา้ หมาย (2) การบริหารจัดการเขตทางทะเลและชายฝ่ังรายจังหวัด (บรรจุในหลักสูตร การศึกษาฯ) (3) การบริหารจัดการน้ำเพื่อสร้างเศรษฐกิจชุมชนในพ้ืนที่นอกเขตชลประทาน (4) ปฏริ ูประบบการบรหิ ารจดั การเขตควบคมุ มลพษิ กรณเี ขตควบคุมมลพษิ มาบตาพุด 8) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ เป้าประสงค์ เพ่ือมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพในการทำหน้าที่ของ สือ่ บนความรับผิดชอบกบั การกำกบั ที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นทด่ี จิ ิทัลเพื่อการสอื่ สารอย่างมี จรรยาบรรณ ดำรงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่าเสรีภาพ 15

ของการสื่อสารคือเสรีภาพของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย และมุ่งเน้นให้สื่อเป็น โรงเรียนของสังคมในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝงั วฒั นธรรมของชาติ และปลกู ฝังทัศนคติท่ีดี กิจกรรม Big Rock ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 กจิ กรรมปฏริ ูป สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 (1) การพัฒนาระบบคลังข้อมูลข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และการจดั การ (2) การกำกับดแู ลสอื่ ออนไลน์ (3) การยกระดับการรู้เท่าทนั ส่อื 9) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ดา้ นสงั คม เป้าประสงค์ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและความเหล่ือมล้ำในสังคม การคุ้มครองกลุ่มเปราะบางในสังคม ตลอดจนการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร และแหลง่ ทุนของประชาชน กจิ กรรม Big Rock ดา้ นสงั คม ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรูป สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏริ ูปที่ 2 และ 3 (1) การมีระบบการออมเพื่อสร้างหลักประกันรายได้หลังวัยเกษียณท่ีเพียงพอ และครอบคลุมในกลุ่มแรงงานทงั้ ในและนอกระบบ (2) ผลักดันให้มีฐานข้อมูลทางสังคมและคลงั ความรู้ในระดับพื้นท่ี เพื่อให้สามารถ จัดสวสั ดิการและสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ ที่ตรงตามความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย (3) การปฏิรูปการขึ้นทะเบียนคนพิการ เพ่ือให้คนพิการได้รับสิทธิ สวัสดิการ และความชว่ ยเหลือได้อย่างครอบคลมุ และท่วั ถึง (4) การสร้างกลไกท่ีเอ้อื ใหเ้ กดิ ชุมชนเมอื งจัดการตนเอง (5) การสร้างมลู คา่ ใหก้ ับทดี่ ินท่ีรัฐจัดให้กับประชาชน 11) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมชิ อบ เป้าประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กำกับ ติดตามการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าท่ี ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของบุคลากรใช้ดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใต้กรอบธรรมาภิบาลและการกำกับ กิจการที่ดีอย่างแท้จริง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภาครัฐให้ประชาชนสามารถเข้าถึง และตรวจสอบได้และสนับสนุนแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนในการต่อต้านการทุจริตเพ่ือขจัด ปัญหาการทุจริตที่เกีย่ วข้องกบั การตดิ ต่อกับหน่วยงานภาครัฐ กิจกรรม Big Rock ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏริ ูป สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการเก่ยี วข้องกิจกรรมปฏิรูปที่ 4 และ 5 (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้านการทุจริต (2) พั ฒ น าระบ บ คุ้ม ครองผู้แจ้งเบ าะแสการทุ จริตที่ มี ป ระสิท ธิภ าพ 16

(3) พัฒนากระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติในการดำเนินคดี ทุจรติ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน (4) พฒั นาระบบราชการไทยให้โปร่งใส ไร้ผลประโยชน์ (5) พัฒนามาตรการสกัดก้ันการทุจริตเชิงนโยบายในการดำเนินโครงการ ขนาดใหญ่ 12) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ด้านการศึกษา เป้าประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการ ศึกษา มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับปรุงระบบการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลาย ของการจัดการ ศึกษาและสรา้ งเสริมธรรมภิบาล ซ่ึงครอบคลุมการปฏิรปู การเรียนรตู้ ลอดชีวิต ความสอดคลอ้ งของการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศกึ ษากบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต ข้อ 4.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนร้ทู ่ีตอบสนองต่อการ เปล่ยี นแปลง ในศตวรรษท่ี 21 ขอ้ 4.4 การตระหนักถึงพหุปญั ญาของมนษุ ย์ท่ีหลากหลาย 2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.1 การลดความเหล่ือมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ข้อ 4.2 การกระจายศูนย์กลางความเจริญ ทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ขอ้ 4.3 การเสรมิ สร้างพลังทางสงั คม ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากับแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง ชีวิต 1.1 เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการท่ีมีคุณภาพมากข้ึน 1.2 วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการ เพิ่มผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนักในความสำคัญที่จะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถ ปรับตัวและเรยี นรู้ส่ิงใหม่ตามพลวัตของโครงสร้างอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงานเพ่ิมขึ้น 1.4 มีคนไทยท่ีมีความสามารถและผู้เช่ียวชาญต่างประเทศเข้ามาทำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเป้าหมายเพ่ิมข้ึน 1.5 ผู้สูงอายุมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี มีความม่ันคงในชีวิต มีทักษะการดำรงชีวิต เรียนรู้พัฒนาตลอดชีวิต มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคม สร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่ สงั คมเพิ่มขนึ้ 2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ 2.1 คนไทย ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจ้าเป็นของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิตดีข้นึ 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทย มกี ารเตรียมการกอ่ นยามสูงอายุเพื่อใหส้ งู วยั อยา่ งมีคณุ ภาพเพ่ิมข้นึ 17

กิจกรรม Big Rock ด้านการศกึ ษา ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏิรูป สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการเกย่ี วข้องกิจกรรมปฏริ ูปที่ 1 - 3 กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ ระดบั ปฐมวัย (หนว่ ยรบั ผดิ ชอบหลกั : กองทนุ เพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา) กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพือ่ ตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 (หน่วยรับผิดชอบหลกั : กระทรวงศกึ ษาธิการ) กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน (หนว่ ยรับผิดชอบหลกั : กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม) กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอ่ืน ๆ ท่ีเน้นการ ฝกึ ปฏิบัติอยา่ งเตม็ รูปแบบ นำไปสู่การจ้างงานและการสร้างงาน (หน่วยรับผิดชอบหลัก : กระทรวง ศกึ ษาธิการ) กิจกรรมปฏิรูปท่ี 5 การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบัน อุ ดมศึ กษาเพ่ื อ ส นั บ ส นุ น ก า รพั ฒ น าป ระเท ศ ไท ย ออ ก จ าก กั บ ดั ก ร าย ได้ ป าน ก ล าง อย่ า งย่ั งยื น (หน่วยรับผดิ ชอบหลกั : กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม) ภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเกี่ยวข้องและสนับสนุน ในขั้นตอนของกิจกรรมปฏิรูปที่ 1, 2 และ 3 ดังน้ี กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับ ปฐมวัย (กองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา) ข้นั ตอนการดำเนนิ การปฏริ ปู 1. การพัฒนาเคร่ืองมือและระบบบูรณาการทำงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินการ ปฏริ ูป 2. การสนับสนุนนวัตกรรมการป้องกัน (Prevention) และการแก้ไข (Correction) ปัญหาเด็กและเยาวชนออกจากระบบการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการ ศึกษา 3. การสนับสนนุ กลไกการดำเนินงานในระดบั พนื้ ที่และต้นสังกัด 4. การติดตามความคืบหน้าและการระดมการมสี ่วนรว่ มของสังคม กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) ข้นั ตอนการดำเนนิ การปฏิรูป 1. ปรับแนวทางการจดั การเรียนรู้ทกุ ระดับ 2. พัฒนาครใู ห้มีศกั ยภาพในการออกแบบการเรยี นรู้ 3. ปรับปรุงระบบการวัดผลและประเมินผล 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้กับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน 5. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ประชุมหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ติดตามความคืบหนา้ ในการดำเนินการ 18

กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม) ขัน้ ตอนการดำเนนิ การปฏิรูป 2) ด้านกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษา และสายอาชวี ศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ ประสิทธิภาพและมีความก้าวหนา้ ในการประกอบอาชีพ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตวั ช้ีวัดสมรรถนะครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวชี้วัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาตามความตอ้ งการจำเป็น ข้ันตอนที่ 3 การศกึ ษาและพฒั นาระบบ/รปู แบบการนิเทศ การตดิ ตามชว่ ยเหลือ ครู และการพัฒนาสมรรถนะศกึ ษานิเทศก์ตามความต้องการจำเป็น ขั้นตอนท่ี 4 การส่งเสริม สนับสนุนระบบกลไกให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการติดตามช่วยเหลือครูใหม่ ครูท่ีไม่มีวุฒิทางการศึกษา ครทู ่ีมีความรู้ ความสามารถและมีคุณลักษณะไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ครแู ละสถานศึกษา ในท้องถิ่นยากจน ห่างไกลและทุรกันดาร อาทิ การร่วมมือกับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community & Continuous Professional Development) การศึกษาอบรม และแพลตฟอร์มกระบวนการจดั การเรียนรู้การบริหารการศึกษาและการนิเทศการศึกษา ขั้นตอนที่ 5 การปรับปรุงระบบการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะ วิชาชีพครู ข้ันตอนท่ี 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเลื่อนวิทยฐานะท่ีได้รับการ ปรับปรุงใหม่และการคงวิทยฐานะของครู โดยนำผลการประเมินวิทยฐานะไปเป็นส่วนสำคัญในการ ประเมินและการปรับปรุงค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม 13) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ เป้าประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีคุณธรรมจริยธรรม เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ฐานวัฒนธรรม ประชาชนออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงมีความรอบรู้ ด้านสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพให้แข็งแรง และเป็นฐานในการพัฒนากีฬาชาติ และกำลังคน ของประเทศมีทักษะที่เอ้ือต่อการสร้างผลิตภาพแรงงานและคุณภาพชีวิตที่ดี กจิ กรรม Big Rock ดา้ นวฒั นธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ประกอบดว้ ย 5 กจิ กรรมปฏิรปู สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วข้องกจิ กรรมปฏิรูปท่ี 2 และ 5 (1) การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในทุกช่วงวัย ผ่านการปฏิรูปอุตสาหกรรมบันเทิง และการใชก้ ลไกรว่ มระหว่างภาครฐั และเอกชนในการขับเคล่อื น (2) การพัฒนาการเรียนรู้และเศรษฐกิจชุมชนบนฐานวัฒนธรรมแบบบูรณาการ (ข้ันตอนที่ 2 สร้างความตระหนักและจูงใจให้เด็กและเยาวชนเห็นความสำคัญ และสืบสาน รักษา และต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมในพืน้ ทีข่ องคนแตล่ ะพืน้ ที่อ่นื ๆ ของประเทศ) 19

(3) การส่งเสริมประชาชนเป็นศูนย์กลางในการสร้างวิถชี ีวิตทางการกีฬาและการ ออกกำลังกายอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม และการสร้างโอกาสทางการกีฬาและการพัฒนานักกีฬา อาชพี (4) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการกำลังคนของประเทศแบบบูรณาการ (5) การบริหารจัดการศักยภาพบุคลากรของประเทศ (ขั้นตอนที่ 1 พัฒนาทักษะ ดิจทิ ลั ใหก้ บั คนทุกชว่ งวัยอย่างเหมาะสม) 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ีสิบสอง (พ.ศ.2560-2564) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตไิ ด้จัดทำแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง (พ.ศ.2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศ ไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศ ท่ีพัฒนาแล้ว มีความม่ันคง มัง่ คงั่ ย่งั ยืน ดว้ ยการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์การพัฒนา 10 ยุทธศาสตร์ โดยมี 6 ยุทธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตร์ ชาติ พ.ศ.2561-2580 และอีก 4 ยุทธศาสตร์ที่เป็นปัจจัยสนับสนุน ซึ่งภารกิจสำนักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายรวม 10 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2) การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขัน ได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 4) การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 5) การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นค่ังและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 7) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ท่ี 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9) การพัฒนาภาค เมือง และพนื้ ทเ่ี ศรษฐกิจ 10) ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา 6. นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ด้วยความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพื่อเป็น แผนหลักของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทางการดำเนินการป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับย้ัง ภัยคุกคาม เพื่อธำรงไว้ซ่ึงความม่ันคงแห่งชาติ รวม 7 กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน ซ่ึง ภารกิจ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเก่ียวข้อง รวม 7 นโยบาย 6 แผน ได้แก่นโยบายที่ 1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สอดรับด้วย แผนที่ 3) แผนการเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบัน หลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข นโยบายท่ี 2) สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ สอดรับด้วยแผนที่ 6) แผนการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง นโยบายท่ี 3) ปอ้ งกันและแก้ไขการก่อเหตรุ ุนแรงในจงั หวัด ชายแดนภาคใต้ สอดรับด้วย แผนที่ 7) แผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรงในพ้ืนที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายที่ 5) สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหา 20

ภัยคุกคามข้ามชาติ และนโยบายที่ 8) เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความมั่นคงภายใน สอดรับด้วยแผนท่ี 10) แผนการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด นโยบายท่ี 9) เสริมสร้างความมั่นคง ของชาติจากภัยการทุจริต สอดรับด้วยแผนที่ 11) แผนการเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ จากภัยทุจริต และนโยบายที่ 10) เสริมสรา้ งความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ สอดรับด้วยแผนที่ 15) แผนการ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาความมั่นคงทางไซเบอร์ 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี) นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมอื่ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 รวม 12 นโยบายหลกั และ 12 นโยบายเร่งดว่ น ซ่ึงภารกจิ สำนักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการมสี ่วนเก่ยี วข้อง รวม 11 นโยบายหลกั 5 นโยบายเรง่ ดว่ น ดังนี้ นโยบายหลักท่ี 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ นโยบายหลักท่ี 2 การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ นโยบายหลัก ท่ี 3 การทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (3.2 ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี ท้ังด้าน คุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความซ่ือสัตย์ การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมี สว่ นร่วมทำประโยชนใ์ ห้ประเทศและการเป็นพลเมืองดี) นโยบายหลักที่ 4 การสร้างบทบาทของไทย ในเวทีโลก (4.2 สร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียน) นโยบายหลักที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจ และความสามารถในการแข่งขันของไทย (5.3 พัฒนาภาคเกษตร 5.4 พัฒนาภาคการท่องเท่ียว) นโยบายหลักที่ 6 การพัฒนาพน้ื ท่เี ศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสภู่ ูมภิ าค (6.1 สง่ เสรมิ พน้ื ที่ เศรษฐกิจพิเศษเพ่ือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย 6.2 ส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนาเมือง อจั ฉริยะนา่ อยู่ทั่วประเทศ) นโยบายหลักท่ี 8 การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้และการพัฒนาศักยภาพ ของคนไทยทุกช่วงวัย (8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธุ์ใหม่ 8.5 วิจัย และพัฒนานวัตกรรมท่ีตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ทุกช่วงวัย 8.7 จัดทําระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน) นโยบายหลักท่ี 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม (9.4 สร้างหลักประกันทางสังคม) นโยบาย หลักที่ 10 การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพ่ือสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืน นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายหลักที่ 12 การป้องกันและปราบปราม การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยุตธิ รรม นโยบายเร่งด่วนที่ 6 การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต นโยบาย เร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 นโยบายเร่งด่วนที่ 8 การแก้ไขปัญหาทุจริต และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ นโยบายเร่งดว่ นท่ี 9 การแกไ้ ขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุข ในพ้ืนทช่ี ายแดนภาคใต้ นโยบายเรง่ ดว่ นที่ 10 การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชน 8. เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) การประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly – UNGA) เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558 ผู้นำประเทศสมาชิกสหประชาชาติและประเทศไทย รวม 193 ประเทศ ได้ลงนามรับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals; SDGs) ทดแทนเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals ; 21

MDGs) ซึ่งหมดอายุลงในปี 2558 เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนจะถูกใช้เป็นเครื่องกำหนดทิศทาง การพัฒนาทั้งของประเทศไทยและของโลกจนถึงปี ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี ที่ประกอบด้วย 17 เป้าหมาย (Goal) 169 เป้าประสงค์ (Target) ครอบคลุมประเด็นการ พัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุล อันเป็นสามเสาหลักของการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพ่ือขจัดความยากจน ลดความเหล่ือมล้ำ โดยไม่ท้ิงใครไว้เบ้ืองหลัง ไม่ทำลาย แหล่งทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้ความสำคัญมากยิ่งขึ้นต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ซ่ึงจะต้องร่วมขบั เคลอื่ นการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน ประเทศไทยได้กำหนดกลไกการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนในรูปแบบ คณะกรรมการ โดยมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงาน ดังน้ี (มติท่ีประชุมคณะกรรมการ เพ่อื การพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน : กพย. เมอื่ วนั ที่ 19 ธนั วาคม 2562) 1. เห็นชอบหลักการร่างแผนการขบั เคลอ่ื น SDGs สำหรบั ประเทศไทยตามที่ สศช. เสนอ 2. มอบหมายให้ สศช. ดำเนินงานตามแผนขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน สำหรบั ประเทศไทยร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ 3. เห็นชอบให้ยกเลิกการดำเนินงานต่าง ๆ ตามท่ีคณะอนุกรรมการต่าง ๆ ภายใต้ คณะกรรมการเพอ่ื การพฒั นาที่ยั่งยืนท่ไี ดเ้ คยมีข้อส่งั การหรือเคยมมี ติ 4. ปรบั การดำเนนิ งานให้สอดคล้องกับร่างแผนการขบั เคลื่อนฯ ร่าง แผนการขับเคลอื่ นการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ของประเทศไทย ประกอบดว้ ย 1. การสร้างการตระหนกั รู้ 2. การเช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับท่ี 2 และแผนระดับที่ 3 ของประเทศ 3. กลไกการขับเคลื่อนเปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยืน 3.1 คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน (กพย.) เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือน ระดับชาติเชิงนโยบาย (นายกรัฐมนตรี : ประธาน ปลัดกระทรวง ผู้แทนส่วนราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ : กรรมการ สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) : เลขานกุ าร) 3.2 คณะอนุกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นกลไกในการแปลงนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาท่ียั่งยืนของประเทศไทยสู่การปฏิบัติอย่างบูรณาการ รวม 4 คณะ ประกอบดว้ ย 3.2.1 คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาที่ยัง่ ยนื 3.2.2 คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3.2.3 คณะอนกุ รรมการตดิ ตามและประเมินผลการพัฒนาท่ียั่งยืน 3.2.4 คณะอนุกรรมการการประเมนิ สง่ิ แวดลอ้ มระดับยทุ ธศาสตร์ 4. การจดั ทำโครงการ/การดำเนินงานเพ่ือบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่งั ยนื ผา่ นการ ดำเนินการตามยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทฯ ด้วยหลกั การความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตแุ ละผล (Causal Relationship: XYZ) 5. ภาคีการพัฒนา (ภาคธุรกิจเอกชน ภาควชิ าการ ภาคประชาสังคม ภาคภาคเี พื่อการ พฒั นาระหว่างประเทศ) 22

กพย. ได้มอบหมายใหก้ ระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรบั ผิดชอบและประสานงาน หลกั การขบั เคลอื่ นเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน 1. รายเป้าหมายหลัก (Goal) เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลัก ประกันว่าทุกคนมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาส ในการเรียนรตู้ ลอดชีวติ 2. รายเป้าหมายย่อย (Target) ที่ 4.1/4.2/4.4/4.5/4.6/4.7/4.A/4.C เป้าหมายย่อย 4.1 : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นำไปสู่ ผลลัพธ์ทางการเรยี นทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573 เปา้ หมายย่อย 4.2 : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถงึ การพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็ก เหลา่ น้นั มคี วามพร้อมสำหรบั การศกึ ษาระดับประถมศึกษา ภายในปี 2573 เป้าหมายย่อย 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผู้ใหญ่ท่ีมีทักษะท่ีเก่ียวข้อง รวมถึง ทักษะทางด้านเทคนิคและอาชีพสำหรบั การจา้ งงาน การมงี านท่มี ีคณุ คา่ และการเป็นผู้ประกอบการ ภายในปี 2573 เป้าหมายย่อย 4.5 ขจัดความเหล่ีอมล้ำทางเพศด้านการศึกษาและสร้างหลักประกัน ว่ากลุ่มท่ีเปราะบางซ่ึงรวมถึงผู้พิการ ชนพ้ืนเมือง และเด็ก เข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับ อยา่ งเทา่ เทียม ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าประสงค์ที่ 4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูง ท้ังชายและหญิง สามารถอ่านออกเขยี นไดแ้ ละคำนวณได้ ภายในปี 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะ ที่จำเป็นสำหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสำหรับการพัฒนาอย่างย่ังยืน และการมีวิถีชีวิตท่ีย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรม แห่งความสงบสุข และไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมและการมสี ว่ นร่วมของวฒั นธรรมตอ่ การพฒั นาท่ยี งั่ ยืน ภายในปี 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.A สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเครอ่ื งมอื ทางการศึกษาที่อ่อนไหว ต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสทิ ธิผลสำหรับทกุ คน เป้าประสงค์ท่ี 4.C เพ่ิมจำนวนครูที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการดำเนินการผ่านทาง ความร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ พัฒนานอ้ ยทีส่ ดุ และรฐั กำลังพฒั นาทเ่ี ป็นเกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573 ภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเกี่ยวข้องกับเป้าหมาย การพัฒนาที่ย่ังยืน รายเป้าหมายหลัก (Goal) ท่ี 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษา ท่ีมี คุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทุกราย เป้าหมายย่อย (Target) ท่ีกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก การขับเคล่อื นเปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ัง่ ยนื 23

9. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560-2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การจัดการศึกษาของประเทศ โดยมงุ่ จดั การศึกษาใหค้ นไทยทุกคนสามารถเขา้ ถึงโอกาสและความเสมอภาค ในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคน ให้มีสมรรถนะ ในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการ ศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสำคัญในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษา เพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วม ของสงั คม (All For Education) อกี ทง้ั ยดึ ตามเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้และวิกฤติ ด้านส่ิงแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการจัดทำแผนการศึกษา แห่งชาติ โดยมีสาระสำคญั ดงั นี้ วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21 วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รัก สามัคคี และร่วมมอื ผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซงึ่ เก่ียวขอ้ งกับภารกจิ ของสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารท้ัง 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ เป้าหมาย 1) คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3) คนทกุ ชว่ งวัยไดร้ บั การศกึ ษา การดูแลและป้องกนั จากภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก ของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับ คุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นท่ีสูง พื้นท่ี 24

ตามแนวตะเข็บชายแดนและพ้ืนท่ีเกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบและแรงงานต่างด้าว) 4) พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการจัดระบบการดูแล และป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาตภิ ัยจากโรคอุบตั ิใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เป็นตน้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1) กำลังคนมีทักษะท่ีสำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงาน ที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) การวิจัยและพัฒนา เพ่ือสรา้ งองค์ความรู้และนวตั กรรมทส่ี ร้างผลผลติ และมลู ค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนากำลงั คนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความ ต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนา กำลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้าง องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สรา้ งผลผลติ และมูลคา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ เป้าหมาย 1) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะ และคุณลักษณะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 2) คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3) สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมี คุณภาพและมาตรฐาน 4) แหล่งเรียนรู้ ส่ือตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพ และมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ี 5) ระบบและกลไก การวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6) ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา สมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพฒั นา 1) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหค้ นทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2) ส่งเสริมและพัฒนา แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน และสอื่ การเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถ เข้าถึงแหลง่ เรียนรู้ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ี 3) สร้างเสริมและปรับเปล่ียนค่านิยมของคนไทย ให้มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัด และประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาคลังข้อมูล ส่ือ และนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีมี คุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์และบุคลากรทางการ ศกึ ษา 7) พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการ ศกึ ษา เป้าหมาย 1) ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา ทมี่ คี ุณภาพ 2) การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอ่ื การศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย 3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการ วางแผนการบริหารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมินและรายงานผล 25

แนวทางการพัฒนา 1) เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมี คุณภาพ 2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย 3) พัฒนาฐานข้อมูล ดา้ นการศกึ ษาที่มมี าตรฐาน เช่ือมโยงและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดลอ้ ม เป้าหมาย 1) คนทกุ ช่วงวัย มจี ิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มคี ุณธรรม จริยธรรมและนำ แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2) หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ 3) การวิจัยเพ่ือพัฒนาองคค์ วามรู้และนวตั กรรมด้านการ สรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม แนวทางการพัฒนา 1) ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการ ดำเนินชีวิต 2) ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 3) พัฒนาองค์ความรู้ งานวจิ ยั และนวัตกรรม ดา้ นการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา เป้าหมาย 1) โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความ คล่องตัว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3) ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นที่ 4) กฎหมายและรูปแบบ การบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกำลังแรงงานของประเทศ 5) ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญกำลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่าง เตม็ ตามศักยภาพ แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสร้างการบรหิ ารจัดการศึกษา 2) เพิ่มประสิทธภิ าพ การบริหารจัดการสถานศึกษา 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4) ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาท่ีส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพการ จดั การศึกษา 5) พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 10. นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ได้ประกาศนโยบาย และจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เพื่อมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจกระทรวงศึกษาธิการบังเกิดผลสัมฤทธิ์สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ประเด็นการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต และประเดน็ อืน่ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั กระทรวงศกึ ษาธิการ 26

หลักการตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน และเปิดกว้าง ระบบการบริหารจัดการและการพัฒนา กำลังคน โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพ่ือหลอมรวมภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเป็น เอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเขา้ มาช่วยในการบรหิ ารงานและการจัดการศึกษา 2. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพ่ือคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนอง การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 3. ปลดล็อก ปรบั เปลยี่ น เปิดกว้าง ที่เป็นเง่ือนไขตา่ ง ๆ เพือ่ ให้บรรลผุ ลตามนโยบาย การศึกษายกกำลังสอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศกึ ษาที่เข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand โดยให้ทุกหน่วยงานพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันอย่างรอบด้าน ครบถ้วน ร่วมกันพิจารณาหาแนวทาง ข้ันตอน และวิธีการดำเนินการร่วมกันแบบบูรณาการ การทำงานทุกภาคส่วน จดุ เน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ประกอบด้วย 7 เรื่องย่อย ได้แก่ (1) Data Center ศูนย์ข้อมูลกลาง (2) Big Data ข้อมูลขนาดใหญ่ (คลังข้อมูล การนำข้อมูลมารวมกัน) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบ บริหารจัดการห้องเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจัดการองค์ความรู้และยกระดับทักษะท่ีจำเป็น เน้นพัฒนาความรู้และสมรรถนะ ด้าน Digital Literacy สำหรับผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันตามระดับและประเภทของการจัดการ ศึกษา เชน่ STEM Coding เปน็ ต้น 3. การศึกษาเพือ่ ทักษะอาชีพและการมีงานทำ พัฒนา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์ อาชีพ การเสริมทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพ่ิมทักษะใหม่ท่ีจำเป็น (Re-Skills) ให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยู่ในระบบการศึกษา (การศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบ การศึกษา (3) วัยแรงงาน (4) ผสู้ ูงอายุ เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัลและอาชีพที่เกิดขึ้นใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพ่ิมบทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้านอาชีวศกึ ษากับสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 4. การตา่ งประเทศ เน้นภารกิจท่ีต้องใช้ความร่วมมือระดับนานาชาติในการจัดหาครู ชาวต่างชาติให้แก่สถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือจัดการศึกษา ในสถานศึกษา 2 ด้านหลัก ๆ ได้แก่ (1) ด้านภาษาต่างประเทศ และ (2) ด้านวิชาการ โดยเฉพาะ อาชวี ศกึ ษา 5. กฎหมายและระเบียบ เน้นแผนงาน 2 เร่ือง ที่บรรจุอยู่ในแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา ประกอบด้วย เรื่องท่ี 1 : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตฉิ บับใหมแ่ ละกฎหมายลำดับรอง มีประเด็นปฏิรปู 5 ประเด็น 27

ได้แก่ – การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. และมีการทบทวน จัดทำ แก้ไขและปรับปรุง กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง – การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพ่ือการจัดการศึกษา – การขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการ เรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อรองรับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต – การทบทวนและปรับปรงุ แผนการ ศึกษาแห่งชาติ – การจัดต้ังสำนักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ เรื่องที่ 6 การปรับ โครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบด้วยประเด็นปฏิรูป 3 ประเด็น ได้แก่ สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การปรับปรุงโครงสร้าง ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6. ระบบบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของ แต่ละหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่ือไม่ใหเ้ กิดความซ้ำซ้อนในการจัดฝึกอบรมให้แต่ละ กลุ่มเป้าหมาย และใช้ประโยชน์จากสถาบันพัฒนาท่ีมีอยู่แล้ว เช่น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการจดั ฝึกอบรมพฒั นาทักษะสมรรถนะให้แก่ บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ (ผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู อาจารย์ และบุคลากรอ่ืน ๆ) รวมทั้งพัฒนายกระดับให้เป็นสถาบันฝึกอบรมระดับ นานาชาติ 7. การประชาสัมพันธ์ โดยจัดต้ังศูนย์ประชาสัมพันธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการผลิตสื่อและจัดทำเนื้อหา (Content) เพ่ือเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมและการเข้าร่วมงานต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานในภาพรวม ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 8. การพัฒนาเด็กปฐมวัย ดำเนินการขับเคล่ือนนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการจัดการ ศึกษาและการเรียนรูส้ ำหรบั เดก็ ปฐมวัย 9. การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการสง่ เสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ 10. การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ท่ีเก่ียวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำเทคโนโลยี มาใช้ในการบริหารจัดการ เช่น การยกระดับตอบรับอัตโนมัติเพ่ือแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้น (Call Center ด้านกฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธกิ าร 11. การปฏิรูปองค์การและโครงสรา้ งกระทรวงศกึ ษาธิการ 12. การพัฒนาครู ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เพ่ือให้มีมาตรฐานวชิ าชพี ทส่ี ูงขน้ึ 13. การศึกษายกกำลังสอง โดย - พัฒนาครทู ุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จำเป็นเพื่อ ทำหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพ บุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผา่ นเว็บไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนา เนอื้ หา เพ่อื ให้ผู้เรยี น ครูและผู้บรหิ ารทางการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและตลอดเวลา ผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคล สู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) – จัดทำ “คู่มือมาตรฐาน โรงเรียน” เพอื่ กำหนด ให้ทุกโรงเรียนต้องมีพ้นื ฐานทจี่ ำเปน็ 28

การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั - มุ่งเน้นการศกึ ษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทำดว้ ยคุณภาพ โดยสร้างค่านิยม อาชีวศึกษาและเติมเต็มช่องว่างระหว่างทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชีวศึกษา ทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน เน้นร่วมมือกับสถานประกอบการช้ันนำ (Tailor-made Curriculum) ขับเคลอ่ื นความรว่ มมือการจดั การอาชวี ศึกษาระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนสู่มาตรฐานนานาชาติ - มุ่งเน้น Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝึกอบรมวิชาชีพระยะส้ัน รวมท้ังผลิตกำลังแรงงานที่มีคุณภาพตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบท ของพนื้ ท่ี เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาประเทศและสถานประกอบการ - มุ่งเน้นพัฒนาศูนย์ประสานงานกลางการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (TVET Excellence Center) สู่มาตรฐานสากล ผลิตอาชีวะพันธ์ุใหม่ รวมถึงการนำนวัตกรรม Digital เพ่อื มงุ่ ส่กู ารอาชีวศึกษาดิจิทลั (Digital College) - มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพผู้เรียนอาชีวศึกษา ให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะ การเรียนรู้ผู้เรียนเพ่ือการดำรงชีวิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษ ท่ี 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) รวมท้ัง ให้ความร่วมมือในการพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศ และการแข่งขันในเวทีระดบั นานาชาติ - มุ่งเน้นการเพ่ิมปริมาณผู้เรียนในหลักสูตรอาชีวศึกษา สร้างภาพลักษณ์สถานศึกษา อาชีวศึกษาเพ่ือดึงดูดให้ผู้ท่ีสนใจเข้ามาเรียน สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการ อย่างมคี ุณภาพ และจดั การเรยี นการสอนด้วยเคร่อื งมอื ปฏิบัติทที่ ันสมัย การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา - ขับเคลื่อนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศกึ ษา พ.ศ. 2562 - ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่ยุติการศึกษา ท้ังก่อนและหลังสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ ให้ไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาจนสำเรจ็ การศึกษาภาคบังคบั การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม - เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ท่ีพึงประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีจะเกิดขึ้น ในอนาคต - ส่งเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถ เป็นอาชพี และสร้างรายได้ การพฒั นาการศึกษาเพื่อความม่ันคง - เฝ้าระวังภัยทกุ รปู แบบทีเ่ กดิ ขึ้นกับผเู้ รียน ครู และสถานศึกษา การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ - ปฏริ ปู องค์การเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และความเปน็ เอกภาพของหนว่ ยงาน - ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ ท่ีเป็นอุปสรรคและข้อจำกัด ในการดำเนินงาน โดยคำนึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการ โดยรวม 29

- ยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ - พัฒนาระบบฐานข้อมูลดา้ นการศกึ ษา (Big Data) การขับเคลอ่ื นนโยบายและจุดเน้นสกู่ ารปฏบิ ัติ 1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเน้น เป็นกรอบแนวทางในการวางแผนและจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามทร่ี ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดใ้ หแ้ นวทางในการบริหารงบประมาณไว้ 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบาย และจุดเน้นสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นปร ะธาน สำนักงานศึกษาธิการภาคและสำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการตามลำดับ โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผล ในระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลำดับ 3. กรณมี ีปัญหาในเชงิ พน้ื ท่ีหรือขอ้ ขัดข้องในการปฏิบตั ิงาน ให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ขอ้ มูล และดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพ้ืนที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมท้ัง รายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารตามลำดบั 11. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค มี 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคใต้ชายแดน โดยท่ีสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ได้เสนอโครงการเพ่ือประกอบคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2565 รวม 5 ภาค ตามแผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) เมื่อเดือนพฤษภาคม 2563 ภายใต้ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ประจำภาค ทง้ั 6 ภาค 1) ภาคเหนือ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาเป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เช่ือมโยง เศรษฐกิจกับประเทศในอนุภมู ิภาคลมุ่ แม่นำ้ โขง ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค 1. พัฒนาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่อเน่ืองให้มีคุณภาพ สามารถสร้าง มูลค่าเพ่ิมอย่างย่ังยืน และกระจายประโยชน์อย่างท่ัวถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการท่ีมี ศกั ยภาพสงู ด้วยภมู ิปญั ญาและนวัตกรรม 2. ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเชอ่ื มโยงกบั อนุภูมิภาค GMS BIMSTEC และ AEC เพ่ือขยายฐานเศรษฐกิจของภาค 3. ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่ อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ท่ีสร้างมูลคา่ เพ่มิ สงู 30

4. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และแกไ้ ขปัญหาความยากจน พฒั นาระบบดูแลผู้สงู อายุ อยา่ งมีส่วนรว่ มของครอบครวั และชุมชน ยกระดับทักษะฝมี อื แรงงานภาคบรกิ าร 5. อนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าต้นน้ำให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้ำ อยา่ งเหมาะสมและเชอื่ มโยงพน้ื ทเี่ กษตรใหท้ ่วั ถงึ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหามลพษิ หมอกควันอยา่ งยัง่ ยืน 2) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาอีสานสู่มิติใหม่ให้เป็น “ศูนย์กลางเศรษฐกิจของ อนุภมู ิภาคลุม่ แม่น้ำโขง” ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค 1. บรหิ ารจดั การน้ำให้เพียงพอตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และคุณภาพชวี ิตอย่างยั่งยนื 2. แก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อยเพื่อลดความ เหลือ่ มล้ำทางสังคม 3. สร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจภายในควบคู่กับการแก้ปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 4. พัฒนาการท่องเท่ยี วเชงิ บูรณาการ 5. ใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งที่เชื่อมโยงพื้นท่ีเศรษฐกิจ หลัก ภาคกลางและพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อพัฒนาเมืองและพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ใหม่ ๆ ของภาค 6. พัฒนาความร่วมมือและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงกับประเทศเพ่ือนบ้าน ในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ ตามแนวชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกจิ 3) ภาคกลางและพน้ื ที่กรุงเทพมหานคร เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนากรุงเทพฯ สู่มหานครทันสมัยและภาคกลาง เป็นฐานการผลติ สินคา้ และบรกิ ารที่มีมลู ค่าสงู ยุทธศาสตร์การพฒั นาภาค 1. พัฒนากรุงเทพฯ เป็นมหานครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและแก้ไขปญั หาส่งิ แวดลอ้ มเมือง 2. พัฒนาคณุ ภาพแหล่งท่องเทย่ี วที่มีชือ่ เสียงระดับนานาชาตแิ ละ สร้างความเชื่อมโยง เพ่ือกระจายการท่องเที่ยวท่วั ท้งั ภาค 3. ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอตุ สาหกรรมโดยใช้นวตั กรรม เทคโนโลยี และความคิดสรา้ งสรรค์ เพอื่ ใหส้ ามารถแข่งขันไดอ้ ย่างยง่ั ยนื 4. บริหารจัดการน้ำและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ภัยแล้ง และคงความสมดลุ ของระบบนเิ วศอยา่ งยงั่ ยนื 5. เปิดประตูการค้า การลงทุน และการท่องเท่ียว เชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทวาย-ภาคกลาง-เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก 6. พัฒนาความเช่ือมโยงเศรษฐกิจและสังคมกับทุกภาคเพ่ือเสริมสร้างเสถียรภาพ และลดความเหลือ่ มลำ้ ภายในประเทศ 31

4) ภาคตะวันออก เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาเป็นฐานเศรษฐกิจชั้นนำของอาเซียน โดยรักษา ฐานเศรษฐกิจเดิมที่มีอยู่ให้เติบโตอย่างย่ังยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันและสนับสนุนให้ประเทศเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ โดยเน้นการพัฒนาพื้นท่ีท่ีมีศักยภาพสูง ได้แก่ พื้นที่ฐานการผลิตและบริการ เมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ชายแดน ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค 1. พัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษท่ีมี ความทนั สมัยทส่ี ุดในภูมิภาคอาเซยี น 2. พัฒนาภาคตะวันออกให้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน สากล 3. ปรบั ปรุงมาตรฐานสนิ คา้ และธรุ กิจบริการดา้ นการท่องเทยี่ ว 4. พัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกิจเช่ือมโยงกับประเทศ เพ่ือนบ้านให้เจรญิ เติบโตอย่างย่งั ยนื 5. แก้ไขปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและจดั ระบบการบริหารจัดการมลพษิ ให้มี ประสิทธภิ าพเพิม่ ข้ึน 5) ภาคใต้ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป็นเมืองท่องเที่ยวพักผ่อนตากอากาศระดับโลก เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ยางพาราและปาล์มน้ำมันของประเทศ และเมืองเศรษฐกิจเช่ือมโยงการค้า การลงทุนกบั ภมู ิภาคอ่นื ของโลก ยุทธศาสตร์การพฒั นาภาค 1. พฒั นาการท่องเท่ียวของภาคให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำของโลก 2. พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ำมันแห่งใหม่ของ ประเทศ 3. พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาคและสร้างความเข้มแข็งสถาบัน เกษตรกร 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการท่องเที่ยว การพัฒนาเขตอุตสาหกรรม และการเช่อื มโยงการค้าโลก 5. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อยา่ งเป็นระบบ เพือ่ เปน็ ฐานการพฒั นาทีย่ ่งั ยืน 6. พฒั นาพ้ืนทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้อยา่ งย่ังยนื 6) ภาคใตช้ ายแดน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป็นแหล่งผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปที่สำคัญของประเทศและเป็นเมืองชายแดนเชื่อมโยงการค้าและการท่องเที่ยวกับพ้ืนที่ภาคใต้ และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ ชุมชนมีความเข้มแข็งอยู่รว่ มกันอย่างสันติสุข ภายใต้สงั คมพหวุ ัฒนธรรม 32

ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค 1. พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร เพื่อสร้าง ความมัน่ คงใหก้ บั ภาคการผลติ 2. พัฒนาเมืองสุไหงโก-ลก และเมืองเบตง ให้เป็นเมืองการค้าและเมืองท่องเท่ียว ชายแดนและพัฒนาเมืองยะลาให้เป็นเมืองน่าอยู่และศูนย์กลางเศรษฐกิจของภาคใต้ชายแดน 3. เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ให้กับชมุ ชน 12. ร่าง แผนปฏบิ ัติราชการประจำปี พ.ศ.2565 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏพล ทีปสุวรรณ) ให้ความเห็นชอบ ในหลกั การสาระสำคญั รา่ ง แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปี พ.ศ.2565 เมอ่ื วันท่ี 3 ธนั วาคม 2563 วสิ ยั ทัศน์ “พัฒนาผู้เรียนทุกช่วงวัยให้มีคณุ ธรรม มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 มที ักษะอาชีพ และมที ักษะการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ ตามความสามารถของพหุปญั ญา” พันธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษาให้มมี าตรฐาน 2. ลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษา 3. มุง่ ความเปน็ เลิศและสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพม่ิ ความคลอ่ งตวั ในการรองรบั ความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสรา้ งเสริมธรรมาภบิ าล เป้าประสงคร์ วม 1. ผเู้ รยี นมีทักษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ 2. ผู้เรียนได้รับการปลูกจิตสำนึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความมั่นคง และรู้เท่าทันต่อ ภยั คกุ คามรูปแบบใหม่ 3. ผ้เู รียนปฐมวัยมพี ัฒนาการทสี่ มวัย 4. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 5. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่ างทั่วถึง และเหมาะสมกบั ช่วงวยั 6. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมลู พหปุ ญั ญาของผ้เู รยี น 7. กำลงั คนมีทกั ษะอาชีพ สมรรถนะ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด แรงงาน 8. องค์ความรู้ ส่ิงประดิษฐ์ งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม สามารถนำไปใช้ ประโยชนใ์ นเชิงเศรษฐกิจและสงั คม 9. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล สามารถ สนับสนนุ การจัดการศึกษาทีห่ ลากหลายในระดับพื้นที่ ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียน 33

ประเด็นยุทธศาสตร์และแผนงานภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ (5 ประเด็น 35 แผนงาน) 1. พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล (7 แผนงาน) แผนงานที่ 1 สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ และสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดี แผนงานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรท่ีตอบสนองการสร้างทักษะภาษา ทักษะดิจิทัล ทกั ษะอาชพี และพหปุ ัญญา แผนงานที่ 3 เพิ่มผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียนทุกระดับ แผนงานที่ 4 ส่งเสริมจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง (Active learning) แผนงานท่ี 5 ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรค อบุ ัตซิ ำ้ แผนงานที่ 6 ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือสร้างความเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แผนงานที่ 7 ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผล การประเมินผลผู้เรียน และสถานศกึ ษาให้มีความเหมาะสม 2. พฒั นาครู บุคลากรทางการศึกษา และบคุ ลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ ระดบั (5 แผนงาน) แผนงานที่ 8 ปรับบทบาทและเพ่ิมสมรรถนะครใู ห้เป็นครูยุคใหม่ แผนงานท่ี 9 จดั หาครูตา่ งประเทศทม่ี คี วามสามารถสงู ใหแ้ กส่ ถานศึกษา แผนงานท่ี 10 พฒั นาทกั ษะความเปน็ มอื อาชีพให้ผ้บู ริหารสถานศึกษาและผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ทุกสายงาน แผนงานท่ี 11 พัฒนามาตรฐานวิชาชพี ครใู หเ้ หมาะสม แผนงานที่ 12 จัดทำแผนการใช้อัตรากำลังครู และส่ งเสริมขวัญกำลังใจ ในการปฏิบัตงิ านของครูในสถานศกึ ษา 3. เพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต (5 แผนงาน) แผนงานที่ 13 ส่งเสรมิ การสรา้ งทกั ษะวิชาชีพ และการดำรงชวี ิต แผนงานที่ 14 พัฒนาสถานศึกษาปฐมวัยและเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการท่ีเหมาะสม แผนงานที่ 15 สนบั สนุนและเผยแพรโ่ ครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริแกผ่ ู้เรยี น แผนงานที่ 16 สนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเป็นหลักประกัน แกผ่ ู้เรยี นท่ีดอ้ ยโอกาส แผนงานท่ี 17 พัฒนาระบบเทียบโอนหน่วยกิจผลการเรียน ความรู้และประสบการณ์ ทเ่ี หมาะสม 4. สง่ เสริมระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ การศกึ ษา (5 แผนงาน) แผนงานท่ี 18 จดั หาอนิ เตอร์เน็ตความเรว็ สงู ให้แก่ทุกสถานศึกษา แผนงานที่ 19 ส่งเสริมระบบดิจทิ ัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ แผนงานที่ 20 จดั หาส่อื การเรียนการสอนในรปู แบบดิจทิ ลั 34

แผนงานที่ 21 จดั ทำระบบฐานข้อมูลกลางดา้ นการศกึ ษาในระดบั ประเทศ แผนงานที่ 22 พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลพหุปัญญาของผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล 5. ผลิตกำลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ (7 แผนงาน) แผนงานท่ี 23 เพมิ่ ปริมาณผ้เู รยี นอาชวี ศกึ ษาในระดับจงั หวัด แผนงานท่ี 24 ผลิตบุคลากรท่ีเชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการท่ีตอบสนอง เขตเศรษฐกจิ พิเศษ แผนงานท่ี 25 ผลติ บคุ ลากรเพ่ือตอบสนองการส่งเสริมผลิตภาพภาคการเกษตร แผนงานท่ี 26 สง่ เสรมิ ผเู้ รยี น ใหม้ ที กั ษะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการธรุ กิจ แผนงานท่ี 27 สนับสนนุ ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพเิ ศษตามพหุปญั ญา แผนงานท่ี 28 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวตั กรรมในเชิงพาณชิ ย์ แผนงานที่ 29 ส่งเสริมการวิจัย สร้างองค์ความรู้ ด้านการพัฒนาพหุปัญญาของ ผู้เรียน 6. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการ ศกึ ษา (6 แผนงาน) แผนงานท่ี 30 ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา แผนงานท่ี 31 นำการศึกษามาสนับสนุนการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต้ แผนงานที่ 32 ส่งเสรมิ ภาคเอกชนให้มีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา แผนงานท่ี 33 ขยายผลการจัดการศึกษาระดบั จงั หวัดในรปู แบบพื้นทน่ี วตั กรรม การศึกษา แผนงานท่ี 34 ปรับปรุงโครงสร้างให้มีเอกภาพและออกแบบระบบบริหารงาน ให้มีประสทิ ธภิ าพ แผนงานที่ 35 บรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็กให้มคี วามเหมาะสม 13. ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานปลัด กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ข้อมลู ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2563) แผนปฏิบัติราชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ผลการ บรรลุ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ สป./ เปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั บรรลุ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง แผนปฏบิ ตั ิราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป. 1 พฒั นาการจดั การศึกษาเพอื่ ความมนั่ คง ตัวช้วี ดั ท่ี 1 ร้อยละของ ร้อยละ 100 100 สถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความรกั และการธำรงรักษาสถาบนั หลักของชาติ ยดึ ม่ัน ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย 35

แผนปฏบิ ตั ิราชการ หนว่ ยวดั เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ผลการ บรรลุ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ เป้าหมาย ตวั ช้วี ดั ไม่บรรลุ เป้าหมาย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น ประมุข ตวั ชี้วดั ท่ี 2 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 49 รอ้ ยละของนักเรียนสังกดั นกั เรียนสงั กดั โรงเรยี นเอกชน โรงเรียนเอกชนในเขตพัฒนา ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจ พิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดน จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ยะลา ภาคใต้ (ยะลา ปตั ตานี นราธิวาส ปัตตานี นราธวิ าส และ 4 และ 4 อำเภอในสงขลา) ท่ีมี อำเภอในสงขลา) ทีม่ คี ะแนน คะแนนผลการทดสอบทางการ ผลการทดสอบทางการศึกษา ศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน ระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) (O-NET) แตล่ ะวชิ าผา่ นเกณฑ์ แตล่ ะวิชาผ่านเกณฑ์คะแนน คะแนนร้อยละ 50 ข้นึ ไป เท่ากบั ร้อยละ 50 ขึน้ ไป เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 6.21 โดยเปรียบเทียบปี การศกึ ษา 2561 กับปีการศกึ ษา 2562 จำแนกตามระดบั ชน้ั และรายวชิ า ดังนี้ ภาพรวมทกุ ระดบั ช้นั (ป.6 /ม.3 /ม.6) จำแนกตามรายวชิ า ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ผลตา่ ง จำนวน จำนวน รอ้ ยละ ผู้เข้าสอบ ร้อยละ ผเู้ ข้าสอบ วิชา (ป.6 /ม.3 / จำนวน จำนวน รอ้ ยละ + ผู้ผา่ น (ป.6 /ม.3 ผ้ผู า่ น เพมิ่ ข้ึน ม.6) 50% /ม.6) 50% /– ลดลง ภาษาไทย 43,020 10,949 25.46 45,451 9,360 20.59 -4.87 สังคม 13,722 59 0.21 14,115 77 0.55 +0.34 ศาสนา และ วัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ 43,052 1,562 3.63 45,473 1,209 2.66 -0.97 คณิตศาสตร์ 43,042 1,450 3.37 45,478 808 1.78 -1.59 วิทยาศาสตร์ 43,061 211 0.49 45,496 712 1.56 +1.07 รวม 185,897 14,231 7.66 196,013 12,166 6.21 -1.45 36

แผนปฏิบัติราชการ หนว่ ยวัด เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ผลการ บรรลุ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ เป้าหมาย ตวั ช้วี ัด จำแนกตามระดบั ชนั้ - ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ผลตา่ ง ร้อยละ วชิ า จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ + ผู้เขา้ สอบ ผผู้ ่าน ผเู้ ข้า ผู้ผา่ น เพิ่มขึน้ 50% สอบ 50% /– ลดลง ภาษาไทย 10,271 3,845 37.44 11,198 2,366 21.13 -16.31 ภาษาอังกฤษ 10,270 1,232 12.00 11,199 624 5.57 -6.43 คณติ ศาสตร์ 10,268 957 9.32 11,194 517 4.62 -4.70 วทิ ยาศาสตร์ 10,272 895 8.71 11,199 564 5.04 -3.67 รวม 41,081 6,929 16.87 44,790 4,071 9.09 -7.78 - ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 ผลต่าง ปกี ารศึกษา 2561 ร้อยละ วชิ า จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ + ผู้เขา้ สอบ ผู้ผา่ น ผู้เข้า ผผู้ า่ น เพิ่มขน้ึ 50% 50% สอบ /– ลดลง ภาษาไทย 19,037 5,355 28.13 20,152 6,307 31.30 +3.17 ภาษาองั กฤษ 19,059 119 0.62 20,164 461 คณติ ศาสตร์ 19,042 224 1.18 20,153 163 2.29 +1.67 วิทยาศาสตร์ 19,068 496 2.60 20,183 57 76,206 6,194 8.13 80,652 6,988 0.81 -0.37 รวม 0.28 -2.32 8.66 +0.53 - ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ผลตา่ ง ร้อยละ วิชา จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ + ผเู้ ข้าสอบ ผผู้ ่าน ผเู้ ขา้ ผผู้ า่ น เพิ่มขนึ้ 50% สอบ 50% /– ลดลง ภาษาไทย 13,712 1,749 12.76 14,101 687 4.87 -7.89 สังคม 13,722 29 0.21 14,115 77 0.55 +0.34 ศาสนา และ วัฒนธรรม ภาษาองั กฤษ 13,723 211 1.54 14,110 124 0.88 -0.66 คณติ ศาสตร์ 13,732 269 1.96 14,131 128 0.91 -1.05 วทิ ยาศาสตร์ 13,721 211 1.54 14,114 91 0.64 -0.90 รวม 68,610 2,469 3.60 70,571 1,107 1.57 -2.03 37

แผนปฏบิ ตั ิราชการ หน่วยวัด เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ผลการ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป./ บรรลุ ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย ตัวชีว้ ัดท่ี 3 ร้อยละของ ร้อยละ 84 88.25 บรรลุ นกั เรยี นสังกดั โรงเรยี นเอกชน เปา้ หมาย ในพน้ื ท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อ่าน – เขียน ภาษาไทยได้ ตัวช้วี ดั ท่ี 4 รอ้ ยละของ ร้อยละ 80 107.93 บรรลุ ผ้เู รยี นในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั เป้าหมาย ชายแดนภาคใต้ทไี่ ด้รบั การพฒั นาศักยภาพ หรอื สมรรถนะดา้ นอาชีพ สามารถนำผลการพัฒนา ไปประกอบอาชีพได้ ตัวช้วี ัดท่ี 5 ร้อยละของ ร้อยละ 80 111.51 บรรลุ ผู้เรยี นทไี่ ดร้ บั การสรา้ ง เป้าหมาย ภมู คิ ุ้มกนั ยาเสพตดิ หรือภยั คุกคามรูปแบบใหม่ มคี วามรู้ ทศั นคตทิ ่ีถูกตอ้ ง เพิม่ ขึ้น ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ แผนปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ สป. 2 พัฒนากำลังคน การวิจัย เพ่ือสร้างความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศ ตัวชว้ี ดั ท่ี 6 ร้อยละของ รอ้ ยละ 80 69.75 ไมบ่ รรลุ ผู้เรยี นทผี่ า่ นเกณฑก์ ารพัฒนา เปา้ หมาย ภาษาต่างประเทศ เพื่อการ สอ่ื สารด้านอาชพี /ดา้ นการ เรยี นรู้ สามารถส่อื สาร ได้ถูกต้องมากขนึ้ ตัวช้วี ดั ที่ 7 ร้อยละของผู้ผ่าน ร้อยละ 90 112.87 บรรลุ การอบรมเครอื ขา่ ยเศรษฐกิจ เปา้ หมาย ดจิ ทิ ลั ชมุ ชนระดบั ตำบล ตัวชี้วดั ที่ 8 รอ้ ยละของ รอ้ ยละ 80 55.56 ไมบ่ รรลุ ผลงานวิจยั เพื่อสรา้ งความรู้ เป้าหมาย สกู่ ารพฒั นาการศกึ ษา ท่เี ผยแพรต่ ่อสาธารณชน 38