อนาคตศึกษา | 236 พยากรณ์ผลผลิตมันส�ำปะหลังด้วยเทคนิคการท�ำเหมืองข้อมูล36 การคาดการณ์ภาษีมูลค่าเพ่ิมด้วย เทคนิคของเหมืองข้อมูล37 การท�ำเหมืองข้อมูลเพ่ือการขายต่อเนื่องของบริการบริหารเงินสด กรณี ศึกษาธนาคารพาณชิ ยแ์ ห่งหน่ึง38 การวเิ คราะห์ผลกระทบต่อแนวโน้มและผลกระทบไขว้ เครอ่ื งมือท่ใี ชว้ ิเคราะหผ์ ลกระทบแนวโนม้ (trend impact analysis) ในงานวิจัยและการคาด การณใ์ นประเทศไทยเทา่ ทท่ี บทวนมา โดยมากใชเ้ ครอื่ งมอื ทางสถติ เิ ปน็ หลกั กรอบแนวคดิ และวธิ กี าร หลกั คือการวเิ คราะห์ความออ่ นไหว (sensitivity analysis) ซ่งึ ปรบั เปลีย่ นคา่ พารามิเตอรข์ องตัวแปร ที่สนใจ นอกจากน้ี ยังมกี ารวิเคราะหผ์ ลกระทบไขว้ (cross-impact analysis) ในงานศึกษาอนาคต เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรม เช่น อนาคตภาพของขีดความสามารถด้านนวัตกรรมในการจัดการ ธรุ กิจขนาดกลาง39 งานวจิ ยั ด้านการศกึ ษา เช่น การศึกษาเพอื่ สร้างอนาคตภาพของการจดั การศึกษา ตลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของเยาวชนในศนู ย์เยาวชน เขตพฒั นาพนื้ ทพ่ี เิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต4้ 0 ไปจนถงึ งานศกึ ษาอนาคตขององคก์ ร เชน่ งานศกึ ษาอนาคตภาพมหาวทิ ยาลยั มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2557–2566)41 วิธกี ารตดั สนิ ใจแบบใชไ้ ดก้ ับหลายสถานการณ์ กรอบแนวคดิ และวธิ กี ารตัดสินใจแบบใชไ้ ด้กับหลายสถานการณ์ (Robust Decision Making - RDM) เหมาะส�ำหรับการระบุและออกแบบทางเลือกด้านนโยบายและการออกแบบท่ีตอบรับกับ สถานการณ์ไม่แน่นอนในอนาคตได้ดีกว่าแนวทางการวางแผนแบบดั้งเดิมท่ีมุ่งเน้นการพยากรณ์ภาพ อนาคตเดียว วิธีการน้ียังใช้ประโยชน์ได้ในการตัดสินใจกลุ่มขององค์กรหรือพ้ืนที่หน่ึงเม่ือมีฉากทัศน์ ทน่ี า่ จะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยหู่ ลายฉาก และยงั ไมม่ ฉี นั ทามตใิ นแนวทางการตดั สนิ ใจทนี่ ำ� ไปสผู่ ลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ งานวจิ ยั ในประเทศไทยเรมิ่ เหน็ การใชว้ ธิ กี ารคาดการณแ์ นวนบี้ า้ ง งานวจิ ยั ของ Wongburi and Park (2018) ทดลองใช้เครื่องมือตัดสินใจท่ีใช้ได้กับทุกสถานการณ์ในการวิเคราะห์เลือกเทคโนโลยี บ�ำบัดนำ�้ เสยี ทีย่ ่ังยืนในประเทศไทย42 เครือข่ายวิจยั เพอ่ื ลุ่มนำ้� แมโ่ ขงท่ียัง่ ยนื (Sustainable Mekong Research Network – SMRT) ประยกุ ตใ์ ชก้ รอบแนวคดิ และเคร่อื งมอื RDM ในการวิเคราะหก์ รณี ศึกษา 5 ประเทศในลุ่มแม่น้�ำโขง รวมถึงประเทศไทย เพื่อช่วยในการพัฒนาและนโยบายที่มุ่งแก้ไข ปัญหาการวางแผนบรหิ ารจัดการน้ำ� ภายใต้เงือ่ นไขการเปล่ยี นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ คณะผู้วจิ ยั ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการก�ำหนดขอบเขตของปัญหาด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรน�้ำ รวมถึงการระบุถึงปัจจยั ไม่แน่นอนและแนวทางการวางแผนรบั มือความท้าทาย ในอนาคต43 สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของแนวคดิ การคาดการณ์ และวางแผนอนาคตทีต่ ั้งอยบู่ นฐานของความไมแ่ น่นอน รวมถงึ เครื่องมือวเิ คราะห์ใหม่ ๆ ทเ่ี น้นเรอ่ื ง ความไมแ่ นน่ อน ชดุ โครงการ “การปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ” ประจำ� ปี 2560 ของ สกว. ใหค้ วามส�ำคัญกบั การพฒั นาองค์ความรู้ด้านการวางแผนการปรับตัวต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพ ภมู ิอากาศท่สี อดคลอ้ งกับแผนแมบ่ ทรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 โดย
237 | อนาคตศกึ ษา มุ่งสร้างองค์ความรู้ในการประกอบการวางยุทธศาสตร์หรือแผนด�ำเนินงานที่อาจมีผลสืบเน่ืองระยะ ยาวภายใต้สถานการณท์ ี่ไมแ่ นน่ อนของอนาคต ชดุ โครงการดงั กลา่ วยงั ม่งุ สรา้ งความเขา้ ใจในแนวคดิ และเครอื่ งมือวิเคราะห์ใหม่ ๆ ในการวางแผน อาทิ visioning process, robust decision making และ adaptive planning44 อยา่ งไรก็ตาม จากทไ่ี ด้สอบถามผเู้ ก่ยี วขอ้ งดา้ นการให้ทุนวจิ ัยของ สกว. และผเู้ ชีย่ วชาญในหวั ขอ้ ดงั กล่าว พบว่า ณ เดอื นมกราคม พ.ศ. 2562 ยังไม่มนี กั วจิ ยั ที่เสนอขอทุน สนบั สนนุ งานวิจยั ท่ีใชแ้ นวคดิ และวธิ กี ารแบบ RDM การสร้างฉากทศั น์ โครงการศกึ ษาอนาคตในประเทศไทยในชว่ งหลงั เรมิ่ ใชว้ ธิ กี ารสรา้ งฉากทศั นใ์ นการศกึ ษาและคาด การณภ์ าพอนาคตแบบเนน้ กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ซง่ึ โดยมากเปน็ การจดั ประชมุ ทเ่ี ชญิ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสยี ทงั้ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละตวั แทนจากกลมุ่ คนหลายอาชพี และกลมุ่ วยั เขา้ รว่ มวเิ คราะหแ์ ละระบปุ จั จยั ขบั เคลอื่ นอนาคต แลว้ กำ� หนดตรรกะฉากทัศน์ (scenario logic) ทนี่ �ำไปสร้างฉากทัศนต์ ่อ ตวั อย่าง ในแนวนมี้ อี ยหู่ ลายโครงการ เชน่ โครงการจดั ทำ� ภาพอนาคตประเทศไทย พ.ศ. 256245 ซงึ่ ดำ� เนนิ การ โดยสถาบนั คลงั สมองของชาตริ ว่ มกบั ศนู ยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปค ภายใตส้ ำ� นกั งานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สวทน.) วัตถปุ ระสงคค์ อื เพ่ือหาทศิ ทางของ ประเทศไทยในอนาคตอีก 10 ปขี า้ งหน้า (พ.ศ. 2562) ผลลัพธ์ท่ีได้จากกระบวนการคาดการณแ์ บบ มสี ่วนร่วมคอื ฉากทศั น์ 3 ฉากดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ (1) ภาพเกาเหลาไมง่ อก ซ่งึ แสดงถงึ ความขดั แย้งอยา่ ง รุนแรงของคนภายในประเทศ (2) ภาพน้�ำพริกปลาทู ซึ่งสะท้อนวิถีชวี ติ แบบไทยที่แมไ้ มส่ วยหรู แต่ สุขสงบและมีความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกิจภายในประเทศ และ (3) ภาพตม้ ย้�ำกุง้ น้ำ� โขง ซึ่งส่อื ถงึ ความ เปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมทเ่ี กดิ จากการรวมตวั กนั ของระบบเศรษฐกจิ และสงั คมในลมุ่ แมน่ ำ้� โขง อกี ตัวอย่างหนึง่ เป็นโครงการจัดทำ� หนังสือ “ฉากทัศนช์ วี ิตคนไทย พุทธศักราช 2576” โดยมิง่ สรรพ์ ขาวสอาด และอภวิ ัฒน์ รตั นวราหะ ใน พ.ศ. 255746 โครงการดงั กล่าวมุ่งประมวลและจัดการ ความรู้เพ่ืออนาคตประเทศไทย โดยสรุปผลองค์ความรู้จากผลงานวิจัยชุดอนาคตไทยของแผนงาน สร้างเสริมนโยบายสาธารณะท่ดี ี (นสธ.) หนงั สอื เลม่ ดังกล่าวแสดงภาพชีวติ คนไทยในหลายดา้ น โดย สอดแทรกประเด็นนโยบายที่ล้มเหลวและนโยบายที่สร้างจุดเปล่ียนในอนาคต เพื่อน�ำไปสู่ข้อเสนอ แนะดา้ นนโยบายสาธารณะทีด่ ีในอนาคต ข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดท�ำฉากทัศน์ในงานดังกล่าวมาจากการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณและเชิง คณุ ภาพโดยนักวิจยั ในแตล่ ะสาขา เช่น ประชากร เศรษฐกจิ การเกษตร และพลงั งาน จากนั้น จงึ มี การจัดประชุมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับภาพอนาคตในดา้ นตา่ ง ๆ โดยมีผูเ้ ชย่ี วชาญแต่ละสาขาเขา้ รว่ มเสนอความคดิ เหน็ สดุ ทา้ ยจงึ เปน็ การสรา้ งฉากทศั นข์ องชวี ติ คนไทยใน พ.ศ. 2576 ผลลพั ธท์ ไี่ ดค้ อื ฉากทศั น์อนาคตของชวี ติ คนไทย ซ่ึงแบง่ ออกเป็น 2 ฉาก ได้แก่ ฉากซิมโฟนปี ่ีพาทย์ ซึ่งเปรยี บเทยี บ กบั ชีวติ ในอนาคตของคนไทยท่ตี อ้ งอยใู่ นกฏระเบยี บชัดเจน ทกุ คนมหี นา้ ที่เชย่ี วชาญเฉพาะทาง รจู้ กั บทบาทของตนเอง ทวา่ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามวาทยกรหรอื รฐั บาลกลางทกี่ มุ อำ� นาจอยา่ งเบด็ เสรจ็ ในขณะที่ อกี ฉากหนง่ึ คอื ฉากแจส๊ หมอลำ� ซง่ึ สอ่ื ถงึ ชวี ติ ทเี่ ปน็ อสิ ระมากขนึ้ มคี วามยดื หยนุ่ ชวี ติ อสิ ระและเสรภี าพ มากขนึ้ กฎระเบยี บ สามารถปรบั เปลย่ี นและประยกุ ตใ์ หเ้ ทา่ ทนั สถานการณ์ ทอ้ งถน่ิ จะมคี วามสามารถ
อนาคตศึกษา | 238 แตกต่างกนั โดยข้นึ อยกู่ ับผูน้ ำ� แตจ่ ะน�ำไปสู่ความเหลอื่ มล้�ำระหวา่ งทอ้ งถ่ิน ในขณะทีม่ แี รงงานขา้ ม ชาติได้การยอมรับใหเ้ ป็นคนไทย แต่ปญั หาคนชายขอบกลบั ยังไม่หมดไป นอกจากน้ี ยังมีโครงการอ่ืนที่ใช้วิธีการสร้างฉากทัศน์เพื่อคาดการณ์การเปล่ียนแปลงใน ประเด็นรายสาขา เช่น ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพลังงานมอบหมาย ให้สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด�ำเนินโครงการวิเคราะห์ภาพอนาคตพลังงานของ ประเทศไทย47 โดยการวเิ คราะหภ์ าพจำ� ลองสถานการณเ์ พอื่ สนองนโยบายดา้ นพลงั งานระดบั ประเทศ ในอีก 20 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2578) เพื่อพฒั นาขอ้ มูลเชงิ วเิ คราะหแ์ ละฉายภาพอนาคตในด้านการใช้ และการจัดหาพลังงาน แล้วจึงน�ำภาพอนาคตที่ได้น้ันไปพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะนโยบายพลังงาน เพื่อให้สอดคล้องกับภาพรวมการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและการพัฒนาในด้านคมนาคมขนส่ง ของประเทศ งานศึกษานี้ผสมผสานการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือเชิงปริมาณกับการจัดประชุมผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียเพื่อสร้างภาพอนาคต ผลลพั ธท์ ไ่ี ดค้ อื ฉากทศั น์ 4 ภาพดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ ภาพสขุ ภาพดี (Healthy) ภาพมะเร็งระยะที่ 1 (Cancer Stage I) ภาพไข้หวดั สายพันธ์ุ ใหม่ (Great Influenza) และภาพอาการโคม่า (Coma) อีกโครงการหนึ่งท่ีใช้วิธีการแบบฉากทัศน์ในการฉายภาพอนาคตรายสาขา คือ โครงการจัดท�ำ ภาพอนาคตการเกษตรไทย 256348 โดยสถาบนั คลงั สมองของชาติ รว่ มกบั ศนู ยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยเี อ เปค และหนว่ ยงานอ่ืน ๆ ในด้านการเกษตรและดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม โครงการ ดังกล่าวใช้กระบวนการสร้างฉากทัศน์แบบมีส่วนร่วม ซ่ึงมีผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้าน การเกษตรเข้ารว่ มการประชุม ผลลพั ธ์ท่ไี ด้คือฉากทัศนข์ องอนาคตการเกษตรไทย 3 ฉาก ได้แก่ ฉาก ไมป้ า่ ซง่ึ สะทอ้ นการเตบิ โตของการเกษตรไทยทเี่ ขม้ แขง็ ฉากไมเ้ ลย้ี ง ซง่ึ มกี ารยกระดบั ดว้ ยเทคโนโลยี และนวตั กรรม และใช้ทนุ ในการดูแลอย่างเป็นระบบ และฉากไมล้ ม้ ซงึ่ สะทอ้ นภาพอนาคตของความ ล้มเหลวด้านการเกษตรของประเทศไทย ทงั้ ในด้านความรู้ทางเทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านสง่ิ แวดล้อม และดา้ นสงั คม โดยเฉพาะในดา้ นความเหลือ่ มล�้ำอันเน่ืองจากภาคการเกษตร ในระดบั เมอื งและชมุ ชน โครงการทถ่ี อื วา่ เปน็ ครงั้ แรกทที่ ดลองใชว้ ธิ กี ารมองอนาคตแบบฉากทศั น์ ในการวางนโยบายและแผนการพฒั นาเมอื งในประเทศไทย คือโครงการภาพอนาคตเมอื งล�ำพูน พ.ศ. 257049 ด�ำเนินการโดยศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปค ร่วมกับส�ำนักงานพัฒนานโยบายสาธารณะ (สพน.) สำ� นักนายกรัฐมนตรี เม่อื พ.ศ. 2554 วิธีการหลกั ที่ใช้ในงานดังกลา่ วคือการจัดประชุมกลุ่ม ย่อย โดยให้ผ้เู ขา้ รว่ มประชมุ รว่ มกนั วิเคราะหข์ อ้ มูลแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงจากอดตี แลว้ น�ำผลการ วิเคราะห์มาฉายภาพอนาคตดว้ ยการเขยี นขา่ วในหนา้ หนังสือพมิ พส์ มมตอิ ีก 20 ปขี า้ งหนา้ นอกจากนี้ ใน พ.ศ. 2553 ยังมีโครงการฉายภาพอนาคตเชียงคาน 2580 ของเมืองเชียงคาน จังหวัดเลย50 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการคาดการณ์สถานการณ์ด้านส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรรมบนพนื้ ฐานข้อมูลทม่ี อี ยู่ในปจั จบุ นั ลว่ งหน้า 30 ปี จัดโดยศนู ย์เครือขา่ ยงานวเิ คราะหว์ ิจยั และฝกึ อบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (START) และสถาบนั สิ่ง แวดลอ้ มสตอ็ กโฮลม์ ภาคพนื้ เอเชยี (Stockholm Environment Institute - SEI) วธิ กี ารหลกั คอื การ จดั ประชมุ ระดมสมองของชาวเชยี งคานจากหลากหลายสาขาอาชพี รวมถงึ นกั วชิ าการและนกั ขา่ วใน ฐานะคนนอกพ้นื ที่ มาแลกเปลยี่ นขอ้ มลู เกย่ี วกับอนาคตระยะยาวของเมืองเชียงคาน
239 | อนาคตศึกษา อีกโครงการหน่ึงในลักษณะคล้ายกันคือโครงการทางเลือกการพัฒนาเพื่อบรรลุเป้าหมายสังคม อยู่เย็นเป็นสุข (Strengthening Inclusive Planning and Economic Decision-making for Environmentally Sustainable Pro-Poor Development)51 ซึ่งดำ� เนินการโดยศูนย์ประสานงาน วจิ ยั ทอ้ งถน่ิ จงั หวดั สมทุ รสงคราม และสำ� นกั งานโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Development Programme - UNDP) ประจำ� ประเทศไทยร่วมกับกระทรวงมหาดไทย กิจกรรม หนึง่ ของโครงการดังกลา่ วคอื การสร้างภาพอนาคตชุมชนระบบนิเวศสามนำ้� ในจังหวัดสมุทรสงคราม ในกระบวนการศึกษาและสร้างภาพอนาคต คณะผู้วิจัยได้จัดการประชุมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในพ้ืนท่ี โดยเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับแนวโน้มการ เปลย่ี นแปลงดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงสำ� คญั ในพน้ื ที่ ขนั้ ตอนหนง่ึ ของกระ บวการสร้างฉากทัศน์คือการระบุความไม่แน่นอนหลักของเหตุการณ์ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตใน พน้ื ทศี่ กึ ษา ปจั จยั ไมแ่ นน่ อนในกรณนี คี้ อื การฟน้ื ฟหู รอื ลม่ สลายของอาชพี การทำ� นำ�้ ตาลมะพรา้ วและ อาชพี การเพาะเลย้ี งชายฝง่ั และการตระหนกั ใสใ่ จหรอื การละเลยเพกิ เฉยตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดลอ้ ม ปจั จยั เหลา่ นใ้ี ชเ้ ปน็ แกนในการสรา้ งตรรกะฉากทศั น์ (scenario logic) ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานของ ฉากทศั น์ 3 ภาพ ได้แก่ (1) ภาพหงิ่ หอ้ ยหดหู่ ปลาทหู นีตาย สอ่ื ถงึ อนาคตของสงั คมอตุ สาหกรรมตาม กระแสหลกั และสง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละอาชพี ของเกษตรกรและชาวประมงดง้ั เดมิ ไดร้ บั ผลกระทบ (2) ภาพหง่ิ หอ้ ยยมิ้ สู้ ปลาทอู ยไู่ ด้ แสดงภาพอนาคตของสงั คมทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศมรี ะดบั และ (3) ภาพ หิง่ ห้อยน่าดู ปลาทเู ต็มอา่ ว แสดงภาพอนาคตของสังคมเกษตรอนิ ทรยี เ์ ตม็ ขัน้ อกี โครงการหนง่ึ ทใี่ ชว้ ธิ กี ารวางแผนฉากทศั นใ์ นการคาดการณแ์ บบมสี ว่ นรว่ มของกลมุ่ เปา้ หมาย คอื โครงการ Informal City Dialogues ของมลู นธิ ริ อ็ กกเี้ ฟลเลอร์ (The Rockefeller Foudation) ใน พ.ศ. 255552 องคก์ รศกึ ษาอนาคตชอื่ Forum for the Future ทำ� หนา้ ทป่ี ระสานกระบวนการคาด การณ์ รว่ มกบั พนั ธมติ รในมหานครหกแหง่ ทวั่ โลกคอื มะนลิ า (Manila) ลมิ า (Lima) เชนไน (Chennai) อะครา (Accra) ไนโรบี (Nairobi) และกรุงเทพมหานคร ส�ำหรบั ในกรุงเทพมหานคร คณะท่ปี รึกษา จากภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นผู้ ดำ� เนินกระบวนการในระดบั เมอื ง53 วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของโครงการดงั กลา่ วคอื เพอื่ สรา้ งกระบวนการสนทนาระหวา่ งผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสยี ส�ำคัญในกจิ กรรมนอกระบบทางการ (informal sector) ในมหานครทเี่ ป็นกรณีศกึ ษาทง้ั 6 แห่ง โดยใชแ้ นวทางและวิธีการจัดการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการทีม่ องอนาคตอย่างมสี ว่ นรว่ ม (participatory futures workshops) เปา้ หมายของการประชมุ ชดุ แรกคอื ฉากทศั นข์ องกจิ กรรมนอกระบบในอกี 20 ปขี า้ งหนา้ เมอื่ ไดฉ้ ากทศั นแ์ ลว้ จงึ จดั การประชมุ ระดมสมองอกี ชดุ หนง่ึ เพอ่ื คดิ คน้ นวตั กรรมทสี่ ามารถ ยกระดบั ความเปน็ อยขู่ องคนในกจิ กรรมนอกระบบได้ ไมว่ า่ อนาคตในเมอื งนนั้ จะเปน็ ไปในฉากทศั นใ์ ด กต็ าม จากนนั้ ผูเ้ ข้าร่วมประชมุ ตกลงเลือกนวตั กรรมหน่งึ เปน็ กจิ กรรมน�ำรอ่ งท่ีดำ� เนินการได้จริงดว้ ย เงนิ สนบั สนุนจากมลู นธิ ิรอ็ กกเ้ี ฟลเลอร์ ในกรณีของกรงุ เทพมหานคร กลุ่มผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียหลักทเี่ ข้ารว่ มกระบวนการเปน็ ตัวแทนมา จากกลมุ่ กจิ กรรมนอกระบบทางการ 4 กลมุ่ หลกั ไดแ้ ก่ กลมุ่ หาบเรแ่ ผงลอย กลมุ่ คนทำ� งานทบี่ า้ น กลมุ่ แมบ่ า้ น และกลมุ่ คนขบั ขจี่ กั รยานยนตร์ บั จา้ ง ในการจดั ประชมุ สรา้ งฉากทศั น์ 3 ครง้ั มเี ขา้ รว่ มประชมุ
อนาคตศึกษา | 240 ครั้งละประมาณ 50 คน ผลลัพธท์ ไี่ ดค้ อื ฉากทศั น์ 4 ภาพ ไดแ้ ก่ (1) ภาพสตูผักผสม (Mixed Veggie Stew: An All-Inclusive City) สอ่ื ถึงเมืองท่คี นทุกกล่มุ อยดู่ ว้ ยกันอยา่ งแยกไม่ออก (2) ภาพข้าวราด แกงกะหร่ี (Curry Rice: A Mafia and Clique City) ส่อื ถงึ เมืองทแ่ี บ่งแยกกล่มุ ชดั เจน แตด่ ำ� เนนิ กิจกรรมร่วมกันเป็นบางครั้งตามหน้าท่ีและบทบาทของตนเอง (3) ภาพข้าวจานหลุม (Sectioned Plates: A Tug of War City) สือ่ ถึงเมืองที่แยกกนั อยแู่ ละแกง่ แย่งชงิ ดซี ึง่ กนั และกัน แตล่ ะกลุ่มรวม ตัวกนั เพอื่ ขบั เคลอื่ นทางการเมอื ง; (4)ภาพบุฟเฟ่ต์ฟดู คอรท์ (Food-Court Buffet: A Free for All City) แสดงภาพที่คนแต่ละกลุ่มแยกกันอยู่อย่างชัดเจน และไม่มีการรวมตัวกันเพื่อขับเคล่ือนการ เปลย่ี นแปลงใด ๆ เมอ่ื ไดฉ้ ากทศั นท์ ง้ั 4 ภาพแลว้ ขนั้ ตอนตอ่ ไปจงึ เปน็ การจดั ประชมุ ระดมสมอง เพอ่ื รว่ มสรา้ งแนวคดิ ทเี่ ปน็ นวตั กรรมสำ� หรบั การพฒั นาและยกระดบั ความเปน็ อยขู่ องคนในกจิ กรรมนอกระบบทงั้ 4 กลมุ่ ซง่ึ เปน็ นวตั กรรมทต่ี อบรบั กบั สถานการณท์ งั้ 4 ภาพทไ่ี ดส้ รา้ งขน้ึ มากอ่ นหนา้ น้ี แนวคดิ ทไี่ ดร้ บั เลอื กและ ยอมรบั จากผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ในโครงการคอื โครงการนกั กฎหมายชมุ ชน (community lawyers) ซง่ึ ตอ่ มาองค์กรโฮมเนต (Homenet Thailand) รับเป็นผูด้ ำ� เนินโครงการนำ� รอ่ งตอ่ ไป วิธกี ารฉากทัศนม์ ักใช้ร่วมกับวิธกี ารอ่ืน ๆ ในกระบวนการคาดการณ์ ทงั้ วธิ ีการเชิงปรมิ าณและ เชงิ คุณภาพ ตวั อยา่ งหน่ึงคือโครงการ Low-Carbon Society 2050 and Beyond ซงึ่ ด�ำเนินการ โดยศนู ยค์ าดการเทคโนโลยเี อเปค54 กลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและอนาคต ศาสตรใ์ นภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ เปน็ ผรู้ เิ รมิ่ ออกแบบและดำ� เนนิ กระบวนการคาดการณอ์ นาคตของการ ปรบั ตวั เพอ่ื รบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลก วตั ถปุ ระสงคข์ องกระบวนการคาดการณค์ อื เพอื่ ฉายภาพอนาคตของสงั คมคารบ์ อนตำ�่ และเพอื่ เสนอทางเลอื กเชงิ นโยบายใหก้ บั รฐั บาลในภมู ภิ าค น้ี ข้ันตอนแรกของกระบวนการดังกล่าวคือการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือก�ำหนดกรอบการคาด การณแ์ ละการสร้างฉากทศั น์อนาคตของสังคมคารบ์ อนต�่ำ ผลลพั ธ์จากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเป็น ขอ้ ความเชงิ พยากรณ์ (predictive statements) ทต่ี อ่ มาได้รับการประเมินเพมิ่ เติมโดยผเู้ ชี่ยวชาญ จากนน้ั จงึ เป็นการส�ำรวจเดลฟายแบบเรยี ลไทม์ (Real-time Delphi) ผลลัพธ์จากการสำ� รวจเดล ฟายคือข้อมลู ท่ีคณะทำ� งานน�ำไปใช้ต่อในการพัฒนาฉากทัศนข์ องสงั คมคาร์บอนต�ำ่ ในค.ศ. 2050 แต่ กระบวนการไม่ได้จบอยู่เพียงแค่น้ัน คณะท�ำงานได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ิมเติม เพ่ือระดม สมองและระบนุ โยบายและมาตรการทรี่ ฐั บาลและกลมุ่ ประชาคมในภมู ภิ าคนค้ี วรดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลุ เป้าหมายตามฉากทัศนท์ ่ไี ดส้ รา้ งขน้ึ มา อกี โครงการหนงึ่ ทผี่ สมผสานเครอ่ื งมอื คาดการณเ์ ชงิ ปรมิ าณกบั วธิ กี ารสรา้ งฉากทศั นค์ อื โครงการ ภาพอนาคตในปี 2035 : ทด่ี นิ พลงั งาน และนา้ ในประเทศไทย โดยนพิ นธ์ พวั พงศกร และคณะ55 ผ้วู ิจัย ไดค้ าดคะเนภาพอุปสงค์และอปุ ทานของพลงั งาน ที่ดิน และน�ำ้ ภายใตฉ้ ากทัศนเ์ ศรษฐกจิ ไทย 4 ฉาก ในค.ศ.2035 แลว้ จงึ ถอดนยั เชงิ นโยบายจากภาพอนาคตดงั กลา่ ว กระบวนการวเิ คราะหแ์ ละคาดการณ์ ในงานวจิ ยั เรมิ่ ตน้ จากทคี่ ณะผวู้ จิ ยั พฒั นาฉากทศั นเ์ ศรษฐกจิ ไทยจำ� นวน 4 ภาพ แลว้ นำ� ขอ้ มลู ของทง้ั ส่ี ภาพมาคาดคะเนอุปสงคแ์ ละอปุ ทานของน�้ำ ทด่ี นิ ในภาคการเกษตร และพลังงาน โดยใชแ้ บบจำ� ลอง เศรษฐมิติ ท้ังนี้ คณะผู้วิจัยได้ใช้วิธีการท่ีแตกต่างกันในการพยากรณ์อุปสงค์ของการใช้ทรัพยากรท้ัง สามประเภท เน่ืองจากพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรและลักษณะของข้อมูลของท้ังสามกลุ่มไม่เหมือน
241 | อนาคตศึกษา กนั คณะผวู้ จิ ยั ตระหนกั ถงึ จดุ ออ่ นของการใชเ้ ครอ่ื งมอื เศรษฐมติ ใิ นการคาดการณอ์ นาคต ในประเดน็ ทวี่ า่ ปจั จยั ไมแ่ นน่ อนบางประการอาจทำ� ใหอ้ นาคตไมเ่ ปน็ ไปตามแนวโนม้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในอดตี คณะผู้วิจัย จึงจัดกระบวนการคาดการณ์เพ่ิมเติม โดยใช้วิธีการส่งแบบสอบถามเก่ียวกับภาพอนาคตไปยังกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ พร้อมกับผลการศึกษาจากแบบจ�ำลองเศรษฐมิติ เม่ือได้ผลการส�ำรวจแล้ว จึงจัดการ สมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารกลมุ่ ยอ่ ย 4 กลมุ่ อีกจำ� นวน 2 ครั้ง ทา้ ยทส่ี ุด จงึ น�ำเอาผลลัพธ์ทีไ่ ดจ้ ากประมวล และสงั เคราะหข์ อ้ มลู ทงั้ หมดถา่ ยออกมาเปน็ ภาพอนาคตของทรพั ยากรทง้ั สามประเภท รวมถงึ ขอ้ เสนอ แนะเชงิ นโยบายและมาตรการทีต่ อบรบั กบั ฉากทัศนท์ ี่ได้พฒั นาขึ้นมา แนวทางการก�ำหนดฉากทัศน์ในโครงการวิจัยดังกล่าวเป็นไปแนวคิดดั้งเดิมของการสร้าง ฉากทัศน์ตามแบบของเฮอรม์ นั คาน (Herman Kahn) กล่าวคือ มีฉากทัศน์ฐาน (base scenario) ท่ี แสดงวิวัฒนาการตามแนวโนม้ ทผ่ี า่ นมา (business as usual) อีกฉากหนึ่งเปน็ ฉากทัศนก์ ารพฒั นา เศรษฐกจิ ตามสาขาหลกั ทขี่ บั เคลอื่ นการเตบิ โต คอื ฉากทศั นท์ เี่ นน้ ภาคอตุ สาหกรรม ฉากทศั นท์ เี่ นน้ ภาค การเกษตรและบริการ และทา้ ยสดุ เปน็ ฉากทัศนต์ ามแนวคิดยุทธศาสตร์ชาติ Thailand 4.0 คณะผู้ วจิ ยั ยงั คำ� นงึ ถงึ ปจั จยั หรอื จดุ หกั เห (disruptive force) ทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงขนาดใหญใ่ น การพฒั นาประเทศและการใชท้ รพั ยากรทง้ั สาม ประเภทโดยแบง่ ปจั จยั ดงั กลา่ วออกเปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ 1. ปจั จยั คกุ คามการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทไ่ี มส่ ามารถควบคมุ ได้ เชน่ การเตบิ โตของเศรษฐกจิ โลกและปัญหาภมู ริ ัฐศาสตร์ ทิศทางการพัฒนาของเศรษฐกิจจีนในเวทโี ลก 2. ปจั จยั คกุ คามทส่ี ามารถควบคมุ ไดบ้ างสว่ น เชน่ ปญั หาการเมอื งไทยไมม่ เี สถยี รภาพ ปญั หา สังคมสงู วยั ปญั หาคอรปั ชนั่ ในสงั คม ปัญหาสภาพอากาศแปรปรวน (climate change) การสนับสนุนภาคท่องเที่ยวให้รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมอย่างย่ังยืน การดูแล จัดการแรงงานตา่ งดา้ วเขา้ สู่ระบบเศรษฐกจิ 3. ปจั จยั ทสี่ ามารถควบคมุ ได้ ไดแ้ ก่ การลงทนุ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน การเชอ่ื มโยงกบั ประเทศใน ภมู ภิ าค ความสามารถในการแข่งขันเพอ่ื ส่งออก การเผยแพรแ่ ละประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยี สมัยใหม่ การเติบโตแบบกระจุกตัวเฉพาะกรุงเทพฯ และภาคตะวันออก การส่งเสริม วสิ าหกจิ ขนาดยอ่ มและขนาดกลางและธรุ กิจสตาร์ทอัพ นโยบายภาครัฐท่ีดูแลจัดการใน เร่อื งของทดี่ นิ และการเพ่มิ ความเปน็ เมอื ง ในสว่ นนี้ คณะผวู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะหฉ์ ากทศั นข์ องทรพั ยากรแตล่ ะประเภท โดยคำ� นงึ ปจั จยั หกั เหทมี่ ี ผลต่ออุปสงค์และอปุ ทานในอนาคต ฉากทศั น์และปจั จัยไมแ่ น่นอนเหล่านี้เปน็ พ้ืนฐานของการเสนอ แนะนโยบายและมาตรการในการจัดการทรัพยากรท้ังสามประเภท ล่าสุด ผู้เขียนได้ร่วมงานกับคณะผู้วิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการด�ำเนินโครงการ วิจยั “คนเมือง 4.0: อนาคตชีวิตเมอื งในประเทศไทย” ซงึ่ คาดการณภ์ าพอนาคตของชีวิตคนเมืองใน ประเทศไทยใน 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ การอยอู่ าศยั การทำ� งาน การเดนิ ทาง การซอื้ ของ การเกดิ และการตาย56 โครงการวจิ ยั นใี้ ชก้ ระบวนการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ นบั ตงั้ แตก่ ารกำ� หนดกรอบเนอื้ หา การกวาด สญั ญาณ การสร้างภาพอนาคตฐาน การสร้างภาพอนาคตทางเลือก ภาพอนาคตทพ่ี ึงประสงค์ การ วางแผนยุทธศาสตร์ และการสงั เกตการณแ์ ละติดตามสถานการณ์ สำ� หรบั การสรา้ งภาพอนาคตทาง เลือกน้ัน คณะผูว้ ิจัยได้เลือกใช้วิธีการฉากทศั นเ์ ป็นหลัก
อนาคตศกึ ษา | 242 การศึกษาอนาคตด้วย วิธชี าตพิ นั ธว์ุ รรณนา นอกเหนือจากวิธีการที่ระบุในรายการที่จัดท�ำโดยเกลนและกอร์ดอนในโครงการมิลเลนเนียมโปรเจ กตแ์ ลว้ ยงั มวี ธิ กี ารศกึ ษาอนาคตแบบอนื่ ทน่ี า่ สนใจและมกี ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นการคาดการณภ์ าพอนาคต ของประเด็นท่ีสนใจเกี่ยวกับประเทศไทย หนึ่งในนั้นคือวิธีการชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic Futures Research) ซงึ่ ตอ่ มาพฒั นาเปน็ วธิ กี ารวจิ ยั อนาคตดว้ ยเดลฟายแบบชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา งาน ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับอนาคตในประเทศไทยท่ีใช้วิธีการชาติพันธุ์วรรณนาและวิธีการเดลฟายแบบ ชาตพิ นั ธว์ุ รรณนามจี ำ� นวนมากพอสมควร อาทิ งานศกึ ษาอนาคตภาพการอาชวี ศกึ ษาไทยในทศวรรษ หนา้ (พ.ศ. 2554- 2564)57 อนาคตภาพการอาชวี ศึกษาเอกชนไทยในยุคประชาคมอาเซียนระหวา่ ง พ.ศ. 2558–256758 ภาพอนาคตหลกั สูตรพลเมอื งศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานในทศวรรษหน้า (ช่วงระหว่าง พ.ศ. 2555–2565)59 อนาคตภาพบทบาทการพยาบาลเพอ่ื การพัฒนาการดูแลสขุ ภาพ ตนเองของประชาชนในทศวรรษหน้า60 สงั เกตได้ว่า งานศึกษาอนาคตท่ใี ช้วธิ กี ารกลุ่มน้ีจำ� นวนมาก อยู่ในสาขาศึกษาศาสตรแ์ ละครุศาสตร์ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง พบว่า ต้นคิดของวิธีการศึกษาอนาคตด้วยวิธี ชาติพันธุ์วรรณนามาจากงานอนาคตวัฒนธรรมของประเทศไทยของนักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ที่เลือกประเทศไทยเป็นกรณีศึกษาในการประยุกต์และพัฒนาวิธีการศึกษาอนาคตแบบดังกล่าว ดัง รายละเอยี ดโดยสงั เขปดงั นี้ อนาคตวฒั นธรรมของประเทศไทย งานศึกษาอนาคตประเทศไทยท่ีถือเป็นงานบุกเบิกส�ำคัญของวงการอนาคตศึกษาในระดับโลก คืองานศึกษาอนาคตวัฒนธรรมของประเทศไทย (Cultural Futures of Thailand) โดยรอเบิรต์ เทกส์เตอร์ (Robert Textor) ซึ่งตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการ Futures ใน พ.ศ. 252161 ในงาน ดงั กล่าว เทกสเ์ ตอร์ใชว้ ธิ ชี าตพิ ันธวุ์ รรณนา (ethnography) ในการวิเคราะหอ์ นาคตทางวัฒนธรรม ของประเทศไทยในชว่ งปลายทศวรรษที่ 1970 โดยการสมั ภาษณป์ ญั ญาชน (intellectuals) คนไทย จำ� นวน 25 คนในมลรฐั แคลิฟอร์เนียในสหรฐั อเมรกิ า
243 | อนาคตศึกษา ในงานวิจัยดังกล่าว เทกส์เตอร์ให้เหตุผลของการเลือกกลุ่มเป้าหมายนี้ว่า แม้ว่าคนไทยเหล่าน้ี อาศัยอยูใ่ นสหรัฐอเมรกิ าในช่วงการสมั ภาษณ์ แต่เปน็ กลุม่ ท่ตี งั้ ใจที่จะกลบั ไปอยทู่ ป่ี ระเทศไทย จงึ มี ความสนใจอย่างมากกับอนาคตของประเทศไทย วิธีการศึกษาของเทกส์เตอร์ถือว่าเป็นการบุกเบิก แนวทางและวิธีการใหม่ในด้านอนาคตศาสตร์ เนื่องจากแตกต่างจากวิธีการกระแสหลักที่เป็นท่ีนิยม อยู่ในชว่ งเวลานน้ั ในวงการวชิ าการและวงการวางแผน คือ การคาดการณ์ดว้ ยวธิ ีการเดลฟาย แมว้ ่า เทกสเ์ ตอรไ์ มไ่ ดส้ มั ภาษณผ์ เู้ ชย่ี วชาญดา้ นอนาคตศกึ ษา แตผ่ ใู้ หส้ มั ภาษณถ์ อื เปน็ กลมุ่ คนชนชนั้ นำ� ของ สงั คมไทยท่ีมีโอกาสกลับไปมีอิทธิพลตอ่ การกำ� หนดอนาคตของประเทศไทย ในข้ันแรกของกระบวนการวิจัย เทกส์เตอร์ขอให้ผู้ให้สัมภาษณ์จินตนาการฉากทัศน์ของ ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) โดยแบ่งเปน็ ฉากทศั นเ์ ชงิ บวกที่พงึ ประสงค์ และฉากทศั น์ เชงิ ลบทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ผวู้ จิ ยั ถามคำ� ถามกวา้ ง ๆ เกยี่ วกบั อนาคตของประเทศไทย ปรากฏวา่ ประเดน็ หลักท่ผี ูใ้ หส้ มั ภาษณท์ ุกคนกล่าวถงึ คือเหตกุ ารณ์และปัจจยั ดา้ นการเมือง โดยเฉพาะในฉากทศั น์ดา้ น ลบ ในทกุ ฉากมเี หตกุ ารณค์ วามรนุ แรงทางการเมอื งเกดิ ขนึ้ และเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงจะเกดิ ขนึ้ ตง้ั แต่ ในช่วงต้นของทศวรรษท่ี 1980 โดยคาดว่าจะยืดเยอื้ เปน็ เวลาหลายปี นอกจากนี้ ผใู้ ห้สัมภาษณ์ยัง เช่อื ว่า ปญั หาความเหลื่อมล้�ำทางเศรษฐกจิ จะเปน็ สาเหตขุ องความรนุ แรงด้านการเมืองท่เี กดิ ข้นึ ตาม มา ข้อค้นพบเก่ยี วกบั ปัจจยั ทางการเมอื งน้แี ตกตา่ งอยา่ งชดั เจนจากผลการศกึ ษาปจั จยั ทผี่ ลักดนั ให้ เกิดการเปล่ียนแปลงในงานอนาคตศึกษาเกี่ยวกับประเทศตะวันตก ซ่ึงมักเน้นปัจจัยด้านเทคโนโลยี และเศรษฐกจิ เปน็ หลกั ฉากทัศนห์ ลักทผี่ ูว้ ิจัยไดจ้ ากการสัมภาษณ์ในช่วงแรกมีอยู่ 2 ภาพด้วยกนั ได้แก่ ฉากทศั น์ของ ความต่อเน่ืองของการปกครองดว้ ยรัฐบาลเผดจ็ การทหาร และฉากทัศน์ของการปกครองโดยระบอบ คอมมวิ นสิ ตห์ รอื สงั คมนยิ มทคี่ รองอำ� นาจหลงั จากการตอ่ สแู้ ละความรนุ แรงทยี่ ดื เยอื้ เปน็ เวลานาน ขน้ั ตอนตอ่ มาของงานวจิ ยั คอื การสมั มนาในกลมุ่ คนไทยทใ่ี หส้ มั ภาษณ์ ภายใตห้ วั ขอ้ “Thailand’s future: the quest for a third path” กจิ กรรมหนง่ึ ของการสมั มนาคือการระดมสมองเพ่อื แบง่ ฉากทัศนท์ ัง้ สองภาพออกเป็นอกี สองฉากยอ่ ยตามทแี่ สดงในตารางที่ 17 ฉตาากราทงัศทน่ี อ์17นาคตประเทศไทยตามการแบง่ กลุม่ คนของเทกสเตอร์ ท่ีมา: Textor (1978), 35 ผลลัพธ์จากการระดมสมองคือฉากทัศนท์ ี่ 3 ซง่ึ แสดงภาพทีก่ ลุ่มคนสายกลางของฝ่ายซ้ายและ ฝ่ายขวาเจรจาตอ่ รองกัน หลงั จากผา่ นการต่อสู้และความรนุ แรงท่ยี ืดเยือ้ และเสยี เลอื ดเนือ้ ฉากทัศน์
อนาคตศึกษา | 244 ท่ี 3 เปน็ ภาพของการปกครองแบบสงั คมนยิ มทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากบางกลมุ่ ในฝา่ ยทหาร ผลลพั ธ์ ท่นี ่าสนใจอกี สว่ นหนึ่งจากการศกึ ษานค้ี ือคุณค่า (values) ท่ีพึงประสงค์ 12 ด้านส�ำหรับอนาคตของ ประเทศไทยท่ผี ู้ให้สมั ภาษณ์มีฉันทามตริ ่วมกนั ได้แก่ (1) การด�ำรงซงึ่ เอกราชของประเทศ (2) การ เลือกท่ีจะอนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย (3) การลดความเหลื่อมล้�ำในสังคม (4) รัฐบาลต้องตอบ สนองความต้องการของประชาชน (5) ต้องลดคอรัปชั่นและลดการเอ้ือประโยชน์ให้คนบางกลุ่ม (6) ตอ้ งเพมิ่ เสรภี าพ (7) ต้องลดความรุนแรงลงให้ไดม้ ากทส่ี ุด (8) ต้องลดความไม่เป็นระเบยี บใหเ้ หลอื นอ้ ยทสี่ ดุ แมว้ า่ อาจไมม่ คี วามรนุ แรง (9) ตอ้ งจำ� กดั จำ� นวนประชากร (10) ตอ้ งรกั ษาสภาพสง่ิ แวดลอ้ ม (11) เศรษฐกจิ ตอ้ งเติบโต และ (12) รฐั บาลต้องควบคุมเศรษฐกิจอยา่ งเข้มงวด เทกส์เตอร์วิเคราะห์คุณค่าเหล่าน้ีเพิ่มเติม โดยแบ่งคุณค่าท่ีสังคมให้ความส�ำคัญเป็น 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่ ระเบียบ (order) การเติบโต (growth) ความเทา่ เทยี มกนั (equity) และเสรภี าพ (freedom) จากน้ันจึงวิเคราะห์การแลกกันหรือการได้อย่างเสียอย่าง (trade offs) ระหว่างคุณค่าเหล่านี้ ทั้ง ระหวา่ งระเบยี บกบั การเตบิ โต ระเบยี บกบั ความเทา่ เทยี มกนั ระเบยี บกบั เสรภี าพ การเตบิ โตกบั ความ เท่าเทียมกนั การเติบโตกับเสรภี าพ และความเท่าเทยี มกันกบั เสรีภาพ จากผลลพั ธแ์ ละบทเรยี นจากงานวจิ ยั ขา้ งตน้ เทกสเ์ ตอรไ์ ดด้ ำ� เนนิ งานวจิ ยั ตอ่ เนอ่ื งเพม่ิ เตมิ อกี ซง่ึ ตอ่ มากลายเป็นพ้นื ฐานของวิธีวิจยั ดา้ นอนาคตศกึ ษาทีเ่ รยี กวา่ การวจิ ัยอนาคตด้วยชาตพิ นั ธุว์ รรณนา วิธีการนี้เน้นการวิเคราะห์อนาคตจากมุมมองด้านสังคมวัฒนธรรมเป็นหลัก โดยเก็บข้อมูลจากการ สมั ภาษณ์กลมุ่ คน เพอื่ ทราบถงึ การรับร้แู ละความชอบของแต่ละคนเกย่ี วกับทางเลอื กในอนาคต วธิ ี การน้ีประยุกต์แนวคิดและวิธีชาติพันธุ์วรรณนาของสาขาวิชามานุษยวิทยาวัฒนธรรม (cultural anthropology) ใหเ้ ข้ากบั กรอบแนวคดิ ความต้องการและข้อจำ� กดั ของงานวิจยั ดา้ นอนาคตศึกษา62 งานวิจัยที่เป็นพื้นฐานแนวคิดของเทกส์เตอร์ที่เสนอให้ใช้วิธีชาติพันธุ์วรรณนาในการศึกษาภาพ อนาคตยงั คงเปน็ เรอื่ งภาพอนาคตของประเทศไทย แตส่ ำ� หรบั ผลงานครง้ั หลงั ซง่ึ ตพี มิ พใ์ น พ.ศ. 2538 เทกส์เตอรไ์ ดเ้ ลอื กสมั ภาษณ์ สปิ ปนนท์ เกตุทัต ซงึ่ มปี ระสบการณ์ในการวางแผนพัฒนาประเทศของ ไทยกวา่ 30 ปี โดยใชว้ ธิ ชี าตพิ นั ธว์ุ รรณนาเปน็ วธิ กี ารวจิ ยั หลกั และรว่ มเขยี นภาพฉากทศั นอ์ นาคตของ ประเทศไทยในงานศึกษาท่ีต่อเน่ืองจากงานดังกล่าว พน้ื ฐานทางภววทิ ยา (ontology) ของวธิ กี ารและเนอื้ หาในงานวจิ ยั ดงั กลา่ วมคี วามนา่ สนใจและ สำ� คญั ตรงทวี่ า่ ไมม่ ขี อ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั อนาคต (future facts) มแี ตข่ อ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั ปจั จบุ นั และอดตี อนาคตเปน็ เพยี งสง่ิ ทส่ี รา้ งขน้ึ (construct) และไมม่ กี ารดำ� รงอยทู่ เี่ ปน็ ภววสิ ยั (objective existence) ดงั นนั้ เทกสเ์ ตอรจ์ งึ เนน้ วา่ งานวจิ ยั ดงั กลา่ วไมไ่ ดศ้ กึ ษาอนาคตในตวั เอง (per se) แตศ่ กึ ษาภาพลกั ษณ์ ทคี่ นคนหนงึ่ มอี ยใู่ นปจั จบุ นั เกยี่ วกบั ปรากฏการณห์ รอื วฒั นธรรมทม่ี โี อกาสเกดิ ขนึ้ และนา่ จะเกดิ ขน้ึ ใน อนาคต รวมถึงภาพทีพ่ ึงประสงค์ทีค่ นคนนนั้ ตอ้ งการใหเ้ กดิ ขึ้น ภาพลักษณ์และความพงึ พอใจเหลา่ นี้ อาจมีอทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทก่ี ลายเปน็ อนาคตจริงตอ่ ไป ดังน้ัน เทกสเ์ ตอร์จงึ คาดหวงั ว่า การวิจัยอนาคตด้วยวิธีชาติพันธุ์วรรณนาจะสามารถดึงเอาประเด็นส�ำคัญออกมาจากผู้ให้ข้อมูล เพ่ือวเิ คราะห์ สรปุ ตคี วามและนำ� เสนอทางเลือกส�ำหรบั อนาคตตอ่ ไปได้
245 | อนาคตศึกษา เทกส์เตอร์เลือกประเทศไทยเป็นกรณีศึกษาในการทดลองและประยุกต์ใช้วิธีการดังกล่าว เน่ืองจากในทศวรรษที่ 1970 ประเทศไทยมีการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่การเติบโตดัง กลา่ วไมน่ �ำไปสูก่ ารพฒั นาอยา่ งแทจ้ ริง โดยทำ� ใหเ้ กิดปัญหาและผลกระทบด้านตา่ ง ๆ อยา่ งมากมาย ทงั้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละสงั คม รวมถงึ แรงกดดนั ตอ่ องคป์ ระกอบดา้ นจรยิ ธรรมทมี่ งุ่ สรา้ งความ สมดุลกลมเกลยี ว (harmony) และความพอประมาณตามหลกั คดิ ในพุทธศาสนา ปรากฏการณ์หลักที่เป็นเป้าหมายของการศึกษาของเทกส์เตอร์คือแนวคิดเวลานิยม (tempocentrism) ซง่ึ หมายถงึ การที่มนษุ ย์เราให้ความสนใจน้อยเกินไปหรอื ใหค้ วามสนใจผิดไปใน ประเด็นเก่ียวกับอนาคต แม้ว่ามนุษย์จะคาดหมายอนาคตในหลายด้านอยู่ตลอดเวลา แต่มักเกิดขึ้น อย่างผิดเวลา ค�ำว่าเวลานิยมสื่อถึงสภาพวัฒนธรรมความคิด (phychocultural state) ท่ีมนุษย์ใช้ กรอบเวลาผดิ ในการวเิ คราะหแ์ ละคำ� นงึ ถงึ อนาคต โดยเฉพาะในกรณที ตี่ อ้ งวางแผนนโยบายระยะยาว ปัญหานีจ้ ึงมกั เกิดข้ึนกบั สถานการณ์ทต่ี ้องจัดการกับความทา้ ทายเฉพาะหนา้ ในระยะสน้ั ในกระบวนการสร้างภาพอนาคตของประเทศไทยในงานวิจัยดังกล่าว รอเบิร์ต เทกส์เตอร์ ได้สัมภาษณ์สิปปนนท์ เกตุทัต โดยเริ่มจากค�ำถามท่ัวไปเก่ียวกับอนาคตด้านเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรมของประเทศไทย จากน้นั ผู้วิจัยจงึ ประมวลและเรียบเรยี งประเด็นส�ำคญั แล้วสง่ กลับไปให้ ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความเห็นหรือปรับแก้ตามที่คิดว่าเหมาะสม ในการสัมภาษณ์ข้ันแรกผู้วิจัยขอให้ ผู้ ตอบจินตนาการภาพระบบสังคมวัฒนธรรมของประเทศไทย 100 ภาพในต�ำแหน่งที่ต่อเน่ืองกันจาก ภาพที่แยท่ ่สี ดุ คอื ตำ� แหนง่ ที่ 1 ไปยงั ภาพทดี่ ที ีส่ ุดคอื ตำ� แหนง่ ที่ 100 ภายในเวลาท่เี ลอื กเอง ในกรณนี ี้ ผตู้ อบเลอื ก พ.ศ. 2563 เปน็ ปเี ปา้ หมายของฉากทศั น์ทจ่ี นิ ตนาการข้นึ มา ภาพอนาคตทั้ง 100 ภาพ แสดงอนาคตของระบบสังคมวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ ภาพที่เกินออกจาก 100 ถือว่าเป็นภาพอุดมคติหรือยูโทเปีย (utopia) ท่ีไม่มีโอกาสเกิดข้ึนได้ภายในเวลาที่ก�ำหนด ในขณะท่ี ภาพที่เกนิ ออกจากศูนย์ถือว่าเปน็ ภาพฝนั รา้ ยหรอื ดสิ โทเปีย (dystopia) ในการสมั ภาษณร์ อบตอ่ มา เทกสเ์ ตอรข์ อใหผ้ ใู้ หส้ มั ภาษณส์ รา้ งภาพอนาคต 3 ภาพ ภาพแรกเปน็ ภาพอนาคตทปี่ ระมาณต�ำแหน่ง 85 ถึง 90 แม้วา่ อาจไม่ใช่ภาพอนาคตที่ดที ่ีสุด แตถ่ ือเป็นภาพทีพ่ งึ ประสงค์และมีโอกาสเกิดขนึ้ สูง จากนนั้ จงึ เปน็ การสร้างภาพทไี่ มพ่ ึงประสงคต์ รงที่ตำ� แหนง่ ประมาณ 10 ถงึ 15 ในการวจิ ยั ส่วนนี้ เทกสเ์ ตอรพ์ บวา่ ฉากทศั นเ์ ชิงบวกมกั ใชเ้ วลาในการระบรุ ายละเอียด นานกว่าฉากทัศน์เชิงลบ เมื่อผู้ตอบได้เขียนภาพอนาคตท้ังสองแล้ว ขั้นตอนต่อไปเป็นการระบุภาพ ทม่ี โี อกาสเกดิ ข้ึนได้มากท่ีสุด (most probable) ซ่งึ ไม่เกีย่ วกับความพงึ ประสงคห์ รือความกลวั ของผู้ ตอบ ในขน้ั ตอนนี้ ผตู้ อบตอ้ งพจิ ารณาถงึ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งสง่ิ ทตี่ นเองคาดหวงั กบั สงิ่ ทค่ี ดิ วา่ จะเกดิ ขนึ้ ได้ จรงิ วธิ กี ารน้ีทำ� ใหผ้ ู้ตอบตอ้ งพิจารณาอย่างละเอยี ดถี่ถว้ น โดยเฉพาะเกย่ี วกบั นโยบายและมาตรการ ที่คาดวา่ จะลดชอ่ งวา่ งดงั กลา่ วไดจ้ ริง วธิ กี ารศกึ ษาอนาคตทใี่ ชเ้ ครอ่ื งมอื แบบชาตพิ นั ธว์ุ รรณนาตอ้ งใชค้ ำ� ถามทส่ี รา้ งความชดั เจน (clarity) ความครอบคลมุ (comprenhensiveness) บรบิ ท (contextualization) และความสอดคลอ้ ง (coher- ence) ในขณะเดยี วกนั วธิ ศี กึ ษาดงั กลา่ วทำ� ใหเ้ กดิ ความยดื หยนุ่ และการปฏสิ มั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งผวู้ จิ ยั กับผู้ตอบค�ำถาม อีกทั้งการเร่ิมต้นกระบวนการจากการสร้างฉากทัศน์เชิงบวกตามด้วยฉากทัศน์เชิง
อนาคตศกึ ษา | 246 ลบทำ� ใหส้ ามารถเขา้ ใจถงึ หลกั การและคณุ คา่ ของผตู้ อบในการพจิ ารณาเกยี่ วกบั อนาคตไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กระบวนการดงั กลา่ วยงั เปดิ โอกาสใหผ้ ตู้ อบสามารถพนิ จิ พเิ คราะหร์ ายละเอยี ดของคำ� ตอบของตนเอง อย่างละเอยี ดและเป็นระบบ ในกรณขี องฉากทัศนท์ ่นี ่าจะเกิดขึ้นจรงิ เทกสเ์ ตอรพ์ บวา่ ผตู้ อบไม่คอ่ ยพึงพอใจกับภาพอนาคต ทพี่ ฒั นาขน้ึ มาตอนแรกเทา่ ใดนกั เทกสเ์ ตอรจ์ งึ เพม่ิ เนอ้ื หาอกี หนงึ่ บท ซงึ่ มเี นอื้ หาเนน้ ฉากทศั นเ์ ชงิ บวก ทอี่ าจไมใ่ ชภ่ าพทเี่ ปน็ ไปไดม้ ากทส่ี ดุ แตเ่ ปน็ ภาพอนาคตทเี่ ชอ่ื วา่ เกดิ ขน้ึ ไดไ้ ด้ ถา้ ประเทศไทยมผี นู้ ำ� ทดี่ ี และมโี ชคชว่ ยในบางเรอื่ ง ฉากทศั นแ์ นวนเี้ รยี กวา่ possidictive ซงึ่ เชอ่ื วา่ ฉากทศั นท์ สี่ ำ� คญั ไมต่ อ้ งเปน็ ฉากทศั นท์ ม่ี โี อกาสเกดิ สงู ทส่ี ดุ แตเ่ ปน็ ฉากทศั นท์ มี่ โี อกาสเกดิ ขน้ึ สงู พอทคี่ มุ้ กบั ความพยายามอยา่ งเตม็ ท่ีเพื่อให้บรรลุผลตามฉากทัศน์น้ัน ส่วนส�ำคัญส่วนต่อจากน้ันจึงอยู่ที่การค้นคิดและก�ำหนดนโยบาย ส�ำคญั ท่ีตอ้ งด�ำเนนิ การอย่างเร่งดว่ น เพ่ือให้การพัฒนาประเทศไทยเปน็ ไปตามฉากทัศน์ทีส่ ร้างขนึ้ มา เทกสเ์ ตอรก์ ลา่ วทง้ิ ทา้ ยไวใ้ นบทความวจิ ยั ดงั กลา่ ววา่ ผลลพั ธข์ องนโยบายสาธารณะตามฉากทศั น์ ทีพ่ ฒั นาข้ึนมานนั้ ตอ้ งใชเ้ วลาหลายปถี ึงจะสามารถประเมนิ ได้ แต่อยา่ งนอ้ ยหนงั สือฉากทัศน์ทีเ่ ขียน ไวก้ ไ็ ดร้ บั ความสนใจอยา่ งแพรห่ ลายในกลมุ่ ผนู้ ำ� นกั นโยบายและนกั วางแผนของประเทศไทยในยคุ นนั้ ประกอบกับ ดร.สิปปนนท์เองก็รับต�ำแหน่งผู้บริหารประเทศในระดับรัฐมนตรีและผู้น�ำองค์กรส�ำคัญ ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ทั้งส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฉากทัศน์ท่ีพัฒนาข้ึนมาน่าจะเป็นประโยชน์ ส�ำหรับการพฒั นานโยบายสาธารณะในดา้ นเหลา่ น้ี นอกจากนี้วิธีการข้างต้นน้ี งานวิจัยเกี่ยวกับอนาคตจ�ำนวนหน่ึงในประเทศไทยได้วิเคราะห์แนว โนม้ การเปลยี่ นแปลงจากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั และพยายามคาดการณอ์ นาคตโดยใชว้ ธิ สี อบถามความคดิ เหน็ ของผเู้ ชยี่ วชาญหรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ประเดน็ ทต่ี อ้ งการศกึ ษา โดยตงั้ คำ� ถามตรง ๆ เกยี่ วกบั ภาพอนาคต เชน่ ในงานวจิ ยั ทศี่ กึ ษาสภาพการณข์ องภาพยนตรไ์ ทยในอนาคต63คำ� ถามชดุ หนง่ึ ในแบบสอบถามเปน็ คำ� ถามงา่ ย ๆ เชน่ ทา่ นคดิ วา่ ภาพยนตรไ์ ทยอนาคตจะเป็นอยา่ งไร บางค�ำถามเปน็ ประโยคทีเ่ ปิดให้ผู้ ตอบเลอื กวา่ เหน็ ดว้ ย ไมเ่ หน็ ดว้ ย หรอื เฉย ๆ กบั ประโยคนน้ั เชน่ ในอนาคตภาพยนตไ์ ทยจะไดร้ บั การ ยอมรับจากตา่ งประเทศมากขนึ้ จะแข่งขนั กับตลาดภาพยนตร์ในต่างประเทศมากขึน้ ฯลฯ เมื่อไดค้ �ำ ตอบจากแบบสอบถามแล้ว ผ้วู ิจยั จงึ เอาคำ� ตอบไปประมวลและวเิ คราะห์ต่อในเชิงสถติ ิ โดยอาจเสริม ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การศึกษาอนาคตด้วยวิธีการดังกล่าวสามารถได้ข้อมูลที่แสดงภาพอนาคต ของผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งมาไดร้ ะดบั หนง่ึ แมว้ า่ อาจไมเ่ ปน็ ตามหลกั การและวธิ กี ารแนวอนาคตศาสตรท์ พ่ี ฒั นา มาอย่างเป็นระบบดงั เชน่ วธิ ีการเดลฟายหรือวิธชี าติพนั ธ์วุ รรณนากต็ าม การศกึ ษาอนาคตด้วยเดลฟายแบบชาติพันธุว์ รรณนา วิธีการหนึ่งท่ีพัฒนาต่อยอดมาจากวิธีชาติพันธุ์วรรณนาของเทกส์เตอร์คือการผสมผสานวิธีเดล ฟายกบั วธิ ชี าตพิ นั ธุว์ รรณนา ซง่ึ เสนอเป็นคร้ังแรกโดยจมุ พล พูลภัทรชวี นิ ในระหว่างการศึกษาระดบั ปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยมินนิโซตา (Minnesota) สหรัฐอเมริกา และพบกับรอเบิร์ต เทกส์เตอร์
247 | อนาคตศึกษา วิธีการศึกษาอนาคตด้วยเดลฟายแบบชาติพันธุ์วรรณนามุ่งเสริมจุดแข็งและลดจุดอ่อนของวิธีการท่ีมี มาแต่เดมิ ทัง้ สองวธิ ี ในการน้ี จุมพล พลู ภัทรชีวนิ จงึ ทดลองวเิ คราะหก์ รณีศกึ ษาอนาคตทางเลอื กของ มหาวิทยาลัยไทยโดยใชว้ ิธกี าร EDFR ท่พี ัฒนาข้ึนมา64 และเผยแพร่แนวคดิ และวธิ กี ารดังกลา่ วในงาน เขียนและงานวิจัยในช่วงต่อมาท้งั ที่เป็นภาษาไทย65 และภาษาองั กฤษ66 งานวจิ ยั ในประเทศไทยทป่ี ระยกุ ตใ์ ชว้ ธิ กี าร EDFR ในการศกึ ษาอนาคตครอบคลมุ หวั ขอ้ ในหลาย สาขา ทั้งสาขาการพยาบาล อาทิ เร่ืองอนาคตบทบาทการพยาบาลเพื่อการพัฒนาการดูแลสุขภาพ ตนเอง67 และเรื่องรูปแบบการบริการที่เป็นเลิศของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย68 ไปจนถึง เรื่องแนวโน้มการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม69 ท้ังนี้ กลมุ่ งานวจิ ยั ทใี่ ช้เทคนิค EDFR ท่ีพบมากทส่ี ุดคอื งานวิจัยด้านการศกึ ษา อาทิ การศึกษาอนาคตของ การใช้ e-Education ในการบรหิ ารงานวิชาการสถาบันอดุ มศกึ ษา70 การพัฒนาแนวทางการจดั การ ศึกษาที่มีคุณภาพส�ำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ71 และอนาคตภาพการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี72 รวมถึงงานวิจัยในระดับวิทยานิพนธ์บัณฑิตศึกษาอีกจ�ำนวนหน่ึงที่ประยุกต์ใช้เทคนิคนี้ในการศึกษา ภาพอนาคตในประเทศไทย ขอ้ สงั เกตหนง่ึ จากการประมวลงานวจิ ยั ในประเทศไทยทใี่ ชเ้ ทคนคิ การศกึ ษาอนาคตแนวนคี้ อื โดย มากเปน็ การศกึ ษาแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงและภาพอนาคตในเชงิ ปฏฐิ าน พรอ้ มกบั การเชอื่ มโยงตอ่ ไปยังประเด็นเชิงปทัสถานท่ีค่อนข้างชัดเจน ผลลัพธ์จากการวิจัยจึงมีนัยเชิงนโยบายชัดเจนในระดับ หนง่ึ แตง่ านวจิ ยั ทปี่ ระมวลมามกั ไมม่ กี รอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎแี ละไมม่ กี ารวเิ คราะหป์ จั จยั และบรบิ ททมี่ ี ผลตอ่ ประเดน็ การวจิ ยั นน้ั เทา่ ใดนกั งานวจิ ยั จงึ ดเู หมอื นเนน้ การทดลองใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารศกึ ษาอนาคต มากกวา่ การทดสอบสมมติฐานหรอื ทฤษฎี ดว้ ยเหตุดงั กล่าว ผลการศึกษาจากงานเหล่านี้จงึ ไม่นำ� ไป สูก่ ารสรา้ งองค์ความรเู้ ชิงทฤษฎีเทา่ ทีค่ วร อย่างไรก็ตาม ปัญหาดงั กล่าวอาจเป็นข้อจำ� กดั ไม่ใช่เฉพาะ ของวิธีการวิจยั แนวน้ี แตเ่ ป็นข้อจ�ำกดั ของอนาคตศึกษาในภาพรวมก็เปน็ ได้
อนาคตศกึ ษา | 248 หนงั สือด้านอนาคต ศาสตร์ภาษาไทย ท่ผี ่านมานกั เขยี นและนักวจิ ัยชาวไทยได้ประมวลความรู้ด้านอนาคตศาสตร์มาแลว้ บา้ ง โดยตีพมิ พ์เผย แพรเ่ ป็นบทความวิชาการ ต�ำราและหนงั สอื ออกมาเปน็ ภาษาไทย ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี ประวตั ศิ าสตรอ์ นาคต (ชยั วัฒน์ คปุ ระตกลุ ) ชัยวฒั น์ คปุ ระตกุล ถอื เปน็ นักวจิ ยั และนกั เขยี นรุน่ แรกคนหนึง่ ของประเทศไทยท่ีเขียนบทความเกย่ี ว กับอนาคตศาสตร์และน�ำเสนอความคิดเก่ียวกับภาพอนาคตในด้านต่าง ๆ ไว้หลายงานด้วยกัน อาทิ ในบทความชื่อ รัตนโกสินทร์ 400 ซึ่งตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2525/26 ชัยวัฒน์แนะน�ำอนาคตศาสตร์ โดย อธบิ ายความหมาย ความเปน็ มา และหลกั การพน้ื ฐานของศาสตรด์ งั กลา่ ว แลว้ นำ� เสนอภาพววิ ฒั นาการ ของประเทศไทยนับต้ังแต่เร่ิมยุครัตนโกสินทร์ ไปจึงภาพอนาคตของประเทศไทยในปีท่ี 400 ของยุค รัตนโกสินทร์ คอื พ.ศ. 272573 ปัจจัยที่ดเู หมือนเปน็ แรงขบั เคลือ่ นสำ� คัญของภาพอนาคตตามที่ผเู้ ขียน น�ำเสนอคือความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาทิ เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยี นิวเคลียร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ฯลฯ เนื้อหาในบทความไมไ่ ด้น�ำเสนอเฉพาะการเปลยี่ นแปลงในเชงิ บวกเทา่ นัน้ แตร่ วมถงึ ภาพอนาคตในเชิงลบ ทั้งความวุน่ วายสับสนในสงั คม ปัญหาการผลติ อาหารไม่ พอเพียงตอ่ ประชากรโลกทเ่ี พ่มิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็ว เปน็ ต้น เน้ือหาสว่ นนี้ดคู ล้ายกับการน�ำเสนอฉากทศั น์ ที่เขียนขึ้นมาจากแนวโน้มท่ีผู้เขียนสังเกตมาและจินตนาการไปพร้อมกัน นับว่าเป็นบทความท่ีเปิดมุม มองเก่ียวกับอนาคตศาสตร์ให้กว้างมากข้ึนส�ำหรับผู้อ่าน แม้ว่าอาจไม่ได้แสดงวิธีการศึกษาตามหลัก อนาคตศาสตรอ์ ย่างเป็นระบบโดยตรงก็ตาม ในอกี บทความหน่ึง คือ “วิถีแห่งนกั อนาคตศาสตร”์ จากพรมแดนความรู้ (วาระครบรอบ 100 ปี พระนาอนุมานราชธน) ซึ่งเผยแพร่โดยสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ใน พ.ศ. 2532 ชัยวฒั น์เปรียบเทียบให้เห็นถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งอนาคตศาสตรก์ บั โหราศาสตร์ โดยอธบิ าย วา่ อนาคตศาสตรเ์ ปน็ วิทยาศาสตร์ท่แี สดงภาพอนาคตท่มี หี ลายลกั ษณะและรูปแบบ และเปน็ อนาคต ที่มนุษย์อาจสามารถสร้างข้ึนเอง ในขณะท่ีโหราศาสตร์มุ่งแสดงภาพอนาคตเดียวและเป็นอนาคตท่ี ก�ำหนดไวแ้ ล้ว บทความดงั กลา่ วยงั บรรยายถงึ ความเปน็ มาของอนาคตศาสตร์ในต่างประเทศจากอดีตจนถงึ ช่วง พ.ศ. 2532 รวมถงึ ความพยายามจดั ตง้ั สมาคมอนาคตนยิ มแหง่ ประเทศไทย (Thailand Future Society)
249 | อนาคตศึกษา ใน พ.ศ. 2530 และการจดั ตงั้ สถาบนั วจิ ยั เพอื่ การพฒั นาประเทศไทย หรอื ทดี อี ารไ์ อ ทดี่ ำ� เนนิ งานศกึ ษา และวิจัยเชิงนโยบายเพือ่ วางแผนพัฒนาประเทศไทยในอนาคตระยะสน้ั และระยะยาว โดยเฉพาะงาน วเิ คราะห์แนวโนม้ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย บทความดงั กล่าวยงั กล่าวถงึ นกั อนาคตศาสตรท์ ี่ส�ำคัญของโลก และน�ำเสนอแนวคิดและเทคนิค วิธีพยากรณ์อนาคตต่าง ๆ โดยน�ำเสนอรายละเอียดพอสังเขปเกี่ยวกับเทคนิควิธีท่ีได้รับความนิยม ทส่ี ดุ 3 วธิ ี คือ วธิ ีต่อแนวโน้ม (trend extrapolation) วธิ ีการเดลฟายและเทคนคิ สรา้ งฉากอนาคต (scenario) ชยั วฒั นก์ ลา่ วไวใ้ นบทความดงั กลา่ ววา่ ยงั ไมม่ หี ลกั สตู รและการเรยี นการสอนดา้ นอนาคต ศาสตรโ์ ดยตรงในประเทศใน พ.ศ. 2532 แตค่ าดว่าจะมีการเปดิ การเรียนการสอนดา้ นอนาคตศาสตร์ ในอนาคตอนั ใกล7้ 4 เป็นทน่ี า่ สนใจว่า ณ เวลานี้ใน พ.ศ. 2563 ยงั ไม่มกี ารเรยี นการสอนด้านนโี้ ดยตรง ในประเทศไทย ชยั วฒั นเ์ ขยี นสง่ ทา้ ยในบทความดงั กลา่ ววา่ ทกุ คนสามารถเปน็ นกั อนาคตศาสตรไ์ ด้ ถา้ เชอื่ วา่ อนาคตอยใู่ นก�ำมอื ของตนเอง และเปน็ ความรับผิดชอบของตนเองทจี่ ะสรา้ งอนาคตขน้ึ มา มใิ ช่ ตามพรหมลขิ ิต ดวง หรอื อำ� นาจธรรมชาติใด ๆ อกี ทั้งอนาคตของประเทศไทยข้ึนอยกู่ บั ประชาชนคน ไทยส่วนใหญ่เป็นสำ� คญั แนวคดิ ดังกลา่ วสะทอ้ นแนวคิดหลกั ของอนาคตศกึ ษาในยุคนน้ั และในยุคต่อ มาท่ีเชื่อว่า อนาคตสามารถกำ� หนดได้ดว้ ยการตดั สินใจและการดำ� เนนิ การในปัจจบุ ัน อกี บทความหน่งึ ท่ชี ยั วัฒน์ คปุ ระตกุลเขยี นไวใ้ นวารสาร มิตทิ ่ี 4 ฉบับพเิ ศษ 3 ใน พ.ศ. 2531 คอื เร่ือง “ประวัติศาสตรอ์ นาคต” โดยมเี นอื้ หาอธบิ ายแนวคดิ หลกั การ และตวั อยา่ งการเขยี นบันทกึ หรือลำ� ดับเหตกุ ารณท์ ค่ี าดวา่ หรอื หวงั ว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต อีกบทความหน่งึ คอื “อนาคตศาสตรก์ ับ นิยายวทิ ยาศาสตร์” ซง่ึ ตีพิมพใ์ นวารสารมติ ิที่ 4 มเี น้อื หาเกี่ยวกบั ประเภทและความสำ� คัญของนิยาย วทิ ยาศาสตร์ โดยเฉพาะสำ� หรับการสรา้ งภาพอนาคตที่มีจดุ มุ่งหมายคล้ายกบั อนาคตศาสตร์ แตแ่ ตก ตา่ งกันในด้านวธิ กี ารมองอนาคตและขอบเขตความเป็นไปได้ของอนาคต75 ชัยวัฒน์ยงั เขียนชุดบทความ “เทคโนโลยสี ูอ่ นาคต” ในนติ ยสารพบโลก ใน พ.ศ. 253476 เนอ้ื หา หลักคือการแนะน�ำเทคโนโลยีท่ีคาดว่าน่าจะมีผลต่ออนาคตของมนุษย์ ทั้งเทคโนโลยีการแพทย์ เทคโนโลยีพลงั งานแสงอาทติ ยแ์ ละไฮโดรเจน เทคโนโลยีหุน่ ยนต์ นาโนเทคโนโลยี รวมถึงอนาคตของ การเรียนรู้และการส�ำรวจอวกาศ บทความเก่ียวกับอนาคตศาสตร์ท่ีกล่าวมาท้ังหมดน้ีรวบรวมอยู่ใน หนงั สือ “ประวตั ศิ าสตรอ์ นาคต” ซ่งึ ตพี ิมพโ์ ดยสำ� นกั พิมพค์ บไฟ ใน พ.ศ. 2540 อนาคตศาสตร์ (นาตยา ปลิ นั ธนานนท์) เทา่ ทสี่ ามารถสบื คน้ ไดใ้ นงานศกึ ษาครงั้ นี้ หนงั สอื “อนาคตศาสตร”์ ของนาตยา ปลิ นั ธนานนท7์ 7 ซงึ่ เผยแพร่ ใน พ.ศ. 2526 นา่ จะเปน็ ตำ� ราอนาคตศาสตรเ์ ลม่ แรกทเี่ ขยี นเปน็ ภาษาไทย และครอบคลมุ องคป์ ระกอบ ของความรู้พื้นฐานดา้ นอนาคตศึกษาในฐานะศาสตรแ์ ขนงหนง่ึ เนอื้ หาในหนงั สือเลม่ นใี้ ห้ความสำ� คญั กบั การศกึ ษาอนาคตในฐานะวิธีการและเครอ่ื งมือในดา้ นการศกึ ษาและการเรยี นรู้ สมมตฐิ านหลักคอื มโนทศั น์เก่ียวกับอนาคตมีส่วนในการสร้างแรงจงู ใจใหก้ บั ผ้เู รียน ความสามารถของผเู้ รยี นในการมอง อนาคตจะสมั พนั ธ์กบั สมรรถภาพทางการเรยี นและประสบการณข์ องผู้เรียน ซึง่ เป็นพื้นฐานของความ สามารถในการด�ำรงชีวิตอยู่และรับมือกับการเปล่ียนแปลงในสังคม พ้ืนฐานความรู้และทักษะในการ
อนาคตศึกษา | 250 ศึกษาทม่ี งุ่ ไปยังอนาคตขา้ งหน้า จึงเป็นกญุ แจสำ� คญั ท่ที �ำใหผ้ เู้ รยี นสามารถปรบั ตวั ไดด้ ใี นสงั คมท่ีมกี าร เปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ หนงั สอื เลม่ นแี้ บง่ ออกเปน็ 12 บท สองบทแรกกลา่ วถงึ การเปลย่ี นแปลงในประวตั ศิ าสตรโ์ ลก และ แนวโน้มและปัญหาที่น่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เนื้อหาใน 3 บทต่อมาเป็นแนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับการ แสวงหาอนาคตและมโนทัศน์และหลักการท่ีเป็นพ้ืนฐานของอนาคตศาสตร์ รวมไปถึงเนื้อหาที่อธิบาย เกีย่ วกับนกั อนาคตศาสตร์และแนวคดิ เรื่องอนาคต เนอ้ื หาสว่ นท่ี 3 ตัง้ แตบ่ ทที่ 6 ถึง 10 เปน็ เรอื่ งเกีย่ ว กบั การสอนอนาคตศาสตร์ ทงั้ หลกั สตู ร วธิ สี อน กจิ กรรมการสอน การสรา้ งจนิ ตนาการอนาคตดว้ ยนยิ าย วิทยาศาสตร์ การสืบสวนสอบสวนค่านิยมและอนาคตศาสตร์ และการประเมินผลการศึกษาอนาคต ศาสตร์ บทสุดท้ายเปน็ เรอ่ื งคุณประโยชน์ในภาพรวมของอนาคตศาสตร์ เนื้อหาในบทท่ี 7 ประมวลวิธีการพยากรณ์ที่ส�ำคัญไว้จ�ำนวนหนึ่ง อาทิ วิธีการเดลฟาย วิธีการ วิเคราะห์ด้วยตาราง วงล้ออนาคต วิธีการสร้างอนาคตจ�ำลอง การเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับอนาคต (scenario) วิธีต้นไม้ความเกี่ยวข้อง การวิจัยด�ำเนินงาน การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์ การ วิเคราะห์ระบบ การประเมินเทคโนโลยี การคาดการณ์ด้วยวิธีวิเคราะห์แบบมอนติคาร์โล (Monte Carlo Analysis) การพยากรณ์สัณฐาน (Morphological forecasting) อนาคตทางเลือก การคาด การณท์ ฤษฎคี วามน่าจะเป็นแบบเบย์ (Bayesian statistical forecasting) การวิเคราะหแ์ รงผลักดัน (Force Analysis) การวิเคราะหแ์ บบห่วงโซม่ าร์คอฟ (Markov Chain) การวิเคราะหด์ ้วยสญั ญาณของ การเปลย่ี นแปลง (Precursor Forecasting) ผู้เขยี นยงั ยกตวั อย่างกิจกรรมท่ีใช้ในการสอนแนวคิดและ วิธกี ารศกึ ษาอนาคตข้างต้น นอกจากการประมวลความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับอนาคตศาสตร์ หนังสือเล่มดังกล่าวยังมีเนื้อหาที่น่า สนใจในบทก่อนสุดท้ายเก่ียวกับโลกพระศรีอาริย์ (utopian) ซึ่งถือเป็นโลกแห่งความฝันที่เต็มไปด้วย สันติสขุ ความมน่ั คงและความสุข นบั เปน็ แนวคิดเชงิ อุดมคตแิ บบยูโทเปยี แบบหนงึ่ ขอ้ เสนอสำ� คัญของ เนื้อหาในบทน้ีคือ แม้ว่าสังคมพระศรีอาริย์อาจไม่ใช่สังคมท่ีสมบูรณ์ท่ีสุดในทุกรูปแบบ และเป็นไปไม่ ได้ที่จะอธิบายโลกในอุดมคติให้ทุกคนพอใจได้ แต่เราสามารถสร้างมโนทัศน์ของโลกท่ีพึงประสงค์ได้ แม้วา่ อาจไม่ใชโ่ ลกทสี่ มบรู ณท์ สี่ ดุ ก็ตาม หยง่ั รอู้ นาคต (อนุช อาภาภิรม) หนังสอื “หยั่งรอู้ นาคต: หลักการ ทฤษฎีและเทคนคิ อนาคตศึกษา” โดยอนุช อาภาภิรม เป็นหนงั สือ เล่มหน่ึงที่ประมวลความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับอนาคตศึกษาเป็นภาษาไทยได้อย่างละเอียดและครอบคลุม หนังสอื เล่มน้ตี ีพิมพ์โดยมูลนธิ ิศูนย์ส่ือเพ่อื การพัฒนา เม่อื พ.ศ. 2553 จงึ ถอื วา่ ไมเ่ กา่ มาก เนือ้ หาหลาย ส่วนอธิบายแนวโนม้ ส�ำคญั ในระดบั โลกทยี่ ังคงมผี ลกระทบตอ่ การเปล่ยี นแปลงในปจั จบุ ัน โครงสรา้ งเนอื้ หาของหนงั สอื แบง่ ออกเปน็ 4 สว่ น เนอ้ื หาสว่ นแรกมงุ่ สรา้ งความเขา้ ใจพน้ื ฐานและ หลกั การทวั่ ไปเกย่ี วกบั อนาคตศกึ ษา โดยเรมิ่ จากองคป์ ระกอบพนื้ ฐานของอนาคตศกึ ษา คำ� อธบิ ายเกยี่ ว กบั เวลา ซงึ่ เปน็ พน้ื ฐานของการทำ� ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั อนาคต เรอื่ งหลกั การอนาคตศกึ ษา ซงึ่ ประกอบ ด้วยความเช่ือท่ัวไปเกี่ยวกับอนาคตศึกษา โดยเฉพาะความเชื่อท่ีว่า ภาพอนาคตไม่ได้มีหนึ่งเดียวแต่มี
251 | อนาคตศกึ ษา หลากหลาย ตามดว้ ยเนอื้ หาทร่ี ะบถุ งึ คำ� ถามพนื้ ฐานของอนาคตศกึ ษา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั อนาคต เนอ้ื หาสว่ นทสี่ องเปน็ สว่ นทผ่ี เู้ ขยี นใหค้ วามสำ� คญั เปน็ พเิ ศษ คอื ทฤษฎแี ละกรอบความคดิ สำ� คญั ทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหป์ รากฏการณแ์ ละเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ โดยมที งั้ ทฤษฎที างสงั คมศาสตร์ และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาส่วนที่สามอธิบายเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการศึกษาอนาคต เน้ือหาสว่ นสดุ ท้ายนำ� เสนอแนวทางการนำ� เอาหลักการและเทคนคิ อนาคตศกึ ษาไปปฏิบตั ิตอ่ เนอ้ื หาในหนงั สอื เลม่ ดงั กลา่ วอธบิ ายทฤษฎดี า้ นสงั คมศาสตรอ์ ยบู่ า้ ง แตเ่ นอื้ หาหลกั สอ่ื ถงึ ความเชอื่ พน้ื ฐานวา่ ปจั จยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ปน็ แรงขบั เคลอื่ นสำ� คญั ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง ในอนาคต โดยเฉพาะพ้ืนฐานด้านหลักเหตุผล เน้ือหาเก่ียวกับวิวัฒนาการและหลักการพ้ืนฐานของ อนาคตศกึ ษาทป่ี ระมวลไวใ้ นหนงั สอื เลม่ นข้ี ยายความไปบางสว่ นแลว้ ในบทที่ 2 และ 3 ในหนงั สอื เลม่ นี้ หนังสือเล่มน้ีน�ำเสนอหัวข้อหน่ึงที่น่าสนใจเก่ียวกับความเช่ือมโยงระหว่างอดีต ปัจจุบันและ อนาคต ผู้เขยี นเรียกความเช่อื มโยงนัน้ วา่ “เสน้ ดา้ ยอนาคต” ซึ่งหมายถงึ ส่งิ ทเี่ ช่อื มอดตี ปัจจุบันและ อนาคตของสงั คมมนุษย์ในทางโลกวสิ ยั และเปน็ วทิ ยาศาสตรเ์ ข้าด้วยกนั องค์ประกอบของ “เสน้ ด้าย อนาคต” มี 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ทข่ี บั เคลอื่ นการเปลย่ี นแปลง ชีวิตมนุษย์และสังคม เป็นปัจจัยท่ีช่วยต้านหายนะท่ีเกิดขึ้นกับมนุษยชาติ และเป็นปัจจัยที่แสดงให้ เหน็ ถึงข้อจ�ำกดั ด้านตา่ ง ๆ ท้งั ขอ้ จ�ำกดั ของธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม และขอ้ จ�ำกัดของระบบท่ีมนุษย์ สร้างขน้ึ อาทิ ระบบเศรษฐกจิ ระบบเมอื ง และระบบการเมอื ง (2) การจัดระเบยี บหรอื การควบคุม ทางสงั คม ทง้ั การจัดระดบั การควบคุมตามโครงสร้างสังคม เช่น ชนช้ันในสงั คม การควบคมุ ดา้ นการ ปกครอง การจัดระเบียบทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม รวมถึงการจัดระเบียบโลกด้วยกฎหมาย ข้อ ตกลงและมาตรฐานตา่ ง ๆ และ (3) ตัวมนษุ ย์เอง ซึ่งเปน็ ผูล้ งมอื ปฏิบัติ โดยการรบั รู้และเรียนรู้จาก ประสบการณใ์ นอดตี การคาดหวังกบั อนาคต และการรับผลลัพธจ์ ากการปฏบิ ัต7ิ 8 ทฤษฎีด้านสังคมศาสตร์ในฐานะพ้ืนฐานของอนาคตศึกษาท่ีประมวลไว้ในหนังสือเล่มน้ีมีต้ังแต่ ทฤษฎีความมั่งค่ัง ทฤษฎีสังคมนิยม วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ ทฤษฎีชนช้ันน�ำ ทฤษฎีสมคบคิด ไปจนถึงทฤษฎีอนัตตา ส่วนทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ ผู้เขียนประมวลแนวคิดเก่ียวกับสถิติศาสตร์ ทฤษฎีไรร้ ะเบียบ ทฤษฎฟี สิ ิกส์ของนิวตนั กฎอณุ หพลศาสตร์ (Thermodynamics) ทฤษฎีสร้างทรง (Constructal Theory) ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ จติ วคิ ราะหแ์ ละวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ การรบั รู้ ปญั ญาประดษิ ฐ์ ไปจนถงึ ทฤษฎีสมั พทั ธภาพและทฤษฎีควอนตัม หนงั สอื เลม่ ดงั กลา่ วยงั อธบิ ายถงึ เทคนคิ การทำ� นายอนาคตแบบเกา่ ทง้ั แบบทมี่ ผี ทู้ ำ� นายทช่ี ดั เจน เช่น โหร หมอดู คนทรงและนกั นงั่ ทางใน ฯลฯ และแบบการเส่ยี งทาย เช่น การเสี่ยงตวิ้ เส่ียงเซียมซี รวมถึงหลักการและวิธีการของการท�ำนายแบบเก่า ซ่ึงแตกต่างจากกรอบแนวคิดและวิธีการของการ คาดการณอ์ นาคตดว้ ยหลักทางวิทยาศาสตร์ เทคนคิ อนาคตศึกษาที่ผ้เู ขียนประมวลไว้ในหนังสอื เลม่ ดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ วธิ ฉี ากอนาคต (scenario) เทคนคิ เดลฟาย วธิ กี ารไตถ่ ามผเู้ ชยี่ วชาญกบั การไตถ่ ามชาว บ้าน รวมถึงวิธเี ห็นล่วงหนา้ (foresight) วธิ ีวิเคราะห์แนวโน้ม และการรู้เอง บทสุดท้ายของหนังสือเล่มน้ีเป็นเรื่องการน�ำหลักการและเทคนิคอนาคตศึกษาไปปฏิบัติ โดย มีเนื้อหาเก่ียวกับภาพอนาคตของศตวรรษท่ี 21 อาทิ โลกาภิวัตน์ การจัดระเบียบโลก สงครามโลก
อนาคตศึกษา | 252 ครั้งต่อไป การพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และค่านิยมของคนในโลก ขอ้ เสนอหนง่ึ ของผ้เู ขยี น คอื ศรวรรษที่ 21 จะเปน็ ศตวรรษแหง่ การเปล่ยี นผา่ นของระบบทุน จากระบบทนุ การเงนิ (financial capitalism) เป็นระบบทนุ แบบอน่ื ตัวเลอื กทีม่ อี ยไู่ ดแ้ ก่ ทุนนิยมรากหญ้า ทนุ นิยมสรา้ งสรรค์ (crea- tive capitalism) และทุนนิยมธรรมชาติ (natural capitalism) นอกจากน้ียังมีการน�ำเสนอภาพ อนาคตท่พี งึ ประสงคข์ องศตวรรษท่ี 21 อนาคตศึกษา (สุรชาติ บ�ำรงสขุ ) วงการวชิ าการและนโยบายดา้ นความมนั่ คงของประเทศไทยกต็ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของอนาคตศกึ ษา เช่นกัน จลุ สารความมั่นคงศึกษา ฉบับท่ี 87 ใน พ.ศ. 2554 เรื่อง “อนาคตศกึ ษา (Futures Stud- ies)” โดยมี สรุ ชาติ บำ� รุงสุข เป็นบรรณาธกิ าร79 รวบรวมบทความและบทสรุปจากการเสวนาความ ม่งั คง “อนาคตศกึ ษากบั การประเมินภยั คกุ คาม” ซงึ่ จดั โดยสถาบันการข่าวกรอง สำ� นกั ขา่ วกรองแห่ง ชาติ ร่วมกับโครงการความมน่ั คงศึกษา เมอื่ วนั ท่ี 21 ตุลาคม 2553 จุลสารฉบับดงั กลา่ วประกอบดว้ ย บทความโดยอนุช อาภาภิรม ซึ่งอธิบายแนวคิด หลักการและวิธีการพื้นฐานเกี่ยวกับอนาคตศึกษา หน่วยพ้ืนฐานในการศึกษาอนาคต รวมถึงประเภทภัยคุกคามและการประเมินภัยคุกคาม ผู้เขียนยก ตวั อยา่ งของการใชเ้ ทคนคิ การตรวจวเิ คราะห์ (monitoring) และการสรา้ งฉากอนาคต (scenario) ใน การศกึ ษาอนาคต อีกบทความหน่งึ โดยสุรชาติ บ�ำรุงสขุ อธบิ ายปัญหาและภยั คกุ คามในอนาคต ซึ่ง มีแนวโน้มว่าจะเพ่ิมความรนุ แรงขึน้ ทัง้ หมด 15 ประเดน็ ประกอบด้วยปัญหาความมน่ั คงแบบเดิม 5 ประการ ซง่ึ เปน็ ความมัน่ ทางทหารเป็นหลัก ได้แก่ การกอ่ การรา้ ย การก่อความไมส่ งบ ความขัดแย้ง เรื่องเส้นเขตแดนและการแย่งชงิ ทรัพยากรตามแนวชายแดน อาวุธท�ำลายล้างสงู (weapon of mass destruction) และการแทรกแซงดว้ ยการชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมและปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาสนั ตภิ าพ อกี 10 ประเดน็ ท่เี หลอื เปน็ ปญั หาความม่ันคงรปู แบบใหม่ ได้แก่ ความมัน่ คงของมนุษย์ ความมน่ั คงทาง สังคม การอพยพย้ายถน่ิ ของประชากร ความม่ันคงด้านส่ิงแวดลอ้ ม ความม่ันคงด้านนำ้� ความมั่นคง ดา้ นพลังงาน ความมนั่ คงดา้ นอาหาร ความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ ปัญหาอาชญากรรมระหว่างประเทศ ในบทความดงั กลา่ ว สรุ ชาตชิ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความทา้ ทายของ “หลากมติ ิ หลายปญั หา” ซง่ึ เปน็ โจทยส์ ำ� คญั ของการศึกษาประเด็นด้านความมนั่ คงในอนาคต บทความอนื่ ๆ นอกจากหนงั สือและต�ำราทสี่ รุปความไปแล้ว ยงั มีบทความอีกหลายฉบบั ที่อธบิ ายอนาคตศกึ ษา/อาทิ ในบทความ “กลวธิ วี จิ ยั อนาคต: กระบวนการอนาคตปรทิ ศั น”์ 80 พรชลุ ี อาชวอำ� รงุ สรปุ ความรพู้ นื้ ฐาน เก่ยี วกับอนาคตศกึ ษา โดยอธบิ ายวา่ นกั อนาคต (futurists) คือใคร ต่างจากนกั วางแผนอยา่ งไร การ วจิ ยั อนาคตคอื อะไร และมวี ธิ ีการศกึ ษาอนาคตอะไรบ้าง บทความยงั อธบิ ายเกย่ี วกบั อนาคตปรทิ ัศน์ (future scanning) คือ การกวาดสัญญาณหาแนวโน้ม เหตุการณ์ และประเด็นท่ีก�ำลังปรากฏ (emerging issues) โดยผู้เขียนยกตัวอย่างปัจจัยท่ีมีผลต่ออนาคตของอุดมศึกษา และน�ำเสนอขั้น ตอนของการท�ำอนาคตปริทัศน์
253 | อนาคตศกึ ษา ในบทความ “การวิจัยอนาคต: การศึกษาแนวโน้มบทบาทองค์กร”81 อังศินันท์ อินทรก�ำแหง ทบทวนแนวคิดเกีย่ วกบั อนาคตศกึ ษา กระบวนการและตัวอย่างวธิ ีการศึกษาอนาคตในภาพรวม และ ทบทวนการวิจัยอนาคตเพื่อศึกษาแนวโน้มบทบาทขององค์กร โดยเฉพาะวิธีการวิจัยอนาคตด้วยเดล ฟายแบบชาติพันธุ์วรรณนา (EDFR) บทความดังกล่าวน�ำเสนอข้ันตอนการวิจัยแบบ EDFR อย่าง ละเอียด และยกตัวอย่างงานวิจัยอนาคตท่ีเป็นปริญญานิพนธ์ท่ีศึกษาอนาคตด้วยวิธีการแบบ EDFR และวิธกี ารอ่ืน ในลกั ษณะคล้ายกนั อนาคตวิทยา: ทฤษฎแี ละเทคนิคการจัดการเรียนรูส้ งั คมศึกษา (ชรินทร์ มงั่ คงั่ ) หนงั สอื เลม่ ลา่ สดุ ทป่ี ระมวลความรพู้ นื้ ฐานเกย่ี วกบั อนาคตศกึ ษาคอื “อนาคตวทิ ยา: ทฤษฎแี ละเทคนคิ การจดั การเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา” โดยชรนิ ทร์ มงั่ คงั่ ซง่ึ ตพี มิ พเ์ ผยแพรเ่ มอ่ื พ.ศ. 255982 หนงั สอื เลม่ นมี้ จี ดุ มงุ่ หมายหลกั คอื (1) เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาและบคุ ลากรดา้ นการศกึ ษาเขา้ ใจถงึ กระบวนทศั นแ์ ละวธิ กี ารดา้ น อนาคตวิทยา (2) เพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอนวชิ าสังคมศกึ ษาในโรงเรียน (3) เพอื่ ส่งเสริมการ คดิ คำ� ถงึ ถงึ อนาคตและสภาพสงั คมในอนาคต และ (4) เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ดา้ นอนาคตวทิ ยาในการ ดำ� เนินชีวติ ประจำ� วนั เพ่อื ท้ายที่สดุ จะพัฒนาคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของพลโลก (global citizens) ตอ่ ไป อนง่ึ หนงั สอื เลม่ นใี้ ชค้ ำ� วา่ อนาคตวทิ ยา (futurology) เปน็ หลกั แตด่ เู หมอื นวา่ ใชใ้ นความหมาย เดียวกับค�ำว่าอนาคตศาสตร์และอนาคตศกึ ษา (futures studies) ทง้ั หนงั สอื เลม่ นแ้ี ละหนงั สอื ของนาตยา ปลิ นั ธนานนทท์ ที่ บทวนมากอ่ นหนา้ นี้ ใหค้ วามสำ� คญั กบั อนาคตศาสตร์หรืออนาคตวิทยาในฐานะองค์ความรู้และชุดเครื่องมือท่ีช่วยให้นักศึกษาและผู้ที่สนใจ สามารถเรียนรู้และวางแผนอนาคต และด้านการศึกษาในวิชาสังคมศึกษาที่มุ่งสร้างทรัพยากรมนุษย์ ทด่ี ี มคี ุณภาพ และมคี ณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคส์ ำ� หรับสงั คมในอนาคต เน้ือหาในหนังสือแบ่งออกเป็น 7 บท บทที่ 1 อธิบายสาระส�ำคัญและหลักการอนาคตวิทยา และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับอนาคตวิทยา อนาคตวิทยากับการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมไปถึง สถานการณ์และแนวโนม้ ของสังคมและวฒั นธรรมไทย และคุณคา่ ของอนาคตวิทยา บทที่ 2 อธิบาย ทฤษฎีพื้นฐานของอนาคตศกึ ษา อาทิ ทฤษฎที างสงั คม ทฤษฎวี ิทยาศาสตรธ์ รรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และทฤษฎีมหากาฬหรือทฤษฎีสมคบคิด (conspiracy theories) ทฤษฎีอนัตตา ทฤษฎีไร้ระเบียบ (chaos theory) ทฤษฎสี รา้ งทรง (constructal theory) ทฤษฎกี ารเรยี นรสู้ งั คม ทฤษฎตี น้ ไมจ้ รยิ ธรรม (moral tree theory) และทฤษฎพี อเพียง รวมไปถึงเน้ือหาเกยี่ วกับการเสริมสรา้ งการคิดเชงิ อนาคต เพอ่ื พฒั นาความเป็นพลโลก เน้ือหาในบทที่ 3 เน้นเรื่องการพัฒนาหลักสูตรและการสอนสังคมศึกษาท่ีมีองค์ประกอบด้าน อนาคตศึกษา บทท่ี 4 เป็นเรอื่ งเทคนคิ พยากรณใ์ นการจัดการเรยี นรดู้ า้ นอนาคตศึกษา ในทง้ั สองบท น้ี ผู้เขียนประมวลเทคนิคในการศึกษาอนาคตหลายแบบด้วยกัน เช่น เทคนิคเดลฟาย เทคนิคการ วิจัยอนาคตด้วยชาตพิ นั ธุว์ รรณนาหรอื EDFR เทคนคิ การวจิ ยั อนาคตดว้ ยเดลฟายชาตพิ ันธวุ์ รรณนา หรือ EDFR และวธิ ีอนาคตปรทิ ศั น์ เทคนคิ ต้นไมท้ ่ีเก่ียวข้อง (relevance tree) เทคนิควงล้ออนาคต
อนาคตศกึ ษา | 254 เนื้อหาในบทที่ 5 อธิบายการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการคิดเชิงอนาคตในวิชา สังคมศึกษา ส่วนบทท่ี 6 เป็นเร่ืองกระบวนทัศน์คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาจิตส�ำนักอนาคตของ พลโลก ทั้งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กระบวนทัศน์เชิงอนาคตในการพัฒนา มาตรฐานการศึกษา และกระบวนทัศน์ในการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการเรียนรู้ ตามด้วยบทที่ 7 ท่ี อธิบายแนวโน้มการศึกษาทางเลือกเพื่อปวงชนในสังคมอนาคต ทั้งในด้านนโยบาย รูปแบบของการ จัดการศึกษาทางเลือกทั้งในประเทศและต่างประเทศ จะเห็นได้ว่า เน้ือหาในหนังสือเล่มนี้คล้ายคลึง กับเล่มอื่นที่ทบทวนมาก่อนหน้าน้ี โดยมีเนื้อหาท่ีมุ่งเน้นเป็นพิเศษที่แนวคิดและวิธีการอนาคตศึกษา สำ� หรับการพัฒนาด้านการเรยี นรูใ้ นด้านศกึ ษาศาสตร์ ภาพรวมของเนอื้ หาในหนงั สอื เกย่ี วกบั อนาคตศึกษา จากการประมวลเนอื้ หาในหนงั สอื และตำ� ราดา้ นอนาคตศกึ ษาภาษาไทยทมี่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั พบวา่ เนอื้ หา โดยทั่วไปครอบคลุมหัวข้อ แนวคิดและหลักการพื้นฐานของศาสตร์นี้ในระดับหน่ึง เนื้อหาโดยมาก เปน็ การแปลและประมวลความร้จู ากผลงานตพี มิ พ์และแหล่งข้อมลู ในตา่ งประเทศ โดยมเี น้อื หาเพียง เลก็ นอ้ ยทเี่ ปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั ประเทศไทยโดยตรง คงดว้ ยเพราะงานวจิ ยั และองคค์ วามรเู้ ชงิ ประจกั ษใ์ น ด้านน้ีมีอยู่น้อยมาก จึงไม่มีแหล่งอ้างอิงที่เป็นงานวิจัยเก่ียวกับประเทศไทยส�ำหรับการเขียนหนังสือ และตำ� ราเทา่ ใดนกั หากในอนาคตมงี านวจิ ยั และการศกึ ษาอนาคตเกยี่ วกบั ประเทศไทยมากขนึ้ นา่ จะ มเี น้ือหาเชงิ ประจกั ษม์ ากขนึ้ ในหนงั สือดา้ นอนาคตศาสตร์ท่เี ป็นภาษาไทย สว่ นเนอ้ื หาเกยี่ วกบั วธิ กี ารและเครอื่ งมอื การวเิ คราะหแ์ ละคาดการณอ์ นาคตนนั้ มอี ธบิ ายอยบู่ า้ ง ในหนงั สอื และตำ� ราทกี่ ลา่ วถงึ ไปขา้ งตน้ แตเ่ นอ้ื หายงั คงเนน้ แนวคดิ และวธิ กี ารพนื้ ฐานทย่ี งั ไมส่ ามารถ นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชต้ อ่ ไดจ้ รงิ สงิ่ ทข่ี าดหายไปคอื คมู่ อื ทแี่ สดงตวั อยา่ งของกระบวนการและขน้ั ตอนการนำ� วิธีการและเครื่องมือคาดการณไ์ ปใช้จรงิ โดยอาจเปน็ คมู่ อื ท่พี ฒั นาและใชค้ ไู่ ปกับการฝึกอบรมเพ่ิมขีด ความสามารถ ในรปู แบบการประชุมเชิงปฏิบัตหิ รอื เวิร์กชอ็ ป83
255 | อนาคตศกึ ษา การคาดการณเ์ ชิง ยุทธศาสตร์เพื่อวาง นโยบายสาธารณะ การพยากรณแ์ ละคาดการณแ์ นวโนม้ ในอนาคตเปน็ สว่ นสำ� คญั ของการวางแผนนโยบายสาธารณะ องค์ ประกอบพนื้ ฐานของการวางนโยบายและแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตนิ บั ตง้ั แตส่ มยั แรก คอื การเกบ็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานเก่ียวกบั ประชากร เศรษฐกิจและสังคม การต้งั ถิ่นฐาน ฯลฯ เพือ่ นำ� มาคาดการณ์ และวางแผนพัฒนาประเทศ ความส�ำคัญของการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลส�ำหรับการคาดการณ์เพื่อ การวางแผน สะทอ้ นใหเ้ หน็ ได้ในการยกระดับและขยายงานของส�ำนกั งานสถิตกิ ลางข้ึนเปน็ สำ� นักงาน สถิติแห่งชาติ พร้อมกับการจัดตั้งส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติภายใต้สังกัดส�ำนักนายก รฐั มนตรใี น พ.ศ. 2502 ในกระบวนการกำ� หนดแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตโิ ดยสำ� นกั งานพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ นับตัง้ แตแ่ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 1 ใน พ.ศ. 2504 เป็นต้นมา หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ได้วิเคราะห์ตัวเลขเพื่อคาดการณ์ประชากรและการเปล่ียนแปลงเศรษฐกิจ แม้ว่าการศึกษาอนาคต เพ่ือวัตถุประสงค์ดังกล่าวไม่ได้ใช้วิธีการตามวิธีวิทยาของอนาคตศาสตร์โดยตรง แต่ถือว่าได้ศึกษาการ เปลีย่ นแปลงของอนาคตอย่างเปน็ ระบบ กล่าวคอื การวเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงด้านประชากรเปน็ ไป ตามกรอบแนวคดิ และวธิ วี ทิ ยาในดา้ นประชากรศาสตร์ สว่ นการพยากรณก์ ารเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ ก็เป็นไปตามหลักการ แนวคิดและวธิ กี ารทไี่ ด้รับการยอมรบั ในวงการเศรษฐศาสตร์ในสมัยน้นั ในขณะเดยี วกนั หนว่ ยงานทม่ี งุ่ พฒั นาระบบวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของประเทศได้ ใชว้ ธิ กี ารดา้ นอนาคตศาสตรเ์ พอื่ วางแผนนโยบายมาไดร้ ะยะหนงึ่ โดยประยกุ ตใ์ ชว้ ธิ กี ารใหมใ่ นการคาด การณ์ เชน่ การวเิ คราะหล์ ำ� ดบั เทคโนโลยี การจดั ทำ� แผนทน่ี ำ� ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี พรอ้ มกนั น้ี รฐั บาลยงั จดั ตง้ั หนว่ ยงาน กลมุ่ งาน หรอื หนว่ ยวจิ ยั ทม่ี งุ่ ศกึ ษาและวจิ ยั เกย่ี วกบั อนาคตขน้ึ มาโดยเฉพาะ องค์กรเหล่านี้มีพ้ืนฐานแนวคิดในการคาดการณ์อนาคตท่ีแตกต่างจากงานพยากรณ์เพ่ือการวางแผน รายสาขาแบบดั้งเดิม โดยเน้นใช้แนวคิด หลักการและเคร่ืองมือวิเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับและเป็น ทีน่ ิยมในวงการอนาคตศึกษามากขนึ้ ตวั อย่างทสี่ �ำคัญของหนว่ ยงานด้านอนาคตศึกษาในประเทศไทย คือศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปค ภายใต้ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวตั กรรมแห่งชาติ (สวทน.) ซง่ึ ในปัจจุบนั คือส�ำนักงานสภานโยบายการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
อนาคตศึกษา | 256 ศนู ยค์ าดการณ์เทคโนโลยีเอเปค ตามทน่ี ำ� เสนอไปกอ่ นหนา้ น้ี จากการทบทวนองคค์ วามรดู้ า้ นอนาคตศาสตรใ์ นประเทศไทย พบวา่ การ ศกึ ษาอนาคตเปน็ สว่ นหนงึ่ ของงานวจิ ยั และการศกึ ษาแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ และ เป็นส่วนหนง่ึ ของการวิเคราะหเ์ พอื่ วางแผนนโยบายอยแู่ ลว้ แมว้ ่าจะไมไ่ ด้ระบอุ ยา่ งชดั เจนว่าเปน็ งาน ดา้ นอนาคตศาสตร์ อยา่ งไรกต็ าม ประเทศไทยไมไ่ ดม้ กี ารวางระบบองคก์ รและสถาบนั ของการวเิ คราะห์ และศกึ ษาอนาคตอย่างจริงจังและอย่างเป็นทางการ จนกระท่ังจัดต้งั ศนู ยค์ าดการณ์เทคโนโลยเี อเปค (APEC Center for Technology Foresight – APEC-CTF) ใน พ.ศ. 2541 จดุ เรม่ิ ตน้ ของการจัดตั้งศูนยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยีเอเปคเกดิ จากการท�ำงานรว่ มกนั ของกลุ่มประ เทศเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) ซ่ึงเป็นกลมุ่ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซ่ึงก่อต้ังขึ้นใน พ.ศ. 2532 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่ง เสริมให้การเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัยให้ประสบผลส�ำเร็จ และเพื่อสร้างความร่วมมือเพ่ือ การเจรญิ เตบิ โตและการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ของภมู ภิ าค กจิ กรรมสว่ นสำ� คญั ของกลมุ่ ประเทศเอเปคคอื การ ประชมุ ระหวา่ งรฐั มนตรดี า้ นเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชกิ หนงึ่ ในนนั้ คอื รฐั มนตรดี า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี โดยมกี ารจดั ตงั้ คณะทำ� งานดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม (Industrial Science and Technology Working Group - ISTWG) หลงั จากทเ่ี อเปคไดจ้ ดั ตงั้ คณะทำ� งานดงั กลา่ วแลว้ มกี ารเสนอแนวคดิ จดั ตงั้ ศนู ยด์ า้ นการคาดการณ์ เทคโนโลยขี ้ึน ทางรฐั บาลไทย โดยตวั แทนในขณะนน้ั คือ ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยทุ ธวงศ์ เสนอให้ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยมีประเทศสมาชิกอืน่ ๆ สนับสนนุ เชน่ แคนาดาและออสเตรเลยี น�ำมา สู่การจัดตั้งศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยเี อเปคขึ้นในประเทศไทยเมอ่ื พ.ศ. 2541 โดยเป็นโครงการหน่งึ ของคณะท�ำงาน ISTWG ที่มีส�ำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) เป็นเจา้ ภาพ84 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2541 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการโครงการจัดต้ังศูนย์คาด การณเ์ ทคโนโลยีเอเปค ตามทกี่ ระทรวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ้ มเสนอ โดยไดร้ ับการ สนบั สนนุ จากกองทนุ เอเปคเปน็ เงนิ 50,000 เหรยี ญสหรฐั ฯ และจากงบประมาณรายจา่ ยประจำ� พ.ศ. 2541 ของกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ มในสว่ นของสำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ เป็นเงนิ 5,102,500 บาท85 วัตถุประสงค์หลักของศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปคคือการพัฒนาและเผยแพร่ความรู้และวิธี การคาดการณ์ และเพ่ือสร้างเสริมขีดความสามารถในการคาดการณ์และวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเปค โดยด�ำเนินโครงการคาดการณ์ท้ังในระดับองค์กร ระดับประเทศ และระดบั ภมู ภิ าค พรอ้ มกับการอบรมความรูแ้ ละทกั ษะดา้ นการคาดการณ์ ทง้ั น้ี ศนู ย์ คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปคได้ย้ายมาอยู่ในสังกัดของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สวทน.) เมื่อ พ.ศ. 2552 จนกระทั่ง สวทน. ปรบั เปลี่ยนพนั ธกิจ และชอ่ื ขององคก์ รเปน็ สำ� นกั งานสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สอวช.) ใน พ.ศ. 2562 มาจนถึงปัจจบุ ัน
257 | อนาคตศกึ ษา ศนู ยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปคดำ� เนนิ โครงการคาดการณท์ ค่ี รอบคลมุ หวั ขอ้ และประเดน็ ทหี่ ลาก หลาย และมที ้ังงานในระดบั ภูมิภาคเอเปคและภายในประเทศไทย และในระดับชาติ ระดับรายสาขา และระดับองค์กร ตัวอยา่ งงานคาดการณท์ ีม่ งุ่ ไปท่ีการจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตร์ระดบั ชาติ ซึ่งรว่ มดำ� เนนิ การโดยศูนยค์ าดการณ์เทคโนโลยีเอเปค ไดแ้ ก่ โครงการคาดการณว์ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี น ค.ศ. 2020 (S&T 2020) โครงการ National Science Technology and Innovation Roadmap for Thai Industries โครงการศึกษาเทคโนโลยยี ุทธศาสตร์ส�ำหรับสนับสนนุ กลไกขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ เพือ่ อนาคตประเทศไทย และโครงการภาพอนาคตประเทศไทย 2562 สว่ นตวั อยา่ งของโครงการคาดการณร์ ะดบั รายสาขา ไดแ้ ก่ โครงการอนาคตการเกษตรไทย ซงึ่ จดั ท�ำในชว่ ง พ.ศ. 2542-2543 โครงการ Healthy Futues of APEC Megacities โครงการ Towards Innovative, Prosperous, and Liveable Asian Megacities โครงการศกึ ษาความต้องการแพทย์ รังสีวิทยาในอีก 10 ปี ข้างหน้า โครงการคาดการณ์เพ่ือสังคมสูงวัยในอนาคต โครงการศึกษาภาพ อนาคต 10 ปีของอนาคตระบบอาชีวศึกษาประเทศไทยและแนวทางยุทธศาสตร์เพ่ือการปรับตัวของ ระบบอาชีวศึกษาในอีก 10 ปีข้างหน้า (2556-2565) โครงการภาพอนาคตการเกษตรไทย 2563 ซง่ึ ดำ� เนนิ รว่ มกบั สถาบนั คลงั สมองของชาติ สว่ นตวั อยา่ งงานคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นระดบั องคก์ ร ได้แก่ แผนที่น�ำทางของส�ำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติ งานวางแผนยุทธศาสตร์ขององค์การคลังสินค้า งานวางแผนแมบ่ ทของสถาบันมาตรวทิ ยาแห่งชาติ รวมถึงการวางแผนยุทธศาสตร์ของสมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุ่น)86 เปน็ ตน้ วธิ กี ารและกระบวนการทใี่ ช้ในโครงการเหล่านค้ี อ่ นขา้ งคลา้ ยคลึงกนั โครงการเกือบท้ังหมดใช้วธิ ี การจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการทม่ี ผี ู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี เขา้ ร่วมมองภาพอนาคต ในขณะทีห่ ลายโครงการใช้ วิธีการเดลฟาย เพ่ือรวบรวมและประมวลความคิดเห็นเก่ียวกับอนาคตจากผู้เช่ียวชาญและผู้เกี่ยวข้อง ในประเดน็ ท่ีสนใจ และหลายโครงการดำ� เนนิ กระบวนการสรา้ งฉากทัศนเ์ ก่ียวกบั อนาคตในแตล่ ะเรื่อง ข้อสังเกตประการหน่ึงคือ โครงการเหล่าน้ีไม่ค่อยใช้เคร่ืองมือคาดการณ์เชิงปริมาณเท่าใดนัก แต่เน้น เครอื่ งมอื เชงิ คณุ ภาพและการมีสว่ นร่วมของผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี โดยเฉพาะผเู้ ช่ียวชาญรายสาขา อาจกล่าวได้ว่า แนวคิดและวิธีการคาดการณ์เพ่ือวางแผนนโยบายตามแนวคิดของกลุ่มอนาคต ศกึ ษาในกลมุ่ นโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม คอ่ นขา้ งแตกตา่ งไปจากการพยากรณเ์ พอื่ การวางแผนรายสาขาเพื่อนโยบายการพัฒนาประเทศแบบด้ังเดิม ทั้งการคาดประมาณประชากรและ การพยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ จุดเร่ิมต้นของแนวความคิดด้านอนาคตศึกษาในกลุ่มวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เรม่ิ จากขอ้ ตระหนกั ทว่ี า่ การลงทนุ ดา้ นวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยตี อ้ งลงทนุ สงู และใชเ้ วลานาน อกี ทง้ั ยงั มคี วามไมแ่ นน่ อนวา่ ผลลพั ธท์ า้ ยสดุ จะเปน็ อยา่ งไร และจะบรรลตุ ามเปา้ หมาย ทคี่ าดหวงั ไวห้ รอื ไม่ ในขณะทวี่ ธิ กี ารวเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปไดแ้ บบรายโครงการ (feasibility studies) ที่ ใชก้ ันอยูท่ ัว่ ไปในการวเิ คราะห์เพอื่ วางแผน ก็ไมค่ รอบคลุมภาพใหญ่และแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงของ โลก นอกจากน้ี ยงั มปี จั จยั ตา่ ง ๆ มากมายทปี่ ฏสิ มั พนั ธซ์ งึ่ กนั และกนั แนวคดิ และวธิ กี ารมองอนาคตแบบ
อนาคตศกึ ษา | 258 เดิมไม่สามารถใช้ได้ จึงเกิดความคิดท่ีจะใช้กรอบทฤษฎีและวิธีการด้านอนาคตศาสตร์ในการวางแผน นโยบายวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมากขนึ้ 87 ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน นักวิจัยที่ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ทบทวนและเรียนรู้ประสบการณ์ในการคาดการณ์เทคโนโลยีจากประเทศต่าง ๆ ทั้งสหรัฐอเมริกา แคนาดา และญป่ี นุ่ และสร้างองค์ความรดู้ ้านการคาดการณ์เทคโนโลยี (technology foresight) โดย เฉพาะวธิ กี ารคาดการณห์ ลกั ทใี่ ชใ้ นองคก์ รทด่ี ำ� เนนิ นโยบายและขบั เคลอื่ นดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม น่นั คอื การท�ำแผนทนี่ �ำทางเทคโนโลยี การคาดการณเ์ ทคโนโลยสี �ำหรบั ประเทศไทย หนง่ึ ในงานบกุ เบกิ ดา้ นการคาดการณเ์ ทคโนโลยขี องประเทศไทยเกดิ ขนึ้ ในชว่ งประมาณ พ.ศ. 2539 เมอ่ื กลมุ่ นกั วจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสงั คมศาสตรห์ ลายสาขา นำ� โดยศาสตราจารย์ ดร.ถริ พฒั น์ วิลัยทอง จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ของโลก วิธีการคาดการณ์เทคโนโลยีในงานดังกล่าวไม่ใช้แนวทางด้ังเดิมท่ีใช้แพร่หลายในประเทศที่ พัฒนาด้านเทคโนโลยีแล้ว เช่น ญี่ปุ่นและอังกฤษ แต่เรมิ่ ตน้ จากการก�ำหนดสมมติฐานแบบ a prioi ว่า เทคโนโลยใี นอนาคตบางแขนงไดเ้ กดิ ขน้ึ และพฒั นาอยแู่ ลว้ ในขณะทเ่ี ทคโนโลยบี างแขนงยงั เพง่ิ เรม่ิ ตน้ วัตถปุ ระสงคข์ องการคาดการณ์ดังกลา่ วคอื เพอ่ื วิเคราะหผ์ ลกระทบว่าเทคโนโลยใี ดจะมผี ลกระทบต่อ เศรษฐกิจสังคมไทยและอย่างไร ค�ำถามดังกล่าวต้ังอยู่บนความเช่ือที่ว่า ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยเี ก่ียวพนั อยา่ งมากกับภมู หิ ลังและกระบวนการคดิ ของผคู้ นในประเทศ กระบวนการคาดการณ์เทคโนโลยีในงานดังกล่าวเริ่มจากการคัดเลือกเทคโนโลยีท่ีต้องการ วิเคราะห์จ�ำนวน 7 กลุ่ม โดยมีเทคโนโลยีในชุดแรกท้ังหมด 72 รายการ คณะผู้วิจัยประกอบด้วยผู้ เชี่ยวชาญจากสาขาที่เกี่ยวข้องจ�ำนวน 15 คน ซ่ึงท�ำหน้าที่จัดท�ำข้อมูลปฐมภูมิส�ำหรับการออกแบบ สอบถามเพื่อการส�ำรวจแบบเดลฟาย โดยค�ำถามท่ีใช้เป็นแบบปลายปิด ค�ำถามหลัก ได้แก่ ระดับ ความสำ� คญั ของเทคโนโลยี หว้ งเวลาทีค่ าดว่าจะมีการใชเ้ ทคโนโลยนี น้ั อนั ดับของประเทศไทยในดา้ น เทคโนโลยีนั้นเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศอ่ืนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ระดับการพัฒนาที่ควรต้ังเป็น เป้าหมายในการพัฒนาเทคโนโลยี และอปุ สรรคในการพัฒนาเทคโนโลยี เม่ือได้รับค�ำตอบในรอบแรก คณะผู้วิจัยจึงประมวลผลด้วยซอฟต์แวร์ SPSS เพื่อปรับค�ำถาม โดยเพ่มิ เทคโนโลยที ่ีเสนอเพิ่มเติมโดยผตู้ อบแบบสอบถาม แล้วจึงสง่ แบบสอบถามกลับไปอีกครงั้ หนงึ่ พร้อมแสดงผลของแบบสอบถามในครั้งแรก แบบสอบถามครง้ั ทีส่ องเปดิ โอกาสใหผ้ ู้ตอบสามารถตอบ ค�ำถามใหม่และอาจเปลี่ยนค�ำตอบของตนเอง วิธีการดังกล่าวเป็นไปตามหลักการของวิธีการเดลฟาย เพ่ือเพิ่มความรอบคอบของผู้ตอบหลังจากที่รับทราบความคิดเห็นโดยรวมของผู้เช่ียวชาญคนอื่นแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการสร้างภาพอนาคตของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง โดยคณะท�ำงานสังเคราะห์ข้อมูล ทงั้ จากแบบสอบถามและจากการประมวลของคณะผวู้ ิจัยเอง
259 | อนาคตศึกษา คณะผวู้ ิจัยได้ตีพิมพเ์ ผยแพร่ผลการวิจยั ในหนังสอื ช่ือ “อนาคตท่ไี ลล่ า่ ประเทศไทย: แนวโน้มของ โลก สงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งกับอนาคตของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี 88 โดยน�ำเสนอผลการคาด การณ์เทคโนโลยีส�ำหรับประเทศไทย เนื้อหาในส่วนแรกประมวลแนวโน้มส�ำคัญของโลก ทั้งในด้าน ประชากร สังคม เศรษฐกิจ ตามด้วยการประเมินสภาพการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย และผลการวิเคราะห์ด้วยวิธีการเดลฟาย บทสุดท้ายน�ำเสนอภาพอนาคตของแต่ละ เทคโนโลยี โดยแบง่ ตามหว้ งเวลาสามชว่ งคอื ค.ศ. 1996-2000, ค.ศ. 2001-2005 และ ค.ศ. 2006-2010 ตามลำ� ดบั เทคโนโลยี 7 กลมุ่ ทีค่ าดการณไ์ ว้ในงานดังกลา่ ว ได้แก่ (1) เทคโนโลยีพนื้ ฐาน (2) เทคโนโลยี ชีวภาพ (3) เทคโนโลยชี วี ภาพการแพทย์ (4) เทคโนโลยีโลหะวสั ดุ (5), (6) เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ คอมพวิ เตอร์ สารสนเทศและดาวเทยี ม (สองกลมุ่ ) และ (7) เทคโนโลยพี ลงั งาน ยานยนตแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม นอกจากการน�ำเสนอเทคโนโลยสี ำ� คัญในห้วงเวลาต่าง ๆ แล้ว คณะผู้วจิ ยั ยังนำ� เสนอปัจจัยทเ่ี ป็น อปุ สรรคต่อการพฒั นาเทคโนโลยีของประเทศไทย รวมถึงมาตรการเพอื่ จดั การอุปสรรคเหลา่ น้นั ท้าย ที่สดุ คณะผู้วิจัยช้ีถงึ จุดแขง็ และจุดอ่อนของการใช้เทคนิคเดลฟายในการคาดการณเ์ ทคโนโลยี หน่งึ ใน นนั้ คอื ปญั หาของการต้งั คำ� ถามในแบบสอบถามท่ีใช้เปน็ คำ� ถามปลายปิด ซ่งึ อาจชี้นำ� และเหน่ยี วน�ำคำ� ตอบของผตู้ อบคำ� ถาม และลดโอกาสทจ่ี ะไดข้ อ้ มลู เชงิ ลกึ เพมิ่ เตมิ จากผเู้ ชย่ี วชาญ นอกจากน้ี ผเู้ ชย่ี วชาญ ท่ีตอบค�ำถามโดยมากมาจากสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ผลการตอบแบบสอบถามจึงอาจเน้นมิติดัง กล่าว และไม่ใหค้ วามส�ำคัญกับมติ ิสังคมวฒั นธรรมเท่าใดนัก คณะผู้วิจัยน�ำเสนอบทสรุปท่ีน่าสนใจคือ ประโยชน์จากผลการคาดการณ์แบบเดลฟายข้ึนอยู่กับ บรบิ ทและศกั ยภาพของแตล่ ะสงั คม สงั คมทม่ี แี บบแผนและมรี ะเบยี บชดั เจนจะสามารถสรา้ งและกำ� หนด อนาคตของตนเอง แม้ว่าจะเผชิญกบั ปัจจยั ไมแ่ น่นอนตา่ ง ๆ ก็ตาม ในทางกลับกัน สงั คมไทยยงั คงไรซ้ ง่ึ ระเบยี บ ไรเ้ สถยี รภาพและมคี วามออ่ นไหวสงู การเมอื งและอทิ ธพิ ลภายนอกทำ� ใหก้ ารพฒั นากวดั แกวง่ ง่าย ผลการคาดการณ์จงึ ถกู ต้องแม่นย�ำไดย้ าก อกี ทั้งการพฒั นาของประเทศไทยทผ่ี า่ นมาเป็นไปอย่าง ลกั ลั่นและเหลอื่ มล้ำ� ท�ำใหก้ ารก�ำหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธใ์ นการพัฒนามคี วามซับซอ้ นและย่งุ ยาก การใชว้ ธิ กี ารเดลฟายในการคาดการณเ์ ทคโนโลยจี งึ อาจไมใ่ ชว่ ธิ กี ารทดี่ ที สี่ ดุ ในการวางแผนเพอื่ ยกระดบั คุณภาพชีวติ ของผู้คนท่วั ไป หลงั จากโครงการคาดการณด์ า้ นเทคโนโลยดี งั กลา่ ว หนว่ ยงานภาครฐั ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี หลายแหง่ ของประเทศไทยไดเ้ รมิ่ เหน็ ความสำ� คญั ของการคาดการณภ์ าพอนาคตของการพฒั นาในดา้ น นี้ จงึ เกดิ โครงการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยหี ลายโครงการ ดงั ตวั อยา่ ง โครงการคาดการณ์บางส่วนที่ดำ� เนนิ การโดยศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปคท่แี สดงในตารางท่ี 18 ใน หน้าถัดไป
อนาคตศกึ ษา | 260 ตตวัารอายง่าทงี่ง1า8นคาดการณ์ท่ดี ำ�เนนิ การโดยศนู ย์คาดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปค
261 | อนาคตศกึ ษา องค์กรอ่นื ทท่ี ำ� งานดา้ นอนาคตศึกษา นอกจากศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปคแล้ว ยังมีหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชนท่ีไม่แสวงหา กำ� ไรอนื่ ๆ ทมี่ พี นั ธกจิ และกจิ กรรมทม่ี งุ่ สรา้ งและแผยแพรอ่ งคค์ วามรดู้ า้ นอนาคตศกึ ษาในประเทศไทย ตวั อยา่ งมีดงั ตอ่ ไปนี้ สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม เม่อื เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ทีผ่ า่ นมา สำ� นกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (สนช.) ไดจ้ ดั ตัง้ สถาบัน การมอง อนาคคตนวัตกรรม (Innovation Foresight Institute – IFI) โดยก�ำหนดบทบาทให้เปน็ สถาบนั เฉพาะทางเพอ่ื ชว่ ยในการคาดการณค์ วามเปน็ ไปไดข้ องอนาคตทอี่ าจเกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะทศิ ทาง นวตั กรรมทส่ี รา้ งการเปลย่ี นแปลงตอ่ ระบบเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และชวี ติ ความเปน็ อยู่ รวมถงึ บทบาทในการชว่ ยกำ� หนดทศิ ทางและการวางแผนระยะยาวทสี่ ามารถเออื้ ประโยชนส์ งู สดุ ใหก้ บั ระบบ เศรษฐกจิ และการด�ำเนินกิจกรรมเพ่อื การพัฒนาด้านตา่ ง ๆ ของประเทศไทย สถาบันการมองอนาคตนวตั กรรมนม้ี ียุทธศาสตร์การดำ� เนนิ งาน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรก์ าร พัฒนาเครือข่ายนักอนาคตศาสตร์ (Futurist Enablers) มีเป้าหมายในการสร้างเครือข่ายกลุ่มนัก อนาคตศาสตรท์ เ่ี ชยี่ วชาญและเขม้ แขง็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 คอื การศกึ ษาภาพและแนวโนม้ อนาคต (Trend Setter) โดยเฉพาะแนวโน้มที่สร้างผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคม และ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 คอื ส่งเสริมการใช้ประโยชนเ์ พอื่ นวัตกรรม (Enterprise Innovation) ผา่ นเครื่องมือ การจดั การนวตั กรรม เครอื ขา่ ยผปู้ ระเมนิ นวตั กรรมทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพทางนวตั กรรม ใหก้ บั กล่มุ ธรุ กิจ ท้ังนี้ ทางสถาบันฯ เริ่มด�ำเนินกิจกรรมด้านอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ไป บ้างแล้ว เช่น การลงทะเบียนเพ่ือสร้างเครือข่ายนักวิจัยและนักวิชาการด้านอนาคตศาสตร์ การจัด สัมมนา Trend Talk และงานประชุมและสัมมนาด้านอนาคตศึกษากับสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ สถาบนั อนาคตไทยศกึ ษา อีกองค์กรหนึ่งที่มีกิจกรรมด้านอนาคตศึกษาและการคาดการณ์คือสถาบันอนาคตไทยศึกษา (Thailand Future Foundation) ซงึ่ จดั ตง้ั ขนึ้ ในสถานะมลู นธิ ทิ ไี่ มแ่ สวงหากำ� ไรโดยกลมุ่ นกั ธรุ กจิ และ นักวิชาการจากหลายสาขา เพื่อด�ำเนินการศึกษาและน�ำเสนอข้อคิดเห็นเก่ียวกับนโยบายการพัฒนา ประเทศท่ีมนี ัยส�ำคญั ต่อภาคธุรกิจสงั คมโดยรวม เว็บไซต์ของสถาบันฯ (www.thailandff.org) ระบุ ถึงวัตถุประสงค์หลักในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการหารือและแลกเปล่ียนความคิดเห็นในเชิง สรา้ งสรรคจ์ ากภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมบนพื้นฐานของข้อมูลและการวิเคราะห์ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง รวมท้ัง
อนาคตศกึ ษา | 262 เกอื้ หนนุ การเจรญิ เตบิ โตของประเทศทม่ี นั่ คงและยง่ั ยนื ตลอดจนเพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยนกั คดิ ทง้ั ในระดบั บคุ คล องคก์ ร และสาธารณะ ซงึ่ จะเปน็ การถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ปส่แู นวปฏบิ ัติท่ีเปน็ รูปธรรม หัวข้อและพนั ธกจิ หลักของสถาบนั เน้นไปท่ีเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Devel- opment Goals – SDG) การด�ำเนินการผา่ น Future Lab ในการจัดทำ� ฉากทศั น์อนาคต การวาง ยุทธศาสตร์เชงิ อนาคตและนวัตกรรมสังคม จากขอ้ มลู ที่สืบค้นมาจากเว็บไซตต์ า่ ง ๆ พบว่า สถาบันนี้ ไดด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นการคาดการณแ์ ละการจดั ทำ� ฉากทศั นใ์ นหลายงานดว้ ยกนั เชน่ การเขา้ รว่ มการ ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการว่าด้วยภาพอนาคต 20 ปีของอาเซียน การจดั ท�ำภาพอนาคตเชิงยุทธศาสตร์ใน มิตดิ า้ นความมั่นคงของประเทศ ทางสถาบนั ยังออกนิตยสารออนไลน์รายเดอื นชื่อ SCENARIO ซึ่งนำ� เสนอประเด็นเก่ยี วกบั แนวโน้มและการเปล่ยี นแปลงในอนาคตดา้ นตา่ ง ๆ สถาบนั อนาคตศึกษาเพอ่ื การพฒั นา อกี องคก์ รหนงึ่ คอื สถาบนั อนาคตศกึ ษาเพอื่ การพฒั นา (Institute of Future Studies for Devel- opment) เปน็ สถาบนั วจิ ยั เอกชนในรปู แบบมลู นธิ ิ โดยจดทะเบยี นเปน็ ทป่ี รกึ ษากบั ศนู ยข์ อ้ มลู ทป่ี รกึ ษา ไทย กระทรวงการคลัง จากเว็บไซตข์ องสถาบนั ฯ (www.ifd.or.th) พบวา่ ทางสถาบันฯ ใหบ้ ริการท่ี ปรกึ ษาในดา้ นนโยบายสาธารณะ การบรหิ ารภาครฐั การบรหิ ารธรุ กจิ เศรษฐศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และ ระเบยี บวิธวี ิทยาการวจิ ัย ในเรอื่ งระเบยี บวิธีวจิ ยั การวเิ คราะห์และประเมินผลกระทบโครงการและ นโยบาย การสร้างแบบจำ� ลองพฤติกรรม และการคาดการณอ์ นาคตท้ังในระดบั มหภาคและจุลภาค ตวั อย่างของงานศึกษาของสถาบันอนาคตศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนา ไดแ้ ก่ • โครงการวิจัยภาพอนาคตและลักษณะคนไทยท่พี ึงประสงค์ • DerivSIM- A Cross-Impact Based Stochastic Simulation Method for Forecasting (ปที ่ดี ำ� เนนิ โครงการ: 2547) • การคาดการณค์ ณุ สมบตั ขิ องบ้านใน 10 ปขี า้ งหน้า • โครงการวจิ ยั ความตอ้ งการในอนาคตและการพฒั นารปู แบบของระบบบรกิ ารทางการแพทย์ ระดบั ตตยิ ภมู แิ ละสูงกว่าใน 15 ปขี า้ งหนา้ • โครงการวิจยั ภาพอนาคต ธ.ก.ส. ในปี 2025 • โครงการวจิ ยั ภาพอนาคตของสถานทที่ ำ� งานในประเทศไทยในปี 2575 (Thailand’s Future Workplace in 2032) นอกจากองค์กรท้ังสามน้ี ยังมีหน่วยงานอื่นท่ีจัดต้ังหน่วยงานย่อยภายในองค์กรท่ีมุ่งเน้นงาน ด้านการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์โดยเฉพาะ ท้ังเพื่อตอบรับพันธกิจและกิจกรรมด้านการวางแผน ภายในองค์กรเอง และเพ่ือให้บริการกับองค์กรภายนอก ตัวอย่างเช่น สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ไดจ้ ดั ตง้ั ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นการคาดการณ์ (Center of Excellence for Foresight) ซงึ่ มงุ่ เผยแพร่
263 | อนาคตศกึ ษา ความรู้และทักษะในการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์โดยเฉพาะในด้านการวางแผนแบบฉากทัศน์ให้กับ ผู้ประกอบการไทย โดยให้บรกิ ารปรกึ ษาแนะน�ำและจัดฝึกอบรมให้กับผู้บริหารองคก์ ร89 ส่วนในองค์กรรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชนก็มีหลายแห่งที่ให้ความสนใจและจัดต้ังหน่วยงาน ภายในทท่ี ำ� หนา้ ทใ่ี นดา้ นการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ ตวั อยา่ งเชน่ สถาบนั นวตั กรรม ปตท. มพี นั ธ กิจหลักคือการด�ำเนินงานวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และพลงั งาน กจิ กรรมดา้ นการคาดการณข์ องหน่วยงานนจี้ ึงมุ่งนไ้ี ปทกี่ ารคาดการณ์ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 สถาบันนวัตกรรม ปตท. ไดร้ ่วมสนบั สนนุ การจดั งาน Bangkok Foresight 2030 ซ่ึงเป็นการประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารทมี่ ุ่ง คาดการณ์และสรา้ งภาพอนาคตของกรงุ เทพมหานครในอีก 10 ปีขา้ งหน้า90 แสดงถงึ ความสนใจและ ความจำ� เปน็ ในการขยายขอบเขตของการคาดการณท์ กี่ วา้ งไกลกวา่ ธรุ กจิ ดงั้ เดมิ ขององคก์ ร ในลกั ษณะ คลา้ ยกนั บรษิ ทั แมกโนเลยี ควอลติ ี้ ดีเวล็อปเมน้ ต์ คอรป์ อเรช่ัน (MQDC) ได้จัดต้งั ฟิวเจอรเ์ ทลสแ์ ล็บ (FutureTales Lab) ทม่ี งุ่ เปน็ ศนู ยว์ จิ ยั ดา้ นการคาดการณ์ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการสรา้ งพน้ื ทข่ี อง การปฏิสมั พันธแ์ ละแลกเปล่ยี นความรู้เกย่ี วกบั อนาคต91
อนาคตศึกษา | 264 สรปุ ในบทนี้ ผเู้ ขยี นไดพ้ ยายามประมวลภาพรวมของประสบการณด์ า้ นอนาคตศกึ ษาในประเทศไทย ในชว่ งประมาณ 40 กวา่ ปที ผี่ า่ นมา ทงั้ ในงานเชงิ วจิ ยั วชิ าการและงานคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ ทตี่ อบโจทยก์ ารวางแผนขององคก์ ร สรปุ เปน็ ภาพรวมไดว้ า่ แมว้ า่ งานวจิ ยั และงานวางแผนใน ประเทศไทยไดศ้ กึ ษาการเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ การวางแผนอนาคตมาอยพู่ อสมควร แต่ การคาดการณอ์ นาคตอยา่ งเปน็ ระบบตามแนวคดิ และวธิ กี ารทพ่ี ฒั นาในวงการอนาคตศาสตร์ ระดบั โลก ยงั ถอื วา่ อยใู่ นวงจำ� กดั โดยมากเปน็ งานคาดการณใ์ นดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละ ด้านศกึ ษาศาสตร์ อกี ทง้ั กรอบแนวคดิ และเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นงานศกึ ษาอนาคตในประเทศไทยที่ ผ่านมาจึงยังมอี ยูเ่ พยี งไมก่ ีแ่ บบ อย่างไรก็ตาม ในช่วงประมาณ 5 ปีที่ผ่านมา องค์กรท้ังในภาครัฐและภาคเอกชนใน ประเทศไทยต่างเร่ิมเห็นความส�ำคัญของอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์มาก ขนึ้ และมกี ารจดั ตง้ั องคก์ รดา้ นอนาคตศกึ ษาและการใหท้ นุ สำ� หรบั โครงการศกึ ษาภาพอนาคต ในหลายด้าน จึงนับเป็นโอกาสดีทจี่ ะพัฒนาองค์ความรู้ด้านนต้ี อ่ ไปในประเทศไทย
265 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศึกษา | 266 6 บทสง่ ทา้ ย PRESENT, n. Thadtispaaprptooifntemteernntityfrodmividthinegrtehaelmdoomf ahionpoef. Ambrose Bierce, The Devil's Dictionary
267 | อนาคตศึกษา ชอ่ งวา่ งความรู้ วัตถุประสงค์ประการหน่ึงของการประมวลความรู้ในหนังสือเล่มน้ีคือ เพื่อระบุช่องว่างความรู้ด้าน อนาคตศึกษาส�ำหรับประเทศไทย โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบงานวิจัยและงานเขียนด้านอนาคต ศาสตร์ในต่างประเทศกบั งานที่มอี ยู่ในประเทศไทย เสรมิ ดว้ ยขอ้ คดิ เห็นจากการสัมภาษณพ์ ดู คยุ กบั นกั วชิ าการ นักวางแผนและผบู้ รหิ ารในสาขาท่ีเก่ยี วข้อง โดยทวั่ ไป เมอื่ เราตงั้ คำ� ถามวา่ ชอ่ งวา่ งความรอู้ ยตู่ รงไหน คำ� ตอบทตี่ อ้ งการมกั มงุ่ ไปทห่ี วั ขอ้ หรอื ประเดน็ ทยี่ งั ไมม่ คี ำ� ตอบ โจทยห์ นง่ึ ทผี่ เู้ ขยี นไดต้ ง้ั ไวใ้ นการประมวลความรใู้ นหนงั สอื นค้ี อื ประเทศไทย ควรมงุ่ เนน้ งานวจิ ยั ในหวั ขอ้ หรอื ประเดน็ ไหนในอนาคตศกึ ษา คำ� ตอบหนง่ึ ทไ่ี ดค้ อื ประเทศไทยยงั ตอ้ ง พัฒนาองค์ความรู้ด้านอนาคตศึกษาอีกมากในแทบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นหัวข้อและประเด็นการวิจัย เคร่ืองมอื การวิจยั และกระบวนการวจิ ัย ตามท่กี ล่าวมาแลว้ ในบทกอ่ นหนา้ น้ี แมว้ ่าประเทศไทยมี งานวิจัยในแต่ละศาสตร์แต่ละสาขาท่ีพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตอยู่จ�ำนวนมากแล้วก็ตาม แต่การวิจัยอนาคตอย่างเป็นระบบและเป็นไปตามทฤษฎี หลักการและวิธีการท่ียอมรับในวงการ อนาคตศาสตรร์ ะดับโลกนน้ั ยงั มีอย่นู ้อยมาก ชอ่ งวา่ งความรู้ในด้านอนาคตศาสตร์จงึ ถอื ว่าใหญ่มาก สำ� หรบั ประเทศไทย เนอ้ื หาสว่ นตอ่ ไปนำ� เสนอบางประเดน็ ทผ่ี เู้ ขยี นเหน็ วา่ เปน็ เรอื่ งทค่ี วรใหค้ วามสำ� คญั ในการพฒั นา องค์ความรู้ด้านอนาคตศกึ ษาในประเทศไทยตอ่ ไป การเผยแพร่ความรู้และทกั ษะในการเขา้ ใจและใช้อนาคต ความรใู้ นทุกศาสตร์ตง้ั อยบู่ นขอ้ สมมตแิ ละเงอื่ นไขบางประการดว้ ยกันทงั้ สิ้น เชน่ เดียวกัน ข้อสมมติ ทน่ี กั วจิ ยั ในแตล่ ะศาสตรแ์ ละนกั ปฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะสาขาวชิ าชพี ใชว้ เิ คราะหแ์ ละคาดการณอ์ นาคตกแ็ ตก ตา่ งกนั ขอ้ สมมตบิ างประการอาจยงั คงเปน็ ทยี่ อมรบั ในบางสาขา แตห่ ากวเิ คราะหจ์ ากมมุ มองอนาคต ศึกษา ขอ้ สมมตนิ ั้นอาจใช้ไม่ได้แล้วในปจั จบุ ัน ข้อสมมตหิ นงึ่ ทีส่ �ำคญั ในอนาคตศึกษาทค่ี วรประยุกต์ ใชใ้ นงานวจิ ยั ในศาสตรอ์ น่ื ได้ คอื อนาคตไมไ่ ดม้ อี ยหู่ นงึ่ เดยี ว แตม่ คี วามเปน็ พหุ และมอี ยหู่ ลากหลาย และทางเลือก ด้วยเหตนุ ี้ กระบวนทศั นข์ องการศึกษาอนาคตแบบท�ำนายหรือพยากรณอ์ นาคตแบบ
อนาคตศึกษา | 268 หนง่ึ เดยี ว แลว้ วางแผนและดำ� เนนิ การตามนน้ั โดยไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ไมแ่ นน่ อนในอนาคต จงึ ไมเ่ หมาะ สมแลว้ ในโลกปจั จบุ นั ที่ความไมแ่ น่นอนสูงและสงั คมมคี วามหลากหลายมากขน้ึ กว่าเดิม ข้อสมมติในการคาดการณอ์ นาคต (anticipation assumptions) ของอนาคตศกึ ษาที่แตกตา่ ง จากข้อสมมติในการมองอนาคตของศาสตร์อ่ืนนี้เอง อาจเป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้ความรู้และเคร่ือง มือที่พัฒนาโดยนักอนาคตศาสตร์ยังไม่แพร่หลายไปยังศาสตร์และสาขาอ่ืน ตัวอย่างเปรียบเทียบท่ี ส�ำคัญคือสถิติศาสตร์ ซ่ึงถือเป็นศาสตร์ในตัวเอง และได้พัฒนาองค์ความรู้และเคร่ืองมือวิเคราะห์ที่ ศาสตร์อ่ืนสามารถน�ำไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง ในทางตรงกันข้าม อนาคตศาสตร์ค่อนข้างมีข้อจ�ำกัด อยู่มากทงั้ ในด้านปรชั ญาและด้านวิธีการ อีกทง้ั ข้อสมมตเิ ก่ียวกับอนาคตในแตล่ ะศาสตรย์ ังไมไ่ ดเ้ ปดิ กวา้ ง และทผ่ี า่ นมาอาจยงั ไมไ่ ดม้ คี วามพยายามทจี่ ะทำ� ใหข้ อ้ สมมตเิ หลา่ นกี้ ระจา่ งและชดั เจนมากขนึ้ ดังนั้น ช่องว่างส�ำคัญในการส่งเสริมอนาคตศึกษาหรืออนาคตศาสตร์ในวงการวิชาการ ไม่ว่า จะในระดับโลกหรือภายในประเทศไทย คือการสร้างและเผยแพร่ความรู้และทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ อนาคต (futures literacy) ให้เป็นเร่ืองส�ำคัญในทุกศาสตร์ ไม่จ�ำกัดเฉพาะในสาขาอนาคตศาสตร์ เทา่ นนั้ 1 ขนั้ ตอนแรกทคี่ วรดำ� เนนิ การคอื การเสรมิ สรา้ งฐานความรแู้ ละขดี ความสามารถพน้ื ฐานในการ ตงั้ คำ� ถามใหม่ ๆ ในการทำ� ความเขา้ ใจกบั ประเดน็ ปญั หาทมี่ อี ยแู่ ตเ่ ดมิ และทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต จาก นน้ั จงึ พฒั นาภาพอนาคตและหาทางเลอื กเชงิ นโยบายและมาตรการเพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรบั มอื กบั อนาคต การสร้างความรู้และทักษะเก่ียวกับการเข้าใจถึงอนาคต ไม่ควรจ�ำกัดอยู่เพียงในวงการนักวิจัย นกั วชิ าการและนกั นโยบาย แตค่ วรขยายขอบเขตกจิ กรรมไปถงึ การเรยี นการสอนสำ� หรบั นสิ ติ นกั ศกึ ษา และบคุ คลทั่วไป โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ถ้าเราเชือ่ วา่ ความร้แู ละทกั ษะในการวเิ คราะหแ์ ละจนิ ตนาการ เก่ยี วกับอนาคตเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานทตี่ ้องก่อรา่ งและสรา้ งข้ึนตงั้ แตว่ ัยเด็ก การส่งเสริมกจิ กรรม ในการเผยแพร่ความร้แู ละทักษะในการมองอนาคตตอ้ งลงไปถงึ ระดับนกั เรยี นในโรงเรียนทุกระดบั ตัวอยา่ งหัวข้อในการศึกษาอนาคต โดยทว่ั ไป ในการกำ� หนดกรอบหวั ขอ้ และทศิ ทางการวจิ ยั เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหท้ นุ วจิ ยั ในการสรา้ งองคค์ วาม รู้ใหม่ หน่วยงานที่ให้ทุนสนับสนุนในประเทศไทยมักด�ำเนินกระบวนการคิดและกลั่นกรองของคณะ กรรมการทปี่ ระกอบดว้ ยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผเู้ ชย่ี วชาญและผบู้ รหิ ารมาหลายขนั้ ตอนแลว้ หวั ขอ้ ทเ่ี ลอื กมา ยอ่ มสะทอ้ นความสำ� คญั ความจำ� เปน็ และความเหมาะสมในดา้ นตา่ ง ๆ ซงึ่ มกั ตอ้ งตอบโจทยท์ ง้ั ในเชงิ วชิ าการและในเชงิ ปฏบิ ตั ิ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว ในหนงั สอื เลม่ นี้ ผเู้ ขยี นจงึ ไมไ่ ดม้ งุ่ สรา้ งรายการของหวั ขอ้ ทเ่ี ป็นช่องว่างความรดู้ า้ นอนาคตศาสตรท์ ค่ี วรส่งเสริมใหม้ ีการวิจยั ตอ่ ไป ในขณะเดียวกัน หน่วยงานด้านการวางแผนนโยบายสาธารณะต้องหมั่นติดตามแนวโน้มการ เปลยี่ นแปลงของโลกตามพนั ธกจิ ขององคก์ รอยแู่ ลว้ ท้งั หน่วยงานระดับประเทศ เชน่ สำ� นกั งานสภา พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซ่ึงเพิ่งเปลี่ยนช่ือจากส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ เมือ่ วันที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา และหน่วยงานรายสาขา เชน่ หน่วยงานนโยบายดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และสำ� นกั นโยบายและแผนของ
269 | อนาคตศึกษา กระทรวงตา่ ง ๆ ดังนน้ั แตล่ ะองคก์ รจงึ มีหนา้ ท่ีในการกำ� หนดหัวข้อและประเดน็ การวางแผนท่ตี อ้ ง สะทอ้ นแนวโนม้ ประเด็นปญั หาและการเปลย่ี นแปลงที่ส�ำคญั ในทกุ ระดบั หวั ข้อและประเดน็ ท่เี ปน็ ชอ่ งวา่ งความรสู้ ำ� หรบั การศกึ ษาและวางแผนเพอ่ื อนาคตจึงมีอยมู่ าก และข้นึ อย่กู ับพันธกจิ บทบาท หน้าที่ และทรัพยากรท่ีแต่ละองคก์ รมีอยู่ นยั สำ� คญั ของเงอ่ื นไขเชงิ องคก์ รดงั กลา่ วคอื การกำ� หนดประเดน็ หวั ขอ้ ทเ่ี ปน็ ชอ่ งวา่ งความรคู้ วร ใชก้ ระบวนการเฉพาะกจิ ของแตล่ ะองคก์ รในการคน้ หาและระบปุ ระเดน็ ทค่ี วรสรา้ งองคค์ วามรตู้ อ่ ไป ดว้ ยเหตนุ ี้ กจิ กรรมการระบแุ นวโนม้ ใหม่ (trend spotting) และการศกึ ษาอนาคตเพอ่ื การวางแผน นโยบายสาธารณะ จงึ ควรดำ� เนนิ การตอ่ เนอ่ื งและอยา่ งสมำ�่ เสมอในทกุ องคก์ ร โดยเฉพาะหนว่ ยงานที่ มีพันธกจิ เฉพาะด้านการวางแผน ดว้ ยเหตดุ งั กล่าว หนงั สอื เลม่ น้จี งึ ไม่สามารถตอบโจทย์ทีว่ า่ หัวข้อ และประเดน็ ไหนที่ควรส่งเสริมใหม้ ีการศึกษาภาพอนาคต เพราะผ้เู ขียนเชอื่ ว่า แตล่ ะองคก์ รกำ� หนด ประเดน็ หัวขอ้ และเครือ่ งมือในการศกึ ษาท่ีเหมาะสมเอง อยา่ งไรกต็ าม ในทนี่ ้ี ผเู้ ขยี นขอยกตวั อยา่ งหวั ขอ้ ทเี่ ปน็ ชอ่ งวา่ งเชงิ ความรใู้ นปจั จบุ นั ทหี่ นว่ ยงาน ท่ีเก่ียวข้องอาจสนับสนุนให้วิจัยเพิ่มเติม หัวข้อเหล่านี้เป็นประเด็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง และปัจจัยผลักดันท่ีน่าจะมีผลกระทบสูงและระยะยาว ไม่เฉพาะส�ำหรับประชาชนคนไทยและ ประเทศไทยเทา่ นน้ั แตร่ วมไปถงึ ระดบั มนษุ ยชาตแิ ละระดบั โลก การระบปุ ระเดน็ ทตี่ อ้ งสรา้ งองคค์ วาม รู้เพม่ิ สามารถเร่มิ จากการวเิ คราะหแ์ นวโนม้ ใหญ่ (megatrends) ระดบั โลกในดา้ นสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม การเมือง และคุณค่า ส�ำหรับผู้เขียน ความท้าทายส�ำคัญระดับโลกแบ่งได้ 3 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. ความท้าทายด้านส่ิงแวดล้อมของโลก ครอบคลุมความท้าทายด้านการ เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ด้านระบบนิเวศ และด้านระบบพลังงาน รวมไปถึงด้านสุขภาพและ ความเป็นอยู่ของผู้คนในโลกท่ีรับกระทบจากการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศและ ส่ิงแวดล้อม ประเด็นนี้เก่ียวข้องโดยตรงกับความท้าทายในการก้าวพ้นจากสภาพความ ไมย่ งั่ ยนื ไปสสู่ ภาพความยง่ั ยนื (sustainability transitions) ทง้ั ในดา้ นการผลติ และการ บริโภค และด้านการบรหิ ารจัดการให้เกิดความย่ังยืน 2. ความทา้ ทายด้านสงั คมวัฒนธรรม ครอบคลุมประเดน็ ความทา้ ทายด้านการเรียนรแู้ ละ การศกึ ษา ดา้ นสงั คม โดยเฉพาะเรอื่ งความเหลอื่ มลำ้� และความไมเ่ ปน็ ธรรมในสงั คม รวม ไปถงึ ความทา้ ทายดา้ นความเปน็ ผนู้ ำ� ของคนในสงั คม แนวโนม้ และความทา้ ทายสำ� คญั ที่ เกี่ยวเน่ืองอย่างชัดเจน ท้ังดา้ นสังคมวฒั นธรรมและด้านส่งิ แวดลอ้ มคอื กระบวนการเป็น เมือง (urbanization) 3. ความท้าทายด้านการเมือง ท้ังเร่ืองความขัดแย้งและการเมืองในระดับท้องถ่ินและ ระดับประเทศ ไปจนถงึ การเมอื งระหว่างประเทศ ประเดน็ การปกครองและการอภบิ าล (governance) ประเด็นด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยหน่ึงที่ผูกโยงกับความท้าทายด้าน การเมอื งในระดบั ต่าง ๆ
อนาคตศึกษา | 270 ทั้งนที้ ั้งนน้ั ปัจจัยขับเคล่อื นทีส่ �ำคญั คอื ความกา้ วหน้าและความแพร่หลายของเทคโนโลยี อาทิ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เทคโนโลยชี วี ภาพ และเทคโนโลยดี า้ นหนุ่ ยนตแ์ ละปญั ญาประดษิ ฐ์ เปน็ ตน้ เมอ่ื การ พฒั นาเทคโนโลยที ำ� ใหเ้ สน้ แบง่ ระหวา่ งโลกกายภาพ โลกชวี ภาพและโลกดจิ ทิ ลั เรมิ่ เลอื นรางลง ความ เขา้ ใจในการเปลย่ี นแปลงของปจั จยั เหลา่ นจ้ี งึ มคี วามสำ� คญั ยง่ิ ในการศกึ ษาและเขา้ ใจอนาคต และเพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรับมอื กบั การเปลยี่ นแปลงทอี่ าจเกิดขน้ึ การศกึ ษาผลกระทบของเทคโนโลยตี อ่ สังคมและความเปน็ อย่ขู องมนษุ ย์ ปจั จยั สำ� คญั ประการหนง่ึ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงในอนาคตคอื การพฒั นาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และนวตั กรรม ทเี่ ปน็ พ้นื ฐานการผลิตสนิ คา้ และการบรกิ ารใหม่ ๆ ซึง่ ท�ำให้พฤติกรรม ความเปน็ อยู่ ตลอดจนระบบเศรษฐกจิ และสงั คมของมนษุ ยเ์ ปลย่ี นแปลงไป แนวทางหนงึ่ ในการคาดการณค์ อื การ ท�ำความเข้าใจในแนวโนม้ ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวัตกรรม แล้วคาดการณไ์ ปในอนาคตว่า จะมีอะไรใหม่เกิดขึ้นบ้าง และส่ิงใหม่ ๆ เหล่านั้นจะมีผลกระทบอย่างไรบ้างต่อผู้คนและเศรษฐกิจ สงั คมในระดบั ตา่ ง ๆ เนอ่ื งจากการพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยมี หี ลายสาขา อกี ทงั้ ยงั มกี ารผสม ผสาน การประสานและประจบกนั ของเทคโนโลยี ดงั นนั้ การกำ� หนดวา่ นโยบายสาธารณะทงั้ ดา้ นการ วิจัยและการด�ำเนนิ งานจะต้องมุง่ เน้นไปเรอื่ งใดนัน้ ต้องมกี ระบวนการวิเคราะห์ที่เป็นระบบ โดยมผี ู้ เชยี่ วชาญและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี เข้าร่วมกระบวนการกำ� หนดประเด็นวจิ ัยดงั กล่าวดว้ ย การก�ำหนดหัวข้อส�ำหรับการวิจัยในอนาคตอยู่นอกขอบเขตของการประมวลความรู้ในหนังสือ เล่มน้ี ในที่นี้ ผู้เขียนจึงขอเพียงยกตวั อย่างแนวโนม้ ด้านวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีบางดา้ นที่ได้รับความ สนใจจากวงการอนาคตศกึ ษาทวั่ โลก ซงึ่ อาจเปน็ ชอ่ งวา่ งความรสู้ ำ� หรบั การวจิ ยั อนาคตและคาดการณ์ เชิงยุทธศาสตร์ของประเทศไทยตอ่ ไป ระบบอตั โนมตั แิ ละหนุ่ ยนต์ คำ� ถามหลกั ในหวั ขอ้ น้ี ไดแ้ ก่ การพฒั นาระบบอตั โนมตั ิ (automa- tion) และห่นุ ยนตจ์ ะมีผลอยา่ งไรตอ่ การผลิตในประเทศไทย ซึง่ ยอ่ มมีผลตอ่ ภาพอนาคตการทำ� งาน (future of work) และแรงงานในประเทศไทย ยิ่งในปจั จบุ ัน เศรษฐกจิ แบบแพลตฟอร์ม (platform economy) เรม่ิ มผี ลแลว้ ตอ่ แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานนอกระบบ หากในอนาคต ระบบอตั โนมตั แิ ละ หนุ่ ยนตแ์ พรข่ ยายไปทกุ ดา้ น ดงั ทนี่ กั อนาคตศาสตรห์ ลายคนพยากรณไ์ ว้ ความทา้ ทายในเชงิ นโยบาย จะเพมิ่ มากข้นึ ทัง้ ในด้านประสิทธภิ าพการผลติ ดา้ นความเหล่อื มล้ำ� และความเป็นธรรมของแรงงาน และสงั คม ดา้ นนโยบายสวสั ดกิ ารของรฐั คำ� ถามในสว่ นนค้ี อื อนาคตของนโยบายสาธารณะควรตอ้ ง ปรบั ไปอยา่ งไรเพ่อื รับมอื กบั การแพร่หลายของระบบอัตโนมัติ ปัญญาประดิษฐ์ แนวโน้มด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีส�ำคัญที่คาดกันว่าจะมีผลกระทบอย่าง มากตอ่ ระบบเศรษฐกจิ สงั คมในอนาคตคอื ปญั ญาประดษิ ฐ์ ซงึ่ จะประสานกบั เทคโนโลยรี ะบบอตั โนมตั ิ และหุ่นยนต์ รวมไปถึงเทคโนโลยีอ่ืนที่จะท�ำให้ความต้องการด้านทักษะของแรงงานมนุษย์ต้องปรับ เปล่ียนไปในอนาคต แม้แต่ในด้านการศึกษาอนาคตเอง กรอบแนวคิดและวิธีการแบบ Artificial Neural Network เร่มิ ได้รับความสนใจและแพร่หลายมากข้นึ ท้ังนีท้ ั้งน้ัน งานวจิ ยั ด้านวิทยาศาสตร์ และวศิ วกรรมศาสตรใ์ นดา้ นปญั ญาประดษิ ฐน์ ยี้ งั ตอ้ งมกี ารสนบั สนนุ ตอ่ ไป ในขณะเดยี ว ประเทศไทย
271 | อนาคตศึกษา ควรมงี านวจิ ยั ดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรท์ ว่ี เิ คราะหผ์ ลกระทบและปรากฏการณท์ สี่ มั พนั ธก์ บั การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในอนาคต เพื่อเตรยี มพร้อมรับมอื ดว้ ยนโยบาย และมาตรการทีเ่ หมาะสมตอ่ ไป เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยีอีกชุดหน่ึงที่คาดว่าจะมีผลต่อระบบ เศรษฐกิจและการให้บริการสาธารณะในอนาคตอันใกล้ โดยไม่จ�ำกัดอยู่เพียงแค่การใช้เทคโนโลยี บล็อกเชนส�ำหรับสกุลเงินดิจิทัล หรือ cryptocurrency ท่ีรู้จักกันอยู่ทั่วไปเท่าน้ัน ตัวอย่างค�ำถาม ในกลุ่มหัวข้อน้ีได้แก่ การซ้ือขายที่ดินด้วยเงินสกุลดิจิทัลจะเกิดหรือไม่ เม่ือไหร่ และอย่างไร การ ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในด้านการแพทย์จะเกิดได้เร็วขนาดไหน และต้องมีนโยบายอะไรมารอง รับและเตรียมพร้อมรับมือบ้าง การแพทย์แม่นย�ำ (precision medicine) โดยเฉพาะการตัดต่อพันธุกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพ เช่น เทคโนโลยี CRISPR ในด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีในกลุ่มน้ี วงการนัก วิทยาศาสตร์และองค์กรที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยได้ให้ความส�ำคัญอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่ยังมีงาน ศกึ ษาอนาคตนอ้ ยมากทผ่ี กู โยงเรอื่ งเหลา่ นกี้ บั ประเดน็ ดา้ นสงั คมวฒั นธรรมและจรยิ ธรรม โดยเฉพาะ เรอ่ื งชวี จรยิ ธรรม (bioethics) ประเดน็ ขา้ มศาสตรเ์ หลา่ นจ้ี ำ� เปน็ ตอ้ งพฒั นาองคค์ วามรตู้ อ่ ไป ตวั อยา่ ง คำ� ถามในดา้ นนี้ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยี CRISPR และการตดั ตอ่ พนั ธกุ รรมจะมผี ลอยา่ งไรตอ่ ภาคการเกษตร ไทยและเกษตรกรรายยอ่ ย การกนิ เนอ้ื สตั วท์ ม่ี าจากเซลลท์ เี่ พาะเลย้ี งในหอ้ งทดลองโดยไมม่ กี ารเลย้ี ง และฆ่าสัตว์ถือว่าเป็นการกินเจหรือไม่ กฎหมายการควบคุมด้านอาหารและสาธารณสุขจะต้องปรับ ตัวอยา่ งไร การแพทย์แมน่ ย�ำจะยิง่ ทำ� ให้ความเหล่อื มล้ำ� ทางสังคมในไทยแย่ลงหรือไม่ เปน็ ต้น เทคโนโลยีดิจิทัล คงยังเป็นประเด็นส�ำคัญที่ต้องศึกษาต่อไป ตัวอย่างค�ำถาม ได้แก่ ชีวิตและ สงั คมหลงั ยคุ โซเชยี ลมเี ดยี (social media) จะเปน็ อยา่ งไร คนไทยยงั จะใชส้ อื่ ใหมเ่ หลา่ นต้ี อ่ ไปหรอื ไม่ อยา่ งไร และจะเปลย่ี นไปอยา่ งไร คนรนุ่ ใหมท่ เี่ กดิ และเตบิ โตขนึ้ มาในยคุ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และสอื่ โซเชยี ล โดยเฉพาะกลมุ่ คนรนุ่ เจนวาย เจนแซท ไปจนถงึ กลุม่ เจนอลั ฟาและเบต้าในอนาคต หรอื กลมุ่ คนท่ี เปน็ ชาวดจิ ทิ ลั โดยกำ� เนดิ (digital natives) มชี วี ติ เปน็ อยา่ งไร และจะใชช้ วี ติ อยา่ งไรในอนาคต คำ� ถาม เหล่านี้จ�ำเปน็ ต้องใช้นักวจิ ัยดา้ นสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตรท์ เ่ี ข้าใจเรอื่ งวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี การศกึ ษานยั ทางจรยิ ธรรม กฎหมายและสงั คมของเทคโนโลยี จากการพฒั นาของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้น อาจกล่าวได้ว่า ช่องว่างความรู้ส�ำคัญในด้านอนาคตศึกษาของวงการวิชาการ และวงการวางแผนนโยบายสาธารณะของประเทศไทย อยู่ท่ีองค์ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีกับสังคม (science, technology, and society) ซ่ึงเป็นพื้นฐานส�ำคัญ ของการศึกษาอนาคตในระดับโลก โดยเฉพาะงานศึกษานัยทางจริยธรรม กฎหมายและสังคมของ เทคโนโลยี (Ethical, Legal and Social Implications - ELSI) เป็นกลุม่ งานวิจัยที่สำ� คัญอย่าง ย่งิ ในอนาคต
อนาคตศึกษา | 272 ภูมริ ฐั ศาสตร์ อีกหัวข้อหน่ึงท่ีส�ำคัญส�ำหรับอนาคตประเทศไทยคือความท้าทายด้านภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นในเอเชีย ท่ามกลางแนวโน้มระดับโลกในปัจจุบัน ที่แสดงให้เห็นว่า ในอนาคตอันใกล้น้ี ทวีปเอเชียจะเพ่ิมความส�ำคัญมากข้ึนในระดับโลก ท้ังในด้าน เศรษฐกจิ และการเมอื งระหวา่ งประเทศ ตวั อยา่ งคำ� ถามในหวั ขอ้ นไ้ี ดแ้ ก่ ถา้ ทนุ จนี และคนจนี ยงั คงหลง่ั ไหลเขา้ มาในประเทศไทยตอ่ ไป ชวี ติ คนไทยและสังคมไทยจะเปลย่ี นไปอยา่ งไร ความสัมพันธร์ ะหว่าง ประเทศจนี อนิ เดยี และอาเซยี นกบั ไทยจะเปลยี่ นไปหรอื ไมแ่ ละอยา่ งไร และเมอ่ื โครงการ One Belt, One Road ของจนี เสรจ็ สมบูรณ์ เศรษฐกจิ ไทยและอาเซียนจะเปล่ียนไปอย่างไรในอีก 20 ปขี ้างหนา้ สังคมไทยจะเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ถ้ามีการเปลี่ยนกฎหมายให้คนต่างด้าวอยู่เมืองไทยได้ง่ายข้ึนและ ตลอดไป หรือถ้าเด็กเกิดใหม่ทุกคนจะได้รับสัญชาติไทยโดยปริยาย เป็นต้น ประเด็นท้าทายเหล่านี้ จำ� เปน็ ตอ้ งศึกษาภาพอนาคตไวเ้ พื่อเตรียมพร้อมรบั มอื ไดอ้ ย่างเหมาะสมและทนั ทว่ งที การศกึ ษาภาพลักษณ์อนาคตของคนไทย ดงั ทอี่ ธบิ ายไปในบทที่ 2 ขอ้ สมมตสิ ำ� คญั ประการหนงึ่ ของอนาคตศาสตร์ คอื มนษุ ยเ์ ราไมส่ ามารถศกึ ษา อนาคตได้ เนอ่ื งจากอนาคตยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จงึ ไมม่ ขี อ้ มลู หรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ของอนาคต สง่ิ ทเ่ี ราสามารถศกึ ษา ได้จริงคอื ภาพลกั ษณข์ องอนาคต (Images of the future) เท่านั้น หัวขอ้ วิจยั หน่ึงท่ียงั ขาดอยแู่ ละ ถือเป็นช่องว่างความรดู้ า้ นอนาคตศึกษาของไทยคอื การศกึ ษาภาพลกั ษณอ์ นาคตของคนไทย คำ� ถาม วิจัยคอื คนไทยคิดอยา่ งไรเก่ยี วกบั อนาคต ทัง้ อนาคตของตนเอง ของญาติพ่ีนอ้ งและครอบครวั ของ สังคมไทย และสังคมโลกโดยรวม และภาพลักษณน์ นั้ มผี ลอย่างไรต่อการตัดสนิ ใจและพฤติกรรมใน ปัจจุบัน งานวิจัยของนักสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์จ�ำนวนมากได้ศึกษามาแล้วว่า โลกทัศน์มีผล ตอ่ พฤติกรรม นกั เศรษฐศาสตร์ โดยเฉพาะเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม แสดงใหว้ ่า ระยะเวลาและปจั จยั ทม่ี นษุ ยค์ ำ� นงึ ถงึ เกย่ี วกบั อนาคตมผี ลตอ่ พฤตกิ รรมในปจั จบุ นั เชน่ ความเคยชนิ ในการบรโิ ภคแบบไมม่ ี การคำ� นงึ ถงึ อนาคต (myopic habit) มีผลโดยตรงต่อการลงทนุ และการออม หรือแมแ้ ตก่ ารตัดสินใจ เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มดา้ นการเมอื ง เปน็ ตน้ งานวจิ ยั เกย่ี วกบั ภาพลกั ษณอ์ นาคตมปี ระโยชนท์ งั้ ในเชงิ วชิ าการ และในเชงิ นโยบาย จึงควรสนับสนนุ ใหม้ ีงานวจิ ยั ด้านน้ีมากย่งิ ขนึ้ การศึกษาเหตไุ มค่ าดฝัน ปจั จบุ นั มงี านวจิ ยั ทศี่ กึ ษาหวั ขอ้ และประเดน็ ตามแนวโนม้ สำ� คญั ของโลกและของประเทศไทยทท่ี ราบ กันอยู่ท่วั ไปแล้ว เชน่ กระบวนการเปน็ เมือง การเขา้ สู่สงั คมสงู อายุ การพัฒนาเศรษฐกิจยคุ 4.0 ฯลฯ แตเ่ นอื่ งจากภาพอนาคตมคี วามไมแ่ นน่ อนสงู และอาจไมเ่ ปน็ ไปตามแนวโนม้ ทผี่ า่ นมา จงึ ควรมงี านวจิ ยั ในหวั ขอ้ ทม่ี คี วามไมแ่ นน่ อนสงู และอาจมผี ลกระทบในระดบั สงู และปานกลางดว้ ย ทง้ั แบบเหตไุ มค่ าด ฝันและหงสด์ ำ� (black swans) ดังตัวอยา่ งต่อไปนี้ • เมอ่ื โรคไวรสั ตดิ ตอ่ ขา้ มชนดิ สตั ว์ท�ำให้คนตายจำ� นวนมาก • เมื่อโครงขา่ ยไฟฟ้าระดับชาติ ถูกแทนทโี่ ดยระบบพลังงานชุมชนและครัวเรือน
273 | อนาคตศกึ ษา • เมื่อเทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์สามารถเก็บขอ้ มลู และความทรงจำ� ของคนตาย • เมอ่ื เนือ้ สตั ว์จากห้องทดลองเริ่มวางขายในซปุ เปอร์มารเ์ ก็ต • ชีวิตคนไทยหลังยคุ โซเชยี ลมีเดยี • เมอื่ แรงงานพม่าย้ายกลับประเทศเป็นจำ� นวนมาก • เมอ่ื เกิดแผ่นดนิ ไหวครงั้ ใหญใ่ นมหานครกรงุ เทพ การเกิดโรคระบาดใหญ่จากไวรัสโคโรนาสายพนั ธใุ์ หมใ่ น พ.ศ.2562 เปน็ เหตุการณ์ไมค่ าดฝนั ที่ มผี ลกระทบอย่างมากต่อสขุ ภาพ เศรษฐกจิ สังคมและการเมืองระดบั โลก เหตกุ ารณ์ดังกลา่ วแสดงให้ เหน็ ถงึ ความจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ยวดและเรง่ ดว่ นในการสรา้ งฐานความรแู้ ละระบบการรบั มอื กบั เหตกุ ารณ์ ไม่คาดฝันแบบน้แี ละแบบอน่ื ท่มี ีโอกาสเกดิ ข้ึนและไดร้ ับผลกระทบอยา่ งกวา้ งขวางเช่นกนั ชอ่ งวา่ งความรเู้ ชงิ เครื่องมอื และวิธกี าร แมว้ ่าที่ผา่ นมาอาจมกี ารศึกษาอนาคตในประเทศไทยอยบู่ า้ ง แต่เมือ่ เทียบกบั องคค์ วามรูใ้ นระดับโลก แล้ว ยังถือว่าหา่ งไกลพอสมควร องค์ประกอบของความรู้ท่ีส�ำคัญส่วนหนงึ่ คือองคค์ วามรูด้ ้านเครื่อง มอื และวธิ กี าร รวมถงึ ระบบฐานขอ้ มลู ทท่ี นั สมยั และมขี อ้ มลู มากพอ โดยเฉพาะในโลกปจั จบุ นั ทข่ี อ้ มลู มอี ยมู่ หาศาล และสามารถนำ� มาใชใ้ นการศกึ ษาและคาดการณอ์ นาคตอยา่ งทไี่ มเ่ คยมมี ากอ่ น ดว้ ยเหตุ นี้ จึงควรสง่ เสรมิ การพฒั นาแบบจ�ำลองหรือวธิ กี ารท่ที ันสมัย ดังเชน่ ระบบ Risk Assessment and Horizon Scanning System (RAHS) ของรฐั บาลสงิ คโปร์ รวมถึงกระบวนการใหม่ในการสร้างโจทย์ เพือ่ อนาคตท่สี ามารถน�ำไปจัดท�ำแผนทน่ี �ำทางการวิจัยและการสนับสนุนการวจิ ยั ในด้านกระบวนการศึกษาอนาคตและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ แนวโน้มหนึ่งที่เกิดข้ึนใน วงการอนาคตศาสตรต์ า่ งประเทศคอื การเปดิ กวา้ งของกระบวนการคน้ หาความรใู้ นดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ ี่ เรยี กกนั วา่ วิทยาศาสตรเ์ ปดิ (open science) หรอื วทิ ยาศาสตรพ์ ลเมือง (citizen science) แนวโน้ม นน้ี า่ จะมผี ลตอ่ วงการอนาคตศกึ ษา โดยเฉพาะในดา้ นกระบวนการศกึ ษาและสรา้ งภาพอนาคต หวั ขอ้ เกีย่ วกบั วทิ ยาศาสตร์เปดิ จงึ เปน็ ประเด็นหน่ึงท่ีควรตดิ ตามหรือสนบั สนุนใหม้ กี ารศึกษาในเบ้ืองตน้ ไว้
อนาคตศึกษา | 274 ช่องว่างเชิงสถาบนั จากกรณศี กึ ษาระบบคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องฟนิ แลนดแ์ ละสงิ คโปร์ จะเหน็ ไดว้ า่ ระบบคาดการณ์ ระดบั ชาตแิ บง่ ออกเป็นสองสว่ นส�ำคญั ส่วนแรกเปน็ สถาบันและองค์กรภาครัฐทด่ี ำ� เนินการวิเคราะห์ และคาดการณป์ ระเดน็ อนาคตท่ีมีความหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ เพอ่ื สรา้ งนโยบายและยุทธศาสตรข์ อง รัฐในการรับมือและเตรยี มพร้อมสำ� หรบั การเปล่ยี นแปลงในอนาคต อกี ส่วนหนงึ่ เปน็ ชุมชนดา้ นการ วิจัยและวิชาการด้านอนาคตศาสตร์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการวางแผนนโยบายภาครัฐโดยตรง แต่อาจมี ส่วนร่วมในการศึกษาและสร้างองค์ความรู้พื้นฐานที่ประยุกต์ใช้ในการวางแผนนโยบาย ในกรณีของ ฟินแลนด์ ชุมชนวิชาการด้านอนาคตศาสตร์ในประเทศมักเป็นนักวิชาการที่สังกัดมหาวิทยาลัยและ สถาบนั วจิ ยั ซง่ึ มกั ไดร้ บั การสนบั สนนุ ดา้ นการเงนิ จากกองทนุ วจิ ยั และนวตั กรรมทอี่ าจเปน็ หนว่ ยงาน ของรัฐบาลหรืออาจเป็นมูลนธิ ทิ ่ีเป็นอิสระจากรฐั บาลกไ็ ด้ ระบบคาดการณ์แห่งชาติของประเทศไทยท่ีผ่านมายังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าใดนัก และถือว่า ห่างไกลมากจากระบบคาดการณ์แห่งชาติของประเทศที่เป็นผู้น�ำด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นฟินแลนด์หรือ สิงคโปร์ แมว้ ่าในอดตี ส�ำนกั งานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สวทน.) ภายใตก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ สำ� นกั งานเลขานกุ ารของศนู ย์ คาดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปค และดำ� เนนิ โครงการและกจิ กรรมดา้ นการคาดการณม์ าพอสมควร แตผ่ ล งานเชงิ ประจักษไ์ ม่ปรากฏเหน็ ในวงกวา้ งมากเทา่ ทคี่ วร ทัง้ ผลงานทไี่ ดร้ บั การเผยแพร่ต่อสาธารณชน ผลงานทนี่ ำ� ไปใชต้ อ่ ในการวางแผนนโยบายสาธารณะของประเทศไทย และผลงานทเี่ ปน็ แหลง่ อา้ งองิ ในเชงิ วชิ าการ จึงควรสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหด้ ำ� เนินบทบาทในด้านนี้เพ่มิ ขนึ้ ต่อไปอีก เป็นท่ีน่ายินดีว่าในปัจจุบันมีหน่วยงานและองค์กรที่มีกิจกรรมด้านอนาคตศึกษาและการคาด การณอ์ นาคตมากขนึ้ แสดงถงึ ความตระหนกั ในการสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะดา้ นน้ี ดงั นนั้ นโยบาย รฐั บาลจงึ ควรเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถขององคก์ รทม่ี อี ยแู่ ลว้ ตอ่ ไปอกี ทงั้ ศนู ยค์ าดการณเ์ ทคโนโลยี เอเปค ภายใตส้ ำ� นกั งานสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สอวช.) สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม ภายใต้ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) รวมถึงกลุ่มวิจัยใน มหาวิทยาลัย สถาบนั วจิ ัย และองค์กรภาคเอกชน
275 | อนาคตศึกษา เนอื่ งจากประเทศไทยในปจั จบุ นั ยงั มผี เู้ ชยี่ วชาญดา้ นอนาคตศกึ ษาและการคาดการณอ์ ยจู่ ำ� นวน นอ้ ย โดยเฉพาะทผี่ า่ นการอบรมและการเรยี นดา้ นนม้ี าโดยตรงและทำ� งานวจิ ยั ดา้ นนโี้ ดยเฉพาะ จงึ ตอ้ ง มกี ารเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถดา้ นบคุ ลากรตอ่ ไป พรอ้ มกนั นี้ การศกึ ษาอนาคตในปจั จบุ นั ยงั เปน็ ไป ตามความสนใจสว่ นตวั รายบคุ คล ไมม่ กี ารรวมตวั กนั อยา่ งชดั เจนดงั ในกรณขี อง National Foresight Network ของฟนิ แลนด์ จงึ ควรเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยนกั วชิ าการและนกั นโยบายทส่ี นใจเรอื่ งอนาคตใน ประเทศไทยและเช่อื มโยงกบั ประชาคมวชิ าการระดบั โลกใหม้ ากขึ้นอกี เมือ่ ไมน่ านมานี้ในชว่ งเดือนพฤศจกิ ายนและธนั วาคม พ.ศ. 2561 ท่ผี ่านมา สำ� นกั งานนวัตกรรม แหง่ ชาตโิ ดยสถาบนั การมองอนาคตนวตั กรรม ไดจ้ ดั กจิ กรรมทม่ี งุ่ สรา้ งและสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยผทู้ ส่ี นใจ เก่ียวกับการคาดการณ์และอนาคตศึกษา หนึ่งในน้ันคือการจัดการน�ำเสนอผลการศึกษาและการฝึก อบรมเผยแพร่ความรู้และทักษะด้านเคร่ืองมือคาดการณ์พ้ืนฐาน ซ่ึงด�ำเนินการโดยคณะผู้ศึกษาจาก วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พร้อมกันน้ี ยังจัดการประชุมระดมความคิดเห็น แนวทางการสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื นักอนาคตศาสตรร์ ว่ มกับสำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจดั ทำ� หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารนโยบาย (policy lab) ภายในองคก์ ร ส่วนส�ำนักงานคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ได้ร่วมกับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ได้จัดงานฝึกอบรมเคร่ืองมือคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ใน เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ สถาบันเพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของกระทรวง อุตสาหกรรม ก็ได้จัดงานอบรมเก่ียวกบั การคาดการณ์ขององค์กรธุรกิจ (corporate foresight) เพ่ือ การวางแผนยุทธศาสตร์ กจิ กรรมเหล่านนี้ บั เปน็ อีกก้าวหนง่ึ ของการเสรมิ สรา้ งและขยายชุมชนดา้ น อนาคตศึกษาและการคาดการณ์เชงิ ยุทธศาสตรใ์ นประเทศไทย ระบบข้อมูลพื้นฐานเป็นองค์ประกอบส�ำคัญท่ีต้องพัฒนาข้ึนเพ่ือให้ระบบคาดการณ์เชิง ยุทธศาสตร์ระดับชาติสามารถด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการคาดการณ์เชิง ยุทธศาสตร์ต้องมีข้อมูลเชิงกว้างและเชิงลึกที่สามารถน�ำมาวิเคราะห์แนวโน้มและคาดการณ์การ เปลยี่ นแปลง ระบบการประเมนิ ความเสยี่ งและการกวาดสญั ญาณ (Risk Assessment and Horizon Scanning - RAHS) ของรัฐบาลสิงคโปรม์ ีฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ทส่ี ามารถน�ำมาใชไ้ ดใ้ นการคาดการณ์ เชิงยุทธศาสตร์ เน่ืองจากข้อมูลท่ีใช้ในกระบวนการคาดการณ์ต้องมีความกว้างและลึกไปพร้อมกัน เพื่อให้สามารถจับสัญญาณอ่อนที่อาจกลายเป็นแนวโน้มส�ำคัญในอนาคต ดังนั้น การเช่ือมต่อข้อมูล ของรัฐบาลและหน่วยงานจึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการสร้างระบบฐานข้อมูลท่ีรองรับระบบคาดการณ์ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ของประเทศ นอกจากน้ี หนว่ ยงานดา้ นการวางแผนยทุ ธศาสตรค์ วรเพมิ่ ขดี ความสามารถในการเกบ็ รวบรวมและ วเิ คราะหข์ อ้ มลู มหาศาลหรอื บก๊ิ ดาตา้ โดยไมจ่ ำ� กดั เฉพาะขอ้ มลู ทมี่ โี ครงสรา้ งชดั เจน (structured data) แตต่ อ้ งรวมไปถงึ ขอ้ มลู ทโ่ี ครงสรา้ งไมช่ ดั เจน (unstructured data) เชน่ ขอ้ มลู การสนทนาในสอื่ โซเชยี ล อกี ทง้ั ยงั ควรดำ� เนนิ นโยบายขอ้ มลู เปดิ (open data) ทเี่ ออ้ื ตอ่ การเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ภาครัฐให้ได้มากท่ีสุด ตราบใดที่ข้อมูลนั้นไม่มีปัญหาด้านความม่ันคงและไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
อนาคตศึกษา | 276 การเปิดข้อมูลให้องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมสามารถเข้าถึงได้ งา่ ย จะทำ� ใหก้ ารกวาดสญั ญาณและการคาดการณเ์ พอื่ เตรยี มพรอ้ มสำ� หรบั อนาคตเปน็ ไปไดง้ า่ ยมากขนึ้ จากที่ทบทวนไว้ก่อนหน้าน้ี วัตถุประสงค์หลักประการหนึ่งของอนาคตศึกษาคือ เพ่ือวางแผน เตรียมพร้อมรับมืออนาคตที่ไม่แน่นอนและด�ำเนินกิจกรรมท่ีมุ่งไปสู่ภาพอนาคตท่ีพึงประสงค์ การ ศึกษาอนาคตจึงเกี่ยวข้องกับการกระท�ำ (action) อยู่เสมอ งานอนาคตศึกษาในประเทศไทยที่ผ่าน มาอาจเน้นการสร้างความตระหนักในเร่ืองอนาคตบ้าง แต่อาจยังไม่น�ำไปสู่การปฏิบัติและการตัดสิน ใจเทา่ ท่ีควรนกั ดงั น้นั กิจกรรมการศึกษาอนาคตเพอื่ การตดั สนิ ใจเชิงนโยบายและกจิ กรรมการศกึ ษา อนาคตเชงิ วชิ าการจงึ ตอ้ งพฒั นาไปพรอ้ มกนั สาเหตหุ นง่ึ ทกี่ ารศกึ ษาอนาคตยงั ไมพ่ ฒั นาเปน็ ศาสตรใ์ น ประเทศไทย อาจเปน็ เพราะยงั ไมม่ กี ารเชอ่ื มอนาคตศกึ ษากบั การวจิ ยั อนาคตเพอ่ื กำ� หนดนโยบายอยา่ ง เปน็ รปู ธรรม ทำ� ใหก้ รอบความคดิ และแนวทางการมองอนาคตในแตล่ ะศาสตรย์ งั มขี อ้ จำ� กดั อยู่ ซงึ่ โดย มากยังเนน้ แบบท�ำนายแลว้ ดำ� เนินการ (predict-then-act) นับเป็นความทา้ ทายหลักทตี่ ้องพยายาม จัดการต่อไป ด้วยกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทีเ่ สนอไปขา้ งต้น
277 | อนาคตศกึ ษา ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย จากการประมวลความรู้เก่ียวกับอนาคตศาสตร์และการศึกษาอนาคตเพ่ือการวางแผนนโยบายและ ยทุ ธศาสตรข์ องตา่ งประเทศ พบวา่ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ดา้ นการวจิ ยั มบี ทบาทสำ� คญั ในการสรา้ งระบบ คาดการณร์ ะดับชาติ ตัวอย่างท่ดี คี อื กองทนุ นวตั กรรมของฟนิ แลนด์ ในการน้ี หน่วยงานรัฐของไทยที่ มพี ันธกจิ ในการสง่ เสริมการวิจยั และนวตั กรรมสามารถมบี ทบาทได้ดังนี้ 1. สง่ เสรมิ การพฒั นาองคค์ วามรภู้ ายในวงการอนาคตศกึ ษาในประเทศไทยในสว่ นทเ่ี ปน็ ความ รพู้ น้ื ฐานและวธิ กี ารดา้ นอนาคตศกึ ษาโดยตรง ทง้ั ในประเดน็ หวั ขอ้ ทมี่ นี ยั สำ� คญั เชงิ นโยบาย และในด้านเครือ่ งมือการศึกษาอนาคตและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ เพอ่ื ทราบถึงจุด แข็งจดุ อ่อนของวธิ กี ารศกึ ษาต่าง ๆ 2. ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้และเคร่ืองมือในการศึกษาและคาดการณ์อนาคตในศาสตร์ และสาขาวิชาเดิมท่ีมีอยู่ โดยมุ่งการวิจัยไปท่ีหัวข้อที่ข้ามภาคส่วนและข้ามสาขาวิชา (cross-sector and cross-discipline) เพื่อให้แต่ละวิชาเรียนรู้ปรับปรุงตนเอง ทำ� ให้ ประชาคมวิชาเปิดกว้างและสามารถสรา้ งพลงั การเปล่ียนแปลงทางนโยบายได้ 3. สง่ เสรมิ โครงการศกึ ษาและวจิ ยั ในศาสตรท์ ม่ี อี ยใู่ หม้ องภาพอนาคตมากขนึ้ โดยอาจตง้ั เปน็ เงือ่ นไขหนึ่งของการใหท้ ุนวิจัย 4. สนบั สนนุ การศกึ ษาเพอื่ วางแผนนโยบาย ใหท้ ดลองใชก้ รอบแนวคดิ และวธิ กี ารดา้ นอนาคต ศึกษามากขนึ้ 5. สรา้ งชมุ ชนและเครอื ขา่ ยนกั วชิ าการและนกั นโยบายทสี่ นใจดา้ นอนาคตศกึ ษา โดยอาจจดั อบรม และเสวนาวชิ าการ-นโยบาย (Knowledge-policy interface) ในประเดน็ ทเี่ นน้ ภาพ อนาคต เพือ่ สร้างปฏิสัมพนั ธข์ องตวั แทนจากหลายภาคสว่ น ท้งั ภาควิชาการ ภาคนโยบาย ภาคประชาสงั คม และภาคธุรกิจ 6. สนบั สนนุ การแลกเปลย่ี นขา้ มสถาบนั และศนู ยว์ จิ ยั รวมถงึ สว่ นงานยทุ ธศาสตรภ์ ายใน สกว. และหน่วยงานให้ทนุ การวิจัยอ่ืน ๆ การให้ทุนวิจัยในหัวข้อและประเด็นตามแนวโน้มส�ำคัญของโลกและของประเทศไทยย่อมเป็น เรื่องท่ีถูกต้องและสมควรด�ำเนินต่อไป อย่างไรก็ตาม เนื่องจากอนาคตมีความไม่แน่นอนสูงและ
อนาคตศึกษา | 278 อาจไม่เป็นไปตามแนวโน้มท่ีผา่ นมา จงึ ควรมงี านวิจัยในหวั ข้อหรอื ประเด็นทีม่ คี วามไมแ่ นน่ อนสูงและ อาจมผี ลกระทบในระดับสูงและปานกลาง งานวจิ ยั เหลา่ นีต้ อ้ งเรม่ิ จากจนิ ตนาการ แล้ววิเคราะหด์ ว้ ย เครอื่ งมอื อนาคตศึกษาที่เป็นระบบ ในปจั จบุ นั มคี วามจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นในการสรา้ งบคุ ลากรทมี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นอนาคตศกึ ษาทง้ั ในระดบั พน้ื ฐานและในระดบั สงู จากแนวโนม้ ทห่ี ลายองคก์ รภาครฐั และเอกชนไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การ คาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ วางแผนนโยบายสาธารณะและยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ ร การสรา้ งบคุ ลากร ท่ีมีความรู้พ้ืนฐานด้านอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ไม่น่าจะเป็นเรื่องยากมากนัก เพราะเนื้อหาตรงไปตรงมา ส่วนในด้านวิธีการวิเคราะห์ก็สามารถใช้ความรู้ต่อยอดจากศาสตร์อื่นที่มี อยู่แล้ว ประเด็นส�ำคัญจึงน่าจะอยู่ที่การสร้างกรอบความคิดเชิงอนาคตศึกษามากกว่าการฝึกอบรม เครอ่ื งมอื เพยี งอยา่ งเดยี ว นอกเหนอื จากการสง่ เสรมิ ความรแู้ ละทกั ษะการวเิ คราะหด์ า้ นอนาคตศกึ ษา ในหมนู่ กั วชิ าการและนกั นโยบายแลว้ ยงั ควรสง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทสี่ ามารถดำ� เนนิ กระบวนการ ศึกษาอนาคตแบบมสี ่วนร่วม เน่อื งจากกระบวนกรทมี่ ปี ระสบการณใ์ นการดำ� เนนิ การประชุม ถอื เป็น องค์ประกอบส�ำคัญท่ีขาดไม่ได้ และจ�ำเป็นต้องมีความรู้และทักษะด้านอนาคตศึกษาท่ีต้องผ่านการ อบรมและฝึกฝนมาโดยเฉพาะ
279 | อนาคตศกึ ษา ความเปน็ ธรรม ในการรบั รอู้ นาคต ประเด็นสุดท้ายที่ผู้เขียนอยากฝากทิ้งท้ายไว้ในหนังสือเล่มนี้ คือเรื่องความเป็นธรรมในการรับรู้ อนาคต องคค์ วามรดู้ า้ นอนาคตศกึ ษาไดพ้ ฒั นามามากในชว่ งประมาณหนงึ่ ศตวรรษทผี่ า่ นมา ทง้ั ในระดบั ญาณวทิ ยาและวธิ วี ทิ ยา รวมถงึ ผลลพั ธก์ ารคาดการณท์ น่ี ำ� ไปใชต้ อ่ ในการวางแผนยทุ ธศาสตรใ์ นระดบั องคก์ รและระดบั ประเทศ วงการอนาคตศกึ ษาไดข้ ยายกวา้ งมากขนึ้ จากทแ่ี ตเ่ ดมิ มเี ฉพาะนกั วจิ ยั และ นกั เขยี นในทวปี ยโุ รปและอเมรกิ าเหนอื แตใ่ นปจั จบุ นั มนี กั วชิ าการจากเอเชยี แอฟรกิ า และอเมรกิ าใต้ มากขน้ึ ขณะเดียวกัน ปรัชญาและแนวคิดพ้ืนฐานของอนาคตศึกษาไดข้ ยายขอบเขตออกไปมาก โดย ครอบคลมุ เนอ้ื หาและมมุ มองทก่ี วา้ งกวา่ โลกทศั นเ์ ชงิ วทิ ยาศาสตรแ์ บบนวิ ตนั และยอมรบั ในความหลาก หลายของความคิดและวธิ กี ารสร้างความรู้เกย่ี วกบั อนาคตมากกวา่ เดมิ กระนน้ั กต็ าม วงการอนาคตศกึ ษาในระดบั โลกยงั คงยดึ ครองโดยกลมุ่ นกั คดิ นกั เขยี นในประเทศ ในทวปี ยโุ รปและอเมรกิ าเหนอื เปน็ หลกั ถงึ แมว้ า่ ในชว่ งหลงั ไดม้ งี านเขยี นของนกั วชิ าการจากพน้ื ทอ่ี น่ื มากขนึ้ และการประยกุ ตใ์ ชว้ ธิ กี ารคาดการณใ์ นการวางแผนนโยบายวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยขี องหลาย ประเทศในเอเชยี เช่น ญ่ีปนุ่ สงิ คโปร์และเกาหลีใต้ ได้รับการยอมรับมากขน้ึ แตใ่ นด้านองคค์ วามรู้เชงิ วิชาการก็ยังคงเป็นนักวิชาการจากกลุ่มวัฒนธรรมฝั่งตะวันตกที่มีผลงานเชิงวิชาการที่เป็นฐานความ รู้ของวงการอนาคตศึกษา นอกจากนี้ ถึงแม้ว่ากระบวนการและวิธีการด้านอนาคตศึกษาได้เปิดกว้าง มากขึ้นกว่าเดิม แต่ในภาพรวมก็ยังมีมุมมองและแนวคิดจากปรัชญาตะวันตกเป็นหลัก จึงอาจกล่าว ไดว้ ่า ความเป็นธรรมในการรับรู้ (cognitive justice) ในศาสตร์น้ี ยงั ตอ้ งได้รับการแกไ้ ขและพฒั นา ตอ่ ไปอีกมาก แนวคิดความเป็นธรรมในการรับรู้ตั้งอยู่บนความตระหนักและยอมรับในความหลากหลายและ พหุนิยมของความรู้ และยึดในสิทธิพื้นฐานของความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีจะอยู่ร่วมกันได้ แนวคิดน้ี เสนอเป็นครงั้ แรกใน พ.ศ. 2540 โดยนักคดิ ชาวอินเดยี ชื่อ ศวิ ะ วศิ วะนาธาน (Shiv Visvanathan) ในหนังสอื ชื่อ \"A Carnival for Science: Essays on science, technology and development2 แนวคิดดังกล่าวมุ่งวิพากษ์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบง�ำของแนวคิดแบบวิทยาศาสตร์ของปรัชญา
อนาคตศกึ ษา | 280 ตะวันตกต่อประเทศก�ำลังพัฒนาและวัฒนธรรมอ่ืน ท่ีไม่ใช่วัฒนธรรมตะวันตก แนวคิดน้ีเรียกร้องให้ วงการวิชาการของโลกให้การยอมรับและความส�ำคัญกับรูปแบบความรู้ที่ไม่ใช่แบบตะวันตกมากขึ้น เนอ่ื งจากความรมู้ รี ปู แบบทแี่ ตกตา่ งกนั ไปไดต้ ามวถิ แี ละแนวทางการดำ� รงชวี ติ ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไปใน แต่ละสังคมวัฒนธรรม ความรูใ้ นรูปแบบตา่ ง ๆ จงึ ควรไดร้ บั การยอมรบั อย่างเท่าเทียมกนั แนวคดิ ความเปน็ ธรรมในการรบั รมู้ งุ่ วพิ ากษก์ ระบวนทศั นด์ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ระแสหลกั ของโลกใน ปจั จบุ นั โดยพยายามสง่ เสรมิ กระบวนทศั นใ์ นการสรา้ งองคค์ วามรทู้ างเลอื กและในรปู แบบอน่ื แนวทาง หลกั คอื การเพม่ิ โอกาสในการสนทนาและแลกเปลยี่ นกนั ระหวา่ งผคู้ นทม่ี อี งคค์ วามรทู้ แี่ ตกตา่ งกนั และ ในบางครงั้ อาจขดั แยง้ กนั โดยหวงั วา่ การสนทนาดงั กลา่ วจะทำ� ใหเ้ กดิ องคค์ วามรใู้ นระดบั โลกทน่ี ำ� ไปสู่ ความยงั่ ยนื เปน็ ประชาธปิ ไตยและเปน็ ธรรมมากยง่ิ ขน้ึ แนวคดิ นเ้ี รม่ิ แพรห่ ลายมากขน้ึ ในวงการวชิ าการ ระดับโลก ทงั้ ในด้านการศกึ ษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงั คม ด้านชีววิทยาชาติพันธุ์ (ethnobi- ology) และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนา (information and communication technology for development) เป็นต้น อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวไว้ว่า จินตนาการส�ำคัญกว่าความรู้ เนื่องจากความรู้ถูกจ�ำกัดอยู่กับ ส่ิงที่เรารู้และเข้าใจอยู่ในปัจจุบัน ในขณะที่จินตนาการครอบคลุมไปท่ัวโลกและทุกสิ่งทุกอย่างที่ เราจะรู้และเข้าใจได้ ข้อความดังกล่าวสามารถขยายความหมายเพิ่มได้ว่า ความรู้เป็นเพียงภาพ ปัจจุบัน แต่จินตนาการเปน็ ภาพอนาคต ดงั นนั้ ถา้ หากความสามารถในการรับรู้และจนิ ตนาการของ คนในปัจจุบันถูกจ�ำกัดโดยกระบวนทัศน์และปัจจัยเชิงโครงสร้างบางอย่าง และท�ำให้คนบางกลุ่มไม่ ได้มโี อกาสจินตนาการเท่ากับคนกล่มุ อนื่ นัน่ หมายความว่า ภาพอนาคตทเี่ ป็นไปไดแ้ ละทีพ่ ึงประสงค์ ของคนกลุ่มน้ีก็ถกู จำ� กดั ไปด้วยเช่นกัน ดว้ ยเหตนุ ี้ ความเปน็ ธรรมในการรบั รูแ้ ละจินตนาการเก่ียวกบั อนาคต จึงเปน็ เรือ่ งทตี่ ้องให้ความส�ำคญั อยา่ งย่งิ ในงานดา้ นอนาคตศกึ ษา ไม่นอ้ ยไปกวา่ ความแม่นย�ำ ในการพยากรณ์และความล�ำ้ ยุคของจินตนาการ นโยบายสาธารณะโดยเฉพาะในดา้ นการศึกษาและ วจิ ัยเกย่ี วกบั อนาคตศกึ ษา จึงควรให้ความสำ� คญั กับเรือ่ งความเป็นธรรมนี้
281 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศึกษา | 282
283 | อนาคตศึกษา เชิงอรรถ 23 Bell (1997), p. 20 บทท่1ี 24 Bell (1997), p. 23 25 Gidley (2010) 1 พุทธทาสภิกขุ (2514) 26 Russell (1968), p. 291 2 All flesh is not the same flesh, but there is one 27 Russell (1968) , p. 291 28 Wiener (1948) kind of flesh of men, another flesh of beasts, 29 Gidley (2017), p. 46 another of fish, another of birds (1 Corinthians 30 Innes (1990) 15:39) คำ� แปลจาก www.bible.com/th/bible/174/ 31 Innes (1990) 1co.15.39.thsv11 32 Dickson (1971) 3 So God created man in His own image; in the 33 Light (2003) image of God He created him; male and 34 Dickson (1971) female He created them (Genesis 1:27) ค�ำแปล 35 Jungk (1954) จาก https://newchristianbiblestudy.org/bible/ 36 Polak (1961) thai-kjv/genesis/1/27 37 Bell (1997), p. 36 4 Stewart (n.d.) 38 Gidley (2017), p. 68 5 Seligman (2016) 39 Sardar (1999) 6 Ólafsdóttir et al. ( 2015) 40 Inayatullah (1990) 7 Daniel and Spiers (2016) 41 Masini (1990) 8 Ferkiss (1977) 42 Son (2015) 9 https://www.almanac.com/content/predict- 43 Bell (1997), p. 38 ing-weather-pig-spleen 44 Bell (1997), p. 38 10 Cornish (1977) 45 https://www.clubofrome.org/ เขา้ ถึงเมอ่ื 11 Gidley (2017), p.10 12 Popper (1957) 18 พฤษภาคม 2561. 13 Kahn and Wiener (1967) 46 Seefried (2014) 14 Gidley (2017) 47 Bell (1997), p. 46 15 Bell (1997), p. 11. 48 Saritas & Anim, (2017) 16 Munting (1982), p. 45-46 49 Saritas & Anim (2017) 17 Munting (1982), p. 85, 87 50 Saritas & Anim (2017) 18 Nove (1977), p. 31 51 Saritas et al. (2017) 19 Boettke (2000), p. 124 52 Saritas & Anim (2017) 20 Bell (1997), pp. 15-18 53 https://apf.org/about/ วนั ที่ 2 มถิ นุ ายน 21 Bell (1997) 22 Tinbergen (1968) 2561 54 Bell (1997). p. 65. 55 Naisbitt (1984), 9-10 56 Jennings (1993)
อนาคตศกึ ษา | 284 บทท่ี 2 (2007) 37 Salk (1973) 1 Singer (2016) 38 Leibniz (1704) 2 Bell (1997), p.73 39 Lyne & Howe (2007) 3 Kahn (1973) 40 Baumgartner & Jones (1993) 4 Miles & Keenan (2002) 41 Cioffi-Revilla (1998) 5 Glenn (2007) 42 Bishop & Hines (2014) p. 36. 6 Lasswell (1967) 43 Grave (1974) 7 Bell (1997) 44 Beck & Cowan (1996) 8 Voros (2003) 45 Peck (2014) 9 Mau (1968) 46 Peck (2014) 116. 10 Polak (1961) 47 Wilber (2000). 11 Taylor (1989) 48 Institute for Alternative Futures (2005) 12 Cantril (1965) 49 Martino (1976) p. 4. 13 Huber (1974) 50 http://www.ericsson.com/ericsson-mobil- 14 Textor (1990a) and Textor (1990b) 15 Bell (1997), p. 86 ity-report 16 Helmer (1983) 51 https://splinternews.com/by-2020-solar- 17 Slaughter (1993) 18 Bell (1997), บทท่ี 4 และ 5 will-prove-a-better-deal-than-regular- 19 Bell (1964) el-1793844429 20 Bell (1997), p. 89 52 เชน่ Marien (2010) 21 Bell (1997), p. 89 53 เชน่ Andersen & Andersen (2014) 22 Bell (1997), p. 140 54 เช่น Hideg, É. (2007) 23 Bell (1997), p.125 55 Piirainen & Gonzalez (2015) 24 Sorokin & Merton (1937) 25 Zerubavel (1981) บทท่ี 3 26 Neher (1976) p.149, 152 27 Bell (1997), p. 148 1 Glenn and Gordon (2009) 28 De Jouvenel (1967), p. 277 2 Gidley (2017), p. 60 29 Mortensen (2016) 3 Gidley (2017), p. 61 30 เรอ่ื งเดียวกนั . 4 House of Commons Public Administration 31 Bishop & Hines (2012) 32 Bishop & Hines (2012) Select Committee (2007) 33 Bishop & Hines 5 Glenn (2013) 34 Proietti et al. (2019) 6 http://www.millennium-project.org/ 35 Peck (2009) 36 Vandenbroeck, Goossens, & Clemens. millennium/env-scanning.html 7 อภวิ ัฒน์ รัตนวราหะ และคณะ (2563) 8 Porter and Zhang (2015) 9 Manning et al (2009) 10 Gordon and Helmer (1964)
285 | อนาคตศกึ ษา 11 The Futures Group International (2009a) 42 Álvarez and Ritchey (2015) 12 S&T Foresight (2019) 43 Ritchey (2009) 13 Gordon (2009a) 44 Ritchey (2009) 14 Pacinelli (2006) 45 The Futures Group International (2009b) 15 Gordon (1994) 46 รายละเอียด http://www.millennium-proj- 16 Dalkey & Helmer (1963) 17 Kane (1972) ect.org/millennium/ information.html 18 Brauers & Weber (1988) 47 Kahn & Wiener (1967) 19 Duperrin & Godet (1975) 48 Gordon (2009b) 20 Porter (2009) 49 World Energy Council (2011) 21 Kane et al. (1973) 50 มง่ิ สรรพ์ ขาวสอาด และ อภวิ ัฒน์ รตั นวราหะ 22 http://forlearn.jrc.ec.europa.eu/guide/4_ (2557) methodology/meth_structural-analysis. 51 Gordon (2009b) htm 52 Mandel et al. (1993) 23 Bipe Conseil (1992) 53 Godet (2000) 24 Petersen (1997) 54 Gordon (2009b) 25 Hiltunen (2006); Mendonça et al. (2004); 55 Coyle (2009) Steinmüller (2007) 56 Tri, Boswell & Dortmans (2004) 26 Hiltunen (2006) 57 Coyle & Yong (1996) 27 Steinmüller (2007) 58 Wood & Christakis (1984). 28 Mendonça et al. (2004) 59 Lempert et al. (2003) Lempert and 29 Tan et al. (2008) 30 Barber (2006) Collins (2007) 31 Markley (2011) 60 Lempert et al. (2009) 32 Molitor (1977) 61 Lempert et al. (1996) 33 Petersen & Steinmüller (2009) 62 Lempert et al. (2009) 34 Petersen (1997) 63 ตวั อยา่ งเช่น พชั รี สิโรรส และคณะ (2546) 35 Steinmüller & Steinmüller (2004) 36 Petersen & Steinmüller (2009) เจมส์ แอล เครยต์ ัน (James L. Creighton) 37 Petersen (1997) (2552) Slocum (2003) 38 http://wiwe.iknowfutures.eu/what-is-wi- 64 Glenn (2009a) we-bank/ 65 http://www.digitaluniverse.net/hubbard/ 39 Glenn (1989) topics/view/14482/ 40 The Futures Group International (2009a) 66 Kalning (2007) 41 Ritchey (2009) 67 Dufva et al. (2016) 68 Wolfers & Zitzewitz (2006) 69 Berg et al. (2001) 70 Polgreen et al. (2006)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320