อนาคตศึกษา | 36 ความรู้แต่ละประเภทมีวิธีการเข้าถึงหรือวิธีวิทยาที่แตกต่างกัน ความรู้เชิงเทคนิคหรือเชิงเคร่ือง มือสามารถเข้าถึงด้วยวิธีการแนวปฏิฐานนิยม ความรู้เชิงปฏิบัติสามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการแบบ ตีความ (interpretive/hermeneutic) ส่วนความรู้เชิงปลดปล่อยสามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการ วิพากษ์ (critical methods) ทฤษฎีของฮาเบอร์มาสถือเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์ (critical future studies) ซึง่ เสนอเปน็ ครง้ั แรกโดยริชาร์ด สลอเทอร์ (Richard Slaughter) ใน พ.ศ. 2515 แนวคิด นี้เชื่อว่า สังคมจ�ำเป็นต้องหยั่งรู้และก้าวข้ามความคิดและลัทธิความเชื่อที่ไร้ข้อพิสูจน์ (dogmatism) และความคิดที่กดขี่สังคมอยู่ การสร้างความรู้เชิงวิพากษ์เกี่ยวกับอนาคตจึงมีความส�ำคัญอย่างมาก ในการกา้ วข้ามการกดข่ีทางสงั คม นอกจากทฤษฎขี องฮาเบอรม์ าสแลว้ ยังมีทฤษฎีของเคน วิลเบอร์ (Ken Wilbur) วา่ ด้วยความส�ำคัญของการค้นพบและการเตบิ โตดา้ นจิตใจภายในของแต่ละคนในการ ด�ำรงชิวตอยู่ในสังคมสมัยใหม่ การศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์จึงเน้นการวิจารณ์โครงสร้างสังคมท่ีแข็ง ทอื่ และกดขผี่ คู้ นทด่ี อ้ ยโอกาส และวฒั นธรรมเชงิ ทำ� ลายลา้ งและไมส่ รา้ งสรรค์ การศกึ ษาอนาคตแนวนี้ เนน้ วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื เชงิ อตั วสิ ยั เพอื่ ดงึ เอาความคดิ เกยี่ วกบั อนาคตออกมาใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน นกั อนาคตศกึ ษาแนวนพี้ ฒั นาและนยิ มใชเ้ ครอื่ งมอื ศกึ ษาทแ่ี ตกตา่ งจากนกั อนาคตศาสตรแ์ นวปฏฐิ านนยิ ม อยา่ งชดั เจน ตวั อยา่ งวธิ กี ารกระตุน้ การสนทนาเกย่ี วกับอนาคต ไดแ้ ก่ วงลอ้ อนาคต (Futures Wheel) การจัดประชุมสร้างภาพอนาคต (futures workshops) และการวิเคราะห์ชั้นของสาเหตุ (Causal Layered Analysis) การศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์ต้ังอยู่บนความเข้าใจพ้ืนฐานที่ว่า อนาคตเกิดขึ้นอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่อยู่ในความคิดและอารมณ์ของคน ความคิดและความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคตยังมีผลต่อพฤติกรรม และการตัดสินใจในปัจจุบัน และถือเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตในปัจจุบัน เนื่องจากความคิดเก่ียวกับ อนาคตก่อร่างและเปล่ียนแปลงไปตามกระบวนการสนทนาและถกเถียงอภิปราย อนาคตที่มีอยู่ใน แล้วปัจจุบันจึงล้วนเป็นส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้นมาท้ังส้ิน การคิดและพิจารณาเกี่ยวกับอนาคตจึงแยกไม่ ออกจากกระบวนการคิดท่ัวไปของมนุษย์ นอกจากนี้ ความตั้งใจในอนาคตยังเกี่ยวข้องโดยตรงกับ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ตามแนวคิดน้ี ความสามารถในการคิดและคาดการณ์เก่ียวกับอนาคต ไม่ได้มีเฉพาะผู้เชี่ยวชาญด้านอนาคตศึกษา หรือแม้แต่โหร หมอดูและศาสดาเท่านั้น มนุษย์ทุกคนมี ความสามารถนที้ งั้ สน้ิ สำ� หรับศาสตร์ดา้ นอนาคตศึกษาน้ัน การพยากรณ์ (prediction) ถอื วา่ เปน็ วธิ ี การเชิงปฏฐิ านนยิ ม และความรู้ที่ไดจ้ ดั อยใู่ นกล่มุ ความรู้เชงิ เทคนิค สรปุ ไดว้ า่ กระบวนทศั นใ์ หมข่ องอนาคตศกึ ษาเกดิ ขน้ึ พรอ้ มกบั การเปลย่ี นกระบวนทศั นใ์ นวงการ วิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ในยุโรปที่ท้าทายแนวคิดเชิงปฏิฐานนิยมท่ีเป็นพ้ืนฐานวงการวิชาการ กระแสหลกั มากอ่ นหนา้ นัน้ กา้ วแรกของการเปลยี่ นกระบวนทศั นด์ ้านอนาคตศกึ ษา คือการปฏเิ สธว่า อนาคตมอี ยู่เพียงหนึ่งเดียว ในทศวรรษที่ 1960 ปรัชญาวา่ ด้วยพหุนิยมเรม่ิ แพรข่ ยายในยโุ รป โดยนัก อนาคตศกึ ษาเรม่ิ เสนอแนวคดิ พหอุ นาคตในสง่ิ ตพี มิ พต์ า่ ง ๆ เชน่ เดอ จวู เี นล (De Jeuvenel) นำ� เสนอ แนวคดิ futuribles ใน พ.ศ. 2503 โดยเน้นวา่ futuribles หมายถงึ อนาคตทเ่ี ปน็ ไปได้ และเนน้ ความ เปน็ พหขุ องภาพอนาคตทเ่ี ปน็ ไปไดเ้ หลา่ นนั้ ในทำ� นองคลา้ ยกนั ในการประชมุ นานาชาตวิ า่ ดว้ ยอนาคต
37 | อนาคตศึกษา (International Futures Conference) ครง้ั แรกใน พ.ศ. 2510 โดยคณะผู้จดั ตพี มิ พเ์ อกสารประกอบ การประชมุ ชอื่ วา่ Mankind 2000 ในเอกสารดงั กลา่ ว โรเบริ ต์ ยงุ ค์ (Robert Jungk) และผเู้ ขา้ ประชมุ หลายคนน�ำเสนอแนวคิดพหุอนาคตที่ต่อมากลายเป็นกรอบแนวคิดพื้นฐานของอนาคตศึกษาในยุโรป หลังจากน้ันใน พ.ศ. 2516 นักอนาคตศึกษาเหล่าน้ีร่วมกันก่อต้ังสมาพันธ์อนาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) การใชค้ ำ� วา่ futures ในชอ่ื ขององคก์ รแสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนวา่ นกั อนาคตศึกษาในยคุ นนั้ เร่ิมยอมรับแนวคดิ พหุอนาคต แทนแนวคดิ เดิมท่เี ช่ือใน “เอกอนาคต” (singu- lar future) หรอื อนาคตหน่งึ เดยี ว
อนาคตศึกษา | 38 อนาคตเชงิ วฒั นธรรม และการตคี วาม การศกึ ษาอนาคตอกี แนวทางหนง่ึ คอื แบบวฒั นธรรมและการตคี วาม (cultural-interpretive futures) ซ่ึงไม่ได้มุ่งไปที่การคาดการณ์ แต่เน้นไปท่ีความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในความแตกต่างของปรากฏการณ์ และปัญหาท่ีเกิดข้ึน ด้วยความหวังว่ากระบวนการศึกษาและสร้างภาพอนาคตจะน�ำไปสู่ความเป็น หนงึ่ เดยี วกนั (unity) ในขณะทคี่ วามจรงิ (truth) เปน็ สง่ิ สมั พทั ธ์ (relative) ซง่ึ มภี าษาและวฒั นธรรม เป็นปัจจัยที่ท�ำให้ความจริงน้ันเป็นจริงมากข้ึน การเปรียบเทียบและค�ำนึงถึงวัฒนธรรมอ่ืนนอกจาก วัฒนธรรมตะวนั ตกจะท�ำให้เราสามารถท�ำความเขา้ ใจในอนาคตของมนุษยชาติได้ดียิ่งขน้ึ การศกึ ษา อนาคตในแนวนจ้ี งึ เนน้ มมุ มองเชงิ พหวุ ฒั นธรรมเปน็ สำ� คญั โดยวพิ ากษแ์ ละทา้ ทายแนวคดิ วฒั นธรรม กระแสหลกั ของสงั คมตะวนั ตก38 แนวคดิ อนาคตเชงิ พหวุ ฒั นธรรมยงั วพิ ากษแ์ นวคดิ การพฒั นาทเ่ี นน้ การพฒั นาอตุ สาหกรรมและ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อยา่ งไมม่ ที ่สี ้ินสดุ รวมถึงบรโิ ภคนิยมทใ่ี ชท้ รัพยากรอยา่ งส้นิ เปลอื ง แนวคดิ อนาคตศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมก่อร่างข้ึนในทศวรรษท่ี 1980 พร้อมกับการประยุกต์ใช้วาทกรรม หลังยคุ อาณานคิ ม (post-colonial discourse) ในอนาคตศกึ ษา แนวคดิ ดงั กลา่ วยงั ปรากฏอยใู่ นองค์ ประกอบของสมาชกิ ทรี่ ว่ มจดั ตง้ั สมาพนั ธอ์ นาคตศกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation) ซงึ่ มตี วั แทนจากประเทศโลกทสี่ ามในทวปี แอฟรกิ า อเมรกิ าใต้ เอเชยี นอกเหนอื จากนกั อนาคตศาสตร์ ในยโุ รปและอเมรกิ าเหนือ การศึกษาอนาคตแนวพหุวัฒนธรรมยังเปิดโอกาสให้ศึกษาอนาคตจากมุมมองสตรีนิยม (feminism) และมุมมองของเด็กเยาวชน รวมถึงอนาคตที่เป็นทางเลือกที่เป็นไปได้ (possible, alternative futures) นักอนาคตศาสตร์ท่ีเช่ือในแนวทางนี้พยายามสร้างต้นแบบ วิธีการและ กระบวนการในการศกึ ษาและใชป้ ระโยชนจ์ รงิ จากภาพอนาคตทางเลอื กทสี่ รา้ งขนึ้ ตามแนวคดิ ความ รเู้ ชงิ ปฏิบัติ (practical knowledge) ของเยอรเ์ กน ฮาเบอรม์ าส (Jürgen Habermas) ซง่ึ เนน้ วธิ ีการ ตคี วามเพอื่ ไดม้ าซึง่ ความรเู้ ชิงลกึ ท่ีเป็นประโยชน์เกย่ี วกบั อนาคตท่ีหลากหลาย ตัวอยา่ งงานดา้ นอนาคตศกึ ษาทบี่ กุ เบิกแนวคดิ พหวุ ฒั นธรรม ได้แก่ หนงั สือชอ่ื Rescuing All Our Futures ซงึ่ ตพี มิ พใ์ น พ.ศ. 2542 โดยมไี ซอดู ิน ซาร์ดาร์ (Ziauddin Sardar) เป็นบรรณาธกิ าร39 ขอ้ เสนอหลกั ของหนงั สอื เลม่ นคี้ อื สงั คมวฒั นธรรมอนื่ นอกจากวฒั นธรรมตะวนั ตกมอี นาคตทเ่ี ปน็ อสิ ระ
39 | อนาคตศึกษา จากอำ� นาจกดดนั ตา่ ง ๆ และมอี สิ รภาพในการจนิ ตนาการและสรา้ งอนาคตตามโลกทศั น์ วฒั นธรรมและ ประเพณีของตนเอง แต่งานเขียนด้านอนาคตศึกษาในช่วงเวลาก่อนหน้านี้ไม่ได้มุ่งสร้างความรู้และวิธี การท่ชี ว่ ยใหส้ งั คมเหลา่ น้สี ามารถสรา้ งอนาคตทางเลอื กทหี่ ลากหลายของตนเอง แต่กลับมุ่งสรา้ งวิสัย ทัศน์กระแสหลักตามแนวความคิดและแนวทางปฏิบัติของประเทศตะวันตก นักอนาคตศึกษาที่ผ่าน มาเน้นการคาดการณแ์ ละพยากรณ์มากเกินไป และให้ความสำ� คัญกับเทคโนโลยีมาก จนละเลยความ ส�ำคญั ในวัฒนธรรมและปญั หาของสงั คมอื่น เปน็ ผลให้อนาคตศกึ ษากลายเป็นเคร่ืองมอื ของการครอบ ครองอาณานิคมในอนาคต ด้วยเหตุดังกลา่ ว อนาคตศกึ ษาจึงต้องเพมิ่ มุมมองพหวุ ฒั นธรรมและความ หลากหลายของสังคม เพื่อชว่ ยให้สงั คมเหลา่ นี้ก้าวพน้ จากสภาพอาณานคิ มทีห่ ลงเหลอื อยูไ่ ด้ อีกงานหน่ึงที่บุกเบิกความคิดพหุวัฒนธรรมในอนาคตศึกษาคืองานของโซเฮล อินายาตอลลา (Sohail Inayatullah) ซ่งึ เสนอให้ศกึ ษาและตคี วามอนาคตทางเลอื กของอารยธรรมโลก โดยใหค้ วาม ส�ำคัญมากข้ึนกับสังคมวัฒนธรรมในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากวัฒนธรรมตะวันตก สิ่งที่อนาคตศึกษา ตอ้ งการคน้ หาไม่ใช่ขอ้ เทจ็ จริงของอนาคต (future facts) แตค่ อื การตีความอนาคตข้นึ ใหมท่ ีค่ ำ� นงึ ถงึ วฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป รวมทง้ั วธิ กี ารและแนวทางทส่ี งั คมวฒั นธรรมอนื่ เชน่ จนี ญป่ี นุ่ อนิ เดยี และอาหรับ ใชใ้ นการรบั รูแ้ ละสร้างภาพอนาคตของตนเอง40 อีกโครงการหนึ่งที่ส�ำคัญคือโครงการศึกษาอนาคตเชิงวัฒนธรรมขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาตหิ รือยเู นสโก (UNESCO) ใน พ.ศ. 2533 นักวจิ ยั จาก หลายประเทศ ซง่ึ นำ� โดยอเี ลนอรา มาซนี ี (Eleanora Masini) วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวฒั นธรรม กับการเปลย่ี นแปลงทางสังคมของประเทศในแอฟริกา เอเชยี และอเมริกาใต้ แลว้ พฒั นาฉากทัศน์ของ อนาคตทางวัฒนธรรมทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค พร้อมด้วยข้อเสนอที่มุ่งสร้างความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศในดา้ นวฒั นธรรม ขอ้ สรปุ หนงึ่ จากงานดงั กลา่ วคอื วัฒนธรรมในพ้ืนที่ทั่วโลกมีแนวโน้ม เป็นพหุนิยมมากขึ้น จึงคาดการณ์ได้ว่า อนาคตทางวัฒนธรรมของโลกจึงมีความหลากหลายมากข้ึน ดังนัน้ การศกึ ษาอนาคตจึงตอ้ งปรับเปลีย่ นใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปน็ พหุนยิ มมากขึ้น41 นบั ตัง้ แตท่ ศวรรษที่ 1980 เปน็ ต้นมา แนวคดิ และวธิ ีการดา้ นอนาคตศึกษาเริ่มแพรห่ ลายมากข้ึน ในกลุ่มองคก์ รภาคประชาสังคมระดับโลก โดยเฉพาะในภูมิภาคและประเทศอืน่ ๆ นอกทวีปยุโรปและ อเมรกิ าเหนอื ตัวอยา่ งเช่น ในเม็กซโิ ก มกี ารกอ่ ต้งั มลู นธิ ฮิ าเวีย บารอส ซีเอรา (Fundación Javier Barros Sierra) ใน พ.ศ. 2518 เพื่อด�ำเนินกิจกรรมวิชาการและการส่งเสริมงานด้านอนาคตศึกษา ภายในประเทศ สมาพันธอ์ นาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) รว่ มกัยเู นสโก จดั การประชมุ ระดับโลกและระดบั ภูมภิ าคในหลายประเทศ พร้อมกบั จดั หลักสูตรและการอบรมเบ้อื ง ตน้ เกย่ี วกับอนาคตศึกษาในหลายประเทศต่าง รวมท้ังประเทศไทย กจิ กรรมดังกลา่ วยังคงด�ำเนินการ มาถึงปัจจุบัน ใน พ.ศ. 2555-2558 สมาพันธ์อนาคตศึกษาโลกร่วมมือกับแผนงาน Participation Programme ของยูเนสโก ในการจัดการสอนและฝึกอบรมความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานเกี่ยวกบั อนาคต ศึกษาให้กับกลุ่มสตรีและเยาวชนที่ถูกละเลยในประเทศก�ำลังพัฒนาหลายแห่ง โดยเน้นแนวคิดและ แนวทางการศกึ ษาอนาคตท่ีเน้นคนเป็นศูนย์กลางและความเปน็ พหุของภาพอนาคต ตามขอ้ เสนอของ นกั อนาคตศึกษาทเ่ี สนอไว้ในหนงั สอื Mankind 2000 ใน พ.ศ. 2512
อนาคตศกึ ษา | 40 อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแนวคิดพหุนิยมอาจได้รับความสนใจมากขึ้นในกลุ่มนักวิชาการด้านอนาคต ศึกษา แต่ในอีกมุมหน่ึง การยอมรับในวงการวิชาการอาจยังไม่ได้ถ่ายทอดออกมาเป็นงานวางแผน นโยบายสาธารณะที่สะท้อนมุมมองพหุนิยมอย่างแท้จริง ในงานเขียนท่ีวิเคราะห์วิวัฒนาการของ อนาคตศึกษาหรืออนาคตศาสตร์ นักสังคมวิทยาชาวเกาหลีช่ือ ฮยุนจู ซง (Hyeonju Son) แบ่งช่วง เวลาววิ ฒั นาการของอนาคตศกึ ษาในประเทศตะวนั ตกโดยเฉพาะในสหรฐั อเมรกิ าในชว่ งประมาณ 100 ปี ที่ผ่านมา ตามความคิดของซง วงการวิชาการด้านอนาคตศึกษาพัฒนามามากหลังจากท่ีสงครามเย็น ได้จบส้ินลงในทศวรรษที่ 1990 โดยมีความหลากหลายด้านแนวคิดและวิธีการมากข้ึน กระนั้นก็ตาม นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา แนวคิดอนาคตศึกษาแบบพหุนิยมกลับถูกแทนท่ีโดยกระบวน ทัศน์เสรีนิยมใหม่ (neoliberal) ท่ีครอบง�ำแนวคิดการพัฒนาท้ังในวงการวิชาการและวงการนโยบาย การพัฒนาท่ัวโลก ท�ำให้งานศึกษาอนาคตในช่วงต่อมาจ�ำนวนมากเป็นการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ ท่ีตอบโจทย์การพัฒนาทางเศรษฐกิจเสียเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่าอาจมีโครงการศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์ (critical futures studies) และการสร้างภาพอนาคตแบบมีส่วนร่วมอยู่บ้าง แต่โครงการอนาคต ศึกษาโดยมากยังคงมุ่งเน้นการใช้เคร่ืองมือในการคาดการณ์เพื่อตอบโจทย์เชิงปฏิบัติ มากกว่าโจทย์ ท่ีตั้งค�ำถามเก่ียวกับมนุษยชาติและศีลธรรมระดับโลก42
41 | อนาคตศกึ ษา อนาคตเชงิ การมสี ว่ นรว่ ม และขบั เคลอ่ื นสงั คม คลื่นความคิดต่อมาของอนาคตศึกษาคือแนวคิดการมีส่วนร่วมและการรณรงค์ขับเคล่ือนสังคม (participatory-advocacy) ซึ่งท�ำให้บทบาทและสาระของการศึกษาอนาคตไม่จ�ำกัดอยู่เพียงการ ศกึ ษาและสรา้ งภาพอนาคตโดยนกั อนาคตศาสตรท์ ไี่ ดร้ บั การอบรมและฝกึ ฝนในเชงิ ทฤษฎแี ละเทคนคิ เท่าน้ัน แต่ขยายขอบเขตเนื้อหาและเปิดกว้างกระบวนการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมใน การวิเคราะห์และสร้างภาพอนาคตด้วยกันมากขึ้น แนวคิดนี้เช่ือว่า กระบวนการมีส่วนร่วมในการ วเิ คราะหแ์ ละสรา้ งภาพอนาคตจะทำ� ใหภ้ าพอนาคตทพี่ ฒั นาขน้ึ มาตรงกบั ความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้ สว่ นเสยี มากข้ึน และจะท�ำให้สามารถนำ� ผลลัพธ์ของกระบวนการคาดการณไ์ ปดำ� เนนิ การต่อให้บรรลุ ประสิทธิผลได้ดียิง่ ขึ้นเชน่ กัน แนวคิดการมีส่วนร่วมในอนาคตศึกษาสะท้อนขบวนการทางสังคมที่แพร่ขยายในยุโรปตะวันตก และสหรฐั อเมรกิ าในทศวรรษท่ี 1960 และ 1970 ในช่วงนั้น วงการอนาคตศกึ ษาในยโุ รปให้ความ ส�ำคัญอย่างมากกับเรื่องสันติภาพของโลก ในขณะท่ีวงการวิชาการด้านสังคมศาสตร์ก็พยายามหลุด พ้นจากกระบวนทัศน์แบบปฏิฐานนิยมและเข้าสู่แนวคิดหลังสมัยใหม่ (post-modern) พร้อมกันนี้ งานศกึ ษาเกยี่ วกบั อนาคตในสหรฐั อเมรกิ าเรมิ่ เขา้ สกู่ ารเปลยี่ นผา่ นครงั้ ใหญเ่ ชน่ กนั โดยเกดิ ขน้ึ ในชว่ ง การเปลยี่ นผา่ นทางสงั คมและการเมอื งในสหรฐั อเมรกิ าทเ่ี ปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากการรณรงคเ์ รยี กรอ้ งสทิ ธิ พลเมือง (Civil Rights Movement) และการรณรงค์ต่อตา้ นสงครามเวียดนาม ขบวนการเรยี กรอ้ งสทิ ธพิ ลเมอื งในสหรฐั อเมรกิ ามตี น้ ตอมาจากปญั หาความขดั แยง้ ทางเชอื้ ชาตทิ ี่ เกิดจากแนวคดิ “แบง่ แยกแตเ่ ทา่ เทยี ม” (separate but equal) ของคนทีม่ ีสผี ิวแตกตา่ งกนั ในสังคม อเมริกนั ซ่ึงปฏิบตั เิ ร่ือยมาตลอดประวัตศิ าสตรข์ องประเทศ การรณรงคด์ ังกล่าวเชอื่ วา่ ความเหล่อื ม ล�้ำและความไม่เท่าเทียมกันของพลเมืองอเมริกันส่วนส�ำคัญมาจากการกีดกันคนผิวด�ำในแทบทุกด้าน ของการใช้ชวี ิตในสงั คม นบั ตั้งแต่การแบง่ แยกโรงเรยี น การใชห้ อ้ งน้ำ� การใช้รถโดยสารสาธารณะ ไป จนถึงการหา้ มคนผวิ ด�ำพักคา้ งคืนในเมอื ง การเลอื กปฏิบตั นิ ม้ี ีเรอื่ ยมาจนกระทงั่ ใน พ.ศ. 2498 หญงิ ผวิ ด�ำชื่อโรซา พาร์ค (Rosa Parks) ไดข้ ัดขนื นโยบายการแบ่งแยกสีผวิ ในรถประจำ� ทางดว้ ยการเข้าไป นั่งในบรเิ วณทกี่ ำ� หนดไวใ้ หเ้ ฉพาะคนผวิ ขาว เหตกุ ารณ์ดังกลา่ วกลายเป็นชนวนเหตสุ �ำคัญท่กี ่อให้เกดิ การตอ่ สู้เพื่อเรียกร้องสทิ ธพิ ลเมอื งที่เท่าเทยี มกนั ในสหรัฐอเมรกิ าในทศวรรษท่ี 1950–1980 การตอ่ สู้ ดังกลา่ วยงั คงมตี ่อเนอื่ งมาจนถงึ ปจั จุบัน
อนาคตศกึ ษา | 42 ในช่วงเวลาใกลเ้ คียงกันใน พ.ศ. 2498-2518 ได้เกดิ การรณรงคต์ อ่ ตา้ นสงครามเวยี ดนาม โดยท่ี นักศึกษา นักวชิ าการ และคนหนมุ่ สาวกลมุ่ ฮิปป้ี (hippie) จำ� นวนมากได้รวมกลมุ่ เดนิ ขบวนประทว้ ง รัฐบาลสหรฐั ฯ ทเ่ี ข้ารว่ มสงครามในคาบสมทุ รอนิ โดจีน จนกลายเปน็ ขบวนการทางสงั คมที่ยดื ยาวอยู่ หลายปี การรณรงค์ต่อต้านการท�ำสงครามของรัฐบาลท�ำให้เกิดการถกเถียงด้านแนวคิดและนโยบาย ในหลาย ด้านของรฐั บาลตลอดช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 และตน้ ทศวรรษที่ 1970 โดยเฉพาะอย่าง ย่งิ ในประเด็นว่า รัฐบาลจะเลิกสงครามได้อย่างไร การรณรงค์ต่อต้านสงครามเวยี ดนามแพร่ขยายตัว มากข้ึน และเพิม่ แนวรว่ มจากกล่มุ อน่ื ๆ อาทิ กล่มุ รณรงคเ์ รยี กรอ้ งสทิ ธพิ ลเมืองของกลุ่มชาวอเมรกิ นั เช้ือชาติแอฟริกนั กล่มุ รณรงคเ์ รียกรอ้ งสทิ ธิสตรี และกลมุ่ เรียกร้องสทิ ธิแรงงาน ในขณะเดยี วกนั วงการวชิ าการในมหาวทิ ยาลยั ทวั่ สหรฐั อเมรกิ าไดก้ ลายเปน็ แหลง่ บม่ เพาะแนวคดิ ทมี่ งุ่ วพิ ากษว์ จิ ารณน์ โยบายการทำ� สงครามและนโยบายอนื่ ของรฐั บาล นกั วชิ าการจำ� นวนมากนำ� เสนอ ทฤษฎีเชิงรากฐาน (radical theories) ท่วี พิ ากษ์แนวคิดและวธิ กี ารปฏบิ ัติที่มมี าแต่เดิมอยา่ งถอนราก ถอนโคน และนำ� เสนอแนวคดิ ทหี่ วงั วา่ จะนำ� พาสงั คมไปสสู่ นั ตภิ าพและความเปน็ ธรรมมากขนึ้ ในวงการ วชิ าการและวิจยั ในมหาวิทยาลัยเอง มีการต้ังคำ� ถามและขอ้ วพิ ากษเ์ ก่ียวกับบทบาทของมหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะการรับเงินทุนวิจัยจากรัฐบาลกลางในโครงการวิจัยและโครงการที่ปรึกษาท่ีพัฒนาความรู้ เพ่ือการท�ำสงคราม โดยเฉพาะท่ีเก่ียวข้องกับสงครามเย็น ส่วนในวงการวิชาการและวงการวางแผน นโยบายเพอ่ื การพฒั นาและการผงั เมอื ง นกั วชิ าการจำ� นวนหนง่ึ เรมิ่ ตง้ั ขอ้ สงสยั และปฏเิ สธแนวคดิ การ วางแผนแบบครอบคลุมตามหลกั เหตุผล (rationality) และตามแนวคดิ ปฏิฐานนิยม ซ่งึ เน้นเครือ่ งมอื วเิ คราะห์เชิงวทิ ยาศาสตร์ และเร่มิ หนั มาสนใจประเด็นด้านสทิ ธิพลเมือง ความเปน็ ธรรมในการพัฒนา และการมีสว่ นรว่ มของประชาชนมากขึ้น ท่ามกลางกระแสการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ของวงการสังคมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาในยุคดัง กล่าว กระบวนทัศน์ของอนาคตศึกษาในสหรัฐอเมริกาเร่ิมปรับห่างออกจากแนวคิดเชิงระบบและ ปฏฐิ านนยิ มตามแบบฉบบั ของแรนด์ คอรป์ อเรชนั ในความคดิ ของนกั อนาคตศกึ ษาทม่ี ชี อ่ื เสยี งคนหนงึ่ คือเวนเดล เบล (Wendell Bell) จุดเปลย่ี นส�ำคญั ของวงการอนาคตศึกษาในสหรัฐอเมริกาคอื การจัด ตั้งและตีพิมพ์ผลงานของคณะกรรมการว่าด้วยปี 2000 (Commission on the Year 2000) ซึ่งจัดต้ังโดยสถาบันศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา (American Academy of Arts and Sciences) ในพ.ศ. 2509 พนั ธกจิ หลักของคณะกรรมการชุดน้คี ือการวิเคราะห์และคาดการณ์ เหตกุ ารณ์ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ใน พ.ศ. 2543 โดยเน้นปญั หาดา้ นสงั คมของประเทศ พรอ้ มระบปุ ัญหาและขอ้ จ�ำกัดของวิธีคาดการณ์ท่ีใช้อยู่ในเวลาน้ัน สาเหตุส�ำคัญของการจัดต้ังคณะกรรมการชุดนี้คือ ปัญหา สังคมเศรษฐกิจและความขัดแย้งต่าง ๆ ในสังคมอเมริกันได้ปะทุข้ึนมาและแพร่ขยายไปท่ัวประเทศ แตไ่ มไ่ ดม้ กี ารเตรยี มพรอ้ มรบั มอื ความขดั แยง้ เหลา่ นม้ี ากอ่ น สถาบนั ศลิ ปศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรฯ์ จงึ เลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการคดิ วเิ คราะหแ์ ละคาดการณเ์ กย่ี วกบั ปจั จยั และเหตกุ ารณใ์ นอนาคต และ การเตรียมพรอ้ มเพือ่ รับมือกับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขนึ้ 43 รายงานฉบับหลักของคณะกรรมการชุดน้ีระบุว่า องค์ประกอบส�ำคัญท่ีจ�ำเป็นต้องพัฒนาข้ึนมา ส�ำหรบั สังคมอเมริกนั คอื ระบบและเครอ่ื งมอื คาดการณป์ ัญหาสงั คมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพ่ือเตรยี ม พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ รายงานดังกล่าวยังเสนอทางเลือกด้านนโยบายและ ด้านสถาบันส�ำหรับการคาดการณ์อนาคต คณะกรรมการชุดดังกล่าวตีพิมพ์บทวิเคราะห์จ�ำนวนกว่า
43 | อนาคตศกึ ษา 60 ฉบบั ซงึ่ มเี นอื้ หาเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและการเมอื ง อาทิ คา่ นยิ มและสทิ ธขิ องพลเมอื ง ความเหลื่อมล�้ำระหว่างคนจนกับคนรวย ความเหลื่อมล้�ำระหว่างประเทศยากจนกับประเทศร่�ำรวย บทบาทของวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยใี นสงั คม ผลกระทบของคอมพวิ เตอรต์ อ่ สงั คม รวมถงึ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีชีวภาพ44 หัวข้อการวิเคราะห์อนาคตในงานนี้เป็นเรื่องเก่ียวกับสังคม เศรษฐกิจและ พลเมอื งเป็นส่วนใหญ่ ซงึ่ แตกตา่ งอย่างส้นิ เชงิ จากงานอนาคตศึกษาและการคาดการณ์ด้านการทหาร ทม่ี มี ากอ่ นหนา้ นน้ั ในชว่ งตอ่ มา นกั อนาคตศกึ ษาจากแรนดแ์ ละคนอน่ื ทอี่ ยใู่ นสำ� นกั คดิ แบบแรนดก์ ไ็ ด้ ตพี มิ พง์ านเขยี นในทำ� นองเดยี วกนั ตัวอย่างงานเขียนที่กลายเป็นผลงานระดับคลาสสิกคือ หนังสือ ช่ือ The Year 2000: A Framework for Speculation on the Next Thirty-Three Years โดยเฮอรม์ นั คาน (Herman Kahn) และแอนโทนี วีนเนอร์ (Anthony Wiener) ผลงานของคณะกรรมการชุดดังกล่าวได้เปล่ียนวงการอนาคตศึกษาในสหรัฐอเมริกาอย่างมีนัย สำ� คญั นกั อนาคตศาสตรเ์ รมิ่ ความสำ� คญั กบั การมองอนาคตในดา้ นอนื่ ทไ่ี มใ่ ชก่ ารทหารมากขน้ึ อกี ทงั้ ยงั พฒั นาศาสตรด์ า้ นการศกึ ษาอนาคตอยา่ งจรงิ จงั โดยเรม่ิ ตพี มิ พห์ นงั สอื และบทความเกยี่ วกบั อนาคต ด้านเศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยีอยา่ งเป็นระบบ อาทิ หนังสือช่ือ The Coming of Post-In- dustrial Society: A Venture in Social Forecasting โดยแดเนียล เบล (Daniel Bell) ใน พ.ศ. 2516 ซึง่ คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงดา้ นเศรษฐกิจและสงั คมหลังจากท่ีประเทศไดเ้ ข้าสยู่ คุ หลัง อตุ สาหกรรมแลว้ อนาคตศึกษากบั อนาคตโลก กระบวนทัศนห์ ลักของอนาคตศกึ ษาในระดบั โลกปรับเปล่ยี นอีกครง้ั หนง่ึ ในช่วงทศวรรษที่ 1970 เมือ่ เริ่มมีการศึกษาและตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับอนาคตของระบบนิเวศและมนุษยชาติ เอกสารส�ำคัญท่ีถือ เปน็ หมดุ หมายหลกั ของการปรบั เปลยี่ นกระบวนทศั นใ์ นวงการอนาคตศกึ ษาคอื รายงานชอื่ The Limits to Growth หรือ “ขีดจ�ำกัดของการเติบโต” โดยกลมุ่ คลับออฟโรม (Club of Rome) ใน พ.ศ. 2515 กลุ่มคลบั ออฟโรมเป็นการรวมตัวกันของบคุ คลทีต่ า่ งเป็นหว่ งเกี่ยวกบั อนาคตของมนษุ ยชาติ จงึ รวมตวั กนั และกอ่ ตง้ั องคก์ รทมี่ งุ่ สง่ เสรมิ ความเขา้ ใจในความทา้ ทายระดบั โลกทมี่ ผี ลตอ่ มวลมนษุ ยชาติ และเพื่อเสนอแนวทางและวิธีแก้ไขปัญหาที่ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของการวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์ การ สื่อสารและการผลกั ดนั การเปลี่ยนแปลงเชงิ นโยบาย45 รายงาน The Limits to Growth ได้รบั ความ สนใจอย่างมากทัง้ ในวงการวชิ าการและวงการนโยบายการพัฒนาระดับโลก สำ� หรบั ในวงการอนาคต ศกึ ษา รายงานฉบบั ดงั กลา่ วถอื วา่ เปน็ การเปดิ ศกั ราชใหมข่ องการศกึ ษาอนาคตทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั สงิ่ แวดลอ้ มและนเิ วศวทิ ยา รวมถงึ ความตอ้ งการและคณุ คา่ ของความเปน็ มนษุ ย์ มากกวา่ การพฒั นาทเี่ นน้ ความเจรญิ ด้านวตั ถแุ ละการศึกษาด้วยวธิ กี ารเชิงวิทยาศาสตร์และเชิงเทคนิค46 แบบจำ� ลองทใี่ ชว้ เิ คราะหใ์ นงาน The Limits to Growth เปน็ แบบพลวตั ระบบ (system dynam- ics) ทรี่ เิ รม่ิ โดยเจย์ ฟอรเ์ รสเตอร์ (Jay Forrester) แหง่ สถาบนั เทคโนโลยแี มสซาชเู ซท (Massachusetts Institute of Technology) หรอื MIT ผลการจ�ำลองสถานการณด์ ้วยคอมพวิ เตอรไ์ ดข้ อ้ สรุปว่า ถ้าไม่ การเปล่ียนแปลงใด ๆ ในการใช้ทรัพยากรของมนุษย์ การเติบโตด้านประชากรและการผลิตจะ จบส้ินลงภายในเวลาหนึ่งศตวรรษ ข้อสมมติส�ำคัญของแบบจ�ำลองมาตรฐาน (starndard model)
อนาคตศกึ ษา | 44 ของงานวิเคราะหด์ ังกลา่ ว ไดแ้ ก่ (1) ไม่มกี ารเปลยี่ นแปลงด้านค่านิยมและพฤตกิ รรมของมนุษย์และ สงั คมโดยรวม (2) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม (3) ไมม่ ีสงคราม (4) ไมม่ ีการประท้วงหยุดงาน (5) ไม่มีก�ำแพงกดี กั้นการค้าเสรี ฯลฯ ดว้ ยข้อสมมติดังกลา่ ว จงึ เกดิ ข้อ วพิ ากษว์ จิ ารณว์ า่ การคาดการณข์ องรายงานดงั กลา่ วไมส่ ะทอ้ นความเปน็ จรงิ เนอื่ งจากเงอ่ื นไข ปจั จยั และข้อมูลท่ีใช้ไม่ครบถ้วนสมบรู ณ์ อย่างไรก็ตาม รายงานดังกล่าวระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ในความเป็นจริง ปัจจัยสมมติเหล่าน้ี อาจเปลี่ยนไปได้ การวิเคราะห์ในรายงานจึงใช้แบบจ�ำลองที่มีตัวแปรและค่าพารามิเตอร์ท่ีแสดง ถึงการเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งและเทคโนโลยีทห่ี ลากหลาย กระน้ันกต็ าม แบบ จ�ำลองท้ังหมดก็ยังแสดงผลลัพธ์ไปในทิศทางเดียวกันว่า ระบบโลกมีข้อจ�ำกัดด้านการเติบโต และ ทา้ ยสดุ จะเขา้ สสู่ ภาวะถดถอย แมว้ า่ อาจใชเ้ วลาตา่ งกนั ในฉากทัศน์ที่แตกต่างกัน รายงานดังกล่าวยัง เสนอว่า ระบบโลกอาจสามารถเข้าสู่ดุลยภาพและมีเสถียรภาพได้ ถ้าระบบต่าง ๆ สามารถบรรลุ ชุดเงื่อนไขหนึ่งได้ ดังน้ัน จากมุมมองด้านอนาคตศึกษา งาน The Limits to Growth จึงไม่ใช่ การคาดการณ์และระบุว่า ภาพใดจะเกิดข้ึนจริงในอนาคต ยกเว้นภาพเดียวคือการเติบโตอย่างไม่ ส้ินสุด แต่ภาพอนาคตอ่ืนลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ทางเลอื กที่ก�ำหนดได้ด้วยการกระทำ� ของมนษุ ย์ในปัจจบุ นั ขอ้ เสนอของรายงานฉบบั นไี้ ดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง กลมุ่ แนวคดิ ฝา่ ยซา้ ยเหน็ วา่ แนวคดิ สิ่งแวดล้อมนยิ ม (environmentalism) ในรายงานดงั กลา่ วเปน็ ความกังวลของชนชนั้ กลางท่ี ไม่ให้ความสนใจกับความยากจน และปัญหาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเป็นผลมาจากการใช้ ชวี ติ ของชนชน้ั กลางเหลา่ นนั้ นนั่ เอง สว่ นกลมุ่ แนวคดิ ฝา่ ยขวาวพิ ากษว์ า่ รายงานดงั กลา่ วไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ พฒั นาการด้านเทคโนโลยีทีส่ ามารถสร้างโอกาสในการหาทรัพยากรและวตั ถุดบิ ใหม่ ๆ ได้ รวมทัง้ ยงั ละเลยการทำ� งานของกลไกราคาทคี่ วบคมุ และกำ� กบั การผลติ ในตลาด รายงานฉบบั นยี้ งั ไดร้ บั คำ� วพิ ากษ์ วิจารณ์จากประเทศกำ� ลงั พัฒนาวา่ แนวคดิ ท่ีเสนอในรายงานพยายามปิดกัน้ โอกาสในการพฒั นาของ ประเทศทมี่ าทหี ลงั นโยบายและมาตรการทเ่ี สนอไวใ้ นรายงานจะทำ� ใหต้ น้ ทนุ การผลติ และการพฒั นา ของประเทศกำ� ลงั พฒั นาสงู มากขน้ึ แมว้ า่ รายงานฉบบั ดงั กลา่ วไดเ้ ผยแพรม่ าหลายสบิ ปแี ลว้ กต็ าม ขอ้ วพิ ากษเ์ หลา่ นยี้ งั คงไดย้ นิ อยใู่ นวงการนโยบายการพฒั นาในปจั จบุ นั โดยเฉพาะในการถกเถยี งกนั เรอ่ื ง การพัฒนาทย่ี ่งั ยืน แมว้ ่าเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals – SDGs) ได้ขยายขอบเขตของคำ� ว่าการพฒั นาท่ีย่งั ยืนไปมากกวา่ ประเดน็ ด้านสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งเดียวแล้วก็ตาม ไมว่ า่ ผลลพั ธจ์ ากการวเิ คราะหภ์ าพอนาคตในรายงานดงั กลา่ วจะไดร้ บั การยอมรบั มากนอ้ ยเทา่ ใด กต็ าม แตจ่ ากมมุ มองดา้ นพฒั นาการของอนาคตศกึ ษา รายงานนถ้ี อื วา่ ไดจ้ ดุ ประกายใหก้ บั นกั วชิ าการ และนักนโยบายทวั่ โลกทีม่ ุ่งความสนใจไปที่การวเิ คราะหอ์ นาคตมากขนึ้ กิจกรรมของคลับออฟโรมได้ ผลักดันแนวคิดส�ำคัญของอนาคตศึกษาที่ให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการและความเป็นสหสาขาของ การท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคต รวมถึงการใช้วิธีการวิเคราะห์อนาคตด้วยการจ�ำลองสถานการณ์ และการใชแ้ บบจำ� ลอง รายงานดังกลา่ วยังสร้างรากฐานเชิงวิชาการให้กบั การรณรงคด์ า้ นสิ่งแวดลอ้ ม และกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวเพอื่ สงั คม โดยเฉพาะในการตง้ั กรอบของปญั หาในระดบั โลก งานชนิ้ นก้ี ลาย เปน็ เอกสารอา้ งองิ พ้นื ฐานของการวิจยั ดา้ นสงิ่ แวดล้อม การเปลยี่ นสภาพภูมอิ ากาศ และการพัฒนาที่ ย่ังยนื ในยุคตอ่ มาจนถึงปจั จบุ ัน47
45 | อนาคตศกึ ษา อนาคตเชงิ บรู ณาการ และขา้ มศาสตร์ แนวคิดหนง่ึ ท่ีได้รับความสนใจมากข้ึนวงการอนาคตศกึ ษาในช่วงประมาณ 10 กวา่ ปีทผ่ี า่ นมาคอื การ ศกึ ษาอนาคตเชงิ บรู ณาการขา้ มศาสตร์ (Integral-transdisciplinary futures) ซง่ึ มงุ่ บรู ณาการแนวคดิ และแนวทางทหี่ ลากหลายเขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ ใหก้ ารวเิ คราะหอ์ นาคตมมี มุ มองทกี่ วา้ งและระยะยาวมากขนึ้ แนวคิดน้ีตัง้ อย่บู นความเชื่อท่วี ่า ความคดิ ของมนษุ ยไ์ ม่มที างผดิ เสมอไปและตลอดไป นน่ั หมายความ ว่า ในการเลือกแนวทางหรือวิธีการรับรู้และเรียนรู้อะไรบางอย่างนั้น ทุกด้าน ทุกวิถีทางและทุกวิธี การล้วนมีส่วนที่ถูกต้องด้วยกันท้ังสิ้น การศึกษาวิจัยในแต่ละศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ สงั คมศาสตรห์ รอื มนษุ ยศาสตร์ ตา่ งกส็ รา้ งความรทู้ เี่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการตอบคำ� ถามสำ� คญั และสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีมนุษย์ต้องการค�ำตอบ ความพยายามคาดการณด์ ว้ ยแนวคดิ จากหลายมมุ มองดว้ ยวธิ กี ารเชงิ บรู ณาการนน้ั สามารถยอ้ น กลบั ไปที่งานเขยี นของเอริก ยานส์ (Erich Jantsch) นกั ฟิสกิ สช์ าวออสเตรยี อเมรกิ นั ทีเ่ สนอแนวคิด การคาดการณเ์ ชงิ บรู ณาการ (integrative forecasting) ใน พ.ศ. 2509 แนวคดิ ดังกล่าวเสนอใหม้ ี การผสมผสานมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเมือง จิตวิทยาและมานุษยวิทยาในการ วางแผนและการตัดสินใจเชิงนโยบาย ต่อมา นักอนาคตศาสตร์ที่ศูนย์การศึกษาเชิงบูรณาการ (Center for Integrative Studies) ท่มี หาวทิ ยาลยั แหง่ มลรฐั นวิ ยอรก์ (State University of New York) ได้พฒั นากรอบแนวคดิ และแนวทางในการบรู ณาการแนวโน้มระดบั โลก การเปลย่ี นแปลงความ คดิ ครั้งใหญ่ในช่วงเวลาระหวา่ งรนุ่ อายุ รวมไปถึงผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคมและวฒั นธรรมใน ปจั จุบนั ในการมองภาพอนาคตระยะยาว ตามแนวคิดของริชาร์ด สลอเทอร์ (Richard Slaughter) กรอบแนวคิดเชิงบูรณาการในการ ศึกษาอนาคตยอมรับในความซับซ้อนของระบบ บริบท และความเช่ือมโยงระหว่างความตระหนักรู้ (awareness) และความเป็นจริง (reality) แนวคิดนี้มุ่งผสมผสานมุมมองด้านการพัฒนาท่ียอมรับ ในระดับและรูปแบบที่แตกต่างกันของแต่ละปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวมในการเข้าถึงการรับรู้ หรือสติ (consciousness) แนวคิดนี้เป็นไปในทิศทางเดียวกับทฤษฎีบูรณาการของเคน วิลเบอร์ (Ken Wilber) ซึง่ เสนอว่า ความรแู้ ละประสบการณข์ องมนษุ ย์ทัง้ หมดสามารถจำ� แนกไดใ้ นตาราง 4 ช่อง (four-quadrant grid) ตามแกน “ข้างใน-ขา้ งนอก” (interior-exterior) และ “ปจั เจกบุคคล-
อนาคตศกึ ษา | 46 ส่วนรวม” (individual-collective) ทฤษฎีน้พี ยายามอธิบายว่าศาสตร์และสาขาวิชาต่าง ๆ รวมถึง ความรู้และประสบการณ์ทุกรูปแบบสามารถบูรณาการเข้าด้วยกันได้อยา่ งไร การศกึ ษาอนาคตแนวบรู ณาการไมจ่ ำ� กดั อยเู่ พยี งวธิ กี ารและเครอ่ื งมอื การวจิ ยั แบบเดมิ นกั อนาคต ศาสตรบ์ างคน เชน่ มายา แวน ลีมพทุ (Maya Van Leemput) ทดลองใช้ส่ืออื่น ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิดีโอและศิลปะ ในการศึกษาและส่ือสารเกี่ยวกับภาพอนาคต ในขณะท่ีนักอนาคตศาสตร์อีกหลาย คนได้ทดลองใช้แนวคิดอนาคตศึกษากับเกม ทฤษฎีการออกแบบ และประสบการณ์แบบด่ืมด่�ำ (immersive experience) ในการสร้างภาพและประสบการณเ์ กยี่ วกบั อนาคต แนวคดิ อนาคตศกึ ษาเชงิ บรู ณาการตง้ั อยบู่ นทฤษฎที ย่ี อมรบั ในความซบั ซอ้ นของระบบและความ ส�ำคัญของการขา้ มศาสตรส์ าขา จึงถือวา่ เป็นแนวทางศกึ ษาอนาคตทีเ่ ปดิ กว้างทีส่ ุดและมศี ักยภาพใน การสร้างอนาคตที่พึงประสงค์ในระดับโลกได้ แต่ในขณะเดียวกัน ด้วยความกว้างของแนวคิดนี้เอง ท�ำให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์จากนักวิชาการหลายกลุ่มว่า ความพยายามที่จะท�ำให้มุมมองการศึกษา อนาคตกว้างข้ึน กลับท�ำให้การศึกษาอนาคตไม่ลึกพอ อีกท้ังข้อสมมติของแนวคิดและวิธีการศึกษา ของงานเชิงบูรณาการมักขัดแย้งกัน เน่ืองด้วยปรัชญาพื้นฐานที่แตกต่างกัน เนื่องจากแนวคิดการ ศกึ ษาอนาคตเชงิ บรู ณาการยงั ถอื วา่ คอ่ นขา้ งใหมใ่ นอนาคตศาสตร์ จงึ คาดไดว้ า่ ขอ้ โตแ้ ยง้ ในเชงิ ปรชั ญา แนวคดิ และวิธีการจะยังคงมตี อ่ ไป
47 | อนาคตศกึ ษา ทศวรรษลา่ สดุ ของ อนาคตศกึ ษา นอกเหนือจากการใช้แนวคิดเชิงบูรณาการในการวิเคราะห์ภาพอนาคต ในช่วงประมาณ 10 ปีท่ีผ่าน มา วงการอนาคตศึกษามีวิวัฒนาการไปบ้างตามการเปล่ียนแปลงของบริบทโลกด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สง่ิ แวดลอ้ มและการเมอื ง คำ� ศพั ทท์ ใ่ี ชเ้ รยี กอนาคตศกึ ษามเี พมิ่ มากขนึ้ ในหลายกรณใี ชส้ ลบั กันไปมา โดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม อาทิ การประเมินเทคโนโลยี (technology assessment) การคาดการณ์เทคโนโลยี (technology foresight) การพยากรณ์ เทคโนโลยี (technology forecasting) รวมไปถึงการวางแผนระยะยาว (long-range planning) การเปลย่ี นแปลงสำ� คญั เกดิ ขน้ึ ในประเทศทเ่ี ปน็ ผนู้ ำ� ของโลกในดา้ นการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ เอสิ จาน ซารทิ าส (Ozcan Saritas) และเดอรกิ อามิน (Derrick Anim) ไดว้ ิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลง ของวงการอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เพื่อวางแผนนโยบายในประเทศผู้น�ำด้านอนาคตศึกษา 5 แหง่ คือฟินแลนด์ สหราชอาณาจกั ร เยอรมนี ญป่ี ุน่ และรสั เซยี ในช่วง 10 ปีระหวา่ ง พ.ศ. 2550-2560 โดยใชเ้ กณฑก์ ารวเิ คราะห์ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) สภาพบรบิ ทของการคาดการณ์ (2) ขอบเขตการคาดการณ์ (3) ความสม�่ำเสมอในการใช้เครื่องมือคาดการณใ์ นการพัฒนานโยบาย (4) กลไกทางการเงิน (5) ระดบั การมีสว่ นร่วม และ (6) การใชผ้ ลลัพธแ์ ละการนำ� ไปปฏิบัต4ิ 8 ทั้งน้ี บรบิ ทเนื้อหาและกระบวนการของ กิจกรรมการคาดการณ์ใน 5 ประเทศข้างต้นเปล่ยี นไปดงั นี้ ประการแรก กจิ กรรมการคาดการณ์เชิงยทุ ธศาสตรใ์ น 5 ประเทศกรณีศึกษาได้ปรบั เปลยี่ นจาก โครงการขนาดใหญร่ ะดับประเทศเป็นโครงการที่มีขอบเขตเน้ือหาแคบลง โดยเนน้ หัวขอ้ หรอื ประเด็น เฉพาะเจาะจงมากขึ้น อาทิ ความท้าทายใหญ่เรื่องใดเร่ืองหนึ่ง สาขาใดสาขาหน่ึงหรือเทคโนโลยีใด เทคโนโลยีหน่ึง ประการที่สอง กิจกรรมการคาดการณ์ขยายขอบเขตของการมีส่วนร่วมมากขึ้น โดย เปิดให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เช่ียวชาญท่ีหลากหลายเข้ามาร่วมกระบวนการมากขึ้น แรงขับ เคลอ่ื นสำ� คญั ของแนวโนม้ นคี้ อื ความพยายามสรา้ งกระบวนการและสภาพแวดลอ้ มทจ่ี ะทำ� ใหก้ ารศกึ ษา และคาดการณอ์ นาคตสามารถสรา้ งผลลัพธ์ทีน่ �ำไปส่กู ารปฏิบตั ิใช้จรงิ ประการท่สี าม การประยกุ ตใ์ ช้ เทคโนโลยใี หมท่ ำ� ใหก้ ระบวนการคาดการณส์ นั้ ลงมาก เครอ่ื งมอื ใหม่ ๆ ทำ� ใหส้ ามารถเกบ็ รวบรวมและ ประมวลผลข้อมลู การสอบถามความเห็น และการเผยแพรผ่ ลลัพธ์ โดยเฉพาะในเวทหี รือแพลตฟอรม์ (platform) บนอนิ เทอร์เน็ต ไดง้ า่ ยและรวดเรว็ มากขึน้
อนาคตศึกษา | 48 การเปลย่ี นแปลงทช่ี ดั เจนทสี่ ดุ ในวงการอนาคตศกึ ษาในชว่ งหนง่ึ ทศวรรษทผ่ี า่ นมาคอื วธิ กี ารคาด การณเ์ พอ่ื นโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมไดพ้ ฒั นาขน้ึ มาก เนอ่ื งจากความกา้ วหนา้ ของ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ หน่วยงานด้านนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้ใช้วิธีการคาดการณ์ที่ซับซ้อนและหลากหลายมากข้ึน ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่มี จ�ำนวนมาก นอกจากน้ี ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศยังท�ำให้การท�ำเหมืองข้อมูล (text mining) และการแบ่งกลุ่มข้อมูลเพื่อการกวาดสัญญาณเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศท่ีทันสมัย โดยเฉพาะแพลตฟอร์มบนพ้ืนที่ออนไลน์ ท�ำให้เกิดการคาดการณ์ร่วมกันของ คนจ�ำนวนมากและหลากหลาย ตามท่ีเรียกกันว่าเป็นการคาดการณ์แบบเครือข่าย (networked foresight) การคาดการณแ์ บบประสบการณ์ (experiential foresight) การคาดการณร์ ุน่ ที่ 5 (5th generation foresight) และการคาดการณ์ 2.0 (Foresight 2.0)49 กลุ่มนักอนาคตศาสตร์ในช่วง หลังเร่ิมให้ความสนใจกับการใช้ประโยชน์จากปัญญาร่วม (collective intelligence หรือ intelligence of the crowd) ส�ำหรบั การตั้งโจทยแ์ ละการดำ� เนนิ งานวจิ ยั ระยะยาว การใช้เครือ่ งมอื ด้านสารสนเทศสำ� หรบั การคาดการณ์ การใช้การออกแบบและแสดงภาพ (visualization) ของเรอ่ื ง ราวท่ีแต่งข้ึน (fiction) ในการใช้เกมจ�ำลองสถานการณ์ (gamification) รวมไปถึงการประยุกต์ใช้ การคาดการณ์เชิงประสบการณ์เป็นเครื่องมือแบบใหม่ในการสร้างความรู้และเผยแพร่ผลลัพธ์สู่กลุ่ม เป้าหมายและสู่สาธารณะ ความสนใจในวิธกี ารและเครอื่ งมอื คาดการณท์ ่ีเปดิ กว้างมากขนึ้ น้ี สะทอ้ นแนวคดิ ใหมท่ ีก่ �ำลงั ได้ รบั ความสนใจมากขน้ึ ในวงการวชิ าการระดบั โลก คอื วทิ ยาศาสตรเ์ ปดิ (open science) วทิ ยาศาสตร์ เครอื ขา่ ย (networked science) วทิ ยาศาสตรภ์ าคพลเมอื ง (citizen science) รวมถงึ การคาดการณ์ แบบเปิด (open foresight) แนวคิดเหล่านี้มีสาระหลักอยู่ท่ีการเปิดกว้างกระบวนการศึกษาด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละการคาดการณใ์ หก้ บั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และประชาชนทวั่ ไปมากขนึ้ กวา่ ในอดตี ความ ท้าทายหลักของกระบวนการคาดการณ์แนวนี้คือการเปิดให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องสามารถเข้าร่วมได้มากท่ีสุด ภายใตข้ อ้ จ�ำกดั ดา้ นทรัพยากรและเง่ือนไขดา้ นเทคโนโลยี ท้ังนี้ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดเสียงเรียกร้องให้กระบวนการ คาดการณ์เปิดกว้างมากข้ึน ท้ังในการวางแผนนโยบายสาธารณะและการคาดการณ์ส�ำหรับธุรกิจ (corporate foresight) การเปิดกว้างของกระบวนการคาดการณ์ส่ือถึงการเปล่ียนแปลงแนวคิดพ้ืน ฐานเกยี่ วกบั การสรา้ งความรู้ กลา่ วคอื ในอดตี การคาดการณเ์ ปน็ เรอ่ื งเฉพาะของผเู้ ชยี่ วชาญและจำ� กดั เฉพาะสาขาวิชาและวิชาชีพหนง่ึ แต่ในปจั จุบัน การสรา้ งความร้ใู นทุกด้านเรม่ิ เปดิ กวา้ งให้ประชาชน ทว่ั ไปเข้ามามีส่วนรว่ ม และมีความเป็นสหสาขาและสหวชิ าชพี มากข้นึ กว่าเดิม การพัฒนาเทคโนโลยีเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้เครื่องมือคาดการณ์มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย เฉพาะเทคโนโลยีในการจดั เกบ็ และรวบรวมขอ้ มูล การเก็บส�ำรอง การจัดระเบียบ การประมวลและ อ่านผล และการแสดงผลและเผยแพร่ พร้อมกันนี้ประเภทข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์และผลลัพธ์ในการ คาดการณ์มีความหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณและคุณภาพของข้อมูล จากเครอ่ื งมือทีเ่ คยใชม้ าในอดตี ตัวอย่างเชน่ การสำ� รวจเดลฟายเป็นวธิ ีการหลกั ในการศึกษาอนาคต
49 | อนาคตศกึ ษา ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมในหลายประเทศ เชน่ ญปี่ ุน่ วธิ ีการดังกลา่ วเน้นขอ้ มลู ด้าน อุปทานเป็นหลัก และคำ� นึงถงึ ปจั จยั ดา้ นอุปสงค์น้อยมาก ขอ้ วพิ ากษด์ ังกลา่ วท�ำให้เกิดความพยายาม ในการประยุกต์ใช้เทคนิควิธีในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เก่ียวข้องด้านอื่น และในประเด็นท่ีหลาก หลายขึน้ กว่าเดิม โดยใชเ้ คร่ืองมือสารสนเทศท่ีทนั สมยั และหลากหลายมากขึน้ อกี แนวโนม้ หนงึ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในวงการอนาคตศกึ ษาในชว่ ง 10 ปที ผ่ี า่ นมาคอื กจิ กรรมการคาดการณ์ ระดบั ชาติ โดยเฉพาะในการก�ำหนดยทุ ธศาสตร์ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มคี วามซบั ซอ้ นมาก ข้ึน ท้ังในด้านขอบเขตเนื้อหาและระบบและกระบวนการ หลายประเทศด�ำเนินกระบวนการ คาดการณ์ขนาดย่อม (mini-foresight) ซ่ึงเน้นการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการระยะส้ันท่ีมุ่งสร้าง ฉากทศั น์ วตั ถุประสงค์หนง่ึ คอื เพอื่ กระตุ้นการเรยี นรูแ้ ละความตระหนักถึงพลวัตและความสำ� คญั ของ การคาดการณ์ และเพอ่ื สรา้ งความมนั่ ใจใหก้ บั ผมู้ ีอำ� นาจตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การใชแ้ นวคดิ และเครอ่ื งมอื คาดการณใ์ นการวางแผนนโยบาย แตผ่ ลลพั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ คอื กจิ กรรมการคาดการณร์ ะดบั ประเทศมคี วาม ซบั ซอ้ นมากขน้ึ และมวี ตั ถปุ ระสงคท์ หี่ ลากหลายและมากเกนิ ไป อกี ทง้ั ทำ� ใหเ้ กดิ ความคาดหวงั มาจาก กระบวนการคาดการณท์ จี่ ัดไป จนทำ� ใหร้ ะบบการคาดการณ์ระดบั ประเทศตอ้ งล้มไป ดังในกรณีของ ประเทศองั กฤษและเยอรมน5ี 0 ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว จงึ เกิดแนวคิดการคาดการณ์เชิงพลวตั และปรับตวั ได้ (dynamic and adaptive foresight) เพื่อรบั มือกับความซับซ้อนท่ีเพ่มิ มากขึ้น รวมถงึ บริบทและ เงอื่ นไขทเ่ี ปลย่ี นไปอยา่ งรวดเรว็ อกี ทง้ั เพอ่ื สรา้ งทางเลอื กเตรยี มเผอื่ ไวต้ ามเหตกุ ารณแ์ ละเงอื่ นไขทคี่ าด ว่าจะเกิดข้นึ ในฉากทศั นอ์ นาคต51 อนาคตศกึ ษาในทศวรรษหน้า ในชว่ งสองสามทศวรรษทผ่ี า่ นมา แนวคดิ และกจิ กรรมการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรส์ ำ� หรบั การวางแผน นโยบายไดแ้ พรข่ ยายไปทวั่ โลก รฐั บาลระดบั ประเทศและระดบั ทอ้ งถน่ิ รวมถงึ บรษิ ทั และองคก์ รจำ� นวน มากไดป้ ระยกุ ตใ์ ชเ้ ครอื่ งมอื คาดการณม์ ากขนึ้ แนวโนม้ สำ� คญั ทนี่ า่ จะสบื เนอื่ งตอ่ ไปในอนาคตคอื เครอื่ ง มือคาดการณ์จะมีความละเอียดและซับซ้อนมากขึ้น ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น และการมีส่วน รว่ มจะเปิดกว้างและหลากหลายมากขนึ้ แนวโน้มใหญข่ องโลกในด้านต่าง ๆ ท�ำใหก้ ารคาดการณร์ ะยะยาวยิง่ สำ� คัญมากข้ึน แนวคิดและ วิธีการคาดการณ์ต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทเหล่าน้ีเช่นกัน แนวคิดการคาดการณ์แบบพลวัตและ ปรับตัวได้เป็นข้อเสนอหนึ่งในการปรับเปล่ียนแนวทางการคาดการณ์ โดยใช้แนวคิดแบบฉากทัศน์ แต่เพิ่มกรอบเวลาให้หลากหลาย ทั้งระยะส้ัน ระยะกลางและระยะยาว รวมถึงเส้นทางไปสู่อนาคต (future pathways) ที่หลากหลาย เพื่อบรรลุภาพอนาคตท่ีพึงประสงค์และหลีกเล่ียงภาพอนาคตท่ี ไม่พึงประสงค์ วธิ กี ารคาดการณอ์ นาคตทีต่ อบรับกบั เง่ือนไขของพลวตั การเปลย่ี นแปลงที่รวดเรว็ และ ปจั จัยไมแ่ น่นอนต่างจึงต้องรกั ษาความสมดลุ ระหว่างภาพอนาคตระยะยาวกบั ภาพอนาคตระยะส้ัน นอกเหนือจากด้านเครื่องมือ การคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ยังปรับเปลี่ยนจากกิจกรรมที่มุ่งเน้น เฉพาะด้านเทคโนโลยีไปเป็นกิจกรรมที่มีขอบเขตเนื้อหากว้างมากข้ึน โดยมุ่งเน้นเร่ืองสังคมและส่ิง แวดล้อมมากขึน้ คาดว่า กจิ กรรมดา้ นการคาดการณ์ในอนาคตอกี 10 ปีข้างหนา้ จะให้ความสำ� คญั
อนาคตศึกษา | 50 กบั เนอื้ หาและแนวทางการศกึ ษาทเ่ี นน้ การขา้ มสาขา (trans-disciplinary) และอาจไปไกลถงึ การตา้ น สาขา (anti-disciplinary) ซง่ึ หมายถงึ การศกึ ษาทไ่ี มไ่ ดอ้ ยใู่ นขอบเขตของสาขาวชิ าและวชิ าชพี เดมิ แต่ เปน็ เรอื่ งทตี่ อ้ งใชค้ ำ� นยิ ามใหม่ กรอบแนวคดิ ใหม่ และวธิ กี ารใหมไ่ ปพรอ้ มกนั การศกึ ษาอนาคตในภาย ภาคหนา้ จึงเปดิ โอกาสใหส้ าขาวิชาใหม่ ๆ และนักวิจัยและนกั คาดการณ์ในระดับตา่ ง ๆ สามารถเขา้ มาร่วมในกระบวนการไดม้ ากข้นึ ปจั จยั ทคี่ าดวา่ นา่ จะมผี ลกระทบมากทส่ี ดุ ตอ่ วงการอนาคตศกึ ษาในอนาคตอนั ใกลค้ อื เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลมหาศาลหรือบิ๊กดาตา้ (big data)52 ดว้ ยเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั นกั อนาคตศาสตร์สามารถเกบ็ รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลจ�ำนวนมากได้ทนั ที (real-time) อกี ท้ังแหล่ง ขอ้ มลู จะหลากหลายมากขนึ้ กวา่ แหลง่ ขอ้ มลู แบบขอ้ ความ (textual data) ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั โดยจะ สามารถใช้ไดท้ ้ังขอ้ มลู ภาพ (visual data) และขอ้ มลู ท่ีรับรู้จากประสาทสมั ผสั (sensory data) จาก เคร่อื งมือท่ีตรวจจบั และตอบสนองสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ ในสภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ นอกจากน้ี ขดี ความ สามารถของคอมพวิ เตอรท์ เี่ พมิ่ ขน้ึ รวมถงึ การพฒั นาเทคโนโลยคี ลาวดค์ อมพวิ ตงิ้ (cloud computing) เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (blockchain) และปญั ญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) นา่ จะเพมิ่ ศกั ยภาพ ในการสร้างการมสี ่วนรว่ ม ความโปรง่ ใส และประสิทธิภาพในกระบวนการคาดการณใ์ นอนาคต การพัฒนาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและสารสนเทศท�ำให้การคาดการณ์มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะในกระบวนการกวาดสัญญาณ ซึ่งตอ้ งค้นหาและท�ำเหมืองข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลจากพ้นื ที่ บนโลกออนไลน์ เพื่อวิเคราะห์หาแนวโน้มและสัญญาณท่ีส�ำคัญ วิธีการหลักที่ใช้อยู่ทั่วไปคือการดูด กวาดข้อมูลจากเว็บไซต์ (web scraping) แล้วใช้วิธีการทางสถิติศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดย เสรมิ ดว้ ยการประเมนิ ดว้ ยวจิ ารณญาณของผเู้ ชย่ี วชาญ อยา่ งไรกต็ าม แนวทางนม้ี กั ประสบปญั หาหลาย ประการ เชน่ การสญู เสยี ขอ้ มลู ความทนทานตอ่ การเสยี หาย (fault tolerance) อยใู่ นระดบั ตำ่� กลา่ ว คือ เม่ือองค์ประกอบภายในบางอย่างเสียหาย ระบบปฏบิ ตั ิงานมักไม่สามารถทำ� งานต่อไปได้ มีความ ลา่ ชา้ (latency) สูง มีความเอนเอยี งตามความเหน็ ของผวู้ ิเคราะห์ และความสามารถในการทำ� นาย (predictive power) ไมส่ งู มาก เปน็ ตน้ ระบบการกวาดสญั ญาณในหลายองคก์ รจงึ พยายามพฒั นา และประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์เพอ่ื ลดข้อจำ� กัดในกระบวนกวาดสญั ญาณ อาทิ Machine Learning, Computer Vision และ Natural Lanaguage Processing การใชป้ ัญญาประดษิ ฐ์จงึ นา่ จะเป็นหัวใจสำ� คญั ของระบบคาดการณ์ในอนาคต
51 | อนาคตศึกษา เครือข่ายด้าน อนาคตศึกษา ตวั ชว้ี ดั หนงึ่ ของการพฒั นาของศาสตรใ์ ดศาสตรห์ นงึ่ คอื ขนาดเครอื ขา่ ยนกั วชิ าการและผเู้ ชย่ี วชาญ รวม ถึงการรวมกลุ่มและการจัดตั้งองค์กรของผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ในช่วงต้ังแต่ทศวรรษที่ 1950 เป็นต้นมา นักวิชาการด้านอนาคตศึกษาได้ร่วมก่อตั้งสมาคมวิชาการและสมาคมวิชาชีพในหลาย ประเทศท่วั โลก อาทิ Association Internationale Futuribles ในฝรง่ั เศส Canadian Association for Futures Studies ในแคนาดา Instituto Neuvas Alternatives, SA ในเมก็ ซโิ ก Teihard Center for the Future of Man ในอังกฤษ Finnish Society for Futures Studies ในฟินแลนด์ World Future Society ในสหรฐั อเมรกิ า ในทวีปเอเชียเอง มี Japan Society of Futurology ในญป่ี ุ่น และ Tamkang University ในไต้หวัน ในระดับโลก สมาพันธ์อนาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) ซ่ึงถือว่า เป็นองคก์ รส�ำคญั ของวงการวิชาการและวิชาชพี นี้ ไดก้ ่อต้งั ข้ึนในการประชมุ วชิ าการ International Futures Research Conference) ทก่ี รุงปารสี ใน พ.ศ. 2516 โดยองค์การยเู นสโกเปน็ ผู้สนับสนนุ ด้านการเงนิ ในการจดั งานของสมาพนั ธจ์ นถงึ ประมาณปลายทศวรรษที่ 1990 และยงั คงเปน็ พนั ธมติ ร สำ� คญั ของสมาพนั ธเ์ รอื่ ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ในดา้ นวชิ าชพี สมาคมนกั อนาคตศกึ ษาอาชพี (Association of Professional Futurists) กอ่ ต้ังขนึ้ ใน พ.ศ. 2545 โดยใน พ.ศ. 2563 มสี มาชิกอยกู่ วา่ 500 คนใน 40 ประเทศท่ัวโลก53 องค์กรระหว่างประเทศและองค์กรการกุศลหลายแห่งให้ความสนใจในการสร้างเครือข่ายของ นักอนาคตศึกษา องค์กรท่ีสนับสนุนการพัฒนาอนาคตศึกษาเรื่อยมาคือองค์การยูเนสโก ซ่ึงนอกจาก สนบั สนนุ งานศกึ ษาและวิจยั การเผยแพรส่ ง่ิ ตพี มิ พ์ และการจดั งานวิชาการเกีย่ วกบั อนาคตศึกษาแลว้ ยงั ดำ� เนนิ โครงการสง่ เสรมิ การเผยแพรค่ วามรพู้ น้ื ฐานดา้ นอนาคตศกึ ษาทเี่ รยี กวา่ futures literacy ใน ประเทศสมาชกิ ขององคก์ ารยเู นสโกอีกด้วย องค์ประกอบส�ำคัญของการสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการและวิชาชีพคือการประชุม และสมั มนา นบั ต้ังแต่การประชุมการวิจยั อนาคตระหว่างประเทศคร้งั แรก (The First International Future Research Conference) ท่กี รงุ ออสโล นอรเ์ วย์ใน พ.ศ. 2510 มีการจดั งานประชุมดงั กล่าว สืบเนื่องมาต่อจากนั้นในหลายประเทศท่ัวโลก นอกจากนี้ ยังมีการประชุมของนักอนาคตศึกษาอีก กลุ่มหน่ึงคือการประชุมระดับโลกว่าด้วยอนาคต (Global Conference on the Future) ท่ีเมือง โตรอนโต ใน พ.ศ. 2523 ซึ่งมผี รู้ ่วมงานกว่า 5,000 คนจากกวา่ 30 ประเทศ54 นอกจากนย้ี ังมีการ
อนาคตศึกษา | 52 ประชมุ เฉพาะเรือ่ งและระดับภูมิภาคท่จี ัดโดยสมาคมอนาคตโลก (World Future Society) และสมา พันธอ์ นาคตศกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation - WFSF) การจดั ประชมุ ระดบั โลก (World Conference) ของ WFSF คร้ังล่าสุดคือคร้งั ท่ี 22 โดยจัดทปี่ ระเทศนอรเ์ วย์ เมื่อ พ.ศ. 2560 ทผ่ี า่ นมา ในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ กม็ กี ารรวมกลมุ่ ของนกั อนาคตศกึ ษา เชน่ เครอื ขา่ ยอนาคตศกึ ษาใน เอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific Futures Network) ซงึ่ จดั การประชมุ ประจำ� ปคี รงั้ ลา่ สดุ เปน็ คร้งั ท่ี 5 ที่ กรงุ เทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2562 ทีผ่ ่านมา อีกตัวชี้วัดหนึ่งของเครือข่ายวิชาการคือวารสารวิชาการและนิตยสารด้านอนาคตศึกษาและการ คาดการณ์ วารสารวิชาการภาษาอังกฤษฉบับแรกคอื Futures: The Journal of Policy, Planning and Futures Studies ซ่ึงตพี ิมพ์เผยแพร่คร้งั แรกใน พ.ศ. 2512 จ�ำนวนวารสารในดา้ นนี้เพม่ิ จาก 12 ฉบบั ใน พ.ศ. 2508 เปน็ 122 ฉบบั ใน พ.ศ. 252155 และ 124 ฉบบั ใน พ.ศ. 253656 ตวั อยา่ งวารสาร วิชาการสำ� คญั ท่ีมีการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ (peer-review) ท่มี อี ยูใ่ นปจั จบุ นั ในระบบฐาน ข้อมลู SCOPUS และ ISI มดี ังตอ่ ไปนี้ • European Journal of Futures Research วารสารฉบับน้ีเปน็ วารสารที่มีการเข้าถึง แบบเปิด (open access) ภายใตแ้ บรนด์ SpringerOpen • Foresight: The Journal of Future Studies, Strategic Thinking and Policy เรมิ่ ต้นครั้งแรกใน พ.ศ. 2542 โดยส�ำนักพมิ พ์ Emerald • Futures: The Journal of Policy, Planning and Futures Studies วารสาร วชิ าการฉบบั แรกทม่ี งุ่ ตพี มิ พบ์ ทความเกยี่ วกบั อนาคตศกึ ษา ใน พ.ศ. 2512 ปจั จบุ นั ตพี มิ พ์ โดยสำ� นักพมิ พ์ Elsevier • Futuribles วารสารดา้ นอนาคตศกึ ษาทตี่ พี มิ พเ์ ปน็ ภาษาฝรง่ั เศสมาตง้ั แต่ พ.ศ. 2503 โดย Futuribles Centre • Info: The Journal of Policy, Regulation and Strategy for Telecommuni- cations, Information and Media วารสารนเ้ี น้นหวั ข้อเกี่ยวกับอนาคตท่ีสัมพนั ธ์กบั การเปลีย่ นแปลงดา้ นเทคโนโลยใี นมุมมองตา่ ง ๆ เริ่มเผยแพร่เมื่อ พ.ศ 2542 โดยส�ำนกั พิมพ์ Emerald • International Journal of Foresight and Innovation Policy วารสารนี้มุ่งไปท่ี หวั ขอ้ และประเดน็ ทีเ่ ป็น “ขา่ วกรองเชิงยทุ ธศาสตร์” (strategic intelligence) เผยแพร่ ครัง้ แรกเมอ่ื พ.ศ. 2547 โดยส�ำนกั พิมพ์ Inderscience • Journal of Evolution and Technology วารสารนเี้ ปดิ โอกาสใหก้ ับบทความทน่ี �ำ เสนอแนวคดิ เกยี่ วกบั อนาคตทอี่ าจดไู มน่ า่ จะเกดิ ขน้ึ หรอื หลดุ จากความเปน็ จรงิ มากเกนิ ไป จากมุมมองของวารสารวิชาการอื่นท่ีเป็นกระแสหลัก หัวข้อหลักของบทความในวารสาร นเ้ี นน้ ภาพอนาคตของมนุษยชาติ เร่ิมเผยแพรค่ รง้ั แรกใน พ.ศ. 2542 โดย Institute for Ethics and Emerging Technologies • Journal of Futures Studies: Epistemology, Methods, Applied and Alter- native Futures วารสารน้ีเน้นบทความเชงิ สหสาขา เรม่ิ เผยแพร่ครงั้ แรกใน พ.ศ. 2539 โดยมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยตนั้ เจยี ง (Tamkang University) ในไตห้ วนั • Long Range Planning: International Journal of Strategic Management
53 | อนาคตศึกษา วารสารนเ้ี น้นการบริหารเชงิ ยุทธศาสตร์ (strategic management) โดยเป็นวารสารของ European Strategic Planning Federation และเผยแพรม่ าตง้ั แต่ พ.ศ. 2511 โดยสำ� นกั พมิ พ์ Elsevier • Policy Futures in Education วารสารน้เี นน้ บทความเกย่ี วกับอนาคตของการศกึ ษา ในมมุ มองเชงิ วชิ าการ การวเิ คราะหแ์ ละวางแผนนโยบายดา้ นการศกึ ษา โดยเนน้ นวตั กรรม ด้านการศึกษาและด้านนโยบายการศึกษา โดยเร่ิมเผยแพร่ต้ังแต่ พ.ศ. 2546 โดยส�ำนัก พิมพ์ Symposium • Technological Forecasting and Social Change: An International Journal วารสารฉบบั นเี้ นน้ บทความดา้ นวธิ กี ารและการประยกุ ตใ์ ชก้ ารคาดการณเ์ ทคโนโลยแี ละการ ศกึ ษาอนาคตในฐานะเครอื่ งมอื วางแผน โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั ปจั จยั ดา้ นสงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยี วารสารน้ีเริม่ เผยแพร่มาต้งั แต่ พ.ศ. 2513 โดยส�ำนักพมิ พ์ Elsevier • The International Journal of Forecasting วารสารน้ีเน้นผลงานเชิงประจกั ษ์ การ ประเมนิ และการนำ� เอาผลการคาดการณไ์ ปใช้ประโยชน์ตอ่ รวมถงึ วิธกี ารและแนวทางยก ระดับคุณภาพของการคาดการณ์ วารสารน้ีเร่ิมเผยแพร่มาต้ังแต่ พ.ศ. 2528 โดยส�ำนัก พมิ พ์ Elsevier • The Journal of Forecasting วารสารนีเ้ นน้ บทความเกย่ี วกับการคาดการณ์ และการ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ การคาดการณเ์ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นธรุ กจิ บรหิ ารรฐั กจิ เทคโนโลยี และ สิ่งแวดลอ้ ม วารสารนเ้ี ร่ิมเผยแพรม่ าตัง้ แต่ พ.ศ. 2525 โดยสำ� นกั พิมพ์ Wiley • World Future Review: A Journal of Strategic Foresight วารสารนมี้ งุ่ สง่ เสรมิ การ แลกเปลยี่ นความคดิ ระหวา่ งนกั วชิ าการและนกั ปฏบิ ตั ทิ สี่ นใจเรอ่ื งอนาคต โดยเฉพาะการใช้ เครอื่ งมอื ดา้ นอนาคตศกึ ษาในการชว่ ยการตดั สนิ ใจ วารสารนเ้ี รม่ิ เผยแพรค่ รง้ั แรกใน พ.ศ. 2552 โดยสมาคม World Future Society ตอ่ มารวมเปน็ วารสารเดยี วกบั วารสาร Futures Research Quarterly ทต่ี พี มิ พร์ ะหวา่ ง พ.ศ. 2528 ถงึ 2551 และวารสาร Futures Survey • World Futures: The Journal of New Paradigm Research วารสารนเี้ นน้ บทความ วจิ ยั ทนี่ ำ� เสนอกระบวนทศั นแ์ ละแนวทคดิ ใหมท่ เ่ี ปน็ สหสาขาวชิ า โดยเฉพาะในจดุ เชอื่ มตอ่ ระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ วารสารนี้เร่ิมเผยแพร่มา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2545 โดยสำ� นักพิมพ์ Taylor and Francis • Time & Society เน้นหัวข้อเก่ียวกับเวลาและสังคม ทั้งในด้านทฤษฎีและด้านวิธีการ อาทิ การใช้เวลาในองค์กร และการเปล่ียนแปลงเกย่ี วกับเวลาในการก�ำหนดนโยบายดา้ น เศรษฐกิจ สงั คม รัฐกจิ และการบริหารองค์กร วารสารนเ้ี ผยแพร่มาต้งั แต่ พ.ศ. 2535 โดย สำ� นักพิมพ์ Sage นอกจากน้ี ยังมีวารสารเฉพาะทางที่ออกฉบับพิเศษในหัวข้อเกี่ยวกับอนาคตของประเด็นส�ำคัญ ในศาสตร์นั้น ๆ และยงั มนี ิตยสารทไี่ ม่มีการประเมนิ คณุ ภาพโดยผเู้ ช่ียวชาญ แตม่ บี ทความทีน่ ำ� เสนอ แนวคดิ เกย่ี วกบั อนาคต อาทิ Club of Amsterdam Journal: Shaping your Future in the Knowl- edge Society, Futures Bulletin, The European Foresight Monitoring Briefs, The Futurist และ Wired
อนาคตศึกษา | 54 สรปุ อนาคตศึกษาเป็นศาสตร์ท่ีพยายามสร้างและใช้ประโยชน์จากความรู้เก่ียวกับอนาคตอย่าง เป็นระบบ พัฒนาการของศาสตร์ในช่วงหนึ่งศตวรรษท่ีผ่านมาสะท้อนการเปล่ียนแปลงของ กระบวนทัศน์ของวงการวิชาการในระดับโลก จากท่ีแต่เดิมอนาคตศึกษาเน้นการสร้างความรู้ ด้วยกระบวนการเชิงวิทยาศาสตร์แบบปฏิฐานนิยม โดยมุ่งค้นหาอนาคตที่เป็นความจริงหนึ่ง เดียว และเน้นประเด็นยุทธศาสตร์ทางการทหารและความม่ันคง จนพัฒนามาเป็นศาสตร์ท่ีใน ปัจจุบันยอมรับในแนวคิดเชิงพหุนิยมและบูรณาการมากข้ึน อนาคตศึกษาท้ังในฐานะสาขาทาง วิชาการและสาขาวิชาชีพในปัจจุบันมีกรอบแนวคิดและประเด็นวิเคราะห์ท่ีหลากหลาย รวมถึง วธิ กี ารสรา้ งความรทู้ ่เี ปดิ กว้างให้คนกลมุ่ ต่าง ๆ เขา้ มามสี ว่ นร่วมมากข้ึน พรอ้ มกนั น้ี เครือข่าย ด้านอนาคตศึกษาก็ขยายจากเดิมท่ีเป็นนักวิชาการในสหรัฐอเมริกาและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ กลายเป็นเครอื ขา่ ยระดับโลกที่มนี กั วิชาการและนกั นโยบายจากทวีปอนื่ มากขนึ้
55 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศกึ ษา | 56 2 แนวคดิ พน้ื ฐานของ อนาคตศกึ ษา The present is theeiarsc;hthoenefuatucLrceeo,trdftohinregwfthuoitcuhhriesI whteaolvrlkethareenadtlrluaytchwc,ooamrknpeddlise,hvismamleunianttese.. Nikola Tesla
57 | อนาคตศึกษา ร้อู นาคตไปทำ�ไม เราตอ้ งการความรเู้ กย่ี วกบั อนาคตไปทำ� ไม คำ� ถามนอี้ าจฟงั ดพู นื้ ฐานมาก และดเู หมอื นวา่ คนทว่ั ไปใคร ๆ กต็ อบได้ แตค่ ำ� ถามนม้ี คี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการทำ� ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การศกึ ษาอนาคตในฐานะการ เปน็ ศาสตรว์ ชิ าการและสาขาวชิ าชพี หนงึ่ คำ� ตอบหนง่ึ คอื เราตอ้ งการรอู้ นาคตเพอ่ื ยกระดบั ความเปน็ อยู่ และสวสั ดกิ ารของมนษุ ยใ์ หด้ ยี ง่ิ ขนึ้ กวา่ ปจั จบุ นั ซงึ่ อาจเปน็ ทง้ั ในดา้ นวตั ถอุ ยา่ งเดยี วหรอื รวมไปถงึ ดา้ น จติ ใจดว้ ยกไ็ ด้ นกั อนาคตศกึ ษาบางคนอาจแยง้ วา่ วตั ถปุ ระสงคแ์ คน่ น้ั แคบเกนิ ไป เพราะยงั เปน็ มมุ มองท่ี ถอื วา่ มนษุ ยเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางของทกุ สงิ่ โดยมองไมเ่ หน็ ถงึ ความสำ� คญั และคณุ คา่ ของสงิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ ทงั้ สตั ว์ และพชื รวมไปถงึ ระบบธรรมชาตอิ นื่ ทม่ี อี ยใู่ นโลก แมว้ า่ สงิ่ เหลา่ นน้ั อาจไมม่ ปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ยโ์ ดยตรง ดว้ ยเหตนุ น้ี กั อนาคตศกึ ษาในยคุ หลงั จงึ ขยายขอบเขตของเปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงคใ์ นการศกึ ษา อนาคตใหค้ รอบคลมุ มากขน้ึ โดยมงุ่ ทำ� ใหโ้ ลกนด้ี ขี นึ้ และนา่ อยมู่ ากขนึ้ ไมใ่ ชเ่ ฉพาะสำ� หรบั มนษุ ยท์ กุ คน แตร่ วมถงึ ระบบรองรบั การมชี วี ติ อยขู่ องสง่ิ มชี วี ติ อนื่ ๆ ในโลกนไี้ ปพรอ้ มกนั แนวคดิ ดงั กลา่ วเปน็ ไปตาม ขอ้ เสนอของปเี ตอร์ ซงิ เกอร์ (Peter Singer) นกั ปรชั ญาชาวอเมรกิ นั ซง่ึ เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารขยายขอบเขต ของจริยธรรมไปให้กวา้ งกวา่ ขอบเขตของสปชี ีส์ของมนษุ ย์ โดยให้ครอบคลมุ ถงึ สัตวต์ ่าง ๆ1 การขยาย กรอบความคดิ ดงั กลา่ วยงั เปน็ ไปตามความเชอ่ื ของสงั คมดงั้ เดมิ หลายแหง่ โดยเฉพาะในสงั คมตะวนั ออก ท่ีว่า มนุษย์เป็นเพียงแค่ส่วนหน่ึงของธรรมชาติ และไม่ได้เป็นศูนย์กลางของธรรมชาติที่สามารถแยก สว่ นออกมาได้ ตามทีแ่ นวคดิ วิทยาศาสตร์กระแสหลกั พยายามมาโดยตลอด ในขณะเดียวกัน ทุกวัตถุประสงค์และแนวคิดในการศึกษาอนาคต รวมถึงวิธีการท่ีนักอนาคต ศาสตร์ใช้วิเคราะห์และคาดการณ์อนาคต ย่อมมีข้อสมมติและเง่ือนไข รองรับและซ่อนเร้นอยู่เสมอ การวเิ คราะหแ์ ละทำ� ความเขา้ ใจในขอ้ สมมตแิ ละเงอ่ื นไขเหลา่ นี้ จะทำ� ใหเ้ ราสามารถมองเหน็ จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของแตล่ ะแนวคดิ และวธิ ีการอยา่ งชัดเจนมากขนึ้ ตวั อยา่ งหนึง่ คือขอ้ สมมติหลักทเี่ ป็นพืน้ ฐานของ อนาคตศกึ ษาในยคุ แรก นนั่ คอื ขอ้ สมมตทิ วี่ า่ อนาคตเปน็ เอกพจน์ ตามแนวคดิ นี้ อนาคตเกดิ ขน้ึ ตามการ ไหลของเวลาตามความคดิ เชงิ กลไกของฟสิ กิ สแ์ บบนวิ ตนั อนาคตจงึ มหี นง่ึ เดยี วและสามารถพยากรณ์ ไดด้ ว้ ยวธิ กี ารเชงิ วทิ ยาศาสตร์ แตต่ อ่ มาขอ้ สมมตนิ นั้ ไดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ จนมกี ารนำ� เสนอแนวคดิ อนาคตแบบพหูพจน์ ซ่ึงขึ้นอยู่กับคนแต่ละกลุ่มแต่ละช่วงเวลาที่จะตัดสินใจว่า ท่ามกลางทางเลือก อนาคตท่ีเกดิ ข้นึ ได้หลายรูปแบบน้ัน ตนเองจะเลือกและสรา้ งอนาคตแบบไหน
อนาคตศึกษา | 58 ส�ำหรับในภาษาไทยน้ัน ค�ำว่า “อนาคต” ค�ำเดียว ไม่สื่อว่าเป็นค�ำเอกพจน์หรือพหูพจน์ จึงไม่ ชัดเจนว่าภาพอนาคตมีอยู่หน่ึงเดียวหรือว่ามีมากกว่านั้น แต่ในภาษาอังกฤษ ค�ำศัพท์ที่ใช้อย่างแพร่ หลายในปจั จบุ ันท่สี ่อื ถงึ อนาคตศาสตร์คอื คำ� ว่า futures studies โดยใช้คำ� วา่ futures เป็นพหพู จน์ แทนทจ่ี ะเปน็ future เฉย ๆ การใช้ค�ำพหูพจน์ดังกล่าวสะทอ้ นถึงปรชั ญาพ้นื ฐานของอนาคตศกึ ษาท่ี พฒั นามาต้ังแต่ทศวรรษที่ 1960 ซงึ่ มองวา่ อนาคตไมไ่ ดม้ ีอยูห่ น่งึ เดยี ว แต่มีอยู่หลายทางเลอื ก เนื้อหาส่วนแรกในบทน้ีน�ำเสนอหลักการพื้นฐานและวัตถุประสงค์ของการศึกษาอนาคต เนื้อหา ส่วนต่อมาน�ำเสนอข้อสมมติและเงื่อนไขหลักของการศึกษาอนาคต ส่วนสุดท้ายเป็นการสรุปประเด็น โต้แย้งส�ำคัญในอนาคตศาสตร์ เนื้อหาทั้งหมดนี้มาจากประมวลงานเขียนส�ำคัญของผู้เช่ียวชาญด้าน อนาคตศาสตร์ทม่ี ชี อ่ื เสยี งระดบั โลก
59 | อนาคตศึกษา หลกั การและวตั ถปุ ระสงค์ ของการศกึ ษาอนาคต ค�ำว่าการศึกษาอนาคตอาจฟังดูขัดแย้งกันในตนเอง เนื่องจากอนาคตยังไม่เกิดขึ้น จึงไม่มีอยู่จริงใน ปัจจุบันท่ีเราสามารถศึกษาได้ ไม่เหมือนกับการศึกษาอดีตท่ีเกิดขึ้นไปแล้ว และการศึกษาเหตุการณ์ ปัจจบุ นั ทร่ี บั รู้เชิงประจักษด์ ้วยประสาทสัมผสั ทั้งหา้ ดังท่นี กั ประวัตศิ าสตรม์ ักพูดเสมอวา่ เราจะเข้าใจ ปจั จบุ นั และอนาคตไดต้ อ่ เมอื่ เราเขา้ ใจประวตั ศิ าสตร์ การศกึ ษาอนาคตของนกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ตอ้ งพง่ึ ขอ้ มูลและความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั อดีตและปจั จบุ นั เท่านน้ั แตน่ ักอนาคตศาสตร์พยายามทำ� ความ เขา้ ใจกบั อดตี และปจั จบุ นั ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณ์ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ดงั นนั้ สำ� หรบั นกั อนาคตศาสตร์ ประโยชนข์ องความรเู้ กยี่ วกบั อดตี และปจั จบุ นั จึงอยู่ท่ีอนาคต และการตดั สินใจและกิจกรรมทงั้ หมดของมนษุ ยไ์ มไ่ ด้มุง่ ไปท่ีอดีต แตม่ ่งุ ไปทีอ่ นาคต หลกั การความตอ่ เนือ่ ง ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับอดีตจะเป็นประโยชน์ในการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคตได้ต่อเมื่อ สถานการณ์และเง่ือนไขที่เกิดขึ้นในอดีตยังคงมีอยู่ต่อไปในอนาคต ข้อสมมติหนึ่งท่ีเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญ ของอนาคตศึกษาคือหลักความต่อเน่ือง (principle of continuity) ซ่ึงเสนอว่า ปรากฏการณ์และ เงอ่ื นไขทเ่ี กดิ ในอดตี จะดำ� เนนิ ตอ่ เนอื่ งไปยงั อนาคต โดยอาจเปน็ ความตอ่ เนอื่ งในเชงิ กายภาพ เชงิ เวลา เชงิ วฒั นธรรม หรือเชิงความคดิ ความถขี่ องการเปลย่ี นแปลงทป่ี ระสบอยเู่ ปน็ ประจำ� รวมถงึ ผลลพั ธข์ องการเปลยี่ นแปลงนนั้ อาจ ท�ำให้เราคดิ ว่า โลกอนาคตในอกี 20-30 ปขี า้ งหน้าจะแตกต่างจากปัจจุบนั มากจนไมไ่ ม่สามารถจำ� ได้ วา่ แตเ่ ดมิ เปน็ อยา่ งไร แตใ่ นความเปน็ จรงิ หลายสง่ิ หลายอยา่ งในอนาคตจะไมแ่ ตกตา่ งจากปจั จบุ นั แม้ กระทงั่ ในชว่ งเวลาทด่ี เู หมอื นมกี ารเปลยี่ นแปลงครงั้ ใหญแ่ ละอยา่ งรวดเรว็ องคป์ ระกอบหลายอยา่ งรอบ ตัวเราทไี่ มเ่ ปล่ยี นแปลงน่าจะมมี ากกวา่ สิ่งทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป เนือ่ งจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เศรษฐกจิ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ มดูนา่ ตนื่ เตน้ และนา่ สนใจกวา่ ความตอ่ เนือ่ ง นกั อนาคตศาสตรจ์ ึงต้อง พยายามระวังไม่มองทุกสิ่งทุกอย่างเป็นการเปลี่ยนแปลงท้ังหมด เน่ืองจากภาพอนาคตมีทั้งการต่อ เน่อื งและการเปลยี่ นแปลง ความตอ่ เนอื่ งอาจเกดิ ขนึ้ จากปจั จยั หนว่ งทต่ี อ่ ตา้ นการเปลยี่ นแปลง ทงั้ พฤตกิ รรมทเี่ ปน็ นสิ ยั ของ แตล่ ะคน สถาบนั ทางสังคม เช่น ประเพณี วัฒนธรรม กฎระเบียบและธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ โครงสร้าง
อนาคตศึกษา | 60 พ้นื ฐานทางกายภาพทีค่ งอยเู่ ปน็ เวลานาน เชน่ ถนนหนทางและอาคารสงิ่ ปลูกสรา้ ง รวมถึงโครงสร้าง อำ� นาจของผมู้ ีอทิ ธิพลและผู้นำ� ทไี่ ม่ตอ้ งการให้เกิดการเปลย่ี นแปลง อีกสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้เกิดความต่อเน่ืองคือพลวัตระหว่างแนวโน้มกับแนวโน้มตรงกันข้าม (trend-countertrend) กล่าวคือ เม่ือปัจจัยหนึ่งมีการเปล่ียนแปลงมากข้ึนและการเป็นแนวโน้ม กม็ ักจะเกดิ แรงต่อต้านในทางตรงกันข้าม เชน่ ในสงั คมเมอื งทค่ี วามเปน็ ชมุ ชนในละแวกบ้านลดลง คน บางกลุ่มก็พยายามสร้างชมุ ชนรปู แบบอน่ื ขนึ้ มาแทนท่ี เชน่ ชมุ ชนบนโลกออนไลน์ ในโลกสมยั ใหม่ที่ ห่นุ ยนต์และปญั ญาประดษิ ฐส์ ามารถท�ำงานแทนมนุษยไ์ ดม้ ากขนึ้ การบริการโดยมนษุ ยจ์ ะได้รบั ความ นยิ มมากขนึ้ และในสงั คมทคี่ นใชช้ วี ติ หา่ งจากศาสนามากขนึ้ ผคู้ นอาจหาทางออกดา้ นจติ วญิ ญาณดว้ ย วิธกี ารอนื่ เพ่อื เตมิ เต็มชอ่ งวา่ งท่เี กิดจากโลกวตั ถุนิยม เปน็ ต้น แนวโนม้ กบั แนวโนม้ ตรงกนั ขา้ มนอ้ี าจ ดเู หมือนเปน็ ปฏทิ รรศนห์ รือพาราด็อกซ์ (paradox) ท่ีดเู หมือนเปน็ สภาวะที่ขดั แย้งกนั ความเขา้ ใจใน พลวัตดังกล่าวเปน็ พื้นฐานในการทำ� ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การตอ่ เน่อื งและการเปล่ยี นแปลงไปสูอ่ นาคต หลกั การความคลา้ ยคลึง อยา่ งไรกต็ าม ความเขา้ ใจในความต่อเน่ืองอยา่ งเดยี วยงั ไมเ่ พียงพอในการสรา้ งความร้เู กย่ี วกบั อนาคต อีกหลกั การหน่งึ ท่ีส�ำคัญคอื หลกั การความคลา้ ยคลึง (principle of analogy) ซง่ึ ถือว่าเหตุการณบ์ าง รูปแบบเกดิ ข้ึนครงั้ แลว้ คร้ังเลา่ ดังนน้ั ถ้าเราสังเกตเห็นเหตกุ ารณ์หนงึ่ ท่เี กดิ ขน้ึ ในรูปแบบและลกั ษณะ คล้ายคลงึ กับเหตกุ ารณท์ ่ีเคยเกดิ ขนึ้ กอ่ นหน้านี้ เราสามารถคาดคะเนไดว้ ่า เหตุการณ์ในอนาคตท่ีจะ เกิดข้ึนต่อเน่ืองจากเหตุการณ์น้ัน น่าจะมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับเหตุการณ์ที่เคยเกิดข้ึนมาก่อน หน้านั้น หลักการความคล้ายคลึงเป็นพ้ืนฐานและกรอบความคิดส�ำหรับการตีความข้อมูลท่ีมนุษย์รับ รู้จากโลกภายนอก ซึ่งท�ำให้ช่วยลดเวลาและความพยายามในการท�ำความเข้าใจกับสิ่งนั้น ตราบใดที่ บริบทและปัจจัยอ่ืน ๆ ยังคงที่และไม่เปลี่ยนแปลง มนุษย์เราใช้หลักการความต่อเน่ืองและหลักการ ความคล้ายคลงึ ในการพยากรณ์และท�ำความเข้าใจเกย่ี วกบั อนาคตอยตู่ ลอดเวลา แนน่ อนวา่ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั อดตี ไมไ่ ดก้ ลายเปน็ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั อนาคตโดย อตั โนมตั ิ แตต่ อ้ งใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตการพรอ้ มกบั ความคาดหวงั และความปรารถนา ความ รู้จากอดีตเป็นเพียงข้อมูลดิบท่ีมนุษย์เราใช้วิเคราะห์และคาดคะเนส่ิงที่น่าจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยใช้ กรอบความคิด สมมตฐิ านหรอื ทฤษฎีอะไรบางอย่างในการคาดคะเนน้นั แตส่ ่งิ ทีเ่ ราคิดและคาดคะเน เก่ียวกับอนาคตอาจไม่เป็นไปตามกรอบแนวคิดทฤษฎีท่ีมีอยู่เสมอไป เน่ืองจากแต่ละคนอาจมีความ คาดหวังและความปรารถนาท่ีมีผลต่อการตัดสินใจท่ีเกินจากขอบเขตของเหตุผลและข้อมูลที่มาจาก ขอ้ มูลและประสบการณ์ในอดีต นอกจากข้อมูลจากอดีตและความปรารถนาแล้ว ความคิดสร้างสรรค์เป็นอีกองค์ประกอบ ส�ำคัญของการท�ำความเข้าใจเก่ียวกับอนาคต ความคิดสร้างสรรค์หรือจินตนาการเป็นส่วนส�ำคัญของ กระบวนการคิดของมนษุ ย์ทก่ี า้ วพ้นข้อจำ� กัดทก่ี ำ� หนดโดยความทรงจ�ำจากอดีต ตรรกะที่ใชเ้ ป็นกรอบ ในการคาดคะเน และความปรารถนาทเี่ ปน็ ไปตามอารมณ์ จนิ ตนาการทว่ี า่ นอ้ี าจเกดิ จากความบงั เอญิ ท่ี ผสมผสานความคดิ และขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั แลว้ เกดิ สง่ิ ใหมท่ ไ่ี มเ่ คยคดิ หรอื มขี นึ้ มากอ่ นกไ็ ด้ แนน่ อน วา่ ความคดิ สรา้ งสรรคท์ ว่ี า่ นไ้ี มไ่ ดเ้ ปน็ ความรเู้ กย่ี วกบั อนาคต แตเ่ ปน็ สงิ่ ทชี่ ว่ ยใหเ้ ราสามารถจนิ ตนาการ
61 | อนาคตศึกษา ไดว้ า่ อะไรบา้ งทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต และเปน็ วธิ กี ารเอาขอ้ มลู และความเขา้ ใจจากอดตี มาผสมผสาน กันเพอ่ื ค้นหาความเป็นไปไดข้ องอนาคต ด้วยหลักความต่อเนื่องและหลักความคล้ายคลึงข้างต้น นักอนาคตศาสตร์จึงพยายามวิเคราะห์ ขอ้ มูลจากอดีต โดยใช้ตรรกะของทฤษฎีและกรอบความคิดประกอบกับความปรารถนาที่มอี ยู่ในการ จินตนาการความเป็นไปได้ของอนาคต เพื่อตัดสินใจในการกระท�ำที่มุ่งบรรลุเป้าประสงค์ในการยก ระดับคุณภาพชีวิตและสวัสดิการของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ในโลก เป้าประสงค์ดังกล่าวไม่จ�ำกัดอยู่ เพียงแค่ภายในกลุ่มนักอนาคตศาสตร์ แต่เป็นเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนักวิชาการและวิชาชีพ สาขาอ่ืน ดว้ ยเช่นกนั ไมว่ ่าจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ นกั เศรษฐศาสตร์ นักสาธารณสขุ ศาสตร์ สถาปนิก นักวางผังเมอื ง ศลิ ปนิ คนขบั รถเมลแ์ ละจกั รยานยนตร์ บั จา้ ง และแม่บา้ น ทุกคนล้วนแลว้ แตต่ ้องการ ให้สง่ิ ทตี่ นเองทำ� อยู่เกดิ ประโยชน์ส�ำหรบั ตนเอง สำ� หรบั คนอื่น รวมถงึ ส่งิ อน่ื ๆ ในโลกนีท้ ี่แต่ละคนให้ ความสำ� คญั แตส่ งิ่ หนงึ่ ทถี่ อื วา่ เปน็ คณุ ลกั ษณะเฉพาะของนกั อนาคตศาสตรค์ อื การคดิ เกยี่ วกบั อนาคต (prospective thinking) เปน็ หลัก2 การศกึ ษาอนาคตยงั มงุ่ เสรมิ สรา้ งความเปน็ ธรรมระหวา่ งรนุ่ (intergenerational equity) ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานของแนวคดิ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื การวเิ คราะหแ์ ละศกึ ษาอนาคตชว่ ยยกระดบั ความเปน็ อยแู่ ละ สวสั ดิภาพของคนร่นุ ตา่ ง ๆ ไมเ่ ฉพาะส�ำหรับคนรนุ่ ปจั จุบนั ที่สามารถเข้ามามีส่วนรว่ มในกระบวนการ ตัดสนิ ใจในปัจจุบนั แต่รวมถึงคนรุ่นอนาคตยังซึ่งไมอ่ ย่ตู รงนี้ จึงไมม่ ีโอกาสร่วมในกระบวนการตัดสิน ใจท่ีมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของพวกเขาในอนาคต การศึกษาและค�ำนึงถึงอนาคตที่ครอบคลุม ไปถึงความต้องการ เง่ือนไขและบริบทของคนรุ่นหลัง จึงเป็นการสร้างความเป็นธรรมระหว่างรุ่นได้ ในระดับหนงึ่ ในกลมุ่ นกั อนาคตศกึ ษาทว่ั ไป วตั ถปุ ระสงคพ์ นื้ ฐานของการศกึ ษาอนาคตคอื การคน้ หาหรอื สรา้ ง วิเคราะห์และประเมินทางเลือกของอนาคตท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ (possible futures) อนาคตที่น่าจะ เกดิ ขนึ้ (probable futures) และอนาคตทีคาดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ หรือพงึ ประสงค์ (preferable futures) ความแตกต่างระหว่างอนาคตศึกษากับการคาดการณเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ นักวิชาการด้านอนาคตศึกษาแบ่งงานศึกษาเกี่ยวกับอนาคตในเชิงวิชาการออกจากในเชิงนโยบาย ค่อนข้างชัดเจน โดยเรียกงานในเชิงวิชาการว่า อนาคตศึกษาหรืออนาคตศาสตร์ (academic futures studies) ส่วนงานคาดการณ์ที่มีวัตถุประสงค์ที่เน้นการตัดสินใจเชิงนโยบายน้ัน เรียกโดยท่ัวไปว่า การคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ (strategic foresight) งานท้ังสองรูปแบบมีเน้ือหาคร่อมกันอยู่มาก โดยทั้งคู่พยายามท�ำความเข้าใจในภาพอนาคตที่อาจเกิดขึ้นและจ�ำเป็นต้องเตรียมพร้อมและวางแผน รองรับเหตุการณท์ ค่ี าดวา่ จะเกดิ ข้นึ เหมือนกัน3 งานดา้ นการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรม์ งุ่ ไปทก่ี ารตดั สนิ ใจ โดยเนน้ การระบุ บรรยาย และอธบิ าย ปัจจัยขับเคล่ือน (drivers) ในปัจจุบันท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อน�ำความรู้เกี่ยวกับ อนาคตมาชว่ ยในการตดั สินใจทีช่ าญฉลาดและถูกตอ้ ง ตวั อย่าง เช่น ผ้บู ริหารบริษทั น�ำ้ มนั ขนาดใหญ่ ตอ้ งการรวู้ า่ อนาคตของการใชพ้ ลงั งานในเมอื งเปน็ อยา่ งไรอกี 10 ปขี า้ งหนา้ จงึ ตอ้ งเขา้ ใจถงึ สถานการณ์ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญที่ก�ำลังเกิดขึ้น รวมท้ังสถานการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นสูงใน
อนาคตศึกษา | 62 อนาคต อาทิ การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยกี ารขนสง่ และการกอ่ สรา้ ง การบรโิ ภคของคนรนุ่ ใหม่ ฯลฯ เพอื่ สามารถวางแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร อีกตัวอย่างในระดับนโยบายสาธารณะคือ ผู้บริหารประเทศ ต้องกำ� หนดนโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศในด้านการเกษตร จงึ ต้องคาดการณก์ ารเปล่ียนแปลงด้าน เทคโนโลยีชีวภาพและการตดั ต่อพันธกุ รรมท่กี �ำลงั เกดิ ขน้ึ เชน่ เทคโนโลยี CRISPR/Cas9 ทีน่ ่าจะมผี ล ตอ่ ความสามารถในการผลติ และการเพาะปลกู ทวั่ โลก เปน็ ตน้ การตอบประเดน็ คำ� ถามเหลา่ นี้ นอกจาก ต้องวิเคราะหก์ ารคาดการณ์การเปลยี่ นแปลงดา้ นเทคโนโลยีแลว้ ยงั ตอ้ งวเิ คราะห์ปัจจยั ดา้ นเศรษฐกจิ สังคมอ่ืน ๆ ด้วย เช่น การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภค การยอมรับของสังคมกับเทคโนโลยีใหม่ ที่เกิดขึ้น การคาดการณ์เพื่อหาตอบของค�ำถามเหล่านี้จึงมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นไปที่การตัดสินใจเป็น หลัก ดังน้ัน ส่วนส�ำคัญของการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์จึงเป็นการพยากรณ์และการหาทางออกที่ มงุ่ ไปทีก่ ารปฏบิ ัตจิ รงิ อีกมุมมองหนึ่งในการนิยามการคาดการณ์คือข้อเสนอของริชาร์ด สลอเทอร์ (Richard Slaugh- ter) ท่ีมองการคาดการณ์เป็นกระบวนการขยายขอบเขตของการรับรู้ของมนุษย์ใน 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่ (1) การประเมนิ ผลกระทบของการตดั สนิ ใจการกระทำ� ในปจั จบุ นั (2) การตรวจจบั และหลกี เลย่ี ง ปัญหากอ่ นท่ีจะเกดิ ขน้ึ (3) การพิจารณานัยของเหตกุ ารณท์ อี่ าจเกิดข้ึนในอนาคตต่อปัจจบุ ัน และ (4) การสร้างวสิ ัยทัศนข์ องภาพทต่ี อ้ งการใหเ้ กิดในอนาคต ในขณะท่ี เอียน ไมลส์ (Ian Miles) และไมเคิล คีนาน (Michael Keenan) กำ� หนดนยิ ามของการคาดการณ์ว่าเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมลู เชงิ ลกึ เกย่ี วกบั อนาคตทเี่ ปน็ ระบบและมสี ว่ นรว่ มไปพรอ้ มกบั การสรา้ งวสิ ยั ทศั นร์ ะยะกลางและระยะยาว เพอ่ื เปน็ พน้ื ฐานสำ� หรบั การตดั สนิ ใจในปจั จบุ นั และระดมกำ� ลงั ในการทำ� งานรว่ มกนั 4 นยิ ามเหลา่ นแี้ สดงให้ เห็นวา่ การคาดการณไ์ ม่ใช่เปน็ เพยี งแคเ่ ทคนิควิธี แตเ่ ปน็ กระบวนการด้วยเชน่ กัน สว่ นงานศกึ ษาอนาคตในทางวชิ าการมกั เนน้ ประเดน็ หรอื คำ� ถามในภาพใหญ่ ๆ มากกวา่ คำ� ถามที่ มงุ่ ไปยงั การวางแผนและตดั สนิ ใจขององคก์ ร ตวั อยา่ งคำ� ถามเชน่ ในอกี 30 ปขี า้ งหนา้ เทคโนโลยอี ะไร จะทำ� ใหเ้ กดิ ผลกระทบในวงกวา้ งมากทส่ี ดุ การตอบคำ� ถามดงั กลา่ วจำ� เปน็ ตอ้ งวเิ คราะหภ์ าพกวา้ งของ การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยที ง้ั หมด แลว้ จงึ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทคี่ าดวา่ นา่ จะเกดิ ขน้ึ ภายใตช้ ดุ เงอ่ื นไข และข้อสมมติต่าง ๆ วัตถุประสงค์ของการศึกษาอนาคตในแนวนี้จึงไม่ได้อยู่ที่การตัดสินใจเพื่อด�ำเนิน การในเร่ืองใดเรอื่ งหน่งึ โดยเฉพาะ แตเ่ ปดิ ประเด็นและความเป็นไปได้ของทางเลอื กในอนาคตให้กวา้ ง ไว้ เพือ่ ใหน้ กั วจิ ัยคนอื่นวเิ คราะห์รายละเอยี ดต่อไป ด้วยวัตถุประสงค์และเป้าหมายมีความแตกต่างกันระหว่างการศึกษาอนาคตเพื่อการตัดสินใจใน เชิงนโยบายกับการศึกษาเพ่ือสร้างความเข้าใจในเชิงวิชาการ วิธีการศึกษาอนาคตจึงมีความแตกต่าง กันบ้างระหว่างงานท้ังสองกลุ่มนี้ เนื่องจากการศึกษาอนาคตเพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบายมักใช้วิธี การที่หลากหลายและข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ความหลากหลายด้านวิธีการและแหล่งข้อมูล จึงอาจทำ� ใหก้ ารศึกษาหรอื การวจิ ัยมีความเส่ียงที่จะไดผ้ ลลพั ธ์ทีด่ ูผวิ เผนิ เมื่อเปรียบเทียบกับงานวจิ ัย เชิงวิชาการ ซ่ึงมักดำ� เนินการตามระเบียบวิธีวิจยั ท่ีเครง่ ครดั และมปี ระเด็นค�ำถามท่ีเจาะลกึ และแคบ เกินกว่าทจี่ ะน�ำไปใชป้ ระโยชน์ในเชิงนโยบาย ในงานศกึ ษาอนาคตเพอ่ื ตอบโจทยด์ า้ นนโยบาย นกั อนาคตศกึ ษามกั ตงั้ คำ� ถามวา่ สง่ิ ทวี่ เิ คราะหน์ น้ั ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งไรและเทา่ ไหร่ (What difference does it make?) มากกวา่ คำ� ถามวา่
63 | อนาคตศกึ ษา เรารู้จกั สิ่งน้ันดมี ากนอ้ ยขนาดไหน (How well do we know it?)5 แม้ว่านักวิเคราะหอ์ าจไม่สามารถ ศกึ ษาปจั จยั และเงอื่ นไขในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมวฒั นธรรม เทคโนโลยที มี่ ผี ลตอ่ ทางเลอื กเชงิ นโยบายได้ อย่างครบถ้วนและละเอยี ดภายในเวลาท่ีจำ� กดั แต่กส็ ามารถระบุถึงปัจจัยทส่ี �ำคัญท่ีสุดไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยใชว้ ิธีการด้านอนาคตศกึ ษา อกี ทงั้ ผู้บรหิ ารมักตอ้ งตดั สินใจอยา่ งรวดเรว็ และไมส่ ามารถรอผลการ วเิ คราะหท์ ส่ี มบรู ณแ์ ละละเอยี ดในทกุ ดา้ น โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจในเรอื่ งใดเรอื่ งหนงึ่ อยา่ งถอ่ งแท้ แต่ ตอ้ งเขา้ ใจมากพอทจ่ี ะตดั สนิ ใจว่าจะทำ� อะไร ด้วยเหตผุ ลอย่างไร ในทางกลบั กนั การศกึ ษาอนาคตใน ด้านวิชาการต้องการความครอบคลุมและสมบูรณ์ โดยถือเป็นหน้าที่และบทบาทของนักวิจัยในการ ทำ� ความเขา้ ใจในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ อยา่ งละเอยี ด ถถี่ ว้ นและถอ่ งแท้ อยา่ งไรกต็ าม งานศกึ ษาอนาคตเพอื่ ตอบโจทยเ์ ชงิ นโยบายยงั ตอ้ งพงึ่ ผลลพั ธข์ องการวเิ คราะหใ์ นเชงิ วชิ าการพน้ื ฐานทมี่ มี ากอ่ นหนา้ นนั้ ดว้ ย เหตนุ ี้ การพฒั นาและสง่ เสรมิ ศาสตรว์ ชิ าการและสาขาวชิ าชพี ดา้ นอนาคตศกึ ษาจงึ ตอ้ งพฒั นากจิ กรรม การศกึ ษาอนาคตทง้ั สองด้านไปพร้อมกนั การศึกษาอนาคตมีวตั ถปุ ระสงคอ์ ยูห่ ลายประการดว้ ยกัน นกั วชิ าการท่ีผา่ นมาแบ่งกลุม่ กิจกรรม ของอนาคตศกึ ษาไว้หลายรูปแบบ หนง่ึ ในนนั้ คือข้อเสนอของแฮโรลด์ ลาสเวล (Harold Lasswell) ซ่งึ แบ่งวัตถุประสงคข์ องการคาดการณ์ตามกิจกรรมหลักไว้ 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1. การระบเุ ป้าหมายและคุณคา่ ให้ชดั เจน 2. การแสดงแนวโนม้ 3. การอธิบายเงอื่ นไข 4. การคาดการณท์ มี่ โี อกาสเกดิ ขน้ึ และน่าจะเกิดขึ้น หากนโยบายปัจจุบันยังดำ� เนินต่อไป 5. การสรา้ ง ประเมนิ และเลอื กนโยบายทางเลอื ก เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายทพี่ งึ ประสงค์6ตอ่ มา เวนเดล เบล (Wendell Bell) นกั อนาคตศาสตรท์ มี่ ชี อ่ื เสยี งทม่ี หาวทิ ยาลยั เยล (Yale University) ในสหรัฐอเมรกิ า ได้ขยายความต่อจากข้อเสนอของลาสเวลจากกิจกรรม 5 ข้อเปน็ 9 ขอ้ 7 ตามราย ละเอียดดงั น้ี ศกึ ษาอนาคตทีเ่ ป็นไปได้ วัตถุประสงค์และกิจกรรมที่ส�ำคัญของอนาคตศึกษาคือการศึกษาเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ี มโี อกาสเกดิ ขึ้นไดใ้ นอนาคต โดยการวิเคราะห์เหตุการณต์ ่าง ที่เกิดข้นึ อยูใ่ นปจั จบุ ันด้วยมุมมอง กรอบ แนวคิดหรือวิธีการที่ไม่เหมือนเดิม แม้ว่ามุมมองหรือกรอบแนวคิดที่เลือกใช้อาจไม่ได้รับความนิยม หรือไม่ได้รับการยอมรับในเวลานั้นก็ตาม การส�ำรวจอนาคตท่ีเกิดข้ึนจึงต้องใช้จินตนาการและความ คดิ สร้างสรรคท์ ่หี ลดุ จากกรอบความคดิ เดมิ ๆ โดยปรับเปลี่ยนมมุ มองปัญหาทเี่ กิดขึน้ อยู่ในปจั จุบนั ให้ เป็นโอกาส และมองอุปสรรคขวากหนามเป็นส่ิงกีดขวางท่ีสามารถก้าวข้ามพ้นไปได้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมจ�ำนวนมากเกิดขึ้นมาได้ก็ด้วยแนวคิดและความมุ่งม่ันในท�ำนองน้ี ค�ำศัพท์หนึ่งท่ีนิยมใช้ใน วงการเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมคอื คำ� วา่ pain point ซ่งึ หมายถงึ ปญั หาที่ผู้บริโภคประสบอยู่หรือคดิ วา่ มอี ยู่ แต่ผ้ปู ระกอบการหรอื นวตั กร (innovator) ไม่ไดม้ อง pain point เป็นปญั หา แต่เปน็ โอกาส ท่ตี ้องพยายามสรา้ งวธิ กี ารหรอื นวตั กรรมขนึ้ มาเพ่ือแก้ไขและสรา้ งมูลคา่ หรือคณุ ค่าใหก้ ับผู้บริโภค ใน ลักษณะคล้ายกัน นักอนาคตศาสตร์สามารถวิเคราะห์และจินตนาการภาพอนาคตของปรากฏการณ์
อนาคตศกึ ษา | 64 หน่ึงจากมุมมองที่หลากหลาย ค�ำถามที่นักอนาคตศาสตร์ถามในส่วนนี้จึงไม่ใช่ค�ำถามว่า ปัจจุบันเป็น อย่างไร แตถ่ ามวา่ อนาคตจะเปน็ อะไรและอย่างไรได้บา้ ง การคน้ หาหรือสำ� รวจอนาคตทีเ่ ปน็ ไปได้ตงั้ อยบู่ นสมมตฐิ านทวี่ า่ ความเปน็ ไปได้ของเหตุการณท์ ี่ อาจเกิดขึ้นในอนาคตมีอยู่แลว้ จริงในปจั จบุ นั ตวั อยา่ งหนึง่ ของความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเป็นไปได้ใน อนาคตกบั สภาพทเี่ ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั คอื กรณขี องแกว้ นำ้� ทบ่ี างและแตกไดง้ า่ ย เมอื่ เรายกแกว้ นำ้� นน้ั อยสู่ งู เหนือบ่า ถ้าปลอ่ ยแกว้ น้ำ� นั้นตกลงไปลงบนพ้ืนคอนกรตี แก้วจะแตกได้ แม้ว่าเรายังไมไ่ ดป้ ล่อยแกว้ นำ�้ นนั้ ออกจากมอื แกว้ นำ้� ยงั มโี อกาสแตกไดเ้ สมอ แนน่ อนวา่ แกว้ นำ�้ นน้ั อาจจะไมแ่ ตกเลย เพราะคนถอื ไม่ ปลอ่ ยใหต้ กลงบนพน้ื เลยในอนาคต แตน่ นั่ กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ โอกาสทแี่ กว้ นำ้� จะตกแตกในอนาคตจะ หมดหายไป กลา่ วคอื แกว้ นำ�้ นนั้ มคี ณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานหรอื พนื้ นสิ ยั (disposition) ในปจั จบุ นั ทใ่ี นอนาคต อาจตกลงบนพืน้ แลว้ แตกได้ ในทำ� นองเดยี วกันนี้ นกั อนาคตศาสตรเ์ ชอื่ ว่า ศกั ยภาพของปัจเจกบคุ คล กลุ่มคนและสังคมโดยรวมในการเติบโตและเปลี่ยนแปลงในอนาคตมีอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่ศักยภาพ เหล่านี้มักไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ด้วยเหตุน้ี วัตถุประสงค์และหน้าที่หนึ่งของอนาคตศึกษาคือ การส�ำรวจความเปน็ ไปไดใ้ นอนาคต โดยการวิเคราะห์สิง่ ทีเ่ กดิ ขึ้นแลว้ ในอดีต หรือมีอยแู่ ลว้ ในปจั จุบนั ศกึ ษาอนาคตท่ีนา่ จะเกิดขน้ึ หลงั จากทจ่ี นิ ตนาการและวเิ คราะหแ์ ลว้ วา่ อนาคตทเี่ ชอื่ วา่ เกดิ ขน้ึ ไดม้ อี ะไรบา้ ง วตั ถปุ ระสงคแ์ ละ กจิ กรรมตอ่ ไปของการศกึ ษาอนาคตคอื การวเิ คราะหว์ า่ ปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณใ์ ดบา้ งทค่ี าดวา่ นา่ จะมโี อกาสเกดิ ขน้ึ มากหรอื มากทสี่ ดุ ในอนาคตภายในกรอบระยะเวลาหนงึ่ และภายใตเ้ งอ่ื นไขชดุ หนง่ึ ดงั นนั้ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละกจิ กรรมหลกั อกี ประการหนง่ึ ของอนาคตศกึ ษาคอื การศกึ ษาอนาคตทน่ี า่ จะเกดิ ขนึ้ ได้ (probable futures) เหตกุ ารณ์หรือปรากฏการณ์ท่วี า่ น้ีมีตง้ั แต่เรอ่ื งสว่ นบุคคล เชน่ อนาคตการ ทำ� งานหลงั จากเรยี นจบมหาวทิ ยาลยั เรอ่ื งระดบั กลมุ่ คน เชน่ อนาคตของครอบครวั หลงั จากทยี่ า้ ยบา้ น ไปอยตู่ า่ งจงั หวดั ไปจนถงึ เรอื่ งระดบั สงั คมโดยรวม เชน่ อนาคตของผสู้ งู วยั ไทยในอนาคต และประเดน็ ความท้าทายระดับโลก เช่น สภาพภมู อิ ากาศของโลกในอกี 30 ปขี า้ งหน้า คำ� ถามหลกั ของการศึกษา อนาคตทน่ี า่ จะเกดิ ขนึ้ ในสว่ นนคี้ อื เหตกุ ารณห์ รอื ปรากฏการณท์ สี่ นใจอยนู่ น้ั อนาคตจะมโี อกาสเปน็ ไป อยา่ งไรไดม้ ากทสี่ ดุ ถา้ เงอ่ื นไข บรบิ ทและปจั จยั ตา่ ง ๆ ยงั คงเปน็ ไปอยา่ งเดมิ ในกรณที เี่ ปน็ ปรากฏการณ์ ที่ไดร้ บั ผลกระทบหรือเกดิ จากการกระทำ� ของมนุษย์ ค�ำถามส�ำคัญในการวเิ คราะห์อนาคตในสว่ นนี้คือ พฤติกรรมมนษุ ย์ทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องปรากฏการณน์ ัน้ จะยังคงเหมอื นเดิมหรอื เปล่ยี นไปในอนาคต การศึกษาอนาคตท่ีน่าจะเกิดขึ้นต้องก�ำหนดกรอบระยะเวลาของการวิเคราะห์ และเงื่อนไขหรือ ข้อสมมติของการวิเคราะห์ การศึกษาท้ังอนาคตท่ีเชื่อว่าเกิดข้ึนได้กับอนาคตท่ีน่าจะเกิดข้ึนต้องศึกษา สภาพปัจจุบันไปพร้อมกับแนวโน้มจากอดีต เพื่อพิจารณาวา่ แนวโน้มที่ผา่ นมาจะเป็นไปอยา่ งเดมิ ตอ่ ไปในอนาคตอกี หรอื ไมต่ ามหลกั ความตอ่ เนอ่ื งทกี่ ลา่ วมาแล้วข้างต้น หากเชอ่ื ตามสจั ธรรมทวี่ า่ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งลว้ นไมเ่ ทยี่ งและไมแ่ นน่ อน การทอ่ี นาคตเปลย่ี นแปลงไปจงึ เปน็ เรอื่ งธรรมดา ดงั นนั้ ประเดน็ จงึ ไม่ ไดอ้ ยทู่ ว่ี า่ อนาคตจะเปลยี่ นแปลงไปหรอื ไม่ แตอ่ ยทู่ ว่ี า่ อนาคตทเี่ ชอ่ื วา่ เกดิ ขนึ้ ไดน้ นั้ เปน็ แบบไหน มหี นา้ ตาเปน็ อย่างไร ภายใต้เง่อื นไขท่ีเปล่ียนแปลงไป ในกรณนี ี้ นักอนาคตศาสตร์จะตัง้ คำ� ถามว่า อนาคตที่
65 | อนาคตศึกษา เชอื่ วา่ เกดิ ขน้ึ ไดม้ ากทส่ี ดุ นนั้ เปน็ อยา่ งไร ถา้ เงอ่ื นไขเปลย่ี นแปลงไป ตวั อยา่ งเชน่ ถา้ เปน็ ประเดน็ ปญั หา ทเ่ี ก่ยี วข้องกับกจิ กรรมของมนุษย์ กจ็ ะถามว่า ภาพอนาคตนา่ จะเปน็ อยา่ งไร ถา้ พฤติกรรมของมนุษย์ เปลี่ยนไปจากทเ่ี คยเป็นอยใู่ นอดตี และเปน็ อยู่ในปัจจุบัน กแรผวนยภอานพาทคี่ต3 (Futures Cone) ดัดแปลงจาก: Voros (2003) ในการวเิ คราะหอ์ นาคตทเ่ี ช่อื ว่าเกดิ ข้ึนได้ นกั อนาคตศาสตรม์ ักเรมิ่ จากการวิเคราะห์เงือ่ นไขและ ขอ้ สมมตขิ องเหตกุ ารณห์ รอื ประเดน็ ทสี่ นใจ แลว้ จงึ ประมาณการและคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลงไปยงั อนาคตตามหลักการความคล้ายคลึง ตวั อยา่ งงานในแนวนม้ี ีอย่มู าก เช่น ในรายงาน The Limits to Growth งานวเิ คราะหด์ า้ นการใชท้ รพั ยากรของมนษุ ยเ์ รมิ่ จากการกำ� หนดขอ้ สมมตขิ องการเปลยี่ นแปลง ดา้ นพฤตกิ รรมการใชท้ รพั ยากรของมนษุ ยแ์ ละดา้ นอนื่ ๆ แลว้ จงึ คำ� นวณผลกระทบทคี่ าดวา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในงานน้ี การคาดการณก์ ารเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโลกเป็นการวิเคราะห์ ดว้ ยแบบจำ� ลองคณติ ศาสตรภ์ ายใตข้ อ้ สมมตแิ ละเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ ทง้ั นี้ เหตกุ ารณท์ วี่ เิ คราะหว์ า่ นา่ จะเกดิ ขน้ึ จะแมน่ ยำ� หรอื ใกลเ้ คยี งกบั เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในอนาคตหรอื ไมแ่ ละเทา่ ใดนนั้ ขนึ้ อยกู่ บั เงอ่ื นไข และขอ้ สมมตทิ ใี่ ชใ้ นการคาดการณ์ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การทำ� ความ เขา้ ใจในเง่ือนไขและขอ้ สมมตทิ ใี่ ชใ้ นแบบจ�ำลอง และเลือกข้อสมมติที่สมเหตสุ มผลมากทส่ี ุด การวเิ คราะหค์ วามสมเหตสุ มผลของขอ้ สมมตแิ ละเงอ่ื นไขนน้ั จำ� เปน็ ตอ้ งใชค้ วามรทู้ มี่ กี ารสะสมมา กอ่ นหนา้ นี้ ทงั้ น้ี ในกระบวนการศกึ ษาหรอื คาดการณอ์ นาคต นกั อนาคตศาสตรอ์ าจไมไ่ ดว้ เิ คราะหแ์ ละ พสิ จู นค์ วามสมเหตสุ มผลหรอื ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตกุ บั ผล (causality) ระหวา่ งปจั จยั ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง เนอ่ื งจากการพสิ จู นแ์ ละอธบิ ายความสมั พนั ธด์ งั กลา่ วจำ� เปน็ ตอ้ งมกี รอบทฤษฎแี ละกระบวนการวจิ ยั ที่ ใชเ้ วลาในการพสิ จู น์ หน้าท่ีและบทบาทหลกั ของนักอนาคตศาสตรจ์ ึงไม่ไดอ้ ยู่ท่ีการพิสจู น์สมมตฐิ าน และอธบิ ายปรากฏการณด์ ว้ ยทฤษฎี แตใ่ ชก้ ระบวนการและวธิ กี ารศกึ ษาอนาคตทปี่ ระมวลความรแู้ ละ
อนาคตศึกษา | 66 ขอ้ มลู จากหลายแหลง่ เขา้ ดว้ ยกนั ดงั นน้ั นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ มบี ทบาทในการนำ� เอาความรทู้ นี่ กั วจิ ยั คน อน่ื ไดค้ น้ พบหรอื พสิ จู นไ์ วแ้ ลว้ มาประมวลและประยกุ ตใ์ ชใ้ นกระบวนการศกึ ษาและคาดการณอ์ นาคต นักอนาคตศาสตร์ช่ือโจเซฟ โวรอส (Joseph Voros) พัฒนาภาพกรวยอนาคต (futures cone) ที่แสดงถึงความแตกต่างระหว่างอนาคตในระดับความเป็นไปได้ต่าง ๆ ทั้งอนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ (possible) อนาคตท่เี ช่ือว่าเกดิ ขึน้ ได้ (plausible) อนาคตทน่ี า่ จะเกิดข้นึ (probable) อนาคตท่หี วัง ว่าจะเกิดข้ึน (preferable futures) และอนาคตท่ีไม่มีทางเกิดขึ้น (preposterous futures) รวม ไปถงึ ฉากทัศน์ของภาพอนาคตทอี่ ยู่ในขอบเขตของอนาคตท่เี ชอื่ วา่ เกดิ ขึ้นได้ และเหตกุ ารณไ์ ม่คาดฝัน ซง่ึ อาจอยู่ในขอบเขตของอนาคตท่ีเชอื่ วา่ เกดิ ขนึ้ ไดห้ รอื ในขอบเขตของอนาคตท่ีอาจเกิดขึ้นได8้ ศึกษาภาพลักษณข์ องอนาคต อีกวัตถุประสงค์และกิจกรรมส�ำคัญของนักอนาคตศาสตร์คือการศึกษาภาพลักษณ์ของอนาคต (images of the future) ท่ีผู้คนในองค์กรหรือสังคมมีต่ออนาคตขององค์กรหรือสังคมของตนเอง นกั อนาคตศาสตรท์ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ผคู้ น้ หาและวเิ คราะหว์ า่ คนในองคก์ รหรอื สงั คมหนงึ่ มคี วามคดิ หรอื ภาพ ลกั ษณเ์ กยี่ วกบั รปู แบบ คณุ ลกั ษณะและองคป์ ระกอบของภาพอนาคตขององคก์ รหรอื สงั คมของตนเอง อยา่ งไรบา้ ง และความคิดหรอื ภาพลกั ษณน์ ัน้ มีผลอยา่ งไรบ้างตอ่ พฤตกิ รรมและกิจกรรมในปจั จบุ นั กรอบแนวคดิ และทฤษฎสี ำ� คญั ทนี่ กั อนาคตศาสตรใ์ ชว้ เิ คราะหภ์ าพลกั ษณข์ องอนาคตคอื ทฤษฎวี า่ ด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (theories of social change) ที่เน้นการวเิ คราะห์ทัศนคตแิ ละความ คิดที่มีผลต่อการตัดสินใจและพฤติกรรม แนวคิดหลักในกลุ่มน้ีได้แก่ แนวคิดภาพลักษณ์ของอนาคต (image of the future) แนวคดิ เกีย่ วกับการพฒั นา (developmental construct) ความคาดหวงั (expectations, anticipations) ความหวัง (hope) และความกลัว (fear) งานวิจัยบุกเบิกในเรอ่ื งนค้ี ือการศกึ ษาภาพลักษณ์ของอนาคตในจาเมกา (A Study of Images of the Future in Jamaica) โดยเจมส์ เอ เมา (James A. Mau)9 ในงานน้ี ผวู้ ิจยั ลงสำ� รวจภาคสนาม ในช่วงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ของจาเมกาในยุคต้นทศวรรษที่ 1960 ซึ่งเป็นช่วงการ รณรงค์ประกาศเอกราชจากอังกฤษ เนื้อหาของการส�ำรวจและการวิเคราะห์มุ่งไปท่ีทัศนคติของผู้คน เก่ียวกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีต แนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในสังคม รวมถึงอนาคตของ ประเทศ เมาสรา้ งดชั นคี วามเชอ่ื ในความกา้ วหนา้ (Index of Belief in Progress) ทม่ี าจากภาพลกั ษณ์ เกยี่ วกบั อนาคตของผนู้ ำ� ในสงั คม โดยแบง่ เปน็ ภาพลกั ษณใ์ นเชงิ บวกและเชงิ ลบ แลว้ นำ� ดชั นดี งั กลา่ วไป วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์กบั ปัจจยั อื่น ๆ ขอ้ คน้ พบหน่งึ ของงานศกึ ษานีค้ ือ ผนู้ ำ� ทรี่ ับร้เู กย่ี วกับปญั หา ความไมพ่ อใจ ความหวงั และความ กังวลของคนในสังคมจะมีภาพลักษณ์เก่ียวกับอนาคตที่ดีกว่าผู้น�ำท่ีรับรู้น้อยกว่า ข้อสรุปหน่ึงของเมา คอื ความเชอื่ ในความกา้ วหนา้ ในอนาคตไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งอดุ มคตลิ อย ๆ แตก่ ไ็ มไ่ ดต้ ง้ั อยบู่ นฐานของความ เป็นจรงิ อย่างเดียวเสมอไป ในทางกลับกนั ภาพลกั ษณ์ของอนาคตทเ่ี ป็นลบเกิดมาจากความไม่รบั รใู้ น ความเป็นจรงิ ได้เช่นกัน งานวิจัยของเมาชนิ้ น้แี สดงถึงสาเหตุหรือตน้ ตอของภาพลักษณ์ของอนาคตท่มี ี ผลตอ่ การตัดสินใจในปจั จุบนั
67 | อนาคตศกึ ษา งานอนาคตศกึ ษาอกี ชนิ้ หนงึ่ ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั ภาพลกั ษณข์ องอนาคต คอื งานศกึ ษาภาพลกั ษณ์ ของอนาคตในอารยธรรมตะวนั ตก (A Study of Images of the Future in Western Civilization) ตี พมิ พใ์ น พ.ศ. 2504 โดย เฟรด โพลกั (Fred Polak)10 งานนถ้ี อื วา่ เปน็ งานเขยี นสำ� คญั ระดบั คลาสสกิ ใน วงการอนาคตศกึ ษา ในงานน้ี โพลกั ไมไ่ ดเ้ นน้ ทส่ี าเหตหุ รอื ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ภาพลกั ษณเ์ กยี่ วกบั อนาคตดงั ในกรณขี องจาเมกา แตม่ งุ่ ไปทผ่ี ลลพั ธข์ องภาพลกั ษณข์ องอนาคตตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโดยรวม โพลักน�ำเสนอประวัติศาสตร์ของอารยธรรมตะวันตกในยุคสมัยโบราณ นับตั้งแต่อารยธรรม ซูเมอร์ (Sumer) ยุคกรีก ยุคฟื้นฟศู ลิ ปวิทยา ยคุ เรอื งปัญญา มาจนถึงยุคสมยั ใหม่ในชว่ งกลางศตวรรษ ท่ี 20 ในหนังสอื เลม่ ดังกล่าว โพลักอธบิ ายใหเ้ หน็ ว่า ภาพลักษณ์ท่ผี ูค้ นมีตอ่ สังคมของตนเองในช่วงใด ช่วงหนึ่งจะมีผลต่อการเจริญรุ่งเรืองและการถดถอยตกต�่ำของสังคมนั้น อารยธรรมที่มีความรุ่งเรือง ในอดีตมักมีความสามารถในการจนิ ตนาการเกี่ยวกบั อนาคต ข้อสรปุ หนึง่ ของโพลักคอื ความสามารถ ในการจนิ ตนาการเกยี่ วกบั อนาคตของอารยธรรมตะวันตกในช่วงกลางศตวรรษท่ี 20 เรม่ิ ตกต�่ำลง ซงึ่ สอ่ื ถงึ ความถดถอยของอารยธรรมตะวนั ตกทเี่ กดิ ขน้ึ ในชว่ งอนาคตตอ่ มา สมมตฐิ านดงั กลา่ วสอดคลอ้ ง กบั ผลลพั ธจ์ ากงานวจิ ยั ดา้ นสงั คมศาสตรจ์ ำ� นวนหนงึ่ ทเ่ี สนอวา่ ภาพลกั ษณอ์ นาคตทเ่ี ปน็ บวกจะนำ� ไปสู่ ผลลพั ธท์ เี่ ปน็ บวกดว้ ยเชน่ กนั เนอ่ื งจากภาพลกั ษณอ์ นาคตทเี่ ปน็ บวกทำ� ใหค้ นสามารถรบั มอื และจดั การ กับปญั หาและก้าวข้ามอุปสรรคท่ีเกดิ ขน้ึ เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายระยะยาวทต่ี ั้งไวใ้ นใจ แม้ว่าภาพอนาคต บางภาพอาจดเู หมือนเป็นมายาคตกิ ต็ าม11 ดว้ ยอทิ ธิพลของงานวจิ ยั ของเมาและโพลัก ประเดน็ เกีย่ วกับภาพลกั ษณอ์ นาคตจงึ กลายเป็นงาน วิจัยส�ำคัญกลุ่มหนึ่งในอนาคตศึกษา โดยครอบคลุมท้ังเน้ือหาและองค์ประกอบของภาพลักษณ์ ท่ีมา และสาเหตุ รวมถงึ ผลลัพธแ์ ละผลกระทบของภาพลกั ษณใ์ นอนาคตทีม่ ตี อ่ พฤตกิ รรมและการตัดสินใจ ของปจั เจกบคุ คล กล่มุ คนและสงั คมโดยรวม หัวขอ้ การศึกษามีต้งั แตก่ ารศกึ ษาเปรยี บเทียบความหวัง และความกลวั ของคนทวั่ ไปในหลายประเทศ12 ภาพลกั ษณอ์ นาคตของชนชนั้ นำ� ผวิ ขาวในแอฟรกิ าใต้13 รวมถงึ งานวจิ ัยเชิงชาติพนั ธ์วุ รรณนา (ethnographic research) ของรอเบริ ์ต เทกส์เตอร์ (Robert Textor) เก่ียวกบั ภาพลกั ษณอ์ นาคตของประเทศไทยทวี่ เิ คราะห์ผา่ นความเชื่อของผ้ใู หข้ อ้ มลู คนไทย14 ศกึ ษาองคค์ วามรพู้ นื้ ฐานของอนาคตศึกษา ศาสตรใ์ ดศาสตรห์ นงึ่ จะพฒั นาไดย้ อ่ มตอ้ งเสรมิ สรา้ งองคค์ วามรพู้ นื้ ฐานในเชงิ ปรชั ญา ทฤษฎแี ละ แนวคิดพ้นื ฐานทส่ี ามารถนำ� ไปตอ่ ยอดต่อไปได้ โดยเฉพาะในเชิงญาณวทิ ยา ซึ่งศกึ ษาท่ีมา ธรรมชาติ ขอบเขต และความสมเหตสุ มผลของความรเู้ กีย่ วกับอนาคต ดว้ ยเหตุนี้ วัตถุประสงค์และกจิ กรรมหลัก ประการหนึ่งของงานวิจัยด้านอนาคตศึกษาคือการพัฒนาพื้นฐานทางปรัชญาของความรู้ที่สร้างขึ้นมา และวิธวี ทิ ยาท่ีท�ำใหเ้ กิดความรใู้ นศาสตร์น้ี ตามความคิดของเวนเดล เบล พ้ืนฐานทางปรัชญาของอนาคตศึกษาในบางด้านถือว่าพัฒนามา แลว้ ระดบั หนึง่ แต่มีบางส่วนทีพ่ ัฒนามาน้อยมาก ในดา้ นวธิ กี ารวิเคราะห์และสร้างทางเลอื กของภาพ อนาคตอยา่ งเปน็ ระบบนนั้ ถอื วา่ พฒั นามาไดด้ ี โดยมงี านศกึ ษาเชงิ ประจกั ษจ์ ำ� นวนมากทน่ี ำ� วธิ กี ารศกึ ษา อนาคตเหลา่ นไ้ี ปใช้ อาทิ วธิ กี ารเดลฟายและวธิ กี ารวจิ ยั อนาคตแบบชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา รวมถงึ การจำ� ลอง สถานการณด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละการจดั กระบวนการสรา้ งภาพอนาคตแบบมสี ว่ นรว่ ม15 แตใ่ นทางกลบั
อนาคตศกึ ษา | 68 กนั องคค์ วามรู้เชิงปรชั ญาท่รี องรับแนวคดิ หลกั ของอนาคตศกึ ษา ท้ังอนาคตที่เปน็ ไปได้ อนาคตที่เชือ่ ว่าเกดิ ขึน้ ได้ และอนาคตทค่ี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ยังไม่ไดร้ บั การพฒั นามากเทา่ ใดนัก งานเขียนที่อภิปราย ประเด็นด้านญาณวิทยาของอนาคตศึกษายังมีอยู่ไม่มากเท่ากับงานเขียนเชิงประยุกต์ ตัวอย่างงาน เขียนในเชิงปรัชญาของอนาคตศึกษาหลกั ๆ เป็นงานของ โอลาฟ เฮลเมอร์ (Olaf Helmer)16 รชิ ารด์ สลอเทอร์ (Richard Slaughter)17และเวนเดล เบล (Wendell Bell)18 ศกึ ษาพ้ืนฐานดา้ นจรยิ ธรรมของอนาคตศกึ ษา นอกจากองค์ความรูพ้ ืน้ ฐานในด้านปรชั ญาและดา้ นวธิ กี าร วตั ถปุ ระสงคอ์ ีกประการหน่ึงของงาน วจิ ยั ดา้ นอนาคตศกึ ษาคอื การศกึ ษาพนื้ ฐานดา้ นจรยิ ธรรม เหตผุ ลทนี่ กั อนาคตศกึ ษาตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั พน้ื ฐานดา้ นจรยิ ธรรมเกยี่ วเนอ่ื งโดยตรงกบั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั อกี ประการหนง่ึ ของการศกึ ษาอนาคต นนั่ คอื การคน้ หาหรอื สรา้ งอนาคตทค่ี สดหวงั ใหเ้ กดิ ขน้ึ หรอื พงึ ประสงค์ นอกเหนอื ไปจากการศกึ ษาภาพ อนาคตท่ีเช่ือว่าเกิดข้ึนได้และอนาคตที่เช่ือว่าเกิดขึ้นได้ การศึกษาว่าอนาคตท่ีพึงประสงค์เป็นอย่างไร น้นั มีเน้อื หาท่ีเก่ยี วพันโดยตรงกบั ค�ำถามท่วี า่ สังคมทดี่ ีเป็นอย่างไร เน่ืองจากอนาคตท่ีพึงประสงค์และแนวคิดสังคมที่ดีสื่อถึงคุณค่าหรือความพึงพอใจท่ีมีความเป็น อัตวิสยั (subjectivity) นักอนาคตศาสตรจ์ งึ ตอ้ งหาหลักการเหตผุ ลและวธิ ีการประเมนิ ระดบั ความพึง ประสงค์ของทางเลือกอนาคตตา่ ง เพื่อตอบให้ได้ว่า ท�ำไมทางเลือกนนั้ จงึ ดกี ว่าทางเลอื กอนื่ ด้วยเหตุน้ี นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ตอ้ งศกึ ษาและตระหนกั ถงึ พนื้ ฐานทางจรยิ ธรรม ซงึ่ อาจเปน็ เกณฑห์ รอื มาตรฐานที่ เปน็ ไปตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั หิ รอื คา่ นยิ มของสงั คมทมี่ อี ยแู่ ลว้ แตเ่ ดมิ แตเ่ กณฑห์ รอื มาตรฐานของสงั คม ที่ดีในอนาคตน้ันอาจมาจากพื้นฐานทางจริยธรรมที่กว้างกว่ากรอบคุณค่าหรือค่านิยมของสังคมท่ีมีมา แตเ่ ดมิ กไ็ ด้ เชน่ แนวคดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนขน้ั พน้ื ฐานอาจขดั กบั ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ดิ ง้ั เดมิ ของชมุ ชนหนง่ึ แต่ เป็นหลักการพ้ืนฐานที่สังคมทั่วโลกให้ความส�ำคัญมากข้ึน และแนวคิดการพัฒนาท่ียั่งยืน ซ่ึงเน้นการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีค�ำนึงถึงคนรุ่นหลัง อาจขัดกับประเพณีและนิสัยในการใช้ทรัพยากรของผู้คน ในสงั คมหนงึ่ แต่ถือเป็นหลกั การและบรรทดั ฐานที่สังคมโลกให้ความส�ำคญั มากข้นึ ดังน้ันการค�ำนึงถงึ อนาคตทพ่ี งึ ประสงคจ์ งึ ตอ้ งสรา้ งชดุ เหตผุ ลทางจรยิ ธรรมใหมท่ ส่ี ามารถใชย้ นื ยนั วา่ อนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ ตอ้ งคำ� นึงถึงคนท้ังโลกและคนรนุ่ หลงั ไมใ่ ช่เพียงเพ่ือความพงึ พอใจของคนในชมุ ชนและคนร่นุ ปัจจุบัน ยง่ิ การพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกา้ วหนา้ มากเทา่ ไหรแ่ ละเปลย่ี นแปลงไป อยา่ งรวดเรว็ เทา่ ใด ความจำ� เปน็ ในการกำ� หนดพน้ื ฐานทางจรยิ ธรรมดา้ นอนาคตศาสตรย์ ง่ิ สำ� คญั เทา่ นน้ั เทคโนโลยีหลายอย่างท่ีเกิดขึ้นใหม่ท�ำให้ต้องต้ังค�ำถามด้านจริยธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น การตัด ต่อพันธกุ รรม การผลิตเน้อื สตั วจ์ ากการปลูกถ่ายเซลลใ์ นหอ้ งทดลองโดยไม่ตอ้ งมีการเล้ยี งและฆา่ สตั ว์ การเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลผา่ นทางอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ในครวั เรอื นหรอื กลอ้ งวงจรปดิ ทตี่ ดิ ตงั้ ในพน้ื ที่ สาธารณะ การตดั สินเลอื กของรถยนต์ไร้คนขับว่าจะชนใครในกรณที เ่ี กิดอุบตั เิ หตุ ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ หน้าที่และบทบาทส�ำคัญประการหนึ่งของนักอนาคตศาสตร์ คือการระบุและแสดง คุณค่าและแนวคิดพ้ืนฐานทางจริยธรรมของการศึกษาอนาคตให้ชัดเจนมากขึ้น รวมไปถึงการสร้าง เกณฑ์และมาตรฐานที่มีความเป็นวัตถุวิสัยระดับหน่ึงท่ีสามารถน�ำมาใช้ในการประเมินเป้าหมายและ องคป์ ระกอบของทางเลอื กอนาคตทพี่ งึ ประสงค์ เกณฑแ์ ละมาตรฐานเหลา่ นค้ี รอบคลมุ ไปถงึ การพฒั นา
69 | อนาคตศกึ ษา และประมวลจรรยาบรรณดา้ นวชิ าชพี ของนกั อนาคตศาสตร์ ดงั ทมี่ กี ารกำ� หนดหลกั จรรยาบรรณ (code of conduct) ในวิชาชพี อืน่ ๆ ตคี วามอดตี และปรับทิศทางปัจจบุ ัน มนษุ ยเ์ รามกั ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ โดยใชป้ ระสบการณแ์ ละสง่ิ ทเี่ รยี นรมู้ าจากอดตี มาเปน็ กรอบ นับต้ังแต่ประสบการณ์วัยเด็กท่ีเริ่มล้มลุกคลุกคลาน ลองผิดลองถูกเพ่ือลุกขึ้นน่ัง ต้ังไข่ เดินวิ่งและข่ี จกั รยาน ไปจนถึงการเรยี นในห้องเรยี นและประสบการณช์ ีวติ ในสงั คม ความผิดพลาดในอดีตมกั เป็น บทเรยี นใหเ้ ราปรบั แนวคดิ และแนวทางการดำ� เนนิ ชวี ติ และการทำ� งาน ในขณะเดยี วกนั ความสำ� เรจ็ ที่ ผา่ นมาทำ� ใหเ้ รารวู้ า่ อะไรบา้ งทคี่ วรทำ� ตอ่ ไป เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายทเี่ ราตอ้ งการในอนาคต ดงั นนั้ จงึ เปน็ เรอื่ งธรรมชาตทิ คี่ วามทรงจำ� ของอดตี มกั ใชเ้ ปน็ กรอบคดิ ของภาพลกั ษณใ์ นอนาคตทกี่ ำ� หนดพฤตกิ รรม ในปจั จบุ ัน ประเดน็ ทน่ี กั อนาคตศาสตรด์ งั เชน่ เวนเดล เบล เสนอไวค้ อื ความเชอื่ หรอื ภาพลกั ษณท์ เ่ี รามเี กย่ี ว กบั อนาคตสามารถกำ� หนดภาพลกั ษณข์ องอดตี ไดเ้ ชน่ กนั กลา่ วคอื ภาพทเี่ รามองเหน็ และคาดหวงั เกย่ี ว กนั อนาคตของตนเอง ของสังคม และของโลก สามารถก�ำหนดกรอบแนวคิดและมมุ มองที่เรามตี ่อสงิ่ ที่เกิดไปแล้วในอดีตได้ ตัวอย่างหน่ึงคืองานวิจัยของเวนเดล เบลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาพ ลกั ษณใ์ นอนาคตกบั มมุ มองเกยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรข์ องประเทศจาเมกาในยคุ กอ่ นการประกาศเอกราช หลังสงครามโลกครง้ั ที่ 219 ข้อค้นพบสำ� คญั ประการหน่ึงคือ ก่อนการปกครองตนเอง เน้อื หาในหนงั สือ ประวตั ศิ าสตรเ์ ตม็ ไปดว้ ยเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั คนขาวและระบบอาณานคิ ม แตห่ ลงั จากนน้ั เมอื่ ไดป้ กครอง ตนเองแล้ว เร่ืองราวในประวัติศาสตร์ท่ีผู้คนพูดถึงและเรียนรู้กลับกลายเป็นเร่ืองความไม่เป็นธรรมใน สังคม การใชแ้ รงงานทาส และเรื่องราวอืน่ ที่ไมไ่ ดพ้ ูดถึงมาก่อน การปรับเปลี่ยนเรื่องราวเกย่ี วกับอดตี นเ้ี กดิ ขน้ึ จากภาพอนาคตของประเทศทมี่ งุ่ เขา้ สกู่ ารประกาศเอกราชในชว่ งตอ่ มา ซง่ึ ชาวจาเมกาเชอื่ วา่ จะนำ� ไปสสู่ งั คมทมี่ อี สิ รภาพและเปน็ ธรรมมากกวา่ เดมิ ประวตั ศิ าสตรใ์ นกรณนี จ้ี งึ เปน็ เรอ่ื งราวทมี่ นษุ ย์ เลา่ ใหต้ นเองฟังเกย่ี วกบั สงั คมและชวี ิตทตี่ นเองตอ้ งการในอนาคต20 ดงั นน้ั วตั ถปุ ระสงคอ์ ีกประการหนึ่งของการศกึ ษาอนาคตคอื การสรา้ งกรอบในการตคี วามอดตี ขึ้นใหม่ ไปพร้อมกับการก�ำหนดกรอบในการตัดสินใจและกิจกรรมที่จะท�ำในปัจจุบัน จากท่ีกล่าวมา ก่อนหน้านี้ การศึกษาอนาคตเก่ียวข้องโดยตรงกับการวางแผนที่มุ่งสร้างการเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน ความเข้าใจและความมุ่งหวังเก่ียวกับอนาคตท�ำให้เราสามารถเข้าใจกับสิ่งที่เกิดข้ึนในปัจจุบันได้ดีข้ึน เพราะการท�ำความเข้าใจเก่ียวกับภาพปัจจุบัน ไม่ได้พ่ึงเพียงประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีตและแนว โน้มทจ่ี ะเป็นต่อไปในอนาคต แต่รวมไปถึงความมงุ่ หวังท่เี ราตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนในอนาคตด้วยเช่นกัน ตัวอย่างหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นว่าเป้าหมายในอนาคตมีผลต่อมุมมองเก่ียวกับปัจจุบันและอดีตคือ กรณี “น�้ำคร่ึงแก้ว” ค�ำถามที่เรามักได้ยินอยู่ประจ�ำคือ แก้วน้�ำที่มีน้�ำอยู่คร่ึงหน่ึงน้ัน เป็นแก้วน้�ำจะ เต็มครึ่งหน่ึงหรือว่างครึ่งหนึ่ง ค�ำตอบหนึ่งคือ แก้วน้�ำเต็มครึ่งหน่ึงหรือว่างครึ่งหน่ึงข้ึนอยู่กับว่าก�ำลัง จะเตมิ นำ�้ หรอื ก�ำลงั จะด่ืมน้ำ� 21 เพราะถ้าหากต้องการจะเติมน�ำ้ ใหเ้ ตม็ กจ็ ะตอบว่า แกว้ น้�ำน้นั เต็มไป ครึ่งหน่ึงแล้ว ในทางกลับกัน ถ้าคิดว่าก�ำลังจะด่ืมน�้ำให้หมด ก็จะตอบว่า น้�ำในแก้วนั้นหมดไปแล้ว ครึ่งหน่ึง ตวั อยา่ งนีแ้ สดงให้เห็นวา่ วตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ า่ งกันท�ำให้เรามีมุมมองท่ีต่างกนั เก่ยี วกบั ส่งิ ที่เกิด
อนาคตศกึ ษา | 70 ขึน้ มาก่อนหนา้ น้นั ถา้ เราตอ้ งการดมื่ นำ้� แต่มคี นดมื่ ไปแลว้ ก่อนครง่ึ หน่ึง เราจะคดิ แบบหนง่ึ แตถ่ า้ เรา ต้องการเทน�้ำทิง้ เราจะคิดอีกแบบหนึ่ง ดว้ ยเหตนุ ี้ การศกึ ษาอนาคตชว่ ยใหเ้ ราสามารถสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งสง่ิ ทเ่ี ราเชอ่ื เกย่ี วกบั อดตี สง่ิ ท่ีเราเชื่อเก่ยี วกับปัจจบุ นั และส่ิงทีเ่ ราคาดหวังสำ� หรบั อนาคต โดย (1) ตีความเกย่ี วกบั อดีตขึ้นใหม่ (2) เขา้ ใจในสิ่งทเ่ี กิดข้นึ ในปัจจุบนั (3) ตดั สนิ ใจและเร่ิมทำ� สง่ิ ตา่ ง ๆ ในปจั จุบนั และ (4) สร้างความ สมดุลระหว่างทรัพยากรท่ีเรามใี นปจั จบุ ันกบั ในอนาคต ประมวลความรแู้ ละคณุ ค่าส�ำหรับการเปล่ยี นแปลงทางสงั คม อกี บทบาทหนงึ่ ของนกั อนาคตศาสตรค์ อื การประมวลความรเู้ พอ่ื การออกแบบและดำ� เนนิ โครงการ เพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นโครงการพัฒนาที่ริเริ่มโดยภาครัฐ ภาคเอกชนหรือภาค ประชาสงั คม นโยบายหรอื โครงการพฒั นาใด ๆ กต็ ามยอ่ มตอ้ งผา่ นกระบวนการรเิ รม่ิ และวางแผน การ สรา้ งและประเมนิ ทางเลอื ก และการดำ� เนนิ โครงการ ความรทู้ จี่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชใ้ นการดำ� เนนิ โครงการตงั้ แต่ ต้นจนจบมีอยู่มากและหลากหลาย ไม่จ�ำกัดเพียงความรู้เชิงวิเคราะห์ท่ีผ่านกระบวนการค�ำนวณหรือ พิจารณาเชิงตรรกะ แต่รวมไปถึงความรู้และทักษะในการบริหารจัดการความรู้สึกและความสัมพันธ์ ระหวา่ งบคุ คลของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตลอดกระบวนการ นกั อนาคตศาสตรม์ บี ทบาทสำ� คญั ในการชว่ ย วเิ คราะห์ ประมวลและจดั ระบบความรู้ ไปพรอ้ มกบั การประสานคณุ คา่ และคา่ นยิ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสียในองคก์ รหรือสงั คมโดยรวม กระบวนการวางแผนและพฒั นาใด ๆ ยอ่ มจ�ำเป็นตอ้ งมคี วามรูเ้ ฉพาะทางของผเู้ ชีย่ วชาญมาช่วย ใหค้ ำ� ตอบในแต่ละเร่อื ง ในขณะเดยี วกัน การประสานและบรู ณาการความรเู้ ฉพาะทางเหล่าน้ีมีความ สำ� คญั อยา่ งมากในการออกแบบนโยบายการพฒั นาสำ� หรบั อนาคต เนอ่ื งจากการดำ� เนนิ โครงการในโลก แหง่ ความเปน็ จรงิ มคี วามซบั ซอ้ นและแตกตา่ งอยา่ งมากจากโครงการวจิ ยั ทผ่ี ศู้ กึ ษาสามารถลดทอน ยอ่ ส่วนและตัง้ ข้อสมมตติ ามทต่ี อ้ งการ นอกจากความรู้เชงิ วิทยาศาสตรแ์ ล้ว ความเขา้ ใจในกระบวนการ ทางสังคม วัฒนธรรมและการเมือง ถือเป็นความรู้อีกชุดหน่ึงท่ีส�ำคัญในการด�ำเนินโครงการเพ่ือการ เปลย่ี นแปลงทางสงั คม ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมผี ปู้ ระสานความรแู้ ละคณุ คา่ ทหี่ ลากหลายเขา้ ดว้ ยกนั ในการแปลงวสิ ยั ทศั นห์ รอื เปา้ หมายในอนาคตออกเปน็ กจิ กรรมทด่ี ำ� เนนิ การไดใ้ นปจั จบุ นั เพอื่ ผลติ ผล ลพั ธท์ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและพงึ ประสงค์ นกั อนาคตศาสตรส์ ามารถเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ ในการดำ� เนนิ โครงการให้เป็นไปไดอ้ ยา่ งราบรืน่ ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มแบบประชาธปิ ไตยในการออกแบบอนาคต ในยุคเร่ิมต้นของอนาคตศึกษาช่วงหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง กระบวนทัศน์หลักของศาสตร์คือ การวเิ คราะหท์ างเลอื กอนาคตดว้ ยวธิ กี ารเชงิ ระบบโดยผเู้ ชย่ี วชาญ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื การสรา้ ง ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการทหาร แตช่ ว่ งหลงั มานวี้ ตั ถปุ ระสงคส์ ำ� คญั ของศาสตรค์ อื การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม แบบประชาธปิ ไตยในกระบวนการสรา้ งและออกแบบอนาคตของคนทกุ ระดบั ในสงั คม นกั อนาคตศกึ ษา จำ� นวนหนงึ่ ทม่ี อี าชพี ใหค้ ำ� ปรกึ ษากบั องคก์ รหรอื รฐั บาลในการวเิ คราะหอ์ นาคตเพอื่ วางแผนยทุ ธศาสตร์ อาจไมใ่ หค้ วามสำ� คญั กบั กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทวั่ ไปเทา่ ใดนกั เพราะหวั ขอ้ และประเดน็
71 | อนาคตศึกษา ปัญหาท่ีเป็นโจทย์ของการศึกษาจ�ำกัดอยู่ภายในกรอบความสนใจขององค์กรท่ีว่าจ้าง แต่ส�ำหรับนัก อนาคตศาสตร์ท่ัวไป โดยเฉพาะสมาชิกในสมาพันธ์อนาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) วัตถุประสงค์ส�ำคัญของศาสตร์คือการกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมแบบ ประชาธิปไตยมากขึ้นในงานศึกษาและด�ำเนนิ การวางแผนเพอ่ื อนาคต วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ นปี้ รากฏชดั เจนในวธิ กี ารศกึ ษาและสรา้ งภาพอนาคตหลายวธิ ดี ว้ ยกนั เชน่ ในการ ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ อนาคต (futures workshops) นกั อนาคตศาสตรจ์ ะใหค้ วามสำ� คญั อยา่ งมากกบั การเลอื กผเู้ ขา้ ประชมุ โดยเนน้ การเปดิ โอกาสใหม้ ตี วั แทนจากกลมุ่ คนทหี่ ลากหลาย อกี ทง้ั ยงั จดั เตรยี มวธิ ี การและขน้ั ตอนในการประชมุ ทเี่ ปดิ โอกาสใหค้ นกลมุ่ ตา่ ง ๆ สามารถแสดงความคดิ เหน็ และแลกเปลยี่ น ความรแู้ ละภาพลกั ษณอ์ นาคตของตนเองกบั ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ คนอนื่ ไดอ้ ยา่ งเสรี แนน่ อนวา่ กระบวนการ พฒั นาและสรา้ งภาพอนาคตทส่ี ะทอ้ นหลกั การประชาธปิ ไตยอาจตอ้ งใชเ้ วลานานและทรพั ยากรมากกวา่ การวเิ คราะห์ ออกแบบและตดั สนิ ใจโดยผเู้ ชย่ี วชาญอยา่ งเดยี ว การถกเถยี งและโตแ้ ยง้ กนั ของแตล่ ะคน อาจทำ� ใหก้ ระบวนการชา้ ลง และในบางประเดน็ อาจหาวธิ แี กไ้ ขปญั หาแบบฉนั ทามตไิ มไ่ ด้ กระนนั้ กต็ าม นกั อนาคตศาสตรเ์ ชอ่ื วา่ กระบวนการพฒั นาและเลอื กภาพอนาคตดว้ ยกนั ของคนในสงั คมจะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและความเคารพในความคิดที่แตกตา่ งมากข้ึน และจะน�ำไปสูผ่ ลลพั ธท์ ี่ดีกว่าในระยะยาว สื่อสารและผลกั ดนั อนาคตที่พงึ ประสงค์ นักอนาคตศาสตร์บ่อยครั้งอาจมีบทบาทมากกว่าการเป็นผู้ประมวลความรู้และคุณค่าของคนอื่น และมีบทบาทมากกว่าการกระตุ้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการสร้างภาพ อนาคตและกำ� หนดทศิ ทางของการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม รวมถงึ บทบาททม่ี ากกวา่ การเปน็ ผปู้ ระสาน กระบวนการสรา้ งภาพอนาคตและวสิ ยั ทศั น์ส�ำหรบั องคก์ รหรือสังคม นกั อนาคตศาสตรส์ ามารถแสดง บทบาทเชิงรุกมากกว่านั้น ท้ังในการประเมินว่า ภาพอนาคตใดเป็นภาพที่พึงประสงค์สำ� หรับองค์กร หรือสังคม รวมถึงการสื่อสารและเผยแพร่ภาพอนาคตที่พึงประสงค์ให้กลุ่มคนอื่น ๆ หรือสาธารณชน ไดร้ บั รู้ และการรณรงค์เรียกรอ้ งและผลกั ดนั ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงนโยบายหรือสถาบัน เพอ่ื ให้ภาพ อนาคตทตี่ ้องการเกดิ ขนึ้ จริง การมีส่วนร่วมโดยตรงในการผลกั ดนั นโยบายถือวา่ เป็นบทบาททางการเมือง ดงั นน้ั อาจกลา่ วได้ ว่า วัตถุประสงค์ของอนาคตศึกษาอาจไม่จ�ำกัดอยู่เพียงแค่การศึกษาและวิเคราะห์อนาคตเพ่ือเตรียม พรอ้ มสำ� หรบั การวางแผนเทา่ นนั้ แตร่ วมไปถงึ การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งโดยตรง ในกรณนี ้ี นกั อนาคต ศาสตรจ์ งึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งนกั วเิ คราะหท์ อี่ ยบู่ นหอคอยงาชา้ ง แตเ่ ปน็ นกั ปฏบิ ตั คิ นหนง่ึ ทชี่ ว่ ยสรา้ ง เผยแพร่ และใชป้ ระโยชนจ์ ากความรเู้ กย่ี วกบั อนาคตเพื่อการตัดสินใจในปัจจบุ นั การนำ� เสนอความคดิ เพ่อื การ ปฏบิ ตั ิจริงจงึ ถือเปน็ วตั ถปุ ระสงคส์ ำ� คัญของอนาคตศึกษาในปจั จุบัน
อนาคตศกึ ษา | 72 ขอ้ สมมตใิ น การศกึ ษาอนาคต วิธีการคน้ หาความรไู้ ม่ว่าในศาสตรใ์ ดกต็ ามย่อมตง้ั อยู่บนขอ้ สมมตแิ ละเง่ือนไขทางปรชั ญา ทฤษฎีและ แนวคดิ บางประการ ซงึ่ มผี ลตอ่ การนำ� ความรทู้ ค่ี น้ พบไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ อนาคตศาสตรก์ ม็ ขี อ้ สมมตแิ ละ เงอ่ื นไขอยหู่ ลายประการเชน่ กนั นกั อนาคตศาสตรแ์ ละนกั คาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรต์ อ้ งทำ� ความเขา้ ใจ ในข้อสมมตแิ ละเง่ือนไขเหล่าน้ี เพื่อวเิ คราะห์และแปลผลจากขอ้ มูลได้อยา่ งถูกตอ้ งและแมน่ ยำ� มากขึ้น ขอ้ สมมตสิ �ำคญั ของอนาคตศกึ ษามดี ังต่อไปน2้ี 2 เวลากบั อนาคต ข้อสมมติเกี่ยวกับเวลาเป็นพ้ืนฐานเบ้ืองต้นท่ีสุดของการท�ำความเข้าใจเก่ียวกับอนาคต การรับรู้และ ความเขา้ ใจของมนษุ ยเ์ กย่ี วกบั เวลามผี ลอยา่ งยง่ิ ตอ่ การรบั รเู้ กยี่ วกบั เหตกุ ารณ์ ปรากฏการณแ์ ละสงิ่ ตา่ ง ๆ ที่เกิดขน้ึ ในธรรมชาติ การดำ� เนนิ ชีวติ ของมนุษยแ์ ละส่ิงมชี วี ติ อ่ืน ๆ รวมไปถึงการพัฒนาความรดู้ ้าน ต่าง ๆ นกั วจิ ัยท้ังในสาขาวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ เชน่ ฟิสกิ ส์ และสาขาสังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ ตา่ งมคี ำ� อธบิ ายและขอ้ สมมตหิ ลายประการเกย่ี วกบั สง่ิ ทเี่ รยี กวา่ เวลา ในอนาคตศกึ ษาเชน่ กนั ขอ้ สมมติ เกีย่ วกบั เวลาเป็นพ้ืนฐานของขอ้ สมมตอิ ่ืน ๆ เกยี่ วกบั อนาคต รวมถงึ แนวคิดทฤษฎที ีน่ กั อนาคตศาสตร์ ใชว้ เิ คราะหแ์ ละคาดการณ์ปรากฏการณ์ในอนาคต ข้อสมมติหลักเกี่ยวกับเวลาที่เป็นพ้ืนฐานของอนาคตศึกษากระแสหลักในปัจจุบันเป็นไปตาม แนวคดิ ฟิสิกส์แบบนวิ ตัน กล่าวคือ เวลาผา่ นไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง เป็นเสน้ ตรงไปทางเดียว และย้อนกลับ ไม่ได้ ดว้ ยข้อสมมติดงั กลา่ ว จึงเกิดขอ้ สมมติสืบเนอ่ื งวา่ เหตกุ ารณห์ นง่ึ เกิดข้ึนก่อนหรือหลังเหตุการณ์ อน่ื และความตอ่ เนอื่ งของเวลาเปน็ สง่ิ กำ� หนดอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต เวนเดล เบล (Wendell Bell) อธิบายประเด็นสำ� คญั ของข้อสมมตินี้ไว้โดยสรปุ ดังน้ี เหตกุ ารณแ์ ละกระบวนการ การรับรู้เก่ียวกับเวลาเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสามารถแยกแยะเหตุการณ์ท่ี เกิดขึ้นในปัจจุบันจากสิ่งท่ีเกิดข้ึนในอดีตและอนาคต เวลาที่ว่าน้ีมีทั้งเวลาในเชิงกายภาพ (physi- cal time) เวลาในเชงิ ชวี ภาพ (biological time) เวลาในเชงิ จติ วทิ ยา (psychological time) และเวลา เชงิ สงั คม (social time)23 นกั คดิ และนกั เขยี นในอดตี หลายคน เชน่ เอมลิ ดรู ไ์ กม์ (Emile Durkheim)
73 | อนาคตศกึ ษา เสนอวา่ เวลาเป็นเพียงส่ิงที่มนษุ ย์คิดขน้ึ ในขณะทพี่ ิทริ ิม โซโรคิน (Pitirim Sorokin) และรอเบริ ์ต เม อร์ตัน (Robert Merton) เสนอว่า เวลาในเชิงดาราศาสตร์ (astronomical time) เปน็ เพียงหนง่ึ ใน หลายความคิดเกี่ยวกับเวลาที่มนุษย์คิดข้ึน และเวลาเป็นเคร่ืองมือหนึ่งของระบบการสร้างการร่วมมือ ทางสงั คม (social collaboration)24 อยา่ งไรกต็ าม เวนเดล เบล ใหค้ วามเหน็ แตกตา่ งออกไปวา่ แนวคดิ วา่ ดว้ ยเวลาเหลา่ นไ้ี มไ่ ดแ้ ยกสงิ่ ที่เรียกว่าเวลา (time) ออกจากการรับรเู้ กีย่ วกับเวลาของมนษุ ย์ (human perception of time) ใน การศกึ ษาอนาคต ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั เวลา นกั อนาคตศาสตรต์ อ้ งแยกแยะใหช้ ดั เจนระหวา่ งเวลาใน เชิงวตั ถวุ ิสัย คอื เวลาที่ไม่ข้ึนอยกู่ บั ความคดิ ของมนุษย์ กบั เวลาในเชิงอตั วิสัย คือเวลาทร่ี บั รโู้ ดยมนษุ ย์ ทง้ั น้ี การทำ� ความเข้าใจกับสถานการณ์ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ และกระบวนการต่าง ๆ ในอนาคต ศึกษา ต้องค�ำนึงถงึ มิติของเวลาใน 4 ด้านดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ ลำ� ดับเวลา (เหตุการณ์เกิดขึน้ กอ่ นหรือหลัง) ชว่ งเวลา (เกดิ ขนึ้ นานเทา่ ไหร)่ ตำ� แหนง่ ของเวลา (เกดิ ขน้ึ เมอื่ ไหรต่ ามปฏทิ นิ ) และอตั ราเกดิ ซำ้� (ความถ่ี ของการเกดิ เหตกุ ารณเ์ ดยี วกนั )25 การวเิ คราะหแ์ ละคาดการณอ์ นาคตตอ้ งเขา้ ใจในความแตกตา่ งระหวา่ ง มติ ขิ องเวลาทัง้ 4 ดา้ นน้ี เวลาผ่านไปอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ไปในทศิ ทางเดียว และย้อนกลบั ไม่ได้ ขอ้ ถกเถยี งวา่ เวลาผา่ นไปอย่างต่อเนอ่ื ง (continuous) หรือไมต่ อ่ เน่ือง (discrete) เป็นค�ำถามนักคิด นักวิจัยพยายามพิสูจน์มาเป็นเวลานาน นักฟิสิกส์บางกลุ่มเสนอว่า เวลามีคุณลักษณะดังเช่นแสง ซึ่ง ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบยอ่ ยทแ่ี บง่ ออกไดท้ เ่ี รยี กวา่ ควอนตา้ (quanta) คณุ ลกั ษณะดงั กลา่ วแสดงวา่ เวลาไมไ่ ดผ้ า่ นไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แต่แนวคดิ ดังกล่าวยังอยู่ในข้นั ของการพิสูจนเ์ ชิงวิทยาศาสตร์ และเกนิ ขอบเขตของการวเิ คราะห์ของอนาคตศึกษาในปัจจบุ นั ข้อสมมติหลกั ของการศกึ ษาอนาคตในปัจจุบัน จึงเช่อื ว่า เวลาเป็นดงั เช่นพื้นที่ (space) ทม่ี คี วามต่อเน่ืองและเช่อื มต่อกันอยา่ งไม่สิ้นสดุ ข้อสมมติเก่ียวกับทิศทางของเวลามีนัยส�ำคัญส�ำหรับการศึกษาอนาคตเช่นกัน ข้อถกเถียงในท่ีน้ี คือ เวลาเคล่ือนไหวผ่านไปในทิศทางเดียว เคล่ือนไหวเป็นวงกลม (circular) ท่ีย้อนกลับมาจุดตั้งต้น หรือเคล่อื นไหวเปน็ วงจร (cyclical) ที่มขี ึน้ มลี ง นกั ประวตั ศิ าสตร์และสังคมศาสตร์บางกลุ่มเสนอวา่ ชุมชนเกษตรกรรมในยคุ โบราณเชือ่ ว่า เวลาผ่านไปเป็นวงจรตามฤดกู าลของแตล่ ะปี และหมุนเวยี นไป เรื่อย ๆ ดังนั้น แนวคิดของวัน สัปดาห์และปีจึงสะท้อนความเช่ือในการย้อนกลับของเวลาเป็นวงจร ต่อมา ความเช่ือในทิศทางของเวลาท่ีเป็นวงจรถูกแทนท่ีด้วยแนวคิดที่ว่า เวลาผ่านไปในทิศทางเดียว (unidirectional) โดยเฉพาะเม่ืออารยธรรมและสงั คมมนษุ ย์เร่มิ ขยายใหญ่ข้ึนและมคี วามซับซอ้ นมาก ขนึ้ จึงตอ้ งมกี ารวางแผนเพอื่ กอ่ สร้างอาคารและโครงสร้างพ้นื ฐานในเมือง เพอ่ื ทำ� สงคราม เพอ่ื พาณิช ยกรรมและการคา้ ระหวา่ งเมอื งและระหวา่ งทวปี การวางแผนนยั หนง่ึ คอื การควบคมุ และบรหิ ารจดั การ กับเวลาและทรัพยากรต่าง ๆ ในอนาคต แม้ว่าความเช่ือในวงจรเวลายังคงมีอยู่เรื่อยมา แต่ความเช่ือ ในเวลาที่เคลือ่ นผ่านไปในทศิ ทางเดยี วและไปข้างหนา้ ได้รับการยอมรบั และแพรห่ ลายมากข้นึ แนวคิด นี้เป็นไปตามพัฒนาการและการแพร่ขยายของกลุ่มศาสนาจูเดโอ-คริสเตียน ซ่ึงเช่ือว่าเวลามีจุดเริ่มต้น และประวตั ิศาสตร์เคลอื่ นไปข้างหนา้ 26
อนาคตศกึ ษา | 74 กลมุ่ นกั อนาคตศาสตรส์ มยั ใหมก่ ย็ ดึ ขอ้ สมมตเิ กยี่ วกบั รปู แบบและทศิ ทางการเคลอ่ื นไหวของเวลา ในท�ำนองเดียวกัน ตามความคิดของเวนเดล เบล แม้ว่าเหตุการณ์และปรากฏการณ์ในธรรมชาติและ การด�ำเนนิ กจิ กรรมในสังคมมนษุ ยอ์ าจดเู หมือนวา่ เกดิ ข้นึ เปน็ วงจร เชน่ ฤดูกาล การทำ� งาน และการ พกั ผอ่ น แต่น่ันไม่ได้หมายความว่า เวลาผ่านไปแลว้ ยอ้ นกลบั มาเป็นวงจร ขอ้ สมมติหลักของอนาคต ศาสตรใ์ นปัจจบุ ันคือ เวลาเคลอ่ื นผ่านไปขา้ งหน้าและไมย่ ้อนกลับมา (irreversible) เหตกุ ารณท์ ีเ่ กิดข้นึ ในอนาคตอาจไม่เคยเกดิ มาก่อน ข้อสมมติท่ีสองของอนาคตศึกษาคือ ส่ิงที่เกิดข้ึนในอนาคตอาจไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในอดีต ส่ิงท่ีว่า น้ีอาจเป็นสิ่งของที่จับต้องได้ท้ังในเชิงกายภาพและชีวภาพ หรือเป็นเหตุการณ์และปรากฏการณ์ทาง สงั คม ดว้ ยข้อสมมตินี้ ความรู้และประสบการณจ์ ากอดตี อาจไม่สามารถใช้เป็นพื้นฐานหรือหลกั อา้ งอิง ให้กับการตัดสินใจและการดำ� เนนิ การในอนาคตเสมอไป ท้งั นี้ นกั อนาคตศาสตร์เชอ่ื ว่า ความเรว็ ของ การเปลี่ยนแปลงมผี ลต่อการรับรู้และทำ� ความเขา้ ใจของมนุษย์ เมอ่ื การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม สงั คมวฒั นธรรมและเทคโนโลยเี ปน็ ไปอยา่ งชา้ ๆ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั อดตี และปจั จบุ นั สามารถใชเ้ ป็นกรอบแนวคิดและแนวทางของการตดั สนิ ใจและการด�ำเนนิ การเพอ่ื อนาคตได้ เนือ่ งจาก อนาคตอาจไมแ่ ตกต่างมากจากปัจจุบันและอดตี แต่เมอ่ื การเปลี่ยนแปลงเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ความรู้ และประสบการณจ์ ากอดตี อาจไม่เปน็ ประโยชน์ในการเตรียมพร้อมสำ� หรับอนาคต จึงจ�ำเป็นต้องสรา้ ง กระบวนการรับรู้ขอ้ มูลและเรียนรู้องคค์ วามรู้ชุดใหม่สำ� หรับอนาคต ไมม่ ีขอ้ เทจ็ จริงเกยี่ วกับอนาคต เงอ่ื นไขสำ� คญั อกี ประการหนง่ึ ในอนาคตศกึ ษาคอื อนาคตไมม่ หี ลกั ฐานทสี่ ามารถสงั เกตและพสิ จู นไ์ ดใ้ น เชงิ ประจกั ษ์ จงึ ไมม่ ขี อ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั อนาคต (future facts) แตถ่ า้ เราไมม่ ขี อ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั อนาคต แลว้ เราจะสามารถรบั รเู้ กยี่ วกบั อนาคตไดอ้ ยา่ งไร ประเดน็ นถ้ี อื เปน็ ปฏทิ รรศนห์ รอื พาราดอ็ กซ์ (para- dox) ของอนาคตศกึ ษา กลา่ วคอื เราพยายามสรา้ งความรเู้ กยี่ วกบั อนาคตโดยทไี่ มม่ ขี อ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั อนาคตด้วยการค้นหาและพิสูจน์ข้อเท็จจริงเก่ียวกับอดีต สร้างทางเลือกในปัจจุบัน และจินตนาการ ความเปน็ ไปได้ในอนาคต เงอ่ื นไขหรอื ข้อสมมติท่วี า่ ไม่มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นอดีตและขอ้ เท็จจรงิ เก่ียวกบั อนาคต ถอื เปน็ ประเด็นหนึ่งทีน่ ักอนาคตศาสตรเ์ กอื บท้งั หมดเห็นพ้องตอ้ งกนั 27 ด้วยเหตนุ ้ี อนาคตจึงเปน็ พื้นท่ีของความไมแ่ นน่ อน (uncertainty) นักอนาคตศาสตรต์ อ้ งประสบ กบั ความทา้ ทายในการสรา้ งองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั อนาคตทแี่ มน่ ยำ� ทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได้ เพอ่ื สรา้ งทางเลอื ก ในการด�ำเนินการและตดั สินใจอยา่ งถกู ตอ้ งทส่ี ุด ในขณะเดียวกัน นกั อนาคตศาสตรต์ ระหนักดีวา่ การ คาดการณ์เก่ียวกับอนาคตไม่ถือว่าเป็นความรู้ที่แท้จริง เน่ืองจากไม่ได้มีข้อเท็จจริงท่ีสามารถพิสูจน์ได้ แต่อยา่ งน้อยก็สามารถสร้างทางเลอื กของภาพอนาคตที่เชื่อว่าเกดิ ข้ึนได้
75 | อนาคตศึกษา การคดิ เกี่ยวกับอนาคตเปน็ พืน้ ฐานของมนุษย์ อกี ข้อสมมติหน่ึงทสี่ ำ� คัญของอนาคตศึกษาคือ การคิดเชงิ อนาคต (futures thinking) เปน็ พื้นฐานของ การกระทำ� ของมนษุ ย์ ดงั ทกี่ ลา่ วมาในบทนำ� การคดิ คำ� นงึ เกย่ี วกบั อนาคตเปน็ พน้ื ฐานของการดำ� รงชวี ติ ของมนุษย์มาแต่ไหนแต่ไร นักอนาคตศาสตร์จึงยึดข้อสมมติน้ีเป็นหลักการในการวิเคราะห์และการ คาดการณ์ อย่างไรก็ตาม นกั อนาคตศาสตร์ตระหนกั ดถี ึงขอ้ จำ� กัดท่ีว่า ผ้คู นท่วั ไปไมไ่ ดค้ ำ� นึงถึงอนาคต ได้ดแี ละได้ไกลเทา่ ท่คี วร โดยมากมกั มขี อ้ จ�ำกดั ในการเรยี นรเู้ พื่อพจิ ารณาและค�ำนึงถึงอนาคต เพราะ มขี อ้ มูลทีจ่ ำ� กัดหรือไม่มีวธิ ีการทเ่ี หมาะสม นอกจากนี้ ผ้คู นทัว่ ไปมกั ไม่มองภาพระยะยาว และมงุ่ เนน้ แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตรงข้างหน้าหรืออนาคตระยะสั้น ข้อจ�ำกัดเหล่านี้ไม่ได้เกิดเฉพาะกับการตัดสิน ใจระดบั ปจั เจกบุคคลเท่านั้น แต่รวมไปถึงการตัดสินใจร่วมกันของผคู้ นในสงั คมโดยรวม28 ความรเู้ กยี่ วกับอนาคตเป็นความรูท้ ีม่ ีประโยชน์ท่ีสดุ ขอ้ สมมตสิ ำ� คญั อกี ประการหนง่ึ คอื ความรเู้ กยี่ วกบั อนาคตทง้ั ในแงข่ องปจั เจกบคุ คลและในแงข่ องสงั คม สว่ นรวมถอื เปน็ ความรทู้ มี่ ปี ระโยชนท์ สี่ ดุ สำ� หรบั การดำ� เนนิ กจิ กรรมเพอื่ ดำ� รงชวี ติ การตดั สนิ ใจทม่ี เี ปา้ หมายชัดเจนจะเกิดประโยชน์หรือไม่และเท่าใดน้ันข้ึนอยู่กับความรู้เก่ียวกับอนาคตที่แต่ละคนหรือ แตล่ ะกลมุ่ คนมอี ยกู่ บั ตวั รวมถงึ ความสามารถในการใชข้ อ้ มลู ความรนู้ น้ั ในกระบวนการตดั สนิ ใจเพอ่ื ให้ ได้ผลลพั ธท์ ด่ี ที ีส่ ุดตามเป้าหมายทต่ี ้ังไว้ ความรู้ดังกล่าวมีต้ังแตค่ วามรทู้ ไ่ี ด้จากการคาดการณร์ ะยะส้ัน เชน่ การตดั สนิ ใจเมอ่ื ขบั รถและตอ้ งเลยี่ งอบุ ตั เิ หตุ เสน้ ทางทข่ี บั แลว้ จะไปถงึ จดุ หมายไดเ้ รว็ และปลอดภยั ท่สี ุด ไปจนถึงความรู้สำ� หรับการตัดสินใจทีม่ ีเป้าหมายระยะยาว เชน่ การเลอื กคณะหรอื สาขาเรียนใน มหาวทิ ยาลยั การเลือกงาน การเลอื กทอ่ี ยอู่ าศยั หรอื แม้แตก่ ารเลือกค่คู รอง ทางเลอื กเหล่านลี้ ้วนตอ้ ง มีขอ้ มูลและความรู้เกีย่ วกบั อนาคตในดา้ นต่าง ๆ เพื่อประกอบการตดั สนิ ใจ นกั อนาคตศาสตรเ์ ชอ่ื วา่ ความรเู้ กย่ี วกบั อดตี สามารถชว่ ยใหเ้ ราสามารถทำ� ความเขา้ ใจในปจั จบุ นั ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยสรา้ งแนวทางทชี่ นี้ ำ� การตดั สนิ ใจทมี่ ผี ลตอ่ อนาคต อยา่ งไรกต็ าม ความเขา้ ใจใน อดีตอย่างเดียวไม่สามารถสร้างข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์และมากเพียงพอท่ีจะท�ำให้เราสามารถเตรียม พรอ้ มและจดั การกบั สถานการณใ์ นอนาคตไดท้ งั้ หมด การศกึ ษาอนาคตจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั เปลย่ี นขอ้ มลู เกี่ยวกบั อดตี ใหเ้ ปน็ ความรเู้ กย่ี วกับอนาคตทส่ี มเหตสุ มผลและมคี วามเปน็ ไปได้ ขั้นตอนแรกของกระบวนการดงั กลา่ วคือ การพิสจู นว์ า่ ความรู้เก่ยี วกับอดตี ที่มอี ยู่นนั้ ถกู ตอ้ งหรือ ไม่ ดว้ ยการตรวจสอบแหลง่ ขอ้ มลู และประเมนิ การตคี วามทเ่ี คยมมี าเกย่ี วกบั ขอ้ มลู นน้ั ขน้ั ตอนตอ่ มาคอื การประเมนิ วา่ ความรู้เกี่ยวกับอดีตสามารถประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ปัจจุบัน ได้หรือไม่ แล้วจึงวิเคราะห์ต่อว่า ผลลัพธ์ของการกระท�ำในปัจจุบันจะเป็นอย่างไรบ้างในอนาคต ข้ันตอนสุดท้ายคือการสืบหาหลักฐาน ทั้งในเชิงตรรกะ เชิงทฤษฎี และเชิงประจักษ์ เพื่อโต้แย้งและ หักล้างสมมติฐานเกี่ยวกับภาพอนาคตที่สร้างขึ้นมาจากข้อมูลในอดีต ขั้นตอนเหล่านี้จะช่วยตัดสินได้ ว่า ข้อมลู ความรจู้ ากอดตี สามารถใช้กับสถานการณใ์ นอนาคตได้หรือไม่ อดตี มคี วามสำ� คญั ในฐานะเปน็ พนื้ ฐานสำ� หรบั การมองอนาคต ทง้ั ในกรณที เี่ ราตอ้ งการภาพอนาคต ท่ีคล้ายกับภาพอดีตท่ีดี และในกรณีท่ีเราไม่ต้องการให้อนาคตเหมือนกับอดีตท่ีเป็นความผิดพลาด
อนาคตศกึ ษา | 76 ความรเู้ กย่ี วกบั อดตี เปน็ พนื้ ฐานสำ� หรบั การสรา้ งและทดสอบความเชอ่ื เกย่ี วกบั อนาคต แตภ่ าพอนาคต กข็ ึ้นอยู่กับการจินตนาการด้วยความคดิ เชงิ ตรรกะ ซง่ึ ช่วยเปลย่ี นความรเู้ กย่ี วกบั อดีตเป็นความรู้เกยี่ ว กับอนาคต แตใ่ นบางกรณี ความรูเ้ กีย่ วกบั อดตี กลายเปน็ อุปสรรคมากกว่าเปน็ โอกาส และท�ำให้ภาพ อนาคตแคบลงมากกว่าชว่ ยขยายภาพใหก้ ว้างข้นึ ในกรณีดังกลา่ ว แตล่ ะคนแตล่ ะสังคมจึงจำ� เปน็ ตอ้ ง สร้างทางเลือกของภาพอนาคตที่พึงประสงค์ข้ึนมาใหม่ นักอนาคตศาสตร์เช่ือว่า ไม่ว่าจะเป็นในกรณี ไหนกต็ าม ความรู้เกี่ยวกบั อนาคตมปี ระโยชนส์ �ำหรับการตดั สินใจในปจั จุบนั อนาคตทเี่ ปดิ กว้าง อกี ขอ้ สมมตหิ นงึ่ ในอนาคตศาสตรค์ อื อนาคตไมไ่ ดถ้ กู กำ� หนดไวแ้ ลว้ และไมใ่ ชว่ า่ มนษุ ยเ์ ราจะไมส่ ามารถ เปลี่ยนอนาคตได้ นักอนาคตศาสตร์โดยท่ัวไปเช่ือว่า อนาคตเต็มไปด้วยโอกาสและมีความเป็นไปได้ เสมอ อนาคตจึงไมไ่ ดม้ ีเพื่อใหค้ น้ พบ แต่เพื่อเปดิ กวา้ ง ด้วยขอ้ สมมตนิ ี้ อนาคตจงึ เกย่ี วข้องโดยตรงกบั เสรภี าพ เนอื่ งจากอนาคตจะเปน็ อยา่ งไรนนั้ สว่ นหนงึ่ ขน้ึ อยกู่ บั สง่ิ ทเ่ี ราเลอื กทจี่ ะทำ� ในปจั จบุ นั แตไ่ มใ่ ช่ วา่ อนาคตจะเปดิ กวา้ งไปทงั้ หมด ขอบเขตของอนาคตอาจจ�ำกัดดว้ ยบริบทและเงือ่ นไขตา่ ง ๆ ทง้ั ดา้ น ชวี ภาพ กายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และจติ วิทยา จากมมุ มองน้ี อนาคตจึงเต็มไปด้วยความ เป็นไปได้ เงอื่ นไข ความแนน่ อนและความไมแ่ นน่ อน รวมถงึ โอกาสและข้อจ�ำกดั ไปพร้อมกัน ผลลัพธ์ในอนาคตเกิดจากการกระทำ� ของปจั เจกบคุ คลและกล่มุ บุคคล พร้อมกนั น้ี นกั อนาคตศาสตร์เชอื่ วา่ ปจั เจกบุคคล กลุ่มคนและองค์กรทางสงั คมมีอำ� นาจควบคมุ ปัจจยั ที่ก�ำหนดการกระท�ำในปัจจุบันและโอกาสท่ีเกิดขึ้นในอนาคต กระน้ันก็ตาม คนคนหน่ึงอาจควบคุม อนาคตของตนเองไดบ้ างสว่ น แตก่ ม็ บี างอยา่ งทค่ี วบคมุ โดยบคุ คลอนื่ หรอื กลมุ่ คนอน่ื ในสงั คม ขอ้ สมมติ น้ถี อื เปน็ พน้ื ฐานสำ� คัญของอนาคตศกึ ษา เพราะส่อื ความหมายว่า เราต้องการศึกษาอนาคตไมใ่ ชเ่ พยี ง เพอ่ื รเู้ ท่านั้น แต่เพอ่ื ควบคุมและจัดการกบั อนาคตด้วยการตัดสนิ ใจและการกระทำ� ในปัจจุบนั ข้อสมมตินี้ประกอบกับข้อสมมติว่าด้วยอนาคตท่ีเปิดกว้าง ถือเป็นความท้าทายหลักของอนาคต ศาสตร์ ความทา้ ทายในประเดน็ นคี้ อื อนาคตทวี่ า่ เปดิ กวา้ งนนั้ เปดิ กวา้ งจรงิ เทา่ ใด ภายใตข้ อ้ จำ� กดั และ เงื่อนไขใด ในขณะเดยี วกัน อนาคตทว่ี ่าข้ึนอย่กู บั เง่ือนไขต่าง ๆ น้ัน สามารถก�ำหนดและควบคุมไดโ้ ดย ความต้ังใจและความสมัครใจของมนุษย์เองมากน้อยเท่าใด อะไรบ้างที่สามารถเปล่ียนแปลงได้ ด้วย ความเป็นไปไดม้ ากนอ้ ยเท่าใด และดว้ ยความพยายามของเราเองเทา่ ใด ในขณะเดยี วกัน อนาคตอะไร บา้ งทไ่ี มส่ ามารถเปลยี่ นแปลงไดภ้ ายใตเ้ งอื่ นไขและขอ้ จำ� กดั ทม่ี อี ยู่ บทบาทสำ� คญั ของนกั อนาคตศาสตร์ คือการท�ำให้เราเหน็ ถึงทุกสง่ิ ทีส่ ามารถเปลี่ยนแปลงได้ และทุกสิง่ ทีข่ น้ึ อยูก่ บั ความตงั้ ใจของเราเอง สาระหลักของข้อสมมติน้ีเป็นเรื่องความเป็นองค์รวมและการพ่ึงพากันของระบบต่าง ๆ ในโลก และไม่มรี ะบบหรอื หน่วยใดในโลกท่แี ยกขาดออกจากกนั ได้ ดังน้นั การทำ� ความเข้าใจในความสัมพนั ธ์ เชิงพลวัตของโลกจึงต้องเริ่มจากการยอมรับว่า หน่วยวิเคราะห์หนึ่งใดย่อมมีผลกระทบสืบเน่ืองต่อ หนว่ ยอ่ืนอยู่เสมอ ไม่มากก็น้อย ข้อสมมติว่าด้วยความสัมพันธ์แบบพ่ึงพากัน (interdepend- ence) ของส่ิงต่าง ๆ ในโลกท�ำให้การมองอนาคตต้องมีมุมมองแบบองค์รวมและแบบข้าม ศาสตร์ (transdisciplinary) แนวคดิ หนง่ึ เปน็ ทย่ี อมรบั ในปจั จบุ นั ทง้ั ในวงการวทิ ยาศาสตร์ สงั คมศาสตร์
77 | อนาคตศกึ ษา และศาสตร์อน่ื ๆ โดยเฉพาะในดา้ นนเิ วศวิทยาและการพฒั นาทยี่ ั่งยืน คอื แนวคดิ ทีว่ า่ ระบบเศรษฐกจิ สงั คม และระบบอนื่ ในระดบั โลกลว้ นพงึ่ พาทรพั ยากรของทง้ั โลก อกี ทงั้ ยงั เกย่ี วขอ้ งและพง่ึ พาซงึ่ กนั และ กนั การศกึ ษาและการวางแผนเพอ่ื ความยง่ั ยนื จงึ ตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละความเชย่ี วชาญดา้ นเทคนคิ และดา้ น องค์กรของทกุ ภาคส่วนทั้งโลก จึงจะประสบความสำ� เร็จได้ ความเกย่ี วเนอื่ งและพงึ่ พาซงึ่ กนั และกนั ระหวา่ งสงิ่ ตา่ ง ๆ ในโลกนท้ี ำ� ใหก้ ารตดั สนิ ใจและการดำ� เนนิ การด้านนโยบายจ�ำเป็นต้องมีมุมมองเชิงบูรณาการ นักอนาคตศาสตร์ในช่วงหลังจึงขยายมุมมองการ วเิ คราะหใ์ หค้ รอบคลมุ ผลกระทบและผลลพั ธท์ ไี่ มไ่ ดต้ งั้ ใจไวก้ อ่ น (unintended consequences) โดยไม่ จำ� กดั เฉพาะผลกระทบขน้ั แรกของสาเหตหุ รอื หนว่ ยวเิ คราะหท์ ต่ี งั้ ใจไวแ้ ตต่ น้ ยกตวั อยา่ งเชน่ การพฒั นา เทคโนโลยีดา้ นพลังงานในเครื่องใช้ไฟฟา้ ชว่ ยลดการประหยดั ใช้พลังงานตอ่ หนว่ ย แตท่ ำ� ให้ผบู้ ริโภคใช้ พลงั งานโดยรวมมากขน้ึ เพราะคดิ วา่ ไดป้ ระหยดั พลงั งานตอ่ หนว่ ยไปแลว้ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ผลสะทอ้ นกลบั (rebound effect) อกี กรณีหน่งึ คือ การใชม้ าตรการเพมิ่ ความปลอดภยั ในการเดินทาง เช่น การใช้ หมวกกันน็อคและเข็มขัดนิรภัย ท�ำให้คนขับข่ีรถจักรยานยนต์หรือคนขับรถยนต์รู้สึกปลอดภัยมากข้ึน จงึ ขบั รถเสยี่ งมากขนึ้ และอาจทำ� ใหอ้ บุ ตั เิ หตโุ ดยรวมไมล่ ดลงหรอื กลบั เพมิ่ ขนึ้ มากกวา่ เดมิ ปรากฏการณ์ นเ้ี รยี กว่าการชดเชยความเสย่ี ง (risk compensation) หรือผลกระทบเพลซ์มัน (Peltzman effect) อีกนยั หนงึ่ ของความเกี่ยวเน่ืองและการพึ่งพาซึ่งกันและกนั ของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในโลกคอื การตัดสินใจ และการดำ� เนินการใด ๆ ย่อมจำ� เป็นตอ้ งใชค้ วามรแู้ ละความเช่ียวชาญข้ามศาสตร์และสาขา ด้วยเหตุน้ี อนาคตศาสตรจ์ งึ พยายามกา้ วพน้ ความเชย่ี วชาญเฉพาะสาขาและการแบง่ แยกวชิ าการและวชิ าชพี ออก เปน็ สาขาและกลมุ่ ยอ่ ย ดว้ ยความตระหนกั วา่ ไมม่ ศี าสตรห์ รอื สาขาหนง่ึ เดยี วทส่ี ามารถตอบคำ� ถามหนง่ึ ได้ ครบถว้ นทกุ ดา้ นทกุ มมุ มอง ดังน้ัน หัวข้อด้านอนาคตศาสตร์จึงมักเน้นประเด็นที่วิเคราะห์และดำ� เนนิ การได้จากมุมมองของศาสตร์และสาขาท่ีหลากหลาย คณะผู้วิจัยงานด้านอนาคตศึกษาจึงมักมาจาก หลากหลายสาขาทรี่ ่วมวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์องค์ความรู้เก่ยี วกบั ประเดน็ ปัญหาเดยี วกนั อนาคตบางภาพดกี วา่ ภาพอนื่ อีกข้อสมมติหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของอนาคตศาสตร์คือความเช่ือที่ว่า อนาคตบางภาพดีกว่าอนาคตภาพ อน่ื ดงั นน้ั เมอื่ นกั อนาคตศาสตรว์ เิ คราะหแ์ ละสรา้ งชดุ ทางเลอื กของอนาคตไดแ้ ลว้ ขน้ั ตอนตอ่ ไปคอื การ ประเมนิ วา่ ทางเลอื กอนาคตไหนทพี่ งึ ประสงคม์ ากกวา่ กนั นกั อนาคตศาสตรอ์ าจชว่ ยผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการประเมินทางเลือกอนาคตให้ได้อย่างถูกต้องและแม่นย�ำ ด้วยการแสดงผลลัพธ์ท่ีอาจเกิดข้ึนใน อนาคตแตล่ ะภาพ หรอื ดว้ ยการวิเคราะห์คณุ คา่ (value) ท่ใี ช้ในการประเมนิ ทางเลอื กของอนาคตทพี่ งึ ประสงค์ รวมทง้ั การวเิ คราะหแ์ ละแสดงขอ้ สมมตทิ เี่ ปน็ พน้ื ฐานของคณุ คา่ ในการประเมนิ ใหก้ ระจา่ งแจง้ คณุ คา่ ทว่ี า่ นอ้ี าจเปน็ คา่ นยิ มและธรรมเนยี มปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ สากล ซง่ึ ไมข่ นึ้ อยกู่ บั พนื้ ทหี่ รอื สงั คมวฒั นธรรม ใด หรืออาจเป็นคณุ คา่ เฉพาะพ้นื ท่ีหรือสงั คมวฒั นธรรมก็ได้
อนาคตศึกษา | 78 อนาคตศกึ ษากบั ทฤษฎี การเปลีย่ นแปลง การศึกษาอนาคตโดยพื้นฐานคือการวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในอดีตและปัจจุบันเพ่ือ สรา้ งความรู้เกย่ี วกบั อนาคต หากไมม่ กี ารเปล่ยี นแปลง ก็ยอ่ มไมม่ ีอดตี ไม่มีปัจจุบัน และไม่มีอนาคต อนาคตศึกษาจึงเป็นศาสตร์ท่ีมุ่งท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ แล้วน�ำความ เข้าใจนั้นมาคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง จงึ เป็นพื้นฐานส�ำคัญของอนาคตศึกษา จุดเร่มิ ต้นของอนาคตศกึ ษาและการคาดการณ์เชงิ ยทุ ธศาสตร์ คือการพรรณนาและอธิบายการเปลยี่ นแปลง นบั ต้งั แตร่ ปู แบบ ขอบเขต ระดับและความเรว็ ของการ เปลยี่ นแปลง ไปจนถงึ สาเหตแุ ละผลลพั ธข์ องการเปลย่ี นแปลงนนั้ งานดา้ นอนาคตศาสตรจ์ งึ อาจเหมอื น งานประวตั ศิ าสตรต์ รงทเี่ ปน็ การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหป์ รากฏการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในอดตี อยา่ งเปน็ ระบบ ส่วนท่ีเพ่ิมข้ึนมาคือการน�ำความรู้น้ันมาคาดการณ์ต่อว่า การเปล่ียนแปลงท่ีเคยเกิดขึ้นในอดีตจะแปร เปลีย่ นไปอย่างไรในอนาคต ประเภทของการเปล่ียนแปลง การเปลี่ยนแปลงเป็นพ้ืนฐานของการคงอยู่ของสรรพสิ่งในโลก และเป็นองค์ประกอบท่ีพบเห็นอยู่ ทั่วไป หน่ึงในไตรลักษณ์ตามหลักสัจธรรมทางพุทธศาสนาท่ีระบุถึงปกติวิสัยหรือสภาพที่เป็นไปตาม ธรรมชาติ คือ อนิจจัง ซงึ่ หมายถงึ ความไม่เทีย่ งหรอื ความไมถ่ าวรคงท่ีแน่นอนและอย่สู ภาพเดิมตลอด ไป ตามแนวคิดดังกลา่ ว สรรพส่งิ ในโลกน้ยี ่อมเปลยี่ นแปลงอยูเ่ สมอ ไมม่ สี ่งิ ใดหยุดน่งิ อยู่ท่ีเดิมและคง สภาพอยา่ งเดมิ ได้ตลอดไป เพียงแตบ่ างส่ิงอาจเปลย่ี นแปลงช้า จนดเู หมือนไมเ่ ปลีย่ นแปลง บางอย่าง อาจเปล่ียนแปลงเร็ว จนสงั เกตไม่ทนั การเปลยี่ นแปลงมผี ลอยา่ งยงิ่ ตอ่ การดำ� รงชพี และวถิ ชี วี ติ ของมนษุ ย์ โดยเปน็ บอ่ เกดิ ของทง้ั โอกาส ความคาดหมาย และความหวัง รวมถงึ ความไม่แนน่ อน ความกังวล หรือแม้แต่ความกลวั การใชช้ ีวิต ทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลงอาจเปน็ ความสนุกสนาน ตน่ื เตน้ และทา้ ทายสำ� หรบั บางคน แตส่ �ำหรับคน อ่ืน อาจท�ำให้เกิดความสับสนและเหน็ดเหน่ือย ความรู้สึกได้ถึงการเปล่ียนแปลงเป็นส่วนหน่ึงของสติ ของมนุษย์ และความเชื่อท่ีว่า มนุษย์เราสามารถท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงได้ในระดับปัจเจกหรือใน ระดบั สังคม ถือเปน็ องคป์ ระกอบส�ำคญั ของการทำ� ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ตนเองของมนษุ ย์ นักปรัชญาได้เสนอและถกเถียงเกี่ยวกับความหมายของค�ำว่าการเปลี่ยนแปลงมาเป็น เวลานาน และมีประเด็นปลีกย่อยท่ีจะสนใจแต่เกินขอบเขตเน้ือหาของหนังสือเล่มน้ี อย่างไรก็ตาม
79 | อนาคตศกึ ษา ในบทน้ี ขอกำ� หนดนิยามพน้ื ฐานของการเปล่ยี นแปลงเพือ่ เปน็ พ้นื ฐานสำ� หรบั การท�ำความเข้าใจเก่ยี ว กับอนาคตไว้ว่า การเปล่ียนแปลงคือความแตกต่าง (difference) หรือความผิดกัน (non identity) ใน คณุ ลกั ษณะของสงิ่ (things)29 ตวั อยา่ งหนงึ่ ของการเปลยี่ นแปลง (change) เกดิ ขน้ึ เมอ่ื อณุ หภมู ริ ะหวา่ ง ตำ� แหนง่ หนงึ่ กบั อกี ตำ� แหนง่ หนง่ึ บนผนื โลกแตกตา่ งกนั หรอื เมอื่ ความกดดนั อากาศทว่ี ดั ไดใ้ นพน้ื ทห่ี นงึ่ แตกตา่ งจากอกี พนื้ ทห่ี นง่ึ อยา่ งไรกต็ าม ในบรบิ ททว่ั ไปและในการศกึ ษาอนาคต คำ� วา่ การเปลยี่ นแปลง ส่อื ถึงความแตกตา่ งในคณุ ลกั ษณะของสง่ิ ทีเ่ กดิ ขึ้นในช่วงเวลาหน่งึ กลา่ วคอื เป็นการเปลยี่ นแปลงใน มิติของเวลา (temporal change) แนวคดิ การเปลี่ยนแปลงมคี วามเก่ยี วพันกับแนวคิดวา่ ด้วยสาเหตุ (cause) แมว้ ่ายงั มีขอ้ ถกเถยี ง ในเชิงปรัชญา แต่ก็เป็นที่ยอมรับอย่างน้อยในวงการปรัชญาตะวันตกว่า การเปล่ียนแปลงสามารถ แยกออกจากสาเหตุได้ กล่าวคือ การเปล่ียนแปลงที่ไม่มีสาเหตุ (uncaused change) สามารถเกิด ข้ึนได้ท้ังในเชิงแนวคิด (conceptually) และในสภาพจริง ดังในกรณีของการสลายกัมมันตรังสี (radioactive decay) ในทางกลับกัน สาเหตุประการหน่ึงอาจท�ำให้สิ่งหนึ่งไม่เปลี่ยนแปลงก็เป็นได้ ด้วยเหตุนี้ สาเหตุจึงไมไ่ ด้เปน็ ทง้ั เงอ่ื นไขจ�ำเป็น (necessary condition) และเงอ่ื นไขเพียงพอ (suffi- cient condition) ของการเปลีย่ นแปลงในสง่ิ หนึง่ ส่งิ ใด30 ระดับการเปลย่ี นแปลง ความสนใจในอนาคตศกึ ษาเพม่ิ มากขนึ้ ในชว่ งน้ี สว่ นหนงึ่ นา่ จะมาจากความตระหนกั ถงึ การเปลยี่ นแปลง อยา่ งรวดเร็วและในวงกว้างในด้านต่าง ๆ ของโลกปัจจุบัน นับตัง้ แตพ่ ัฒนาการดา้ นเทคโนโลยีรอบตัว อาทิ เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะอินเทอรเ์ น็ตและอุปกรณ์สอ่ื สารอน่ื ๆ ท่ีใชก้ ันอย่ใู นชวี ิตประจ�ำ วนั มนษุ ยใ์ นโลกปจั จบุ นั ใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื อยตู่ ลอดเวลา จนเหมอื นกบั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของรา่ งกายมนษุ ย์ และดูเหมอื นเป็นเร่ืองธรรมดาแล้ว แตไ่ มน่ านมาน้ี คนจ�ำนวนมากยงั ไม่มีแม้แต่โทรศพั ทต์ ้งั โต๊ะทบ่ี ้าน เศรษฐกจิ โลกทเี่ ชอ่ื มโยงกนั อยา่ งแยกไมอ่ อกกด็ เู หมอื นจะเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ถงึ กบั ตอ้ งมชี อ่ งขา่ ว เศรษฐกจิ ของสถานีโทรทศั นท์ ่เี สนอข่าวอยู่ตลอดเวลา และมีขอ้ มูลราคาการซอ้ื ขายหุ้นวิ่งตรงขา้ งล่าง จอโทรทศั นอ์ ยตู่ ลอดเวลา ในดา้ นการเมอื งกด็ เู หมอื นจะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ ทกุ ๆ วนั ดเู หมอื น จะมีการประชุมผู้น�ำประเทศ มีการชุมนุมประท้วงไม่ว่าเรื่องใดก็เรื่องหน่ึง มีการต่อสู้และท�ำสงคราม ในพ้ืนท่ีใดท่ีหน่ึงในโลก การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับโลกมาพร้อมกับภัยพิบัติทาง ธรรมชาตทิ ่เี กดิ ขึ้นตลอดเวลาและพยากรณ์ไม่ไดว้ า่ จะเกิดขึน้ เมอ่ื ไหร่อยา่ งไร การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วในดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมและการเมอื งเหล่าน้ี เกิดขนึ้ ไป พรอ้ มกบั การรับรขู้ อ้ มูลในปริมาณและความรวดเร็วท่ีไมเ่ คยมีมาก่อนในอดีต ชวี ิตคนเราในปัจจบุ นั ก็ เต็มไปด้วยขอ้ มูลข่าวสารท่เี ข้ามาในหลายรูปแบบ ทั้งบนสื่อโซเชียล ท้งั ทางเฟซบ๊กุ ไลนแ์ ละทวติ เตอร์ เวบ็ ไซต์สำ� นักขา่ ว และรายการข่าวทางโทรทศั น์ ขอ้ มูลและขา่ วเหล่าน้ลี ว้ นแล้วแตน่ ำ� เสนอภาพของ การเปล่ียนแปลงในเร่อื งราว รปู แบบและระดบั ความเรว็ ต่าง ๆ รายงานข่าวที่เปลย่ี นทกุ ช่วั โมง และ ขา่ วด่วนที่เปลี่ยนทุก ๆ นาที จะเหน็ ไดว้ ่า สังคมเราใหค้ วามสนใจและความส�ำคัญกับการเปล่ยี นแปลง มากกว่าส่ิงท่ีไม่เปล่ียนแปลงและคงท่ี ความสนใจดังกล่าวสะท้อนสัญชาตญาณและประสาทสัมผัส ของมนุษย์ท่ีรับรู้และตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนรอบตัวเรา แทนท่ีจะเสียเวลาไปกับส่ิงท่ี ไม่เปลย่ี นแปลงและคงทอ่ี ย่เู ช่นเดมิ
อนาคตศกึ ษา | 80 ในช่วงหลัง เราอาจได้ยินคนพูดหรืออ่านเจอหัวข้อบทความในนิตยสารที่ว่า อินเทอร์เน็ตหรือ เทคโนโลยบี างอยา่ งทำ� ใหท้ กุ สงิ่ ทกุ อยา่ งเปลย่ี นแปลงไป ประโยคดงั กลา่ วคงเปน็ เพยี งแคก่ ารสรา้ งความ ตน่ื เตน้ และนา่ สนใจใหก้ บั ผฟู้ งั และผอู้ า่ น เพราะในความเปน็ จรงิ อนิ เทอรเ์ นต็ ไมไ่ ดท้ ำ� ใหท้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง เปลย่ี นไป แนน่ อนวา่ การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศไดท้ ำ� ใหช้ วี ติ คนเราและสงั คมมนษุ ยเ์ ปลย่ี น ไปมาก เชน่ เดียวกบั การพัฒนาเทคโนโลยีด้านอนื่ ๆ ท้ังการแพทย์ การเกษตร การเดนิ ทาง ฯลฯ และ การเปลยี่ นแปลงดา้ นการเมอื งในอดตี ทง้ั ระบอบการปกครอง รฐั บาล ผนู้ ำ� ประเทศ รวมไปถงึ สงคราม ระหว่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกท่ีเป็นประเด็นส�ำคัญอยู่ในปัจจุบัน เหตุการณ์และสาเหตุเหล่านี้ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และชัดเจน โดยส่งผลกระทบต่อชีวิต คน สังคมและส่ิงแวดลอ้ มในวงกว้าง ทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลงครงั้ ใหญท่ เี่ กดิ ขนึ้ นี้ หลายสง่ิ หลายอยา่ งกอ็ าจไมไ่ ดเ้ ปลย่ี นแปลงไปมาก นัก จากมมุ มองดงั กลา่ ว กอ็ าจมคี นโต้แย้งได้ว่า การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทีผ่ ่านมาไมไ่ ดท้ �ำให้ ความโหยหาปฏิสัมพันธก์ ับผู้คนของมนษุ ย์ลดนอ้ ยลงไป มนุษยก์ ็ยังเปน็ สัตว์สงั คมอยูเ่ ช่นเดิม เพียงแต่ รูปแบบปฏิสมั พนั ธอ์ าจเปลย่ี นไปเทา่ นน้ั สว่ นในดา้ นการเมอื ง ก็อาจมขี อ้ โต้แย้งวา่ การเปลี่ยนแปลง รฐั บาลหรอื ผนู้ ำ� ประเทศกอ็ าจไมไ่ ดท้ ำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงเชงิ โครงสรา้ งการเมอื งเทา่ ใด เพราะกลมุ่ ทนุ กย็ งั คงกมุ อำ� นาจอยเู่ หมอื นเดมิ สงั คมโลกสงั คมไทยกย็ งั ประสบปญั หาความเหลอ่ื มลำ้� ความยากจน และความเสอื่ มโทรมของสงิ่ แวดลอ้ มอยเู่ ชน่ เดมิ ตามความคดิ นี้ คำ� อา้ งวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ขนึ้ อยู่ มากนัน้ ละเลยประเด็นปญั หาหลายอย่างในเชงิ โครงสรา้ งท่ไี ม่ได้เปลย่ี นแปลงไปเลย ข้อถกเถียงเกี่ยวกับความเปล่ียนแปลงและความคงที่เป็นพ้ืนฐานของหลักการส�ำคัญในการ ศึกษาการเปล่ียนแปลงเพื่อคาดการณ์อนาคต กล่าวคือ การศึกษาอนาคตต้องระบุได้ว่า อะไรบ้างได้ เปลีย่ นแปลงไป และในรูปแบบและระดับเทา่ ใด พร้อมกนั น้ี กต็ อ้ งระบุถงึ และเขา้ ใจด้วยว่า อะไรบ้าง ท่ียงั คงเหมอื นเดิม และไม่เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ อนาคตทางเลอื ก อีกแนวคิดหนึ่งที่เป็นพ้ืนฐานของอนาคตศึกษาคืออนาคตทางเลือก ซึ่งหมายถึงการท�ำความเข้าใจ ว่า การเปล่ียนแปลงจะเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้างในอนาคตตามระดับความเป็นไปได้ที่หลากหลาย ท้ังนี้ สังเกตได้จากค�ำว่า futures ท่ีเติม s เพ่ือสื่อถึงความเป็นพหูพจน์ของอนาคต แนวคิดอนาคตทาง เลือกน้ีส่ือให้เห็นว่า การศึกษาอนาคตไม่ได้มุ่งไปท่ีการท�ำนาย (predict) ว่าอนาคตจะเกิดอะไรขี้น แต่เป็นการวิเคราะห์หาภาพอนาคตท่ีสามารถเกิดข้ึนได้ในระดับความเป็นไปได้ต่าง ๆ เพ่ือวางแผน และเตรียมพร้อมรับมือกับภาพอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้ แนวคิดอนาคตทางเลือกเกี่ยวโยงกับแนวคิด ความไมแ่ น่นอนและความแนน่ อน รวมถงึ ข้อสมมติ (assumptions) ของภาพอนาคตท่คี าดการณไ์ ว้ การพยากรณ์ (forecast) หรือการคาดการณ์จะแม่นย�ำหรือไม่น้ัน ก็ข้ึนอยู่กับข้อสมมติท่ีตั้งไว้เก่ียว กบั สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง เข้าใจการเปลีย่ นแปลงข้างนอก เพือ่ สรา้ งการเปล่ยี นแปลงข้างใน การศึกษาอนาคตโดยเฉพาะในการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์มุ่งไปท่ีการเปลี่ยนแปลงสองส่วน ส่วน แรกคือการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนท้ังภายนอกและภายในองค์กร ระบบ
81 | อนาคตศกึ ษา หรือพ้ืนท่ีที่สนใจ เพ่ือค้นหาและสร้างภาพอนาคตทางเลือก ส่วนท่ีสองเป็นการก�ำหนดและด�ำเนิน การเปลี่ยนแปลงท่ีมุ่งไปสู่อนาคตท่ีพึงประสงค์ ด้วยการวางแผนและการด�ำเนินการ รูปแบบการ เปล่ียนแปลงท้ังสองสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนใน โลกภายนอกและภายในองค์กรเป็นพ้ืนฐานของความเข้าใจในเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต และเป็นพื้นฐานของทางเลือกว่าจะท�ำอะไรได้บ้างเพื่อให้อนาคตเป็นไปตามท่ีต้องการ เมื่อได้เลือก เส้นทางที่ต้องการด�ำเนินการแล้ว จึงเป็นการวางแผนและการด�ำเนินการตามแผนต่อไป ดังน้ัน การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในโลกภายนอกไม่ได้ก�ำหนดภาพอนาคตของปัจเจกบุคคล องค์กร หรือสังคมท่ตี ายตัวเสมอไป แต่ละคนแตล่ ะองคก์ รมที างเลือกท่ีสามารถดำ� เนินการได้ เพอ่ื ให้ ภาพอนาคตเป็นไปตามทีต่ นเองต้องการ ในขณะเดียวกนั กไ็ มไ่ ด้หมายความวา่ แตล่ ะคนแต่ละองค์กร สามารถสรา้ งอนาคตไดต้ ามทตี่ นเองตอ้ งการไดท้ ง้ั หมดและเสมอไป ขอ้ จำ� กดั และเงอื่ นไขภายนอกกม็ ี ผลต่อทางเลอื กและภาพอนาคตที่แตล่ ะคนสามารถสร้างไดเ้ ช่นกัน มติ ิของการเปลยี่ นแปลง ในการวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงเพอ่ื เปน็ ฐานสำ� หรบั การศกึ ษาอนาคต นกั อนาคตศาสตรม์ กั วเิ คราะห์ การเปลย่ี นแปลงใน 4 มิตดิ ว้ ยกนั ไดแ้ ก่ (1) ทีม่ าของการเปลย่ี นแปลง (2) ชว่ งเวลาการเปลี่ยนแปลง (3) อตั ราการเปลีย่ นแปลง และ (4) รปู แบบการเปล่ียนแปลง31 ที่มาของการเปล่ยี นแปลง การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากสองแหล่งด้วยกัน คือ จากโลกภายนอกและจากภายในตัวเอง การ เปลี่ยนแปลงจากภายนอกมีผลต่อปัจเจกบุคคลและองค์กร ในขณะที่การเปล่ียนแปลงจากภายใน มุ่งหวังให้เกิดการเปล่ียนแปลงในสิ่งแวดล้อมภายนอก ภาพอนาคตเกิดจากปฏิสัมพันธ์ของการ เปลย่ี นแปลงของทง้ั สองแหลง่ น้ี แนวคดิ เกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงนเ้ี ปน็ พนื้ ฐานของกระบวนการศกึ ษา อนาคตและการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ใี่ ชอ้ ยทู่ ว่ั ไป การกวาดสญั ญาณเปน็ ขน้ั ตอนและวธิ กี ารหนงึ่ ในการทำ� ความเขา้ ใจกบั การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ภายนอกและอาจมผี ลตอ่ ปจั เจกและองคก์ ร ในขณะ ทกี่ ารกำ� หนดภาพอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ การสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ และการพยากรณย์ อ้ นกลบั (backcasting) น�ำไปสกู่ ารวางแผนและการด�ำเนินการทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงข้นึ จริง การวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงในระดับโลกท่ีกว้างกว่าสภาพแวดล้อมรอบตัวเป็นองค์ประกอบ สำ� คัญของการศึกษาอนาคต นักอนาคตศาสตรใ์ หค้ วามส�ำคัญกบั การเปล่ียนแปลงในระดับโลก ไมใ่ ช่ เพราะเหตกุ ารณแ์ ละปรากฏการณใ์ นระดบั โลกสำ� คญั กวา่ ในระดบั ทอ้ งถนิ่ หรอื ในระดบั ปจั เจก แตเ่ ปน็ เพราะการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกมักมองไม่เห็นหรือมองเห็นไม่ชัดเจนจากมุมมองในระดับท่ีเล็ก ลงมา เนอื่ งจากคนทว่ั ไปโดยมากใหค้ วามสนใจและความสำ� คญั กบั ปจั จยั และสภาพแวดลอ้ มทเี่ กดิ รอบ ขา้ งตนเอง ความเขา้ ใจในการเปลย่ี นแปลงในระดบั โลกทำ� ใหป้ จั เจกและองคก์ รสามารถวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ การเปลย่ี นแปลงในระดบั โลกจะมผี ลกระทบตอ่ อนาคตของตนเองหรอื ไม่ และตอ้ งวางแผนเพอ่ื เตรยี ม พรอ้ มและรบั มอื ไดอ้ ยา่ งไร ในขณะเดยี วกนั ความเขา้ ใจในการเปลย่ี นแปลงระดบั โลกกท็ ำ� ใหส้ ามารถ ตดั สนิ ใจไดว้ า่ แตล่ ะคนแตล่ ะองคก์ รเหน็ ทางเลอื กและตดั สนิ ใจมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งการเปลย่ี นแปลง ทที่ ำ� ใหภ้ าพอนาคตดีกว่าท่เี ปน็ อย่ใู นปจั จุบนั ได้อยา่ งไรบ้าง
อนาคตศึกษา | 82 ในการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ม่ี งุ่ ศกึ ษาอนาคตเพอ่ื การวางแผนในระดบั องคก์ ร การวเิ คราะห์ การเปลย่ี นแปลงมงุ่ ไปท่หี นว่ ยวิเคราะห์ 3 ระดับ ได้แก่ ระดบั ภายในองคก์ ร ระดับสภาพแวดลอ้ มของ องค์กรหรือพื้นท่ี และระดับโลก การเปลี่ยนแปลงในระดับสภาพแวดล้อมขององค์กรอาจสังเกตได้ ง่าย เน่ืองจากมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับองค์กรและเกิดอยู่เป็นประจ�ำ คล้ายกับคล่ืนเหนือน้�ำทะเลใน มหาสมุทรท่ีปรับระดับสูงต่�ำตามความรุนแรงของลมที่พัดอยู่เหนือน�้ำ แต่การเปล่ียนแปลงระดับโลก อาจข้ึนอย่างช้า ๆ ในระดับท่ีลึกกว่า แต่มีผลกระทบในวงกว้างกว่าและหลีกเลี่ยงได้ยากกว่า ดังเช่น คล่นื ใตน้ �้ำในมหาสมุทร อย่างไรก็ตาม การแบ่งระหว่างการเปล่ียนแปลงระดับสภาพแวดล้อมกับระดับโลกมีนัยที่ขึ้นอยู่ กับบริบทของประเดน็ ท่ีต้องการวเิ คราะห์ หน่งึ ในตัวอยา่ งของความแตกตา่ งระหว่างการเปลย่ี นแปลง ระดบั สภาพแวดลอ้ มกบั ระดบั โลกคอื เหตกุ ารณน์ ำ�้ ทว่ ม สถานการณน์ ำ�้ ทว่ มในลมุ่ นำ�้ เจา้ พระยาอาจถอื เป็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนประจ�ำในระดับสภาพแวดล้อมของพื้นท่ีน้ี แต่หากช่วงเวลาและความถี่ ของน้�ำท่วมเปลี่ยนแปลงจากแนวโน้มเดิม และหากสาเหตุของนำ้� ท่วมส่วนหน่ึงเกิดจากระดับนำ้� ทะเล ที่สูงมากข้ึน การเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตเห็นเป็นสถานการณ์น้�ำท่วมน้ัน อาจสื่อถึงสภาพภูมิอากาศท่ี เปล่ยี นแปลงไปในระดับโลก เหตกุ ารณน์ ้ำ� ท่วมอาจถือเป็นการเปล่ียนแปลงในระดับโลกดว้ ยเชน่ กนั อีกตัวอย่างหน่ึงคือการท่ีพนักงานจ�ำนวนหนึ่งต้องออกจากงานถือเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับ องคก์ รหรอื ระดับทอ้ งถิน่ แตอ่ าจเกิดจากสาเหตทุ บ่ี รษิ ทั ผผู้ ลติ สินคา้ ไม่สามารถแข่งขนั ได้ในตลาดโลก เนอ่ื งจากประเทศอน่ื มตี น้ ทนุ แรงงานทถ่ี กู กวา่ หรอื เกดิ จากนโยบายกดี กนั การคา้ ของประเทศผซู้ อื้ สนิ คา้ ในทวปี อเมริกาเหนือหรอื ยโุ รป ซง่ึ เปน็ ปัจจัยในระดับโลก เปน็ ตน้ ในกระบวนการวิเคราะห์เพ่ือศึกษาอนาคต ประเด็นการเปล่ียนแปลงในระดับโลกมักแบ่งออก เป็นกลุ่มตามสาขาหรือหัวข้อที่ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ได้ง่ายข้ึน กรอบแนวคิดหนึ่งที่นิยมใช้ในกลุ่ม นักอนาคตศึกษาและคาดการณ์คือ STEEP (social, technological, economic, environmen- tal, and political) หรือประเดน็ ปจั จยั ดา้ นสงั คม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอ้ ม และการเมือง ใน บางกรณี อาจเพิม่ ประเด็นด้านคณุ ค่า (value) เข้าไปด้วย นอกจาก STEEP แลว้ ยงั มกี รอบแนวคิดท่ี คล้ายกัน อาทิ PESTEL หรือ PESTLE ซึ่งเพ่ิมปัจจัยด้านกฎหมาย (legal) เข้าไปในการวิเคราะห์ STEEPLE และ STEEPLED ซึ่งเพ่ิมประเด็นด้านจริยธรรม (ethics) และด้านประชากร (demo- graphic) และ PMESII-PT (political, military, economic, social, information, infrastruc- ture, physical environment, and time) ไม่วา่ จะใชก้ รอบแนวคิดใดกต็ าม ความเข้าใจพืน้ ฐาน เกยี่ วกบั กรอบแนวคิดเหลา่ นี้คือ ปัจจัยทแ่ี ยกออกมาเปน็ กลมุ่ เหลา่ น้ี มีผลกระทบซง่ึ กันและกัน แมว้ ่า เราไมอ่ าจสามารถระบแุ ละทำ� ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงในทกุ ดา้ นได้ แตก่ ารระบแุ ละเขา้ ใจ ในการเปลี่ยนแปลงสำ� คญั ในระดบั โลก มคี วามส�ำคัญอยา่ งยงิ่ ตอ่ การคาดการณ์การเปลีย่ นแปลงทอ่ี าจ เกดิ ขึ้นในอนาคตระยะยาว ชว่ งเวลาการเปลยี่ นแปลง วัตถุประสงค์หลักของการกวาดสัญญาณการเปลี่ยนแปลงคือการมองให้เห็นภาพชัดท่ีสุดภายในระยะ ห่างจากจุดมองของแต่ละคน โดยอาจเป็นการมองระดับภายในองค์กรไปจนถึงระยะห่างออกไปใน ระดับประเทศและระดับโลก วัตถปุ ระสงค์ของการกวาดสัญญาณท่ีมงุ่ ไปท่ภี าพทไ่ี กลทีส่ ดุ นน้ั สะทอ้ น
83 | อนาคตศกึ ษา อย่ใู นค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ คำ� ว่า horizon scanning ท่ีใช้สื่อถึงการกวาดสญั ญาณ นอกเหนอื จากคำ� ว่า environmental scanning ที่ใช้อยทู่ ่วั ไป ค�ำว่า horizon หรอื เสน้ ขอบฟา้ สอื่ ถึงจดุ ไกลสุดบนโลก นีท้ ีม่ นุษยส์ ามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปลา่ อยา่ งไรกต็ าม การกวาดสญั ญาณการเปลย่ี นแปลงไมไ่ ดม้ กี รอบเพยี งในดา้ นพน้ื ที่ (space) เทา่ นนั้ แตม่ กี รอบดา้ นเวลา (time) ดว้ ยเชน่ กนั โดยอาจแบง่ เปน็ กรอบเวลาระยะสนั้ ระยะกลาง และระยะยาว ในโครงการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อการวางแผนมักมีการก�ำหนดปีเป้าหมาย เช่น พ.ศ.2575, พ.ศ.2580, ค.ศ.2030, ค.ศ.2040 หรอื อาจก�ำหนดเปน็ กรอบระยะเวลาไว้ เชน่ ระยะเวลา 5 ปี 10 ปี หรอื 20 ปี ตวั เลขเหล่านเ้ี ป็นเพยี งกรอบกว้าง ๆ ของการก�ำหนดชว่ งเวลาของการเปลีย่ นแปลง ตวั เลข ท่ีใช้จงึ มกั เปน็ ตัวเลขกลม ๆ ทไ่ี มไ่ ดส้ ื่อถงึ ความเฉพาะเจาะจงของปีใดเปน็ พเิ ศษ ชว่ งระยะเวลาทวี่ เิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงยังแปรผนั ไปตามประเดน็ และหัวข้อทสี่ นใจ บางเร่ือง มีความหมายและนัยของการเปล่ียนแปลงในระยะยาว เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใน ขณะที่การเปล่ียนทางการเมืองมักเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาส้ัน นักอนาคตศาสตร์มักให้ความสนใจ กับการเปล่ียนแปลงในระยะยาว โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก ซ่ึงมักใช้เวลานานกว่าการ เปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มในระดบั องคก์ รหรอื ระดับท้องถิ่น ดว้ ยเหตุน้ี งานคาดการณร์ ะดบั โลก จำ� นวนมากจงึ ตง้ั ช่วงระยะเวลาการวิเคราะหไ์ ว้ที่ 20 หรือ 30 ปจี ากเวลาปจั จบุ นั ขอ้ โต้แย้งหนึ่งเกีย่ วกับระยะเวลาการคาดการณค์ ือช่วงเวลา 20 ปียาวเกินไป ปจั จยั หลายอย่าง เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเพียงไม่กี่ปีก็เปล่ียนจากหน้ามือเป็นหลังมือ ท่ีผ่านมางานวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ขององค์กรหรือประเทศโดยมากจึงมุ่งไปท่ีระยะเวลา 3-5 ปีเป็นอย่างมาก ดังนั้น การ มองภาพระยะยาวเกินไป อาจเป็นการเสียเวลาและทรัพยากรในการคาดการณ์และวางแผนโดยใช่ เหตุ อย่างไรก็ตาม การมองภาพระยะยาวเป็นเรื่องส�ำคัญ ทั้งในด้านระยะเวลาของผลกระทบที่เกิด จากการตดั สินใจในปัจจุบัน และในด้านระยะเวลากว่าทีอ่ งคก์ รหรือปจั เจกสามารถผลกั ดนั ให้เกดิ การ เปล่ียนแปลงในเชงิ โครงสรา้ งไดจ้ รงิ การตัดสินใจหลายอย่างในปัจจุบันมีผลสืบเนื่องเป็นเวลานาน นับต้ังแต่การตัดสินใจส่วนบุคคล เชน่ การตดั สนิ ใจซอื้ หรอื ผอ่ นบา้ น การเลอื กคคู่ รอง ไปจนถงึ การตดั สนิ ใจระดบั ประเทศ เชน่ การตัดสิน ใจลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ในเมือง การลงทุนในระบบการศึกษาและการ วิจัยพื้นฐาน เป็นต้น การตัดสินใจบางอย่างอยู่ติดกับประเทศ พ้ืนท่ีและสังคมนั้นเป็นเวลานานมาก เช่น การเลือกมาตรฐานเทคโนโลยีระดับโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น การเลือกแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ การเลอื กมาตรฐานขับรถบนช่องเลนซ้ายของถนน การเลือกขนาดกวา้ งของรางรถไฟแบบสแตนดาร์ด เกจ เป็นต้น เนอื่ งจากการตัดสนิ ใจในปัจจบุ นั มผี ลระยะยาวไปอีกเปน็ เวลานาน การคาดการณ์ระยะ ยาวจึงมคี วามสำ� คญั อย่างย่งิ ในการตัดสนิ ใจและวางแผนด�ำเนนิ การในปจั จุบัน ในขณะเดียวกนั การเปล่ียนแปลงเชิงโครงสรา้ งทง้ั ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง หรือแมแ้ ต่ เทคโนโลยี มักไม่ได้เกิดขนึ้ อยา่ งรวดเร็วฉับพลนั โดยไมม่ สี าเหตใุ ด ๆ มาก่อนหน้านน้ั การเปลย่ี นแปลง แบบพลกิ ผนั หรอื ดสิ รปั ชนั (disruption) มกั เกดิ มาจากการเปลย่ี นแปลงในระดบั เลก็ ยอ่ ย แตส่ ะสมการ เปล่ียนแปลงเร่ือยมาจนผ่านจุดผลิกผัน (tipping point) ท่ีสร้างพลังการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ ตาม แนวคดิ นี้ การผลกั ดันให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงในหลายกรณีต้องใช้เวลานานหลายปหี รอื หลายทศวรรษ กว่าจะเห็นผลลัพธอ์ ยา่ งชัดเจน การมองภาพอนาคตทางเลือกในระยะยาวจงึ เป็นส่ิงจ�ำเปน็
อนาคตศกึ ษา | 84 อตั ราการเปลีย่ นแปลง ความเข้าใจว่าการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนในระดับเร็วช้าขนาดไหนและในรูปแบบใด ถือเป็นพื้นฐานของ การคาดการณ์อนาคต การเปลีย่ นแปลงมีท้งั ทเี่ ป็นไปอยา่ งต่อเน่อื งอย่างช้า ๆ ไปเรอื่ ย ๆ ในระยะยาว ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันอย่างรวดเร็วภายในช่วงเวลาสั้น และไม่ต่อเน่ืองจากแนวโน้ม เดิม การคาดการณ์เหตุการณ์หรือปัจจัยที่เปล่ียนแปลงอย่างต่อเนื่องเป็นไปง่ายกว่าการเปลี่ยนแปลง แบบไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากมนุษย์มีเวลาในการท�ำความเข้าใจและปรับตัวกับสิ่งที่ค่อย ๆ เปล่ียนแปลง และมีประสบการณ์ในการรับรู้และคาดเดาการเปลี่ยนแปลงในอนาคตตามแนวโน้มเดิมได้ การคาด การณแ์ นวนค้ี อื การตอ่ แนวโนม้ (trend extrapolation) ซง่ึ ถอื เปน็ วธิ กี ารพน้ื ฐานในการคาดการณภ์ าพ อนาคต นักอนาคตศาสตรบ์ างคนเรียกวธิ ีการนวี้ ่าเป็นการสร้างภาพอนาคตฐาน (baseline future)32 ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจ�ำนวนมากไม่ได้เป็นไปตามแนวโน้มเดิม อย่างน้อย จากมุมมองของคนหรือองค์กรที่ไม่ได้กวาดสัญญาณการเปล่ียนแปลงไปนอกขอบเขตองค์กรหรือพ้ืนท่ี แวดล้อมรอบตัว เหตุการณ์ท�ำนองน้ีมีอยู่จ�ำนวนมากในประวัติศาสตร์ เช่น วิกฤติน�้ำมันในพ.ศ.2516 วกิ ฤตการณ์การเงนิ ในเอเชยี พ.ศ.2540 หรือท่เี รยี กว่าวกิ ฤตติ ม้ ยำ� ก้งุ วิกฤติสนิ เชอื่ ซับไพรมห์ รอื วกิ ฤต แฮมเบอรเ์ กอรใ์ นพ.ศ.2550 เหตกุ ารณก์ อ่ การร้าย 9-11 รวมไปถึงการเกดิ โรคระบาดใหญโ่ ควิด-19 ไป ทั่วโลก การเปล่ียนแปลงที่เกิดอย่างรวดเร็วและผลิกผันไปจากแนวโน้มเดิม มักท�ำให้ผู้คนไม่สามารถ รับมือได้ เพราะไมม่ ปี ระสบการณ์มากอ่ นหรือมอี ยนู่ ้อยมาก และไมไ่ ด้วางแผนเตรียมพรอ้ มไว้ การเปลย่ี นแปลงแบบผลกิ ผนั ไมต่ อ่ เนอ่ื งและเหนอื ความคาดหมายนเ้ี ปน็ อกี สาเหตสุ ำ� คญั ทที่ ำ� ให้ ตอ้ งมีการศึกษาอนาคตอยา่ งเป็นระบบ เน่อื งจากไม่สามารถท�ำนายไดห้ รือท�ำนายได้ยากวา่ เหตุการณ์ ที่ไม่ต่อเนอื่ งจะเกดิ ขน้ึ เม่ือใดและในรปู แบบใด เนื่องจากเหตุการณท์ ไ่ี มต่ ่อเนื่องนอ้ี าจมผี ลกระทบในวง กวา้ ง นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ใหค้ วามสนใจและความสำ� คญั เปน็ พเิ ศษกบั การเปลย่ี นแปลงรปู แบบดงั กลา่ ว โดยเฉพาะเหตกุ ารณห์ รอื ปจั จัยท่มี ีนยั สำ� คญั ในระดับโลกและในระยะยาว รูปแบบการเปล่ยี นแปลง การเปล่ียนแปลงมีอยู่หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยเส้นกราฟลักษณะต่างกัน ในภาพรวม สามารถแบง่ รปู แบบการเปลยี่ นแปลงได้ 4 แบบดว้ ยกนั 33แบบแรกการเปลยี่ นแปลงเปน็ เสน้ ตรง (linear) สื่อถึงการเปลี่ยนแปลงที่อัตราการเปลี่ยนแปลงคงที่ในทุกช่วงเวลา แม้ว่ารูปแบบการเปลี่ยนแปลงนี้ สามารถเข้าใจได้ง่าย และมีการประยุกต์ใช้แนวคิดน้ีอย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์การเปล่ียนแปลง ดา้ นตา่ ง ๆ กต็ าม การเปลีย่ นแปลงในโลกแห่งความเป็นจรงิ แทบไม่มีรูปแบบทีเ่ ป็นเส้นตรง แบบท่สี องการเปลี่ยนแปลงแบบเลขชี้กำ� ลังหรอื เอกซโ์ พเนนเชยี ล (exponential) หมายถงึ การ เปล่ียนแปลงที่อัตราการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาเพิ่มข้ึนตามขนาดหรือจำ� นวนรวมของปัจจัย ท่ีวิเคราะห์ ตัวอย่างการเปล่ียนแปลงในรูปแบบนี้มีอยู่มาก อาทิ การขยายตัวของไวรัสและเช้ือโรค การเพิม่ ข้นึ ของประชากรโลก ปฏกิ ิรยิ าลูกโซน่ ิวเคลียร์ การค�ำนวณดอกเบย้ี แบบทบต้น รวมไปถึงกฎ ของมัวร์ (Moore's law) ซ่งึ อธบิ ายปรมิ าณของทรานซสิ เตอร์บนวงจรรวมทค่ี าดวา่ จะเพ่ิมเป็นเท่าตวั ประมาณทุกสองปี และต่อมาใช้ในการทำ� นายการพัฒนาความเร็วของไมโครโปรเซสเซอร์ นัยสำ� คัญ ของการเปลี่ยนแปลงลักษณะน้ีคือ อัตราการเปล่ียนแปลงท่ีเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาส้ัน อาจท�ำให้การเตรยี มพร้อมรับมอื เปน็ ไปได้ยากมากขน้ึ
85 | อนาคตศกึ ษา รูปแบบท่ีสามของการเปล่ียนแปลงคือการเปลี่ยนแปลงเชิงเส้นก�ำกับ (asymptotic) หรือเชิง ลอการิทึม (logarithm) เม่ือการเพ่ิมขึ้นหรือลดลงเข้าสู่ขีดจำ� กัด โดยที่อัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง ตามช่วงเวลาทผี่ ่านไป ในดา้ นเศรษฐศาสตร์ กฎผลตอบแทนลดน้อยถอยลง (Law of diminishing returns) เป็นรปู แบบหน่งึ ของการเปลีย่ นแปลงที่มุ่งเข้าสู่ขดี จ�ำกัด ตัวอย่างของการเปลยี่ นแปลงในรูป แบบนี้ ได้แก่ กรณีท่ีการเพิ่มจ�ำนวนคนงานในการก่อสร้างอาคารอาจท�ำให้สามารถท�ำงานได้เร็วมาก ขน้ึ แตเ่ มอื่ เพม่ิ จำ� นวนคนงานไปเรอ่ื ย ๆ กไ็ มไ่ ดเ้ พมิ่ ความเรว็ ในการสรา้ งอาคารเทา่ ใดนกั นกั เรยี นอา่ น หนังสอื เตรียมสอบเปน็ ระยะเวลาหลายชั่วโมง มกั เรมิ่ ร้สู กึ ลา้ และเหนือ่ ยมากข้นึ ในชว่ั โมงหลงั ๆ และ เร่มิ จำ� อะไรไมค่ อ่ ยได้ เกษตรกรเตมิ ปุ๋ยเคมีในการปลูกพชื ไร่ แตเ่ ตมิ ไปมาก ๆ กไ็ มไ่ ด้ท�ำใหผ้ ลผลิตเพม่ิ มากขึ้นเทา่ ใดนกั ผลตอบแทนหรอื อตั ราก�ำไร (profit margin) จากนวัตกรรมท่ีตอนแรกอยู่ในระดับ สงู มาก เมอ่ื วนั เวลาผา่ นไป มสี นิ คา้ คแู่ ขง่ หรอื ทดแทน และผบู้ รโิ ภคตอ้ งการสนิ คา้ ใหม่ กอ็ าจทำ� ใหอ้ ตั รา กำ� ไรลดลงไปเรื่อย ๆ ได้ การประเมนิ ปรากฏการณท์ มี่ กี ารเปลย่ี นแปลงในรปู แบบลอการทิ มึ นจี้ ะขนึ้ อยกู่ บั มมุ มองของแตล่ ะ คน บางคนอาจมองวา่ การเพม่ิ ขนึ้ แบบลอการทิ มึ ยงั คงแสดงถงึ การเพม่ิ ขนึ้ ของปจั จยั นนั้ แตบ่ างคนอาจ มุ่งเน้นไปที่อตั ราการเปลีย่ นแปลงทล่ี ดลงมากกว่า ความเข้าใจในการเปล่ียนแปลงในรูปแบบนี้จะชว่ ย ใหส้ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ สงิ่ ทก่ี ำ� ลงั เกดิ ขนึ้ นนั้ อย่ใู นชว่ งการเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ หรืออยใู่ นชว่ ง ทีอ่ ตั ราการเปลี่ยนแปลงเรม่ิ ลดลงและเข้าสู่ขีดจ�ำกดั ชว่ งสดุ ท้ายแลว้ รปู แบบสดุ ทา้ ยคอื การเปลยี่ นแปลงแบบวงจร (cyclic) ซง่ึ เปน็ การเปลย่ี นแปลงกลบั ไปกลบั มาระ หว่างค่าสงู สดุ (maximum) กบั ค่าตำ�่ สุด (minimum) การเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติหลาย ๆ อยา่ ง เปน็ ไปในรูปแบบลกู ตุ้มทยี่ อ้ นกลับไปกลับมา หรือแบบหยินหยาง เชน่ การเพ่ิมข้นึ ลดลงของอุณหภมู ิ ตามฤดูกาล การข้ึนลงของระดับน้ำ� ทะเล รวมไปถงึ การเปลย่ี นแปลงในระดบั เศรษฐกิจ เชน่ วงจรหรอื วฏั จกั รทางเศรษฐกจิ ทม่ี เี ตบิ โตและมกี ารถดถอยลดลง และการเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง เชน่ ชยั ชนะ ในการเลอื กตง้ั ท่ีผลดั กนั แพ้ผลดั กนั ชนะระหว่างขวั้ การเมอื งแนวอนรุ ักษน์ ยิ มกบั แนวกา้ วหนา้ เปน็ ต้น ความเขา้ ใจในการเปลย่ี นแปลงรปู แบบน้ี ทำ� ใหส้ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ นา่ จะมกี ารยอ้ นกลบั ของกระแส ได้เมื่อถึงเวลาหนึง่ ทเี่ หมาะสม รูปแบบการเปล่ียนแปลงข้างต้นถือเป็นลักษณะแบบต่อเนื่อง ส่วนการเปล่ียนแปลงแบบไม่ต่อ เน่ืองสามารถแสดงไดด้ ว้ ยกราฟตวั เอส หรอื ทเี่ รยี กวา่ เอสเคริ ฟ์ (S-curve) โดยแบง่ ชว่ งการเปลยี่ นแปลง ออกเป็น 3 ยุค ได้แก่ (1) ยุคเก่า คือ ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงน้อยและเป็นไปตามแนวโน้มเดิม (2) ยคุ เปล่ียนผ่าน คือ ช่วงเวลาทสี่ ภาพแวดล้อมหรือปจั จยั เปล่ียนแปลงไป โดยเร่มิ จากเหตกุ ารณ์ใหม่ ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ และไมเ่ คยเกดิ ขนึ้ มากอ่ น และ (3) ยคุ ใหม่ คอื ชว่ งเวลาทปี่ จั จยั และคณุ ลกั ษณะของ ระบบนน้ั แตกตา่ งจากเดมิ ไปมาก แตเ่ รม่ิ ลงตวั แลว้ แนวคดิ เอสเคริ ฟ์ นนี้ ยิ มใชอ้ ธบิ ายการแพรข่ ยายดา้ น เทคโนโลยีและนวัตกรรม ข้อแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงแบบเอสเคิร์ฟกับแบบเอกซ์โพเนนเชีย ลอย่ตู รงทีค่ วามตระหนักว่า การเตบิ โตใด ๆ ยอ่ มมขี อ้ จำ� กดั จงึ ไมม่ กี ารเตบิ โตแบบเอกซโ์ พเนนเชยี ลไปได้ เร่ือย ๆ และตลอดไป ในขณะเดียวกัน อตั ราการเติบโตทีล่ ดลงอาจแสดงถึงขีดจำ� กัดทีม่ อี ยู่ของระบบ ในปจั จบุ ัน และเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ของเอสเคิร์ฟใหมก่ เ็ ป็นได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320