Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 21st Century Skills Education Teacher Manual

21st Century Skills Education Teacher Manual

Published by educat tion, 2021-04-15 07:30:02

Description: 2 21st Century Skills Education Teacher Manual

Search

Read the Text Version

202 ทกั ษะชวี ติ รหัสครศู ตวรรษท่ี 21

4 วิสัยทัศน์การพัฒนาทกั ษะชวี ติ 203

204 ทกั ษะชวี ติ รหัสครศู ตวรรษท่ี 21

วิสัยทศั น์การพฒั นาทักษะชีวิต เป็นความม่ันใจและเชื่อมั่นว่าเมื่อเด็กในประเทศไทยและนักเรียน ทุกคน รวมทั้งคุณครู และทุกท่านในวงการศึกษาได้ศึกษา รับรู้ มที ศั นะคตทิ ีด่ ี ต่อทกั ษะชวี ติ และนำ� ไปปฏตั จิ รงิ ก็จะท�ำให้ชวี ติ ทกุ คนได้ ประสบความสำ� เรจ็ งดงามในศตวรรษท่ี 21 อย่างไรก็ตามการที่กระบวนการเรียนรู้ที่จะพัฒนาโดยที่เน้น ประชาชนเป็นส�ำคัญหากแต่ได้มีส่วนประกอบฉพาะเร่ืองของเทคนิค วธิ ีการ การดำ� เนนิ การท้งั ในและนอกห้องเรยี นเท่านน้ั ระบบการศกึ ษา คงจะต้องคำ� นงึ ถึงว่าทำ� อย่างไร เพ่อื ให้กระบวนการพัฒนาทกั ษะชวี ติ น้ี จะเป็นเน้อื เดยี วกันกบั การพฒั นาตลอดชวี ติ ของเราทุกคน ส�ำหรบั ประเทศไทยแล้ว ระบบการศึกษาในอนาคตอันใกล้น้ี จะมกี ารมงุ่ เนน้ การประกนั โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และการศึกษา เพอ่ื การมงี านทำ� และสรา้ งงานได้ ภายใตบ้ รบิ ท เศรษฐกจิ และสงั คม ของประเทศและของโลกทข่ี บั เคลอื่ นด้วยนวัตกรรม และความคดิ สร้างสรรค์ รวมท้ังมีความเป็นพลวัต ภายใต้สังคมแห่งปัญญา (Wisdom-Based Society) สังคมแห่งการเรียนรู้ (Life long Learning Society) และการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ (Supportive Learning Environment) เพื่อให้พลเมืองสามารถแสวงหา ความรู้และ เรยี นรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต1 วิสัยดังกล่าวด้านการพัฒนาการศึกษานี้ได้รับอิทธิพลมาจาก หลักการท่ีน�ำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และทิศทางในการพัฒนาประเทศตามแผนดังกล่าว คือ (1) การน้อมน้าและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเปน็ ศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมสี ่วนร่วม (3) การสนับสนุน และสง่ เสรมิ แนวคดิ การปฏริ ปู ประเทศ และ (4) การพฒั นาสคู่ วามมนั่ คง มั่งค่ัง ยง่ั ยนื สงั คมอยู่ ร่วมกันอย่างมคี วามสุข2 1 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 2560 - 2574, สภาการศกึ ษา 2559 2 สำ� นงั านคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ (2559) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ทักษะชีวิต รหัสครศู ตวรรษที่ 21 205

ทั้งกรอบในการพัฒนาการศึกษาและการก�ำหนดหลักการ ทิศทางในการพัฒนาประเทศ ยังได้ยึดโยง และศึกษาแนวโน้ม ทิศทางการพัฒนาในระดับโลกประกอบด้วย น้ันคือ วาระการพัฒนาของโลกภายหลัง ค.ศ. 2015 (Post 2015 Agenda) ประเดน็ ส้าคญั ของวาระการพฒั นาโลกภายหลัง ค.ศ. 2015 คอื การจดั ทำ� เป้าหมายการพฒั นาท่ียั่งยืนในกรอบ สหประชาชาติ (Sustainable Development Goals–SDGs) ในช่วงเวลา 15 ปี สาระสำ� คญั คอื เป้าประสงค์ (Goal) ท่เี หน็ พ้องต้องกัน อกี จ�ำนวน 17 ข้อ3 กรอบแนวทางการพัฒนาที่กล่าวมาข้างต้น แน่นนอนว่าได้มีอิทธิพลต่อการวางแนวทางการพัฒนา ประเทศในอนาคตดงั กลา่ วมาแลว้ คอื จะตอ้ งเน้นขจดั ความยากจนให้หมดไป ประชาชนมสี ขุ ภาพทด่ี ี มรี ะบบ การศกึ ษา มคี วามเทา่ เทยี มกนั ทางเพศ สง่ เสรมิ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ แบบยงั่ ยนื มรี ะบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ทร่ี องรบั การพฒั นาอตุ สาหกรรมทย่ี งั่ ยนื ลดความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ทง้ั ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ มรี ปู แบบ การผลติ และการบรโิ ภคแบบยง่ั ยนื เตรยี มความ พร้อมในการรบั มอื การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สงวน รักษาทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มีการจัดการทรัพยากรทางทะเลอย่างย่ังยืน ส่งเสรมิ ใหส้ งั คมมคี วามสขุ มคี วามยตุ ธิ รรมและส่งเสรมิ ความเปน็ หนุ้ สว่ นเพอื่ การพฒั นาในระดบั โลกรว่ มกนั ดังน้ันจะเห็นได้ว่า การพัฒนาทักษะชีวิตท่ีจะให้เกิดผลในเชิงพัฒนาทั้งในระดับบุคคล สังคมและ ประเทศชาติ คงจะไม่ได้เฉพาะระบบการศึกษาท่ีเป็นโรงเรียน เขตพื้นท่ีการศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ เท่านั้น แต่จะต้องรวมความไปถึงการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติทดี่ แี ละมกี ารนำ� ไปใช้ในการปฎบิ ัตอิ ย่างจริงจงั จากท่ีกล่าวมาการด้วยเรื่องของความส�ำคัญของทักษะชีวิต การน�ำเอาแผนการศึกษาชาติมา ประกอบก�ำกับทิศทางการด�ำเนินงาน การมุ่งเป้าหมายเพ่ือพัฒนาที่ศักยภาพของคนเป็นส�ำคัญตาม แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ตลอดจนกรอบทิศทางการพัฒนาเพ่ือให้เกิด ความยงั่ ยนื ระดบั โลก ทำ� ใหเ้ หน็ วา่ ดำ� เนนิ งานดา้ นการสนบั สนนุ เชงิ ระบบคงจะตอ้ ง กำ� หนดแผนความตอ้ งการ การผลิตครูใหม่ การพัฒนาครูประจ�ำการ และการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา อีกทั้งความสามารถ ด้านการพัฒนาทักษะชวี ติ นจี้ ะต้องเปน็ สาระส�ำคัญทส่ี ถาบนั การศกึ ษาทผี่ ลติ บุคลากรจะต้องให้ความส�ำคัญ อีกทั้งจะต้องได้ก�ำหนด หลักเกณฑ์ คุณสมบัติของบัณฑิตสาขาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เพ่ือให้สามารถ บรู ณาการและท�ำให้เกดิ ทกั ษะชวี ติ ได้ในอนาคต ดังนเี้ อง การพัฒนาการศึกษาทง้ั องคาพยพ โดยศกึ ษาบรบิ ทต่างๆ ทเี กยี่ วข้อง พร้อมทง้ั ส่งเสรมิ ให้นำ� เอาทกั ษะชวี ติ นไี้ ปใชใ้ นกระบวนการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งยดื หยนุ่ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพนกั เรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน และความทา้ ทายใหมๆ่ ทเี่ กดิ ทง้ั ในระดบั ชมุ ชน และประเทศชาติ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จึงหวังว่าการใช้ทักษะชีวิตบูรณาการเข้ากักบการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและเหมาะกับสภาพผู้เรียนทุกระดับ พึงส่งเสริมให้ เด็กในประเทศไทยของเราทุกคนได้มีศักยภาพและประสบความส�ำเร็จทั้งในเรื่องการด�ำเนิน ชีวิตส่วนตัวและการประกอบสัมมาอาชีวะ ท้ังน้ีเพ่ือให้สังคมโดยส่วนร่วมได้มีการพัฒนาอย่างเนื่องและต่อย อดอย่างไม่มที ส่ี น้ิ สุด 3 United Nations; Sustainable Knowledge Platform https://sustainabledevelopment.un.org/?menu=1300 retrieved 28 September 2016 206 ทกั ษะชีวติ รหัสครูศตวรรษท่ี 21



คณะผู้จดั ทำ� ทปี่ รึกษา Chief of Education องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย 1. Mr. Hugh Delaney หัวหน้าฝ่ายการศกึ ษา องค์การยูนเิ ซฟ ประเทศไทย 2. ดร.รงั สรรค์ วบิ ลู ย์อุปถัมภ์ รองผอ.ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 24 คณะผ้จู ัดท�ำ ข้าราชการบำ� นาญ 1. นายมรกรต กลัดสอาด ข้าราชการบ�ำนาญ 2. นางชัดเจน ไทยแท้ ข้าราชการบ�ำนาญ 3. นายมณเฑียร ม่วงศรีศกั ด์ ิ ข้าราชการบำ� นาญ 4. นางธนมิ า เจรญิ สุข ข้าราชการบ�ำนาญ 5. นางอุบลวรรณ แสนมหายกั ษ์ ข้าราชการบ�ำนาญ 6. นายธีระวฒั น์ ชยั ยุทธยรรยง ข้าราชการบำ� นาญ 7. นางกอบกมล ทบบณั ฑิต ข้าราชการบำ� นาญ 8. นางสาวสร้อย ทรัพย์ประสม ข้าราชการบำ� นาญ 9. นางสถริ า ปัญจมาลา ข้าราชการบ�ำนาญ 10. นายสถติ ย์ ชนะชยั ข้าราชการบำ� นาญ 11. นางนารี คหู าเรืองรอง ข้าราชการบำ� นาญ 12. นางสาวสนุ ิศา สุขผลนิ ศกึ ษานเิ ทศก์ช�ำนาญการพิเศษ 13. นางเยื่อประเสริฐ ทูนทบั สำ� นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 14. นายสรุ ตั น์ สรวงสงิ ห์ ศกึ ษานเิ ทศก์ช�ำนาญการพิเศษ สำ� นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษกรงุ เทพมหานคร 15. นางสาวดรณุ ี พรประเสริฐ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพิเศษ สำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 9 16. นายอดิศกั ด์ิ คงทดั ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นราชนนั ทาจารย์ สามเสนวทิ ยาลัย 2 สำ� นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1 17. นายไชยา กัญญาพนั ธ์ุ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสรมิ การจดั การศึกษา ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 1 18. นางสพุ ตั รา ถนอมรตั น์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนบ้านพนาสวรรค์ สำ� นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 3 19. นางสาวจรรยา ชยั บญุ ลือ ครูโรงเรยี นยุพราชวิทยาลยั เชียงใหม่ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 34 20. นางมยรุ ี ด้วงศร ี ศึกษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพเิ ศษ ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 21. นางพงษ์จนั ทร์ ประชมุ วรรณ ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ สำ� นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 7 22. นายเกรียงศักด์ิ คมั ภิรา ผช.ผอ.โรงเรียนบ้านฉลอง สำ� นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต 23. นายสุรวุฒิ เอย่ี วสกลุ 208 ทักษะชวี ติ รหัสครูศตวรรษท่ี 21

24. นายธีร์ ภวงั คนนั ท์ หัวหน้าศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลอื เดก็ นกั เรียน สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 25. นางกรแก้ว ถนอมกลาง นกั วชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการพเิ ศษ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 26. นางสายพนั ธุ์ ศรพี งษ์พันธุ์กลุ นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการพเิ ศษ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 27. นายประกอบ จนั ทร์ประโคน นักประชาสมั พนั ธ์ช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 32 28. นายยศพัทธ์ ลาภาอตุ ร นักประชาสมั พันธ์ช�ำนาญการ ส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 5 29. นางสาวทพิ วรรณ์ เมืองเสน นกั ประชาสัมพันธ์ปฏิบัตกิ าร ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 30. นางสาวพรทพิ ย์ ดินดี เจ้าพนกั งานธุรการชำ� นาญงาน สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 31. นางชิตสดุ า หงษ์ภักด ี เจ้าพนกั งานธุรการช�ำนาญงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 32. นางสาวจริญญา ไทยแท้ เจ้าหน้าที่ศนู ย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลอื เดก็ นกั เรยี น สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 33. นางสาวอรวรรณ ปราณรี าษฎร์ เจ้าหน้าทีศ่ ูนย์เฉพาะกจิ คุ้มครองและช่วยเหลอื เดก็ นกั เรยี น ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 34. นายภูมเิ มธ ขวัญแก้ว เจ้าหน้าท่ศี นู ย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนกั เรียน ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 35. Niamh De Loughry มลู นธิ ิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 36. Ernesto Rebustillo มูลนธิ ิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 37. Geraldine Chin มูลนิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 38. Julia Schipper มูลนธิ ิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 39. นางณฐั ฉวี แวดแมน มูลนิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 40. นางสาวสิรี วโิ รจนารมย์ มูลนธิ ิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 41. นางกรแก้ว พเิ มย มลู นิธิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 42. นายกรนิ ทร์ กญุ ชร ณ อยุธยา มูลนธิ ิ ไร้ท์ ทู เพลย์ ประเทศไทย 43. นายกมล ธรรมยศ ทีมงานถ่ายท�ำ บริษัท พรอมท์ ดู จ�ำกดั 44. นางสาวเจนจริ า ธรรมสุจรติ ทมี งานถ่ายท�ำ บรษิ ทั พรอมท์ ดู จำ� กดั 45. นางสาวนริสา นาคแจ่มใส ทีมงานถ่ายทำ� บรษิ ัท พรอมท์ ดู จำ� กัด 46. นายพงศกร พจนรุ่งวกลุ ทมี งานถ่ายท�ำ บรษิ ทั พรอมท์ ดู จ�ำกัด 47. นายนิชนันท์ เจรญิ สุข ทีมงานถ่ายท�ำ บริษทั พรอมท์ ดู จ�ำกัด 48. นายกิตติพนั ธุ์ ธญั พิทยาพาณชิ ย์ ทมี งานถ่ายทำ� บริษัท พรอมท์ ดู จ�ำกดั 49. นายปัฐพงศ์ สุขผลธรรม ทมี งานถ่ายท�ำ บรษิ ัท พรอมท์ ดู จ�ำกัด 50. นายปราการ อนิ ทชาต ิ ทีมงานถ่ายท�ำ บริษัท พรอมท์ ดู จำ� กัด 51. นายเทพธารนิ ทร์ อดุ มสัจจานันท์ ทมี งานถ่ายทำ� บรษิ ัท พรอมท์ ดู จ�ำกดั 52. นางสาวศริ ิลกั ษณ์ เสมาภกั ดี ทมี งานถ่ายทำ� บรษิ ัท พรอมท์ ดู จ�ำกดั 53. นายอินทชั พชรอินคัม ทมี งานถ่ายท�ำ บรษิ ทั พรอมท์ ดู จำ� กดั ทกั ษะชีวติ รหัสครูศตวรรษที่ 21 209

ครแู หง่ ศตวรรษท่ี 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook