Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

Published by Nithipon Thimasan, 2022-01-31 05:14:55

Description: ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

Search

Read the Text Version

132 อ้างอิงในงานวิจัยการแสดงชุดฟ้อนราหางนกยูงของสานักวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม, (2549 : 20- 32) กล่าวถงึ วธิ กี ารประดิษฐส์ ร้างศิลปะการแสดงการฟ้อนราของอีสานว่าจะยึดท่าฟ้อนราในคากลอน แม่บทอีสาน 32 ท่า มาเป็นแนวคิดในการประดิษฐ์สร้างท่าราและจะประดิษฐ์สร้างท่าฟ้อนรา เลียนแบบท่าทางของสัตว์ สามารถฟ้อนได้ตามถนัดเพราะไม่มีการกาหนดท่ามาตรฐาน เพียงแต่ออก ท่าฟ้อนให้ตรงกับความหมายของคากลอนเท่านั้น พบว่าการฟ้อนหางนกยูงเป็นการฟ้อนท่ีเลียนแบบ อากบั กิรยิ าของนกยูงทมี่ ีความนวยนาฏและเนน้ ความอ่อนชอ้ ย ดังน้ันในการฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 1 ก่อนปี พ.ศ. 2498 นายพัน เหมหงส์ ได้แรง บันดาลใจจากตนเองในการทตี่ าพันธ์เปน็ นักสะสมของป่าและเป็นหนึ่งคนทีม่ ีความสามารถด้านการรา กระบ่ีกระบอง จึงได้นาเอาหางนกยูงมาผนวกกับการรากระบ่ีกระบอง จนทาให้ฟ้อนหางนกยูงน้ันมี ความสวยงามมากขึน้ แตก่ ระบวนท่านั้นเป็นท่าทไี ด้แนวคิดจากธรรมชาตดิ งั นกยงู แพนหางกางก้ัง แนวคิดของการฟ้อนหางนกยูงที่ใช้การฟ้อนบูชาพระธาตุพนมมา จากแม่ครูเกษมสุ ข สวุ รรณธรรมมา ไดน้ าแนวคดิ ของนายพันธ์มาประกอบสร้างกบั แนวคดิ ในการราของราชสานักไทย จึง เกิดกลายมาเป็นฟ้อนหางนกยูงท่ีนิยมให้สตรีเพศเป็นผู้ทาการฟ้อน และได้ประดิษฐ์สร้างกระบวนท่า ราเพิม่ จากเดมิ ให้มมี ากขึ้น ทา่ ราได้แนวคิดจากธรรมชาติ และ เลยี นแบบกริ ิยาการแพนหางของนกยูง เนื่องด้วยหางนกยูงมีความเชื่อท่ียึดถือปฏิบัติในหลากหลายประเทศจึงได้มีการประดิษฐ์ท่าราที่ เก่ยี วกับการปัดเปา่ ใหส้ งิ่ อวมงคลออกตวั และปดั แต่ส่ิงท่เี ปน็ มงคลเขา้ หาตวั เอง จงึ ทาให้ฟอ้ นหางนกยูง ของจังหวดั นครพนมมอี ัตลักษณเ์ ฉพาะและมีความสวยงามในแบบฉบบั ในตวั ตน จากการศึกษาของแนวคิดในการประดิษฐ์ศิลปะการแสดงของภาคอีสานนั้นพบว่า นักวิชาการและชาวอีสานโดยส่วนใหญ่มีแนวคิดในการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงฟ้อนอีสานท่ีได้ แรงบันดาลใจมาจากการเลียนแบบธรรมชาติ การเลียนแบบกิริยาของสัตว์ รวมไปถึงคติความเช่ือใน เร่ืองการนับถอื ผีและเชื่อวา่ พญาแถนคือเทพเจ้า จึงเกิดเป็นศิลปะการฟ้อนอสี านที่นามาใชป้ ระกอบใน พิธีกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การราบวงสรวงและบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โบราณสถาน การราเพื่อรักษา อาการเจ็บป่วย การราเพ่ือขอฝน จึงมีการเกิดการฟ้อนอีสานขึ้นในสังคมวัฒนธรรมของชาวอีสานใน ทกุ ๆ เทศกาลบุญประเพณตี ่าง ๆ ในทุก ๆ จังหวัด

133 2.2รูปแบบการแสดง รูปแบบการแสดงฟ้อนหางนกยูงเป็นการราเพ่ือบูชาสิ่งศักด์ิสิทธิ์และมีความเช่ือว่าจะ ปดั เป่าใหส้ ิ่งท่ีไมด่ ใี ห้ออกไปจากชีวิตในการศึกษารปู แบบการแสดงได้แบง่ ออกเปน็ 3 ยคุ ดังน้ี ยคุ ท่ี 1 (กอ่ นปี พ.ศ. 2498) ในยุคแรกผู้ฟ้อนนิยมใช้ผู้ฟ้อนทั้งชายและหญิงแต่ส่วนใหญ่มักจะนิยมใช้ผู้ฟ้อนท่ีเป็น ผู้ชายเน่ืองจากในยุคนั้นผู้ชายสามารถแสดงออกได้อย่างเต็มท่ี ต่างจากผู้หญิงที่ต้องมีบทบาทและ หน้าที่ในการเป็นแม่บ้านแม่เรือน ดูแลบ้าน ดูแลสามี และเลี้ยงลูกให้สมกับการเป็นแม่ศรีเรือน อีก หนง่ึ ประเด็นที่ไมน่ ยิ มใช้ผ้ฟู ้อนผหู้ ญงิ ก็มีเหตผุ ลทวี่ า่ ฝพี ายหญงิ มีไม่มากจึงทาให้ผู้ฟ้อนผู้หญิงมีน้อย การฟ้อนหางนกยูงในยุคแรกเป็นการฟ้อนลักษณะของชาวบ้านโดยไม่มีแบบแผนนาฏศิลป์ เป็นการฟ้อนตามความพึงพอใจของผู้ฟ้อน การคัดเลือกผู้ฟ้อนในยุคแรก ผู้ท่ีทาการฟ้อนหางนกยูงจะ ถูกคัดเลือกจากหัวหน้าคุ้มวัดหรือหัวหน้าชุมชนต่าง ๆ ที่นาเรือยาวมาเข้าร่วมแข่งขัน โดยมีหลักใน การคัดเลอื กดงั ต่อไปน้ี 1. ผู้ฟอ้ นจะเปน็ ชายหรือหญิงกไ็ ด้แลว้ แตป่ ระเภทของเรือยาวท่ีจะเข้ารว่ มแข่งขัน 2. มีรูปร่างหน้าตาท่ีสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้คนได้ดี เพราะเป็นส่วนหน่ึงในการสร้าง สสี ันให้กบั การฟอ้ นอยา่ งหนง่ึ 3. สามารถฟงั จงั หวะไดอ้ ย่างแม่นยาไมฟ่ ้อนค่อมจงั หวะหรือไปก่อนจงั หวะ 4. ต้องวา่ ยนา้ เปน็ เนอ่ื งจากเมือ่ ฟอ้ นเสร็จต้องนงั่ ไปกบั เรือขณะที่ทาการแขง่ ขนั 5. ต้องเปน็ คนชา่ งสังเกต เนอื่ งจาก เม่ือนั่งบนเรือขณะแขง่ ขนั ถา้ คู่แข่งกาลงั จะแซงลา้ หนา้ ไป ตอ้ งสะบดั หางนกยงู ไปขา้ งหน้าเพอื่ เป็นสัญญาณใหฝ้ ีพายเรง่ ความเรว็ ในการพาย จะเห็นได้ว่าผู้ฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 1 โดยมากจะเป็นผู้ชายผู้ฟ้อนที่เป็นหญิงไม่สู้จะ เป็นท่ี รู้จักและกล่าวขวัญถึง แสดงว่าผู้ฟ้อนชายเป็นที่ยอมรับมากกว่าผู้ฟ้อนที่เป็นหญิง ในยุคน้ี มีผู้ฟ้อนท่ี สาคัญ 2 ท่าน คือ นายศึก ผู้ฟ้อนหางนกยูง ชาวคุ้มมหาธาตุ ซึ่งเป็นผู้ฟ้อนในลีลาของชาวบ้าน มี ความอสิ ระในการฟ้อน และนายพัน เหมหงส์ ครูคาบสองมือ ผ้ปู ระยกุ ต์ทา่ ฟอ้ นดาบสองมือให้ เข้ากับ ฟ้อนหางนกยูงและท่าฟ้อนดาบของนายพัน เหมหงส์ น่ีเองเป็นท่าฟ้อนพ้ืนฐานของฟ้อน หางนกยูงใน ปจั จุบัน ยคุ ท่ี 2 (พ.ศ. 2498 - 2530) ผู้ฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 2 เร่ิมที่มีผู้ฟ้อนผู้หญิงมากขึ้นกว่าผู้ชาย เน่ืองจากผู้ฟ้อนมี โอกาสได้ชมและฝึกหัดละครของกรมศิลปากรมากขึ้น ทาให้ลีลาท่าฟ้อนหางนกยูงเร่ิมมีการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบมากย่ิงข้ึนผู้ท่ีมีบทบาทในการเปล่ียนแปลงปรับปรุงท่าฟ้อนหางนกยูงใน ยุคนี้ คือ นางเกษมสุข สุวรรณธรรมมา ในอดีตได้มีโอกาสไปศึกษาเล่าเรียนโรงเรียนฝึกหัดครูมูล จังหวัด

134 อุดรธานี (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี) จึงทาให้ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่าฟ้อนแบบ ละครหลวงซ่ึงมีความปราณีต งดงาม จากคณาจารย์พิเศษของกรมศิลปากรมาทาการฝึกสอนให้เม่ือ กลับมาประกอบอาชีพครูและด้วยใจรักในศิลปะการฟ้อน ซ่ึงตนเองพอมีความสามารถอยู่บ้างจึงได้ ปรับเปลี่ยนท่าฟ้อนหาง นกยูงข้ึนใหม่ โดยไปฝึกหัดลีลาท่าฟ้อนหางนกยูงจากหลานชายของ นายพนั เหมหงส์ ซ่ึงลักษณะการฟ้อนเป็น ท่าทางของผู้ชาย เมื่ออาจารย์เกษมสุข เป็นผู้ฟ้อนเองจึงปรับท่า ฟ้อนใหอ้ ่อนชอ้ ยมากขึน้ และ ถา่ ยทอดใหเ้ พอ่ื นๆ ที่รับราชการครดู ว้ ยกัน จะเห็นได้ว่าในยุคท่ี 2 น้ี ผู้ฟ้อนหางนกยูงทเี่ ป็นหญงิ เรม่ิ มบี ทบาทมากกว่าผู้ฟ้อนทเ่ี ป็น ผูช้ าย เนือ่ งจากในยุคน้ีผ้หู ญิงเริ่มมบี ทบาทในสงั คมมากข้ึนเป็นเพราะวา่ ไดร้ บั การศึกษาได้ ประกอบ อาชีพทาให้ผูห้ ญิงในยุคท่ี 2 กล้าท่จี ะแสดงออกและมีความมนั่ ใจมากขึ้น เหตผุ ลอีก ประการหน่งึ ดว้ ย รูปร่าง หนา้ ตา ลีลาทา่ ฟ้อนอันออ่ นช้อย ทาให้ผู้ชมชน่ื ชอบ นอกจากน้ีแลว้ ใน ยุคที่ 2 นี้ฟอ้ นหางนกยงู เร่ิมมกี ารเผยแพรผ่ ู้ฟ้อนจะฟ้อนในงานมงคลต่าง ๆ หรือต้อนรบั แขก เมอื งทม่ี าเย่ียม จงึ ต้องใช้ผู้ฟ้อนที่ เปน็ หญงิ ท่ีมรี ปู ร่างหน้าตา สวยงาม อ่อนหวาน เพ่ือสรา้ งความ ประทับใจใหก้ บั ผมู้ าเยอื น ยคุ ที่ 3 (พ.ศ. 2530 – ปจั จุบนั ) ผู้ฟ้อนในยุคที่ 3 นี้ในการฟ้อนบูชาพระธาตุพนมในทุก ๆ ปี นั้นจะใช้นักเรียนหญิงของ โรงเรียนนครพนมวิทยาคมเป็นผู้ฟ้อนในพิธีฟ้อนบูชาพระธาตุพนม ที่ตรงกับวันออกพรรษา โดยการ ควบคุมการฝึกซ้อมโดย คุณครูจันทร รัศมี ที่ได้รับการถ่ายทอดท่าราจากนางเกษมสุข สุวรรณธรรมา และได้นาเอาการฟ้อนหางนกยูงบรรจุในหลักสูตรการสอนรายวิชานาฏศิลป์ของโรงเรียนนครพนม วิทยาคม จากการศึกษาพบว่ารูปแบบการแสดงของฟ้อนหางนกยูงจังหวัดนครพนมได้มี พฒั นาการมาจากเดิมโดย นางเกษมสุข สวุ รรณธรรมา เปน็ ผู้พัฒนารูปเดิมจากยุคท่ี 1 ท่ีเป็นการฟอ้ น อิสระบนหัวเรือและเป็นท่าท่ีมีความเข้มแข็งท่ีเหมาะกับผู้ชายจึงได้มีการพัฒนาการฟ้อนหางนกยูงให้ เกิดเป็นฟ้อนนางยุคในยุคที่ 2 ที่มีแบบแผนและกระบวนท่าฟ้อนแตย่ ังคงความอิสระในการใช้ร่างกาย ที่ ส่วนการฟ้อนในยุคท่ี 3 เป็นการส่งไม้ต่อให้แก่ลูกศิษย์ของแม่เกษมสุข ก็คือคุณครูจันทร รัศมี คุณครโู รงเรียนนครพนมวิทยาคมที่ได้อนรุ ักษ์และเผยแพรฟ่ ้อนหางนกยงู ให้แก่นักเรียนหรือกลุ่มคนรุ่น หลงั ได้ศึกษาเพ่ือสืบสานศลิ ปวฒั นธรรมของท้องถิ่นจังหวดั นครพนม

135 2.3กระบวนการเคล่อื นไหว ฟ้อนหางนกยูงมีกระบวนการเคลื่อนไหวร่างกายจากยุคที่ 1 เป็นการราโชว์ลีลาบนหัว เรอื ในยคุ ท่ี 2 เปน็ แสดงเพื่อใชต้ ้อนรับผู้มาเยือน การฟ้อนบูชาพระธาตุพนม และในโอกาสต่าง ๆ แต่ ในปัจจุบันเป็นการฟ้อนท่ีใช้ในการประกอบพิธีกรรมการฟ้อนบูชาพระธาตุพนม ซ่ึงในการฟ้อนบูชา พระธาตพุ นมในปัจจุบนั มีกระบวนการเคลอ่ื นไหวในลักษณะแถว ดังน้ี 1. ลักษณะแถวตอนลกึ 2. ลักษณะแถววงกลม 3 วง

136 ภาพประกอบ 39 ภาพผงั แถวตอนลกึ ในการแสดงฟ้อนหางนกยูง ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 40 ภาพถา่ ยแถวตอนลึกฟ้อนหางนกยูง ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค

137 ภาพประกอบ 41 ภาพผังวาดแถววงกลม 3 วง ในการแสดงฟอ้ นหางนกยูง ทมี่ า : ศุภกร ฉลองภาค ภาพประกอบ 42 ภาพถ่ายแถววงกลมฟ้อนหางนกยูง ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค

138 2.4ท่าฟ้อนหางนกยูง ฟ้อนหางนกยูงเป็นศิลปะการฟ้อนราท่ีเก่าแก่และงดงามของจังหวัดนครพนมมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีการพัฒนามาอย่างช้า ๆ และต่อเน่ือง ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม ซ่ึงเปล่ียนแปลงตลอดเวลา จากการฟ้อนท่ีอยู่ในพิธีกรรมถวยเทียน ซ่ึงเป็นพิธีกรรมที่ เกย่ี วกับผี ฟอ้ นหางนกยูงก็พฒั นาเป็นการฟ้อนในพธิ ีกรรมบูชาพระธาตุพนม ซึง่ เป็นพธิ ีกรรมของพุทธ ศาสนา ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาลีลาท่าราของการฟ้อนหางนกยูง จึงได้นากระบวนการท่ารามา อธิบายลักษณะท่าราตั้งแต่ยุคท่ี ก่อนปี พ.ศ. 2498 จนถึงปัจจุบัน ตามท่ีพบในเอกสารงานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องและข้อมูลจากภาพยนต์ส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในรัชกาลที่ 9) ตามที่มีปรากฏในปัจจุบัน ในการอิบายท่าราผู้วิจัยได้อธิบายท่าราของฟ้อนหางนกยูง ออกเป็น 3 ยุค ดังนี้

139 ทา่ ฟอ้ นหางนกยงู ยคุ ที่ 1 กอ่ นปี พ.ศ. 2498 ภาพประกอบ 43 ทา่ ถวายบงั คม หรือ ท่าไหวค้ รู ทีม่ า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนอยู่ในท่าน่ังพนมมือ ความหมายของท่าแสดงให้เห็นการเคารพบูชา ต่อสิง่ ศกั ด์สิ ิทธ์ิ หรือเป็นการถวายบังคมเพ่ือแสดงให้เหน็ ถึงการนอบน้อมบูชาต่อสิ่งนัน้ ในแตล่ ะโอกาส ของการแสดง

140 ภาพประกอบ 44 แหลวถลากาตากปกี ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาของอีกาและนกเหยี่ยวท่ีคนอีสานเรียกว่า แหลว ความหมายของท่าแสดงให้เห็นลักษณะหรือกิริยาการกางปีกของอีกาและการบินเหินฟ้าเหมือนนก เหย่ียว หรอื ทีค่ นอีสานเรียกวา่ แหลว

141 ภาพประกอบ 45 ถวายแถน ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ลกั ษณะทา่ ฟ้อนเปน็ การสะบัดหางนกยงู ข้ึนบนฟ้า ความหมายของท่าเป็นการสง่ สญั ญาณให้เทพเจา้ หรือท่คี นอสี านนบั ถือกค็ ือพญาแถน ได้รบั รู้ถงึ ความร้สู ึกของผทู้ ม่ี จี ิตศรัทธาตอ่ องค์ พญาแถน

142 ภาพประกอบ 46 ปดั รงั ควาน ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะทา่ ฟ้อนเปน็ การสะบัดหางนกยูงปดั ออกจากตวั ไปขา้ งนอกลาตวั ความหมาย ของท่าเป็นการปัดเป่าส่ิงที่ไม่ดีให้ออกจากตัวและปัดแต่สิ่งที่ดีเข้ามาหาตัวโดยมีความเชื่อจากคติท่ีว่า ฮ้ายกวดหนีดีกวดเข้า

143 ทา่ ฟ้อนหางนกยูงยุคที่ 2 ปี พ.ศ. 2498 – 2530 ภาพประกอบ 47 ท่ายงู เหนิ ฟ้า ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูง ความหมายของท่าแสดง ให้เห็นการเดินเหินอยู่บนฟ้าของนกยูงเน่ืองจากนกยูงเป็นพาหนะของเทพเจ้าจึงเกิดการออกแบบท่า ฟ้อนให้เหมือนกบั นกยูงท่เี ดนิ เหินอยบู่ นฟา้ อยา่ งอ่อนชอ้ ยงดงาม

144 ภาพประกอบ 48 ทา่ ไหวค้ รู ท่มี า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนน่ังอยู่ในท่าพนมมือ ความหมายของท่าแสดงให้เห็นการเคารพบูชา ต่อสง่ิ ศักดส์ิ ิทธิ์ หรอื เปน็ การถวายบังคมเพื่อแสดงใหเ้ ห็นถึงการนอบน้อมบูชาต่อสิ่งนั้นในแตล่ ะโอกาส ของการแสดง

145 ภาพประกอบ 49 ท่ายงู ราแพน ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูงในการแพนหางกางก้ัง ความหมายของท่าเป็นการแพนหางของนกยูงท่ีสื่อให้เห็นถึงการต่อสู้หรือการแพนหางเพ่ือป้องกันให้ สง่ิ ที่ไมด่ ใี หอ้ อกไปจากตัว

146 ภาพประกอบ 50 ทา่ ปักหลัก ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป้นการเลียนแบบกิริยาอากรของนกยูงในการแพนหางปักหลักของ นกยูง ความหมายของท่าเป็นการแสดงให้เห็นถึงนกยงู ท่ีกางหางหรือมีความเชื่อวา่ นกยงู เป็นสัตว์แหง่ เทพยดาเวลาเกิดเรื่องรา้ ยกจ็ ะกางหางเพ่ือปกป้องจากภัยอนั ตราย

147 ภาพประกอบ 51 ทา่ ยูงพสิ มยั ท่ีมา : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูงในการเดินเยื้องย่างที่นวย นาฏอ่อนช้อย ความหมายของท่าเป็นการโชว์ลีลาท่ีสวยงามของหางนกยูงในการลากผ่านหน้าไปมา เปรยี บเสมอื นนกยูงเดินเยื้องย่าง

148 ภาพประกอบ 52 ท่ายูงรา่ ยไม้ ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการนาเอาหางนกยูงวาดผ่านหลังศีรษะ ความหมายของท่าเป็น ปดั เปา่ สิ่งอวมงคลใหอ้ อกจากตัว

149 ทา่ ฟอ้ นหางนกยูงยุคท่ี 3 2530 – ปัจจุบนั ภาพประกอบ 53 นกยงู ร่อนออก ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูง ความหมายของท่า เปรยี บเสมือนนกยงู ร่อนลงมาจากฟ้าส่พู ้นื ดนิ แล้วค่อยๆเย้ืองย่างเพ่ือโชวค์ วามสวยงาม

150 ภาพประกอบ 54 ท่ายงู ราแพน ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูงในการแพนหางกางก้ัง ความหมายของท่าเป็นการแพนหางของนกยูงท่ีสื่อให้เห็นถึงการต่อสู้หรือการแพนหางเพ่ือป้องกันให้ สง่ิ ที่ไมด่ ใี หอ้ อกไปจากตัว

151 ภาพประกอบ 55 ทา่ ราแพนปักหลัก ทมี่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป้นการเลียนแบบกิริยาอากรของนกยูงในการแพนหางปักหลักของ นกยูง ความหมายของท่าเป็นการแสดงใหเ้ ห็นถึงนกยูงท่ีกางหางหรือมีความเชอ่ื ว่านกยูงเป็นสัตว์แหง่ เทพยดาเวลาเกิดเรื่องรา้ ยก็จะกางหางเพื่อปกป้องจากภัยอันตราย

152 ภาพประกอบ 56 ทา่ ไหวค้ รู ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนอยู่ในท่าน่ังพนมมือ ความหมายของท่าแสดงให้เห็นการเคารพบูชา ต่อสง่ิ ศักดส์ิ ิทธิ์ หรอื เปน็ การถวายบังคมเพ่ือแสดงให้เห็นถึงการนอบน้อมบูชาต่อสิ่งนั้นในแตล่ ะโอกาส ของการแสดง

153 ภาพประกอบ 57 ทา่ ยูงพสิ มยั ท่ีมา : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูงในการเดินเยื้องย่างที่นวย นาฏอ่อนช้อย ความหมายของท่าเป็นการโชว์ลีลาท่ีสวยงามของหางนกยูงในการลากผ่านหน้าไปมา เปรยี บเสมอื นนกยูงเดินเยื้องย่าง

154 ภาพประกอบ 58 ท่ายงู ฟ้อนหาง ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอากรของนกยูง ความหมายของท่า เปรียบเสมือนกบั การฟ้อนหางของนกยงู เพื่อว์ความงามของหางและแวว

155 ภาพประกอบ 59 ปกั หลกั ลอดซมุ้ ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการปรับปรุงมาจากกิริยาอาการของนกยูง ความหมายของท่า เปน็ ต้งั ซุ้มหางนกยงู เพ่ือแสดงให้เหน็ ถงึ การปกปักรักษาเพอ่ื ให้ในพ้นื ท่แี หง่ ความดเี ปน็ สริ ิมงคล

156 ภาพประกอบ 60 ยูงร่ายไม้ ท่มี า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเหว่ียงหางนกยูงจากข้างหน่ึงมาพาดไว้อีกข้างหน่ึง ความหมายของทา่ เป็นการโชวล์ ลี าการวาดหางนกยงู ให้เกดิ ความสวยงามและอ่อนช้อย

157 ภาพประกอบ 61 ยงู กระสันคู่ ท่มี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นเรียงหางนกยูงไปในทิศทางเดียวกันผ่านศีรษะ ความหมายของ ท่าเป็นการสื่อให้เห็นการยกย่องหรือเทิดทูลข้ึนเหนือศีรษะเป็นการแสดงความเคารพบูชาต่อส่ิง ศักดิ์สทิ ธิ์

158 ภาพประกอบ 62 ยูงลาแพนซุ้ม ทีม่ า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูงในการลาแพนหาง ความหมายของท่าเปน็ การการลาแพนหางของนกยูง

159 ภาพประกอบ 63 ท่ายงู ปัดรังควาน ทม่ี า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการปัดรังควาน ความหมายของท่าเป็นการนาเอาหางนกยูงมา ปัดรังควานส่งิ ทไ่ี มด่ ใี หอ้ อกจากตัวตามคติทีว่ า่ ฮ้ายกวดหนี ดีกวดเข่า

160 ภาพประกอบ 64 ยงู เหินฟ้า ทมี่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนเป็นการเลียนแบบกิริยาอาการของนกยูง ความหมายของท่าเป็น การแสดงให้เห็นกิริยาของนกยูงท่ีลอยเหินขึ้นบนอากาศ ในท่ายูงเหินฟ้าเป็นท่าสุดท้ายของดังน้ันจึง เปรียบได้ว่าเปน็ ท่าทีใ่ หค้ วามรสู้ ึกเหมือนนกยูงบินข้นึ เหนิ ฟ้าลอยบนอากาศ

161 จากการศึกษากระบวนท่าฟ้อนราของการแสดงชุด ฟ้อนหางนกยูง ทัง้ หมด 3 ยุคสมยั ซึ่งใน แต่ละยคุ สมัยมกี ระบวนทา่ ราทีแ่ ตกตา่ งกันไปแตย่ ังคงแนวคิดในการประดิษฐส์ ร้างทม่ี มี าตง้ั แต่ยุค โบราณสืบมานามาปรบั ใช้เพื่อใหฟ้ อ้ นหางยูงได้มีพฒั นาการไปตามแตล่ ะยุคสมัยและเปน็ การอนรุ กั ษ์ ฟ้อนหางนกยงู ใหเ้ ปน็ ศลิ ปะการแสดงทีเ่ ปน็ มรดกทางภูมิปัญญาของจงั หวัดนครพนม 2.5เคร่ืองแต่งกาย การแต่งกายของฟ้อนหางนกยูง ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้องจงึ ไดร้ วบรวมการแตง่ กายของฟ้อนหางนกยงู ทง้ั 3 ยคุ ดงั ตอ่ ไปนี้ การแต่งกายฟอ้ นหางนกยูงในยคุ ท่ี 1 กอ่ นปี พ.ศ. 2498 ภาพประกอบ 65 การแต่งกายยคุ ที่ 1 ทีม่ า : ศุภกร ฉลองภาค เครื่องแต่งกายของฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 1 เป็นการแต่งกายแบบพ้ืนบ้านที่ชาวบ้านที่ใช้อยู่ ในชีวิตประจาวัน แต่อาจจะงดงามมากกว่าเสื้อผ้าที่สวมใส่ไปทางานในไร่ ผู้ฟ้อนสวมเคร่ืองประดับท่ี ทาด้วยลูกเดือยมาร้อย หรอื ลกู ปัดทเี่ ปน็ เมด็ เงนิ นามาประดิษฐ์เปน็ สร้อยคอ ไมน่ ิยมสวมเสื้อจะนุ่ง โจง กระเบนแบบหยักรั้ง (สอดเตี่ยว) มีผ้าขาวม้าหรือผา้ สไบเก็บชดิ ผูกเอว ผ้านุ่งและผ้าผูกเอวใช้สี อะไรก็ ได้ตามแต่สมควรยกเว้นสีแดง ซึ่งเป็นสีต้องห้าม ตามลาตัวจะสักลายเป็นรูปพญานาคหรือ อักขระ

162 โบราณตามที่ตนเองนับถือซึ่งมีความเชื่อว่าเป็นผู้มีความอดทนเป็นเลิศทั้งนี้เน่ืองจากเป็นผู้มีความ อดทนอดกล้ันต่อความเจ็บปวดได้เป็นอย่างย่ิง และสามารถท่ีจะเป็นผู้นาของครอบครัวได้ในอนาคต ส่วนถ้าผู้ชายคนได้สักได้เพียงข้างเดียวหรือไม่สักเลยนั้นก็จะถือว่าเป็นผู้ท่ีมีจิตในไม่เข้มแข็งดังนั้น ผู้หญงิ กม็ ักจะคบค้าสมาคมหรอื รบั พิจารณาเปน็ คู่ครองได้ การแตง่ กายฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 2 ปี พ.ศ. 2498 – 2530 ภาพประกอบ 66 การแต่งกายยคุ ที่ 2 ท่มี า : ศุภกร ฉลองภาค เคร่ืองแต่งกายในยุคที่ 2 ผู้วิจัยได้ศึกษาเคร่ืองแต่งกายของผู้ฟ้อนเม่ือคร้ังรับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช (ในรัชกาลท่ี 9) ซ่ึงการแต่งกายในยุคนี้มีพัฒนามาจาก ยุคที่ 1 การให้สีของเส้ือผ้าเร่ิมมีพฒั นาการข้ึน ผูฟ้ ้อนสวมเส้ือแขนกระบอก นุง่ ผา้ ถุงมัดหมม่ี เี ชิงถักทอ ด้วยดิ้นทองหรือเงิน ผ้าสไบพาดบ่า มวยผมแบบไทลาวเอียงไปด้านขวา สวมใส่เครื่องประดับเงินหรอื ทองตามท่หี าได้ในยุคน้ัน

163 การแตง่ กายฟ้อนหางนกยูงในยคุ ท่ี 3 ปี พ.ศ. 2530 จนถึงปจั จุบัน การแต่งกายในยุคท่ี 3 ได้แนวคิด รปู แบบและมกี ารพัฒนามาจากยคุ ท่ี 2 แตก่ ็ไม่ได้มีการ ปรบั เปลยี่ นมากย่งิ นัก ในการแต่งกายในยุคท่ี 3 มีทั้งหมด 2 แบบดว้ ยกัน ดงั นี้ การแต่งฟ้อนหางนกยูงยุคท่ี 3 รูปแบบที่ 1 ภาพประกอบ 67 การแต่งกายในยุคที่ 3 แบบท่ี 1 ทมี่ า : ศุภกร ฉลองภาค การแตง่ กายในยุคท่ี 3 นยิ มแตง่ กายแบบพ้ืนเมืองอสี าน ในแบบดง้ั เดิมคอื เส้ือผ้าเหลืองอ่อน คอกลม หรือ คอจีน แขนกระบอก นุ่งผ้าซ่ินสีเขียวสดเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าไหมมัดหม่ี หรือผ้าพ้ืนสีเขียว ต่อตนี ซน่ิ (เวลาสวมเก็บชายเสื้อเขา้ ในผ้าถงุ แลว้ ใชผ้ า้ คาดทบั ) ผ้าสไบใชผ้ า้ ไหมหรือผ้าฝา้ ยลายใดก็ ไดห้ ม่ เฉียงบา่ ผมเกล้ามวยทดั ดอกไม้ สวมเครอื่ งประดบั เงนิ เชน่ ตา่ งหู สร้อย และกาไลแขน

164 การแตง่ ฟ้อนหางนกยูงยคุ ท่ี 3 รูปแบบท่ี 2 ภาพประกอบ 68 การแตง่ กายในยุคที่ 3 แบบที่ 2 ทีม่ า : ศุภกร ฉลองภาค การแต่งกายในยุคท่ี 3 ในรูปแบบท่ี 2 ยังคงนิยมแต่งกายแบบพ้ืนเมืองอีสาน ในแบบดั้งเดิม คือสวมเสื้อแขนกระบอก คอกลม หรือ คอจีน นุ่งผ้าซ่ินสีเขียวสด หรือผ้าพ้ืนสีเขียวต่อตีนซ่ิน (เวลา สวมเก็บชายเสื้อเข้าในผ้าถุง แล้วใช้ผ้าคาดทับ) ผ้าสไบใช้ห่มเฉียงบ่า ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ สวม เครอ่ื งประดบั เงิน เช่น ตา่ งหู สรอ้ ย และกาไลแขน

165 นอกจากเคร่ืองแต่งกายแล้วการแต่งหน้ามีบทบาทสาคัญในการแสดงฟ้อนหางนกยูง การ แตง่ หนา้ และเครอ่ื งแต่งกายไดท้ าหนา้ ทบ่ี อกลักษณะบทบาทการแสดงการแตง่ หน้าและเคร่ืองแต่งกาย เป็นส่ิงท่ีแยกออกจากกันไม่ได้ เครื่องแต่งกายยังช่วยสร้างความเป็นตัวละครให้กับนักแสดง เม่ือ นักแสดงได้แต่งหน้าเป็นตัวละครแล้ว จะทาให้เขามีความรู้สึกเป็นตัวละครมากขึ้น เช่น การแต่งหน้า ยักษใ์ นชว่ งการแสดงลาเรื่องต่อกลอนทาใหบ้ ่งบอกถงึ บทบาทที่ได้รับ การแตง่ หนา้ และเครื่องแต่งกาย จึงเป็นส่ิงท่ีได้ถ่ายทอดความแนวคิดจากผู้ออกแบบ การแต่งหน้าในการฟ้อนหางนกยูงเป็นการเพิ่ม สีสันบนใบหน้าให้มีความงดงาม ซ่ึงการแต่งหน้าสามารถบ่งบอกถึงสถานภาพทางสังคมลักษณะ อุปนิสัยของตัวละครได้ด้วย การแต่งหน้าเพ่ือที่จะใช้ในการแสดงฟ้อนหางนกยูงแต่ละครั้ง ดังจะได้ กลา่ วถึงรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ การแต่งหน้าผู้แสดงฟ้อนหางนกยูงในยคุ ท่ี 1 ก่อนปี พ.ศ. 2498 ภาพประกอบ 69 การแต่งหน้าในยคุ ท่ี 1 ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค การแต่งหนา้ ผู้ฟอ้ นในยคุ ท่ี 1 นี้ เปน็ ยุคโบราณและเป็นการละเล่นของชาวบา้ น เครื่องสาอาง ท่ใี ชใ้ นการแต่งหนา้ จึงมีไมม่ ากนักและเป็นเคร่ืองสาอางทห่ี าได้ตามธรรมชาติและท้องถน่ิ ดินสอพอง : ใช้ในการผลดั หน้า เปลือกต้นชาด : ใช้ในการทาปาก และ ทาแก้ม ดอกอัญชัน : นามาวาดค้ิว

166 การแตง่ หนา้ ผูแ้ สดงฟอ้ นหางนกยูงในยุคท่ี 2 ภาพประกอบ 70 การแต่งหน้าในยุคท่ี 2 ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค ในการแต่งหน้าในยุคท่ี 2 มกี ารใช้เคร่อื งสาอางท่ีทนั สมัยข้ึนในยคุ นน้ั การแต่งหนา้ ในยุคที่ 2 นี้ จะเนน้ ใบหน้าที่ขาว แกม้ และปากอมชมพู ค้ิวโกง่ ดงั คันศร ดวงตาคมชัด รองพน้ื : นิยมใชร้ องพน้ื ยี่ห้อกวนอิม แปง้ ผดั หน้า : ใช้แปง้ ปัดหนา้ ให้ขาว ยห่ี ้อ อาปาเช่หรือแองเจลิ เฟส ลิปสตกิ : ใช้ลปิ สติกที่หาซอ้ื ได้ตามท้องตลาด ยาแขก : เพิ่มความคมใหด้ วงตา และ ใชว้ าดให้คิว้ ดกดา ในการทาผมในยคุ ท่ี 2 มี 2 ลกั ษณะคือ รวบมวยผมแล้วเอียงไปดา้ นข้าง อีกลักษณะหนึ่งคอื รวบผมแลว้ จับช่อตรงกลางกระหมอ่ มเรยี กวา่ จบั ลูกจันทร์ มกี ารใชน้ า้ มนั ใส่ผมเพื่อให้อยู่ทรงและเงา งามนา้ มันทน่ี ิยมใชม้ ากท่สี ุดคือ นา้ มนั ใสผ่ มยี่ห้อตันโจ หรอื นา้ มันงาในการทดแทน

167 การแต่งหน้าผูแ้ สดงฟ้อนหางนกยูงในยคุ ท่ี 2 และยคุ ที่ 3 . ภาพประกอบ 71 การแตง่ หน้าในยุคที่ 3 ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค การแต่งหน้าในยคุ ที่ 3 เป็นยุคทีเ่ ทคโนโลยมี บี ทบาทมากจึงสามารถเลอื กสสรเครอ่ื งอาสางได้ ตามความเหมาะสม โทนสีในการแต่งหนา้ ยังคงนิยมใบหน้าท่ีขาวนวลและสวยงาม สตี าเบลนให้เปน็ ธรรมชาติขอบตาคมตดิ ขนตาเพมิ่ มิติใหก้ บั ดวงตา ปากและแกม้ อมชมพูมเี ลือดฝาด ในยุคที่ 3 นยิ มทาผมเกล้าหน้าสงู ด้านหลังหลังทยุ มวยผมตรงกลางใหก้ ลมหรอื สวมใสม่ วย ผมปลอมทรงกลม ทดั ดอกไม้ เช่น ดอกลีลาวดี หรอื ดอกไม้ท่ีหาไดใ้ นแต่ละท้องถ่ิน

168 เครือ่ งแตง่ หนา้ ทีใ่ ช้ในการแสดงฟ้อนหางนกยูงในยุคที่ 3 1. ครมี รองพ้ืน เปน็ ครมี ท่ีใช้สาหรับรองพ้นื เพ่ือปกปิดรวิ้ รอยบนใบหน้าซ่ึงมีหลายลักษณะ คือ ชนิดแรกเป็นแป้งแข็ง วิธีการใช้ต้องใช้ฟองน้าชุบน้าให้หมาด แล้วจึงลงบนแป้งจากนั้นทาบนใบหน้า จนเนียนเรียบทั่วท้ังใบหน้าและซอกคอชนิดท่ีสองเป็นครีมรองพื้นชนิดเหลวบรรจุหลอดหรือกระปุก ครีมรองพื้นมคี วามเขม้ ตา่ งกนั ขึ้นอยู่กบั สีผวิ ของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคน 2. แป้งฝุ่นหรือแป้งพับ เป็นแป้งท่ีใช้สาหรับทาหลังการลงรองพ้ืนอีกท่ีทาให้หน้าเรียบเนียน มากขึ้น 3. ดินสิเขียนค้ิว เป็นดินสอที่ใช้สาหรับเขียนค้ิวโดยเฉพาะสีท่ีนิยมใช้สาหรับเขียนคิ้ว คือสีดา และสีน้าตาล 4. ดินสอเขยี นขอบตา เปน็ ดนิ สอท่ีใชส้ าหรับเขียนขอบตา เนื้อของดินสออ่อนกว่าดินสอเขียน ค้ิวใชส้ าหรบั เขียนขอบตาโดยเฉพาะ นยิ มใช้สีดาและนา้ ตาล ทาใหด้ วงตากลมโตมากขึน้ 5. สที าตาหรอื าเซโด้ มีลักษณะเป็นผงฝ่นุ สตี า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ สดี า สนี ้าเงิน สีเขยี ว สีน้าตาล สชี มพู และสีม่วง ใช้สาหรับทาเปลือกตาให้มีความเข้มท้ังขอบตาบน และขอบตาล่าง นักแสดงหมอลาศิลปนิ ภไู ทนยิ มใช้สีน้าตาลดาในการทาท่ีเปลอื กตาเพอื่ ให้ดวงตาเปน็ ประกายเวลาทาแสดง 6. อายลายเนอร์ เป็นหมึกสีดาท่ีใช้เขียนขอบตาบนและขอบตาลา่ งเพื่อเน้นขอบตา นักแสดง หมอลาศิลปนิ ภไู ทนิยมใช้เขยี นค้ิว เพราะว่าสเี ข้มและตดิ ทนไมล่ บง่ายเมื่อเปียกเหง่ือ 7. สีทาแก้มหรือบรัชออน มีลักษณะเป็นผงฝุ่นสีต่างๆ เหมือนกับสีทาขอบตาสีที่นิยมใช้คือสี ชมพู สสี ้มและสีแดง ใช้สาหรับทาบริเวณแกม้ ท้งั สองข้างเพอ่ื ใหใ้ บหนา้ มสี สี ดใสเวลายิ้ม 8. ลปิ สตกิ เป็นครีมสตี า่ งๆ ใช้สาหรับทาปาก สที ่ีนิยมใช้ คอื สีชมพู สีแดง และสีส้ม บางคร้ัง ใชล้ ปิ สติกทาแกม้ แทนบรชั ออน 9. มสั คารา เปน็ ของเหลวสดี ามแี ปรงทรงกลมใชส้ าหรบั ปดั ขนตา เพือ่ ต่อขนตาให้ยาวมีความ เขม้ ของขนตา นยิ มใชส้ ีดา 10. ขนตาปลอม ใช้สาหรับตดิ ขนตาเพอ่ื เสรมิ ใหข้ นตางอนหนามากข้นึ 11. ครีมลา้ งหน้า ใช้สาหรบั ล้างหน้าเมอ่ื เลิกทาการแสดง

169 2.6ดนตรที ่ีใช้ในการแสดงฟ้อนหางนกยูง ดนตรเี ปน็ สว่ นหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มาตั้งแต่เกิด และยังดาเนินความ สัมพันธ์กับชวี ติ มาตลอด ดนตรจี งึ เป็นส่วนหนง่ึ ของชีวิตจนยากจะแยกออกจากกนั ได้ เพราะอาจจะถือ ได้ว่าศิลปะดนตรีน้ันเป็นปัจจัยท่ีห้าของมนุษย์ ท่ีสร้างดนตรีข้ึนเพ่ือที่จะระบายความคิด ความรู้สึก หรือสร้างมโนภาพและประสบการณ์จริง ซ่ึงอาจเป็นความสุขหรือความทุกข์ด้วยเหตุนี้จึงสร้างศิลปะ ขึ้นมาเพื่อชีวิต ดนตรีจึงเป็นศิลปะที่สร้างขึ้นมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ดนตรีนั้นยัง เกี่ยวข้องกับสังคมในแต่ละท้องถ่ินที่เรียกว่า ดนตรีพ้ืนบ้าน ซ่ึงเป็นการถ่ายทอดสืบเน่ืองกันมาของ ชาวบ้านท่ปี ระกอบพิธตี ่าง ๆ ดนตรีพืน้ บา้ นจึงมคี วามสัมพันธต์ อ่ วถิ ชี วี ติ ของชาวบ้าน ทัง้ ในด้านบันเทิง ใจของคนในสังคม ให้ผ่อนคลายความเหน็ดเหน่ือยจากการทางานและในด้านการประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา และพิธีกรรมท่ีเกิดข้ึนในแต่ช่วงชีวิตของชาวบ้าน ซึ่งจะสะท้อนความคิดสร้างสรรค์ของ บุคคลหรือกลุ่มชนในระยะเวลาต่าง ๆ ซึ่งแต่ละกลุ่มชนยังคงรักษาไว้และนิยมเล่นกันในปัจจุบัน อยา่ งเชน่ ดนตรีพ้ืนบ้านอสี าน ศิลปะการแสดงฟ้อนหางนกยูง ในส่วนของดนตรีประกอบผู้วิจัยพบว่า มีการนาวงปี่ พาทย์เข้ามาบรรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยูงในพิธีฟ้อนบูชาพระธาตุพนม เม่ือปี พ.ศ. 2528 – 2545 และได้มีการพัฒนาปรับปรุงมาใช้วงดนตรีพื้นบ้านอีสานหรือวงโปงลางในปี พ.ศ. 2546 จนถึง ปัจจุบัน จากการสัมภาษณ์ คุณครูจันทร รัศมี ให้เหตุผลว่า ยุคหลังๆหาผู้เล่นวงปี่พาทย์ได้ยาก จึงได้ นาเอาลายดนตรีดั้งเดมิ ก็คือ ลายลาวแพน มาปรับใช้กับวงดนตรพี น้ื บา้ นโปงลางใหเ้ ขา้ กบั ยคุ สมยั ภาพประกอบ 72 วงดนตรีพ้ืนบา้ นโปงลางในพิธีฟ้อนบชู าพระธาตุพนม ทมี่ า : ศภุ กร ฉลองภาค

170 เครื่องดนตรที ใ่ี ช้ในการบรรเลงประกอบการฟอ้ นหางนกยงู ในยคุ ที่ 1 ในยุคท่ี 1 ใช้เครืองดนตรี อาทิเช่น กลองยาว กลองตุ้ม และพังฮาดเท่าน้ันซึ่งเป็น เครือ่ งดนตรีประเภทตีมีดังต่อไปนี้ ภาพประกอบ 73กลองหาง ท่ีมา : ศุภกร ฉลองภาค ภาพประกอบ 74 กลองตุ้ม ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค

171 ภาพประกอบ 75 พงั ฮาด ท่มี า : ศภุ กร ฉลองภาค เคร่อื งดนตรที ใ่ี ช้ในการบรรเลงประกอบการฟอ้ นหางนกยงู ในยคุ ท่ี 2 ดนตรีท่ีใช้บรรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยงในยุคที่ 2 นี้ ได้มีการเอานาระนาดเข้ามา บรรเลงประกอบกับฉ่ิงและฉาบเล็กบรรเลงเป็นเคร่ืองกากับจังหวะ สาเหตุท่ีไม่มีการใช้ดนตรีพ้ืนบ้าน เน่ืองจากในอดีตเคร่ืองดนตรีพื้นบ้านจะบรรเลงเฉพาะบุคคลไม่มีการผสมวงกันเหมือนปัจจุบันทาให้ ยากในการเสาะแสวงหาผู้มาบรรเลง อกี ประการหนง่ึ ทีส่ าคัญคือลีลาท่าฟ้อนหาง นกยงู มกี ารปรับปรุง ท่าใหม่ โดยใช้ระเบียบการฟ้อนแบบละครหลวงมาปรับปรุงการแสดงพื้นบา้ นทาให้เกิดการผสมผสาน ทางวัฒนธรรมระหว่างหลวงกับราษฎร์ รวมไปถึงการบรรเลงดนตรีและ เครื่องดนตรีก็เช่นกัน เครื่อง คนตรีไทย เชน่ ระนาค น่งิ ฆ้องวง ฯลฯ นยิ มเลน่ ในหมขู่ ้าราชการ ในหัวเมืองแถบอสี านมาชา้ นานแล้ว จงึ ทาให้เครื่องดนตรีประกอบการฟ้อนหางนกยูงในยุคที่ 2 น้ี เปน็ เครอ่ื งดนตรีไทย คือ ระนาดเอก ซึง่ ผู้บรรเลงเป็นข้าราชการครูชายในจังหวัดนครพนม ซึ่ง ได้ศึกษาวิชาดนตรีจากโรงเรียนฝึกหัดครูใน อดีต เม่อื มกี ารปรับปรุงทา่ ฟอ้ นก็ต้องหาเครื่องดนตรี ที่เหมาะสม มาบรรเลงเพือ่ ความไพเราะนา่ ฟงั ในยุคท่ี 2 ใช้เคร่ืองดนตรี อาทิเช่น ระนาด ฉ่ิง และฉาบ ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประเภทตี มี ดงั ต่อไปน้ี

172 ภาพประกอบ 76 ระนาด ทีม่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 77 ฉง่ิ และฉาบ ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ลายเพลงหรือทานองเพลงท่ีใช้ในการบรรเลงประกอบวงมโหรใี นการแสดงฟ้อนหาง นกยงู ในยคุ ที่ 2 ในช่วงปี พ.ศ. 2498 คอื ลายลาวแพน (ทางไทย) ซึง่ โนต้ เพลงลายลาวแพนมีดงั ต่อไปน้ี

173 ลาวแพน(ทางไทย) ตาราง 3 ตารางโนต้ เพลงลาวแพน (ทางไทย) ร ดรฟร ดด–ด ---ด ---ด -ร-ร --ฟซ ซ ---ล ---ด ด --ซล ดลซฟ ซฟรฟ --ซล ซลฟซ ด ฟํ ร ด ล รฟซล ซลฟซ ซฟรฟ --ซล รฟดร ---ซ ---ซ ---ซ ---ซ ---ด ซฟรฟ ---ด --ฟซ --ซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล -ร-ร --ซล ซ ดลซฟ - - - ซ - - - ซ - - - ด - - ฟํ ร - - ด ร ซฟรฟ ซลฟซ ฟํ ร ด ล --ซล ซลฟซ -ฟซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล ซฟรฟ รฟซล รฟดร ฟดรฟ --ซล รฟดร รร ซฟรฟ ซฟรฟ รฟซฟ รฟดร ฟรด ร ฟดรฟ ดด–ด ---ด ซฟรฟ ล ซลด ด ซ ด ---ซ ---ซ ---ซ ---ซ ---ด --ซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล - - - ซ - - - ซ - - - ด - - ฟํ ร - - ด ร -ฟซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล ---ร ฟดรฟ รฟซฟ รฟดร ---ร รร -ฟซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล ล ซลด ด ด ---ซ ---ซ ---ซ ---ซ ---ด --ซล --ซล ดลซฟ --ซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล ซฟรฟ รฟซล ซลฟซ - - - ซ ด ร ด ล - ล ซ ฟ ด ฟ ซ ล - ล ด ร ฟํ ร ด ล - ล ซ ล ด ล ซ ฟ ซ ---ฟ ดรดล -ลซล -ลซฟ -ฟซล ซฟรฟ รฟซฟ รฟดร ฟ

174 ตารางที่ 3 (ต่อ) ตารางโน้ตเพลงลาวแพน (ทางไทย) ---ร ฟดรฟ รฟซฟ รฟดร ---ร ฟดรฟ รฟซฟ รฟดร รร ฟดร ---ร ฟดฟร ดด–ด ---ด ---ด -ร-ร --ฟซ ล ซลด ด ซ ด ---ซ ---ซ ---ซ ---ซ --ดล --ซล --ซล ดลซฟ --ซล ซฟรฟ --รด ฟดรฟ --ซล ซฟรฟ รฟซล ซลฟซ - - - ซ ด ร ด ล - ล ซ ฟ ด ฟ ซ ล - ล ด ร ฟํ ร ด ล - ล ซ ล ด ล ซ ฟ ซ - - - ฟ ด ร ด ล - ล ซ ฟ ด ฟ ซ ล - ล ด ร ฟํ ร ด ล - ล ซ ล ด ล ซ ฟ ฟ ---ฟ ดรดล -ลซล -ลซฟ -ฟซล ซฟรฟ รฟซฟ รฟดร ฟ ---ร ฟดรฟ รฟซฟ รฟดร ---ร ฟดรฟ รฟซฟ รฟดร รร ฟรด ร ฟดรฟ ดด–ด -ลซล ดลซล ดลซล ดลซฟ ล ซลด ด ด ซฟซด ฟดฟร รฟซฟ รฟดร ฟรด ร ฟดฟร ดด–ด ล ซลด ด ด ---- ฟซฟร -ด-- ร ล -ด–ซ- -ซ–ล -ดซล -ด-- ---- ฟรด- ร ฟรด ร ฟดฟร ดด–ด ล ---- ซลด- ล ซลด ด ด ---- ฟซฟร -ด-- ร ล -ด–ซ -ซ–ล -ดซล -ด-- ---- ฟรด- ร ฟรด ร ฟดฟร ดด–ด

175 ตารางท่ี 3 (ต่อ) ตารางโน้ตเพลงลาวแพน (ทางไทย) ล ซลด ด ล ---- ซลด- ด ลซฟร ซฟรด ร ดรฟซ ฟซลด ลดซล ลซฟร ดรฟซ -ลด- --ฟด ดรฟซ --ฟร --ฟด ร ดรฟร --ฟร ร -ลด- -ลด- ลงจบ -ซ–ซ ---ล ---ด ---ร -ม–ร -ด–ซ -ซลท -ด–ร ซ

176 เครื่องดนตรีทใ่ี ชใ้ นการบรรเลงลายลาวแพน ประกอบการฟ้อนหางนกยงู ในยุคที่ 3 มดี งั ตอ่ ไปน้ี วงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 3 นี้ จะใช้วงคนตรี โปงลาง ซ่ึงเป็น วงดนตรีพื้นบ้านอีสาน ในยุคน้ีไม่นิยมใช้ระนาคบรรเลงเหมือนในยุคท่ีผ่านมา เนื่องจากระนาคเป็น ดนตรีไทยเม่ือบรรเลงแลว้ ไม่สนกุ สนานเร้าใจเหมอื นวงดนตรีโปงลางมีเคร่ืองดนตรีได้แก่ โปงลาง พิณ พิณเบส แคน โหวต ฉ่ิง ฉาบ กลอ้ งต้มุ กลองหาง ไหซอง ก้บั แกบ๊ ภาพประกอบ 78 โปงลาง ท่มี า : ศุภกร ฉลองภาค ภาพประกอบ 79 พิณ ท่มี า : ศุภกร ฉลองภาค

177 ภาพประกอบ 80 พณิ เบส ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 81 แคน ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค

178 ภาพประกอบ 82 โหวด ทม่ี า : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 83 ฉาบ ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค

179 ภาพประกอบ 84 ฉ่งิ ท่มี า : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 85 ฉาบใหญ่ ทมี่ า : ศุภกร ฉลองภาค

180 ภาพประกอบ 86 กลองตมุ้ ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 87 กลองหาง ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค

181 ภาพประกอบ 88 ไหซอง ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ภาพประกอบ 89 กบั้ แก้บ ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค