Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

Published by Nithipon Thimasan, 2022-01-31 05:14:55

Description: ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม

Search

Read the Text Version

32 ลักษณะอากาศทั่วไป จังหวัดนครพนมอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมที่พัดประจา 2 ชนิดคือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวจะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงเป็นลมเย็น และแหง้ จากประเทศจีน ปละจงั หวดั นครพนมจะไดร้ ับอทิ ธิพลลมนี้ก่อนจังหวัดอนื่ ๆ อากาศจะหนาว เย็นจัดและแห้งแล้ง มรสุมอีกชนิดหนึ่งคือ มรสุมตะวันตกแยงใต้ซึ่งพัดผ่านมหาสมุทรอินเดียพาไอน้า และความชนื้ มาสู่ประเทศไทย จังหวดั นครพนม จะมฝี นตกทว่ั ไป 4.5 ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรณี พ้ืนท่ีในส่วนที่เป็นดินของจังหวัดนครพนม เป็นที่น่าสนใจหลาย ประการท้ังส่วนที่เป็นดิน หินลูกรัง กรวด ทราย ท้ังด้านคุณภาพและปริมาณในเชิงเศรษฐกิจนาไปสู่ การ ประกอบอาชีพได้ เช่น ดินที่บ้านกลาง อาเภอท่าอุเทน มีผู้กล่าวถึงหรอื มีผลงานวิจัยออกมาว่าเป็นดนิ ทม่ี คี ณุ ภาพสงู สุดสาหรับงานดา้ นการก่อสร้าง เป็นต้น ซ่งึ ชาวบ้านกลางใชด้ นิ นี้ปัน้ ครก ไห ภาชนะต่าง ๆ มาตั้งแต่บรรพบุรุษจนปัจจุบันนี้ เม่ือนาไปเผาแล้ว เม่ือเคาะจะเสียงดังกังวาน สีเป็นมันคล้ายโลหะ พื้นที่ในจังหวัดนครพนมทั้งหมด 3,464,061 ไร่ ซึ่งพอจะกล่าวถึงส่วนสาคัญในเร่ืองดิน หิน กรวด ทรายและดนิ ลูกรงั แหล่งน้าตามธรรมชาติจังหวัดนครพนม ท่ีมีความสาคัญต่อกิจกรรมการผลิตทาง การเกษตรการอตุ สาหกรรมและการอุปโภค สามารถแบง่ แยกออกตามแหลง่ ท่มี าได้ดงั น้ี แม่น้าโขง มีแหล่งกาเนิดจากประเทศจีน เป็นแม่น้าขนาดใหญ่มีความลึกกว้างและ ยาวมาก ซึ่งมีปริมาณน้าไหลมากตลอดปี การนาน้ามาใช้ประโยชน์เพ่ือการเกษตรยังมีน้อยเน่ืองจาก การพัฒนาเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ยังทาได้ไม่เต็มที่ แม่น้าสายน้ีไหลผ่านพ้ืนท่ี อาเภอบ้านแพง อาเภอ ทา่ อเุ ทน อาเภอเมืองนครพนมและอาเภอธาตุพนม เปน็ ระยะทางประมาณ 153 กิโลเมตร แล้วไหลลง ไปทางใต้ ผ่านจังหวัดมุกดาหาร อุบลราชธานี เข้าสู่ประเทศสาธารณรัฐกัมพูชาและออกสู่ทะเลท่ี ประเทศสาธารณรัฐสังคมเวียดนาม แม่น้าสายน้ีนับได้ว่าเป็นแม่น้าที่สาคัญต่อเศรษฐกิจและการเมือง เป็นอย่างมาก แม่น้าสงคราม มีต้นกาเนิดบริเวณเทือกเขาภูพาน ในท้องถ่ินอาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี โดยไหลขึ้นทางเหนือจากนั้นไหลวกลงมาทางตะวันออกเฉียงใต้ผ่านทางด้านเหนือ ของจังหวัดนครพนม ผ่านพ้ืนท่ีอาเภอศรีสงคราม เป็นระยะทาง 90 กิโลเมตร แม่น้าสายน้ีวกไปเวียน มาทาให้น้าในแม่น้าไหลช้า และเกิดน้าท่วมตามฤดูกาล ลาน้านี้จะไหลลงสู่แม่น้าโขงทางตอนเหนือ ของอาเภอท่าอเุ ทน ทีบ่ า้ นไชยบรุ ี ลาน้าก่า ต้นกาเนิดท่ีหนองหาน จังหวัดสกลนคร ไหลไปทางทิศ

33 ตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเข้าจังหวัดนครพนมในพ้ืนที่อาเภอนาแก อาเภอปลาปาก และอาเภอเรณูนคร เปน็ ระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร แลว้ ไหลลงสแู่ มน่ ้าโขงทางตอนใต้ ทีบ่ ้านนา้ ก่า อาเภอธาตุพนม ลานา้ อนู ตน้ กาเนิดท่หี นองหาน จังหวัดสกลนคร ไหลผา่ นไปทางทิศตะวนั ออกเฉียง ใต้ผ่านเข้าจังหวัดนครพนมในพื้นที่อาเภอนาหว้า และอาเภอศรีสงครามแล้วไหลลงสู่แม่น้าสงครามที่ อาเภอศรสี งคราม ลาน้ายาม ต้นน้าเกิดในท้องถิ่นท่ี จังหวัดสกลนคร ไหลผ่านท้องถิ่นท่ีอาเภอศรี สงครามมาบรรจบกับลาน้าสงครามท่ีบ้านปากยาม ตาบลสามผง อาเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม 4.6 ทรพั ยากรป่าไม้ ป่าไม้ของจังหวัดนครพนม จะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ไม่มีป่าท่ีเป็น ประเภทเดียวกันเป็นแนวต่อเน่อื ง แตจ่ ะผสมผสานกัน และสลบั เปลี่ยนกนั ไปไม่แน่นอนซงึ่ สภาพป่าไม้ สามารถจาแนกออกได้เปน็ ป่าดงดิบแล้ง เป็นป่าท่ีจัดอยู่ในมรสุมช้ืน เป็นป่าประเภทที่ก่ึงกลาง ป่าร้อนช้ืน หรือ ป่าดงดิบช้ืน และป่าเบญจพรรณ ป่านี้พบตามหุบเขาเขาทิวเนินเขาเต้ียจนถึงบริเวณสูงราว 1,000 เมตร และพบตามบริเวณท่ีราบบริเวณริมลาธารต่าง ๆ ในจังหวัดนครพนมพบป่านี้ทางตอนเหนือสุด บริเวณทิวเขาภูลังกาในเขตอาเภอบ้านแพง และทางทิศใต้บริเวณตามทิวเขาภูพาน ในเขตอาเภอนา แกพันธ์ไม้ท่ีพบอยู่ในป่าดงดิบแล้งจะมีทั้งพวกเขียวชอุ้มตลอดปีและพวกไม้ผลัดใบ ชนิดไม้ท่ีสาคัญมี ไม้ยาง ไม้ตะเคยี น ไม้ตะแบก ไม้มะค่าแต้ ไมเ้ หียง เปน็ ต้น ป่าแดง เป็นป่าท่ีจัดอยู่ในป่ามรสุมแล้ง โดยท่ัวไปป่าแดงจะเกิดตามบริเวณแห้งมาก เช่น ดินกรวด ทราย หรือลูกรัง ซ่ึงมีธาตุอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณดินส่วนบน ซ่ึง ธรรมชาตกิ ัดกร่อนไปมาก หลายแห่งจะเหน็ ดนิ ชนั้ ดนิ ลกู รงั โผล่ขึ้นมาอยูบ่ ริเวณผวิ ดนิ การเกิดป่าแดง จะมีสาเหตุจากการกระทาของมนุษย์เป็นสว่ นใหญ่ อันเนอื่ งมาจากการเผ่าเศษไม้ ใบไมใ้ นฤดแู ล้ง การ ทาไร่เล่ือนลอย รวมท้ังการตัดไม้มากเกินไปซ่ึงถ้าการกระทาเหล่าน้ี ดาเนินต่อไปในระยะเวลานาน หลายปี ก็จะทาให้ป่าเหล่านี้เส่ือมโทรมลง และกลายเป็นป่าแคระ หรือป่าแดงไปในที่สุด ในจังหวัด นครพนมป่าชนิดนี้พบมากและกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป ทุกส่วนของจังหวัด เนื้อท่ีป่าแดงท่ีติดต่อกัน เป็นพ้ืนท่ีใหญ่จะพบทางตอนกลางและตอนใต้ของจังหวัด พันธ์ุไม้ที่พบในป่าชนิดน้ีได้แก่ ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้พลวง ไมย้ าง และไม้เหยี ง เปน็ ตน้

34 ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าท่ีจัดอยู่ในประเภทป่ามรสุมชื้นและ เป็นป่าที่มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับป่าดงดิบแล้งและป่าแดง บ่อยครั้งจะพบป่าเบญจพรรณ อยู่ในแนวแคบ ๆ ระหว่างป่าท้ัง สองนีต้ น้ ไม้ส่วนใหญ่ในป่าเบญจพรรณนีจ้ ะเปน็ พวกไมผ้ ลัดใบ ทาใหฤ้ ดแู ลง้ สามารถสังเกตเห็นป่าชนิด น้ีได้ง่าย เน่ืองจากต้นไม้จะท้ิงใบจนเกิดความแตกต่างกับป่าดงดิบแล้งและป่าแดงอย่างชัดเชน ใน จังหวัดนครพนมพบป่าชนิดนี้ทางตอนใต้ของจังหวัด พันธุ์ท่ีพบที่สาคัญได้แก่ ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้พยุง บางแหง่ มตี น้ สกั ข้ึนอย่ตู ามธรรมชาติ แต่มีจานวนจากดั ไม่มากนกั 4.7 ทรพั ยากรแรธ่ าตุ แร่ธาตุที่สาคัญของจังหวัดนครพนมจากอดีตถึงปัจจุบันพบว่ามีแร่ธาตุจานวนน้อยที่ พบคือ เกลือสินเธาว์พบอยู่ในชั้นดิน โดยเฉพาะตามประวัติศาสตร์มีการผลิตเป็นจานวนมากในเขตที่ ล่มุ น้าสงคราม เขตอาเภอศรสี งคราม มีซากเตาเกลืออย่เู ป็นจานวนมาก นอกจากนตี้ ามตานานเลา่ ขาน ของชาวแสก บ้านอาจสามารถ อาเภอเมืองนครพนม มีอาชีพหนึ่งเกิดขึ้นประมาณ 50-100 ปี ผ่าน มาแล้ว คือ บ้างคา หรือ อาชีพ ตามลาน้าโขง บางตระกูลของชาวแสกก็ยังมีอุปกรณ์อาชีพนี้อยู่จนถึง ปัจจบุ ัน นอกจากนีแ้ ลว้ ไม่พบการทาแร่ธาตุอ่ืน ๆ ในเขตพนื้ ท่ีจงั หวดั นครพนม 4.8 อาชพี จากสภาพภูมิศาสตร์และทรัพยากรของจังหวัดนครพนมดังกล่าวแ ล้วก่อให้เกิด อาชีพสาคัญในพื้นท่ี คือ เกษตรกรรม จังหวัดนครพนมมีพื้นที่ในการเกษตรกรรมมากจังหวัดหน่ึง เนื่องจากภูมิประเทศที่เหมาะแก่การเกษตร คือ ลักษณะของดินในพ้ืนท่ีจังหวัดนครพนม จาก โครงสร้างทางธรณีวิทยาเป็นหินช้ันหรือตะกอนของหินที่เกิดการสะสมตัว ในยุคซีโนโซอคิ สภาพหน้า ดินเป็นดินน้าเก่าและที่ราบน้าท่วมถึงกับสภาพลานตะดักลาน้า สภาพพื้นที่สูงกว่าท่ีราบน้าท่วมถึงใน ปัจจุบัน สภาพดินเช่นนี้เกิดจากดินท่ีน้าพามาทับถมท้ังใหม่และเก่าอยู่ริมฝั่งแม่น้าโขงและลาห้วยต่าง ๆ ลักษณะของตะกอน เป็นดินทราย ดินทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวป่นทรายแป้ง ดินเหนียวปนทราย แป้งและดินเหนียวทับถมกันเหมาะแก่การทานาปลูกพืชไร่ไม้ผล และดินอีกประเภทหนึ่งเป็นดินเกิด จาก การสลายตัวของหินชนิดต่าง ๆ ได้แก่ หินทราย หินทรายแห้ง หินดินเหนียวและหินทรายปน กรวด สภาพดินท่ีเหมาะแก่อาชีพการเกษตร

35 4.9 การคมนาคม การขนส่งทางบก ทางน้าและทางอากาศ ทางบก การคมนาคมขนส่งทางบกจาก จังหวัดไปยังจังหวัดใกล้เคียง มีทางหลวงแผ่นดิน 3 สาย และติดต่อกับอาเภอต่าง ๆ ภายในจังหวัด ด้วยทางหลวงจังหวัด 8 สาย ส่วนในระดับตาบล และหมู่บ้านมีถนนสายรอง ลาดยาง และถนนดิน ลูกรังอีกหลายสาย การเดินทางจากกรุงเทพมหานครถึงจังหวัดนครพนม โดยทางรถยนต์ จะใช้ เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถนนพหลโยธนิ -สระบุรี กม. ท่ี 107 แยกเขา้ ทางหลวงหมายเลข 2 ถนนมิตรภาพ ผ่านจังหวัดนครราชสีมา อาเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 22 ผ่านอาเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ถงึ จงั หวดั นครพนม ระยะทาง 735 กิโลเมตร ทางน้า จังหวัดนครพนม มีการคมนาคมขนส่งทางน้าระหว่างอาเภอเมือง นครพนมกับท่าแขก แขวงคามว่ น ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีเรอื ข้ามฝาก ท่ีใช้สาหรับผ้โู ดยสารและแบบแพขนานยนตส์ าหรับขนส่งรถบรรทุกสินค้า เรือข้ามฟากเปิดบริการทุก วนั ทางอากาศ จังหวัดนครพนม มีการคมนาคมขนส่งทางอากาศ โดยบริษัท การบิน ไทย กรุงเทพมหานคร – จังหวัดนครพนม ทุกวัน/ละ 1 เที่ยว (พ.ศ. 2539) ใช้เวลาบินประมาณ 55 นาที 4.10 ประชากร ชาวจงั หวดั นครพนม ประกอบด้วย กลมุ่ ชนพนื้ เมืองดั้งเดิมหลายเผ่า ได้แก่ เผ่าผไู้ ท เผ่าญ้อ เผ่าโส้ เผ่าแสก เผ่ากะเลิง ไทยลาวและข่า ซึ่งมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมท่ีเป็น เอกลักษณ์ของตนเองท่ีนา่ ประทับใจ นอกจากนีใ้ นระยะหลังของประวัตศิ าสตร์นครพนม มชี าวจนี และ ชาวญวณอพยพเข้ามามีวัฒนธรรมผสมกลมกลืนกันไป ส่วนใหญ่ประชากรร้อยละ 95.89 นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 4.10 นับถือศาสนาคริสต์ และศาสนาอ่ืน ๆ คิดเป็นร้อยละ 0.01 แต่ละชนเผ่ามี ชาติพันธ์ุเป็นของตนเอง (ดังจะได้กล่าวในบทต่อไป) สืบทอดลักษณะภาษาสาเนียงการพูด การแต่ง กาย อาหาร ตลอดท้งั วฒั นธรรมความเชื่อ ประเพณีการดารงชีวิตเปน็ แบบฉบับของตนเองหลายอย่าง หลงเหลอื ใหเ้ ห็นความแตกตา่ งจนถงึ ปัจจบุ นั

36 4.11 ภาษาและวรรณกรรม ภาษาถิ่น ประชาชนชาวจังหวัดนครพนม มีหลายเผ่าพันธุ์ ซ่ึงภาษาและสาเนียงการ พูดจะแตกต่างกันออกไป แยกเปน็ เผา่ ทีส่ าคญั ได้ 7 เผ่า ดงั นี้ 1. เผ่าไทย-ลาว เป็นชาวไทยกลุ่มใหญ่ในจงั หวัดนครพนม เช่นเดียวกับชาวไทยอีสานในจงั หวัดอื่น ๆ ในภาคอีสานหลายจังหวัด ชาวไทยอีสานได้สืบเช้ือสายต่อเนื่องกันมานานนับลายพันปี นับต้ังแต่สมัย ขุนบรมปฐมวงศ์ของกษัตรยิ ์เผา่ ไทยสืบต่อกันมาตั้งแต่อาณาจักรน่านเจ้าและอาณาจกั รล้านช้างนกระ ทั้งในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาชาวไทยอีสานได้อพยพลงตามลานา้ โขงเริ่มตั้งแต่ พ.ศ 2232 (สมัยสมเด็จพระ นารายณม์ หาราช) เมอ่ื ท่านพระครโู พนเสม็ดนาชาวไทยอีสานส่วนหน่งึ ซ่ึงเปน็ ศานุศิษย์จากอาณาจักร ลา้ นช้างอพยพลงมาตามลานา้ แลว้ แพร่ขยายไปตามลาน้าชี ลานา้ มลู และลานา้ อนื่ ๆ ซงึ่ แยกออกจาก แม่น้าโขงแยกย้ายไปตงั้ บา้ นเรือนอ่นื ๆ ในภาคอสี าน 2. เผ่าไทยย้อ (ญอ้ ) ประวัติความเป็นมาของชาวไทยญ้อ ถ่ินฐานเดิมของไทยญ้ออยู่ที่เมืองหงสาแขวง ไชยบรีของประเทศลาวหรือเขตจังหวัดลานช้างของไทยสมัยหน่ึงไทยญ้อส่วนใหญ่ได้อพยพมาตั้งถิ่น ฐานใหม่ที่เมืองชลบุรี ปากน้าสงครามริมฝั่งแม่น้าโขง (ตาบลไชยบุรี อาเภอท่าอุเทนจังหวัดนครพนม ในปัจจบุ นั ) ในสมัยรัชกาลท่ี1 เมื่อ พ.ศ.2351 ตอ่ มาเมื่อเกิดการกบฏเจ้าอนุเวียงจนั ทรใ์ นสมยั รัชกาล ที่ 3 (พ.ศ.2369) พวกไทยญ้อท่ีเมืองไชยบุรีได้ถูกกองทัพเจ้าอนุวงศ์กวาดต้อนไปแล้วให้ไปตั้งเมืองอยู่ ณ เมืองปุงลิง ฝ่ังซ้ายแม่น้าโขง (อยู่ในเขตแขวงคาม่วนประเทศลาว)อยู่ระยะหนึ่งต่อมาได้กลับมาต้ัง เมืองขึ้นใหม่ทางฝั่งขวาแม่น้าโขง ตั้งเป็นเมืองท่าอุเทน เม่ือ พ.ศ. 2373 คือ บริเวณอาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนมในปัจจุบันนิสยั ใจคอของชาวไทยญ้อส่วนมากที่สดุ คือ ซื่อสัตย์ สุจริต รักสงบ มีความ สามัคคี ไม่ว่าจะมีงานอะไร เช่น การทาบุญ การปลูกบ้าน ทานาจะว่านหรือนาวานกัน (นาวาน คือ การลุงแขก ทานา ทางาน)

37 3. เผ่าผ้ไู ทย ชาวเผา่ ผไู้ ทย เป็นชาวนครพนมเผ่าหนึ่ง ทอ่ี าศยั ในเขตเรณูนคร อาเภอนาแก อาเภอ ธาตุพนม อาเภอนาหว้า เดิมต้ังแต่ต้ังถิ่นฐานในแคว้นสิบสองจุไท แคว้นสิบสองปันนา ชาวผู้ไทย ได้ อพยพจากฝั่งซ้ายของแม่น้าโขงข้ามมาอยู่ในประเทศไทยในปี พ.ศ 2369 ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลท่ี 3 แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ตามตานานของชาวผู้ไทยเรณูนคร กล่าวไว้ในพงศาวดารล้านช้าง ว่าท่ีเมืองน้าน้อย ออ้ ยหนหู รอื แถนมีป่เู จา้ ลางเซิง ขนุ เค้ก ขุนคาน ปกครองชาวผ้ไู ทย เมอ่ื เกิดทกุ ภิกขภัยพญากา หัวหน้าผู้ไทยคนหนึ่งได้เกิดขัดแย้งกับเจ้าเมือง จึงชักชวนผู้ไทยจานวนหนึ่งมาอยู่ท่ี เมืองวังอ่างคาแขวงสุวรรณเขตปัจจุบัน ที่เมืองแห่งนี้มีชาวข่าอาศัยอยู่ก่อนแล้วจึงเกิดพิพาทกันขึ้น ตอ่ มาชาวผไู้ ทยถูกชาวข่าและจีนฮ่อบุกรกุ ทาลายเผาบ้านเรือน และจบั เอาพญาเตโชหัวหน้าชาวผู้ไทย ไปเมืองจีน พญาเตโชได้ส่ังลูกหลานว่า อย่าอยู่เมืองวังเลยให้อพยพไปอยู่ฝั่งขวาของแม่น้าโขงเสียเถดิ ชาวผู้ไทยโดยการนาของท้าวเพชร ท้าวสาย จึงพาชาวผู้ไทยจากเมืองวัง อพยพข้ามมาอยู่ฝ่ังขวาของ แม่น้าโขง โดยการต่อเรือและต่อแพล่องมาตามแม่น้าโขง ข้ามมาขึ้นฝ่ังที่บ้านพระกลางท่าเขตอาเภอ ธาตุพนม พระภิกษุทาเจ้าสานักธาตุพนมเวลานั้นได้แนะนาให้ไปตั้งบ้านเรือนที่ ดงหวายสายบอแก ชาวผู้ไทยจึงอพยพกันต่อไปและตั้งบ้านเรือนขึ้นใหม่ให้ชื่อว่า เมืองเว รัชกาลท่ี 3 จึงโปรดเกล้า ต้ังให้ เท้าสายเป็น พระแก้วโกมล เจ้าเมืองคนแรกและยกขนึ้ เป็นเมืองเรณนู ครขึน้ กับเมอื งนครพนม ปัจจุบนั คือ อาเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 4. เผ่าไทยกะเลงิ กะเลงิ เป็นชนกลุม่ นอ้ ยที่เปน็ กล่มุ ชาติพันทางภาษากลุ่มหน่ึง เชน่ เดียวกบั ชนกลุ่มญ้อ โส้ แสก ผู้ไทยและเวียดนาม ซึ่งมีอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดนครพนม กะเลิงมีถ่ินฐานเดิมอยู่ทางฝ่ังซ้ายแมน่ ้า โขง ชนกลุ่มกะเลิงได้อพยพมาตั้งแหล่งอยู่ในประเทศไทยเม่ือประมาณ 100 ปีเศษ ตั้งแต่มีการปราบ เจ้าอนุวงศ์ในรัชกาล 3 และมีการอพยพคร้ังใหญ่ ในสมัยรัชกาลท่ี 5 เม่ือเกิดศึกกบฏฮ่อในปี พ.ศ. 2416 ปัจจุบันมีชนกลุ่มชาติพันธ์ุกะเลิงในประเทศไทย ที่จังหวัดนครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ มกุ ดาหาร นครพนมท่ีอาเภอเมืองมีชนกลมุ่ กะเลิงท่ี บ้านกุรุคุ หนองหญ้าไซ นาปง ไทยสามัคคี ตาบลกุรุคุ บ้านนาโพธิ์ บ้านผ้ึง วังกระแส นามน เทพนม ดงสว่าง ตาบลบ้านผึ้ง บ้านขามเฒ่า ตาบล ขามเฒ่าพัฒนา บ้านดงขวาง บ้านคาเตย บ้านหัวโพน ตาบลนาทราย อาเภอท่าอุเทน บ้านเวินพระ

38 บาท บ้านยางนกเหาะ บ้านนาโสกใต้ บ้านนาโสกเหนือ บ้านม่วง อาเภอนาแก บ้านโพนสว่าง บ้าน โพนแดง ตาบลนาแก บ้านพระซอง อาเภอธาตุพนม บ้านนาถ่อน ตาบลนาถ่อน บ้านดอนนางหงส์ ตาบลเรณนู คร ตาบลนางงาม ตาบลนายอ อาเภอปลาปาก บ้านปลาปาก ตาบลปลาปาก บ้านโนนทนั บา้ นผกั อีตู่ บา้ นนองกกคูณ บา้ นนาสะเดา บ้านโนนทนั กลาง ตาบลหนองฮี ตาบลหนองเพาใหญ่ บ้าน วังมว่ ง ตาบลมหาชัย 5. เผา่ ไทยแสก แสก เป็นชนกลุ่มน้อยในภาคอีสานเผ่าหน่ึงในจานวนหลาย ๆ เผ่าที่มีอยู่ในประเทศ ไทย เดิมชาวแสกมีภูมิลาเนาอยู่ที่เมืองรองข้ึนกับกรุงเว้ อยู่ทางตอนกลางของประเทศเวียดนามและ จีน ชนเผ่าแสกเป็นเผ่าท่ีมีความอุตสาหะบากบ่ัน ยึดมั่นในความสามัคคี เม่ือเห็นว่าภูมิลาเนาเดิมไม่ เหมาะสมจึงได้รวบรวมสมัครพรรคพวกอพยพหาที่อยู่ใหม่ โดยอพยพลงมาจากลาน้าโขงแล้วมาต้ังถ่ิน ฐานชั่วคราวอยู่ระหว่างประเทศเวียดนามกับประเทศลาว โดยมี ท้าวกายซุ และท้าวกายชา เป็น หวั หน้านาในการอพยพ ต่อมาในสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองแห่งกรุ่งศรีอยุธยากษัตริย์ของไทยชาว แสกได้พากันอพยพข้ามแม่น้าโขงมาตั้งถ่ินฐานอยู่ที่ ป่าหายโศก การอพยพของชาวแสกแต่ละครั้งนัน้ ไม่ได้ถูกบังคับหรือข่มเหงแต่อย่างใด เม่ือชาวแสกเห็นว่าบริเวณ ป่าหายโศก เป็นพ้ืนที่มีความอุดม สมบรู ณด์ ว้ ยทรัพยากรต่าง ๆ จึงไดอ้ พยพกนั มาประกอบอาชีพอยู่แหง่ น้ีเร่ือยมา จนถึงสมัยพระสุนทรเป็นเจ้าเมืองได้พิจารณาเห็นว่าชาวแสกมีความสามารถและ ความเข้มแข็ง สามารถปกครองตนเองได้จึงได้ยกฐานะของชาวแสกขึ้นเป็นเมืองโดยได้เปล่ียนช่ือใหม่ จากปา่ หายโศก เป็นเมอื งอาจสามารถหรือบ้านอาจสามารถ จนทุกวนั น้ี เมื่อได้ยกฐานะขนึ้ เป็นเมืองแลว้ ชาวแสกตา่ งพากันโยกยา้ ยทอ่ี ย่ไู ปทามาหากนิ ในถิ่น ตา่ ง ๆ อกี ก็มี เชน่ บา้ นไผ่ล้อม(ตาบลอาจสามารถ)บา้ นดงสมอ บา้ นบะหว้า(อาเภอนาหว้า) ในพืน้ ที่ ของอาเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม และทบ่ี ้านโพธ์ิคา(ประเทศลาว) ชาวแสกเหลา่ น้ี ล้วนมีเช่ือ สายและเป็นญาติพ่ีน้องกบั ชาวแสกทบ่ี า้ นอาจสามารถ จากคาบอกกลา่ วของชาวแสกทราบวา่ ปจั จุบันยงั มีเผ่าแสกที่อย่แู คว้นสิบสองปนั นาทปี่ ระเทศจนี และทสี่ มทุ รปราการ ประเทศไทยอีกดว้ ย

39 6. เผ่าไทยโส้หรือไทยกะโซ่ ชาวไทยโส้ในพืน้ ทจี่ ังหวดั นครพนม เปน็ ชาวไทยตระกูลเดียวกนั กบั พวกบรู หรือพวก ไทยข่า นักมนุษย์วิทยาถือว่าพวกไทยโส้เป็นชาติพันธุ์ของมนุษย์ ในกลุ่มมองโกลอยด์ มีภาษาขนม ธรรมเนียมประเพณีแตกต่างไปจากพวกไทยข่า แต่ภาษาน้ันยังถือว่า อยู่ในตระกูลออสโตรอาเซียติด สาขามอญเขมรหรือกะตู ซึ่งสถาบันวิจัยภาษาฯของมหาวิทยาลัยมหิดลได้รวมรวบไว้ในบทความเรอื่ ง ภาษาตระกูลไทย พวกกะโซ่ซ่ึงอพยพเข้ามาในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้ต้ังขึ้นเป็นเมืองหลายเมือง คือ เมือง รามราช เป็นชาวกะโซจ่ ากเมืองเชียงฮ่ม ในแขวงสวุ รรณเขต ตัง้ เป็นเมืองรามราชข้ึนกับเมืองนครพนม เม่ือ พ.ศ.2387 โปรดเกล้าฯ ตง้ั ให้ท้าวบัว แหง่ เมอื งเชียงฮม่ เปน็ พระทัยประเทศ เปน็ เจ้าเมอื งคนแรก ปจั จุบันคือท้องทีต่ าบลรามราช ตาบลพะทาย ตาบลทา่ จาปา อาเภอทา่ อเุ ทน ตาบลโพนสวรรค์ ตาบล บา้ นคอ้ ตาบลนาขมน้ิ อาเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม เปน็ หมูบ้านชาวไทยโส้ นอกจากน้ียังมีชาวไทยโส้ในท้องท่ีอาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม อีกหลาย หม่บู า้ น เชน่ ตาบลโคกสงู และบ้านวงั ตามัว ในท้องที่อาเภอเมืองนครพนม 7. ไทยข่า ไทยข่าเปน็ ชาวไทยอกี กลุ่มหนง่ึ ท่ียงั พอมีหลงเหลือบ้างในพื้นที่จังหวดั นครพนมแต่ไม่ ปรากฏให้เห็นเป็นชุมชนชัดเจนจะมีเพียงครอบครัวที่แทรกอยู่ตามชุมชนในพื้นที่อาเภอนาแกตาม หมู่บ้านแถบเทือกเขาภูพานซ่ึงเป็นรอยต่อกับอาเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร อาเภอดงหลวงจะมี ชาวไทยข่าอาศัยอยู่มาก ในอดีตจังหวัดมุกดาหารก็เป็นอาเภอหนึ่งท่ีขึ้นต่อจังหวัดนครพนม รวมถึง อาเภอดงหลวงด้วย ปัจจบุ นั อาเภอมุกดาหารได้เล่ือนเปน็ จังหวดั และอาเภอดงหลวงก็ไปสังกัดจังหวัด มุกดาหารด้วย ชุมชนไทยข่าในจังหวัดนครพนมจึงไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด จึงมีเพียงกระจัดกระจาย เป็นบางครอบครวั ในชุมชนต่าง ๆ ดงั กล่าวมาแล้ว ไทยข่ามีถิ่นกาเนิดด้ังเดิมอยู่แขวงสุวรรณเขตสาละวัน และอัตปือ ของสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวและได้อพยพเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 3 เป็นต้น มา นักมนุษย์วิทยาถือว่า ชาวไทยข่าเปน็ ชนเผา่ ดั้งเดิมในแถบลุ่มแม่น้าโขงสืบเช้ือสายมา จากขอมโบราณภายหลังขอมเสอื่ มอานาจลง ภาษาของชาวไทยข่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรอาเซีย ติก ในสาขามอญเขมรชาวไทยขา่ มิไดเ้ รยี กตวั เองวา่ ไทยข่า แต่จะเรียกตัวเองว่าเปน็ พวกบรู

40 คาว่า ข่า อาจมาจาก ข้าทาส ซึ่งสาเนียงอีสานจะออกเสียง ข่าทาส เนื่องจากในรัช สมยั รชั กาลที่ 5 มีการจดั พวกบรูมาเป็นขา้ ทาสรับใช้กนั มาก จึงเรียกกันมาวา่ ไทยขา่ 8. ไทกวน บ้านนาถ่อนทุ่ง ตาบลนาถ่อน อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม บรรพบุรุษของ ชาวนาถ่อน เผ่าไทกวน มีประวตั คิ วามเปน็ มาจากแค้วนสิบสองจุไทย ซ่ึง ขุนบรม เปน็ ผ้กู ่อต้ังเมอื งแถง ต้ังแต่ศตวรรษที่ 12 ตั้งเมืองนาน้อย อ้อยหนู ปู่แสนบางนางแสนเก้าหรือเมืองแถง เกิดทุพพิกภัย จึง ได้อพยพมาทางใต้ อาศัยอยู่ตามลาน้าเซน้อย ซ่ึงเป็นพ้ืนที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยทรัพยากรปา่ ไม้ และสัตว์ น้าต่าง ๆ เป็นท่ีราบระหว่างหุบเขาชาวบ้านเรียกว่า กวน ซึ่งหมายถึงพื้นท่ีแวดล้อมด้วยภูเขา ณ บริเวณแห่งนั้น จึงได้ต้ังเมืองหลวง ป่งลิง/ปุงลิงมีเมืองผาบัง วังคา อยู่ริมน้าเซน้อย (เซบ้ังไฟ) ซึ่งน้าเซ บั้งไฟน้ไี หลลงสู่แม่น้าโขงตรงข้าม อาเภอธาตุพนม เมืองหลวงป่งลิง/ปุงลิง เป็นชาวเมืองซึ่งมาจากเมืองนาน้อย อ้อยหนู ปู่แสนบางนา แสนเก้า มีการปกครองแบบชาวอีสานโบราณ คือมีเจ้าเมืองอุปฮาด ราชวงศ์ราชบุตร เป็นผู้ปกครอง เมอื งอิสระปกครองกนั มาหลายชว่ั อายุคนผ้ปู กครององคส์ ุดทา้ ยปรากฏชอ่ื ท้าวไทยทรงยศ หลังจากเผ่าไทยกวนได้มาอยู่ดินแดนมรุกขรนคร พร้อมบรรพบุรุษแล้ว ก็ได้ต้ังถิ่นฐานตามริมน้าบังฮ วก ตรงบริเวณที่เรียกวา่ บ้านฮ้างขัวกกตาล กลุ่มบุคคลกลุ่มนี้มีญาติจากเมือง ปุงลิง ผาบัง วังคามีแม่ เฒา่ ศรสี องเมืองเปน็ หวั หนา้ ตัง้ บ้านอยบู่ า้ นทุง่ นาใน ในฤดูแล้งขาดแคลนนา้ จงึ ไดย้ ้ายไปอยู่หัวดงนาน อก ทางไปบ้านดงยอ นานอกคือ ทุ่งใหญ่ นาใน คือ ทุ่งตะวันออกบ้านนาถ่อนทุ่งต่อมาเกิดโรคระบาด จึงยา้ ยจากบา้ นฮ้างผามเพียงมาอย่บู ้านดงไม้ถ่อน คอื บา้ นนาถอ่ นทุ่งตราบจนปจั จบุ นั นี้(กรมศลิ ปากร, 2542 : 1-146) จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม เ ป็น จัง ห วัด ที่ มี ธ รร ม ช า ติ ร่ม รื่ น เ งี ยบ ส งบ ด้ ว ย ท่ี ว่า ช า ว จังหวัด นครพนมเป็นจังหวัดที่ปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมประเพณีฮีตคองโบราณและมีส่ิงศักด์ิสิทธิ์เป็นที่ยึดเหน่ียว จิตใจของชุมชนโดยศาสนสถานท่ีผู้วจิ ยั ศึกษาค้นคว้า พระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เป็นปูชนียสถานที่สาคัญของคนในชุมชน จังหวัดนครพนมและจังหวัดใกล้เคียงถือเป็นพระธาตุ คู่บ้านคู่เมืองท่ีเก่าแก่ของคนในจังหวัดนครพนมที่ประชาชนท้ังชาวไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวต่างพากันมากราบไหว้ขอพรและมีงานนมัสการจัดขึ้นเป็นประจาทุกปีและมีศิ ลปะการ ฟอ้ นประกอบพธิ ีบชู าและมีศิลปวัฒนธรรมประจาทอ้ งถ่ิน

41 4.2 ประวัติพระธาตุพนม องค์พระธาตุพนม เป็นมหาเจดีย์โบราณ เป็นปูชนียสถานอันศักด์ิสิทธ์มิ านาน เป็นท่ี บรรจุพระพุทธอุรังคธาตุ ท่ีแปลกันมาว่า “พระธาตุหัวอกพระพุทธเจ้า” เป็น พุทธเจดีย์คู่บ้านคู่เมือง ของไทยล้านช้างมาแต่โบราณ เป็นโบราณสถานที่ให้ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และ วัฒนธรรมเก่าแก่ ประชาชนชาวล้านชา้ งนับแต่ พระมหากษัตริย์ลงมาได้เคารพบูชาและอุปถัมภ์บารุง ไว้เป็นมิ่งขวัญจิตใจของชาวพุทธ ซึ่งจะหาเจดีย์เก่าแก่ให้เราได้ชมอย่างนี้ได้ยากในประเทศไทย จึง สมควรท่เี ราทง้ั หลาย จะชว่ ยกนั รักษาไวใ้ ห้เป็นมรดกของชาติบา้ นเมอื งและพระพุทธศาสนา องค์พระธาตุพนม เป็นหลักฐานพยานแสดงให้เห็นความเจริญทางวัตถุและ จิตใจ ของคนโบราณชน ผู้อาศัยอยู่ในภูมิภาคส่วนนี้ของโลก จึงจัดว่าเป็นสมบัติข้ึน สาคัญของโลกช้ินหน่ึง สาหรบั ปจั จุบันองค์พระธาตุพนมยังเป็นวตั ถเุ ครื่องยึดจิตใจ ประชาชนให้มัน่ อยู่ในบุญกุศล และเคารพ บูชาพระธรรมวินัย เป็นจุดรวมประชาชน ในลุ่มแม่น้าโขงประจาปีที่หล่ังไหลมาจากจตุรทิศให้ได้ แลกเปลย่ี นถา่ ยเทความเจริญวตั ถแุ ก่กันทางวัตถุและจิตใจ ชาวเราลูกพระพทุ ธองค์จึงมิควรทจี่ ะดูดาย วดั พระธาตพุ นมวรมหาวิหาร อันเปน็ สถานทป่ี ระดิษฐานพระธาตุพนม เปน็ พระอารามหลวงชั้นเอกใน ภาคน้ีมาแต่ พ.ศ. 2493 ตั้งแต่รัชกาลที่ 6 มา น้าบ่อพระอินทร์ได้เข้าร่วมในน้ามูรธาภิเษกของ พระมหากษัตริยไ์ ทย แตร่ ัชกาลนนั้ มาถงึ ปัจจบุ ันได้พระราชทานถวายดอกไม้ธปู เทยี นทองและน้าหอม มาบูชาและสรงพระบรมธาตุทุกปี แต่ยกเป็นอารามหลวงแล้ว ยังได้รับพระราชทานเทียนประจา พรรษาทุกปี เรมิ่ แต่ พ.ศ. ๒๔๙๖ วัดพระธาตุพนม เป็นพระอารามใหญ่แต่โบราณมา เน้ือท่ีเขตจาพรรษา ปัจจุบัน 49 ไร่ มีพระภิกษุสามเณรจาพรรษาแต่ 90 ถึง 100 มิขาด มีศิษย์วัดแต่ 30 ถึง 40 พร้อมท้ังชีด้วย เป็น สถานท่ีศึกษาท้ังทางธรรมและบาลี เดี๋ยวน้ีเปิดแผนก มัธยมเพ่ิมเติมข้ึนอีก มีโรงเรียนภาษาไทยอาศัย อยใู่ นเขตวัด 2 โรงเรยี น มีหมู่บ้านต้ัง อยู่โดยรอบเป็นสานักอบรมจติ ตามแบบพุทธ (วปิ ัสสนา) มภี าระ ท่จี ะต้องปรับปรงุ ให้ ความสะดวกแกน่ ักศกึ ษาและนกั ปฏบิ ัตเิ ป็นอนั มาก เสนาสนะและสาธารณูปโภค ยัง ไม่พอความต้องการ ถึงคราวมีงานนมัสการประจาปีจึงไม่สะดวก ที่พักและอุปกรณ์ ยังจะสร้าง โรงเรียนให้เป็นหลักฐาน ทาประปาให้ความสะดวกแกอ่ าคนั ตกุ ะผู้มาแสวงบุญ ฯลฯ

42 ภาพประกอบท่ี 2 พระธาตพุ นม ทมี่ า : http://www.thatphanom.com/2645.html 1.ลักษณะองค์พระธาตุ คาวา่ “ธาตุ” เปน็ ช่ือเรียกพระเจดยี ์ เปน็ ภาษาไทยเหนอื และไทยทางภาคใต้ ทวั่ ไป องคพ์ ระธาตุพนมเป็นเจดยี ์สี่เหลย่ี มวัดโดยรอบ 44.20 เมตร เดิมสูงจากพ้ืน ดนิ ถึงยอด 4 3.00 เมตร กรมศิลปากรเสริมยอดขึ้นอีก 90.00 เมตร พ.ศ. 2483 จึงเป็น 53.05 เมตร รวมท้ังฉัตรอีก 4.00 เมตร เดยี๋ วนสี้ งู แต่พื้นตลอดยอด จึงเป็น 57.05 เมตร องค์พระธาตพุ นมทางสงู แบง่ เป็น 4 ตอน ตอนท่ี 1,2 เป็นรอง ปรางค์ มีซุ้มประตูแบบโบราณอยู่ทั้ง 4 ด้าน มีลวดลายสลักอิฐประดับวิจิตรงดงาม เป็น รปู ลายกา้ นขดและรูปกษตั ริยโ์ บราณ (ทา้ วพญาท้ัง 5) ทีม่ าสร้างพระธาตุพนม ทัง้ 2 ตอนนี้ ถอื ว่าเป็น ของโบราณแท้ เก่าแกม่ ิไดส้ ร้างเสริม สว่ นทเ่ี ห็นอิฐแดงทั่วไป นัน้ โบราณแท้ ส่วนใดที่ฉาบปนู โบกไว้นั้น เป็นการซอ่ มในยคุ ต่อมา ตอ่ จากนั้นขนึ้ ไป เป็นบวั ควา่ และบัวปากระฆังหรือขวดแก้ว ตอนท่3ี เป็นตวั ระฆงั หรอื ขวดแกว้ เรียว รัดขึ้นโดยลาดบั ตามลักษณะขวดแกว้ สี่เหลยี่ ม ตอนที่ 4 เปน็ ยอดขน้ึ ไปจนถึง ฉัตร ยอดน้ีรูปเกา่ กับรปู ใหม่ผดิ กันมาก จะสังเกตเหน็ ทีร่ ปู ถา่ ย

43 2. ทีต่ ัง้ พระธาตุพนม ปัจจุบันนีอ้ งค์พระธาตพุ นม ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระธาตพุ นมวรมหาวิหาร ตาบลและอาธาตุพนม จังหวดั นครพนม ในเขตภาค 4 อยู่ฝ่ังขวา (ตะวนั ตก) ของแมน่ า้ โขง อันเปน็ เสน้ ก้ันเขตแดนระหว่างประเทศไทยและลาว แต่โบราณสถานที่ ประดิษฐานองค์พระธาตุพนมน้ี เรียกว่า “ภูกาพร้า” หรือ “ดอยกาพร้า” ภาษาบาลี ว่า “กปณบรรพต” หรือ “กปณคีรี” ตั้งอยู่ริมฝ่ังแม่น้า “ขลุนท”ี เปน็ เขตแขวงนคร ศรโี คตรบรู โบราณ นครน้ีตานานบอกวา่ อยู่ใต้ปากเซบ้งั ไฟ ซึง่ เป็นสายน้า แควหนึ่ง ไหลจากภูเขาแดนญวน ตกแม่น้าโขงตรงธาตุพนม เข้าใจว่าเป็นเมืองร้างแห่งหนึ่ง อยู่ บ้าน เรียกกันบัดนี้ว่า “เมืองขามแท้” ริมแม่น้าเซบั้งไฟทางใต้ ลึกจากฝั่งโขงเข้าไปในประเทศลาวประมาณ 5-6 กม. ชาวบ้านเรยี กกนั ว่า “เมอื งขามแท”้ 3. ช่อื นครตา่ ง ๆ สมัยสรา้ งพระธาตุ 1.นครศรโี คตรบรู อยูฝ่ ่งั ซ้ายแม่นา้ โขงใต้ลาน้าเซบัง้ ไฟ ในประเทศลาว 2. แคว้นจุลมณี ต้ังอยู่ฝั่งตะวันออกแม่น้าโขงเหนือแคว้นศรีโคตรบูร เห็นจะปกคลุม บรเิ วณหลวงพระบางและสิบสองจุไทยบดั น้ี 3. เมอื งหนองหานหลวง อยตู่ ะวนั ตกแคว้นศรีโคตรบรู เมอื งหลวงต้ัง อย่รู มิ ฝง่ั หนอง หาน เมอื งสกลนครบัดน้ี 4. เมืองหนองหานน้อย อยู่บริเวณจังหวัดอุดรตะวันตก เมือง เห็นจะต้ังเมืองอยู่ริม ฝ่ังหนองหาน อาเภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี 5. แคว้นอินทปัตถนคร อยู่ใต้ลงไป ได้แก่ประเทศกัมพูชาบัดนี้ แต่ ทราบว่าเมือง หลวงอยู่ทไ่ี หนเจา้ ผู้ครองนครทั้ง 5 น้ี ไดม้ าร่วมสร้างองค์พระธาตพุ นมองค์ละด้านตาม ทิศทางของตน ต้งั อยู่ สมยั โนน้ เรยี กวา่ “กอ่ อโุ มงค์อุรงั คธาตุ” และยงั มีชือ่ แควน้ ใหญ่ๆ อีก 2 ทไี่ มไ่ ดร้ ว่ มสร้างคือ 6. เมืองสาเกตหรือร้อยเอ็ดประตู ต้ังอยู่เมืองร้อยเอ็ดบัดนี้ คงมีอาณาเขตแผ่คลุมไป ปลายน้ามลู น้าชที างตะวนั ตก 7. แคว้นกุลุนทนครหรือทวารวดีก็เรียกเห็นจะได้แก่ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ในภาค กลางแห่งประเทศไทยบัดน้ี

44 4. พุทธประวัติ ในอุรังคนิทาน ตานานพระธาตุพนม ได้กล่าวถึงกาเนิดแม่น้าลาคลองต่าง ๆ ในภาค อีสาน มีแม่น้าโขง เป็นต้น แล้วกล่าวถึงพุทธประวัติว่า สมัยหนึ่งเป็นปัจฉิมโพธิ กาล พระพุทธองค์มี พระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะได้เสด็จมาทางทิศตะวันออกโดยทาง อากาศ มาลงที่ตอนกอนเนานั้น ก่อน แล้วเสด็จไปหนองคันแทเส้ือน้า (เวียงจันทน์) ทานายว่าจะเกิดบ้านเมืองใหญ่ท่ีต้ัง พระพุทธศาสนาแล้วล่องลงมาโดยลาดับ ประทาน รอยพระบาทที่โพนฉัน โปรดสุขหัตถีนาค (พระ บาทโพนฉัน) อยู่ตรงข้ามอาเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย แล้วมาพระบาทเวินปลา (เหนือเมือง นครพนม) ทานาย ท่ีต้ังเมืองมรุกขนคร มาพักแรมที่ภูกาพร้า ราตรีวิสสุกรรมเทวบุตรลงมาอุปัฏฐาก รุ่งเช้าเสด็จข้ามไปบิณฑบาตทีเ่ มืองศรีโคตรบรู พักอยู่ร่มต้นรังต้นหน่งึ (พระธาตุองิ ฮงั เมอื งสวุ รรณเขต ลาว) แล้วกลับมาทาภัตกิจที่ภกู าพร้าทางอากาศ องค์พระธาตุพนม ซ่ึงเคยรุ่งเรืองมาก็พลอยได้รับการกระทบกระเทือน ขาด ผู้ อุปัฏฐากรักษาถาวรวัตถุ ปูชนียสถานในวัดก็มีแต่ทรงอยู่กับทรุดลง จนราว พ.ศ. 2530 พระวิหาร หลวงซ่ึงพระเจ้าโพธิศาล นครหลวงพระบางได้สร้างไว้และได้รับ การบูรณะจากพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ล้านชา้ ง ตอ่ มานั้นกถ็ ึงคราวอวสานพังทลาย ลงมาเป็นกองอฐิ ปนู อยู่กลางวัด เพราะเหลือวิสัย ท่ีชาววัดและชาวบ้านจะซ่อมได้ เป็นวิหารใหญ่มีระเบยี งรอบทั้ง 4 ด้าน ซ่ึงเรียกกันว่า “หอพระแก้ว” องค์พระมหาธาตุก เศร้าหมองคราคร่ามาก จนต้นโพธิ์ต้นไทรเกาะจับตามซอกอิฐประปราย สาธุชน เหน็ แล้วให้เกดิ สังเวชสลดใจเปน็ อันมาก 5. ยคุ ปัจจุบัน พ.ศ. 2480 เมื่อพระราชทานเพลิงศพท่านพระครูเจ้าอาวาสองค์ก่อนแล้ว คณะสงฆ์ และชาวบ้านเลือกเอาพระเทพรัตนโมลี (แก้ว อุทุมมาลา) เมื่อยังเป็นเปรียญ อยู่ให้เป็นเจ้าอาวาสสืบ แทนต่อมา ท่านเจ้าอาวาสรูปนี้ เป็นสัทธิวิหาริกของท่านพระ ครูศีลาภิรัต เจ้าอาวาสองค์ก่อน อุปสมบท พ.ศ. 2471 ได้ศึกษาธรรมวินัยอยู่ สานักพระอปุ ชั ฌายะ 2 ปี แลว้ ย้ายไปศึกษาอยู่กรุงเทพฯ สอบได้เปรยี ญ 4 เจา้ คณะ มณฑลพายพั ส่งไปเป็นครูสอนบาลีประจาจังหวัดแพร่ แล้วสอบไดเ้ ปรยี ญ 5 คร้ัน ท่านพระนครเจ้าอาวาสมรณภาพ คณะสงฆ์และชาวบ้านนิมนต์ให้กลบั มาครองวัด ต่อมาสอบได้ เปรยี ญ 6

45 6. ยคุ ปจั จุบันบูรณะท่วั ไป พ.ศ. 2480 พระเทพรัตนโมลี (แก้ว อุทุมมาลา ป.ธ.๖) มาเป็นเจ้าอาวาส แทนพระ ครูศีลาภิรัต มีชาติภูมิอยู่กับธาตุพนมเอง ปีแรกเกิดพิพาทเรื่อง ที่ธรณีสงฆ์ท่ัว ๆ ไป จนเกิดเป็นคดี ฟอ้ งร้องกนั ขนึ้ ทางวดั เปน็ ฝ่ายโจทก์ วดั เป็นฝ่ายชนะทง้ั ศาลตน้ และศาลอทุ ธรณ์ เป็นความอยู่ 2 ปี ถงึ พ.ศ. 2 เสร็จ ทางวัดได้สิทธิกลับคืนมาหมดตามเดิม โดย นายเหล็ก แสนเยีย ๆ กามเดิม โดย นาย เหลก็ แสนเยยี มรรคทายก เป็นผแู้ ทนวดั ขนุ อนุสรกรณี (ทะ ณ นครพนม) เป็นทนาย พ.ศ. 2481 ได้เร่ิมสร้างวิหารคดรอบองค์พระธาตุ ณ วันศุกร์ท่ี 15 กรกฎาคม ถึง พ.ศ. 2491 รวม 11 ปี จึงสาเร็จ รวมเป็นวิหาร 107 ห้อง ประตูห้อง 3 ห้อง รวมเป็น 110 ห้อง ซุ้ม ดา้ นหน้า 3 ซุ้ม ประตูสารองดา้ นหนา้ 2 ประตเู จาะ สร้างใหม่ ประตกู ลางซ้ือของเก่าสร้างใหม่ เพราะ ชารุดมาก ถึง พ.ศ. 2491 จึงแลว้ เสรจ็ สน้ิ เงินประมาณ 5000,000.00 บาทเศษ (จะละเอียดภายหลัง) การสร้างวิหาร คดอาศัยกาแพงเก่าและก่อเสริมวางขอแต่ด้านตะวันออกเหนือประตูไปจนถึงประตู เหนือ แตป่ ระตูเหนอื มาถงึ ดา้ นตะวันออกเหนือประตูใต้ รอื้ กาแพงเก่าสร้างใหม่ เพราะ ผพุ งั ชารดุ มาก เงินทุนได้มาจากประชาชนบริจาค และเงินในงานนมัสการประจาปี (รายการวิหารคดมละเอียด ตา่ งหาก) พ.ศ. 2492 ร้ือกาแพงชั้น 2 ที่ชารุดมีอายุมาได้ 335 ปี แล้วสร้างใหม่ สูงเท่าเดิม กาแพงเก่าทึบตลอดทุกด้าน มีซุ้มประตูแต่ด้านใต้และตะวันตกสร้างใหม่ ข้างล่างทึบ ข้างบนโปร่ง ต้ัง ใบเสมาหลังกาแพง ตามมุมท้ัง 4 สร้างเป็นหอระฆัง ประตูซุ้ม 4 ประตู ประตูเปิด 1 ประตู รวม 5 ประตู ด้านตะวันออก 2 ประตู เหนือ โรงธรรมเจาะใหม่ และได้รุ่นด้านตะวันออกเข้ามาใหม่ กาแพง เดิมอยู่ตรงเสาศิลาและ ตรงเสาตะวันออกมุขโรงธรรม กาแพงยาว 146 เมตร สิ้นเงิน 115,000 บาท ใชช้ า่ งไทยและกรรมกรไทย เช่นเดยี วกบั ซุ้มประตูใหญ่ ถึง พ.ศ. 2494 จึงเสรจ็ พ.ศ. 2453 สร้างบันไดลงสู่สนามด้านใต้ และถังน้าฝนไว้ริมคูข้างกาแพง ดานใต้ สิน เงินประมาณ 15,000 บาท และหล่อระฆังใส่หอระฆังกาแพงแก้ว 4 ลูก ค่าช่าง 2,500 บาท ทองและ อุปกรณ์ของวัดและชาวบ้านช่วยได้ประมูลซ่อมหอพระแก้ว คือซ้ือหลังคาเก่าออกก่อเสริมผนังข้ึน 2 เมตรรวม เป็น 6 เมตร ตัดหลงั คา 3 ช้ันพรอ้ มดว้ ยมงุ และทาสเี พดานผนงั เป็นราคา 70,000 บาท เป็น ทุนที่คุณภู่ เนาวรังษี ขอให้จากยอดงบประมาณต่าง ๆ ของรัฐบาล งานค้าง มาถึง พ.ศ. ๒๔๔๖ จึงให้ ชา่ งใหมท่ าตอ่ กับได้สรา้ งศาลาพนม 2 ดา้ นหลังพระธาตุ เหนือตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ กว้าง 12.60 เมตร ยาว 19.00 เมตร ใช้เสาและเครืองบน ของเก่าประสมใหม่ สินเงินประมาณ 10,000 บาท มุงสังกะสี

46 ฝากระดาน และสร้าง กุฏติ ึก 2 ช้นั เป็นกุฏเิ จ้าอาวาส ด้านหลงั ของพระธาตุเสร็จแลว้ พ.ศ. 2495 สนิ เงิน งบประมาณ 50,000 บาท ศกนี้ทางราชการได้ยกฐานะวัดพระธาตุพนม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิด “วรมหาวหิ าร” โดย นายเลยี ง ไชยกาล กระทรวงมหาดไทยเสนอแนะนา พ.ศ. 2494 ทางวดั ได้ก่อสร้างมีรายการสังเขปดงั นี้ 1. ขยายหน้าวดั เปน็ วงเวียนพระจันทรค์ รึ่งซกี รัศมี 50 เมตรจากประตสู นิ้ เงนิ 48,800 บาท 2. ขยายถนนหน้าวดั ข้างละ 5.00 เมตร รวมถนนกวา้ ง 15.00 เมตร จาก วงเวียนถึง ซมุ้ ประตนู อก 304.00 เมตร (แตซ่ ุม้ ประตหู นา้ วดั ถึงซุ้มนอก 304.00 เมตร) สนิ เงนิ 94,440.00 บาท 3. ลาดยางถนนหน้าวดั เฉพาะถนนเดิมกว้าง 5.00 เมตร ยาว 254.00 เมตร ส้นิ เงนิ 28,590.74 บาท 4. สร้างบันไดลงสูบ่ รเิ วณวดั นอกวหิ ารคดดา้ นเหนือ 12,000 บาท 5. ซอ่ มบอ่ น้าโบราณทีเ่ รยี กวา่ “บอ่ น้าาพระอนิ ทร์” รือ้ ชุดใหมก่ อ่ อฐิ หน้าแลง้ นา้ ลึก 300 เมตร สนิ้ เงิน 4,000.00 บาท ทุนรัฐบาลช่วย 200,000.00 บาท นายภู เนาวรังษี ส.ส. นครพนม ของ จากยอด งบประมาณต่าง ๆ ทุนของวัดสมทบลาดยาง 17,430.00 บาท รวม รายการ เงิน 712,430.75 บาท หอพระแก้วยังไม่สาเร็จ กฐินหลวงพระราชน แก่คณะกรมการจังหวัด เร่ิมแต่ศกน้ีไป กุฏิเจ้าอาวาสก็ ยังกาลังสร้างยงั มีเสร็จดี พ.ศ. ๒๔๙๕ ปูถนนรอบวิหารด้านเหนือ และปูรอบกาแพงช้ัน ๒ ด้วยกระเบื้อง ซเี มนต์ พ.ศ. 2496 ได้กอ่ สรา้ งดังนี้ 1. สร้างกุฏิแถวริมหนองสระพัง (ตะพัง) ก่อเสาวางคานเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น กว้าง 6 เมตร ยาว 30 เมตร ชัน้ ละ 10 หอ้ ง รวม 20 หอ้ ง มุงดว้ ยอะลูมเิ นียม ส้ิน เงิน 73,089.00 บาท 2. สร้างกุฏิรับรองตึก 2 ชั้น กว้าง 5.00 เมตร ยาว 9.00 เมตร มีมุขข้าง พร้อมท้ัง ครัวและหอ้ งนา้ สน้ิ เงนิ 30,850.00 บาท 3. ปถู นนหน้าวิหารคด ดา้ นตะวันตก 4. วางรากศาลาต้นพระศรีมหาโพธ์ิ กอ่ ชนั้ ลา่ งเปน็ อโุ มงค์ 3 คหู า และเขือ่ น กน้ั ดนิ ท่ี ลานพระศรีมหาโพธิ์และถมดิน รัฐบาลให้เงินสมทบทุน 300,000.00 บาท แบ่งเข้าหอพระแก้ว

47 50,000.00 บาท แบ่งใช้ในงานยกฉัตร ๑๕๐,000.00 บาท วัดคงได้รับสมทบทุนก่อสร้างเพียง 150,000.00 บาท บูรณะหอพระแก้วตอน 2 คือ จ้างช่างทาช่อฟ้าใบระกา ปั้นลวดลายประดับทาสี สรา้ งฐานพระประธาน เป็นเงนิ 50,000.00 บาท และปูทนั งานยกฉตั ร พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2497 ทางรัฐบาลได้ทาพิธียกฉัตรทองคาข้ึนประดิษฐานไวท้ ่ียอดองค์ พระธาตุ และนาฉัตรเก่าลงมาเก็บไว้ได้นิมนต์เจ้าคณะจังหวดั ภาค 3 ภาค 4 ทั้ง 15 จังหวัด และเจ้าคณะตรวจ การภาคทั้งธรรมยุตและมหานิกาย และเจ้าคณะฝ่ังซ้าย แต่หลวงพระบางลงมาถึงปากเซ ร่วมสวด มนต์ในพธิ ียกฉตั รคราวนด้ี ้วย จดั เปน็ มหาสังฆสนั นบิ าตที่หาได้ยากในภาคอสี าน ส่วนประชาชนพุทธศาสนิกชน ก็หลั่งไหลมาจากจตุรทิศทั้ง 2 ฟากฝั่งน้า โขง เพื่อ ร่วมบาเพ็ญกุศล คลสันนิบาตในฐานะที่องค์พระธาตุพนมเป็นก้อนมรดก บรรพบุรุษร่วมกัน ทาง ราชการได้สั่งหน่วยราชการต่าง ๆ จากแทบทุกกระทรวง มาออกร้านในงาน แสดงกิจการของหน่วย ต่าง ๆ เพ่ืออบรมประชาชนให้ได้ทัศนศึกษา ครั้งแรกประชาชนทั้งมวลตั้งใจหวังด้วยความต้ืนตัน ล่วงหนา้ ว่า ในการยกฉตั ร ทองคาขนึ้ สู่ยอดพระธาตอุ งค์พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช เอกอัคร ศาสนูปถัมภกและพระประมุขของชาติจะเสด็จฯ มาทรงยกฉัตรด้วยพระองค์เองเพ่ือ พระราชทานเกียรติมงคลแก่ชาวพุทธทั้งหลายในภาคนี้และการยกฉัตรองค์พระธาตุ นี้ พระมหากษตั รยิ ์ลา้ นชา้ งได้ยกเป็นธรรมเนียมมาแลว้ หลายคราว แตพ่ อถงึ คราว งานก็ส้นิ หวังไปตาม ๆ กัน เพราะพระองค์มิได้เสด็จดังท่ีคาดไว้ เพราะเหตุการณ์ของ โลกไม่ปกติ ทางรัฐบาลได้มอบให้พลโท หลวงสวัสดิสรยุทธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วัฒนธรรม มาเป็นประธานในการยกฉัตร ทางฝ่ายคณะ สงฆ์มีเจ้าคุณพระพิมลธรรม สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง เป็นประธาน กาหนดฤกษ์ ณ วันขึ้น 14 ค่า เดือน 3 ปีมะเมีย เวลา 10.45 น. เป็นอุดมฤกษ์ ยิงพลุสัญญาณส่ันรัวระฆังฆ้องกลอง ตลอด ภาค ๓-๔ พระสงฆ์ในพิธีสวดชัยมงคลคาถา ฉัตรทองคาก็ได้เล่ือนขึ้นสู่ยอด โดยเช่ืองช้าท่ามกลาง ความปลาบปลืม้ สาธุการของมหาชนชาวพุทธท้ังหลาย ผอู้ ดกล้นั มไิ ดม้ ีนา้ ตาหลัง่ ไหลดว้ ยปตี กิ ม็ ี ฉัตรทองคา มีเนื้อทองของวัดประมาณ 7 กิโลกรัม นอกนั้นเป็นโลหะสีทอง หนัก ประมาณ 20 กิโลกรัม ฉัตรทั้งหมดหนัก 110 กิโลกรัม สูง 4.50 เมตร ฉัตรวงแรกเส้นผ่าศูนย์กลาง กว้าง 1.00 เมตร ทองพระธาตุเหลือ 1 กิโลกรัมเศษ ราคา สร้าง 160,000.00 บาท โดยช่างศิลปากร ออกแบบ กรมธนารักษ์จัดทาก่อนยกฉัตรทางวัดได้จัดการปูพ้ืนหอพระแก้ว ท่านเจ้าอาวาสขุดได้พระ พุทธ รูปทองคา ประดับด้วยเพชรพลอยมรกต รอบสังฆาฏิ และสายสะพายและฐานกับ พระโมลี ภายในพระโมลมี ีพระสารีริกธาตุ 3 องค์ มีนามว่า “พระเจา้ สวุ รรณาวร วิสุทธิ อุตตมวิโรจน์ โชติรัตนา ลังการ” สร้างวันพฤหัสบดีเวลาใกล้เที่ยงแรม 4 ค่า เดือน 12 ปีมะเส็ง จุลศักราช 1043 ตัวตรง พ.ศ.

48 2224 แผน่ ดนิ พระเจ้าสรุ ยิ วงศาครองเวียงจันทน์ และสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชครองกรุงศรีอยุธยา มีน้าหนัก 5 กิโลกรัมเศษ คิดฐานออกคงเป็นเน้ือทองไม่ต่ากว่า 4 กิโลกรัม เวลาน้ีเก็บไว้คลัง จังหวัด นครพนม ขณะท่ีได้ประชาชนทั้งสองฝั่งน้าหลั่งไหลมานมัสการเนืองแน่นเป็น เวลาตั้งเดือน เสร็จงาน แล้วได้อัญเชญิ ไว้คลงั จังหวัด ยกฉัตรแล้วถึงวันแรม 1 ค่า วันงานสุดท้าย เวลา 20.00 น. ตรง 5 ทุ่ม ขณะท่ี ประชาชนกาลงั เพลิดเพลินอยู่กบั การดูมหรสพท่วั บริเวณวัดนัน้ มีเหตุประหลาด อัศจรรยเ์ กดิ ขึ้น คอื มี แสงประหลาดปราดมาจากทิศเหนือผ่านหนา้ วัดลอยต่ามาก แสง เป็นลายาวเกือบวา และสลับเหลอื ง เขียวขาวยาวเป็นหยดหยาด ประชาชนตื่นเต้นตะลึง กันหมด ผู้เคารพต่อพุทธคุณก็ยกมือสาธุการว่า เปน็ เดชอภินิหารพระบรมธาตุ ก่อนซอ้ื นง่ั ร้าน ทางวัดไดจ้ ัดการทาปูนขาวท่วั ท้ังองค์พระธาตุแล้วจึงได้ รื้อ การก่อสร้างปีนี้ ทางวัดจัดทาไปน้อยมาก เพราะรายได้ก็น้อยกว่าปีใด ๆ เพราะใช้จ่ายในงานยก ฉัตร มาก ได้ก่อสร้างศาลาในบริเวณต้นพระศรีมหาโพธ์ิ 1 หลัง ก่ออิฐปูนมุงกระเบื้อง ซีเมนต์ และ ซ่อมแซมเสนาสนะอย่างอ่ืนเท่านั้นกับตัดถนนหน้ากุฏิใหญ่ข้างใต้วิหารคด ต่อจากถนนข้ามทุ่งสายใต้ กอ่ อฐิ กั้นดินตลอดขอบสระ พ.ศ. 2492 ไดก้ อ่ สร้างดังน้ี 1. กาแพงด้านตะวนั ออกทางเหนือองค์พระธาตุ จากมุมวหิ ารคดถงึ ทางแยกเข้าดอน กลางยาว 130 เมตร แต่ยังไมเ่ สร็จ 2. ขุดสระก่อเขอ่ื นทปี่ ่าตาล ใตร้ มิ วิหารคดดา้ นใตน้ ัน้ และกอ่ เขอื่ นกั้นดินท่ี ตะวนั ตก ประตไู ด้คร่ึงหน่ึง 3. ขุดลอกหนองสระพังด้านตะวันออกเกาะ ด้วยเงินทุนจัดระบบอาชีพของ รัฐ 90,000.00 บาท ทางวัดออกทนุ กอ่ ขอบสระเทา่ บริเวณทีข่ ุดนั้นสิน้ เงนิ ประมาณ 30,000.00 บาท 4.เตรียมไม้และอุปกรณ์สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมตึก ๒ ช้ัน แต่ยังมิได้ ลงมือ เพราะทนุ ไม่พรอ้ ม รายการก่อสร้างในยุคเจ้าอาวาสปัจจุบันยุติลงเท่านั้นก่อน ต่อไปเสนอราย ละเอียด อีกครั้ง ขอความสวัสดจี งมีแด่สาธุชนท้ังมวลเทอญฯ วันท่ี 11 สงิ หาคม 2518 ตรงกับวันจนั ทร์ ขึ้น 4 คา่ เดือน 9 ปีเถาะ พระธาตุพนมได้ พังทลายลงไปทางทิศตะวันออกท้ังองค์ ทับวัตถุก่อสร้างต่าง ๆ ซ่ึงอยู่ ใกล้เคียงนั้นเสียหายหมด เช่น กาแพงแกว้ ชัน้ ที่ 1-2 หอพระทางทศิ เหนือและทศิ ใต้, ธาตหุ อบูชาข้าวพระ, ศาลาการเปรียญ และพระ วิหารหอพระแก้ว ส่วนฉัตรพระธาตุ ซึ่งทาด้วยทองคาน้ันตกกระเด็นไปพิงอยู่ฝากาแพงพระวิหาร หอ

49 พระแก้วได้รับความ เสียหายเล็กน้อย การที่พระธาตุพนมได้พังทลายลงครั้งน้ีสืบเน่ืองมาจากฐานเดมิ หรือ พระธาตุช้ันท่ี 1 ซึ่งมีความสูงประมาณ 8 เมตร เก่าแก่และผุพังมาก จนไม่สามารถทานน้าหนัก ส่วนบนได้และประจวบกับระหว่างนั้นฝนตกพราติดต่อกันหลายวัน บางคร้ังก็ตกหนักและมีพายุพัด แรงอีกดว้ ย จึงเป็นเหตใุ ห้พระธาตุซึ่งเก่าแกแ่ ละผุพังอยู่ แลว้ เริม่ ผพุ งั มากข้นึ จนกระทง่ั หักล้มลงในท่ีสุด วันที่ 8 กันยายน 2518 เจ้าหน้าท่ีกรมศิลปากรได้ทาการรื้อถอน ขนย้ายซากปรักหักพังขององค์พระ ธาตุพนม ใช้แรงงานคนงานจานวน 50 คน ใช้ ทางานอยู่ 170 วัน จึงแล้วเสร็จ ในระหว่างการขุดค้น ขนยา้ ยซากปรักหักพังพร อยู่นั้น ไดพ้ บวตั ถสุ ่งิ ของมีค่ามากมายประมาณ 14,700 ชิ้นเศษ ของจานวน นี้ได้ เข้าบรรจุไว้ในพระธาตุองค์ใหม่เป็นบางส่วน และบางส่วนจะได้เก็บไว้ท่ีพิพิธภัยปรักหักพังพระ ธาตเุ ก็บไวท้ พ่ี ิพธิ ภัณฑว์ ดั วันท่ี 25 กันยายน 2518 มีพิธีบูชาและบวงสรวงดวงวิญญาณ พระธาตุพนม บรรพ บุรษุ ตลอดจนถึงเทพเจ้าผู้พทิ กั ษร์ ักษาองค์พระธาตุ แลว้ อัญเชิญไปประดิน ไว้ทีพ่ ระธาตุพนมจาลองซ่ึง อยู่ทางทิศเหนือองค์พระธาตุท้ังน้ีเพ่ือสะดวกในการ ก่อสร้างพระธาตุองค์ใหม่ เม่ือสร้างเสร็จแล้วจะ อัญเชิญกลับประดิษฐาน ณ ที่เอง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีฝ่าย บ้านเมอื ง พระพมิ ล ธรรม (อาสภมหาเถระ) เปน็ ประธานฝา่ ยสงฆ์ วันท่ี 17-18 ตุลาคม 2518 ได้พบพระอุรังคธาตุอยู่ที่พระธาตุท่อน กลาง ซึ่งสูงจาก ระดับพื้นดิน 14.70 เมตร แต่ในขณะที่พบน้ัน พบอยู่บนกองอิฐปูน ท่ีพังลงมาจากพระธาตุช้ันที่ 2 ส่วนบน สูงจากระดับพื้นดิน ประมาณ 2 เมตร พระ อุรังคธาตุนี้ได้บรรจุไว้สลับซับซ้อนมาก แต่พอ สรปุ ได้ดังน้ี 1. พระอุรังคธาตุจานวน ๘ องค์ บรรจุอยู่ในผอบแกว้ 2. ผอบแก้วอยขู่ า้ งในผอบทองคา 3. ผอบทองคาอยู่ขา้ งในตลบั เงนิ 4. ตลับเงนิ อยขู่ า้ งในบุษบกทองคา 5. บุษบกทองคาอยู่ข้างในเจดีย์ศิลา 6. เจดีย์ศิลาอยู่ข้างในผอบสาริด 7. ผอูบสาริดอยู่ในพระธาตุข้ันที่ 2 ส่วนบน สูงจากระดับพ้ืนดิน 14.70 เมตร วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2518 ถึงวนั ท่ี 9 มกราคม 2519 (7 วัน 7 คืน) มงี านสมโภชพระ อุรังคธาตุ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมโอรสาสยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จฯ มาเป็นประธานในพธิ ี สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นประธานเจริญพระพทุ ธมนต์ การก่อสร้างพระธาตุองค์ใหม่

50 การก่อสร้างพระธาตุองค์ใหม่ได้สร้างครอบพระธาตุองค์เก่าชั้นท่ี 1 หรือ ท่ีเรียกว่า อุโมงค์เดิม ซ่ึงไม่ได้พังทลายท้ังหมด ยังเหลือเป็นกองอิฐอยู่สูงประมาณ 5 เมตร การก่อสร้างทาด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก มีรูปทรงสี่เหล่ียมเหมือนของเดิม ทุกประการ สูงจากระดับพื้นดิน 500.60 เมตร ฐานวัดระดับพนื้ กว้างด้านละ 13 เมตร วัดสงจากระดับพน้ื 64 เซนติเมตร กว้างด้านละ 12.30 เมตร การดาเนินการก่อสร้างแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ 1. สร้างโครง 2. ประดับตกแต่ง ลวดลายสาหรับการสร้างโครงน้ันทาด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก บริษัทอิตาเลียนไทย เป็น ผ้รู บั เหมาก่อสร้างในราคา 4,450,000 บาท ทางบรษิ ทั ได้ทาการขุดรากลงเข็ม ในวนั ที่ 12 พฤษภาคม 2519 ต่อมาในวันท่ี 28-29 พฤษภาคม ศกเดียวกัน ทาง วัดพระธาตุพนม อันมีท่านเจ้าคุณพระเทพ รัตนโมลีเป็นประธาน พร้อมด้วยกรมการนครพนม กรมการอาเภอธาตุพนม และประชาชนชาวธาตุ พนมมีนายพิศาล มูลศาสตร์สาธร ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนมเป็นประธาน ได้ทาพิธีลงรากฝังเข็ม พระธาตุพนมเพื่อให้เป็นสิริมงคลในการก่อสร้างพระธาตุองค์ใหม่ การประดับตกแต่งลวดลาย หลังจากสร้างโครงพระธาตุเสร็จแล้ว 1 ปี จึงได้มีการประดับตกแต่งลวดลาย คณะกรรมการ อานวยการบรณปฏสิ งั ขรณ์พระธาตพุ นมได้มอบหมายให้กรมศิลปากรเป็นผู้ดาเนนิ การประดับตกแต่ง ให้เหมือนของเดมิ ทกุ ประการ (พระเทพรตั นโมลี, 2557 : 31-67) 5. แนวคิดและทฤษฎที ่เี ก่ียวขอ้ ง 5.1.แนวคิด 1. แนวคิดอตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรม (Cultural Identity) อภญิ ญา เฟอื่ งฟูสกลุ , (2546 : 1-6) กลา่ วถงึ ความหมายของอตั ลกั ษณ์ในยุค ปัจจุบันดังนี้ ความหมายของมโนทัศน์ “อัตลักษณ์”(Identity) ในแวดวงวัฒนธรรมศึกษา(cultural studies) นา่ จะหมายถึงคุณสมบัตทิ ี่เป็นลกั ษณะเฉพาะของบุคคลหรือสิ่งน้ัน ในพจนานกุ รมภาษาไทย – อังกฤษ คาแปลของ Identity คือ เอกลักษณ์ น่ันก็คือสิ่งที่เป็นคุณสมบัติของคนหรือส่ิงน้ัน และมี นัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งน้ัน ท่ีทาให้สิ่งน้ันโดดเด่นหรือแตกต่างจากสิ่งอ่ืนขึ้นมา การนยิ ามความหมายซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปไดต้ ามบรบิ ท มิได้หมายถงึ คณุ สมบัติเฉาพะตัวอีกต่อไป ดังน้นั คาว่า อัตลักษณ์ ดูจะเหมาะสมกว่าคาว่า เอกลักษณ์ ในความหมาย Idetity ในยุคปัจจุบัน ในอีกด้าน หนึ่งอัตลักษณ์ก็เกี่ยงกับมิติภายในของความเป็นตัวเราอย่างมากทั้งในด้านอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด เพราะมนุษย์ให้ความหมายหรือเปลี่ยนแปลงความหมายเกี่ยวกับตนเองในกระบวนกา รที่เข้าสัมพันธ์ กับโลกและปริมลฑล

51 Geertz. อา้ งองิ มาจาก อคิน รพพี ฒั น์, (2551 : 72-76) กลา่ วถึงแนวคดิ วัฒนธรรม เกียร์ซเห็นว่าวัฒนธรรมเป็นแนวคิดหลกั ในกามานายวิทยา แต่มีความหมายกวา้ งขวางครอบคลุมมาก ไป จนยากท่ีจะใช้ให้มีประสิทธิภาพใน การศึกษาวิจัยได้ นักวิชาการหลายคนได้พยายามจากัด ขอบเขตของแนวคิด เกียร์ชเองกล่าวว่า บทความทั้งหลายที่รวบรวมไว้ในหนัง สือ The Interpretation of Cultures ก็เป็นการพยายามทาเช่นเดียวกัน เพื่อให้แนวคิดน้ีมีประสิทธิภาพ ใน เชิงทฤษฎี และคงความสาคัญปัจจุบันมีการถกเถียงกันถึงจุดเร่ิมแรกและท่ีมาของแนวคิดนี้มากและ เกิดความสงสัยว่าคาจากัดความของ อปี ไทเลอร์ (SB Tylor ค.ศ.182 1917) ท่ีได้รับการยอมรับกัน มานานวา่ เป็นที่มาของแนวคดิ นน้ี ้นั ไม่เป็นความจรงิ แต่หนังสือเล่มน้ี (เหมอื นกับเกียร์ซเอง) ขออ้างคา จากัดความของไทเลอร์ว่าเป็น ความพยายามแรกเริ่มที่จะให้คานิยามของ วัฒนธรรม หรืออารยธรรม คือองค์รวมท่ีซับซ้อน ซึ่งรวมถึงความรู้ ความเช่ือ ศิลปกรรม กฎหมาย ประเพณี ความสามารถ และ ลักษณะนิสัยอ่ืน ๆ ที่คนได้รับมาในฐานะท่เี ป็นสมาชิกคนหนึ่งของสังคม จะเห็นได้ว่าคาจากัดความน้ีครอบคลุมหลายสิ่งหลายอย่าง ทั้งที่เป็นวัตถุ และ ความคิด ศาสตราจารย์ชาร์ลส์ เอฟดายส์ ได้แยกความหมายจากท่ีปรากฏ ใช้อยู่ในปัจจุบันโดย นักวชิ าการสานกั ตา่ ง ๆ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ดังตอ่ ไปน้ี 1.วัฒนธรรมคือรูปแบบของปรากฏการณ์และเหตกุ ารณ์ท่ีได้สังเกตเห็น pattern of observed wents) ที่เป็นทัศนะของนักพฤติกรรมศาสตร์ behaviarist และวัตถุนิยม ศาสตราจารย์ ตายส์ประชดว่าในกรณีวัฒนธรรม อยู่เพื่อให้คนข้างนอกมองไม่ได้มีไว้สาหรับผู้ถูกศึกษาวิจัย (เจ้าของ วัฒนธรรม) ใช้ 2.วัฒนธรรมในฐานะเป็นบคุ ลิกภาพความหมายนีเ้ ปน็ ความหมายทนี่ ัก มานุษยวทิ ยา สานัก “วัฒนธรรมและบุคลกิ ภาพ” (culture and personalityใช้ นักจติ วทิ ยาจานวนหนึง่ ก็ใชด้ ว้ ย 3. วัฒนธรรมคือการรับรู้ นักมานุษยวิทยากลุ่มท่ีเรียกตนเองว่า “นัก มานุษยวิทยา สานักการรับรู้” (cognitivBanthropologists ยึดถอื ความหมายน้ี 4. วัฒนธรรมคือโครงสร้างพื้นฐานของจิตมนุษย์ น่ีเป็นความหมายที่เลวี สโตรส นัก มานษุ ยวิทยาผยู้ ง่ิ ใหญข่ องฝร่งั เศสใช้ 5. วัฒนธรรมคือความหมาย อันเป็นท่ีรู้กันท่ัวไป หรือเป็นสาธารณะและนัก มานษุ ยวิทยาอน่ื ๆ หลายคนใช้ความหมายน้ี เกียรช์ เขยี นไว้วา่ เขามคี วามเหน็ เหมอื นเวเบอร์ท่ีมีความคิดว่า มนุษย์เปน็ สัตวค์ ล้าย แมงมุม ที่ห้อยตัวอยู่ในสายใยของความหมายถือว่าวัฒนธรรมคือสายใยเหล่าน้ัน ดังน้ันการวิเคราะห์

52 วัฒนธรรมจึงไม่ใช่การวิเคราะห์หากฎเกณฑ์ต่าง ๆ โดยการทดลองแบบวิทยาศาสตร์กายภาพหากแต่ เป็นการเสาะหาความหมายและการตีความหมาย มีผู้ต้ังข้อสังเกตได้ว่า ความแตกต่างระหว่างเกียร์ ชาวเบอรม์ เี พียงว่า ในขณะท่คี วามหมายของวเบอร์ คือความหมายของพฤตกิ รมกร ของมนุษยโ์ ดยตรง ตอ่ ความหมายของ เกยี ร์ชคอื ความหมายของสัญลกั ษณ์ (symbol) ทม่ี นษุ ยส์ ร้างขึน้ ปัจจุบนั มติ ินี้ของแนวคดิ วัฒนธรรมยงั คงมีใช้อยู่ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในการศึกษาโลก ของกลุ่มผู้ต้อยโอกาสท่ีถูกกดขี่หรือถูกทาให้เป็นอ่ืน (marginalized) และพยายามที่จะเสาะหาชีวิตท่ี มคี วามหมายสาหรบั พวกเขา ออสเนอร์เองก็ยังไดใ้ ชแ้ นวคดิ นงานของเธอ เกยี รซ์ เขยี นไว้วา่ แนวคิดวัฒนธรรมท่ีข้าพเจ้ายึดถือ บ่งช้ีถึงรูปแบบของความหมาย(pattern of meanings)ทไี่ ด้รับสบื ตอ่ กันมาในรูปของสัญลักษณเ์ ป็นระบบของแนวคิดที่ไดร้ ับสบื ต่อกันมา(herired conceptions) และแสดงออกในรูปของสัญลักษณ์ซ่ึงผู้คนในการติดต่อส่ือสาร เก็บรักษาไว้ และ พัฒนาเพ่ือสรา้ งเสรมิ ความรู้เกี่ยวกับชีวิตและทัศนะที่มีต่อชีวติ การที่เราจะรู้จักและเข้าใจวัฒนธรรมได้ ก็ด้วยการตีความหมาย แปล หรือดึงเอา ความหมายที่ซ่อนอยู่ในสัญลักษณ์ท่ีคนได้สร้างออกมา เพ่ือท่ีจะใช้ใน การส่ือสารสร้างความรู้ความ เขา้ ใจ และทศั นคตทิ ีม่ ีตอ่ ชีวิต ออรต์ เนอร์ยงั เสริมวา่ \"แม้วา่ ความคิดเรือ่ ง ความหมายอาจตคี วามไปได้ หลายทาง จุดสนใจของเกียร์ มุ่งไปที่รูปแบบของอัตวิสัยหรือความรู้สึกส่วนตัวที่การสนทนาและการ กระทาทั้งสองอย่างและรวบรวมจดั ระเบยี บขึ้น สรปุ ได้ว่าอัตลกั ษณว์ ฒั นธรรมเปน็ สิ่งท่ีนักวชิ าการทางดา้ นมนุษยวทิ ยาไดน้ ามาใช้กับ ส่ิงที่เป็นตัวตนหรือลักษณะเฉพาะโดดเด่นจากท่ัว ๆ ไป และเป็นท่ีให้การยอมรับในกลุ่มประชากร ชมุ ชน และภาพรวม รวมไปถงึ การปฏิบตั ิสืบต่อจากกลุ่มประชากรในยุคดั้งเดิมจนมาถงึ รนุ่ ลุกหลายใน ปัจจุบันอย่างตอ่ เนอ่ื ง 2. แนวคดิ ประเพณีประดิษฐ์ (The Invention of Tradition) Hobsbawm, Eric. and Ranger, (1983 : 1-4) กล่าวในหนังสือท่ีชื่อว่า The Invention of Tradition โดย ฮอบสบ์ อว์ม (Hobsbawm) มองประเพณปี ระดิษฐว์ า่ เปน็ ปรากฏการณ์ ทางสังคมท่ี เกิดข้ึนอันเกี่ยวกับการจัดระเบียบสังคมท่ีถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของกฎระเบียบ และข้อปฏิบัติ (set of practices) เช่น ศาสนา ความเช่ือ พิธีกรรม เรื่องเล่า ตานาน คติชน ประวัติศาสตร์ และ สัญลักษณ์ต่าง ๆ หรือที่รวมเรียกว่า วัตถุดิบโบราณ (ancient material) โดยมี ความเดน่ ชัดในแง่ของ การพยายามอา้ งอิงอดีตของสังคมแลว้ นามาสร้างเป็น ประเพณปี ระดษิ ฐ์จนเกิด

53 การปฏิบัติซ้า(repetition) การปฏิบัติอย่างเป็นทางการ (formalization) และปฏิบัติอย่างมีพิธีการ (ritualization) ด้วย การอ้างอิงที่สืบทอดต่อกันมาต้ังแต่สมัยบรรพบุรุษจนเป็นที่ยอมรับโดยปริยาย (automatically implies) เพ่ือรับใช้สถานการณ์ทาง เศรษฐกิจ การเมือง สังคม ในช่วงเวลาท่ีกาลัง เผชิญหนา้ กับ การเปล่ียนแปลง ฮอบส์บอว์ม ได้ชี้ให้เห็นอีกว่า ประเพณีประดิษฐ์ ท่ีนอกจากจะเป็นปรากฏการณ์ ทางสังคมรูปแบบหนึ่งแล้วยังสามารถใช้เป็นอาวุธในการตอบโต้ผู้รกุ รานไดด้ ว้ ยเช่นกนั และนอกจากนี้ แล้วประเพณีประดษิ ฐ์ยงั สะทอ้ นให้เหน็ การเผชญิ หนา้ ของประเพณีเก่า (old tradition) กบั ประเพณี ใหม่ (new tradition) ซึ่ง ฮอบส์บอว์ม มองว่า ประเพณีประดิษฐ์ทางวัฒนธรรมเป็นปัจจัยหนึ่งท่ี ทาลาย วิถีแห่งประเพณีเก่าอันเนื่องมาจากประเพณีเก่านั้น ไร้ประสิทธิภาพหรือขาดคุณสมบัติที่จะ ปรับตัว เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางสังคม ณ เวลาน้ัน จนทาให้เกิดการสร้าง ประเพณี ประดิษฐ์ ข้ึนมา ดังน้ัน คาถามท่ีถูกถามตามมาคือ ในสังคมต่าง ๆ ประเพณีเก่าจะถูกกลืนกลายจาก ประเพณี ใหม่ด้วยกันท้ังหมดหรือไม่ คาตอบท่ี ฮอบส์บอว์ม เสนอคือ หากสังคมมีประเพณีเก่าท่ีจริง แท้ (genuine tradition) สงั คมน้นั ก็ไมจ่ าเป็นตอ้ ง ประดิษฐป์ ระเพณใี หมข่ น้ึ ทดแทน เอกรินทร์ พ่ึงประชา, (2545 : 16) ได้กล่าวถึงแนวคิดประเพณีประดิษฐ์ของฮอบส์ บอวม์ (Hobsbawm) ว่าประเพณปี ระดิษฐ์ เปน็ ปรากฏการณ์ทางสังคม รปู แบบหนงึ่ ทก่ี ่อตัวข้ึนจาก การหยิบยกวัตถุดิบโบราณ (ancient materials) ทางวัฒนธรรม อาทิ เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ พิธีกรรม งานเฉลิมฉลอง และข้อปฏิบัติต่าง ๆ ทางสังคมที่อ้างอิงอดีตที่ สัมพันธ์กับสังคมของตนเอง แล้วนามาตีความใหม่แล้วสร้างขึ้นเพ่ือรับใช้ในสังคมในขณะนั้น ขณะเดียวกันก็มีการแสวงหา ความหมายวัตถุดิบทางวัฒนธรรมใหม่หรือการอ้างอิงใหม่ นามาปฏิบัติให้ เป็นรูปแบบใหม่เพื่อ จุดมุ่งหมายร่วมบางอย่างในช่วงเวลาท่ีสังคมกาลังเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลง ทั้งในแง่เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ในขณะที่การอ้างอิงวัตถุดิบโบราณทางวัฒนธรรมและวัตถุดิบทางวัฒนธรรม ดงั กลา่ ว เปน็ สิง่ ที่ ฮอบส์บอว์ม กลับไม่ได้ค่อยให้ความสาคญั มากนักว่า มีจุดเริม่ ต้น เมื่อใด นอกจากนี้ ฮอบส์บอว์ม ยังมองว่า ประเพณีประดิษฐ์ เป็นสิ่งหน่ึงท่ีทาให้เข้าใจภาพ ประวัติศาสตร์สังคมได้ กระจ่างขึ้นเพราะ ประเพณีประดิษฐ์ เป็นส่วนหน่ึงของประวัติศาสตร์สังคมท่ี แสดงให้เห็นถึงการนา ประวตั ศิ าสตรม์ าใช้เปน็ เครอื่ งมือในการสรา้ งความชอบธรรม หรอื เปน็ ตัวสมาน ความสัมพนั ธ์ (action and cement of group) ให้กบั กลุ่มหรอื สงั คมตน ในขณะเดยี วกันก็หลายกรณที ส่ี รา้ งความขดั แย้งให้ เกิดขน้ึ ในความสมั พนั ธ์ดังกล่าว ดังนั้น ประเพณปี ระดิษฐ์ จึงเปน็ ภาพสะทอ้ นของสงั คมในช่วงเวลาน้ัน ไดด้ รี ะดับหนึง่

54 ธนวรรธน์ นิธิปภานันท์, (2558 : 34-35) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน คาว่า ประเพณี ประดิษฐ์เร่ิมปรากฏให้เห็นมากขึ้นในสังคมไทย โดยคาดังกล่าวได้ถูกนาไปใช้ในแง่มุมและความหมาย ที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากเป็นการให้ความหมายที่ ตรงตัวแล้วย่อมสื่อถึง การสร้าง การทา หรือ ก่อให้เกิด ประเพณีข้ึนแต่แท้จริงแล้ว ประเพณีประดิษฐ์ เป็นคาท่ีมีความหมายท่ีลึกซ้ึงและ สลบั ซับซ้อนมากกวา่ ความหมาย ประเพณปี ระดษิ ฐ์ ถือเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมอย่างหนึ่งทเี่ กิดขึ้น เด่นชัดใน ปลายศตวรรษท่ี 19 ในยุโรปและประเทศอาณานิคมของยุโรปเพ่ือตอบรับการจัดระเบียบ โลกใหม่ ฮอบส์บอว์ม ได้นาคาดังกล่าวมานิยามและให้ความหมายใหม่พร้อมท้ังเสนอว่าประเพณีเป็น ส่งิ ทถ่ี กู สร้างข้ึนไมไ่ ด้เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตกิ ารศกึ ษาประเพณีท่ีเกิดขนึ้ ใหมห่ รือประดษิ ฐ์ขน้ึ มาใหม่ จะเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการทาความเข้าใจสังคมโดยเฉพาะสังคมท่ีมีการโหยหาอดีต โดย ปรากฏการณ์ การโหยหาอดีตมักจะปรากฏเด่นชัดในสังคมท่ีเผชิญกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกจิ และ สงั คมครง้ั ใหญแ่ บบถอนรากถอนโคนหรือก้าวเขา้ สูย่ คุ หลังสมยั ใหม่ ทง้ั นี้ประเพณีประดิษฐ์ ยงั ไดน้ าไปส่กู ารสร้างความเข้าใจต่อสถานการณ์ทาง สังคมท่ี มีกระบวนการร้ือฟ้ืนทางวัฒนธรรมเข้ามาเก่ียวข้อง โดยมีการอ้างอิงความสัมพันธ์ในอดีต ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นการผลิตวฒั นธรรมข้ึนมาใหม่เพื่อรบั ใช้สถานการณ์ทางสังคม นอกจากน้นั ประเพณี ประดิษฐ์ยังได้นาไปสู่การแปรรูปทางวัฒนธรรมท้ังท่ีปรากฏในรูปแบบส่ือประเภทต่าง ๆ เช่น อนุสาวรีย์ การแสดงละคร เปน็ ต้น สรุปได้ว่าประเพณีประดิษฐ์เป็นปรากฏการณ์อย่างหน่ึงที่เกิดข้ึนในสังคมยุคปัจจบุ ัน โดยการประดิษฐ์สร้างประเพณีขึ้นมาใหม่ในยุคปัจจุบันโดยมีการอ้างอิงไปถึงประเพณียุค ประวัติศาสตร์โบราณ เพ่ือรับใช้สถานการณ์ในสังคมซ่ึงจากการศึกษาข้างต้นได้มีการอ้าอิง แนวความคิดของนักมานุษยวิทยาท่าหน่ึงท่ีชื่อ ฮอบส์บอว์ม ได้กล่าวถึงรูปแบบหน่ึงของประเพณี ประดษิ ฐ์ ที่ สงั คมทาการเลือกสรร วฒั นธรรม ประเพณี วตั ถุ หรือพิธกี รรมบางอย่างจากสงั คมอดีตมา ส่ือสารและนามาตีความใหม่เพื่อเป้าหมายในการสร้างความรู้สึกความเป็นเจ้าของร่วมกัน เพ่ือสร้าง ความชอบธรรมใน อานาจของชนชั้นปกครอง (รัฐบาล) และเพ่ือถา่ ยทอดอุดมการณ์ทางสงั คมร่วมกัน ตัวอย่างเช่น การสร้างอนุสาวรีย์ขนาดใหญ่ซ่ึงมีอีกฐานะหน่ึง คือเป็นส่ือวัตถุท่ีรัฐได้สอดแทรก ความหมายและ อดุ มการณ์บางอย่างร่วมกนั ในสังคม และขณะเดียวกันรฐั กย็ ังใช้กระบวน การสื่อสาร ผ่านอนุสรณ์เพื่อ เชื่อมโยงตานานต่าง ๆ ท่ีเล่าสืบทอดมาจากอดีต และทาให้เกิดความเห็นพ้องพร้อม กันว่าชาติ เป็นส่ิงท่ี เกิดมาอยา่ งยาวนานแลว้ ต้ังแตค่ รงั้ บรรพชน

55 5.2. ทฤษฎี 1. ทฤษฎีประวัติศาสตร์วัฒนธรรม วิศรุต พ่ึงสุนทร, (2557 : 46-50) กล่าวถึง ทฤษฎีและประวัติศาสตร์วัฒนธรรมชว่ ง คร่ึงแรกของศตวรรษที่ 20 ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20 เป็นช่วงเวลาท่ีเกิดความตื่นตัวอย่างสูงในการทา ความเข้าใจมนุษย์ใน สภาวะสังคมสมัยใหม่ ส่วนหนึ่งมีการเสนอแนวคิดวิพากษ์ทางด้านวัฒนธรรม ผ่านงานในสาขาต่าง ๆ เช่น สังคมวิทยา จิตวิทยารวมไปถึงทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ซ่ึงต่อมาส่งผลต่อการ สรา้ งชดุ ความคดิ ทเ่ี ก่ียวเนื่องกับ “ทฤษฎที างวฒั นธรรม ท้ังยงั สง่ ผลตอ่ การศึกษาด้านวรรณคดีวิจารณ์ ประวัติศาสตร์ศิลปะและ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม งานสาคัญหลายชิ้นอยู่นอกวงวิชาการด้าน ประวัติศาสตร์แต่ต่อมาส่งผลต่อ กรอบการวิเคราะห์ด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอย่างมาก นัก ประวัติศาสตร์อย่างเช่นฮุยซิงกาสนใจข้อ ถกเถียงทางด้านสังคมวิทยาและจิตวิทยาสังคมอยู่แล้วดังที่ ได้กลา่ วมา แมท้ ฤษฎีเหล่าน้ีไม่ได้มีผลต่อ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมในยคุ นั้นมากนกั แต่ในชว่ งครึ่งหลัง ของศตวรรษเห็นได้ถึงการท่ีประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมหันไปหาทฤษฎีมากขึ้น การทาความเข้าใจ ภาพรวมทางความคิดและทฤษฎีทางวฒั นธรรมจงึ เป็นเรอื่ งสาคญั ส่วนสาคัญของแนวคิดว่าด้วยวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์มาจากงานศึกษาทางด้าน สังคมวิทยา ต้องไม่ลืมว่าพัฒนาการของสังคมวิทยาตั้งแต่ครึ่งหลังศตวรรษท่ี 19 เป็นต้นมามีลักษณะ สาคัญอย่างหนึ่ง คือ มีจุดเร่ิมต้นในความสนใจต่อประวัติศาสตร์หรือเป็นสังคมวิทยาประวัติศาสตร์ ทฤษฎีทางสังคมวิทยา พัฒนามาจากการศึกษารูปแบบสังคมในช่วงเวลาต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ แต่ ไม่ใช่นักทฤษฎีทุกคนจะให้ความสาคัญกับมิติทางวัฒนธรรมหรือความคิดนัก ส่วนหนึ่งให้ความสาคัญ กับระบบเศรษฐกิจเพราะเชื่อ ว่าเป็นที่มาของทุกสิ่งดังน้ันความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจึงเป็น เพียงผลลัพธ์ จุดสาคญั ของ การศึกษาจงึ อยูท่ ่กี ิจกรรมหรือสถาบันทางเศรษฐกิจท่สี ่งผลต่อรปู แบบทาง สังคมดดังที่ปรากฏในข้อเขียน ของคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Man) นักสังคมวิทยาที่อยู่ขั้วตรงข้ามกับ มาร์กซ์อย่างเช่นเวบเบอร์จึงมี อิทธิพลต่อนักสังคมวิทยาประวัติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์สังคม ในช่วงคร่ึงแรกของศตวรรษ โดยเฉพาะผู้ที่สนใจมิติทางวัฒนธรรม เน่ืองจากเวบเบอร์ให้ความสาคัญ กับวัฒนธรรมและค่านิยมว่าเป็น ปัจจัยสาคัญท่ีกาหนดรูปแบบทางสังคม ใน Die protestantische Ethik und der Geist des Kapitalismus ( 1 9 0 4 The Protestant Ethic and the Spirit of Capitalism) ซึง่ สิ่งทเ่ี วบเบอร์ เรยี กวา่ “จรยิ ศาสตร์แบบโปรเตสแตนท\"์ นน้ั หมายรวมถงึ ประเพณีและ วัฒนธรรมในทางความคิดด้วย เวบเบอร์ วิเคราะห์รากฐานทางวัฒนธรรมของระบอบทุนนิยมในยุโรป

56 ตะวันออก กล่าวถึงความเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจด้วยการอธิบายถึงรากฐานทางวัฒนธรรมและ คา่ นิยมท่ีมีรว่ มกัน นักสังคมวิทยาท่ีให้ความสนใจต่อรปู แบบวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์อย่างจริงจังคือ นอร์เบิร์ต เอเลียส (Norbert Elias) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ซึ่งนอกจากเวบเบอร์แล้วยังได้รับ ทฤษฎีจิต วิเคราะห์ของซิกมัน ฟรอยด์ (Sigmund Freud) โดยเฉพาะจาก Civilization and its Discontent (1990) ท่ีกล่าวถึงการท่ีมนุษยต์ ้อง “กดเก็บ\" (repression) สัญชาตญาณท่ีติบเถื่อนและ กา้ วร้าว ว่าเป็นสว่ น สาคญั ในการท่ีมนุษย์เข้าสู่การมีอารยธรรม อกี ทัง้ วางอยู่บนข้อถกเถียงท่ีฮยุ ชิงกา เสนอไว้ ใน Uber den Proced der Chrisation (1939 The Civilizing Process) ซึ่งเป็นการศึกษา ทางสังคมวิทยา ประวัติศาสตร์ว่าด้วยมารยาทในอารยธรรม ซ่ึงโดยสาระสาคัญจัดได้ว่าเป็น ประวัติศาสตร์วฒั นธรรม เอเลียส พยายามอธิบายทฤษฎีการเข้าสู่ความมีอารยธรรม เห็นว่าเป็นกระบวนการ ระยะยาวที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนกรอบว่าด้วยบุคลิก มารยาทและการปฏิบัติตนขณะท่ีเวบเบอร์ศึกษา ปรากฏการณ์ “calling (Beur) ในทางโลกของสาขาอาชีพ ซึ่งมีรากฐาน มาจากคุณค่าและวัฒนธรรม แบบโปรเตสแตนท์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการศึกษากระบวนการเข้าสู่ ศิวิไลซ์” ของยุโรปผ่านการจัด ระเบียบในตัวตนผา่ นวินัยในการประกอบสัมมาอาชพี ส่วนเอเลียสของ กระบวนการสู่อารยะเป็นการ จัดระเบียบเช่นกันผ่านการข่มตน ควบคุมตัวเองและมารยาทในช่วงปลาย สมัยกลางมาถึงศตวรรษท่ี 19 โดยศึกษาผ่านหนังสือสอนการวางตนของข้าราชบริพารในราชสานักและหนังสือคู่มือมารยาททาง สังคม เอเลียสช้ีวา่ ในช่วงปลายสมัยกลางแต่ต้นสมัยเรอเนสซองส์มีการ เปล่ียนแปลงทางกระบวนทัศน์ ว่าด้วยการควบคุมตนเองอย่างชัดเจน โดยการเปล่ียนแปลงดังกล่าว เป็นผลมาจากการแตกตัวทาง สงั คม ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีและการเพ่ิมข้ึนของการแข่งขัน นามาซง่ึ การกอ่ รูปของระบบรัฐที่มี อานาจรวมศูนย์ และระบบเศรษฐกิจท่ีใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เอเลียสลดบทบาทของ ปัจจัยจากศาสนาและค่านิยมทางความคิด มาสนใจปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ อีกท้ังยังมองในมิติ ทางวัฒนธรรมท่ีซับซ้อนมากยิ่งข้ึนผ่านจิตวิทยาในระดับปัจเจก ซึ่งได้แก่กรอบว่าด้วย มารยาทและ การควบคมุ ทางอารมณ์ ซึง่ สว่ นหนง่ึ เป็นการอภิปรายต่อจากฮุยชิงกาซึ่งสนใจทผ่ี ลผลิตทาง วฒั นธรรม ช้ันสูงเช่นวรรณกรรมและศิลปะ เอเลียสสนใจท่ีพฤติกรรมพ้ืนฐานเช่น มารยาทว่าด้วยการกิน การ ขับถ่าย พฤตกิ รรมทางเพศและปฏิสัมพนั ธ์ทางสังคม ซึง่ เปลยี่ นไปเนื่องจากเสน้ แบ่งว่าส่ิงใดน่าอับอาย หรือนา่ รังเกียจเปล่ียนแปลงไป เอเลยี สใช้คาว่า “habitus” ซงึ่ เปน็ ด้านหนงึ่ ของวัฒนธรรมที่ฝังรากอยู่ ในวิถีปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีแสดงออกทางร่างกายในชีวิตประจาวนั เช่นความคุ้นเคยในการกระทาบางอยา่ ง

57 ทที่ าโดยไมไ่ ด้นึกรตู้ ัวดังที่กล่าวมาข้างต้นรวมถึงธรรมเนียม นสิ ยั และรปู แบบทางอารมณ์บางอยา่ งของ ปัจเจก กลุ่มคนหรือชนชาติ งานของเอเลียสเป็นอิทธิพลสาคัญต่อนักประวัติศาสตร์ฝร่ังเศสล่านักอา นาลส์ในรุ่นท่ีสาม ซ่ึงหันหลังให้การศึกษาประวัติศาสตร์สังคมเชิงปริมาณ หันไปศึกษาวัฒนธรรมและ ความรู้สึกนึกคิดภายใต้ histoire des mentalites เน่ืองจากงานของเอเลียสได้รับความสนใจข้ึนใหม่ ใน ทศวรรษท่ี 1970 หลังจากทอี่ ยชู่ ายขอบมานาน นอกจากสังคมวิทยาแล้วสาขาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมคือ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ซ่ึงในช่วงต้นศตวรรษที่ 20เป็นสาขาที่มีทางของตนเองเข้มแข็งแล้ว ประวัตศิ าสตร์ศลิ ปในวธา น้ันใหค้ วามสาคญั กับการดีความสัญลักษณห์ รือรอ่ งรอยในงานศิลปะโดยรับ อิทธิพลจากกรอบทฤษฎี จากจิตวิทยา ปรัชญาและมานุษยวิทยาในการวเิ คราะห์ความหมาย อีกทัง้ ยัง ลงลึกในเชิงรายละเอียด ให้ ความสาคัญกับทัศนะและคุณค่าท่ีซับซ้อน รวมถึงการสืบทอดแบบแผน ทางความคิดผ่านขนบในการสื่อ ความหมายในการสร้างงานศิลปะ การรับรู้และอารมณ์ความรู้สึกซึ่ง เป็นลกั ษณะสาคัญของประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะ ดงั เชน่ เอบี วอร์เบริ ์ก (Aby Warburg), แอร์นส์ กอมบรชิ (Emst Gombrich) และ เออร์วิน พา นอฟสกี (Erwin Panofsky) ทศวรรษที่ 1920 และ 1930 เป็น ยุครุ่งเรืองของสื่อสารมวลชนหรือ mass media ส่ือใหม่เช่นท้ังภาพยนตร์ ดนตรี ภาพถ่ายรวมถึง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์นติ ยสาร ภาพ รวมไปถึงลทั ธิบรโิ ภคนิยมที่ภาพลักษณ์ (image) มีบทบาทสาคัญ ดังที่ วอลเตอร์ เบนจามิน (Water Benjamin) ชี้ว่าเป็น “ยุคของส่ือผลิตซ้า” (age of mechanical reproduction) นักวิชาการใน สาขาต่าง ๆ จึงให้ความสนใจต่อมิติทางความหมาย และการรับรู้ผ่านผลผลิตทางวัฒนธรรมมาก อีกท้ังการ ค้นคว้าทางจิตวิทยาและความแพร่หลายของ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เป็นแรงส่งอย่างดีต่อการศึกษามิติของสัญญะ ภาพลักษณ์และความหมายใน ประวัติศาสตร์ นอกจากทฤษฎีจากสังคมวิทยายุคคลาสสิกสาขาสังคมวิทยาความรู้ (sociology of knowledge) ท่ีแพร่หลายจากยุโรปตอนกลางต้ังแต่ทศวรรษที่ 1920 ที่ยังส่งอิทธิพลในเชิงทฤษฎีต่อ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม โดยส่งอิทธิพลในวงกว้างจากการอพยพ ออกของนักวิชาการเพื่อหลบหนี จากการคุกคามของนาซี ความสนใจทางด้านสัญญะ จิตวิทยาและปรัชญาที่เก่ียวข้องกับการตีความ เป็นท่ีสนใจในทศวรรษท่ี 1920 และ 1930 โดยเฉพาะจากนักวิชาการ สาขาวรรณคดี ปรัชญา มานุษยวิทยาและประวัติศาสตร์ความคิด โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับสัญญะในแง่มุมทาง วัฒนธรรม อาทิเช่นงานของแอร์นส์ คานโตโรวิซ (Emst Kantorowic) นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมนั และ The Individual and the Cosmos in Renaissance Philosophy ประวัติศาสตร์ปรัชญาของ แอรน์ ส์ กาสทเ่ี รอร์ (Ernst Casurer)นักปรชั ญาชาวเยอรมนั ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วความสนใจต่อมติ ิทาง

58 วัฒนธรรมยังปรากฎในงานศกึ ษาประวตั ิศาสตร์อารย ธรรมสาคญั หลายขึ้น โดยใชค้ าว่า “Sivilization แทนทจี่ ะใช้คาวา่ ulture เนื่องจากเปน็ คนทสี่ นใจ นักประวัติศาสตร์อีกกลุ่มท่ีสนใจต่อมิติทางวัฒนธรรมคือกลุ่มนักประวัติศาสตร์ภูมิ ปัญญาและ ประวตั ศิ าสตรค์ วามคิด ซง่ึ ในทศวรรษที่ 1920 และ 1930 มีอยูใ่ นโลกวิชาการองั กฤษและ อเมริกาข้น กลุ่มประวัติศาสตร์ความคิดของอาเธอร์ เลิฟจอย (Arthur Lovejoy) ท่ีมหาวิทยาลัย จอหน์ ฮอปกินส์ภายใตว้ ารสาร ouma of the Historyof Ideas ซึง่ กอ่ ตงั้ ปี 1940 ซึ่งเป็นการรวมกัน ของนกั วิชาการด้าน ปรชั ญา วรรณคดีและประวัตศิ าสตร์ โดยรวมตัวอยา่ งหลวมในลกั ษณะการบูรณา การจากต่างสาขาซึ่งให้ ความสนใจต่อมิติทางวัฒนธรรม ส่วนในอังกฤษมีงานศึกษาประวัติศาสตร์ ความคิดและวัฒนธรรมท่ี ออกมาจากนักวิชาการด้านวรรณคดีอังกฤษและนักประวัติศาสตร์นอกวง วิชาการ เช่น บาซิล วิลลีย์ (Basil Wiley), อี. เอ็ม. ดับบลิว ทิลลาร์ด (EM.W. Tilard) และจีเอ็ม ยัง (G.M. Young) เห็นได้ว่า งานด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมในช่วงน้ีไม่ได้เกิดขึ้นจากอาจารย์ ประวัติศาสตร์ แตม่ กั มาจากสาขาอน่ื เชน่ วรรณคดีอังกฤษและปรชั ญา อีกทั้งวารสารวชิ าการที่ตีพิมพ์ งานศึกษาประเภทประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมไม่ใช่วารสารสาขาประวัติศาสตร์ขนานแท้ แต่มาจาก วารสารที่มีลักษณะสหวิชาการและ ประวัติศาสตร์อารยธรรม โดยงานจากนักวิชาการนอกสาขาวิชา ประวัติศาสตร์เป็นแนวโน้มท่ีมีต่อเน่ือง ไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นคุณูปการท่ีสาคัญต่อ การศึกษาประวัตศิ าสตร์วัฒนธรรม ทาใหม้ ีงาน สาคัญตงั้ แต่ The Art of Memory (1966) โดยฟราน เชส เยทส์ (Frances Yates) ไปจนถึง the tong Revolution (1961) 10-31suwangi Satua (Raymond Williams) ka : Orientalism (1978) Imuan Said) ท่ีอาจจัดได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ไม่รวมถงึ งานของนัก ประวัติศาสตร์นอกวงวิชาการอีกจานวนมาก 2. ทฤษฎีโครงสรา้ งหน้าที่ Malinowski (สมศักด์ิ ศรีสนั ตสิ ุข, 2544 : 113 ; อ้างองิ มาจาก Malinowski. 1995 : 194) ได้เสนอความคิดในทฤษฎีหน้าที่โดยมีความเห็นร่วมกันว่าสังคมต้องมีโครงสร้างที่ดีเพื่อการ ปฏิบัติงานอย่างมีเอกภาพ องค์ประกอบในโครงสร้างต้องเอ้ืออานวยระหว่างกันตามวิถีที่ควรจะเป็น เพื่อรกั ษาดุลยภาพของระบบสว่ นรวม ดงั นั้นขนบธรรมเนียมประเพณี และสถาบนั ตา่ ง ๆ ควรมีหน้าท่ี สนับสนุนระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง ประการท่ีสาคัญคือ ระบบสังคมและวัฒนธรรม ควรมีหน้าท่ีเป็น ส่ือกลางให้สมาชิกในสังคมสามารถปรับตัว จนเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ ควรทาหน้าที่เป็นสื่อกลางให้ สมาชิกในสังคมให้เข้ามาร่วมกันทางาน ทากิจกรรมทางสังคมอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ตามนัก

59 ทฤษฎีหน้าที่นิยมก็ยอมรับว่ายังมีความไม่สมดุลและความขัดแย้งภายในสังคมอยู่บ้าง อาจสรุปได้ว่า ทฤษฎีหน้าท่ีนิยมมีความเชื่อว่าสังคมมีแนวโน้มจะรักษาเสถียรภาพและพยายามสร้างความผูกพัน ภายในสังคมให้ไดม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ (Malinowski. B., 1995 : 110) ได้นาเสนอแนวคิดหลักของทฤษฎีหน้าท่ีวัฒนธรรม สนองความตอ้ งการความจาเปน็ ของปจั เจกบุคคล วัฒนธรรมเติบโตมาจากความต้องการการจาเปน็ 3 ประเภทของมนุษย์ คือ 1. ความจาเป็นต้องการพื้นฐาน (Basic Biological and Psychological Needs) เป็นความต้องการเบื้องตน้ ของมนุษย์ ได้แก่ ความจาเปน็ ทเ่ี กยี่ วข้องกับการด้ินรนเพ่ือให้มชี วี ิตอยู่ เช่น ต้องการอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค การพักผ่อน การเจริญเติบโตการสืบพันธ์ุ เป็น ตน้ 2. ความจาเป็นต้องการด้านสังคม (Instrumental Needs) จะเก่ียวกับการร่วมมือ กนั ทางสงั คมเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานและทาใหร้ ่างกายได้รับการตอบสนองความต้องการจาเป็นเบ้ืองต้น ได้ เช่น การแบ่งงานกันทา การแจกจ่ายอาหาร การป้องกันภัย การผลิตสินค้า การบริการ และการ ควบคมุ ทางสังคม 3. ความต้องการทางด้านจิตใจ (Symbolic Needs) คอื ความต้องการจาเป็นของ มนุษย์เพื่อความมั่นคงทางด้านจิตใจ เช่น ความต้องการสงบทางใจ ความกลมกลืนกันทางสังคมและ เป้าหมายชีวิต ระบบสังคมท่ีสนองความต้องการเหล่านี้ ได้แก่ ความรู้ กฎหมาย ศาสนา นิยาย ปรัมปรา ศิลปะ และเวทมนต์คาถา โดยทั่วไปเวทมนต์คาถาทาหน้าท่ีท่ีทาให้คนรู้สึกอบอุ่นใจเพราะ งานบางอย่างท่ีมนุษย์ทาค่อนข้างยากลาบากและมนุษย์ไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะเกิดผลอย่างไร บ้าง ทาให้เกิดความไม่ม่ันใจ จึงต้องพึ่งเวทมนต์คาถาช่วย เพ่ือทาให้เกิดความมั่นใจมากข้ึนส่วนนิยาย ปรัมปรามักใหอ้ านาจชนชั้นปกครองและใหค้ ่านยิ มทางสงั คม ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าท่ีวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นโครงสร้างทางจิตของ มนษุ ย์ วิธกี ารศกึ ษาเปรยี บเทียบองค์ประกอบวฒั นธรรมของทุกชนชาติ แสดงให้เห็นขบวนการทางจิต ของมนุษยชาติในโลกซ่ึงเป็นขบวนการทางจิตที่เป็นแบบเดียวกัน สะท้อนให้เห็นโครงสร้างความคิด ร่วมกันของมนุษยชาติ ท่ีสาคัญกล่าวถึงทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่เป็นลักษณะธรรมชาติของทฤษฎี โครงสร้างและหน้าท่ี 3. ทฤษฎกี ารเคลอ่ื นไหวร่างกาย

60 สุรพล วิรุฬห์รักษ์, (2547 : 215) อธิบายว่า ทฤษฎีแห่งการเคลื่อนไหว (Kenetology) นอกจากประเดน็ หัวข้อการกาหนดรปู แบบนาฏยศิลป์แล้วผวู้ ิจยั ไดใ้ ชห้ ลกั การวิเคราะห์ นาฏยลักษณ์กระบวนท่าฟ้อนนีโอล้านนาจากทฤษฎีแห่งการเคล่ือนไหว( Kenetology) ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.สรุ พล วิรฬุ ห์รักษ์ ได้กล่าวไว้ ดงั นีค้ อื หลกั การทม่ี นุษย์ใชร้ ่างกายเคลื่อนไหวให้เกิด อิริยาบถต่าง ๆ และขณะที่เกิดการเคล่ือนไหวน้ันมีองค์ประกอบสาคัญอะไรบ้าง และการเคล่ือนไหว เหล่านั้น สื่อความหมายในเชิงความรู้สึก หรืออารมณ์อย่างไรได้บ้าง หัวข้อสาคัญของทฤษฎีแห่งการ เคล่ือนไหวที่ใชเ้ ปน็ พื้นฐานในนาฏยประดิษฐ์ คอื 1) การใชพ้ ลงั (Energy) มนษุ ยต์ อ้ งใช้พลงั ในการเคลื่อนไหวรา่ งกายตา้ นกบั แรงโน้ม ถ่วงของโลก การใช้พลังเพื่อการแสดงนาฏยศิลป์ มี 3 ประเภท คือ ก. ความแรงของพลัง ข. การเน้น พลงั ค. ลกั ษณะของการใช้พลัง ก. ความแรงของพลงั ในขณะผู้แสดงเคลอ่ื นไหว มีการใชพ้ ลังเกดิ ขึน้ ปรมิ าณของ พลังเกิดข้ึนปริมาณของพลังที่ใช้ตั้งแต่น้อยจนแทบสัมผัสมิได้จนไปถึงรุนแรงประหนึ่งเป็นร่างกายจะ ระเบิด การฟ้อนราด้วยพลังแรงมาก ๆ ย่อมทาให้เห็นอาการท่ีกระปรี้กระเปร่าแข็งแรง รุกร้น ในทาง ตรงกันข้าม การเคลื่อนไหวด้วยพลังน้อยย่อมเป็นตัวเปรียบต่างให้การเคลื่อนไหวด้วยพลังมากมี ความหมายมากขึ้น ชัดเจนขึ้น และการเคลื่อนไหวด้วยพลังน้อยให้ความรู้สึกท่ีนุ่มนวล อ่อนโยน เช่ืองช้า เป็นความรู้สึกลึกๆที่แฝงเร้นอยู่ภายในอย่างไรก็ตามมีข้อเตือนใจว่า การเคลื่อนไหวท่ีใช้พลัง มากไมจ่ าเปน็ ต้องใชเ้ นือ้ ทม่ี ากไปกวา่ การเคลื่อนไหวท่ใี ช้พลงั น้อยแต่อยา่ งใด ข. การเน้นพลัง หมายถึง การเร่งหรอื การลดความแรงของการใช้พลังเพื่อการ เคล่ือนไหวในขณะใดขณะหน่ึงอย่างกระทันหัน ซึ่งเป็นการกระทาอย่างใดอย่างหน่ึงต่างไปจากสิ่งที่ กาลังกระทาอยขู่ ณะนั้น การเน้นพลงั เปน็ ศิลปะในการเรยี กร้องความสนใจจากคนดู การเนน้ พลงั เป็น วิธีการจาแนกให้เห็นรูปลักษณะของการฟ้อนราอย่างชัดเจนโดยเฉพาะในเรื่องของจังหวะ การที่ผู้ แสดงเน้นด้วยจงั หวะท่สี ม่าเสมอ ทาให้เกิดความรูส้ กึ สมดลุ คงท่ี และหนกั แนน่ การเนน้ ทไี่ ม่สมา่ เสมอ ด้วยพลังท่ีมีความแรงแตกต่างกันทาให้เกิดความรู้สึกท่ีไม่คงท่ี ต่ืนเต้น สับสน การเน้นพลังของ นาฏยศิลป์ไทย อาจหมายถงึ การกระทบจงั หวะ การเดาะแขน การข่มเขา่ และการยา่ เทา้ ค. ลักษณะของการใช้พลงั หมายถึง ลกั ษณะของการใช้พลงั ในการเคลื่อนไหว ซง่ึ แบง่ ออกได้เปน็ 5 ประเภท คือ

61 1) การแกวง่ ไกว คือ การทผี่ ูแ้ สดงใช้พลงั แกว่งลาตัว แขนขาไปมาคลา้ ยการ แกว่งชิงช้า 2) การระเบดิ คือ การท่ผี ู้แสดงระเบิดพลงั ออกมาอย่า งกระทันหันเหน็ จดุ เร่ิมตน้ และจุดจบชัดเจนคล้ายการตกี ลอง 3) การสืบเน่ือง คือ การทผ่ี ้แู สดงเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องโดยไมป่ รากฏ จดุ เริ่มตน้ และจุบจบทช่ี ัดเจน โดยไม่มีการเนน้ พลงั เปน็ การเคลื่อนไหวทรี่ าบเรียบ 4) การสัน่ พรวิ้ คือ การเคลอ่ื นไหวอย่างต่อเน่ืองของการระเบิด เมอื่ การ เคล่ือนไหวแบบระเบิดเกดิ ข้ึนซ้าอย่างรวดเร็วกเ็ กิดเป็นการสัน่ พร้ิวเหมอื นการรวั กลองนัน่ เอง 5) การลอยตวั เกดิ ขึน้ เมอ่ื ผ้แู สดงกระโดดลอยตัวข้นึ ไปในอากาศโดยอาศัย พลัง ส่งตวั ใหล้ อยไปในอากาศ และมแี รงโนม้ ถ่วงดึงดูดตวั ผ้แู สดงให้ตกลงมายังพ้ืน การใช้พลงั ท้ัง 5 ประเภทน้ีมิได้แยกออกจากกนั อย่างเด็ดขาดเพยี งแตผ่ ูแ้ สดงและนัก นาฏยประดิษฐป์ ระสงค์จะใช้พลังแบบใด เม่ือใด หรอื ผสมผสานกันตอ่ เน่ืองเป็น รูปแบบของนาฏยศิลป์ขึ้นมาได้ จารุณี หงส์จารุ, (2553 : 137-140) อธิบายองค์ความในเรื่องของ การเคล่อื นไหวใน ละคร ในหนังสือปริทัศน์ศิลปะการละครว่า การเคล่ือนไหวสามารถดึงดูดสายตาผู้ชม การเคลื่อนไหว อย่างไร้จุดหมายของนักแสดง บนเวที ทาให้ผู้ชมหลุดจากการติดตามเรื่องราวในละครได้ สังเกตได้ จากการเล่าเร่ืองให้เพื่อนฟัง โดยใช้ท่าทางประกอบมากมายเกินไป จะทาให้เพื่อนที่ฟังอยู่ไม่สนใจใน ส่ิงที่เล่านั้นเท่าใดนัก นักแสดงที่มีพรสวรรค์หรือมีความสามารถ จะมีความน่ิง ความน่ิงมิได้หมายถึง ความ เซื่องซึม แต่เป็นความสามารถในการควบคุมจิตใจ อารมณ์และอาจพูดไปไกลถึงวิญญาณจิตได้ เช่นกนั ถ้ามคี วามน่งิ มากเกินไปอาจน่าเบ่ือได้ ดังนน้ั การเคลื่อนไหวในจานวนท่พี อเหมาะพอดี จงึ เปน็ ส่ิงท่ีสาคัญ แม้ในตัวละครท่ีเต็มไปด้วยความกระวนกระวายก็ตาม การเคลื่อนไหวไม่ จาเป็นต้องมีอยู่ ตอ่ เนือ่ งตลอดเวลา เพอ่ื จะให้เหน็ ถงึ ความกระวนกระวายใจนัน้ ในขณะพดู บทสาคญั นักแสดงจะหยุด นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว เพื่อดึงความสนใจให้ทุก คนได้ยิน ถ้านักแสดงจะต้องเดินข้ามจากฟากหนึ่ง ของเวทีไปยังอีกฟากหนึง่ บททพ่ี ดู ในขณะท่ี เดนิ อยูน่ น้ั มกั ไม่ได้มีความสาคญั มาก

62 นอกจากน้ี ยังมีเรื่องของการน่ัง การยืน การเดิน การมอง การหมุนตัว เหล่านี้ล้วน แต่ เป็นการเคลื่อนไหวบนเวทีทั้งสิ้น นกั แสดงอาชีพมักต้องมีส่ิงน้ตี ิดตัวและแสดงอยา่ งเปน็ ธรรมชาติ โดยไมต่ ้องระวงั ตัวหรือไมท่ ราบวา่ จะวางมอื วางเทา้ ไวท้ ี่ใด แม้ว่าการกาหนดตาแหน่งของนักแสดงบนเวที (Blocking) มาจากผู้กากับการแสดง แต่ นักแสดงจาเป็นต้องใส่รายละเอียดเอง เช่น การเดิน การยืน ท่าทางของนักแสดง นักแสดง จาเป็นต้องมั่นใจในทิศทางที่ตนเองจะเคลื่อนที่ไป การเคลื่อนไหวตามลักษณะพิเศษของตัวละคร (Characteristic Movement) มาจากตวั ละคร และนกั แสดงต้องไม่คิดว่าการเคล่ือนไหวเป็นสิ่งที่เพ่ิม ขึ้นมาหรอื ต้องวางท่าทางท่ีไม่เก่ียวข้องกบั ตัวละครสิ่งสาคัญคือนักแสดงต้องหดั สังเกตการเคลื่อนไหว ของผู้อื่น มนุษย์มีการเคลื่อนไหวที่เป็นแบบรูป (Pattern) ซึ่งมาจากจิตใจ ดังนั้น การเคล่ือนไหวของ แตล่ ะบุคคลจึงแตกตา่ งกนั 1.ลักษณะการเคลื่อนไหวบนเวที มี 3 ลกั ษณะ คอื 1.1ลักษณะการเคล่อื นไหวบนเวที มี 3 ลักษณะ คือ 1.1.1 จากท่หี นึ่งสู่อีกทีห่ น่ึง เปน็ การเคล่อื นไหวร่างกายจากจุดหน่ึงบนเวทไี ปยงั อกี จดุ หนง่ึ 1.2ท่าทางเปน็ การเคล่ือนไหวร่างกายทีเ่ ปน็ อากปั กริ ยิ า หรือท่าทาง เชน่ ไหว้ โบกมอื ลา ยิ้ม เป็นต้น 1.3กิจกรรมบนเวทีเป็นการเคล่ือนไหวท่ีมีกิจกรรมเป็นแกนหลัก เช่น ซักผ้า ทาอาหาร เปน็ ต้น 2.รปู แบบการเคลอื่ นไหว การเคล่ือนไหวบนเวทีที่มีลีลาหลากหลายในลักษณะท่ีเป็นไปตามลักษณะนิสัยตัว ละคร (characterized) ยุคสมัย (period) และตามสไตล์ (stylised) นอกจากนี้ยังมีการเคลื่อนไหว แบบกลมุ่ คน (crowd) 2.1การเคลือ่ นไหวแบบลักษณะนิสยั ตัวละคร (characterized movement) การเคลอื่ นไหวแบบลักษณะนสิ ัยตวั ละคร ข้นึ อยกู่ ับลักษณะนสิ ยั ของตวั ละคร น้ัน ๆ ตัวละครบางตัวอาจเป็นคนพิการ หรือมีนิสัยบางอย่างที่ทาให้ต้องเคล่ือนไหวไม่เป็นปกติ หรือเป็น ลักษณะเฉพาะตัวบุคคล เช่น คนข้ีระแวง จะเหลียวหน้าเหลียวหลังโดยไม่รู้ตัว ตัว ละครบางตัวชอบ กัดเล็บ หรือตัวละครบางตัวอาจเป็นคนพิการ ตัวอย่างในเรื่องอามาห์ลกับ อาคันตุกะยามวิกาล แปล จากเรื่อง Amahl and the Night Visitors ซึ่งอามาห์ลเป็นเด็กชายขา พิการข้างหน่ึง ดังนั้น การ เคลอ่ื นไหวของตัวละครตวั น้ี ต้องถอื ไมเ้ ท้า

63 2.2 การเคล่อื นไหวแบบยุคสมยั (period movement) การเคลื่อนไหวแบบยุคสมัย มีลีลาการเคลื่อนไหวท่ีสัมพันธ์กับเครื่องแต่งกายท่ี แตกต่างไปจากเครื่องแต่งกายในสมัยปัจจุบนั ซ่ึงต้องคานึงถึงส่ิงที่ห่อหุ้มร่างกายสิง่ ท่ีอยู่บนศีรษะและ สิ่งท่ีสวมที่เท้า ส่ิงเหล่านี้มีส่วนทาให้การเคลื่อนไหวการเคล่ือนไหวเปล่ียนไป ไม่ว่าการเดิน การโค้ง การจับสิ่งของต่าง ๆ ล้วนมีลักษณะที่แตกต่างไปจากการแต่ง เคลื่อนไหวแบบยุคสมัยในสมัยบาโรค ตัวละครหญงิ ใสช่ ดุ กระโปรงสมแตกตา่ งไปจากการแต่งตัวในสมยั ปัจจบุ นั 2.3การเคลือ่ นไหวแบบสไตล์ (stylised movement) การเคลือ่ นไหวแบบสไตล์ ข้ึนอยู่กบั รปู แบบที่ผู้ผลิตหรือผู้กากับการแสดงต้องการซึ่ง หมายถึงการจัดจังหวะที่ชัดเจนของการเคลื่อนไหว โดยมากจะมีดนตรีเข้ามา เกี่ยวข้องและมักมี จังหวะความเร็วที่แตกต่างจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจาวันตัวอย่างเช่น การเคลื่อนไหวแบบ สมจริง (realistic) มีหญิงชรา 2 คน น่ังท่ีเก้าอ้ี โดยน่ังหันหน้าเข้าหากันและ พูดคุยกัน ในการ เคล่ือนไหวแบบสไตล์นั้น อาจทาได้โดยให้หญิงท้ัง 2 คนนั่งหันหลังเข้าหากัน กลางเวที ทั้งสองอาจ กาลังถักผ้าอยู่ คนหนึ่งพูดอีกคนก้มลงถักผ้า โดยในขณะพูดให้หันหน้าไป ทางผู้ชม เม่ือพูดจบอีกคน พูดต่อทาเช่นเดียวกัน ทาสลับกันไป การเคลื่อนไหวแบบสไตล์นี้ ผู้ แสดงสามารถหันหลังให้ผู้ชม ได้มากและบอ่ ยกว่าการเคลื่อนไหวแบบสมจริง การเคลื่อนไหวแบบตามยุคสมัยและแบบสไตล์ สามารถนามาผสมกันได้ เช่น ละคร เชคสเปียร์ ที่มีการเคล่ือนไหวแบบยุคสมัย โดยนักแสดง 1 คน จากนั้นมีการเคลือ่ นไหวซ้า เลียนแบบ กนั ไป หรอื เคลอ่ื นไหวใหญ่ขนึ้ เกินจริง นับไดว้ า่ เป็นสไตลเ์ ช่นกัน 2.4การเคลอ่ื นไหวแบบกล่มุ คน (crowd movement) กลุ่มคน หมายถึง บุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปท่ีมีความสัมพันธ์ทางสังคม ด้วย การ กระทาตอ่ กันคอื มปี ฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบกนั และเข้าใจกัน ด้วยจานวนของคนบนเวที กลุ่มคนจึงมีน้าหนักของภาพบนเวทีและมีพลัง มาก การ เคลื่อนไหวของกลุ่มคน จึงสามารถดึงความสนใจจากผู้ชมได้สูง หรือในอีกมุมหน่ึงคือ ผลต่อภาพบน เวทีเป็นอย่างย่ิง อาจทาให้ผู้ชมเกิดความราคาญได้เช่นกัน การจัดวางตาแหน่งและการเคลื่อนตัวของ กลุ่มคนจงึ มผี ลตอ่ ภาพบนเวทีอย่างย่งิ การเคล่ือนไหวของกลมุ่ คนบนเวที ตอ้ งมีการออกแบบอยา่ งระมัดระวงั ตอ้ ง คานึงถึง จานวนของคนในกลุ่ม ขนาดของเวที และประเภทของบทละคร การแปรแถว โดยการจัด วางตาแหนง่

64 บนพื้นท่ีน้ัน สามารถจัดตาแหน่งในลักษณะต่าง ๆ ท้ังแบบวงกลม สี่เหล่ียม สามเหล่ียม คร่ึงวงกลม เส้นทแยงมมุ ฟนั ปลา เสน้ ตรงแนวนอน แนวตง้ั หรอื แมแ้ ตร่ ูปดาว หรืออืน่ ๆ 3.การฝึกการเคลอ่ื นไหวในละคร การฝึกการเคลื่อนไหวส่วนมากมุ่งเน้นในเรื่องผ่อนคลายการเกรงและ ร่างกาย สามารถเปิดตัว กล้าแสดงออก และมีปฏิกิริยาโต้ตอบได้ดีขึ้นในเรื่องผอ่ นคลายการเกร็งและตึงเครียด เพ่ือให้ การฝึกการเคล่ือนไหวในปัจจุบัน จะไม่กาหนดให้นักแสดงใช้การเคลื่อน ตายตัว ซ่ึงผิดกับการ ฝึกการเคล่ือนไหวในสมัยก่อนมักกาหนดให้นักแสดงต้องเคลื่อนท่ี นักแสดงนา แต่การฝึกการ เคลื่อนไหวในปัจจุบันเปิดโอกาสให้นักแสดงได้ทดลอง ค้นหา ความ เป็นไปได้ของการเคล่ือนไหวอัน หลากหลายของมนุษย์ เพ่ือสามารถถ่ายทอดบทบาทและความ ต้องการของตัวละครนั้น ๆ ได้อย่าง ชดั เจน ปจั จุบัน การฝึกการเคลอื่ นไหวโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาไดเ้ กดิ กระบวนการ เปลย่ี นแปลงข้ึนเปน็ 2 สาย ไดแ้ ก่ 3.1 อิทธิพลทางด้านจิตวิทยาที่มีผลต่อความรู้สึกนึกคิดต่อของนักแสดง และ ความรสู้ กึ นกึ คดิ น้ีสง่ ผลตอ่ การเคลือ่ นไหวของรา่ งกาย 3.2 วิธีการเคลื่อนไหวท่ีมาจากความหลากหลายของกลุ่มคนในชั้นเรียนหรือโรง ละครท่ี ครูผู้สอนการเคล่ือนไหวในละครได้ใช้ในการสอนอย่างผสมกลมกลืนท้ังเทคนิคของศิลปะ ป้องกัน ตัว กายกรรม โยคะ ศิลปะการต่อสู้ และการใช้หน้ากาก ไปจนถึงเทคนิคของเฟลเดนเลอไรซ์ (Feldenlerais) และเทคนิคของอเล็กซานเดอร์ (Alexander Technique) การเคล่ือนไหวพัฒนามาจากความรู้สึกที่อยากเคล่ือนไหวท่ีแสดงออกซึ่งอารมณ์ได้ อย่างชดั เจนโดยก่อนหน้านน้ั ยงั ถกู ซอ่ นอยูแ่ ละไม่สามารถแสดงออกมาได้ ร่างกายเป็นอุปกรณ์สาคัญของนักแสดง นักแสดงต้องสามารถควบคุมและสามารถ ใชอ้ ปุ กรณไ์ ดอ้ ย่างดเี ยยี่ ม โดยการฝึกฝน การเคลอื่ นไหวเริ่มด้วยความตอ้ งการจากภายในของตวั ละคร น้ัน เมื่อความต้องการเป็นที่เข้าใจอย่างแทจ้ รงิ แล้ว มกั จะตามมาดว้ ยการสรา้ งสรรค์ดว้ ยความจริงของ การเคล่อื นไหว นักแสดงต้องสามารถนาเอาทัศนคติและความต้องการของตัวละครนั้น ๆ มา แสดงออกผา่ นการเคลือ่ นไหว

65 สมพร ฟูราจ, (2554 : ไม่มีเลขหน้า) ได้อธิบายเก่ียวกับการเคล่ือนไหวตามหลัก ธรรมชาติว่าการใช้ท่าทางและการเคลื่อนไหว ไม่ได้เป็นเพียงพฤติกรรมหรือการแสดงออก ที่ มีการ สร้างข้ึนอย่างต้ังใจ หรือใช้เฉพาะสาหรับในการแสดงเท่านั้น มนุษย์แต่ละคนมีความ เคล่ือนไหวตาม แบบฉบับของตนเอง ตามความถนัด บางคนทชี่ อบเลน่ กีฬา บางคนท่ีชอบ เต้นรา ก็จะมีความยืดหยุ่น มีความกลมกลืน และความคล่องตัวสูง ทาให้น่าดู น่ามอง คนที่มีนิสัยรักสวยรักงาม ช่างเลือก ช่าง สังเกต ก็จะมีท่วงทีของการมอง การเคลื่อนไหว ที่ชัดเจน มีจังหวะท่ีทอดเนิบหรือฉับไวประกอบการ หยุดนงิ่ บางคนท่ใี จรอ้ น ขโ้ี มโห ข้ีระแวง การเคลอื่ นไหวก็จะดูเกะกะ กระตกุ หลุกหลิก ไมค่ ่อยน่ามอง สรา้ งความราคาญ ตอ่ บุคคลใกล้เคียง บางคนใจเย็น มองโลกในแงด่ ี จนดูอดึ อาด ยืดยาด นา่ เบอื่ บาง คนรู้จ้ีข้ี เหนยี ว เกบ็ ตวั ไม่สงุ สงิ กับใคร มที ่าทางระแวง ระวัง ปดิ ๆ บังๆ อยูต่ ลอดเวลา ถ้าเราสามารถอ่านภาษาของร่างกายได้อย่างทะลปุ รุโปร่ง เรากจ็ ะเข้าใจความ หมาย ความรสู้ ึก ความตอ้ งการของตวั บคุ คล เขา้ ใจลักษณะนิสัย (characteristic) ของ คนๆน้นั โดยทบ่ี ุคคล นั้นยังไม่ได้พูดอะไรเสียด้วยซ้าไป เพราะภาษาของร่างกาย เป็น ภาษาแรกของการสื่อสาร ท่ีเป็น ธรรมชาตทิ ส่ี ดุ ยิ่งสังเกตดู เราก็จะย่ิงเห็นว่า การเคลื่อนไหวทุก ๆ อย่างท่ีดูเป็นธรรมชาติเหล่านี้มี แบบแผน และมีเหตุผล ไม่เฉพาะแต่ในการเคลื่อนไหวท่ีสวยงามและกลมกลืนเท่าน้ัน แม้แต่ในการ เคลื่อนไหวที่รุนแรง รวดเร็ว แข็งกระด้าง ก็มีแบบแผนอย่างชัดเจนเช่นกัน จนเราสามารถมองออกได้ ว่า การเคล่ือนไหวของคนแต่ละประเภทนั้นมีจุดกาเนิดมาจาก ตรงไหน และใช้อวัยวะส่วนใดของ ร่างกาย ในการถา่ ยทอดออกมาภายนอก ขั้นแรกลองสารวจลักษณะนิสัยของตนเองว่าเป็นคนประเภทไหน เราอาจลองเริ่ม จากการสังเกตพฤติกรรมง่ายๆก่อน เช่น สังเกตตัวเองเวลาขึ้นรถเมล์ หรืออยู่บนเรือ ไม่ว่ารถจะแล่น อย่างไรเรือจะโคลงเคลงแค่ไหน เราจะไม่ปล่อยตัวไปตามนั้น เราจะ ประคองลาตัวไม่ให้ล้มหรือไป กระแทกกบั อะไร แตเ่ ม่ือมีเหตุหยุดกะทันหันมือหรือเทา้ ของเราจะออกมาทาหนา้ ที่ป้องกัน ก่อนท่ีเรา จะคดิ ดว้ ยซา้ ไป เราไม่เคยถามตวั เองว่า ทาไม เพราะมนั เป็น “พฤติกรรมทางธรรมชาติ” ขั้นต่อไป ลองสังเกตตัวเองเมื่อเวลาอยู่ในลิฟต์ที่มีคนแน่นๆ เราก็ยังสามารถสร้าง พ้ืนท่ีส่วนตัวแม้จะจากัดก็จริง เพ่ือไม่ให้ใครเข้ามาใกล้ชิดเกินไป และถ้าเราต้องถูกเบียด อยู่ระหว่าง คนอ้วนกับคนที่ใส่น้าหอม เราอาจจะมองสบตาคนอ้วนด้วยความเห็นใจท่ีเขาพยายามทาตัวรีบสุดขีด มากกว่าจะสบตาคนที่ใสน่ ้าหอมฉุนถูก เราไม่เคยสังเกตว่า ทาไม จึงเป็นเช่นนั้นเหตุผลก็คงเพราะ มัน เป็น พฤตกิ รรมทางอารมณแ์ ละสงั คม ท่ีเกิดขึ้น โดยไม่รตู้ วั

66 ลองสังเกตต่อไปอีกว่า ถ้าเราว่ิงหนีใครสักคนหนึ่ง หรือพยายามเล่ียงคนท่ีไม่ อยาก พบ นอกจากจะทาให้เหน่ือย เพราะต้องคอยระวังตัวแล้วบ่อยคร้ังก็หนีไม่พ้นเมื่อต้องเผชิญหน้ากัน สถานการณ์การเผชิญหน้ากลับทาให้เราตกอยู่ในฐานะเป็นเบี้ยล่าง เกิดความอึดอัดราคาญแต่ถ้าเรา เกดิ ยึดสู้ไมย่ อมอีกต่อไป หาวธิ ปี รบั กลยุทธใ์ หม่ ทาเปน็ เฉย ๆ ไม่หนี ไมส่ นใจ หรอื ทาเปน็ ไม่เห็นปล่อย ให้อีกฝ่ายหน่ึงเป็นคนเข้ามาหาเรา เมื่อเราไม่ แสดงอาการใด ๆ แต่น่ิงเฉย เขาก็จะเสียเปรียบทันที ทาไมจงึ เป็นเช่นนน้ั เพราะมันเป็น พฤติกรรมทางจิตวทิ ยา นนั่ เอง เราชนะเพราะเราไมห่ นี พฤติกรรมทางจิตวิทยาจึงเป็นพฤติกรรมที่มนุษย์ปรุงแต่งขึ้นมา เพ่ือเป็นกลยุทธ์ทาง สังคม ในการสร้างปฏิกริ ยิ ากบั คนหรอื สิ่งแวดลอ้ มอน่ื ๆ 4. ทฤษฎีสุนทรยี ศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ คือ ชื่อท่ีใช้เรียกการศึกษาเชิงปรัชญา (การสืบค้นหรือวิทยาศาสตร์) ของศิลปะและ ความงามตามธรรมชาติ ดังน้ันการศึกษาทางสุนทรียศาสตร์ จึงครอบคลุมความงาม ตามธรรมชาติ วัตถทุ างสนุ ทรียะ (Aesthetic object) รวมถงึ กระบวนการรับรู้หรือ ประสบการณ์ทาง สุนทรียะ (Aesthetic experience) ของมนุษย์ท่ีมีต่อวัตถุต่าง ๆ เหล่าน้ัน โดยมีระเบียบแบบแผนใน การศึกษา วเิ คราะห์อยา่ งเป็นขน้ั ตอน (คาลา่ มุสกิ า, 2558) วิรุณ ตั้งเจริญ, (2546 : 28) อธิบายว่า สุนทรียะหรือความงามอาจเป็นความงาม ของศิลปกรรม ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม รวมทั้งความประณีตงดงามของจิตใจ ความประณีตงดงามของ การใช้ชีวิต ส่วนตัวและชีวิตส่วนรวม ศิลปกรรม (Fine Arts) ที่หมายความรวมถึงทัศนศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง สถาปัตยกรรม วรรณกรรม และสนุ ทรยี ภาพ คือ ความรสู้ กึ ในความงาม ภาพทง่ี ดงาม ในความคิดหรือภาพของความงามในสมอง (Image of Beauty) ศักยภาพของการรับรู้ความงามท่ี สามารถสัมผสั หรอื รับความงามไดต้ า่ งกัน ความงามทอ่ี าจเกดิ จากภาพ จากเสียง จากจนิ ตนาการ จาก ตัวอักษร หรือประสาทสมั ผสั การศกึ ษาและสรา้ งสรรค์ศลิ ปะ ยอ่ มเกี่ยวขอ้ งกับความจรงิ ความดี และ ความงามเก่ียวข้องกับ “สุนทรียะ” ซ่ึงเป็นเร่ืองของความงาม ความไพเราะ ความสุขุมคัมภีรภาพ ความสงบ สนั ติ เก่ยี วข้องกับการดารงชีวิตและรสนยิ ม (Taste) Noel Carrot ได้อธิบายเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ทางนาฏยศิลป์ไว้ในหนังสือ The Oxford handbook of aesthetics (2003) ว่า นาฏยศิลป์ คือ รูปแบบท่ีสาคัญของการเลียนแบบ กระบวนการ ของการอ้างอิงการกระทา เหตุการณ์ และผู้คน โดยผ่านการกระตุ้นของปรากฏการณ์ ต่าง ๆ แต่ใน ขณะเดียวกันนาฏยศิลป์ก็มีองค์ประกอบของการสร้างสรรค์การเคล่ือนไหวที่มี

67 จุดมุ่งหมายตามหน้าท่ี เพ่ือแสดงความงดงามและความคล่องตัว เป็นห้วงจังหวะของท่วงทานอง ที่มี ทา่ ทาง อยู่ในชว่ งเวลา หนึ่งของจงั หวะดนตรี นัน่ คอื ดนตรีที่ประกอบอยูด่ ว้ ย ทช่ี ่วยกากบั การเต้น เปน็ ลักษณะสาคัญที่ทาให้นาฏยศิลป์แตกต่างจากการเคลื่อนไหวอื่น ๆ Noel ยืนยันว่า นาฏยศิลป์คือ ความงามของการ เลียนแบบ อย่างเช่นการเต้นบัลเล่ต์ ที่สร้างสรรค์แล้วอย่างดี คือภาพมีชีวิตของ ความปรารถนา การดาเนินชีวิต พิธีกรรมและประเพณี ของทุกชาติในโลก เช่นเดียวกับศิลปะของ ภาพวาด นัก ปรัชญาคนสาคัญ เช่น เอบเบ้ ชาร์ลส บัตโต เพลโต้ และอลิสโตเต้ิล กล่าวถึงหลักการ เลียนแบบ ธรรมชาติ ของศิลปะว่า “เราจะให้คาจากัดความของภาพวาด รูปปั้น และการเต้น ว่าเปน็ การ เลียนแบบความงดงามทางธรรมชาติ ผ่านสี ทาให้มีชีวิต โดยสอดแทรกทัศนะคติ ส่วนดนตรีและ บทกวี คือการเลียนแบบธรรมชาติท่ีงดงามผ่านเสียงและจังหวะในแง่สุนทรียภาพของนาฏยศิลป์นั้น Theophile Gautier อธิบายว่านาฏยศิลป์ ประกอบด้วยศิลปะการแสดงออกซึ่งท่าทางที่งดงามและ พัฒนาข้ึนมาให้เป็นภาพที่น่าชมไม่ขัดสายตา หรืออาจกล่าวว่าเป็นดนตรีที่ปราศจากเสียง(จังหวะ เงียบ) หรือดนตรีท่ีมองเหน็ ได้ นอกจากนี้ Stephane Maltarme & Paul Valery ก็กล่าวว่า การเตน้ เป็นการจาลองภาวะตา่ ง ๆ หวั ใจของการ เตน้ ในฐานะศลิ ปะอย่างหนึ่ง คอื การเคลอ่ื นไหวนัน่ เอง มโน พิสุทธิรัตนานนท์, (2546 : 43) อธิบายว่า สุนทรียภาพในนาฏศิลป์และ ศิลปะการแสดง เมอื่ เป็นท่ยี อมรบั กันวา่ เรือนร่างมนุษยเ์ ป็น มูลฐานหรือศิลปะธาตุทส่ี าคญั ในนาฏศิลป์ และการแสดง เช่นเดียวกับที่ถือกันว่าเรือนร่างมนุษย์เป็น สุนทรียวัตถุ (Aesthetic Objects) ดังน้ัน การปรากฏของนักแสดงท่ีมีบคลิกลักษณะ และการแตง่ ตัวท่งี าม สงา่ พราวพรายเหมาะสมกับลีลาท่า เต้นท่าราอันเป็นนาฏลักษณ์ของศิลปะการแสดงน้ัน ๆ ย่อมมีผลเป็น เบื้องต้นต่อผู้ชมที่จะได้สัมผัสรู้ ทางการเห็นและขานรับทางสุนทรียะ (Aesthetic Response) จังหวะลีลา การเคลื่อนไหว (Rhythm and Movement) เป็นมูลฐานหลักท่ีสาคัญของนาฏศิลป์และเป็นองค์ประกอบ สาคัญท่ีทาให้ นาฏศิลป์มคี ณุ สมบตั ิและลักษณะเฉพาะของตัวมนั เอง มูลฐานทางศิลปะดงั กลา่ วนมี้ ีความ หลากหลาย ท่ีถูกสร้างสรรค์ข้ึนโดยช่วงเวลา (กาละ) สถานที่ (เทศะ) และทิศทาง ซึ่งเป็นไปในลักษณะท่ี ต่อเนื่อง กลมกลืนหรือสอดคล้องกันในระหว่างท่วงท่าที่มีอิสระและมีแบบแผน ในขณะเดียวกันคุณค่า ความ งาม ก็ขึน้ อยู่กับความเป็นเอกภาพ (Unity) ในการผสมผสานไปกับจังหวะทานองดนตรี รวมทัง้ บรบิ ท แวดล้อมอ่ืน ๆ ที่ช่วยส่งเสริมปรุงแต่ง ซึ่งได้แก่ เวที ฉาก และ แสง-เงา สุนทรียรสท่ีผู้ชมได้รับ จาก นาฏศิลป์และการแสดงเกิดจากอารมณ์รู้สกึ ร่วมระหว่างผู้แสดง กับผู้ชมโดยที่ผแู้ สดงซึ่งเป็นศิลปิน ได้ สอดแทรกอารมณ์ร้สู ึกที่ปรุงแต่งโดยอสิ ระผสมผสานไปในลีลา ทา่ เตน้ ท่ารา หรือการเคลอื่ นไหว ของ เขา ซ่งึ จะสง่ ผลใหก้ ารเคล่ือนไหวในอารมณ์รู้สึกของผ้ชู มดว้ ย ลีลาเคล่ือนไหวทเ่ี ปน็ ไปโดยอสิ ระ อย่าง

68 เป็นระบบเป็นจุดกาเนิดของนาฏศิลป์และเป็นหัวใจของสุนทรียรสที่ผู้ชมจะขานรับได้ ประสบการณ์ สุนทรียะทางนาฏศิลป์ของผู้ชมก็มีส่วนสาคัญที่จะพัฒนาการรับรู้และเข้าใจความงามใน ระคับผัสสะ (Sensation) ของเขาไปสู่ระดับเพ่งพินิจ (Contemplation) อันเป็นการรับรู้ความงามในระดับ ปญั ญาเชงิ สร้างสรรค์ ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์, (2561 : 19-20) อธิบายว่า ริบทของจิตวิทยาศิลปะ เป็น การค้นหาคาตอบว่าเหตุใดพฤติกรรมของมนุษย์จึง เก่ียวข้องกับความงามและศิลปะ เหตุใดมนุษย์จึง ตอ้ งสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะและสนใจความงาม การ หานิยามของศลิ ปะโดยการนากระบวนการวทิ ยาศาสตร์ มาอธิบายพฤติกรรมที่เกิดจากแรง บันดาลใจและความซาบซ้ึงในความงาม กลุ่มบุคคลท่ีนักจิตวิทยา ให้ความสนใจศึกษาคือ ศิลปิน ผู้อาศัยแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะ คาถามคืออะไรเป็น แรงผลักดันทาให้เหลา่ ศิลปินลุกขึ้นมาสร้างสรรค์ศิลปกรรม อีกกลุ่มคือผู้ชมซ่ึงมุ่งค้นหาประสบการณ์ ศิลปะ มคี าถามวา่ ทาไมอารมณ์ของผสู้ รา้ งสรรคถ์ ูกสง่ ผ่านไปส่ตู ัวผ้ชู มได้ และ อะไรเปน็ ส่ิงที่ผลกั ดนั ให้ ผชู้ มเกิด ความปรารถนารับชมศิลปกรรมจนเกดิ ความซาบซ้งึ ด่ืมด่าข้ึนมาคาตอบอาจไดจ้ ากการศึกษา ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงเป็นการขยายพรมแดนความรู้ทางสุนทรียศาสตร์ให้เกิดความ ประจักษช์ ัดและเชอื่ มโยงกับศาสตร์อืน่ ได้กวา้ งขวางยิ่งขนึ้ ความหมายของศิลปะอาจ เปลีย่ นไปเพ่อื ให้ เหมาะสมกบั ปรากฏการณ์หรือรปู แบบของศิลปะท่ีอาจเกดิ ข้นึ มาใหมๆ่ ไดอ้ ีกดว้ ย โดยสรุปได้ว่าสุนทรียศาสตร์เป็นศาสตร์ท่ีอธิบายเร่ืองของความงามในมิติต่าง ๆ ทั้ง ธรรมชาติและสิ่งท่ีมนุษย์สร้างข้ึนโดยเฉพาะส่ิงท่ีสร้างข้ึน รวมไปถึงประสบการณ์ คุณค่าความงาม ผู้วจิ ัยจงึ หยิบนาทฤษฎีความงามท่ีเกี่ยวข้องกบั ศาสตร์ทางด้านศลิ ปะแสดง เพือ่ ใหเ้ หน็ ถึงนาฏยลักษณ์ ของงานศิลปะการแสดงทน่ี ามาศกึ ษา 6 งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง ชนะชัย กอผจญ, (2547 : 3) ได้ศึกษาองค์ประกอบและเทคนิคในการบรรเลงเพลง ลาวแพนทางจะเข้ กล่าวว่า เพลงลาวแพนเป็นเพลงที่มีความไพเราะเพลงหนึ่ง ซ่ึงเป็นเพลงโบราณมี ทานองและกลอนเพลงท่ีน่าฟัง และเป็นท่ีนิยมบรรเลงแพร่หลายในวงการ ดนตรีไทย “เพลงลาว แพน” เปน็ เพลงทมี่ ีอัตราจงั หวะ2ชัน้ เปน็ เพลงเดียวทแี่ ตกตา่ งจากเพลง เดี่ยวเพลงอน่ื ๆ กล่าวคือ ใน เพลงเด่ียวลาวแพนประกอบด้วยเพลงเกร็ดรวมทั้งสิ้น 7 เพลง คือ ต้นเพลงลาวแพนใหญ่ เพลงลาว แพนใหญ่ เพลงลาวแพนน้อย เพลงลาวสมเด็จ เพลงลาวลอด ค่าย เพลงลาวขบั ไม้ และจบด้วยลาวซุ้ม

69 เพลงลาวแพนนี้เมื่อนาไปประกอบการฟ้อนราก็ เรียกว่า “ฟ้อนลาวแพน เน่ืองจากเป็นเพลงท่ีมีความ ไพเราะ จังหวะรุกเร้าสนุกสนาน นัก ดนตรีจึงได้นาทานองไปแต่งเปน็ ทางเดี๋ยวไว้หลายทาง เพลงลาว แพนท่ีบรรเลงด้วยจะเข้มี กลวิธีในการบรรเลงหลายอย่าง เช่น สะบัด ปริบ กระทบสาย ดดี โปรยเสียง ซึง่ กลวธิ ีต่าง ๆ นัน้ เมือ่ ทาแล้วตอ้ งมคี วามคมชดั ตามลกั ษณะของแต่ละวิธี นฤทร์บดินทร์ สาลีพันธ์, (2558 : 378) ได้ศึกษาพัฒนาการฟ้อนบูชาพระธาตุพนม เพ่ือศึกษาความเป็นมา ความสาคัญวเิ คราะห์กระบวนท่าราองค์ประกอบนาฏยศิลป์ การเปลี่ยนแปลง วัตถุประสงค์รูปแบบการฟ้อนอีสานในพิธีบูชาองค์พระธาตุพนม ที่ปรากฏในเทศกาลไหลเรือไฟ จังหวัดนครพนม ซึ่งมีการฟ้อนทั้งหมด 7 ชุด จากความแตกต่างของชุดฟ้อนในพิธีบูชาพระธาตุพนม ส่งผลให้เอกลักษณ์การฟ้อนบูชาพระธาตุพนม มีความแตกต่างกันตามรูปแบบของการฟ้อนแต่ละชุด ลักษณะท่าฟ้อนในการฟ้อนบูชาพระธาตุพนมแบ่งออกเป็น 6 ประเภทดังนี้ 1.ท่าฟ้อนที่เลียนแบบ ธรรมชาติ 2. ท่าฟ้อนที่มีการเก้ียวพาราสี 3. ท่าฟ้อนที่มีการหยิบยืมจากท่าฟ้อนอื่น ๆ 4. ท่าฟ้อนท่ีมี การปรับปรุงจากท่าฟ้อนเดิม 5. ท่าฟ้อนที่มีการตีบทตามบทประพันธ์ 6. ท่าฟ้อนที่เป็นการบูชาสิ่ง ศักด์สิ ทิ ธิ วัฒนศักดิ์ พัฒนภูทอง, (2548 : 126-127) ได้ศึกษาพัฒนาการของฟ้อนหางนกยูง ในจังหวัดนครพนมว่า ฟ้อนหางนกยูงถือกาเนิดจากพิธีกรรมถวยเทียนเพ่ือบูชาเจ้าหม่ืนซ่ึงเป็นผี มเหศักด์ิหลักเมืองของชาวนครพนม ผู้ฟ้อนจะฟ้อนบนหัวเรือแข่งที่จะเข้าร่วมแข่งขันในเทศกาลแข่ง เรือออกพรรษา จากการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม อันได้แก่ การศึกษา เศรษฐกิจ และ การรับเอาวัฒนธรรมอ่ืนเข้ามาในชุมชน ทาให้พิธีกรรมถวยเทียนซ่ึงเป็นต้นกาเนิดของการฟ้อนหาง นกยูงได้เลือนหายไปจากจังหวัดนครพนม ต่อมาเม่ือ พ.ศ. 2498 เม่ือพระบาทสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถฯ เสด็จเยี่ยมพสกนิกรชาวนครพนม ทางจังหวัดนครพนมจึงได้จัดการแสดงฟ้อน หางนกยงู หนา้ พระที่น่งั เพ่ือเป็นการรับเสดจ็ จากนั้นฟ้อนหางนกยงู กไ็ ดซ้ บเซาลง จนกระทง่ั ใน ปพี .ศ. 2530 เมื่อจังหวัดนครพนมและการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยได้ประกาศให้งานประเพณีไหลเรือไฟ เปน็ งานประเพณปี ระจาจังหวัดนครพนม การแสดงฟอ้ นหางนกยูงจึงถูกจดั อยู่ในกิจกรรมพิธีกรรมบูชา พระธาตพุ นม ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของงานประเพณไี หลเรอื ไฟ และปฏบิ ตั ิสืบต่อกนั มาจนถึงปัจจุบัน ธราดล ไชยเดชโกสิน, (2550 : 35-54) ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการประดิษฐ์ชุด การแสดงพนื้ บา้ นอีสานของวทิ ยาลัยนาฏศลิ ปพบวา่ ประวัติชุดการแสดงท้ัง 5 หมวด ได้แก่ วถิ ีชวี ิตการ แสดงชุดฟ้อนไทภูเขา พิธีกรรมการแสดงชุดดึงครกดึงสาก ชาติพันธุ์ การแสดงชุดฟ้อนภูไทกาฬสินธ์ุ วรรณกรรมการแสดงชุดฟ้อนมโนราหเ์ ล่นน้า และมรดกอีสานการแสดงชุดฟ้อนสาวกาฬสนิ ธล์ุ าเพลนิ

70 โดยได้ยึดหลักในการประดิษฐ์ชุดการแสดงพ้ืนบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลป จากการศึกษาสภาพ ชีวติ ความเปน็ อยูข่ องชาวอสี านไมว่ ่าจะเปน็ ความเช่ือ พธิ ีกรรมวรรณกรรม และสิง่ ที่เป็นมรดกของชาว อีสาน มานาเสนอเป็นศิลปะการแสดง ซ่ึงมีหลักในการประดิษฐ์ชุดการแสดงพื้นบ้านอีสานดังนี้ 1. หลกั ในการคิดประดิษฐช์ ุดการแสดง 2. เครือ่ งแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดง 3. เครอ่ื งดนตรี ทานองลายเพลง บทรอ้ ง 4. ท่ารา สพุ รรณี อว้ นพรมมา, (2550 : 3-4) ได้ศกึ ษาากระบวนการนาฏยประดษิ ฐ์การฟ้อน สักการะพระธาตุนาดูน กลุ่มสาขาวิชา ศิลปะการแสดง เอกนาฏยศิลป พื้นบ้าน คณะศิลปกรรม ศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชั้นปีที่ 2 เพื่อพัฒนาแผนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยศึกษา ความเช่ือความศรัทธาและประวัติความเป็นมาของชุมชนนาดูน อาเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เพ่ือที่นามาประยุกต์เป็นทานองเพลงประดิษฐ์ท่าราขึ้นและออกแบบเคร่ืองแต่ง กายเพื่อสร้างคู่มือการประดิษฐ์ท่าราประกอบการเรียนการสอนวิชา Folk Dance Skill (ทักษะ นาฏยศิลปพื้นบ้าน) ให้มีการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับหลักสูตรและ สร้างคู่มือการประดิษฐ์ท่าราประกอบการเรียนการสอนรายวิชา Folk Dance Skill (นาฏยศิลป์ พ้ืนบ้าน) เพื่อพัฒนาการทางด้านนาฏยศิลป์อีสานของมหาวิทยาลยั มหาสารคามอีกท้ังเปน็ แนวทางใน การพัฒนาการเรยี นการสอนท่ีมีประสิทธิภาพและให้เยาวชนรุ่นหลงั ได้เห็นความสาคัญถึงบทบาทการ ทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและรว่ มกนั สบื สานตอ่ ไป วรรณณิกา นาโสก, (2551 : 4) ได้ศึกษาพัฒนาการฟ้อนกลองตุ้ม อาเภอกันทรา รมย์ จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากเป็นศิลปะการแสดงอีสานที่มีประวัติยาวนานราว 200 ปี ยังคงรักษา และสืบทอดจนมีพัฒนาการในด้านรูปแบบองค์ประกอบของการแสดง เช่น องค์ประกอบด้านท่ารา แบง่ เป็น 2 ยคุ ยคุ ท่1ี พ.ศ. 2350-2440 เป็นท่ีไมม่ ีแบบแผน ยุคท่ี 2 พ.ศ. 2440-2550 มีทา่ ราปรากฏ 3 ท่า ได้แก่ ท่าอันเชิญ ท่าคามั่นสัญญา ท่าเก้ียว ผู้ฟ้อน มีการเปลี่ยนแปล 3 ช่วง ได้แก่ อดีตกาลใช้ ผู้ชายล้วนในการฟ้อน พ.ศ. 2440-2520 ผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วมในการฟ้อนกับผู้ชาย พ.ศ. 2520- 2550 ใช้ผู้หญิงฟ้อนท้ังหมด จึงเห็นว่าได้เป็นฟ้อนอีสานที่มีพัฒนาการอย่างชัดเจน จึงอยากให้ฟ้อน กลองตุม้ มพี ฒั นาการและสืบทอดตอ่ ๆ ไป ธัญลักษณ์ มูลสุวรรณ, (2555 : 251)ได้ศึกษาเร่ืองพัฒนาการของฟ้อนกลองยาว อาเภอวาปีปทุม จงั หวดั มหาสารคาม เพอ่ื ให้ทราบถึงพัฒนาการ การอนุรกั ษ์ และองค์ประกอบดั้งเดิม ของฟ้อนกลองยาว อาเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม โดยศึกษาการตีกลองยาวแห่ในประเพณี ทอ้ งถ่นิ จนเขา้ มามีบทบาทและจัดการประกวดกลองยาวในงานประจาปีของอาเภอวาปีปทุม ตลอดจน

71 ความสัมพันธ์ระว่างฟ้อนกลองยาวกับวิถีการดาเนินชีวิตของชาววาปีปทุมในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือเป็นการอนุรัก์และสืบทอดการฟ้อนกลองยาวให คงอัตลักษณ์ ของท้องถ่ินและเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของชุมชนต่อไป เสาวรัตน์ ทศศะ, (2556 : 359) ได้ศึกษาเร่ืองการอนุรักษ์สืบสานศิลปะการฟ้อน บูชาพระธาตุในภาคอีสาน โดยเลือก 3 จังหวัดท่ีปรากฏการฟ้อนเพ่ือบูชาศาสนสถานในภาคอีสาน ได้แก่ จังหวัดมหาสารคาม พระธาตุนาดูน ใช้การแสดงชุด ระบาจัมปาศรี จังหวัดสกลนคร พระธาตุ เชิงชุม ใช้การแสดงชุด พ้อนภไู ทสกลนคร และ จงั หวดั นครพนม พระธาตุพนม การแสดงชุดฟอ้ นภูไท เรณูนคร ปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยน องค์ประกอบของชุดการแสดงในลักษณะท่ีแตกต่างออกไปจากใน อดีตกระบวนการสร้างสรรคท์ ่าฟ้อน แบบด้ังเดมิ มีองคป์ ระกอบทสี่ าคญั 5 ประการ ได้แก่ 1.ความเช่ือ 2.ท่าฟ้อน 3.เคร่ืองแต่งกาย 4.เคร่ือง ดนตรี 5.ผู้แสดง ปัญหาหลักของการฟ้อนบูชาพระธาตุ คือ เอกลักษณก์ ารฟ้อนบูชาพระธาตมุ ีการเปลีย่ นแปลงและถูกปรับปรุงขนึ้ ใหม่ในหลายองคป์ ระกอบ มนัสวี ศรีราชเลา, (2556 : 304) รูปแบบการอนุรักษณ์สืบสาน การราบวงสรวง โบราณสถานอีสานใต้ การราบวงสรวงของท้ัง 4 จังหวัด เป็นการราบวงสรวงเพ่ือบูชาส่ิงศักดิ์และขอ ขมาเพราะปราสาทเปน็ ส่ิงศักด์ิเปน็ ที่ยดึ เหนยี่ วจติ ใจของประชาชนบริเวณในพื้นท่ี การร าบวงสรวงจะ มี การบวงสรวงแค่ปีละ 1 ครั้งเพื่อนามาราถวายให้กับองค์ปราสาท จึงทาให้เกิดปัญหาในการอนุรักษ์ และสืบสาน ในระยะเวลาหลังเริ่มมีการเผยแพร่โดยการแสดงในรูปแบบแสงสีเสียง โดยไม่คานึงถึง แนวคิดและ รูปแบบของการแสดง ทาให้มีการพัฒนาไปตามกระแสความนิยมตามยุคสมัย จึงทาให้ รูปแบบดั้งเดิม หายไป มีการปรับเปล่ียนรูปแบบการร่ายราผสมผสานดนตรสี ากลทาใหด้ นตรพี ื้นบา้ น หายไป ปรับเปล่ียนเครื่องแต่งกายให้ทันสมัยไปตามยุคทาให้ดูอลังการ รูปแถวมีการปรับเปล่ียนไป ตามพ้ืนท่ีที่ นาไปแสดง ทาให้เอกลักษณ์และศิลปะการแสดงของชาวอีสานใต้ได้เลื่อนหายไปด้ังนั้น ควรอนุรักษ์ รักษาให้คงอยู่และปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่ให้สามารถสืบสานให้กับรุ่นหลังได้เรียนรู้โดยการ ถา่ ยทอดสง่ เสริม และเผยแพร่การราบวงสรวงในโบราณสถานให้อยู่ตอ่ ไป ยุวดี พลศิริ, (2556 : 233-234) ได้ศึกษาการสร้างสรรค์นาฏกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ระดับมัธยมศึกษาจังหวัดมหาสารคาม การปฏิบัติงานที่มีระบบให้ปฏิบัติตามอยางชัดเจนการแบ่ง หนาที่การจัดสรรงบประมาณหรือการคัดเลือกนักเรียนผู้มีความสามารถเฉพาะด้านเข้าร่วมกิจกรรม ผลการสร้างสรรค์ก็จะประสบความสาเร็จ อาทิ การบรรเลงดนตรีประเภทวงดนตรีลูกทุ งให้ประสบ ความสาเร็จ นกั ดนตรจี ะต้องอา่ นโนต้ ดนตรีออก และมีความเพียรพยายามในการฝกึ ซ้อมและพึงสานึก อยู่เสมอว่างานทุกอย่างจะประสบความสาเร็จได้ต้องเกิดจากความเพียรพยายามและหมั่นฝึกซ้อมอยู่

72 เสมอ ระยะเวลาในการฝึกซ้อมนกั เต้นทุกคนจะต้องรู้จักแบ่งหน้าที่ของตนเองและรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ น้ันให้ดีที่สุด และทาความเข้าใจในกระบวนท่าเตน้ ที่เกิดจากการปรบั ใช้ท่าจากทา่ รานาฏศิลป์ไทย ท่า เต้นบัลเล่ต์ (Ballet) สิ่งสาคัญท่ีสุดนักแสดงทุกคนจะตองสามารถสื่ออารมณ์ร่วมกับเพลงท่ีใช้ในการ แสดงให้ได้ พีรพงศ์ เสนไสย, (2556 : 159) ศึกษาเร่ืองพลวัตต์นาฏยศิลป์อีสานในจังหวัด มุกดาหารได้พบว่าพบวา นาฏยศิลป์อีสานเป็นเครื่องบ่งชี้แสดงเอกลักษณ์ของประเทศและของ จังหวดั มุกดาหาร โดยฉพาะอยา่ งยง่ิ ในชวงพธิ ีเปิดงานจะมีขบวนแห่ ที่เกิดจากการรว่ มแรงร่วมใจของ ชาวบ้านทุกคุ้ม ที่ได้ร่วมกันบรรจงประดิษฐ์นาฏกรรมเข้าร่วมท้ังฟ้อนอีสานเพื่อแสดงชาติพันธุ์ มุกดาหารในขบวนแห่ฟ้อนอีสานอื่น ๆ รวมท้ังฟ้อนอีสานประยุกต์ตามความนิยมของผู้สร้างสรรค์ ฯลฯ ท้ังเด็กทั้งสตรวี ัยรนุ่ เยาวชน วยั กลางคน คนแก่ ต่างพรอ้ มใจกนั แต่งตัวมรว่ มฟ้อนรากนั อย่าง พร้อมเพรียง จะเห็นได้ว่า งานประเพณีแข่งเรือออกพรรษาไทย-ลาว ณ จังหวัดมุกดาหาร เป็นอีก หน่ึงกิจกรรมด้านการท่องเท่ียวท่ีสามารถส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์จังหวัด เศรษฐกิจการ ท่องเที่ยวและรปู แบบนาฏยศิลปอ์ สี านในจงั หวัดมุกดาหาร อุษณีย์ พ่อบุตรดี, (2557 : 209-212) ศึกษาวิจัย เร่ือง การเปล่ียนแปลงของฟ้อน ผู้ไทยในการท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อศกึ ษาเอกลกั ษณ์และความเปล่ียนแปลงของฟ้อนผู้ไทย ในการนาการฟ้อนไปใช้เพื่อการจัดการท่องเท่ียวทางศิลปวัฒนธรรม ในจังหวัดกาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม และมุกดาหารได้พบว่าความเปล่ียนแปลงของการฟ้อนชาวผู้ไทยมีเหตุปจั จัยหลายประการ ที่สนับสนุนให้เกิดการเปล่ยี นแปลงของการฟ้อนผู้ไทย อาทิ ทัศนคติของชุมชน เง่ือนไขด้านเวลา การ เปลย่ี นแปลงทางดา้ นเทคโนโลยีการสื่อสาร การศกึ ษา การเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม นักทอ่ งเท่ยี ว แต่ สง่ิ สาคญั ที่ทาให้เกิดการเปล่ยี นแปลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ัด คอื นโยบายแหง่ รฐั นโยบายการจดั การทอ่ งเท่ียว ทางศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงในแต่ละพื้นที่จังหวัดกาฬสินธ์ุ สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร มีเหตุปัจจัย ที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นท่ี แต่มีจุดมุ่งหมายเป็นในทางเดียวกันคือการเปล่ียนแปลงและการนา นาฏยศลิ ปก์ ารฟ้อนผ้ไู ทยไปใช้เพ่อื สนบั สนนุ การจัดการท่องเทย่ี วทางศิลปวฒั นธรรม คาล่า มุสิกา, (2558 : 193-194) ศึกษาเรื่องแนวความการสร้างสรรค์นาฏย ประดิษฐ์อีสานในวงโปงลาง พบว่าวงโปงลางในปัจจุบนั ได้เปล่ียนมาจนถึงยุคท่ี 4 คือการเป็นวงดนตรี ทส่ี ังกดั สถาบนั การศึกษา มหี น้าท่ีสาคัญคือตอบสนองพนั ธกจิ ในด้านการทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรมและ เผยแพร่ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษานั้น ๆ ในปัจจุบันยังมีการจัดการแข่งขันการประกวดวงโปงลาง อย่างกว้างขวาง จึงทาให้วงโปงลางแต่ละสถาบันการศึกษาพยายามสร้างสรรค์นาฏศิลป์อีสานใหม่ ๆ

73 มากข้ึนเพ่ือให้ตอบโจทย์ของเกณฑ์การแข่งขันท่ีจัดมากขึ้นในทุก ๆ ปี ส่งผลให้เกิดนาฏศิลป์อีสานใน วงโปงลางใหม่ ๆ เพิ่มมากกว่าทุกยุคที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาและข้อจากัดอีกหลายประการ เช่น ผลงานาฏศิลป์น้ันแม้จะมีความพร้อมเพรียงสวยงามก็ตามแต่ขาดมิติความลุ่มลึกด้านวัฒนธรรม อีสาน การแต่งกายไม่สัมพันธ์กับแนวคิดหลักหรือผิดยุคสมัย ดังนั้นหากมีการนาเอาแนวคิดนาฏย ประดษิ ฐอ์ ีสานในวงโปงลางทวี่ ิจยั และพฒั นาขึ้นไปประยุกตใ์ ช้ก็น่าจะช่วยใหก้ ารสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ อีสานของวงโปงลางสามารถตอบโจทย์บทบาทหน้าที่ของการแสดงวงโปงลางในยุคปัจจบุ ันท่ีต้องการ เผยแพร่วัฒนธรรมอีสานท่ีมีความลึกซ้ึง ละเอียดอ่อนที่นอกเหนือความสนุกสนานรื่นเริงที่รู้จักกันมา อยู่แลว้ เกิดศิริ นกน้อย, (2559 : 201) ได้ศึกษาเร่ืองสตรีในราชสานักกับคุณูปการด้าน ศิลปะการแสดง พบว่า บทบาทและหน้าที่ของสตรีราชสานักด้านสิลปะการแสดงส่งผลให้เกิด คุณูปการด้านศิลปะการแสดง ได้แก่ คุณูปการด้านการอนุรกั ษ์และคุณูปการดา้ นการพัฒนาทาให้การ ขับเคลื่อนด้านศิลปะการแสดงตั้งแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบันมีการอนุรักษ์และพัฒนามาโดยตลอดคุณูปการ ของสตรีราชสานักท่ีส่งผลต่อศิลปะการแสดงในปัจจุบันหลายด้าน ได้แก่ 1 เกิดการศึกษาวิชาการ ทางด้านศิลปะการแสดงข้ึนในสถาบันการศึกษา 2. กระบวนท่าราที่มีมาแต่โบรารและถ่ายทอดมาสู่ สถาบนั การศกึ ษา 3. รูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ 4. การอนุรักษ์ฟ้ืนฟแู ละพฒั นาการแสดงโขน วราพร แก้วใส, (2559 : 221) ได้ศกึ ษาเรอื่ งรปู แบบการประยุกต์นาฏกรรมวงดนตรี ลูกทุ่งในสถานศึกษาเพ่ือเศรษฐกิจสร้างสรรค์ รูปแบบการประยุกต์นาฏกรรมในวงดนตรีลูกทุ่ง นอกจากข้อค้นพบที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องหลักการวิธีการบูรณาการศาสตร์ทางด้าน ศิลปะการแสดงระหว่างความเป็นเอกลักษณ์ไทย กบั ความเป็นสากลใหผ้ สานลงตัวกับความเป็นลูกทุ่ง ดีอย่างสมบูรณ์ งดงามและมีสุนทรียภาพทางการ แสดงผลจากกระแสการแข่งขันวงดนตรีลูกทุ่ง ก่อให้เกิด ก่อให้เกิดการหมุนเวียนของเม็ดเงิน กระตุ้น เศรษฐ์กิจก่อให้เกิดอาชีพต่าง ๆ จากการ “จา้ งงาน” จนกลายเป็นเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ ตามประเภท ของงาน คือ 1.ประเภทการจ้างงาน 1.1 ด้านดนตรี การจัดซื้อเคร่ืองดนตรี การว่าจ้างครูทาโน้ตเพลงและฝึกดนตรี การ ว่าจา้ งครฝู ึกสอนเนื้อเพลง 1.2 ด้านนาฏกรรม การว่าจ้างทีมงานทาโชว์ การว่าจ้างทีมงานออกแบบตัด เย็บ เครื่องแตง่ กาย การว่าจา้ งทีมทาอปุ กรณ์การแสดง

74 1.3 ด้านสวสั ดกิ าร การว่าจา้ งดูแลเร่ืองอาหาร การว่าจา้ งดูแลเรื่องทาความ สะอาด เคร่อื งนงุ่ หม่ การวา่ จา้ งเรื่องยานพาหนะในการเดินทาง 2. ประเภทการต่อยอดเป็นอาชีพผลของปรากฏการณ์กระแสจากวงดนตรีลกู ทุ่งทา ใหเ้ กิดการตอ่ ยอดของอาชีพกับ นกั ร้อง นกั ดนตรแี ละนกั เต้นได้อย่างหลากหลายจะเห็นว่าอาชีพและ รายได้ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นตามมา จากกระแสวงดนตรีลูกทุ่งท่ีทาให้เกิดเป็นเศรษฐ์กิจสร้างสรรค์นั้น เร่ิม ตั้งแต่ในชุมชนในท้องถ่ินจนถึง สังคมเมือง บริษัทเอกชนก่อให้เกิดรายได้และเกิดการหมุนเวียนของ เงนิ เปน็ การกระตุน้ เศรษฐกิจภายใต้ วัฒนธรรมได้เปน็ อยา่ งดี นพรัตน์ บัวพัฒน์, (2559 : 141) ได้ศึกษาเร่อื ง เม็ดพรายของปรมาจารยน์ าฏศลิ ป์ : การสังเคราะหอ์ งค์ความรู้เพื่อพฒั นาศิลปะการแสดงในประเทศไทย เมด็ พรายของปรมาจารย์ ในการ แสดงนาฏศิลป์แบบฉบับละครหลวงในแบบ ละครนอก ละครใน ละครพันทาง และละครดึกดา บรรพ์ ด้วยการสังเคราะห์องค์ความรู้เพ่ือพัฒนา ศิลปะการแสดงในประเทศไทยเม็ดพรายของ ปรมาจารย์นาฏศลิ ป์ในการแสดงแบบฉบับละครหลวง สนุ ทรียภาพอนั เกิดจากการเคล่ือนไหวร่างกาย ไปตามบทร้องและทา นองดนตรีท่ีสอดคล้องสัมพันธ์และ ได้สัดส่วนที่งดงามตามแบบแผนของ นาฏศิลป์ไทยน้ันเกิดจากการถ่ายทอดฝึกฝนของครูและผู้ราซึ่งสามารถปฏิบัติ และสร้างสัมฤทธิผลให้ เกิดเป็นภาพสมบูรณ์ได้ อาจารยน์ พรัตน์ หวงั ในธรรมเป็นบรมครู ทางนาฏศลิ ป์ไทย “ทางนาง” ซง่ึ มีเม็ดพรายเป็นที่ยอมรับ ยกย่องเชิดชูกันในศาสตร์ทางศิลปะการแสดงว่ามิมีใครเสมอเหมือน เม็ด พรายของอาจารยน์ พรัตน์ หวังในธรรม จาแนกเปน็ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย ประเภทตา่ ง ๆ สรปุ เป็น รายละเอียดไดด้ งั น้ี 1. ละครนอก 2.ละครใน 3.ละครพนั ทาง 4. ละครดกึ ดาบรรพ์ สรุปได้ว่างานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ดังที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยศึกษางานวิจัยที่เก่ียวกับ ศิลปะการแสดงในแต่ละวัฒนธรรมต่างเพื่อให้เห็นถึงสังคมศิลปะการแสดงท่ีกว้างขวาง และสังเกตได้ จากงานวิจัยดังกล่าวว่า ศิลปะการแสดงเป็นสื่อที่ส่งผ่านสงั คม โดยเฉพาะศลิ ปะการฟ้อนอีสานนั้นมา จากความเช่ือในเร่ืองของพุทธศาสนา สิ่งศักดิ์สิทธิ ภูตผี ขวัญหรือจิตวิญญาณ เพราะชีวิตของชาว อีสานส่วนใหญ่ติดอยู่กับ ขนบประเพณี พิธีกรรม รักถ่ินฐานอารยธรรม และเป็นแหล่งศูนย์รวมยึด เหน่ียวจิตใจของผู้คนในการปฏิบัติในขนบธรรมเนียมท่ีสืบทอดกันมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันจึงทาให้ เกิดศลิ ปะการฟ้อนการแสดงเขา้ มาเพ่ือแสดงออกถึงการเคารพบูชานับถือ

75 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจยั การวิจัย ฟ้อนหางนกยูง : อตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรมและกระบวนการประดิษฐ์สรา้ ง ศิลปะการแสดงในประเพณอี อกพรรษาบชู าพระธาตุพนม ผวู้ ิจัยได้ใชร้ ะเบยี บวธิ ีวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research)โดยผวู้ ิจัยได้สารวจข้อมลู ทั่วไปของชมุ ชน และในพืน้ ทีท่ จี่ ะทาการศึกษาวิจัย ทัง้ ได้กาหนดกรอบและขัน้ ตอนของวธิ วี จิ ัยดังน้ี 1. ขอบเขตการวิจัย 1.1 เน้อื หาการวิจัย 1.2 วธิ กี ารวิจัย 1.3 ระยะเวลาในการวจิ ัย 1.4 พื้นท่ีทาการวิจยั 1.5 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 2. วิธกี ารดาเนนิ งานวิจัย 2.1 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 2.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.3 การจดั การข้อมลู 2.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 2.5 การนาเสนอผลการวจิ ัย 1.ขอบเขตการวจิ ัย ในการศึกษาครง้ั นีผ้ ู้วิจัยได้แบ่งขอบเขตดงั นี้ 1.เน้อื หางานวจิ ัย การศกึ ษาคร้งั น้ีผวู้ ิจัยไดก้ าหนดเนื้อหาการวิจยั ได้ทาการศึกษาค้นควา้ ไว้ ดงั นี้ 1.1 เพ่ือศกึ ษาอัตลักษณว์ ัฒนธรรม ความเปน็ มาของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหาง นกยงู ในประเพณีออกพรรษา ณ วดั พระธาตพุ นม อาเภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม 1. อตั ลักษณว์ ฒั นธรรมของฟ้อนหางนกยูง

76 2. ประวตั คิ วามเปน็ มาของฟ้อนหางนกยูง 1.2 เพอื่ ศกึ ษากระบวนการประดิษฐ์สรา้ งของศลิ ปะการแสดง ชดุ ฟ้อนหางนกยงู ในประเพณีออกพรรษา ณ วดั พระธาตุพนม อาเภอธาตพุ นม จงั หวัดนครพนม 1. ศึกษาในด้านองค์ประกอบท่ีสาคญั ได้แก่ แนวความคดิ ในการประดิษฐ์ สรา้ งชุดการแสดง รปู แบบการแสดง ลลี าท่ารา เครอ่ื งดนตรีประกอบ เครือ่ งแตง่ กาย และอุปกรณ์ ประกอบการแสดง 2.วธิ กี ารวิจัย ในการวจิ ยั เรอ่ื ง ฟ้อนหางนกยูง : อัตลกั ษณ์วฒั นธรรมและกระบวนการประดิษฐ์ สร้างศลิ ปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบชู าพระธาตุพนม ผวู้ ิจยั ใช้ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยเชงิ คุณภาพ โดยการเก็บข้อมลู 2 ลักษณะ ดงั น้ี 2.1 การศกึ ษาข้อมูลเอกสาร ซึ่งเป็นองคค์ วามรู้พน้ื ฐานทวั่ ไปโดยจาแนก ออกเป็น 2 กลุม่ ดงั นี้ 1. ความร้ดู ้านสังคมและวฒั นธรรมอสี าน 2. ความรดู้ า้ นนาฏกรรม 3. ความรดู้ ้านฟอ้ นอสี าน 4. บรบิ ทพืน้ ท่ี 5. แนวคดิ และทฤษฎี 2.2 งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง งานวิจัยในประเทศ การศึกษาข้อมูลภาคสนาม เป็นการลงพนื้ ท่เี พ่ือเก็บข้อมูล ตามความมุ่งหมายของการวจิ ัยโดยใช้วธิ สี ัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนา นาข้อมาวิเคราะห์เพ่ือหาแนวทางในการตอบปัญหาตามความมุ่งหมายของ การวจิ ัย 3. ระยะเวลาในการวจิ ัย ในการศึกษาครั้งน้ีผู้วิจัยใช้เวลาศึกษาตั้งแต่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 ถึง เดือน กรกฎาคม 2562

77 4. พน้ื ทีท่ าการวจิ ัย พ้ืนท่ีในการศึกษาวิจัยเรื่อง ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและกระบวนการ ประดิษฐ์สรา้ งศิลปะการแสดงในประเพณีออกพรรษาบชู าพระธาตุพนม ซงึ่ ผู้วจิ ยั ไดเ้ จาะเลือก วัดพระ ธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เนื่องจากพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานศักด์ิสิทธ์ิ คู่บ้านคู่เมืองและเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวไทยแล ะสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ผคู้ นจงั หวดั และผูพ้ น้ื ท่ใี กล้เคยี งก็ตา่ งเดนิ ทางมากราบไหว้บูชา ดงั นนั้ ผูว้ ิจยั จึงได้นาเอา ฟ้อนหางนกยูง หน่ึงในการแสดงที่อยู่ในการฟ้อนบูชาพระธาตุพนม ในประเพณีออกพรรษา ที่จัดข้ึน ในทุก ๆ ปี 5. ด้านประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ในการวจิ ัยครัง้ นี้ ผู้วจิ ยั ได้เลอื กกลุ่มประกรตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซงึ่ ได้จาแนกกลุม่ ตัวอย่างเพ่ือการศึกษาออกเป็นกล่มุ ดังนี้ 3.1 ประชากร ได้แก่ นักแสดงฟอ้ นหางนกยงู ในงานฟ้อนบูชาพระธาตพุ นม ประเพณอี อกพรรษา และ โรงเรียนนครพนมวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวดั นครพนม กลุ่มผรู้ ู้ดา้ นการฟ้อนหางนกยงู ไดแ้ ก่ นกั วิชาการดา้ นวฒั นธรรมจงั หวัดนครพนม จานวน 3 คน - ดร.อร่ามจิต ชณิ ชา่ ง รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครพนม คนท่ี 2 - คณุ ครูจนั ทร รัศมี ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม อ.เมือง จ.นครพนม - คณุ ครวู ัฒนศกั ด์ิ พัฒนภูทอง ครูชานาญการ โรงเรยี นเชยี งยืนวิทยา อ.ทา่ อุเทน จ.นครพนม กล่มุ ผ้ปู ฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ ผู้ควบคมุ ดแู ลฟ้อนหางยูง โรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม จานวน 2 คน - คุณครนู วธร นนท์คาวงค์ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นนครพนมวิทยาคม อ.เมือง จ.นครพนม - คณุ ครบู ญุ พร บุญคา คุณครูประจาโรงเรียนนครพนมวทิ ยาคม อ.เมอื ง จ.นครพนม นักแสดงฟ้อนหางนกยงู โรงเรียนนครพนมวิทยาคม จานวน 20 คน กลมุ่ ผสู้ นบั สนนุ ไดแ้ ก่ ประชากรทัว่ ไป จานวน 20 คน

78 2.วิธดี าเนนิ การวิจยั ในการวจิ ัยเรอื่ ง ฟ้อนหางนกยูง : อตั ลักษณว์ ฒั นธรรมและกระบวนการประดิษฐ์สรา้ ง ศลิ ปะการแสดงในประเพณอี อกพรรษาบชู าพระธาตุพนม ผวู้ จิ ัยไดใ้ ช้วิธีการดาเนินงานวิจัย ดงั ต่อไปนี้ 1.เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยดาเนินการสร้างเครื่องมือตามลาดบั คอื ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง กาหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจยั สร้างเคร่อื งมือในการวิจัยเบ้ืองต้น นาเสนอเคร่ืองมือในการวจิ ยั กบั อาจารย์ควบคุมวิทยานพิ นธต์ รวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข ตลอดจนนาเสนอผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบความ ถกู ต้องด้านโครงสร้าง และความตรงด้านเนื้อหา ตลอดจนความเหมาะสมของภาษาและการใชถ้ อ้ ยคา ซ่ึงได้เครอื่ งมอื ในการวจิ ัย ดงั นี้ 1.แบบสมั ภาษณ์ชนดิ มโี ครงสร้าง จะใช้สัมภาษณ์กลุ่มบุคลากร ประเภทกลุ่มผูน้ าใน การจดั การ กลุ่มผู้รแู้ ละกลุ่มผรู้ ว่ ม 2. แบบสัมภาษณช์ นดิ ท่ีไม่มโี ครงสร้าง จะใชส้ มั ภาษณ์กลุ่มผู้นา กลมุ่ ผู้รู้ ในการดาเนนิ การในแต่ละกลุ่มท่จี ดั การฟอ้ น 3.แบบสงั เกตชนิดมีไมม่ ีสว่ นร่วม ใชใ้ นการสงั เกตบุคลากร กลุม่ ผู้นา กลมุ่ ผรู้ ว่ ม 4.วัสดุอุปกรณท์ ี่ใชป้ ระกอบเคร่ืองมือในการวจิ ยั คือ - กล้องถา่ ยรปู เพอื่ บันทกึ ภาพประกอบในงานวิจัย - สมดุ บนั ทกึ เพ่ือบนั ทึกเหตุการณ์ประกอบขอ้ มูลภาคสนามใหส้ มบรู ณ์ ยิง่ ขึ้น 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจยั ได้ใช้หลกั การเก็บข้อมลู ท่ีมีลักษณะสอดคลอ้ งกบั ความมุ่งหมายของการวิจยั และสามารถตอบคาถามของการวิจยั ได้ตามท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงมีวิธกี ารเกบ็ ข้อมลู ดงั นี้ 1.การเก็บรวบรวมข้อมลู เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้องกบั ฟ้อนหางนกยูงในดา้ น ตา่ ง ๆ ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กี่ยวกับพน้ื ที่ในการทาการวจิ ยั ตลอดจนศึกษาเอกสารและแนวคิดทฤษฎตี ่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง 2.การเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ัยไดใ้ ชว้ ิธสี ารวจ สงั เกต สัมภาษณ์ และสนทนา อย่างใกล้ชดิ เพื่อทีจ่ ะได้ตรวจสอบขอ้ มูลที่สมบูรณ์ตรงกับข้อเทจ็ จรงิ มากข้นึ

79 3.การสารวจ ผวู้ จิ ัยใชว้ ธิ ีการสารวจขอ้ มูลเบื้องต้นจากบุคคลท่วั ไปท้ังภายในพื้นที่ และนอกพน้ื ท่วี จิ ยั 4.การสังเกต แบ่งออกเป็น - สังเกตแบบมีส่วนรว่ ม ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ขา้ รว่ มฝึกซอ้ มกระบวนท่าฟ้อนผูห้ างนกยูง ณ โรงเรียนนครพนมวทิ ยาคม จังหวดั นครพนม ทาให้ทราบถึง กระบวนท่าฟ้อน และองค์ประกอบของ ฟอ้ น - สังเกตแบบไม่มสี ว่ นรว่ ม ผู้วจิ ยั ได้สังเกตรปู แบบการฟอ้ นหางนกยูง ในประเพณี ออกพรรษา พิธฟี ้อนบชู าพระธาตุพนม ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม 5.การสัมภาษณ์ แบ่งออกได้ดงั นี้ - การสัมภาษณแ์ บบมโี ครงสร้าง ผ้วู ิจยั สัมภาษณ์ตามแบบสมั ภาษณ์ โดย สัมภาษณก์ ลุ่มเป้าหมาย สมั ภาษณ์ผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องในการฟอ้ นหางนกยูงตามพ้นื ที่ ทีก่ าหนด - สัมภาษณแ์ บบไม่มีโครงสร้าง ผู้วิจัยสมั ภาษณแ์ บบเปดิ กว้างไมจ่ ากัดขอบเขต เพ่ือจบั ประเดน็ แล้วตคี วาม หาคาตอบในเรอ่ื งการการฟ้อนหางนกยูง 6.การสนทนา ผวู้ จิ ยั เข้ารว่ มสนทนากับผู้ฟ้อน และผู้ที่ทีสว่ นร่วมในการแสดง จาก อดตี จนถึงปัจจบุ ัน เพอ่ื หาคาตอบในเร่ืองการเปลย่ี นแปลงทา่ ฟ้อน 3. การจดั ทาข้อมลู ผู้วิจัยได้นาข้อมูลท่ีได้จากเอกสารและข้อมูลจากภาคสนาม โดยแยกตามความมุ่ง หมายของการวจิ ยั มาจัดทาขอ้ มลู ดงั น้ี 1.นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากเอกสารต่าง ๆ มาศึกษาอย่างละเอียดพร้อมจัด หมวดหมู่ 2.นาข้อมูลจากภาคสนามที่เก็บรวบรวมได้ มาจัดหมวดหมู่และสรุปสาระสาคัญตาม ประเดน็ 3.นาข้อมูลท้ังจากเอกสารและจากภาคสนามท่ีได้จัดหมวดหมู่ไว้แล้วน้ัน มา ตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบูรณ์

80 4.การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการการวเิ คราะหข์ ้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัยโดยการนา ข้อมูลท่ีได้จากการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารและจากข้อมลู ภาคสนามท่ีไดจ้ ากการเกต สมั ภาษณ์ การสนทนา มาทาการวิเคราะหโ์ ดยมีข้ันตอนดงั น้ี 1. ตรวจสอบขอ้ มูลทส่ี มั ภาษณจ์ ากกลุ่มประชากร 2. นาขอ้ มูลท่ีไดม้ าจัดหมวดหมู่ 3. สรปุ และวเิ คราะห์ข้อมลู แต่ละกลมุ่ จากเครื่องมือ 4. นาขอ้ มลู ที่ไดม้ าเรยี บเรียงตามความมุ่งหมาย 5.การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ผ้วู จิ ัยนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยเรยี บเรยี งผลการวิเคราะหข์ ้อมูลตามความ ม่งุ หมายท่ีกาหนด โดยใชก้ ารนาเสนอในลักษณะเชิงพรรณนาวิเคราะห์

81 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิจัยเรื่องฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงใน ประเพณอี อกพรรษาบชู าพระธาตุพนม ผวู้ จิ ัยไดเ้ สนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู เพ่ือใหเ้ ป็นไปตามความมุ่ง หมายของการวจิ ยั ตามลาดับขั้นตอนดังนี้ 1. เพอื่ ศึกษาอัตลักษณว์ ฒั นธรรม ความเป็นมาของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณอี อกพรรษา ณ วดั พระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม 2. เพื่อศึกษากระบวนการประดษิ ฐส์ รา้ งของศลิ ปะการแสดง ชดุ ฟอ้ นหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในด้านองค์ประกอบที่ สาคญั ได้แก่ แนวความคดิ ในการประดษิ ฐส์ รา้ งชุดการแสดง รูปแบบการแสดง ลลี าท่ารา เคร่ืองดนตรี ประกอบ เครอ่ื งแตง่ กาย และอปุ กรณป์ ระกอบการแสดง 1. อตั ลักษณว์ ัฒนธรรมความเปน็ มาของศิลปะการแสดง ชดุ ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณอี อก พรรษา ณ วดั พระธาตุพนม อาเภอธาตพุ นม จังหวัดนครพนม ปูชนยี สถานเปน็ สถานท่ีสาคัญในการเคารพบชู าสักการะของพุทธศาสนิกชนท่ีศรัทธาในพุทธ ศาสนา เป็นศูนยร์ วมจติ ใจของพทุ ธศาสนิกชน ชจงึ เกดิ การรวมตัวกันเพื่อแสดงพลังศรัทธาด้วยการ เคารพบูชา การจดั สมโภชเปน็ การแสดงตา่ ง ๆ เพ่ือบชู าเช่นเดียวกบั พุทธศาสนิกชนสองฝัง่ โขงทง้ั ฝ่งั ไทยและฝั่งลาวที่มคี วามเคารพและศรทั ธาในองค์พระธาตุพนมและยงั เปน็ ศนู ยร์ วมใจยึดม่นั ศรทั ธาใน พระพุทธศาสนาของพุทธศาสนกิ ชนสองฝyjงโขงอยา่ งไม่เสื่อมคลาย ดงั น้ันจึงตอ้ งศกึ ษาใจความสาคญั ขององค์พระธาตุพนม ดังน้ี 1.1ประวัตคิ วามเปน็ มาวดั พระธาตุพนม อาเภอธาตพุ นม จังหวัดนครพนม 1.1.1 ประวตั พิ ระธาตพุ นม มีปรากฏในตานานอุรังคนิทานเน่ืองจากเปน็ การ บนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรทเ่ี กย่ี วกบั พระ ธาตุพนมที่เก่าแก่ที่สุดในการบันทึกหากแต่อุรังคธาตุ มีการ นาเอาอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์เข้ามาเพ่ือให้ เกิดความเลื่อมใสแต่งเติมให้เกิดความเช่ือถือมากขึ้นในการนามา อธิบายความเป็นมาต่าง ๆ ขององค์ พระธาตุพนมบางส่วนนนั้ จงึ เป็นไปตามความนยิ มของมนุษยท์ ่ีชอบ ความพศิ ดารเหนอื ธรรมชาติ