182 การนาวงโปงลางมาใช้บรรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยูงนี้ เร่ิมใช้บรรเลงตั้งแต่ปี 2530จนถึงปัจจุบัน โดยมีนายพิชัย คาสิงห์ ซ่ึงเป็นผู้มีความสามารถในการบรรเลงดนตรี พื้นเมือง อีสานได้ทุกชนิด ได้ริเร่ิมการนาวงโปงลางมาบรรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยูงในพิธี ฟ้อนบูชาพระ ธาตุพนม โดยได้บันทึกเทปการตีระนาค เพลงลาวแพน ของนายสุขี แล้วนามา ถ่ายทอดเป็นตัวโน้ต หลังจากนั้นจึงลองใช้บรรเลงกับเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน ซ่ึงถือว่าเป็น ความยากลาบากพอสมควร บางวรรคเพลงไม่สามารถใช้เคร่ืองดนตรีพื้นบ้านอีสานบรรเลงให้ตรงกบั ทานองเดมิ ได้ นายพิชัย จงึ ได้ ใชภ้ มู ปิ ญั ญาแตง่ ทานองเพิม่ เติมทาใหค้ นตรีท่ีใชบ้ รรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยูงนีม้ ีการผสน ผสาน ระหว่างทานองเพลงจากคนตรไี ทย คอื เพลงลาวแพน และลายเพลงจากคนตรีพน้ื เมือง เช่น ลายแคน ลอ่ งโขง และลายเซ้งิ ซง่ึ มีตัวโนต้ เพลงตอ่ ไปนี้ โน้ตเพลงประกอบการบรรเลงฟอ้ นหางนกยงู ท่อนท่ี 1 เกริน่ แคน ลายแคนล่องโขง ตาราง 4 ลายแคนลอ่ งโขง *ล ล ล ซ ฟ ซ ล ด ร ฟํ ซ ฟํ ร ด ล ซฟ ซล ด ร ร ร ท่อนที่ 2 บรรเลงประสมวง ทานองลาวแพน ตาราง 5 ลายลาวแพน **ล ดร รฟซ ฟรดร ลดล ซลดร รฟซํ ฟรํ ดร ร รฟํซ ฟํรดร ร **ล ดร รฟซ ฟรดร ลดล ซลดร ลดซ ลฟซล รฟว ลดซ ลฟซล ล ดรดล ลดซ ลฟซล ล ดรดล ซฟซ ฟรดร ร ลฟซล ซฟซ ฟรดร ร ดรดล ดรดล ลดซ ลฟซล รฟซ ลฟซล
183 ท่อนที่ 3 บรรเลงประสมวงลายทางส้นั หรือลายเซิ้ง ตาราง 6 ลายทางส้นั หรือลายเซิ้ง ***รฟซ ซ รฟซ ซ รฟซ ลฟ ลฟซ ซ รฟซ ลฟ ลฟซ ล ดด ลดซ รดฟ ล ดด ลด รดฟ ด ลด ดล ซฟว ซ รฟซ ลฟ ลฟซ รซ รฟซ ลฟ ลฟซ รซ รฟซ ลฟ ลฟซ รซ รฟซ ลซ ฟรด ด จากโนต้ เพลงท่ีแสดงขา้ งต้นซึ่งเปน็ โน้ตเพลงใชบ้ รรเลงประกอบการฟ้อนหางนกยงู ในท่อนที่ 1 ใช้ลายแคนลอ่ งโขง เพื่อสาหรบั ใหผ้ ้ฟู ้อนวงิ่ ซอยเทา้ ออกมาหนา้ เวที ทอ่ นที่ 2 ใช้ ทานองเพลงลาว แพน เพื่อให้ผู้ฟ้อนไดฟ้ ้อนตามกระบวนท่า ท่อนที่ 3 เพ่ือใหผ้ ฟู้ ้อนยา่ เท้าตามจงั หวะเดินเขา้ หลังเวที
184 2.7.อุปกรณท์ ่ีใช้ในการแสดง ในการฟ้อนหางนกยูงได้มีการนาเอาหางนกยูงมาประกอบการฟ้อนโดยมีความเชื่อว่า นกยงู เปน็ ราชินีของนกทั้งปวง ถูกยกยอ่ งให้เป็นสัตว์ท่มี ีความสงา่ งามโดยเฉพาะเม่อื เวลานกยูงตัวผู้รา แพนหางเพื่ออวดตัวเมีย นกยูงมักถูกนามาใช้เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานศิลปกรรมต่าง ๆ นอกเหนือจากความงดงามแล้ว นกยูงยังเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นมงคลต่าง ๆ โดยอาจมี ความหมายท่ีแตกต่างกันไปบ้างในแต่ละวัฒนธรรม ในแถบลุ่มน้าโขงน้ัน ความเช่ือเกี่ยวกับหางนกยูง เป็นความเชอื่ โบราณอย่างหนึ่งตามตานานราชินีแห่งนก “ขนนกยูง” อาภรณ์แห่งเทพยาดานกยูงเปน็ สัตวช์ ั้นสงู แสดงถึงความหรูหรา สง่างาม บางพ้ืนท่ีมีความเชอ่ื หลากหลาย ว่าเปน็ สัญลกั ษณแ์ หง่ ความ อมตะ นกยูงยังเป็นบริวารของเทพเจ้าผู้ย่ิงใหญ่ ที่ได้รับการถ่ายทอดมาต้ังแต่ครั้งอดีตและทั่วท้ัง อษุ าคเนย์ โดยมนี ักวชิ าการหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางกลา่ วถงึ ความเช่ือของหางนกยูงในแต่ละพน้ื ที่ไว้ ดงั นี้ ความเช่ือของนกยงู ในแต่ละประเทศ ชาวคริสต์เช่ือว่านกยูงเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นอมตะ ความเชื่อนี้มาจากชาวกรีกโรมัน โบราณที่เช่ือว่านกยูงจะไม่เน่าเปื่อยเมื่อเสียชีวิต และเนื่องจากนกยูงมีการผลัดขนหางทุกปี จึงทาให้ นกยูงยังเป็นสัญลักษณ์ของการฟ้ืนคืนชีพ นอกจากนี้ลวดลายบนขนหางนกยูงที่คล้ายดวงตา เปรียบเสมอื นกับสายพระเนตรของพระผู้เป็นเจ้าท่ีมองเหน็ ทุกส่ิงทุกอยา่ งบนโลกใบนี้ นกยูงเปน็ สตั ว์ท่ี มีความสาคัญในศาสนาคริสต์มาก เราจึงมักพบศิลปกรรมที่เกี่ยวกับนกยูงในโบสถ์คาทอลิกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรม ศิลปะโมเสก หรืองานปูนปั้น เป็นต้น (Elaine Jordan, 2012)เราจึงมักพบ ศิลปกรรมที่เก่ียวกับนกยูงในโบสถ์คาทอลิกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรม ศิลปะโมเสก หรืองานปูน ปั้น เป็นตน้ ชาวฮินดูเชื่อวา่ นกยูงเปน็ สัตว์ศักดิ์สิทธ์ิ เป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดี ความสูงส่ง และความ รัก ตามตานานนกยูงกาเนิดมาจากขนของพญาครุฑ นกยูงเป็นบริวารของเทพหลายองค์ เช่น พระ สรัสวดี พระกฤษณะ พระขันธกุมาร คนฮินดูจะนิยมเก็บขนนกยูงเอาไว้ในบ้านเชื่อว่าจะนาความ รุง่ เรืองมาให้ ในวัฒนธรรมของชาวเปอร์เซีย นกยูงเป็นสัญลักษณ์ท่ีบ่งบอกถึงความเป็นกษัตริย์และพลัง อานาจ โดยคตินี้ได้ถูกถ่ายทอดมาจากอินเดีย ในสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮันแห่งอินเดีย พระองค์ได้ทรงสร้างบัลลังค์นกยูงที่มีช่ือเสียงโด่งดังไปท่ัวโลกเพ่ือเป็นสัญลักษณ์แห่งกษัตริย์ และ
185 หลังจากน้ันบัลลังค์นี้ก็ได้ถูกขโมยไปโดยชาห์นาเดอร์ที่เป็นกษัตริย์แห่งเปอร์เซีย จึงทาให้สัญลักษณ์ ของนกยูงแพรห่ ลายขนึ้ ในหม่ชู าวเปอร์เซยี (Niki GAMM, 2014) ในตาราของชาวจีนโบราณได้มีการบรรยายความประพฤติที่น่าเอาเย่ยี งอย่างของนกยูงเอาไว้ 9 ประการ คือ 1.นกยูงเป็นสัตว์ท่ีสะอาดสะอ้าน 2.มีเสียงใสกังวาล 3.มีท่วงท่าการเดินท่ีสง่าและ สารวม , 4.มกี ารวางตวั ทเี่ หมาะสม 5.มวี ินยั ในการกินอาหารและการดื่มน้า 6.นกยงู เปน็ สตั วท์ ่ีสุขุม 7. นกยูงจะอยู่กันเป็นกลุ่มไม่แตกแยกออกไปจากฝูง 8.ไม่กระทาลามกอนาจาร 9.นกยูงจะกลับไปหา ครอบครัวทุกวัน ชาวจีนให้ความสาคัญกับนกยูงมาก นกยูงเป็นตัวแทนของความสูงศักดิ์ ในสมัย ราชวงศ์หมิง การประดับขนนกยงู ที่หมวกเป็นการแสดงถึงการมีพระยศที่สงู สง่ นอกจากน้ีนกยูงยังถือ ว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นบริวารของเจ้าแม่กวนอิม (สาโรจน์ มีวงษ์สม, 2554) นกยูงจึงกลายเป็น สัญลักษณ์ของความรักและความเมตตาของคนจีน จึงมีการนาเอาสัญลักษณ์ของนกยูงหรือหางของ นกยูงมาประดบั เพ่อื ช่วยสง่ เสริมในเรื่องของพลังความเชือ่ ต่าง ๆ และความรกั ในพระพุทธศาสนา ได้มีการกล่าวถึงนกยูงเอาไว้อยู่ในพระคาถา เรียกว่าคาถาโมรปริตร หรือ คาถายูงทอง ใช้ในการสวดเพ่ือช่วยในเร่ืองของการแคล้วคลาดจากภยันตราย จากตานานกล่าวว่า คร้ังหน่ึงพระพุทธเจ้าได้เคยเสวยชาติเป็นพญานกยูงทอง วันหน่ึงนกยูงได้เห็นเงาตนเองในผืนน้าว่า ตวั เองรูปงามซง่ึ อาจนาภยั มาสตู่ ัว จงึ อพยพเข้าไปอยู่บรเิ วณทิวเขาป่าหิมพานต์ เพอ่ื ป้องกันตัวเองจาก เภทภัยต่าง ๆ นกยูงจะเพ่งมองพระอาทิตย์แล้วเจริญโมรปริตรทุกเช้าค่า ก่อนและหลังไปหาอาหาร อยู่มาวันหนึ่งพระนางเขมาราชเทวี พระมเหสีพระเจ้าพรหมทัต ทรงพระสุบินเห็นพญานกยูงทองมา แสดงธรรม จงึ เอย่ ขอนกยูงทองกบั พระสวามี พระเจ้าพรหมทัตจึงส่ังให้พรานป่าออกตามหา แต่ก็ไม่มี ใครจับตัวมาได้ จนกระท่ังพระมเหสีส้ิน พระเจ้าพรหมทัตทรงอาฆาตแค้นนกยูง จึงกล่าวว่าถ้าใครได้ กนิ เนือ้ นกยงู ทองจะไม่แก่ไมต่ าย ทว่าหลงั จากผา่ นรชั กาลของพระองค์ถงึ ๖ รัชกาลก็ไมม่ ใี ครจับนกยูง ได้ จนมาถึงรัชกาลท่ี ๗ พรานป่าคนหนึ่งสังเกตพฤติกรรมของนกยูงทอง รู้ว่านกยูงจะสวดโมรปริตร ทุกวันเช้าเย็น พรานผู้น้ันจึงฝึกนกยูงสาวตัวหน่ึงออกไปย่ัวยวนนกยูงทอง นกยูงทองหลงเสน่ห์นกยูง สาวจนลืมสวดโมรปริตรทาให้พรานป่าจับตัวได้ นาไปส่งมอบแก่พระราชา ทว่าด้วยอานิสงส์ของพระ ปริตรท่ีภาวนาทุกวันทาให้พระราชาเกิดความเล่ือมใสและศรัทธา จึงปล่อยตัวพญานกยูงทองไปใน ที่สุด(สานักปฏิบัติธรรม นครพนม, n.d.) จึงถือว่า “นกยูง” เป็นสัตว์ช้ันสูงที่มีความเก่ียวพันกับ พระพทุ ธเจา้ ในพธิ ีกรรมต่าง ๆ จงึ ไดม้ ีการนาแพหางนกยงู มาเป็นส่วนหนึง่ ของเครื่องประกอบพิธีกรรม นอกจากน้ีในคัมภีร์ไตรภูมิโลกวนิ ิจฉยกถาไดอ้ ธิบายลักษณะโดยละเอียดของนกยูงทองนี้วา่ “ มีพรรณ อร่ามเรืองเหลืองเป็นสีทอง ระหว่างปีกทั้งสองนั้นวิจิตรไปด้วยสีแดงดังแสงชาดเนตรท้ังสองน้ันแดง ประหลาดแลดังผลมะกล่า จะงอยปากนัน้ แดงก่าดังสแี ก้วประพาฬ ดูไหนงามนน้ั ”
186 ดังนั้นจะสังเกตเห็นได้ว่า นกยูง เป็นสัตว์ที่คู่กับคติความเช่ือโบราณสืบเนื่องมาตั้งแต่ยุค ศาสนาด้ังเดิม เป็นตัวแทนของความสง่างามรุ่งโรจน์ มงคล และยังเป็นตัวแทนการปัดเป่า อวมงคล ด้วย และด้วยเหตุทน่ี กยงู มีหางสวยงาม เมอ่ื เวลาแพนหางก็มลี กั ษณะเปน็ รัศมี จึงมักมาเปน็ เครอื่ งบูชา ในศาสนา เพื่อสื่อถึงรัศมีบารมีท่ีแผ่ออกไป และนอกจากน้ันนกยูงยังเป็นตัวแทนความยิ่งใหญ่ของ กษัตริย์ได้อีกด้วย จึงจะเห็นได้ว่า ในสมัยโบราณ เคร่ืองประกอบเกี่ยวกับกษัตริย์มากมาย จึงมี สัญลักษณ์ของนกยงู ท้ังใน ดนิ แดน สบิ สองปันนา ดนิ แดนพมา่ ลา้ นนา ลา้ นช้าง หรือแม้แต่อาณาจักร ไทยเอง ตัวอย่างเช่น นางมยุรฉัตร ในพิธีสาคัญท่ีเป็นผู้เชิญพุ่มพัดหางนกยูงนาหน้าขบวนในพระราช พิธีโสกันต์ หรือการใช้หาง นกยูงเป็นสัญญาณในการเดินทางเคลื่อนขวบวนไม่ว่าจะเป็นทางชลมาตร หรือสถลมาตร หรอื แม้แต่ เรือ พระท่ีน่งั ก็ยังทรงเป็นเรอื สพุ รรณหงส์ท่หี มายถงึ นกยูงเป็นสาคญั ในการฟอ้ นหางนกยูง ทใ่ี ช้ในการฟอ้ นเพ่ือสักการะบูชาองค์พระธาตุพนม ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ได้ปรากฏการแสดงท่ีนาเอาหางของนกยูงมาเป็นอุปกรณ์ในการ ประกอบการฟ้อนและมีท่วงท่าลีลาท่ีแสดงให้เห็นถึงการเลียนแบบกิริยาของนกยูง การใช้หางนกยูง แทนอาวุธ รวมไปถึงท่าท่างในการปัดเป่าสิ่งอวมงคลออกจากตัว จากการศึกษาตานานอุรังคนิทาน หรืออุรังคธาตุท่ีเขียนขึ้นโดย พระธรรมราชานวุ ตั ร แกว้ อุทุมมาลา ก็ไดม้ กี ารกลา่ วไวใ้ นบทพระธาตุทา ปาฏิหาริย์ หลังจากพระอนิ ทร์ได้อัญเชิญพระอุรังคธาตขุ องพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานในอุโมงค์ ภายในพระ เจดีย์เป็นท่ีอนุโมทนาสาธุแก้เหล่าเทวดาครั้งนั้นพระอุรังคธาตุเสด็จออกมาทาปาฏิหาริย์ เทวดาทั้งหลายมี ความช่ืนชมยินดียิ่งนัก ในเวลาน้ีเองท่ีเกิดตานาน ราหางนกยูงและราบูชาพระธาตุ พนมประจาปี(บญุ พร บญุ คา. 2562 : สัมภาษณ)์ ความว่าเทวดาท้ังหลายมีความชนื่ ชมยินดียิง่ นกั จัง ส่งเสียงสขู นึ้ ถึงมีตลอดท่ัวบรเิ วณนคร คนธรรพ์ท้ังหลายประโคมดว้ ยดรุ ยิ ครตรวี ัสสวลาหกเทวบุตรพา เอาบริวารนาเอาหางนกยูง เข้าไปฟ้อนถวาย บูชาท้ังหลาย ลางหมู่ขบั ลางหม่ดู ดี ี สี ตี เปา่ นางเทวดา ท้ังหลายถือหางนกยูง ฟ้อน และขับร้องถวาย บูชา แสดงให้เห็นว่าการราหางนกยูงนี้เป็นการราแบบ โบราณ ท่มี มี านาน เปน็ การปดั เป่า สงิ่ ชวั่ ร้าย และสร้างมงคล และยงั เป็นการบูชาอีกด้วยจากคติการ ใช้หางนกยูงปัดเป่า สิ่งช่ัวร้าย สร้างมงคลน้ี ยัง สอดคล้องกับความเช่ือ เกี่ยวกับ ตานาณ (ตานาณ หมายถึง เครอ่ื งปอ้ งกัน) โมระปรติ ต์ อันเป็นความเช่ือ โบราณแถบลุม่ นา้ โขง จากความสง่างามและความหมายอันเป็นมงคลของนกยูง จึงเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นัก ประดิษฐ์สร้างหรือนักสรา้ งสรรค์ผลงานทางด้านต่าง ๆ รวมท้ังด้านการแสดงนาเอานกยูงมาออกแบบ เป็นชิ้นงานรวมไปถึงการนาเอาสัญญะหรือหางของนกยงู นามาประกอบสรา้ งเปน็ การแสดงและนาหาง ของนกยูงมาร่วมเป็นสว่ นหน่งึ ในการแสดง
187 ภาพประกอบ 90หางนกยูงท่ีใช้ในการแสดงฟ้อนหางนกยงู ในพิธีฟ้อนบชู าพระธาตุพนม ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการแสดงฟอ้ นหางนกยูงประกอบด้วย - หางนกยูงความยาวขนาด 80 – 100 เซนตเิ มตร - ทอ่ พลาสตกิ ขนาดพอดีมือ - ผา้ สี หรอื เทปกาวสี ในกระบวนการทาอุปกรณท์ ี่ใช้ในการแสดงผู้แสดงจะต้องถือหางนกยูงคนละ 2 กามอื โดยให้ หางนกยูงมัดเป็นกาพอดีมือ เรียงลาดับหางและแววให้สวย ด้ามจับใช้ผ้าด้ินทองหรือผ้ามันพันหุ้มให้ สวยงามซ่ึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการฟ้อนหางนกยูงซ่ึงเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญของการฟ้อนหางนกยูง ผู้แสดง หรอื ผู้ฟ้อน 1 คน จะใช้หางนกยงู จานวน 2 กา จานวนของก้านแต่ละกามีจานวน 15 – 20 ก้านต่อกา โดยมัดรวมกันเป็นกา โดยหางนกยูงท่ีใช้เป็นอุปกรณ์ในการแสดงนั้นจะมีความยาวอยู่ที่ 80 – 100 เซนตเิ มตร หรือตามความเหมาะสมของการแสดง จากการศึกษากระบวนการประดษิ ฐส์ ร้างศิลปะการแสดงชดุ ฟ้อนหางนกยงู ในประเพณีออก พรรษาของชาวจงั หวัดนครพนมในด้านขององค์ประกอบท่ีสาคญั ได้แก่ แนวคดิ ในการประดษิ ฐส์ รา้ ศลิ ปะการแสดง รูปแบบการแสดง กระบวนการเคล่อื นไหว ท่าฟ้อน เคร่อื งแต่งกาย ดนตรี และ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการแสดงทาให้ผู้วิจัยพบว่าอัตลักษณ์วฒั นธรรมของศลิ ปะการแสดงฟ้อนหางนกยงู ที่ ฟอ้ นในพธิ กี รรมฟ้อนบูชาพระธาตพุ นมมีปรากฏอยู่ใน ทา่ ฟ้อน เคร่อื งแต่งกาย และดนตรีที่ใช้ ประกอบการฟอ้ น
188 ภาพประกอบ 91 แผนผังองค์ประกอบฟ้อนหางนกยูง ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค
189 ฟ้อนหางนกยูงมีอัตลักษณ์สาคัญทางวัฒนธรรมท่ีพบจากการแต่งกายท่ีบ่งบอกถึงวัฒนธรรม ของชาวอีสานที่แต่งกายด้วยเส้ือแขนกระบอก นุ่งผ้าซิ่นยาว ห่มสไบ อันเป็นอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึง ความเป็นคนอีสาน อีกทั้งท่าราท่ีนามาแสดงจะมีท่วงท่าท่ีสง่างามเหมือนนกยูงร่อนลงมาอวดโฉม ฟอ้ นหางนกยงู เปน็ นาฎกรรมในพิธกี รรมการฟ้อนบูชาพระธาตุพระพนม และยังคงปฎิบตั ิเปน็ ประเพณี มาจนถึงทกุ วนั นี้ แสดงใหเ้ ห็นถึงความเข้มแขง็ ของวัฒนธรรมที่มมี ีพลวัตมาตามยคุ ตามสมยั ที่มีรากของ ความศรัทธาความเช่ือในพระพุทธศาสนาเป็นเคร่ืองผูกโยงตลอดจนเปน็ วัฒนธรรมตามเวลาท่แี สดงให้ เห็นถงึ การยอมรบั ของวัฒนธรรมของชมุ ชน จากการศึกษาประวตั ิความเป็นมาของฟ้อนหางนกยูงต้ังแต่ยคุ ท่ี 1 พบว่าฟ้อนหางนกยูงมตี ้น กาเนิดจากท่าราดาบ รากระบ่ีกระบอง ท่ปี ระดษิ ฐส์ ร้างขึ้นโดย นายพนั เหมหงส์ และได้มีการ ปรับปรงุ ใชน้ าฏศลิ ป์ไทยเขา้ มาใชใ้ นยคุ ที่ 2 โดยนางเกษมสุข สุวรรณธรรมา ผวู้ ิจยั จังนาท่าฟ้อนดาบ ราแม่บทและท่าฟ้อนหางนกยูงในปัจจุบันมาวิเคราะหด์ ังนี้
190 ภาพประกอบ 92 ท่านกยงู ร่อนออกกบั ท่าอนิ ทรียท์ ือเทียนถ่อมถา้ ที่มา : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่านกยูงรอ่ นออกที่ใชเ้ รียกในปัจจบุ ัน ลักษณะของ กระบวนท่าฟ้อนเหมือนกันกับท่าอินทรีย์ทือเทียนถ่อมถ้าของท่าฟ้อนดาบเป็นท่าฟ้อนที่เลียนแบบ กิริยาอาการของนกท่ีกาลังร่อนลงมาสู่พื้นดิน เห็นได้ว่าท่าฟ้อนหางนกยูงได้มีพัฒนาการมาจากท่า ฟ้อนดาบและได้มีการปรับปรุงสร้างสรรค์ใหม่ให้เป็นแบบฉบับเฉพาะของฟ้อนหางนกยูงจังหวัด นครพนม
191 ภาพประกอบ 93 ท่ายูงราแพนกับทา่ กาแพงเพ็กดินแตก ท่มี า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่ายูงราแพนที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ลักษณะของ กระบวนท่าฟ้อนเหมือนกันกับท่ากาแพงเพ็กดินแตกของท่าฟ้อนดาบเป็นท่าฟ้อนท่ีเลียนแบบกิริยา อาการของนกท่ีกาลงั ร่อนลงมาสู่พนื้ ดิน เห็นไดว้ ่าท่าฟ้อนหางนกยูงได้มีพฒั นาการมาจากท่าฟ้อนดาบ และได้มกี ารปรับปรุงสร้างสรรค์ใหม่ใหเ้ ป็นแบบฉบับเฉพาะของฟ้อนหางนกยงู จงั หวัดนครพนม
192 ภาพประกอบ 94 ท่าราแพนปักหลกั กับทา่ ช้างงานทอกตวงเต็ก ท่ีมา : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะของกระบวนท่าฟ้อนหางนกยูงท่าราแพนปักหลัก มีลักษณะของท่าฟ้อน เหมือนกันกับท่าช้างงานทอกตวงเต็กของท่าฟ้อนดาบเป็นท่าฟ้อนท่ีเลียนแ บบกิริยาอาการของสัตว์ เห็นได้ว่าลักษณะท่าฟ้อนมีลักษณะคล้ายกันคือ การนาเอาด้ามอุปกรณ์ต้ังลงบนพ้ืนมีการปรับปรุงใน ลักษณะของลีลาในการฟ้อนซ่ึงการฟ้อนหางนกยูงจะเป็นการฟ้อนท่ีปรับปรุงเพื่อให้มีความสวยงาม และเหมาะกับสตรีในภมู ิภาคแถบอีสาน
193 ภาพประกอบ 95 ท่ายงู พสิ มัยกบั ท่าปลาต้อนหาดเหนิ เหียร ทีม่ า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะทา่ ฟ้อนหางนกยงู ในทา่ ยูงพิสมยั มลี กั ษณะกระบวนท่าคลา้ ยกบั ทา่ ปลาต้อน หาดเหินเหียรในฟ้อนดาบเป็นท่าฟ้อนท่ีแสดงลักษณะของวิถีชีวิตการทามาหากินของชาวบ้านในชีวิต จริง จะเห็นได้ว่ากระบวนท่าฟ้อนมีการปรับปรุงในลักษณะของการนั่งและการใช้จังหวะตัวแต่ยังคง ความเหมือนกค็ ือการนาเอาอปุ กรณ์ลากผา่ นหนา้ ไปมาเพ่ือให้เกิดความพลวิ้ ไหวและความอ่อนชอ้ ย
194 ภาพประกอบ 96 ท่ายงู ฟ้อนหางกบั ทา่ กอดแยง ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะท่าฟ้อนหางนกยูงในท่ายูงฟ้อนหาง มีลักษณะกระบวนท่าคล้ายกับท่ากอด แยงในทา่ ฟอ้ นดาบทแี่ สดงลักษณะของการป้องกันตัวหรอื การเอาตัวรอดจากศัตรูของนกั รบ จะเหน็ ได้ ว่ากระบวนท่าฟ้อนมีการปรับปรุงในลักษณะของการใช้ร่างกายและการใช้จังหวะของเท้ าแต่ยังคง ลักษณะท่าท่ีคล้ายกันคือการเอาอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงกอดเข้าหาตัวเองแทงไปข้างหลัง ฟ้อนหาง นกยงู ไดถ้ ูกปรับปรงุ ท่าฟอ้ นเพื่อใหเ้ กดิ ความสวยงามในการแสดง
195 ภาพประกอบ 97 ทา่ ยูงลาแพนซุม้ กบั ท่าชา้ งงานบานเดินอาจ ที่มา : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่ายูงราแพนซุ้มที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ลักษณะของ กระบวนท่าฟ้อนเหมือนกันกับท่าช้างงาบานเดินอาจของท่าฟ้อนดาบเป็นท่าฟ้อนท่ีเลียนแบบกิริยา อาการในการเดินเย้ืองย่างของสัตว์โดยท้ังสองมีลักษณะคล้ายกันในการถืออุปกรณ์ในกา รแสดงและ การเดินย่าเท้าแบบเดียวกัน จะเห็นได้ว่าท่าฟ้อนหางนกยูงได้มีพัฒนาการมาจากท่าฟ้อนดาบและไดม้ ี การปรับปรุงสร้างสรรคใ์ หม่ให้เปน็ แบบฉบบั เฉพาะของฟ้อนหางนกยูงจังหวดั นครพนม
196 ภาพประกอบ 98 ท่ายงู ปัดรังควานกับทา่ สางลายเดนิ เกล้ยี วกลอ่ ม ทม่ี า : ศุภกร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่ายูงปัดรังควานท่ีใช้เรียกในปัจจุบัน ลักษณะของ กระบวนท่าฟ้อนเหมือนกนั กับท่าสางลายเดนิ เกล้ียวกล่อมของท่าฟ้อนดาบเป็นทา่ ฟ้อนท่ีมลี ักษณะปัด เป่าสิ่งอวมงคลโดยทั้งสองมลี ักษณะคล้ายกันในการถืออุปกรณ์ในการแสดงปัดเข้าออกและการเดินย่า เท้าแบบเดียวกัน จะเห็นได้ว่าท่าฟ้อนหางนกยูงได้มีพัฒนาการมาจากท่าฟ้อนดาบและได้มีการ ปรบั ปรุงสร้างสรรคใ์ หมใ่ หเ้ ปน็ แบบฉบับเฉพาะของฟ้อนหางนกยูงจงั หวัดนครพนม
197 ภาพประกอบ 99 ท่ายูงเหินฟ้าและท่าแซวซดู น้าบินเหิน ทม่ี า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่ายูงเหินฟ้าที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ลักษณะของ กระบวนท่าฟ้อนเหมือนกันกับท่าแซวซูดน้าบินเหนิ ของท่าฟ้อนดาบเปน็ ท่าฟ้อนที่มลี ักษณะเลียนแบบ กิริยาอาการของนกท่ีบนิ เหนิ อย่เู หนืออากาศหรือเหินลอยอยบู่ นผวิ น้าโดยทั้งสองมีลักษณะคล้ายกันใน การถืออุปกรณ์ในการแสดงเลียบไปตามพ้ืนผิวแต่การเดินย่าเท้ามีความแตกต่างกัน จะเห็นได้ว่าท่า ฟ้อนหางนกยงู ไดม้ ีพฒั นาการมาจากท่าฟ้อนดาบและได้มีการปรับปรุงสร้างสรรคใ์ หม่ใหเ้ ป็นแบบฉบับ เฉพาะของฟ้อนหางนกยูงจังหวัดนครพนม
198 ภาพประกอบ 100 ทา่ ไหว้ครูและทา่ เทพพนม ทมี่ า : ศภุ กร ฉลองภาค ลักษณะของท่าฟ้อนหางนกยูงในท่าไหวค้ รทู ใ่ี ชเ้ รยี กในปจั จุบนั ลกั ษณะของกระบวน ท่าฟ้อนเหมือนกันกับท่าเทพพนมของท่าแม่บทในนาฏศิลป์ไทยเป็นท่าราท่ีมีลักษณะพนมมือไหว้ ระดับอกและน่ังในท่าเทพธิดา เทพบุตร โดยทั้งสองมีลักษณะคล้ายกันในการไหว้เพ่ือส่ือให้เห็นการ เคารพบูชาตามแต่ละโอกาสของแสดง จะเห็นได้ว่าท่าฟ้อนหางนกยูงได้มีพัฒนาการมาจากนาฏศิลป์ ไทยและได้มกี ารปรับปรุงสร้างสรรค์ใหม่ให้เป็นแบบฉบบั เฉพาะของฟ้อนหางนกยงู จังหวัดนครพนม
199 ฟ้อนหางนกยูงมีปรากฏทั่วภูมิภาคในแต่ละท้องถ่ินของประเทศไทยซึ่งเป็นการไหลผ่าน ทางวัฒนธรรมในแถบของอุษาคเนย์ที่เชื่อในเรืองของนกยูงที่เป็นราชินีแห่งนกตามตาราที่เล่าขานสืบ ต่อกนั มาจึงเกดิ มกี ารนาเอากางนกยงู มาประดิษฐส์ ร้าเปน็ ชดุ การแสดงตา่ ง ๆ ในแตล่ ะภมู ิภาคและแฝง คตคิ วามเช่ือในด้านของการกอ่ ให้เกิดความเป็นสริ ิมงคล จาการศึกษาฟ้อนหางนกยูงได้ทาการผู้วิจัยได้ศึกษาท่าฟ้อนจากผู้สืบทอดต่อ แม่เกษม สุข สุวรรณธรรมา คือ นางจันทร รัศมี ครูชานาญการพิเศษโรงเรียนนครพนมวิทยาคม จังหวัด นครพนม ซ่งึ ไดเ้ ปน็ ผฝู้ ึกซ้อมและควบคุมฟ้อนหางนกยูงในการแสดงฟอ้ นบชู าพระธาตุพนมในทุก ๆ ปี จากการศึกษาพบว่า ฟ้อนหางนกยูงได้มีการปรับเปล่ียนไปตามสภาพของสังคมวัฒนธรรมและให้ง่าย ต่อการใช้งานและให้ผู้ท่ีมีสนใจได้เข้าถึงฟ้อนหางนกยูงได้ง่ายต่อการนาไปใชใ้ นโอกาสต่าง ๆ ซ่ึงถือว่า เป็นผลดีต่อการอนรุ ักษ์และรักษาศิลปะการแสดงฟ้อนหางนกยงู ของจังหวัดนครพนมท่เี ป็นวฒั นธรรม เฉพาะท้องถ่ินของชาวนครพนมที่จะนาไปเข้าร่วมพิธีกรรมฟ้อนบูชาพระธาตุพนม ในประเพณีออก พรรษา ณ วดั พระธาตุพนม อาเภอธาตพุ นม จังหวัดนครพนม ในทุก ๆ ปี ภาพประกอบ 101 การแตง่ กายยุคที่ 3 ทมี่ า : ศภุ กร ฉลองภาค
200 องคป์ ระกอบของเคร่ืองแตง่ กาย 1. ดอกไมป้ ระดบั ศรี ษะ 2. ตา่ งหสู ีเงนิ 3. สร้อยสเี งนิ 4. เขม็ กลัดประดบั อก 5. สไบสีเขยี ว 6. เสอื้ แขนกระบอกสีเขยี ว 7. เข็มขัดสเี งิน 8. ผ้าถุงสีเขยี ว 9. กาไลสีเงนิ การแต่งกายในปัจจุบันยังคงนิยมแต่งกายแบบพ้ืนบ้านอีสานในแบบดั้งเดิมคือสวมเส้ือ แขนกระบอก คอกลม หรือ คอจีน นุ่งผ้าซ่ินสีเขียวสด หรือผ้าพ้ืนสีเขียวต่อตีนซ่ิน (เวลาสวมเก็บ ชายเสื้อเข้าในผ้าถุง แล้วใช้ผ้าคาดทับ) ผ้าสไบใช้ห่มเฉียงบ่า ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้ สวม เครื่องประดับเงิน เช่น ต่างหู สร้อย และกาไลแขน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมการแต่งกายที่มีมาตัง้ แต่อดีตใน วิถีของคนอีสาน การแต่งกายของฟ้อนหางนกยูงในปัจจุบันได้มีการปรับเปล่ียนให้เป็นสีเขียวท้ังชุด โดยทางผู้ให้ข้อมูลได้ให้ข้อมูลไว้วา่ ทางจังหวัดมีนโยบายให้ทาการปรับเปล่ียนเคร่ืองแต่งกายของการ ฟ้อนหางนกยูงในพิธีฟ้อนบูชาพระธาตุพนมใหม่เพื่อให้การแต่งกายของผู้ฟ้อนสอดคล้องกับแววของ หางนกยูงที่ใช้ในการฟ้อนและนิยมใช้วัตถุดิบท่ีมีต้นทุนไม่สูงมากหาได้ง่ายตามท้องตลาดเพื่อเป็นการ ลดต้นทุนและให้เกิดการสร้างตวั ตนให้เป็นอัตลกั ษณ์เฉพาะของท้องถน่ิ นครพนม ส่วนการแต่งกายในการแสดงชดุ ฟ้อนหางนกยูง ที่ใช้ฟ้อนในพิธีกรรมการฟ้อนบูชาพระ ธาตุพนมยังคงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในการสวมใส่เคร่ืองแต่งกายในแบบพ้ืนบ้านเป็นอีสานในแบบ เฉพาะทเี่ ปน็ ตวั ตนของการฟ้อนหางนกยูงโดยจะพบเหน็ ไดจ้ ากองคป์ ระกอบหลักของเครื่องแต่งกายใน แต่ละส่วนแต่ด้วยยุคสมัยที่มีเทคโนโลยีที่ล้าสมัยเข้ามาช่วยให้ง่ายต่อการใช้งานและหาได้ง่ายตาม ท้องถ่ิน การแต่งกายในปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาไปตามเทคโนโลยีของส่ิงทอแต่ยังคงใช้คติความเช่ือ โดยการให้สีของเครื่องแต่งกายก็คือสีเขียวท่ีเป็นสีของแววหางนกยูงอันเป็นส่วนหน่ึงที่แฝงอยู่ องค์ประกอบของการออกแบบเครื่องแต่งกายของฟ้อนหางนกยูงท่ีมีทัศนะและแนวคิดสร้างสรรค์จน ทาให้เกิด “สุนทรียะ” ในศิลปะการแสดงชุด ฟ้อนหางนกยูงจึงเป็นการแต่งกายท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะ และผสานกบั วัฒนธรรมทม่ี มี าแตด่ ง้ั เดิมรวมไปถึงวัฒนธรรมความเช่ือทนี่ ามาผนวกกับการใหส้ ีของการ แต่งกาย
201 นอกจากนี้ดนตรีที่ใช้ในการแสดงเป็นวงดนตรีพื้นบ้านอีสานหรือที่เรียกกันในปัจจบุ นั ว่า วงโปงลาง และดาเนินทานองเพลงในลายล่องโขง ลายลาวแพน และลายเซ้ิงซึ่งมีท่วงทานองท่ีมีอัต ลกั ษณ์ของคนอสี านที่ให้ความหมายถึงความรักและความผูกพันของพีน่ ้องนนั่ เอง โดยเฉพาะเสยี งแคน ทเี่ ป่าลายตา่ ง ๆ ที่มมี นตเ์ สนห่ ์ ไพเราะ และมจี ติ วญิ ญาณของชาติพันธ์ลุ าวประดจุ เสยี งแห่งชีวิตผสาน กับเครื่องดนตรีตา่ ง ๆ ที่ร่วมบรรเลงจนเกิดเสียงท่ีมีแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของเสียงเพลงอีสานผา่ น ลายเพลง ลาวแพน จากการศึกษาพบว่า ลาวแพน มีต้นเค้ามาจากการฟ้อนของชาวพ้ืนเมืองทางภาค อสี านที่เรยี กว่า \"ฟอ้ นแพน\" คือการราฟอ้ นเลียนแบบนกยงู ทีก่ าลงั แพนหางหรือคลห่ี างกางออกมาเป็น รูปพัดสวยงาม ผู้ฟ้อนจะแต่งกายเลียนแบบนกยูงด้วย และทานองเพลงท่ีใช้ร้องหรือเป่าแคน ประกอบการฟ้อนแพนน้ันมีสาเนียงลาวปนอยู่ จึงเรียกเพลงน้ันว่า \"ลาวแพน\" และด้วยเป็นเพลงที่มี จังหวะกระช้ันท่ีเป็นสัญลักษณ์ของการปลุกเร้าวิญญาณการต่อสู้ จึงส่งผลให้เพลง ลาวแพน ได้ถูก นามาใช้ในการฟ้อนหางนกยงู ตัง้ แตโ่ บราณมาจนถงึ ปจั จบุ ัน ในปัจจุบันฟ้อนหางนกยูงใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสานที่เรียกว่าวงโปงลางท่ีมีเคร่ืองดนตรี ประสมวง บรรเลง ลายลาวแพน แต่ในปัจจุบันได้ใช้ลายล่องโขงในการเปิดหวั และปิดท้ายด้วยลายสดุ สะแนน ใช้ในการบรรเลงเพลงประกอบฟ้อนหางนกยูงในพิธฟี อ้ นบชู าพระธาตุพนม เครื่องดนตรที ใ่ี ชป้ ระกอบฟ้อนหางนกยูงใช้วงดนตรีพนื้ เมืองอีสานหรือเรยี กว่าวงโปงลาง เคร่อื งดนตรีประกอบมดี งั น้ี 1. พณิ 2. พณิ เบส 3. โหวต 4. แคน 5. กลองหาง 6. กลองต้มุ 7. โปงลาง 8. ฉงิ่ ฉาบ 9. ไหซอง 10. กบั้ แกบ๊ ดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน เป็นศิลปวัฒนธรรมแขนงหน่ึงกาเนิดจากกลุ่มชนต่าง ๆ ในอดีต ได้สร้างสมสืบทอดติดต่อกนั มา เปน็ เวลานานจนกลายเป็นอตั ลกั ษณ์เฉพาะกลุ่มชนซึ่งมอี ยใู่ นแถบภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื หรือภาคอีสานของประเทศไทย ในสมยั โบราณอาจกลา่ วไดว้ ่าภาคอีสานเป็นท่ีอยู่
202 อาศัยของกลุ่มชนชาวพื้นเมืองหลายกลุ่มชน โดยการนาเอาศิลปวัฒนธรรมรวมท้ังการขับร้อง ดนตรี และการละเลน่ ต่าง ๆ ผสมผสานกนั มาต้งั แต่สมัยล้านนาและล้านช้าง โดยยดึ เอาแนวลาแม่น้าโขงเป็น เส้นทางคมนาคมทางน้า บริเวณท่ีราบลุ่มสองฝั่งแม่น้าโขง จึงเป็นแหล่งอารยธรรมดั้งเดิมของชาว พื้นเมอื งในสมัยน้นั ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี ดนตรี และการละเล่นต่าง ๆ สรุป จากการศึกษาฟ้อนหางนกยูงของจังหวัดนครพนมท่ีใช้ในการฟ้อนบูชาพระพนมใน ประเพณีออกพรรษา แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ท่ีปรากฏอยู่ในรูปแบบการแสดงการแสดงที่มี เอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นเป็นของตัวเอง ซ่ึงเห็นได้จากองค์ประกอบตามจาแนกมาข้างต้นการฟ้อนหาง นกยูงท่ีใช้ในการบูชาพระธาตุพนมมีอัตลักษณ์เฉพาะท้องถ่ินในเร่ือง ท่าฟ้อน เคร่ืองกาย และดนตรีท่ี ใช้ในการบรรเลง ที่มีวัฒนธรรมความเชื่อที่ถูกปลูกฝังมาตั้งแต่อีดีตจนถึงปัจจุบันและได้มีการพัฒนา รปู แบบในบางสว่ นแต่ยงั คงความเปน็ อัตลักษณเ์ ฉพาะของการแสดงนอกจากนี้ฟ้อนหางนกยูงยังการ กล่าวถึงที่ปรากฏในตานานอุรังคนิทานโดยการฟ้อนหางนกยูงเป็นการฟ้อนเพ่ื อแสดงให้เห็น ถึง สุนทรียภาพของความงามเพื่อให้ผู้ชมเกิดสุนทรียศาสตร์ในจิตวิญญาณ ฟ้อนหางนกยูงมีแนวความคิด ในการประดิษฐ์สรา้ งชุดการแสดงท่ีคนสมัยก่อนท่ีนาสงิ่ ที่พบเห็นรอบตัวไม่วา่ จะเป็นท่าราอาวุธในการ ป้องกันตัว หรือ การเลียนแบบกิริยาอาการของสัตว์ มาประกอบสร้างให้เกิดเป็นศิลปะการแสดงเพ่ือ ขัดเกลาจิตใจของคนอีสานในแถบลุ่มน้าโขงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถึงแม้ว่ากระบวนการท่าฟ้อนใน ปัจจุบันจะมีการปรับเปลี่ยนไปตามยคุ สมัยแต่วัฒนธรรมของความเป็นฟ้อนหางนกยูงสามารถปรับตัว ให้เข้ากับบริบทสังคมได้ในทุก ๆ สมัย นอกจากนี้ฟ้อนหางนกยูงยังแฝงคติความเช่ือท่ีว่า ฮ้ายกวดหนี ดี กวดเข้า หรือ ปัดเป่าสิ่งไม่ดีออกจากตัวและนาแต่สิ่งดี ๆ เข้ามาในชีวิต แต่หางนกยูงยังมีความเช่ือ อีกมากมายในเร่ืองของการก่อให้เกิดสิริมงคลซึ่งเป็นหน่ึงคติความเชื่อในท่ัวของอุษาคเนย์ เน่ืองจาก นกยงู เปน็ สตั วเ์ ลี้ยงของพระขนั ธกุมาร ตามตาราของอนิ เดีย ฟ้อนหางนกยูงจึงปรบั สภาพและคงอยู่ใน สังคมของอีสานจนกลายเป็นมรดกทางภูมิปัญญาท่ีอนรุ กั ษ์ไว้ให้ชาวนครพนมไดส้ ืบทอดต่อไป
203 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาเร่ือง ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดง ในประเพณีออกพรรษาบูชาธาตุพนมมีจดุ มุ่งหมายเพื่อการศึกษาอัตลกั ษณ์วฒั นธรรมความเป็นมาของ ศิลปะการแสดงชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม และ ศึกษากระบวนการประดิษฐ์สร้างของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในด้านองค์ประกอบที่ สาคัญ ได้แก่ แนวความคดิ ในการประดษิ ฐ์สรา้ งชุดการแสดง รูปแบบการแสดง ลีลาท่ารา เคร่ืองดนตรี ประกอบ เคร่ืองแต่งกาย และอุปกรณ์ประกอบการแสดง โดยการศึกษาจากเอกสาร และการศึกษา ภาคสนาม ในการศกึ ษาภาคสนามผ้วู ิจยั เลอื กศกึ ษาศลิ ปะการแสดงชุด ฟอ้ นหางนกยูง ในพธิ กี รรมการ ฟ้อนบูชาพระธาตุพนม ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดยสารวจข้อมูลจาก กลุม่ ผเู้ ชี่ยวชาญ ผรู้ ู้ และผ้ปู ฏิบัติ ผวู้ จิ ัยได้สรปุ ผลการวจิ ัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะตามความมุ่งหมายของการวจิ ยั ในครั้ง น้ี คอื 1. เพอื่ ศึกษาอัตลกั ษณ์วัฒนธรรม ความเปน็ มาของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณอี อกพรรษา ณ วัดพระธาตพุ นม อาเภอธาตพุ นม จังหวดั นครพนม 2. เพื่อศึกษากระบวนการประดิษฐ์สร้างของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในด้านองค์ประกอบที่ สาคญั ได้แก่ แนวความคดิ ในการประดิษฐ์สร้างชุดการแสดง รปู แบบการแสดง ลีลาท่ารา เครือ่ งดนตรี ประกอบ เครื่องแตง่ กาย และอุปกรณ์ประกอบการแสดง สรปุ ผล การวิจัยเรื่อง ฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงใน ประเพณอี อกพรรษาบชู าธาตพุ นม พบว่า 1. อัตลักษณ์วัฒนธรรม ความเป็นมาของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วดั พระธาตพุ นม อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม
204 วดั พระธาตพุ นม องค์พระธาตุพนม เป็นมหาเจดีย์โบราณ เป็นปูชนียสถานอันศักด์ิสิทธิ์มานาน เป็นท่ีบรรจุ พระพุทธอุรังคธาตุ ท่ีแปลกันมาว่า “พระธาตุหัวอกพระพุทธเจ้า” เป็น พุทธเจดีย์คู่บ้านคู่เมืองของ ไทยลา้ นช้างมาแต่โบราณ เปน็ โบราณสถานที่ให้ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ ศลิ ปกรรม และวฒั นธรรม เก่าแก่ ประชาชนชาวล้านช้างนับแต่ พระมหากษัตริย์ลงมาได้เคารพบูชาและอุปถัมภ์บารุงไว้เป็นม่ิง ขวัญจิตใจของชาวพุทธ ซึ่งจะหาเจดีย์เก่าแก่ให้เราได้ชมอย่างน้ีได้ยากในประเทศไทย จึงสมควรท่ีเรา ทงั้ หลาย จะชว่ ยกนั รักษาไว้ให้เปน็ มรดกของชาตบิ า้ นเมอื งและพระพุทธศาสนา ปัจจุบันในทุก ๆ ปีจะมีการจัดงานเทศกาลนมัสกาลพระธาตุพนม ในกลางเดือน กุมภาพันธ์ ถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ หรือระหว่างวันขึ้น 8 ค่า จนถึงวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 (วัน มาฆบูชา) ชาวพุทธ ท้ังมวลเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า บุญเดือนสาม ถือเป็นโอกาสอันดีของชาวพุทธท่ีจะ ได้นาผลผลิตที่เก็บเกี่ยว ได้ตามฤดูเป็นพุทธบูชา เป็นประเพณีการถวายข้าวพืชภาค และการแห่กอง บุญของชาวพุทธและข้าโอกาสอันถือเป็นสิริมงคลและที่ค่าย่ิงในชีวิต พระธาตุพนมถือเป็นศูนย์รวม แหง่ จติ ใจเปน็ ศูนยร์ วมของ การถ่ายโอนทางวฒั นธรรมอันเกา่ แก่ของสังคมพทุ ธในแถบลมุ่ น้าโขงแห่งนี้ นอกเหนือจากประเพณีในบญุ เดือนสามน้ัน พุทธศาสนิกชนชาวอีสานต่างได้ให้ความสนใจในประเพณี ออกพรรษาซึ่งมีพิธีกรรมและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ณ บริเวณวัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุ พนม จังหวดั นครพนม ความหมายของอัตลักษณว์ ฒั นธรรม อัตลักษณ์(Identity) ในแวดวงวัฒนธรรมศึกษา(cultural studies) มีความหมายถึง คุณสมบัติท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของบุคคลหรือสิ่งน้ัน ก็คือส่ิงที่เป็นคุณสมบัติของคนหรือสิ่งนั้น และมี นัยขยายต่อไปว่าเป็นคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงนั้น ท่ีทาให้สิ่งน้ันโดดเด่นหรือแตกต่างจากส่ิงอ่ืนข้ึนมา การนิยามความหมายซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปได้ตามบริบท มิได้หมายถึงคุณสมบัติเฉาพะตัว อัตลักษณ์ถูก ก่อตัวข้ึนมาโดยผ่านการปฏิสังสรรค์หรือการมีส่วนร่วมระหว่างบุคคลในสังคมไปยังในบุคคลอ่ืน ๆ ก็ จะถือว่ามีอัตลักษณ์ท่ีหลากหลาย และเม่ือแต่ละบุคคลยอมรับในอัตลักษณ์ใดอัตลักษณ์หนึ่งในขณะ เวลานั้นมันมีกระบวนการท่ีแตกต่างกันในการแทนท่ี ในขณะที่บุคคลทาการกาหนดตาแหน่งของ ตนเอง และถูกกาหนดตาแหน่งในทางสังคม กระบวนการท่ีเกิดขึ้นน้ีได้ คานึงถึงจุดท่ีเน้นความ แตกต่าง ความหลากหลายหลายในการสร้างอัตลักษณ์ท่ีเท่าเทียมกับการตั้งคาถามว่าอัตลักษณ์ ท้ังหลายน้ีได้เช่ืองโยงกับสังคมโดยมีการมุ่งเป้าหมายไปท่ีความสาคัญต่อมุมมองทางสังคมของอัต ลกั ษณ์ที่จะนาเราไปสารวจ โครงสรา้ งตา่ ง ๆ โดยผ่านชวี ติ ของเราทีถ่ ูกจัดการกบั อัตลกั ษณต์ า่ ง ๆ ของ เราที่ถูกจัดเก็บไว้เข้าท่ีด้วยโครงสร้างตา่ ง ๆ ทางสังคมและเราก็มีส่วน ร่วมในการก่อตัวของอัตลักษณ์
205 ของตัวเราเองด้วยเช่นกันกับอัตลักษณ์วัฒนธรรมที่มีปรากฏในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุ พนม อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม 1.พธิ กี รรมทางพุทธศาสนา วันออกพรรษา ตรงกับวันข้ึน 15 ค่า เดือน 11 ของทุกปี ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า \"วันมหาป วารนา\" คาว่า \"ปวารนา\" น้ันแปลว่า อนุญาตหรือยอมให้ โดยในปีนี้ วันออกพรรษา ตรงกับวันท่ี 19 ตุลาคม 2556 ท้ังน้ี วันออกพรรษา พระสงฆ์จะประกอบพิธีทาสังฆกรรมใหญ่ท่ีเรียกว่า มหาปวารณา ใน วันออกพรรษา ซง่ึ เป็นการเปิดโอกาสใหภ้ ิกษุว่ากล่าวตักเตือนซึง่ กันและกันได้ เนื่องจากในระหว่าง ที่เข้าพรรษาอยู่ด้วยกัน สาหรับ คากล่าว ปวารณา มีคากล่าวเป็นภาษาบาลีเป็นดังน้ี \"สังฆัมภันเต ปะ วาเรมิ ทิฎเฐนะ วา สุเตนะ วาปะริสังกายะ วา วะทันตุ มัง อายัส์มันโต อะนุกัทปัง อุปาทายะ ปัสสัน โต ปฎิกะริสสามิ\" มีความหมายว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ กระผมขอปวารณาต่อสงฆ์ ด้วยได้เห็นหรือ ได้ฟังก็ตาม ขอท่านทั้งหลายโปรดอนุเคราะห์ ว่ากล่าวตักเตือนกระผมด้วย เม่ือกระผมมองเห็นแล้ว จักประพฤติตวั เสียเลยใหม่ให้ดีนอกจากน้ีชาวอีสานยังมีความเช่ือคล้าย ๆ กับทกุ ภมู ภิ าคด้วยเร่ืองของ การทากิจกรรมเพอื่ สรา้ งบุญกุศลในวันออกพรรษา ได้แก่ ตักบาตรเทโว ฟังเทศน์ เวียนเทียน เปน็ ตน้ 2. ประเพณไี หลเรือไฟในงานออกพรรษา ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีของชาวอีสาน ภาษาท้องถ่ินเรียกว่า “เฮือไฟ” จัดขึ้น ในช่วงเทศกาลออกพรรษา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือบูชารอยพระพทุ ธบาทของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ณ ริมฝ่ังแม่น้านัมทามหานที โดยมีประวัติความเป็นมาดังน้ี กล่าวคือพระพุทธเจ้าเสด็จไปฝ่ังแม่น้านัม ทามหานที ซ่ึงเป็นท่ีอยู่อาศัยของพญานาค พระพุทธองค์ได้แสดงธรรมเทศนาโปรดพญานาคท่ีเมือง บาดาล และพญานาคได้ทูลขอพระพุทธองค์ประทับรอบพระบาทไว้ ณ ริมฝ่ังแม่น้านัมทามหานที ต่อมาบรรดาเทวดา มนุษย์ ตลอดจนสัตว์ทั้งหลายได้มาสักการะบูชา รอยพระพุทธบาท นอกจากนี้ ประเพณีไหลเรือไฟยังจัดขึ้นเพ่ือขอขมาลาโทษแม่น้าที่ได้ท้ิงสิ่งปฏิกูล และเป็นการเอาไฟเผาความ ทกุ ข์ใหล้ อยไปกบั สายน้า 3. ฟอ้ นบูชาพระธาตุพนม ฟ้อนบูชาพระธาตุพนมได้ปรับเปล่ียนรูปแบบการฟ้อนเพื่อความบันเทิงในงานเทศกาล ไหลเรอื ไฟ โดยมีภาครัฐ ฯ เขา้ มามบี ทบาทในการจัดกิจกรรม งานเทศกาลไหลเรือไฟได้เริ่มนาเอาการ ฟ้อนมาประกอบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 ได้เลือกชุดฟ้อนที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นของชาวนครพนม และมี ลักษณะการฟ้อนท่ีส่ือให้เห็นถึงการสักการะบูชา เพื่อถวายแด่องค์พระธาตุพนมและให้นักท่องเท่ียว ทีม่ าเยย่ี มชมในงานเกิดความเปน็ ศริ ิมงคล โดยมีการแสดงทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่ ฟอ้ นหางนกยูง ฟ้อนภู
206 ไทเรณูนคร ฟ้อนศรีโคตรบูรณ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ได้มีการเพิ่มชุดการแสดงในฟ้อนบูชาพระธาตุ พนมขึ้นท้ังหมด 7 ชดุ การแสดง ได้แก่ ฟอ้ นภูไทเรณนู คร ฟ้อนไทญอ้ ฟอ้ นตานานพระธาตพุ นม ฟอ้ น ศรีโคตรบูรณ์ ฟอ้ นอีสานบ้านเฮา ฟอ้ นขันหมากเบ็ง และ ฟอ้ นหางนกยูง ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัดพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม ฟ้อนหางนกยูงเป็นศิลปะการฟ้อนราที่เก่าแก่และงดงามของจังหวัดนครพนมมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีการพัฒนามาอย่างช้า ๆ และต่อเน่ือง ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม ซ่ึงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จากการฟ้อนที่อยู่ในพิธีกรรมถวยเทียน ซึ่งเป็นพิธีกรรมท่ี เก่ียวกับผี ฟอ้ นหางนกยูงก็พัฒนาเปน็ การฟ้อนในพธิ ีกรรมบูชาพระธาตุพนม ซง่ึ เป็นพิธีกรรมของพุทธ ศาสนา ฟ้อนหางนกยูงแบ่งออกเปน็ 3 ยุค ดงั นี้ ฟอ้ นหางนกยงู ในยุคที่ 1 กอ่ นปี พ.ศ. 2498 ฟ้อนหางนกยูงในยุคท่ี 2 ปี พ.ศ. 2498 – 2530 ฟอ้ นหางนกยงู ในยุคท่ี 3 พ.ศ. 2530 – ปัจจบุ นั นอกจากความเชื่อเร่อื งการฟ้อนหางนกยูงเพื่อบชู าศาลเจ้าพ่อมเหศกั ด์หิ ลกั เมืองและ บูชาองค์พระธาตุพนมแล้ว ชาวนครพนมยังเช่ือกันอีกว่า การฟ้อนหางนกยงู เป็นการแสดงทเี่ ปน็ มงคล เพ่ือปดั รังควานส่ิงชั่วรา้ ยและความอปั มงคล ตามคตคิ วามเช่ือของชาวอีสาน ทวี่ า่ ฮ้ายกวาดหนี ดี กวาดเข้า ที่เปน็ คติความเชื่อของคนอีสานที่สืบทอดต่อกันมาจากอดีตจนถึงปัจจบุ ัน 2. กระบวนการประดิษฐ์สร้างของศิลปะการแสดง ชุด ฟ้อนหางนกยูง ในประเพณีออกพรรษา ณ วัด พระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จงั หวัดนครพนม กระบวนการประดิษฐ์สร้างมีกระบวนการร้ือฟ้ืนทางวัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยมี การอ้างอิงความสัมพันธ์ในอดีต ขณะเดียวกนั ก็เปน็ การผลติ วัฒนธรรมข้ึนมาใหมเ่ พ่ือรบั ใชส้ ถานการณ์ ทางสังคม นอกจากนั้นกระบวนการประดิษฐ์สร้างยังได้นาไปสู่การแปรรูปทางวัฒนธรรมที่ปรากฏใน รปู แบบสอื่ ประเภทการแสดงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การฟอ้ นบชู าศาสนสถาน การราบวงสรวงอนุสาวรีย์ การแสดงละคร การประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงการออกแบบท่าฟ้อนราเพื่อนามาปรับใช้กับ ประเพณี ดังเชน่ ฟ้อนหางนกยงู เป็นหนง่ึ ชุดการแสดงท่ฟี ้อนในการบชู าพระธาตุพนม
207 องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ในการประดิษฐส์ รา้ งศลิ ปะการแสดง องค์ประกอบท่ีสาคัญในการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงเป็นจุดเร่ิมต้นของงานการ แสดง กระบวนการประดิษฐ์สร้างจึงมีขอบเขตที่กว้างขวางมากรวมถึงความนึกคิด เร่ืองราวในบท ละครหรือเนื้อหาของระบา รา เต้น อารมณ์ความรู้สึก ลีลาการสร้างสรรค์ การเชื่อมต่อท่าราการแปร แถวดนตรีการเขียนบทละคร บทร้อง ทานอง เพลง เครื่องแต่งกาย ฉากแสงสีเสียง รวมไปถึงการ แสดงทม่ี กี ารใช้อปุ กรณใ์ นการแสดง แนวความคิดในการประดษิ ฐส์ รา้ งชดุ การแสดง แนวคิดในการประดิษฐ์ศิลปะการแสดงของภาคอีสานน้ันพบว่านักวิชาการและชาว อีสานโดยส่วนใหญ่มีแนวคิดในการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงฟ้อนอีสานท่ีได้แรงบันดาลใจมาจาก การเลียนแบบธรรมชาติ การเลียนแบบกิริยาของสัตว์ รวมไปถึงคติความเช่ือในเรื่องการนับถือผีและ เชอื่ ว่าพญาแถนคอื เทพเจ้า จงึ เกิดเป็นศลิ ปะการฟ้อนอีสานทนี่ ามาใชป้ ระกอบในพิธกี รรมต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็น การราบวงสรวงและบชู าสิ่งศักดสิ์ ิทธิ์ โบราณสถาน การราเพ่อื รักษาอาการเจ็บปว่ ย การราเพ่ือ ขอฝน จึงมีการเกิดการฟ้อนอีสานข้ึนในสังคมวัฒนธรรมของชาวอีสานในทุก ๆ เทศกาลบุญประเพณี ตา่ ง ๆ ในทุก ๆ จังหวดั รปู แบบการแสดง รูปแบบการแสดงเป็นการราบูชาส่ิงศักด์ิสิทธ์ิและมีความเชื่อว่าใช้ปัดเป่าส่ิ งไม่ดีให้ ออกไปจากชีวิต ในการศึกษารูปแบบการแสดงได้แบ่งออกเป็น 3 ยุค ต้ังแต่ก่อนปี พ.ศ. 2498 จนถึง ปัจจุบัน โดยนิยมใช้ผู้แสดงเป็นชายและเป็นหญิงในอดีต ในส่วนการฟ้อนบูชาพระธาตุพนมจะใช้ ผู้หญงิ เป็นผูแ้ สดง โดยผู้แสดงจะถือหางนกยูงตง้ั ขนึ้ ยา่ เท้าตามจังหวะดนตรี กระบวนการเคล่อื นไหว ในการศึกษาฟ้อนหางนกยงู ใน 3 ยุคสมัย ผวู้ ิจยั ค้นพบรปู แบบแถวที่ปรากฏชัดเจนในยุค ที่ 3 เน่ืองจากยุคท่ี 1 เป็นราเด่ียวโชว์ลีลาบนหัวเรือ ในส่วนของยุคท่ี 2 ก็ได้ปรับเปลี่ยนตามแต่ละ โอกาสจนมาปรากฏเด่นชัดในพิธีฟ้อนบูชาพระธาตุพนมท่ีใช้ผู้แสดงมากกว่า 60 คน ลักษณะของผู้ ฟอ้ นหางนกยูงในงานพธิ ีฟอ้ นบูชาพระธาตุพนม มลี กั ษณะเป็นแถวตอนลกึ และมีลกั ษณะแถววงกลม 3 วง
208 ท่าฟอ้ นหางนกยงู การฟ้อนหางนกยูงจังหวัดนครพนมท่ีใช้ในการบูชาพระธาตุพนมนั้น มีกระบวนการท่า ฟ้อนท้ังหมด 12 ท่า แต่ในการแสดงจรงิ น้ันกระบวนท่าฟ้อนได้กระจัดกระจายตามที่ท่าอาจารยเ์ กษม สขุ สวุ รรณธรรมา ไดจ้ ัดเรยี งไวแ้ ละได้มีเรยี บเรียงทา่ ฟ้อนสลับกนั เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของอรรถรสในการ แสดงและเปน็ การทาให้การมีความนา่ สนใจและดึงดดู ทา่ นผู้ชมลาดบั ท่าฟ้อนหางนกยูงในพธิ ีฟ้อนบูชา พระธาตุพนม มีดังต่อไปนี้ 1.ท่านกยูงออกร่อน 2.ท่ายูงพิสมัย 3.ท่ายูงปักหลัก 4.ท่าไหว้ครู 5.ท่ายูง ฟ้อนหาง 6.ท่ายูงราแพน 7.ท่ายูงเหินฟ้า 8.ท่ายูงพิสมัย 9.ท่ายูงกระสันคู่ 10.ท่ายูงราแพนซุ้ม 11.ทา่ ยงู รา่ ยไม้ 12.ทา่ ปกั หลกั ลอดซุ้ม 13.ท่ายูงปดั รงั ควาน 14.ทา่ ยงู เหริ ฟ้า เครอ่ื งแตง่ กาย ในยุคท่ี 1 ผู้ชายไม่สวเสื้อนุ่งโงกระเบนแบบหยักรั้ง ใช้ผ้าพ้ืนเมืองตามท้องถิ่นโพกศีรษะ ในยุคที่ 2 ผู้หญิงสวเสื้อแขนกระบอกและผ้าถุงตามท้องถ่ิน สวมเครื่องประดับเงิน มวยผมไปทางซ้าย หรือขวา ในยุคที่ 3 ผู้หยิงสวมเส้ือแขนกระบอกสีเหลืองหรือสีเขียว สวมผ้าถุงตามท้องถ่ินในปัจจุบัน ใสเ่ ครอื่ งประดับสเี งิน เกล้าผมมวยกลางศรี ษะ ทดั ดอกไมส้ ขี าว ดนตรปี ระกอบการฟ้อนหางนกยูง ใช้วงโปงลางใยนการบรรเลง เครื่องดนตรี ได้แก่ โปงลาง พิณ แคน โหวต เบส ฉิ่ง ฉาบ กลองต้มุ กลองหาง ไหซอง ก๊บั แกบ๊ บรรเลงในลายล่องโขง ลายลาวแพน และลายเซิ้งหรือลายทางสนั้ อปุ กรณ์ประกอบการแสดง ผู้แสดงจะถือหางนกยูง ซ่ึงมีความเชื่อท่ีสบื ทอดตอ่ กันมาจากอดีตจนถึงปัจจุบนั และยงั มี ความเช่ือของนกยงู ทเี่ ปน็ ราชนิ แี ห่งนกทีเ่ ลา่ ขานตอ่ กันมาในท่ัวของอุษาคเนย์ สรปุ จากการศึกษาอัตลักษณ์วัฒนธรรมของการแสดงฟ้อนหางนกยูงพบว่าอัตลักษณ์สาคัญ ทางวัฒนธรรมที่พบจากการแต่งกายท่ีบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของชาวอีสานท่ีแต่งกายด้วยเสื้อแขน กระบอก นุ่งผ้าซิ่นยาว ห่มสไบ อันเป็นอัตลักษณ์ท่ีบ่งบอกถึงความเป็นคนอีสาน อีกท้ังท่าราท่ีนามา แสดงจะมที ่วงท่าท่ีสง่างามเหมือนนกยูงร่อนลงมาอวดโฉม แตค่ งความกระฉับกระเฉงด้วยกระบวนท่า ท่ีมีความคล้ายในลวดลายของฟ้อนดาบและฟ้อนเจิง ผสมผสานความอ่อนหวานของท่านาฏศิลป์ไทย ในส่วนของลายดนตรีจะเป็นลายเพลงที่อ่อนหวานและไพเราะซึ่งทาให้ผู้ฟังได้เข้าถึงสุนทรียของการ
209 แสดงกค็ ือลายลาวแพน ซึง่ เปน็ เพลงเช้ือชาตลิ าวทบี่ ง่ บอกถึงความเป็นชนเผ่าและประชากรที่อาศัยอยู่ ในแถบลุม่ น้าโขง อภปิ รายผล งานวิจัยเร่ืองฟ้อนหางนกยูง:อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงใน ประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม ภายใต้วัตถุประสงค์ดังกล่าวผู้วิจัยมีข้อค้นพบท่ีเป็นประเด็น หลักนามาอภิปรายไดด้ งั น้ี สังคมวัฒนธรรมอีสานเป็นสังคมที่หล่อหลอมด้วยความเช่ือ ศิลปะ จริยธรรม ศาสนา ประเพณี ซ่ึงมีวิถีชีวิตเป็นแบบแผนมีฮีตคองเป็นตัวควบคุมและจัดบริบททางสังคมให้อยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข แสดงให้เห็นว่าวัฒนธรรมในชุมชนเป็นระบบคุณค่าที่มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างที่ ส่งผลต่อสมาชิกในชุมชน ความเชื่อความศรัทธาในพระพุทธศาสนาถูกต่อทอดจากรุ่นสู่รุ่น การ ประพฤติปฎิบัติกลายเป็นขนบนิยมท่ีส่งต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ดังที่พระธาตุพนมเป็นศาสนสถาน ศักดสิ์ ทิ ธิ์และเปน็ ศูนย์รวมจิตใจของชาวอสี านตลอดจนชาวลาวในสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน ลาวมายาวนาน นอกจากนั้นยังเป็นศูนย์รวมของการถ่ายโอนทางวัฒนธรรมอันเก่าแก่ของสังคมพุทธ ในแถบลุ่มน้าโขงอีกด้วย เห็นได้จากวัฒนธรรมในการบูชาพระธาตุพนมในประเพณีออกพรรษา ท่ีมี หลายมิติ ท้ังในด้านรูปแบบและอัตลักษณ์วัฒนธรรมแต่ละชาติพันธ์ ในมิติของความแตกต่างกลับ สะทอ้ นให้เห็นถึงการยอมรบั และการหลอมรวมของวัฒนธรรมอันมาจากความร้สู ึกท่ีถูกยึดเข้ากันด้วย ความศรทั ธา เราจงึ พบเหน็ วัฒนธรรมในหลายมิติทถ่ี กู ประจุเขา้ ไว้ด้วยกันโดยมเี ปา้ หมายอย่างเดียวกัน ในงานประเพณีบูชาพระธาตุพนม ด้านความรู้พบว่าฟ้อนหางนกยูง เป็นการฟ้อนท่ีเป็นอัตลักษณ์ร่วมระหว่างความเป็นอีสาน ล้านช้าง ความเป็นราชสานักแบบละครหลวง ความเป็นล้านนาที่มีการผสมผสานกันอย่างลงตัวจน กลายเป็นวัฒนธรรมประจาท้องถิ่นของชาวจังหวัดนครพนม ฟ้อนหางนกยูงมีปรากฎและกล่าวถึงใน ตานานอุรังคนิทานก่อนที่จะถูกนามาเป็นนาฎกรรมในพิธีการฟ้อนบูชาพระธาตุพระพนม และยังคง ปฎิบัติเป็นประเพณีมาจนถึงทุกวันน้ี แสดงให้เห็นถึงความเข้มแข็งของวัฒนธรรมท่ีถึงแม้จะมีการ ปรับปรุงและมีพลวัตมาตามยุคตามสมัย แต่เมื่อเป็นวัฒนธรรมที่มีรากของความศรัทธาความเชื่อใน พระพุทธศาสนาเป็นเคร่ืองผูกโยงก็จะได้รับการยอมรับในคุณค่าโดยไม่มีเง่ือนไข และการสืบทอดส่ง
210 ต่อถ่ายโอนกันมาจนถึงทุกวันนี้ก็เป็นปัจจัยสนับสนุนให้วัฒนธรรมการแสดงเป็นมรดกของชุมชนท่ี ยังคงเปน็ อตั ลกั ษณไ์ ด้อีกยาวนาน 1.อัตลักษณ์วัฒนธรรมความเป็นมาของศิลปะการแสดงชุดฟ้อนหางนกยูงใน ประเพณีออกพรรษา ณ.วัดพระธาตุพนม อาเภอพระธาตุพนม จังหวัดนครพนม พบว่าพระธาตุพนม คือ เป็นปูชนียสถานที่สาคัญอันเป็นท่ีเคารพบูชาของพุทธศาสนิกชนเป็นโบราณสถานท่ีให้ความรู้ทาง ประวตั ิศาสตร์ ศลิ ปกรรมและวัฒนธรรมเก่าแก่ของประชาชนชาวล้านช้าง เป็นศูนยร์ วมจติ ใจและพลัง ศรัทธาท่ีผูกโยงให้ผู้คนยึดปฎิบัติตามฮีตคองจนเกิดเป็นการประพฤติปฎิบัติส่ิงท่ีดีงามร่วมกัน สอดคล้องกับ อภิศักด์ิ โสมอินทร์, (2537 : 75) ท่ีกล่าวว่าสังคมอีสานยึดเกาะกันโดยมีฮีตคองท่ี ทาหน้าท่ีเป็นกฎระเบียบและเป็นบรรทัดฐาน (Social Norm) ให้สังคมประพฤติปฎิบัติตามซ่ึงจะ นาไปสคู่ วามสงบสุขร่วมกนั ฮีตคองเหมอื นกฎหมายของสังคมท่ีทุกคนจะต้องปฎิบตั ิตามโดยยึดข้อ ปฎิบัติทางศาสนาเป็นหลัก และ สอดคล้องกับจารุวรรณ ธรรมวัตร, (2538 : 3) ที่อธิบายว่า ชุมชนอีสานเป็นสังเกษตรกรรมท่ีเคร่งในประเพณีชีวิตชาวบ้านจะมีกิจกรรมตามความเชื่อทาง ศาสนาและตามค่านิยมของชุมชน ซึ่งเรียกเป็นภาษาถิ่นว่า ฮีตคอง นอกจากพระธาตุพนมจะเป็น ศูนย์รวมแห่งจิตใจและความศรัทธาแล้ว ยังเป็นศูนย์รวมแห่งวัฒนธรรมอีกด้วย เห็นได้จาก ศิลปะการแสดงที่ปรากฎในประเพณีออกพรรษาทุก ๆ ปีท่ีมีข้ึน นอกจากการถวายเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติพันธ์ุท่ีส่งผ่านการแสดงมาอย่างเด่นชัด สวยงามไม่ว่าจะเป็นการราตานานพระธาตุพนม ราไทญ้อ ฟ้อนขันหมากเบ็งตลอดจนการฟ้อนหาง นกยูง อัตลักษณ์วัฒนธรรมเหล่านีล้ ว้ นเปน็ คณุ คา่ เป็นมรดกทางภมู ิปญั ญาท่ีหาคา่ ไม่ได้ และ สองคลอ้ ง กับ อคิน รพีพัฒน์, (2551 : 72) ท่ีอธิบายว่าอัตลักษณ์วัฒนธรรมได้สร้างคุณค่าทางศาสนา ค่านิยม คุณค่า ประเพณี วัฒนธรรมเก่า ๆ หรือค่านิยมของกลุ่มชาติพันธุ์ ล้วนแล้วกระทบกระทัง่ ในรูปแบบต่าง ๆ จากพลังของโลกาภิวัฒน์ กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ซ่ึงต้องเกิดจากการ ผสมผสานองคป์ ระกอบทางวัฒนธรรมท่ีซับซ้อนและเปน็ ที่ยอมรับของชุมชนและภาพรวม รวมไป ถึงประชากรในยุคดั้งเดิม นอกจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมท่ีปรากฎในศิลปะการแสดงจะเป็นมรดก ภูมปิ ัญญาท่ที รงคณุ ค่าแลว้ ยงั แสดงใหเ้ ห็นถึงความเขม้ แข็งและความเจริญรุ่งเรืองของศิลปวัฒนธรรม ของชุมชนท่ีมีมาตั้งแต่อดีตอีกด้วย สอดคล้องกับ สุรพล วิรุฬห์รักษ์, (2547 : 205) ท่ีอธิบายว่า ศิลปวัฒนธรรมแสดงให้เห็นถึงความเป็นอารยประเทศ ประเทศชาติท่ีมีความรุ่งเรืองน้ันจาเป็นท่ี จะต้องมีวัฒนธรรมอันแสดงออกถงึ เอกลกั ษณป์ ระจาชาติของตน
211 2. ความเป็นมาของศิลปะการแสดงชุดฟ้อนหางนกยูงในประเพณีออกพรรษามี มูลเหตุมาจากความศรัทธาของผู้คนในชุมชนต่อพระพุทธศาสนาและตานานอุรังคนิทานจากคติความ เช่ือท่ีว่าเป็นการสร้างบุญกุศลหรือกุศโลบายในการให้ผู้คนประพฤติปฏิบัติตนยึดม่ันในฮีตคองและ ศีลธรรม สอดคล้องกับ ดนุพล ไชยสินธ์ุ, (2538 : 209) ได้อธิบายเง่ือนไขเชิงซ้อนในสังคมอีสาน ว่าการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ จากความเช่ือได้ถูกกาหนดเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตโดย ระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อให้คนในสังคม มีบทบาทหน้าท่ีต่าง ๆ มุ่งก่อให้เกิดความสงบสุข ฮีตคองท่ี ชาวอีสานยึดถือและปฏิบัติสืบต่อกันมาหลายช่วงอายุคนด้วยวิธคี วามเช่อื และความศรัทธาร่วมกันจน กลายเปน็ “จารตี ” ซ่งึ มีพลังในการควบคุมความเป็นระเบียบของชุมชนและสร้างความสุข สอดคล้อง กับ เติม วิภาคย์พจนกิจ, (2557 : 567-568) ท่ีอธิบายว่าจารีตประเพณแี ละขนบธรรมเนยี มของ ชาวอีสาน ก็คือจารีตประเพณีของชาวไทยลาวมาต้ังแต่ด้ังเดิมโดยมีท้ังลัทธิพราหมณ์และพุทธ ศาสนา จารีตประเพณีทางศาสนาของชาวอีสานท่ีเรียกว่าฮีตสิบสองคองสิบสี่เป็นประเพณีมาแต่ โบราณท่ีมีแบบแผนและมีคุณค่า ฟ้อนหางนกยูงมีกาเนิดมาแล้ว 100 ปีเศษ เป็นศิลปะการฟ้อนราท่ี เก่าแก่และงดงามของจังหวัดนครพนมตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันซ่ึงมีพัฒนาการมาอย่างช้า ๆ แต่ ต่อเน่ืองจนกลายเป็นวัฒนธรรมพ้ืนบ้านท่ีมีอัตลักษณ์ของชาวนครพนม ฟ้อนหางนกยูงเป็นภาพ สะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์และความรุ่งเรืองทางศาสนาของจังหวั ดนครพนมได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับ วิบูลย์ ล้ีสุวรรณ, (2540 : 12) ที่อธิบายว่าวัฒนธรรมพื้นบ้าน (Folk Culture) ศึกษาไดจ้ ากวถิ ชี ีวติ หรอื พฤติกรรมหรอื กลมุ่ คนทีเ่ ปน็ เจา้ ของวฒั นธรรมโดยตรงหรือจากศิลปะของ กลุ่มชนช้ัน โดยเฉพาะศิลปะพ้ืนบ้าน (Folk art) ซึ่งเป็นผลทางวัฒนธรรมที่กลุ่มชนต่าง ๆ สร้างสรรค์ข้ึน งานนาฎกรรม เพลงและดนตรีพ้ืนบ้าน เป็นงานศิลปะท่ีไม่มองเห็นเป็นรูปธรรมแต่ แฝงไว้ด้วยจิตวิญญาณของกลุ่มชน ดังน้ัน การศกึ ษาวัฒนธรรมพืน้ บา้ นซ่ึงสามารถศึกษาผา่ นงาน ศิลปะพื้นบ้านเหล่านี้ได้หลายแง่มุม ฟ้อนหางนกยูงมีพัฒนาการมาตามยุคสมัยตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2498 จนถึงปัจจุบันในแต่ละชว่ งสมัยมีการปรับปรุง ผสมผสาน ทั้งในเร่ืององค์ประกอบทางการแสดง และบทบาทการรับใช้ชุมชนในแต่ละท้องถิน่ จนถึงภมู ิภาค ภายในส่วนท่ยี ดึ เข้ากับประเพณีทางศาสนา และการท่องเทยี่ วของจังหวดั ซงึ่ เป็นที่ทราบกันดีว่าประเพณีฟ้อนบชู าพระธาตุพนมในวันออกพรรษา เป็นประเพณีท่ีย่ิงใหญ่เป็นที่รวมของศรัทธาท้ังของไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวท่ี รวมแห่งศิลปะการการฟ้อนท่ีแสดงให้เห็นอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมของแต่ละชาติพันธุ์อย่างหลาย หลายและงดงาม ประเพณีบูชาพระธาตุพนมถูประดิษฐ์สร้างข้ึนด้วยศรัทธาของผู้คนโดยวัฒนธรรม เป็นแรงขับเคลื่อน สอดคล้องกับแนวคิดประเพณีประดิษฐ์ ของ เอกรินทร์ พึ่งประชา, (2545 :
212 16) ท่อี ธิบายวา่ แนวคิดประเพณีประดิษฐข์ องฮอบส์ บอวม์ (Hob Sbawm) ว่าเปน็ ปรากฎการณ์ ทางสังคมรูปแบบหนึ่ง ที่ก่อตั้งขึ้นจากหยิบยกวัตถุดิบโบราณ (Ancient Materials) ทาง วัฒนธรรม อาทิ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ พิธีกรรม งานเฉลิมฉลอง และเชื่อปฏิบัติต่าง ๆ ทาง สังคมท่ีอ้างอิงอดีตแล้วนามาตีความใหม่และสร้างขึ้นเพ่ือรับใช้สังคมในสถานการณ์นี้ และ สอดคล้องกับการตีความของธนวรรธน์ นธิ ปิ ภานนั ท์, (2558 : 34-35) ที่กลา่ ววา่ ประเพณเี ป็นส่ิง ทีถ่ ูกสร้างขึ้นไมไ่ ด้เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ ประเพณที ี่ประดิษฐข์ ึน้ ใหม่จะเป็นเครอ่ื งมือสาคัญที่ทา ให้เราเรยี นรูแ้ ละทาความเขา้ ใจสิ่งสาคัญโดยเฉพาะสังคมท่โี หยหาอดีต การประดษิ ฐ์สร้างประเพณี บูชาพระธาตุพนม จึงมีผลในเชิงบวกท้ังศาสนา สังคมหรือแม้แต่เศษฐกิจ ด้วยการขับเคลื่อนของทาง วัฒนธรรมของกลไกลทางสังคมท่ีเข้มแข็ง สอดคล้องกับทฤษฎีโครงสร้างหน้าท่ีของMalinowski ที่ อ้างอิงใน(สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2544 : 113) ท่ีมีความเห็นว่าสังคมต้องมีโครงสร้างท่ีดีเพื่อการ ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ องค์ประกอบในโครงสร้างต้องเอื้ออานวยระหว่างกันตามวิธีที่ควรจะ เป็นเพือ่ รักษาคุณภาพของระบบสว่ นรวม ดงั น้ันขนบธรรมเนียมประเพณแี ละสถาบนั ตา่ ง ๆ ควรมี หน้าท่ีสนับสนุนระหว่างกันและเป็นสื่อกลางให้สมาชิกในสังคมที่มาร่วมกันทางานด้านกิจกรรม ทางสังคมอย่างมีเสถียรภาพ ซงึ่ เปน็ ประเพณีบชู าพระธาตพุ นมได้ทาหนา้ ที่ดังกล่าวแลว้ อย่างสมบรู ณ์ 3.กระบวนการประดษิ ฐส์ ร้างของศิลปะการแสดงชุด ฟอ้ นหางนกยงู ในประเพณีออก พรรษา ณ.วดั ธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม ในด้านแนวคิดพบว่าเกิดจากความเชื่อว่าจะ ปัดเป่าส่ิงท่ีไม่ดีออกจากตัวตลอดจนเป็นการราเพ่ือบูชาสิ่งศักดิ์สิทธ์ิซึ่งเป็นธรรมชาตินิสัยของชาว อีสาน ซ่ึงมักประดิษฐ์สร้างศิลปะการฟ้อนราเพื่อนามาใช้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ สอดคล้องกับ ธราดล ไชยเดชโกสิน, (2550 : 35-54) ท่ีศึกษาแล้วพบว่าการประดิษฐ์ชุดการแสดงพ้ืนบ้าน อีสานมักมาจากสภาพชีวีต ความเป็นอยู่ ความเช่ือ พิธีกรรมและวรรณกรรม และ สอดคล้องกับ ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ, (2532 : 56-61) ที่อธิบายการฟ้อนราตามแบบฉบับบของชาวอีสานนัน้ อาจจัดใหม้ ีขน้ึ เพอ่ื การเฉลิมฉลองในวาระตา่ ง ๆ หรอื ฟ้อนราเพอ่ื การทรงเจ้ารกั ษาอาการเจ็บป่วย ในดา้ นรูปแบบการแสดงแตแ่ รกเปน้ การฟ้อนของผู้ชายในลีลาของชาวบ้านทป่ี ระยุกต์กม็ าจากท่าฟ้อน ดาบสองมือที่กลายมาเป็นท่าฟ้อนพ้ืนฐานของหางนกยูงในปัจจุบัน ภาคกลางได้ปรับเปลี่ยนให้ผู้หญิง ฟ้อนเพ่ือให้มีความอ่อนช้อยและใช้เผยแพร่ ในงานมงคลหรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่มาเย่ียม เยือน ความสวยงามอ่อนช้อยจะสร้างความประทับใจให้กับผู้มาเยือนมากกว่าผู้ฟ้อนชาย สอดคล้อง กับ คาล่า มุสิกา, (2558 : 185)ท่ีนิยามการฟ้อนอีสานว่ามีความเป็นอิสระของท่าฟ้อน อ่อนช้อย ที่วิจิตรกว่าธรรมชาติโดยใช้ทุกส่วนของร่างกายเคล่ือนไหวไปตามเคร่ืองดนตรี ผู้ฟ้อนมีอารมณ์
213 ความรู้สึก ณ ขณะน้ันจะแสดงท่าทางออกมาตามที่ตนเองรู้สึก ซึ่งรูปแบบการฟ้อนหางนกยูงเมื่อ เป็นผู้หญิงฟ้อนจึงทาให้ถ่ายทออดอารมณ์ความรู้สึกชัดเจนมากขึ้น ส่วนท่าฟ้อนในทุกท่าจะมี ความหมายไม่ว่าจะเป็นท่าเคารพบูชาต่อสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ท่าเลียนแบบกิริยาของนกยูงที่ถือว่าเป็นสัตว์ ช้นั สงู เช่น ทา่ ยงู ลาแพน ท่ายูงพศิ มยั ทา่ ร่ายไม้ ท่ายงู ฟ้อนหาง ซึง่ แต่ละท่าจะมีความหมายและกิริยา ในการปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายตามคติความเช่ือของชาวอีสานท่ีวา่ “ฮ้ายกวาดหนี ดีกวาดเข่า”(ร้ายกวาดหนี ดีกวาดเข้า) ท่าฟ้อนต่าง ๆ ที่ใช้หางนกยูงเป็นอุปกรณ์และเป็นตัวแทนของความเป็นสิริมงคลต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงการเลือกใช้สัญลักษณ์ที่อยู่บนพ้ืนฐานของความเช่ือด้ังเดิมท่ีมีอยู่ในความรู้สึกนักคิด และจิตวิญญาณของคนไทยในท่ัวทุกภาคของประเทศไทยและรวมถึงประเทศแถบเอเชีย สอดคล้อง กับNiki GAMM, (2014 : ออนไลน์) ที่อธิบายว่าวัฒนธรรมของชาวเปอร์เซียเชื่อว่านกยูงเป็น สัตว์ศักด์ิสิทธิ์ เป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดี ความสูงและความรัก และเป็นสัญลักษณ์ที่บ่งบอก ถึงความเปน็ กษตั ริยแ์ ละพลังอานาจ และ สอดคลอ้ งกับ สาโรจน์ มวี งษส์ ม, (2554 : ออนไลน์) ท่ี อธิบายว่าชาวจีนให้ความสาคัญกับนกยูงในฐานะตัวแทนความสูงศักด์ิ การประดับขนนกยูงใน สมัยก่อนเป็นการแสดงถึงพระยศท่ีสูงส่ง และในพระพุทธศาสนาของเรานกยูงเป็นสัตว์ที่คู่กับคติ ความเชื่อโบราณ เพ่อื เป็นตวั แทนของความสงา่ งาม และเป็นตวั แทนการปัดเปา่ อวมงคลด้วย จาก ความสาคัญของนกยูงที่กล่าวมาจึงทาให้แนวคิดในเร่ืองรูปแบบของการฟ้อนท่ีใช้อุปกรณ์เป็นหาง นกยูง เป็นการเลือกใช้สัญญะที่ให้ความรู้สึกศักด์สิทธิ์และเป็นมาอย่างเหมาะสม ในด้านกระบวนท่า ฟ้อนและดนตรีประกอบจะมีการฟ้อนผสมผสานปะปนระหว่างท่าราแบบละครหลวง ท่าฟ้อนแบบ ลา้ นนา เพลงลาวแพนทีน่ ามาบรรเลงด้วยระนาดท่เี ป็นเคร่ืองดนตรีไทยกับความเป็นพ้นื เมืองอีสานท้ัง ดนตรปี ระกอบและท่าฟ้อน แสดงใหเ้ ห็นถึงความสมั พันธ์ของวฒั นธรรมทสี่ ามารถเคลื่อนไหวเข้ามาหา กันได้ หากมีอัตลักษณ์ท่ีใกล้เคียงกัน สอดคล้องกับ อคิน รพีพัฒน์, (2551 : 72-76) ที่กล่าวว่า อตั ลักษณ์ถกู ก่อตวั ขนึ้ มาโดยผา่ นการปฎิสังสรรค์หรือการมีสว่ นร่วมระหว่างบคุ ลในสังคม และเมื่อ บคุ คลยอมรับในอัตลักษณใ์ ดอัตลกั ษณ์หน่ึงก็จะมีกระบวนการทแี่ ตกต่างกนั ในการแทนที่ กระบวน ท่าฟอ้ นทีผ่ สมผสานปะปนกันน้ัน สงิ่ ทพี่ บคอื การกลืนกลายทางดา้ นนาฏยลักษณ์ในการเคล่ือนไหวท่ีมี ความสอดรับกับท่าฟ้อนหลักของความเป็นอีสานที่เน้นการเคลือ่ นไหวรา่ งกายที่เป็นอิสระ สอดคล้อง กับทฤษฎกี ารเคลื่อนไหวที่ สรุ พล วิรุฬหร์ ักษ์, (2547 : 215)อธบิ ายเกีย่ วกับการเคล่ือนไหวว่า การ เคลื่อนไหวท่ีใช้เป็นพื้นฐานในการแสดงคือ การใช้พลังมีความแรงเป็นตัวกาหนดความรู้สึก การ เคลื่อนไหวด้วยพลังน้อยจะให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนโยน เชื่องช้า เป็นความรู้สึกที่แฝงเร้นอยู่ ภายในตางกับการฟ้อนราด้วยพลังแรงมาก ๆ ท่ีจะทาให้ความรู้สึก แข็งแรง รุกร้น แต่ทั้งน้ีทั้งน้ัน
214 องคป์ ระกอบท่ีสาคัญกระบวนการทีป่ ระดิษฐ์สร้างในทุกขัน้ ตอน ทกุ กระบวนการ ตอ้ งอยภู่ ายใต้กรอบ ขอองความลงตัวที่จะสร้างให้ศิลปะการแสดงมีความงดงามและมีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่นดัง วัตถุประสงค์แต่ด้ังเดิม สอดคล้องกบั ทฤษฎีสุนทรียศาสตร์ ที่ มโน พสิ ทุ ธริ ตั นานนท์, (2546 : 43) อธิบายว่าสุนทรียภาพในนาฎศิลป์และศิลปะการแสดงขึ้นอยู่กับการที่ผู้ชมจะได้สัมผัสรู้ทางการ เห็นและขานรับทางสุนทรียะ ด้วย จังหวะลีลา การเคลื่อนไหว เป็นมูลฐานหลักที่สาคัญ และเป็น องคป์ ระกอบสาคญั ท่ที าให้นาฎศิลป์มคี ณุ สมบัตแิ ละลักษณะเฉพาะของตัวเอง จากขอ้ ค้นพบในกระบวนการประดษิ ฐ์สร้างฟ้อนหางนกยงู จะเหน็ ว่าฟ้อนหางนกยูงเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมของชุมชนอีสานมายาวนาน มีคุณค่าในด้านความศรัทธาและคุณค่าต่อจิตใจของชาว อีสาน มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ผ่านแนวคิด ผ่านการปรับปน ผ่านการผสมผสานกับวัฒนธรรมท่ี ใกล้เคียงกัน แต่ก็ยังคงตระหง่านในอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนงดงามในสุนทรียภาพ ของความเป็นวัฒนธรรมตามเวลา แสดงให้เห็นถึง “การยอมรับของชุมชน” โดยไม่มีเง่ือนไขซึ่งเป็น เคร่ืองยืนยันว่าฟ้อนหางนกยูงจะยังคงเป็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครพนมอีกนานเท่า นาน ขอ้ เสนอแนะ 1.ข้อเสนอแนะเพอ่ื การนาไปใช้ การวิจัยเร่ืองฟ้อนหางนกยูง : อัตลักษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐ์สร้างศิลปะการแสดงใน ประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซ่ึงการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลเป็นกระบวนการที่เกี่ยวเน่ืองกับผลการวิเคราะห์ตามความมุ่งหมายการวิจัยที่ได้นาเสนอและ ปรากฎในบทท่ี4 แล้ว ดังนั้นผูว้ จิ ัยมขี อ้ เสนอแนะและอภปิ รายเพิม่ เตมิ ดังนี้ 1.1ประเพณีการฟ้อนบูชาพระธาตุพนมในประเพณีออกพรรษาเป็นการประดิษฐ์ สร้างประเพณีขึ้นเพื่อให้สมาชกิ ในชุมชนได้มาร่วมกันทากิจกรรมทาศาสนาตามธรรมชาติวสิ ัยของชาว พุทธโดยมีความเช่ือ ความศรัทธาเป็นการขับเคล่ือนการประดิษฐ์สร้างประเพณีนอกจากจะมีผล ทางด้านจิตใจแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมที่บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ ได้อย่างดีย่ิงในพื้นท่ีท่ีมีโบราณสถาน ศาสนสถาน หากมีการประดิษฐ์สรร้างประเพณีเพื่อให้ผู้คนมา รวมตัวกันก็สามารถแสดงออกถึงวัฒนธรรมต่าง ๆ ร่วมกัน จนสามารถพัฒนาเป็นแบบแผนท่ีทาให้ สังคมและชุมชนสงบมีความสขุ หรอื อาจตอ่ ยอดไปเป็นทุนในการพฒั นาการท่องเท่ียวได้อีกทางหนึ่ง
215 1.2 การฟ้อนหางนกยูงเป็นแบบอย่างของศิลปะการแสดงที่มีพัฒนาการมายาวนาน ร่วม 100 ปี มีการปรบั ปรงุ ผสมผสาน วฒั นธรรมการแสดงตามยุคสมยั แต่ยงั คงมีอัตลักษณข์ องตนเอง จัดเป็นการฟ้อนบูชาท่ีมีอัตลักษณ์ร่วมท่ีค่อนข้างสมบูรณ์ และเป็นท่ียอมรับของชุมชนจนกลายเป็น มรดกวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัฒน์ท่ีวัฒนธรรมสมัยใหม่เข้าม ามีอิทธิพลในวิถีชีวิตของคนไทย วัฒนธรรมท้องถ่ินอาจถูกกลืนกลายหากไม่มีการปรับตามยุคสมัย ตามความนิยมหรือวาระโอกาสท่ี ต้องรับใช้ชุมชน แต่การปรับปรุงจาเป็นต้องรักษาอัตลักษณ์ของตนเองไว้อย่างเข้มแข็ง ดังที่ฟ้อนหาง นกยูงปรับปรงุ และมีการพัฒนาจนมอี ายยุ ืนยาวมาจนถงึ ทุกวนั น้ี 2.ขอ้ เสนอเพือ่ การวิจัยครั้งตอ่ ไป 2.1 การฟ้อนในพิธีกรรมฟ้อนบูชาพระธาตุพนมยังมีศิลปะการแสดงที่แสดงให้เห็น ถึงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในของแต่ละชนเผ่าท่ีอาศัยอยู่ในจังหวัดนครพนม ที่มีจิตศรัทธาต่อองค์พระธาตุ พนม จึงควรมกี ารศกึ ษาและเกบ็ บันทึกขอ้ มลู ไว้ เพ่อื ใหเ้ หน็ ถงึ มรดกภูมิปญั ญาท่ีควรค่าแก่การรักษา 2.2 ควรมีการเก็บรวบรวบข้อมูลความเป็นของฟ้อนบูชาพระธาตุพนมและชาติพันธ์ุ ท่ีอาศัยอยู่ในจังหวัดนครพนม ไปทาการสร้างสรรค์เปน็ ผลงานการแสดง เพ่ือเป็นการต่อยอดและเพิม่ คุณค่าดา้ นศิลปะการแสดงของท้องถิน่ ให้มกี ารพฒั นาไปตามยคุ สมัย
บรรณานกุ รม บรรณานกุ รม
กรมศลิ ปากร. (2542). พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์เอกลักษณ์และภมู ิปัญญาท้องถิ่นจังหวัด นครพนม. กรงุ เทพฯ. การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย. (2542). คู่มือท่องเท่ยี วนครพนม (พมิ พค์ ร้งั ). กรงุ เทพฯ. เกดิ ศิริ นกน้อย. (2559). สตรรี าชสานักกับคุณุปการด้านศลิ ปะการแสดง. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดษุ ฎี บณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. แกว้ อทุ ุมมาลา. (2537). อรุ ังคนิทาน ตานานธาตุพนม. กรุงเทพฯ: นลี นารากการพิมพ.์ คาลา่ มสุ ิกา. (2558). แนวคิดการสร้างสรรคน์ าฏยประดิษฐ์อสี านวงโปงลาง. วิทยานิพนธ์ ปรัชญา ดุษฎบี ัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จตุพร ศริ ิสมั พันธ.์ (2553). สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบามสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั (พิมพ์ครัง้ ). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพมิ พ.์ จารุณี หงสจ์ ารุ. (2553). ปรทิ ัศน์ศิลปะการละคร. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ คณะ อกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . จารุวรรณ ธรรมวตั ร. (2528). รายงานวิจยั บทบาทของหมอลาตอ่ สังคมอสี านในชว่ งก่งึ ศตวรรษ. สถาบนั วิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒมหาสารคาม. จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2538). วิเคราะหภ์ มู ิปญั ญาอีสาน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. เจริญชยั ชนไพโรจน.์ (2529). รายงานการวิจัยเรื่อง ดนตรีผไู้ ทย. ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครทิ รวิโรฒมหาสารคาม. ชนะชยั กอผจญ. (2547). การศกึ ษาเพลงเด่ยี วลาวแพน ทางจระเข้. ปรญิ ญานิพนธ์ ศิลปกรรมศาสต รมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ชัชวาลย์ วงษ์ประเสรฐิ . (2532). ศิลปะการฟ้อนอสี าน. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ มหาสารคาม. ดนพุ ล ไชยสนิ ธ์.ุ (2538). นทิ านสนกุ พืน้ บา้ นอสี านร้อยแปดเรอ่ื ง (พมิ พ์ครง้ั ). เลย. เติม วภิ าคย์พจนกิจ. (2557). ประวัตศิ าสตร์อสี าน (พิมพค์ รั้ง). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ธนวรรธน์ นธิ ปิ ภานนั ท์. (2558). กระบวนการสรา้ งพ้ืนที่ทางวัฒนธรรมเพ่อื การท่องเทย่ี ว: ศกึ ษากรณี เพลนิ วาน อาเภอหวั หิน จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์. วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาดษุ ฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์.
218 ธนิต อยโู่ พธ์ิ. (2516). ศิลปะละคอนราหรอื คู่มือนาฏศิลปไ์ ทย. กรุงเทพฯ: พระเจ้าวรวงศเ์ ธอพระองค์ เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร โปรดให้พมิ พใ์ นงานฉลองพระชนมายุ 5 รอบ ณ วนั ท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2516. ธนิต อยโู่ พธิ.์ (2535). การเล่นเบิกโรง. ม.ป.พ.: ม.ป.พ. ธราดล ไชยเดชโกสิน. (2550). การพัฒนารปู แบบการประดิษฐ์ชุดการแสดงพื้นบา้ นอีสานของ วิทยาลยั นาฏศิลป. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ธัญลกั ษณ์ มลู สุวรรณ. (2555). พัฒนาการของฟอ้ นกลองยาว อาเภอวาปีปทมุ จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานพิ นธ์ ศิลปศาตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ธรี ะยทุ ธ ยวงศรี. (2540). การดนตรกี ารขบั ร้องการฟ้อนลา้ นนา (พมิ พ์ครัง้ ). เชียงใหม:่ สุริวงศ์บุค๊ เซน เตอร์. ธีรารตั น์ ลลี าเลิศสรุ ะกลุ . (2559). ทางอศี าน. ความเชื่อ...สพู่ ลังศรทั ธา สายธารของวฒั นธรรม ประเพณอี ีสาน. นพรตั น์ บัวพัฒน.์ (2559). เม็ดพรายของปรมจารย์นาฏศิลป์: การสงั เคราะห์องค์ความร้เู พ่อื พัฒนา ศลิ ปะการแสดงในประเทศไทย. วิทยานพิ นธ์ ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. นฤทรบ์ ดินทร์ สาลพี นั ธ.์ (2548). พัฒนาการฟ้อนบชู าพระธาตพุ นม. วทิ ยานิพนธ์ ศิลปะศาสตรมหา บณั ฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ปรติ ตา เฉลิมเผ่ากออนนั ตกลู . (2534). เบกิ โรง : ขอ้ พจิ ารณานาฏกรรมในสังคมไทย. กรงุ เทพฯ: สถาบันไทยคดศี ึกษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ปริตตา เฉลิมเผ่ากออนนั ตกลู . (2545). โลกของนางรา. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. ปุณณรัตน์ พิชญไพบลู ย์. (2561). จติ ตวิทยาศิลปะ สนุ ทรยี ศาสตร์เชิงประจักษ์ (พมิ พ์คร้ัง). กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พจมาลย์ สมรรคบุตร. (2538). แนวคิดในการประดิษฐท์ ่ารา. อดุ รธานี: สถาบันราชภัฎอุดรธานี. พระเทพรัตนโมล.ี (2557). พระธาตุพนม. นนทบรุ :ี มติชนปากเกรด็ . พระอริยานุวตั ร เขมจารีเถระ. (2530). คตคิ วามเชื่อชาวอสี าน ใน วัฒนธรรมพน้ื บ้านคติความเช่อื .
219 กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . พีรพงศ์ เสนไสย. (2547). สายธารแหง่ ฟ้อนอสี าน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. พรี พงศ์ เสนไสย. (2556). พลวัฒน์นาฏยศิลปอ์ ีสานในมกุ ดาหาร. วทิ ยานพิ นธ์ ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. มนสั วี ศรรี าชเลา. (2556). รปู แบบการอนรุ กั ษ์และสบื สาน การราบวงสรวงในโบราณสถานอีสานใต้. วิทยานพิ นธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. มโน พิสุทธิรตั นานนท.์ (2546). สนุ ทรยี ศาสตรเ์ บอ้ื งต้น (พิมพค์ ร้ัง). สงขลา: ภาควชิ าศิลปกรรม มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ . มเี ดช เตโช. (2554, October 15). ประเพณีราบชู าพระธาตพุ นม. สยามรัฐ, p. 13. ยศ สนั ตสมบัต.ิ (2559). มนุษย์กบั วัฒนธรรม. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ ยุทธศลิ ป์ จฑุ าวจิ ติ ร. (2539). ฟ้อนอสี าน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ยวุ ดี พลศริ .ิ (2556). การสรา้ งสรรคน์ าฏกรรมในวงดนตรลี ูกท่งุ ระดับมธั ยมศกึ ษา จังหวดั มหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ราชบัณฑิตยสถาน. (2530). พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2530. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญ ทัศน.์ เรณู โกศินานนท์. (2548). นาฏดรุ ิยางคสงั คีตกับสังคมไทย. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. วรรณณกิ า นาโสก. (2551). พัฒนาการฟ้อนกลองต้มุ อาเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรสี ะเกษ. วิทยานิพนธ์ ศิลปะศาสตรมหาบัณฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วราพร แกว้ ใส. (2559). รปู แบบการประยุกต์นาฏกรรมวงดนตรลี ูกทุ่งในสถานศึกษาเพ่ือเศรษฐกิจ สร้างสรรค.์ วิทยานพิ นธ์ ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. วัฒนศักด์ิ พฒั นภูทอง. (2548). พัฒนาการฟอ้ นหางนกยงู ในจงั หวดั นครพนม. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสต รมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วบิ ลู ย์ ลส้ี ุวรรณ. (2540). มรดกวัฒนธรรมพื้นบ้าน. กรงุ เทพฯ: ต้นอ้อ. วิรชั บุญยกุล. (2530). ดนตรพี ้ืนบา้ นอสี าน ใน ดนตรีไทยอุดมศกึ ษา คร้งั ท่ี 18 ณ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . ขอนแก่น: ม.ป.พ.
220 วิรณุ ตงั้ เจริญ. (2546). สุนทรียศาสตรเ์ พ่ือชวี ิต (พิมพ์ครัง้ ). กรงุ เทพฯ: สนั ติศิรกิ ารพมิ พ.์ วิศรุต พงึ่ สนุ ทร. (2557). ประวตั ศิ าสตรว์ ัฒนธรรมพฒั นาการและแนวคิด. กรงุ เทพฯ: ธรรมศาสตร.์ ศภุ ชยั วิจติ รเจรญิ . (2536). ความเชอื่ ของชาวอสี านทม่ี ีตอ่ พระธาตพุ นม. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรม หาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมชาย มณโี ชติ. (2554). พระธาตพุ นม: ศาสนสถานศักด์สิ ิทธิ์ในมติ ดิ ้านสัญลกั ษณท์ างสังคม วัฒนธรรม. วทิ ยานิพนธ์ ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานภุ าพฯ. (2546). ละครฟ้อนรา : ประชมุ เร่อื งละครฟ้อนรากับระบาราเตน้ ตาราฟ้อนรา ตานานเรือ่ งละครอิเหนา ตานานละครดึกดาบรรพ์ พระนิพนธ์ สมเดจ็ พระเจา้ บรม วงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ. กรุงเทพฯ: มตชิ น. สมพร ฟรู าจ. (2554). Mime: ศลิ ปะท่าทางและการเคลื่อนไหว (พิมพค์ รัง้ ). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. สมศักดิ์ ศรสี ันตสิ ขุ . (2544). การศึกษาสงั คมและวัฒนธรรม. ขอนแก่น: ภาควชิ าสงั คมวิทยาและ มานษุ ยวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สาโรจน์ มีวงษ์สม. (2554). นกในตานาน. Retrieved June 23, 2019, from http://www.happyreading.in.th/article/detail.php?id=706 สานกั ปฏิบตั ิธรรม นครพนม. (n.d.). นกยงู ในพระพุทธศาสนา. Retrieved June 23, 2019, from http://www.watpamahachai.net/ สานกั วัฒนธรรมจังหวัดนครพนม. (2549). การแสดงชุดฟ้อนราหางนกยงู . นครพนม: ม.ป.พ. สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. (2549). พลงั ลาว ชาวอสี าน มาจากไหน (พมิ พค์ ร้งั ). กรุงเทพฯ: มตชิ น. สดุ ใจ ทศพร. (2554). ศิลปะกบั ชีวิต. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . สุพรรณี อว้ นพรมมา. (2550). การพฒั นาการฟ้อนสักการะพระธาตนุ าดนู กลุ่มสาขาวิชา ศิลปะการแสดง เอกนาฏยศิลป์พื้นเมือง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ชนั้ ปี ท่ี 2. วทิ ยานพิ นธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. สุมิตร เทพวงศ.์ (2548). นาฏยศิลป์ไทย : สาหรับครูประถม-อุดมศึกษา. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ สรุ พล วิรฬุ ห์รกั ษ.์ (2547). หลกั การแสดงนาฏยศิลปป์ ริทรรศน์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
221 สรุ พล วริ ฬุ ห์รกั ษ์. (2549). นาฏยศิลป์ในรัชกาลท่ี9. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . เสาวภา ไพทยรตั น์. (2539). พืน้ ฐานวัฒนธรรมไทย: แนวทางการอนรุ ักษ์และพฒั นา. กรงุ เทพฯ: กรมการศาสนา. เสาวรตั น์ ทศศะ. (2556). การอนุรักษ์และสืบสานศิลปะการฟอ้ นบูชาพระธาตุในภาคอสี าน. วทิ ยานิพนธ์ ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. หอสมุดแหง่ ชาตริ ัชมังคลาภเิ ษก จันทบรุ ี. (n.d.). พธิ ีกรรมทางพุทธศาสนา. Retrieved June 30, 2019, from http://www.finearts.go.th/parameters/ อคนิ รพีพฒั น.์ (2551). วฒั นธรรมคือความหมาย. กรงุ เทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ ิธร. อเนก นาวกิ มลู . (2547). ประเพณีไทย. กรุงเทพฯ: ยนู ิเวอร์แซล กราฟฟิค แอนด์ เทรดดิ้ง. อภญิ ญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลกั ษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคดิ = Identity (พิมพ์ ครั้ง). กรงุ เทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจยั แหง่ ชาติ สาขาสงั คมวิทยา สานกั คณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ. อภศิ ักด์ิ โสมอินทร.์ (2537). โลกทศั น์อีสาน (พิมพ์ครง้ั ). มหาสารคาม: ชาตกิ ารพิมพ.์ อมรา กล่าเจริญ. (2535). ละครชาตรที แี่ สดง ณ จังหวดั พระนครศรีอยทุ ธยา. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสต รมหาบัณฑติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . อมรา พงศาพชิ ญ. (2537). วัฒนธรรมศาสนาและชาติพนั ธ วเิ คราะหสังคมไทยแนวมานุษยวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. อรา่ มจิต ชณิ ช่าง. (2544). ของดีศรโี คตรบรู ณ์. นครพนม: ปริญญาการพิมพ์. อุรารมย์ จนั ทมาลา. (2558). ความเชอื่ และอัตลักษณ์ท่ีปรากฏในการราบวงสรวงศาสนสถานในภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : ระบาจัมปาศรี. วารสารมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปที ี่ 34 ฉบบั ท่ี 1. อษุ ณีย์ พ่อบุตรด.ี (2557). การเปลี่ยนแปลงของฟ้อนผู้ไทยในการทอ่ งเทีย่ วทางศิลปวัฒนธรรม. วิทยานพิ นธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เอกรินทร์ พึ่งประชา. (2545). พระราห :ู ประเพณีประดิษฐ์แหง่ วัดศรี ษะทอง. วิทยานพิ นธ์ ศลิ ปศาสต รมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
222 Elaine Jordan. (2012). The Symbolism of the Peacock. Retrieved June 26, 2019, from https://www.traditioninaction.org/religious/f023_Peacock.htm Hobsbawm, Eric. and Ranger, T. (1983). The Invention of Tradition. Cambridge: Cambridge University press. Malinowski. B. (1995). Magic Science and Religion. New York: Deubleday. Niki GAMM. (2014). No Title. Retrieved May 19, 2019, from http://www.hurriyetdailynews.com/the-peacock-a-symbol-of-royalty-65241
223 ภาคผนวก
224 ภาคผนวก ก. รายนามผใู้ ห้สัมภาษณ์
225 รายนามผู้ให้สัมภาษณ์ กนกวรรณ แควน้ คอนฉิม เป็นผใู้ ห้สัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผสู้ ัมภาษณ์, ที่บา้ นคาผาสกุ อ.เรณูนคร จ.นครพนม, เมอื่ วนั ท่ี 18 ตลุ าคม 2561 กรณ์ภัสสร กาญจพนั ธ์ุ เป็นผู้ใหส้ มั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เปน็ ผสู้ ัมภาษณ์, ท่ีภาควชิ า ศลิ ปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, เม่ือวันที่ 25 เมษายน 2562 กฤษดากร บันลือ เปน็ ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่สถาบนั ภาษาและ ศิลปวฒั นธรรมมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สกลนคร, เมอื่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2561 กิตติศักดิ์ ลมสวาท เปน็ ผ้ใู ห้สัมภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เป็นผสู้ ัมภาษณ์, ภาควิชาศลิ ปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, เมื่อวันท่ี 11 มีนาคม 2562 เกิดศิริ นกน้อย เปน็ ผใู้ หส้ ัมภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เปน็ ผ้สู ัมภาษณ์, ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2561 จนั ทร รัศมี เป็นผู้ใหส้ ัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผูส้ มั ภาษณ์, ท่โี รงเรียนนครพนมวิทยาคม อาเภอเมือง จงั หวดั นครพนม, เม่อื วันที่ 21 ตุลาคม 2562 ชลลดา แคว้นคอนฉมิ เปน็ ผ้ใู หส้ ัมภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เป็นผู้สมั ภาษณ์, ทบ่ี า้ นคาผาสุก อ.เรณูนคร จ.นครพนม, เม่ือวันท่ี 19 ตลุ าคม 2561 ชัยบดนิ ทร์ สาลีพันธ์ุ เป็นผใู้ ห้สมั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผู้สัมภาษณ์, ทว่ี ดั พระธาตุพนมวรวิหาร อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม, เม่ือวนั ที่ 20 ตุลาคม 2561 ณัฐปกรณ์ อภิมตริ ัตน์ เป็นผใู้ หส้ ัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผสู้ มั ภาษณ์, ทรี่ า้ นบา้ นนาฏย อาเภอ
226 กันทรวชิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม, เมื่อวนั ที่ 16 กันยายน 2561 นฤบดนิ ทร์ สาลีพนั ธุ์ เปน็ ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เปน็ ผู้สัมภาษณ์, ทภ่ี าควชิ าศลิ ปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, เมือวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 นวธร นนท์คาวงค์ เป็นผ้ใู ห้สัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผ้สู ัมภาษณ์, ท่ีโรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม จังหวัดนครพนม, เม่ือวนั ท่ี 22 ตุลาคม 2561 นายวนั ชัย ผมไผ เป็นผใู้ ห้สมั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผู้สมั ภาษณ์, ทคี่ ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , เมอ่ื วันที่ 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 บุญพร บญุ คา เปน็ ผใู้ ห้สัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เปน็ ผสู้ มั ภาษณ์, โรงเรียนนครพนมวทิ ยาคม จังหวัดนครพนม, เม่ือวันท่ี 9 ตุลาคม 2561 ประภสั สร จนั ดา เป็นผู้ใหส้ มั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผสู้ ัมภาษณ์, ทภ่ี าควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, เม่ือวนั ที่ 18 เมษายน 2562 ศริ ิวฒุ มโนสา เปน็ ผใู้ หส้ ัมภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เปน็ ผสู้ ัมภาษณ์,ที่ภาควชิ าศิลปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, เมือวนั ที่ 31 ตุลาคม 2561 สนิ ีนนั ท์ อรยิ เดช เปน็ ผู้ให้สัมภาษณ์, ศุภกร ฉลองภาค เป็นผู้สมั ภาษณ์, โรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม จงั หวดั นครพนม, เม่ือวันท่ี 22 ตลุ าคม 2561 เสาวรตั น์ ทศศะ เป็นผ้ใู ห้สมั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผู้สัมภาษณ์,ที่มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บุรีรมั ย์, เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2561 อภิชาต ขนั บา เปน็ ผู้ใหส้ ัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เปน็ ผ้สู ัมภาษณ์, ทว่ี ัดพระธาตุพนมวรวหิ าร อาเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม, เมอ่ื วันท่ี 20 มีนาคม 2562 อร่ามจิต ชณิ ชา่ ง เปน็ ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เป็นผู้สัมภาษณ์, ท่บี า้ นเลขท่ี 234/6 บ้านกรุณาธคิ ุณ ถนน นครพนม-ทา่ อเุ ทน ต.อาจสามารถ อ.เมือง จ.นครพนม, เมอ่ื วนั ท่ี 10
227 ตลุ าคม 2561 อจั ฉราภรณ์ กะกุลพิมพ์ เป็นผ้ใู ห้สัมภาษณ์, ศภุ กร ฉลองภาค เปน็ ผสู้ มั ภาษณ์, ทีค่ ณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, เมอ่ื วันที่ 20 มถิ นุ ายน 2561
228 ภาคผนวก ข เครือ่ งมือในการวจิ ัย
229 แบบสมั ภาษณช์ ดุ ท่ี 1 แบบสมั ภาษณ์ผู้รเู้ ก่ยี วกับฟ้อนหางนกยูง (นักวิชาการด้านวัฒนธรรม/ศลิ ปินพ้นื บา้ นด้านฟ้อนอสี าน) เร่ือง ฟอ้ นหางนกยูง : อตั ลกั ษณ์วัฒนธรรมและการประดิษฐส์ รา้ งศลิ ปะการแสดง ในประเพณีออกพรรษาบูชาพระธาตุพนม ................................................................................................................................................... หมวดท่ี 1 ประวตั ิและขอ้ มลู พ้ืนฐานเกี่ยวกบั ผู้ใหส้ ัมภาษณ์ 1. ช่ือ – สกุล.........................................................................อาย.ุ ............................. 2. การศกึ ษา............................................................................................................... 3. อาชีพหลกั .............................................................................................................. 4. ทอี่ ยู่ ............................................................................................................................. .. ........................................................................................................................ ....... ............................................................................................................................. .. 5. โทรศพั ท.์ ................................................................................................................ 6. สถานภาพครอบครัว ( ) โสด ( ) สมรส ( ) หย่าร้าง หมวดท่ี 2 ข้อมูลเกีย่ วกับความรเู้ ร่อื ง ฟ้อนหางนกยูง จังหวดั นครพนม 1. มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจในศลิ ปะการฟ้อนหางนกยูงเป็นระยะเวลา............................ปี 2. ประวตั คิ วามเป็นมาของฟ้อนหางนกยูงจงั หวัดนครพนม เป็นอย่างไร ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. ..
230 3. รูปแบบการฟอ้ นหางนกยูงจังหวัดนครพนมเป็นอย่างไร ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. 4. องคป์ ระกอบของฟอ้ นหางนกยูง จงั หวดั นครพนม มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. 5. ดนตรีทใ่ี ช้ประกอบฟอ้ นหางนกยูง จงั หวดั นครพนม มีอะไรบา้ ง ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. 6. ท่าฟ้อนหางนกยูง จังหวดั นครพนม มีท่าอะไรบา้ ง ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..
231 7. ฟ้อนหางนกยงู เข้ามามบี ทบาทในการฟ้อนบชู าพระธาตุพนมเมอื ใด ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................... ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. 8. ข้อสงั เกต ...................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. .. ...................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. .. ...................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. .. ...................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. .. 9. คาแนะนา ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .. ลงชื่อ ................................................ ผสู้ มั ภาษณ์ วนั ที่ ............... เดอื น .............................. พ.ศ. ................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268