Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4

ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4

Published by Sarawut Kedtrawon, 2021-11-08 04:25:02

Description: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings)
ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4
"การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal"

Keywords: Proceedings

Search

Read the Text Version

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ 7.3 สรุปสมมติฐานการวิจยั กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือชาวบ้าน ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 217 ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภูมิและสมาชิก สภาเมืองชัยภูมิของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสัมภาษณ์ มีความ คดิ เหน็ ตอ่ การเลอื กตัง้ นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชัยภูมิและสมาชกิ สภาเมืองชัยภูมิ โดยแยกผลดังนี้ สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภูมิและสมาชกิ สภาเมืองชัยภมู ขิ องชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาไฟส่องสว่าง พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 91.9 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งนั้น สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภมู แิ ละสมาชกิ สภาเมอื งชยั ภูมขิ องชุมชนโคกน้อย อำเภอเมอื ง จังหวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาท่อระบายน้ำ พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งนั้น สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวัดชยั ภมู ิ เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานที่ 3 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภมู ิและสมาชิก สภาเมืองชัยภูมขิ องชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาความคิดความเป็นอยู่ พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว้ ดั้ง นน้ั สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกต้ังท้องถ่นิ กรณีศึกษา ชมุ ชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 4 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชัยภูมิและสมาชิก สภาเมืองชยั ภมู ขิ องชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาระดับรายได้ของประชาชน พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตงั้ ไว้ ดงั้ นน้ั สมมติฐานเรอ่ื งความคาดหวังของประชาชนตอ่ การเลือกตง้ั ทอ้ งถ่นิ กรณีศึกษา ชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอ เมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ เป็นไปตามสมมตฐิ าน ~ 83 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สมมติฐานที่ 5 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชยั ภมู ิและสมาชกิ สภาเมืองชยั ภูมิของชุมชนโคกนอ้ ย อำเภอเมอื ง จงั หวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาการสร้างถนนในชมุ ชน พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไมใ่ ช่ มจี ำนวน 18 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.7 จากกลมุ่ ตวั อยา่ งท้ังหมด 217 คน เปน็ ไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้ ดั้ง นัน้ สมมติฐานเร่ืองความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถ่ินกรณีศึกษา ชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภมู ิ เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 6 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชยั ภมู ิและสมาชิก สภาเมืองชัยภูมิของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมอื ง จังหวดั ชัยภูมิ น่าจะเกิดการส่งเสริมการศึกษา พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งน้ัน สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานที่ 7 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชยั ภมู แิ ละสมาชิก สภาเมืองชัยภมู ขิ องชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภูมิ น่าจะเกิดการสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้ ดั้ง นั้น สมมติฐานเร่อื งความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกต้ังท้องถิ่นกรณีศึกษา ชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภูมิ เป็นไปตามสมมตฐิ าน 8. อภปิ รายผลการวจิ ยั ผลของการวิจัยเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาวิจัยเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกต้ัง ท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ และเพื่อศึกษาความนิยมของของประชาชนต่อ ผู้สมัครนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองและสมาชิกเทศบาลเมืองชัยภูมิ และเพื่อศึกษาความต้องการของ ประชาชนในการพฒั นาชมุ ชนในเขตเทศบาลเมอื งชยั ภมู ิ 8.1.1ความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ ความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภูมิและสมาชิก สภา เมอื งชยั ภมู ิของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พบวา่ ปญั หาในการเลือกตัง้ ท้องถน่ิ ในชมุ ชนเทศบาล ~ 84 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ ชยั ภูมเิ กิดขึ้นเนอื่ งจากมผี ้ลู งสมัครมากกว่า 1 คน ทำใหม้ ีการใชส้ ทิ ธิขายเสียงของคนในชุมชน ผู้มาใช้สิทธิน้อย ผู้พิการ และผู้สูงอายุ ไม่ได้รับความสะดวกในการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง และพบว่า มีปัญหาเรื่องไฟส่องสว่างบน ถนนตามซอยในชุมชนทำให้หมู่บ้านไม่สวา่ งและเกิดอุบัติเหตุบ่อยคร้ังและอยากให้มีการขยายพ้ืนท่ีในชุมชนให้ ประชากรในชมุ ชนได้รบั ความสะดวกสบายในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆเพ่อื ให้ประชาชนสามารถทำกิจกรรม ทั้งภายในและภายนอกอาคารบ้านเรือนได้เสมือนหนึ่งเป็นเวลากลางวันเพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชากรในท้องถ่นิ และชุมชนเมือง อีกปญั หาหน่ึง เรือ่ งท่อระบายนำ้ มปี ัญหาท่ออุดตันทำให้น้ำท่วมในชุมชน เกิดจากใบไม้หรือดินเข้าไปอุดตันตามท่อระบายน้ำมขี ยะตามมาด้วยประชาชนอยากให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ เข้ามาดูแลและพัฒนาในเรื่องนี้มากขึ้นเพื่อให้ประชาชนในชุมชนโคกน้อยลดปัญหานี้ลงเพื่อความสะดวกของ ประชาชน 8.1.2 ความนยิ มของของประชาชนต่อผู้สมัครนายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งและสมาชิกเทศบาลเมือง ชยั ภูมิ ความนยิ มของของประชาชนต่อผู้สมัครนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองและสมาชิกเทศบาลเมืองชัยภูมิ ของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พบว่าการได้ผู้แทนเทศบาลที่มาจากซื้อใช้สิทธิขายเสียงของ ประชาชน หรอื ไดม้ าโดยความไม่ชอบธรรม อาจทำใหเ้ กดิ การทุจริต ขาดความซอื่ สตั ย์ ไม่มีการพัฒนาในชุมชน โกงกินงบประมาณ เกิดความไมช่ อบธรรมในการดแู ลคนในชุมชน และประชาชนอยากให้พฒั นาความคิดความ เป็นอยู่ของประชาชนใด้ดีกว่าน้ี เช่น พฒั นาความเจริญด้านเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรมของชมุ ชนปรับปรุง สภาพความเป็นอยู่ในชุมชนให้มีความเปน็ ปึกแผ่นและดำเนนิ งานไปในแนวทางทต่ี นเองต้องการ โดยอาศัยการ รวมกำลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการช่วยเหลือตนเองและร่วมมือกันดำเนินงาน และอยากให้หน่วยงาน หรือผู้ใหญ่บ้านในชุมชนเข้ามาดูถนนในซอยที่ไม่ได้พัฒนาอยากให้มีการพัฒนาหรือสร้างถนนเพิ่มในชุมชนที่ ขาดการเดินทางไมส่ ะดวกต่อชมุ ชนและต้องได้รบั การสนบั สนุนชว่ ยเหลือทางด้านหน่วยงานภายนอกด้วย 8.1.3 ความต้องการของประชาชนในการพฒั นาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองชยั ภมู ิ ความต้องการของประชาชนในการพฒั นาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองชัยภูมขิ องชุมชนโคกนอ้ ย อำเภอ เมือง จังหวัดชัยภูมิ คือการให้ความรู้เกี่ยวกับประชาชนในการเลือกตั้ง การตรวจเข้มในเรื่องการซื้อสิทธิขาย เสียง และการรณรงค์ในการเลือกตั้ง และอยากให้พัฒนารายได้ของประชาชนในเรื่องค้าขายของในชุมชนให้ดี ดีกว่าน้ี และอีกดา้ นหนงึ่ อยากให้หนว่ ยงานไดช้ ว่ ยในการส่งเสริมการศึกษาของเด็กในชุมชนท่ขี าดแคลนในเรื่อง ทุนการศึกษาอยากให้หน่วยงานรัฐช่วยเหลือเพื่อให้เด็กมีกำลังใจในการเรีย นและเป็นคนดีของสังคมให้รู้จัก ช่วยเหลือกันและกันสร้างให้เด็กและเยาว์ชนมีกำลังในการทำความดี และปัญหาการสนับสนุนค่า รกั ษาพยาบาล เปน็ ปญั หาใหญใ่ นชุมชนเพราะ คนแก่ หรือ คนพิการ ท่ที ำงานชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้ต้องรอเงิน สงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ ประชาชนเลยอยากให้แก้ไขปัญหานี้และอยากให้หน่วยงานเข้ามา ~ 85 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ แก้ไขดแู ลและพฒั นาใหม้ ากกวา่ น้ี เพราะจะได้ลดความเดือดรอ้ นและชว่ ยเหลือผู้สงู อายกุ ับผู้พิการที่ช่วยตัวเอง ไม่ได้ 8.1.4 การอภปิ รายผลการทดสอบสมมตฐิ านการวิจัย สมมติฐานที่ 1 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชัยภูมิและสมาชกิ สภาเมืองชยั ภมู ขิ องชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาไฟส่องสว่าง พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 216 คน คิดเป็นร้อยละ 91.9 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งน้ัน สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภูมิ เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 2 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญ หาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภูมแิ ละสมาชิก สภาเมอื งชยั ภูมขิ องชุมชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาท่อระบายน้ำ พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งน้ัน สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานที่ 3 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชยั ภูมแิ ละสมาชกิ สภาเมืองชยั ภูมขิ องชุมชนโคกน้อย อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาความคิดความเป็นอยู่ พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว้ ดั้ง นัน้ สมมตฐิ านเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถน่ิ กรณีศึกษา ชมุ ชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภมู ิ เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 4 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกต้ัง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภูมแิ ละสมาชกิ สภาเมอื งชยั ภมู ขิ องชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมอื ง จังหวัดชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาระดับรายได้ของประชาชน พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตัง้ ไว้ ดง้ั นั้น สมมตฐิ านเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งทอ้ งถนิ่ กรณีศกึ ษา ชุมชนโคกนอ้ ย อำเภอ เมือง จงั หวดั ชยั ภมู ิ เป็นไปตามสมมตฐิ าน ~ 86 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ สมมติฐานที่ 5 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชัยภมู ิและสมาชิก สภาเมอื งชยั ภมู ิของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมอื ง จังหวัดชยั ภูมิ น่าจะเกิดการพัฒนาการสรา้ งถนนในชุมชน พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไมใ่ ช่ มีจำนวน 18 คน คดิ เป็นร้อยละ 7.7 จากกลมุ่ ตัวอย่างท้ังหมด 217 คน เป็นไปตามสมมตฐิ านท่ีต้งั ไว้ ด้ัง น้นั สมมตฐิ านเรอื่ งความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถนิ่ กรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภมู ิ เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 6 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชยั ภมู ิและสมาชิก สภาเมอื งชยั ภมู ิของชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภูมิ น่าจะเกิดการส่งเสริมการศึกษา พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้งน้ัน สมมติฐานเรื่องความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นกรณีศึกษา ชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภมู ิ เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานที่ 7 ประชาชนที่ตอบแบบสัมภาษณ์โดยมีความคิดเห็นต่อปัญหาการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื งชัยภมู แิ ละสมาชกิ สภาเมืองชัยภูมขิ องชมุ ชนโคกน้อย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดการสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล พบว่าประชาชนตอบ “ใช่” จำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ไม่ใช่ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.7 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 217 คน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดั้ง นน้ั สมมติฐานเรอ่ื งความคาดหวังของประชาชนต่อการเลือกต้ังท้องถ่ินกรณีศึกษา ชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะแก้ไขและเพิ่มเติม ควรมกี ารพฒั นาความปลอดภัยของประชาชน และเพิ่มลกู ระนาดในชุมชนเพราะลดการขับรถเร็วของ วยั รุ่นและเพ่ิมถังขยะในชุมชนใหเ้ พยี งพอต่อประชาชน 9.2 ข้อเสนอแนะการทำวิจยั ครั้งตอ่ ไป การศกึ ษาการเลือกต้ังนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองชยั ภูมแิ ละสมาชกิ สภาเมอื งชัยภูมขิ องชุมชนโคก น้อย อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ หรือปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การเลอื กต้ังนายกเทศบาล ควรสอบถามความคิดเห็นจาก ประชาชนทม่ี สี ทิ ธริ บั เลือกตั้งทกุ คน และไม่มกี ารเจาะจง ~ 87 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ บรรณานกุ รม 1. ภาษาไทย ราชกิจจานเุ บกษา. (2550). รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย สำนักพิมพค์ ณะรัฐมนตรแี ละราชกจิ จา นุเบกษา. คน้ หาราชกิจจานุเบกษา. หนา้ 112. ~ 88 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ การจัดการปญั หาขยะชมุ ชนบา้ นขเ้ี หลก็ ใหญ่ หม่ทู ่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งชยั ภูมิ จงั หวดั ชัยภมู ิ สรุ วุฒิ พิมพ์เมืองเก่า (Surawut Pimmuangkao)1 บทคดั ย่อ การวิจัยในเล่มนี้ศึกษาเรื่อง การจัดการปัญหาขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุปัญหาการจัดการขยะ 2) เพื่อศึกษา ผลกระทบปัญหาการจัดการขยะบ้านข้ีเหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมี กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ จำนวน 340 คน เครื่องมือวิจัยได้แก่ ส่วนที่ 1) แบบสัมภาษณ์ ขอ้ มูลทั่วไป เก่ยี วกับเพศ อายุ อาชีพ รายได้ การศกึ ษา สว่ นที่ 2) ตอนท่ี 1 สาเหตุปญั หาการจดั การขยะชุมชน บ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภมู ิ ตอนที่ 2 ผลกระทบที่เกิดจากปญั หา การจัดการขยะชมุ ชนบ้านขี้เหลก็ ใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองชัยภมู ิ จังหวัดชยั ภมู ิ มีอะไรบา้ ง และ สว่ นที่ 3) ตอนที่ 1 ข้อเสนอแนะและขอ้ คิดเห็นเพิ่มเติม แบบสอบถามความพงึ พอใจ สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิจยั ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ (%) คำสำคัญ :ขยะมูลฝอย, การจัดการขยะ, จังหวัดชัยภูมิ 1 นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ Corresponding author, E-mail: [email protected] ~ 89 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ Waste Management of Choomchon Bankeelegyai Moo9, Nai Mueang Sub District,Muang District, Chaiyaphum Province Abstract Research in this book studies Waste management in the community of Baan Keeleg Yai, Village Moo.9, Nai Mueang Subdistrict, Mueang Chaiyaphum District Chaiyaphum Province Objective: 1) to study the causes of waste management problems 2) to study the impacts of waste management problems at Ban Keeleg Yai Village, Village Moo.9, Nai Mueang Subdistrict, Mueang Chaiyaphum District Chaiyaphum Province Which has a sample group 340 people of Ban Keeleg Yai, the research tool, including part 1 ) interview form, general information on gender, age, occupation, income, education, part 2 ) part 1 , cause of waste management problems in Ban Keeleg Yai community, Village No. Chaiyaphum Chaiyaphum Province Part 2 Impacts from Waste Management Problems of Baan Keeleg Yai Community, Village Moo.9, Nai Mueang Subdistrict, Mueang Chaiyaphum District What is Chaiyaphum? And Part 3 ) Part 1 Suggestions and additional comments Satisfaction questionnaire Research statistics Ie percentage value (%) Keyword: Solid Waste, Waste Management, Chaiyaphum Province ~ 90 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ 1. บทนำ ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างยิ่ง จากการสำรวจข้อมูลภายในประเทศไทยพบว่า ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมากับพนักงานที่เก็บขยะหรือประชาชนทีอ่ าศัยอยู่ใกล้กบั บริเวณที่ทิ้งขยะ อีกทั้งยังส่งกลิ่นเหม็นและส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจได้ และบางครั้งอาจจะมีสัตว์มีพิษ ตามมาอีกด้วย รวมถึงพฤติกรรมของประชาชนคนไทยที่มักง่ายและปล่อยปะละเลยสุขอนามัยและพฤติกรรม การทิ้งขยะที่ไม่เป็นที่เป็นทาง การทิ้งขยะไม่ลงถัง การนำขยะไปทิ้งข้างทาง เป็นต้น กล่าวคือ ประเทศไทยมี ประชากรที่มคี ุณภาพชีวิตที่ต่ำหากเทียบกกบั ตา่ งประเทศ การไมเ่ คารพกับกฎระเบยี บของสงั คม การสร้างขยะ ภายในประเทศโดยไม่คำนึงถึงผลที่จะตามมาในระยะยาว รวมถึงการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ได้มาตรฐานและ ถูกต้องตามหลักสากล สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยไม่เพียงพอกับขยะที่เกิดขึ้นภายในแต่ละวัน ประชาชนขาด ความรู้เร่ืองการกำจดั ขยะมูลฝอยอย่างถกู วิธี หนว่ ยงานของรฐั บาลบางแห่งแจกจ่ายถังขยะไมเ่ พยี งพอต่อความ ต้องการของประชาชน ขาดรถเก็บขยะจำนวนมาก รวมถึงการขาดบคุ ลากรทางด้านนี้ จากปัญหาดังกล่าวของ ประเทศไทยที่สะสมมาอย่างยาวนาน และไม่สามารถแก้ปัญหาได้ในระยะยาว ทั้งปัญหาขยะภายในชุมชน ปัญหาขยะภายในเขตท่องเท่ยี วทมี่ ีมากกวา่ ชมุ ชนเสยี อกี ทำให้ต่างประเทศมองระบบการจดั การปัญหาขยะมูล ฝอยของประเทศว่าด้อย อีกทง้ั ยงั มองถึงการศึกษาของไทยท่ีไมป่ ลูกฝังจิตสำนึกใหเ้ ด็กมีระเบยี บวินยั ท้ิงขยะให้ ถูกท่ถี กู ทาง ฉะนน้ั การกำจดั ขยะมลู ฝอยจึงเป็นปัญหาทีต่ ้องได้รบั การแกไ้ ขอย่างเรง่ ดว่ น จากการสำรวจข้อมูลขยะมูลฝอย สำหรับปี 2562 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 1.92 ล้านตัน มีการ จัดการขยะมูลฝอยถูกคัดแยก ณ ต้นทาง และนำกลับมาใช้ประโยชน์ 0.81 ล้านตัน (ร้อยละ 42.41) เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมาร้อยละ 36.64 ส่วนใหญ่เป็นการนำขยะรีไซเคิลไปใช้ประโยชน์ และการใช้ประโยชน์จากขยะ อินทรีย์ การกำจัดขยะมูลฝอยอย่าง ถูกต้อง 0.79 ล้านตัน (ร้อยละ 41.52) ส่งผลให้มีการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกต้อง1.61 ล้านตัน (ร้อยละ 83.93) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 20.29 แต่ยังคงมีขยะมูลฝอยอีก ประมาณ 0.31ล้านตนั (รอ้ ยละ 16.07) กำจดั อย่างไม่ถูกต้อง เชน่ ครวั เรอื นจัดการขยะด้วยการเผา การเทกอง ในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ซึ่งต้อง ดำเนินการจัดการให้ถูกต้องต่อไป จากรายงานสถานการณ์มลพิษของ ประเทศไทยปี 2556-2561 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีค่า เท่ากับ 26.77 26.19 26.85 27.06 27.37 27.82 ล้านตัน/ปี จากข้อมูลข้างต้นปริมาณขยะมูลฝอยมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น โดยการคาดการณ์จำนวน ประชากรในปี 2562 และ คำนวณปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ีเกิดขึ้น โดยใชอ้ ตั ราการเกดิ ขยะมลู ฝอยตามระดับของ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ตามการศึกษาของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าปี 2562 มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึน ประมาณ 1.89 ล้านตันเมื่อ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมามีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นประมาณ 0.03 ล้านตัน (ร้อยละ 1.61) และคาดการณ์ว่า ปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามการขยายตัว ของเมือง การเพิม่ ข้นึ ของจำนวนประชากรและประชากรแฝง การปรับเปล่ยี นวิถชี วี ิตความเป็นอยู่ไปเป็นชุมชน เมืองพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน รวมถึงการเติบโตของการท่องเที่ยว การจัดการขยะมูลฝอยและของ ~ 91 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ เสียอันตราย มีกรอบแนวคิดมาจากการลดขยะมูลฝอยทีต่ ้นทาง ประกอบด้วยการใช้น้อยการใช้ซำ้ และการนำ ขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ตามหลักการ 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรายแบบศูนย์รวมและการนำมาใช้ประโยชน์โดยแปรรูปผลิต พลังงานหรือปุ๋ยอินทรีย์โดยการจัดการขยะ มลู ฝอยต้องดำเนนิ การให้ครบวงจรตามหลักความรับผิดชอบและ การมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการ ขยะมูลฝอยและของเสยี อนั ตรายกำหนดมาตรการในการจัดการ 3 มาตรการไดแ้ ก่มาตรการลดการเกิดขยะมูล ฝอยและของเสียอันตรายที่แหล่งกำเนิดมาตรการเพิ่มศักยภาพการ จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย และมาตรการส่งเสริมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายโดยสอดคล้องกับทิศทางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) (สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม, 2562) จากการสำรวจชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ พบว่า เกิดปัญหาการทิ้งขยะมูลฝอยไม่เป็นที่เป็นทางส่งผลให้เกิดผลเสียตามมา เช่น น้ำภายในลำคลองเสียส่งผลต่อ ระบบนเิ วศของสัตว์น้ำ การเดินทางผ่านบริเวณที่ทิ้งขยะเป็นไปอย่างยากลำบาก ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ของบ้านผคู้ นทอ่ี าศัยอยใู่ กลก้ ับบรเิ วณทท่ี ้ิงขยะมูลฝอย อีกทัง้ ยงั มีสัตว์ท่มี ีพิษอาศยั ใกล้กับบรเิ วณทที่ ิ้งขยะ โดย มีองค์การบริหารส่วนตำบลรอบเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นหน่วยงานที่ควบคุมการกำจัดขยะมูลฝอย จากการ สำรวจบริเวณพื้นที่บ้านขี้เหล็กใหญ่ พบว่ามีถังขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลรอบเมืองไม่เพียงพอต่อ ปริมาณขยะต่อวันของชมุ ชนบ้านขเ้ี หลก็ ใหญ่ จากสภาพปัญหาขยะมลู ฝอยดงั กล่าวน้ี ผู้วิจยั จึงเห็นความสำคัญ ที่จะต้องศึกษาถึงการใช้ประโยชน์และการกำจัดขยะมูลฝอยของครัวเรือน ชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ ตำบลใน เมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการนำข้อมูลไปวางแผนดำเนินงาน บรหิ ารจดั การชยะมลู ฝอยขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลรอบเมืองให้เป็นชมุ ชนทส่ี ะอาดและน่าอยู่ 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 2.1 เพ่ือศกึ ษาสาเหตุปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชยั ภูมิ จงั หวัดชยั ภมู ิ 2.2 เพ่อื ศึกษาผลกระทบปญั หาการจดั การขยะชมุ ชนบ้านขเี้ หลก็ ใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอ เมอื งชัยภูมิ จงั หวัดชัยภูมิ และหาแนวทางแก้ไข ~ 92 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 3. ประโยชน์ของการวจิ ยั 3.1 ประโยชนเ์ ชงิ วชิ าการ เพื่อศึกษาหาวธิ ีการและดำเนนิ การแก้ไขปัญหาการจัดการขยะของคนในชุมชนบา้ นข้ีเหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ชุมชนได้วิธีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมตาม บรบิ ทของตนเองและสามารถดาํ เนนิ การพัฒนา ปรบั ปรุงการจดั การขยะมลู ฝอย ใหม้ คี วามเข้มแข็งเพ่ิมข้ึนโดย ใช้กิจกรรมการสรา้ งจิตสํานกึ และจิตอาสาให้ ต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน นอกจากนี้ชมุ ชนยงั สามารถบริหารจดั การขยะ ชุมชนทีเ่ หมาะสมรวมท้งั มกี ารเลือกใช้ เทคโนโลยใี นการจัดการขยะมูลฝอยท่ีเหมาะสมกับชมุ ชน 3.2 ประโยชน์เชิงนโยบาย นำเสนอตอ่ องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดชัยภูมิและผูใ้ หญบ่ ้านในชุมชน เพื่อทีจ่ ะลดปญั หาการจัดการขยะของคน ในชมุ ชนบา้ นขีเ้ หล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภมู ิ จังหวัดชัยภูมิ 4. สมมติฐานของการวจิ ยั 1. ปัญหาการจดั การขยะชุมชนบ้านข้ีเหลก็ ใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัด ชยั ภมู ิ น่าจะเกิดจากประชาชนผู้ที่อยอู่ าศยั ไมม่ ีความรู้เร่อื งการจดั การปัญหาขยะในครัวเรือน 2. ปัญหาการจดั การขยะชุมชนบา้ นขีเ้ หล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองชยั ภมู ิ จงั หวดั ชยั ภูมิ น่าจะเกิดจากความมักงา่ ยของคนในชมุ ชน 3. ปญั หาการจัดการขยะชุมชนบ้านขเ้ี หล็กใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชยั ภมู ิ จังหวดั ชัยภมู ิ นา่ จะเกิดจากถังขยะไมเพียงพอตอ่ ปริมาณขยะต่อรายวนั 4. ปญั หาการจดั การขยะชุมชนบา้ นขเ้ี หล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งชยั ภมู ิ จังหวัด ชัยภูมิ นา่ จะเกดิ จากการกำจัดขยะไมถ่ ูกวิธี 5. ขอบเขตของการวิจยั 5.1 ขอบเขตดา้ นพน้ื ท่ี ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตกลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนในเขตพื้นที่ บ้าน ขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ โดยเลือกศึกษาจากประชาชนทั่วไป ทุก เพศ ทุกวยั ทอี่ าศยั อยูใ่ นชุมชนบ้านขเ้ี หล็กใหญ่ 5.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ~ 93 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้นำชุมชนบา้ นขี้เหลก็ ใหญ่ จำนวน 5 คน และ ประชาชนทั่วไปอีก จำนวน 2946 คน รวมกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด จำนวน 2951 คน (มนตรี สวงโท, ผู้นำชุมชน, 29 ธันวาคม 2563) 5.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา ในการศึกษาครัง้ นผ้ี วู้ จิ ยั ได้ศึกษาในหวั ข้อ “การจดั การขยะในชมุ ชนบา้ นข้ีเหลก็ ใหญ่” ซึ่งมรี ะยะเวลา ในการศึกษาวจิ ยั ในชว่ งเวลาหน่ึงเท่านั้น คือตั้งแต่ช่วงเดือนธนั วาคม 2563 – มนี าคม 2564 5.4 ขอบเขตด้านเนื้อหา 1. ศกึ ษาสาเหตุปญั หาการจัดการขยะชุมชนบ้านข้ีเหล็กใหญ่ หมทู่ ี่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งชัยภมู ิ จงั หวัดชยั ภมู ิ 2. ศึกษาผลกระทบปัญหาการจดั การขยะชุมชนบ้านข้ีเหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชยั ภูมิ จงั หวดั ชัยภูมิ และหาแนวทางแก้ไข 6. วิธีการดำเนินวิจัย ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้ไก่แก่ ประชาชนที่อยู่ในหมู่บ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบล ในเมือง อำเภอ เมืองชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ กรณีศึกษาในครั้งนี้ มีจำนวน 2951 คน โดยในการวิจัยครั้งนี้ได้กำหนด ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งโดยวิธีการเปิดตัวอย่างสำเร็จของเคร็ซซี่และมอร์แกน จากรายช่ือในทะเบียนประชากร 2951 คน จึงได้กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่ายๆ จำนวน 341 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบสะดวกหรอื ความงา่ ยในการเกบ็ ข้อมูลกบั ใครก็ได้ท่ีอยู่ขณะผูว้ จิ ัยกำลงั เกบ็ ข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมลู 1. ผู้วจิ ยั ทำแบบสมั ภาษณ์กลมุ่ ตวั อยา่ งจำนวน 341 ชดุ 2. ประชาสัมพันธ์คนภายในหมู่บ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัด ชยั ภูมิ และเดินสมั ภาษณ์คนในหมู่บา้ น 3. นำแบบสอบถามคำนวณโดยใชโ้ ปรแกรม (SPSS) ~ 94 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู สำหรับกระบวนการหรือแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้นำ แบบสอบถามเก่ียวกบั การจดั การปัญหาขยะในชุมชนบ้านข้เี หล็กใหญ่ หมทู่ ี่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ ได้ไปลงพน้ื ที่โดยการสัมภาษณแ์ ละการทำแบบสอบถามของกลุ่มตัวอยา่ งจำนวน 341 ชดุ การตรวจสอบข้อมูล ผู้วิจัยไดอ้ อกแบบสมั ภาษณ์แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังน้ี ขอ้ มูลพนื้ ฐานส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม ลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบจำนวน 4 ข้อ เพศ อายุ การศกึ ษา และอาชพี ลงพ้ืนท่ีเกบ็ ข้อมลู วิจัยโดยใชว้ ิธีการสัมภาษณก์ ับประชาชนในชุมชนบ้านข้ีเหลก็ ใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลใน เมือง อำเภอเมืองชัยภมู ิ จงั หวัดชัยภมู ิ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติซึ่งแยกวิเคราะห์ ตามลำดับดังนี้ 1. ศกึ ษาข้อมลู ทัว่ ไปเก่ยี วกับปัจจัยส่วนบคุ คลของผ้ตู อบแบบสอบถามโดยการแจกแจงค่าความถ่ี (Frequency) และหาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) 2. ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับความคิดเห็นประชาชนที่มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาขยะภายในชุมชน บ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ โดยการหาค่าเฉลี่ย (x̄ ) และส่วน เบ่ยี งเบนมาตราฐาน 7. สรุปผลการวจิ ยั สรุปผลการวจิ ัยตามวตั ถปุ ระสงค์ 1. ปัจจัยที่ส่งผลการเกิดสาเหตุปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือ ประชาชนขาดความรู้ในการกำจัดขยะให้ถูกต้องและถูกวิธี ประชาชนขาด จิตสำนึกในการทิ้งขยะให้ถูกต้อง อีกทั้งยังมีถังขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน การเผาขยะของคน ภายในชุมชน ประชาชนควรมีความรกู้ ารกำจดั ขยะให้เพยี งพอเพื่อทจี่ ะไมไ่ ด้เกดิ ปัญหาสะสมในระยะยาว 2. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอ เมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ คือ ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาที่ไม่สูงจึงเกิดการไม่มีความรู้ในการกำจัด ~ 95 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ขยะให้ถูกต้องถูกวิธีการ อกี ทง้ั ยงั เกิดจากความมักงา่ ยของคนในชุมชน การขาดถังขยะที่ไมเ่ พียงพอต่อปริมาณ ขยะ ผลการสำรวจประชากรกลุ่มตัวอย่างของบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จงั หวดั ชัยภมู ิ เกิดจากประชาชนผู้ที่อยู่อาศยั ไม่มีความรู้เร่ืองการจดั การปัญหาขยะในครวั เรือน เกิดจากความ มักง่ายของคนในชุมชน เกิดจากถังขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน เกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี ทั้งหมด 340 คน เกดิ จากประชาชนผู้ที่อยู่อาศัยไม่มีความรเู้ รื่องการจดั การปัญหาขยะในครัวเรือน แสดงความ คิดเห็นใช่ จำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 49.4 , ไม่ใช่ จำนวน 172 คน คิดเป็นร้อยละ 50.6 เกิดจากความ มักง่ายของคนในชุมชน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 46.5 , ไม่ใช่ จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 53.5 เกิดจากถังขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 55.9 , ไม่ใช่ จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 44.1 เกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี แสดง ความคดิ เห็นใช่ จำนวน 159 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 46.8 , ไม่ใช่ จำนวน 181 คน คิดเป็นร้อยละ 53.2 8. การอภิปรายผล ผลกการวิจัยเรื่องการจัดการปัญหาขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ และเพื่อศึกษาผลกระทบปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้าน ข้เี หล็กใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองชยั ภูมิ จังหวดั ชัยภูมิ และหาแนวทางแกไ้ ข ซึ่งมกี ลมุ่ เป้าหมายท่ี ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้คือ ประชาชนที่อาศัยในชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ รวมทั้งหมด 340 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การเกบ็ ข้อมลู จะเปน็ แบบสมั ภาษณ์การจัดการปัญหาขยะชุมชนบ้านขีเ้ หล็กใหญ่ หมทู่ ่ี 9 ตำบลในเมอื ง อำเภอ เมือง จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ตอนท่ี 1 แบบสัมภาษณ์เก่ยี วกบั สาเหตปุ ญั หาการจดั การขยะชุมชนบ้านขีเ้ หลก็ ใหญ่ หมทู่ ี่ 9ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ เกิดจากสาเหตุใด ตอนที่ 2 ท่านคิดว่าสาเหตุปัญหาการจัดการปัญหาขยะชุมช นบ้าน ข้ีเหล็กใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งชยั ภมู ิ จังหวดั ชยั ภูมิ เกิดจากสาเหตุใด และตอนท่ี 3 ทา่ นคิดว่า ผลกระทบที่เกิดจากปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีอะไรบ้าง และจะมีแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างไร และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น เพิ่มเติม จากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้สถิติใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย() และค่าเบี่ยง แบนมาตรฐาน () ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสัมภาษณ์ ผลการสำรวจแบบสัมภาษณ์การจัดการปัญหาขยะชุมชนบ้านข้ีเหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีประชาชนจำนวนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 340 คน พบว่ามีเพศชาย 180 คน ~ 96 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ คิดเป็นรอ้ ยละ 52.9 เพศหญิง 160 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 47.1 อายุต่ำกว่า 18 ปี จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 17.6 อายุ 19-25 ปี จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 อายุ 26-35 ปี จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 24.7 อายุ 36-45 ปี จำนวน 37 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.9 อายุ 46-59 ปี จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ17.1 อายุ 60 ปีขึน้ ไป จำนวน 58 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.1 อาชีพเกษตรกร จำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 42.9 , อาชีพรับ ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 25.0 , อาชีพรับจ้างทั่วไป จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อย ละ 19.1 , อาชีพประกอบธุระกิจส่วนตัว จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 12.9 มัธยมต้น จำนวน 120 คน คิด เป็นร้อยละ 35.3 , มัธยมปลายหรือปวช. จำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 32.6 , ปริญญาตรี จำนวน 89 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 26.2 , ไม่ไดร้ ับการศึกษา จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.9 รวมทง้ั หมด 340 คน คิดเป็นร้อย ละ 100.0 % ส่วนท่ี 2 ตอนท่ี 1 ทา่ นคิดว่าสาเหตปุ ัญหาการจดั การปัญหาขยะชุมชนบา้ นขเ้ี หลก็ ใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลใน เมือง อำเภอเมืองชัยภมู ิ จังหวดั ชยั ภูมิ เกิดจากสาเหตุใด ผลการสำรวจประชากรกลุ่มตัวอย่างของบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จงั หวดั ชยั ภูมิ เกิดจากประชาชนผู้ที่อยู่อาศยั ไม่มีความรู้เร่ืองการจดั การปัญหาขยะในครัวเรือน เกิดจากความ มักง่ายของคนในชุมชน เกิดจากถังขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน เกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี ทั้งหมด 340 คน เกิดจากประชาชนผู้ทีอ่ ยู่อาศยั ไม่มคี วามรู้เรื่องการจัดการปัญหาขยะในครัวเรือน แสดงความ คิดเห็นใช่ จำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 49.4 , ไม่ใช่ จำนวน 172 คน คิดเป็นร้อยละ 50.6 เกิดจากความ มักง่ายของคนในชุมชน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 46.5 , ไม่ใช่ จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 53.5 เกิดจากถังขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 55.9 , ไม่ใช่ จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 44.1 เกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี แสดง ความคดิ เหน็ ใช่ จำนวน 159 คน คดิ เป็นร้อยละ 46.8 , ไมใ่ ช่ จำนวน 181 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.2 สรปุ ผลการวิจัยตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 1 ปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดจากประชาชนผู้ที่อยู่อาศัยไม่มีความรู้เรื่องการจัดการปัญหาขยะในครัวเรือน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 49.4 , ไม่ใช่ จำนวน 172 คน คิดเป็นร้อยละ 50.6 ดงั นน้ั ไม่เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 2 ปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ท่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดจากความมักง่ายของคนในชุมชน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 158 คน คิด เป็นร้อยละ 46.5 , ไมใ่ ช่ จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 53.5 ดังนนั้ ไม่เป็นไปตามสมมตฐิ าน ~ 97 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ สมมติฐานข้อที่ 3 ปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดจากถังขยะไมเพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 190 คน คดิ เป็นร้อยละ 55.9 , ไม่ใช่ จำนวน 150 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.1 ดงั น้นั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 4 ปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ น่าจะเกิดจากการกำจัดขยะไม่ถูกวิธี แสดงความคิดเห็นใช่ จำนวน 159 คน คิดเป็นร้อย ละ 46.8 , ไมใ่ ช่ จำนวน 181 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 53.2 ดงั น้ันไม่เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้ จากการศึกษาพบว่าปัญหาการจัดการขยะชุมชนบ้านขี้เหล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ชัยภมู ิ จังหวัดชยั ภูมิ นั้นมาจากประชาชนผู้ท่ีอยู่อาศัยไมม่ ีความรเู้ รอ่ื งการจัดการปัญหาขยะในครวั เรือน ความ มักง่ายของคนในชุมชน การกำจัดขยะไม่ถูกวิธี ถังขยะไมเพียงพอต่อปริมาณขยะต่อรายวัน ผู้จัดทำวิจัยจึงได้ จัดทำข้อเสนอแนะ เพอ่ื ประโยชน์ 9.2 ข้อเสนอแนะการวิจัยคร้ังตอ่ ไป 1. ควรอธบิ ายถงึ ผลดแี ละผลเสยี ของการทิง้ ขยะไมเ่ ปน็ ที่ และการกำจดั ขยะไมถ่ กู วธิ ี รวมถงึ ผลกระทบ ทจ่ี ะเกดิ กับชุมชนในระยะยาว และควรปลกู ฝงั จิตสำนึกในการท้ิงขยะให้กบั ประชาชนทกุ คน 2. ควรมรี ะยะเวลาในการทำวิจัยครัง้ นี้ท่ีนานกว่านแี้ ละเพมิ่ หัวขอ้ เพิม่ เติม 10. บรรณานกุ รม 1. ภาษาไทย (ชตมิ า อึง้ ภาภรณ์, 2539, น.3; สมพงษ์ บุรินทราธิกลุ , 2540, น.2 และวนั ชัย นิลพฒั น์, 2546, น.14). ปรีดา แย้มเจริญวงศ,์ 2532, น.14-138; พฒั นา มลู พฤกษ์. 2539, น.16; อดศิ ักดิ์ ทองไข่มกุ ตแ์ ละคน อนื่ ๆ, 2545, น.21; พฒั นา อนุรกั ษ์พงศธร, 2547, น.10; สุทธิรักษ์ สุจรติ ตานนท์, 2550). ระเบียบ ชาญชา่ ง, 2541, น.21-22; ชนินทร์ เลศิ คณาวนชิ กลุ , 2547). วินยั วรี ะวฒั นานนท์, 2545, น.100; วุฒวิ งศ์ โตะ๊ ทอง, 2548). สทุ ธริ ักษ์ สจุ รติ ตานนท์, 2550; สมาคมพัฒนาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม , 2551, น.1-2). ~ 98 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 2. ภาษาองั กฤษ Chutima Aungpaporn. (1996). p.3. Somphong Burintrathikul. p.2. and Wanchai Ninphat. (2003). p.14. Preeda Yamjaruenwong. (1989). p.14-138. Phatthana Moonpruek. (1996). p.16. Adisak Thongkhaimook and another. (2002). p.21. Phatthana Anurakphongsatorn. (2004). p.10. Suthirak Sujittanon. (2007). Rabiab ChanChang. (1998). p.21-22. Chanin Luedkanawanichkul. (2004). Vinai Veerawatthananon. (2002). p.100. Wutthiwong Thoethong. (2005). Suthirak Sujittanon. (2007). Association for the Development Quality. (2008). p.1-2. ~ 99 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ความคิดเหน็ ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ ภาคปกติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ ตอ่ การชุมนุม ทางการเมืองของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ.2563 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 สรุ ศกั ดิ์ นาจะหมน่ื (Surasak Nachamune)1 บทคดั ยอ่ การวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุมทาง การเมอื งของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 1. เพื่อศกึ ษาความคดิ เห็นของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชมุ นมุ ทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 คือ ต้องการเรียกรอ้ งประชาธิปไตย อยากให้มีการเลือกตั้งใหม่ เพื่อให้ได้รัฐบาลที่ดีมาพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น เพราะคาดหวังว่าหากมีรัฐบาลดี ชีวิต และสทิ ธิข้นั พ้ืนฐานก็จะดีไปด้วย ทั้งความเปน็ อยู่หรือการคมนาคม 2. เพื่อศึกษาปัจจยั ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ เข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เพราะเกิดความไม่พอใจ ของนักศึกษา เยาวชน และคิดว่าการเลือกตั้งจะนำไปสู่โอกาสในการใช้สิทธิ์ของพวกเขา เพื่อเปลี่ยนแปลง ประเทศไปในทศิ ทางใหม่ แตส่ ทิ ธแิ ละเจตนารมณ์ของพวกเขาถูกบิดเบือน ถูกโค่นล้มโดยฝา่ ยที่ตอ้ งการสืบทอด อำนาจ ความไม่พอใจนี้จึงถูกปะทุออกมา บวกกับพวกเขาเริ่มเห็นว่าการปล่อยให้ประเทศยังเป็นอยู่แบบนี้ ความไร้ประสิทธิภาพในการแข่งขันเพื่อรับมือกับเศรษฐกิจโลก เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ ใช้ในการ สัมภาษณ์นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล คำนวณข้อมลู ทางสถติ ิดว้ ยโปรแกรมทางสถิตมิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงสำรวจโดยใชส้ ถติ ิคา่ ร้อยละเฉลยี่ ความคิดเห็นของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิต่อการชุมนุมทางการเมืองของ ม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 พบว่านักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเข้าร่วมชุมนุมทาง การเมือง ประชาชนทุกคนมีสิทธ์และเสรีภาพเป็นของตนเอง ประเทศมีความเหมาะสมที่จะใช้รูปแบบการ ปกครองในแนวทางประชาธปิ ไตย ผนู้ ำประเทศท่ดี ีควรเป็นผนู้ ำทมี่ ีความรคู้ คู่ ุณธรรม มนษุ ยท์ กุ คนควรมคี วาม เสมอภาคเท่าเทียมกัน , เราควรให้การยกย่องคนที่มีคุณธรรม การปกครองระบอบประชาธิปไตยยินยอมให้ บุคคลอื่นท่ีมคี วามคดิ เห็นแตกตา่ งกบั เราแสดงความคิดเห็นได้ เราต้องเคารพเสียงสว่ นใหญแ่ ม้จะเป็นเร่ืองท่ีไม่ 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ Corresponding author, E- mail: [email protected] ~ 100 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ เห็นด้วย , การปกครองระบอบประชาธิปไตยประชาชนมีส่วนตัดสินใจทางการเมือง และปัจจัยที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จากการศึกษา พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองอาจเกิดจาก สาขาที่ศึกษา กิจกรรมที่เข้าร่วม ของมหาวิทยาลัย ท่ตี ้งั ของภมู ลิ ำเนา สือ่ ออนไลน์ กระแสตอ่ ต้าน และข้อเรยี กรอ้ ง ลว้ นแต่ส่งผลให้การตดั สนิ ใจ เข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองที่แตกต่างกัน จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 165 คน นักศึกษาส่วนใหญ่ตอบแบบ สัมภาษณ์ไปในทางเดยี วกันว่าการตัดสินใจเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองเกิดจากปัจจัยข้างต้น ยังมีข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมดังนี้ การตัดสินใจเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองอาจจะมาจากปัจจัยอื่น เช่น การไม่ไว้วางใจในการ บรหิ ารงานของรฐั บาล ไม่มีประสทิ ธภิ าพ ไมม่ ีความน่าเชื่อถือ จึงทำใหป้ ระชากรมีความร้สู ึกไม่พ่ึงพอใจรัฐบาล ชดุ นี้และเห็นวา่ ประเทศไม่เป็นไปตามหลักประชาธปิ ไตย จึงมีความคดิ เห็นทางการเมืองไปในทางท่ีไม่พึงพอใจ และไม่ศรัทธาในรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ผู้นำประเทศสามารถนำความคิดเห็นของประชากรทุกคนในประเทศมา ปรับปรงุ แกไ้ ขในการบริหารพัฒนาประเทศ และรกั ษาความเป็นประชาธปิ ไตยของประเทศไทยสบื ต่อไป คำสำคัญ: การชมุ นุมทางการเมือง, ม็อบคณะราษฎร, มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ~ 101 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ Student opinions of the Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University Towards the political rally of the People's Party 2020, Semester 2 Academic Year 2020. Abstract: Research on opinions of students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University On the political rally of the People's Party 2020 1. To study the opinions of students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University To the mob's political rally, the People's Party in 2 0 2 0 is to call for democracy. Want a new election In order to get a good government to develop a better society Because expecting that if there is a good government Life and basic rights will also be fine. 2. To study the factors affecting the decision to participate in political gatherings of students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University. Because of the dissatisfaction of the youth students and the thought that the election would lead to an opportunity to exercise our rights. To change the country in a new direction But our rights and our will have been perverted.Being overthrown by the side who wanted to inherit power This resentment was then erupted. Plus we are starting to see that letting the country remain like this. Inefficiency in the competition to cope with the global economy The tool used was interview form. Used in interviews with students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University. Data analyzed by data analysis program The statistical data were calculated using statistical programs. The survey data were analyzed using mean percentage statistics. The opinions of students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University, on the political rally of the People's Party 2020, found that most students of the Faculty of Political Science agreed to participate in political gatherings. All people have their own rights and freedoms. The country is suitable to adopt a democratic way of governance. Good country leaders should be knowledgeable and moral leaders. All human beings should be equal, we should honor people who are virtuous. Democracy allows others who have different opinions. We have to respect the majority, even when it disagrees, the people's ~ 102 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ democracy takes on political decisions. And factors affecting the decision to participate in a political gathering of students from Faculty of Political Science, Chaiyaphum Rajabhat University. Studies have shown that factors influencing the decision to participate in political gatherings may be due to the field of study of the university's participating activities. The location of the domicile, online media, trends and claims. All of them resulted in different decisions to join political rallies. Out of a sample of 165 students, the majority of the students responded to the interview in the same way that their decision to participate in political demonstrations was due to the above factors. There are further suggestions as follows: The decision to participate in political gatherings may come from other factors, such as a lack of trust in government administration. Inefficient Not reliable This makes the population feel dissatisfied with this government and that the country does not comply with democratic principles. Therefore, there are dissatisfied political views and disbelief in the constitution. The leaders of the country can use the opinions of every population in the country to improve in the administration and development of the country. And maintain the democracy of Thailand. Keywords: political demonstration, Khana Ratsadon mob, Chaiyaphum Rajabhat University ~ 103 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ บทนำ นับตั้งแต่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบ ประชาธิปไตยเมื่อวันท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 ปญั หาหลักในการพฒั นาการปกครองในระบอบประชาธิปไตย นั้นนอกจากปัญหา ในด้านโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองแล้วยังมีอุปสรรคในด้านการรับรู้ข่าวสารทาง การเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนจนอาจกล่าวได้ว่าประชาธิปไตยของไทยนั้นล้มลุก คลุกคลานมาเกือบตลอด เพื่อที่จะให้ได้มีระบอบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์นั้น ประชาชนจะต้องสนใจการเมือง ต้องติดตามข่าวสารความเคล่ือนไหวทางการเมืองและต้องมีความกระตือรือร้นที่จะมีบทบาทร่วมทางการเมือง ดังนั้นการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อประชาชน และโดยเฉพาะนสิ ิตนักศึกษาซ่ึงไดร้ ับสมญานามวา่ “ปัญญาชน” เปน็ ผทู้ ี่มรี ะดบั ความรู้และสติปัญญาสูงอันจะ เปน็ กำลังสำคญั ของชาติและเป็นพลังที่สำคัญทางการเมืองทมี่ ีต่อการพฒั นาระบอบประชาธปิ ไตยท้ังในปัจจุบัน และอนาคต (สุทธมิ า สัญวงษ์, 2554 : 52) สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปี 2560 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 25 สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย นอกจากทบ่ี ัญญัติคมุ้ ครองไว้เปน็ การเฉพาะในรฐั ธรรมนญู แลว้ การใดที่มิได้หา้ มหรือจำกัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือ ในกฎหมายอื่นบุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพที่จะทำการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบ เท่าที่การใช้สิทธหิ รือเสรภี าพ เช่น ว่านั้นไม่กระทบกระเทอื นหรือเป็นอันตรายตอ่ ความมัน่ คงของรัฐความสงบ เรียบรอ้ ยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนและไมล่ ะเมิดสทิ ธิหรือเสรีภาพของบุคคลอ่ืน มาตรา 34 ความหมาย โดยวธิ ีอื่น การจำกัดเสรภี าพดังกล่าวจะกระทำมิได้ เวน้ แต่โดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตรา ขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบ เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาพของประชาชน (รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560) ทฤษฎีการเมืองอธิบายไว้ว่าการเมือง (Politics) คือ กระบวนการและวิธีการที่จะนําไปสู่การตัดสินใจ ของกลุ่มประชาชนนําไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล ซึ่งกิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มที่มี ปฏิสัมพันธ์กัน Harold Lasswell (1948, p. 17) ได้นิยามการเมืองว่าเป็นการตัดสินว่าใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกันหรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมืองและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้ อำนาจเพื่อการปกครองประชาชนการเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และ ผลที่เกิดจากการกระทำของ มนุษย์ (Eulau Heinz, 1963, p. 3) ซึ่งการศึกษารัฐศาสตร์ คือ ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองวิเคราะห์การได้ ~ 104 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ มาซึ่งอำนาจและการนําอำนาจไปใช้เป็นความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใจ (จรญู สุภาพ, 2554, ออนไลน์ ) หลักการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยแบบตวั แทน กำหนดไวว้ ่าประชาชนจะเลือก ผู้แทนทำหน้าที่แทนตนในรัฐสภาและเจตจํานงของรัฐสภาถือเป็นความต้องการของประชาชนในปัจจุบัน ประชาชนที่มีปัจจัยส่วนบคุ คลต่างกันมีส่วนร่วมทางการเมืองแตกต่างกันดว้ ย จึงไม่สามารถควบคุมตรวจสอบ การใช้อำนาจทางการเมืองของรัฐบาลได้เต็มที่โดยขอบเขตของการมีตัวแทนของปวงชนนั้นต้องเป็นไปอย่าง กว้างขวาง ประชาชนทั่วไปต้องมีสิทธิที่จะมีตัวแทนสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งจะเป็นของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง และสิทธพิ ้นื ฐานของประชาชนต้องไดร้ บั การรับรอง เช่น สทิ ธใิ นการพูด สิทธิในการเขียน สิทธิในการประกอบ อาชีพ สิทธิในการรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร สิทธิในการนับถือศาสนา การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมี หลายลกั ษณะ เชน่ การลงคะแนนเสยี งเลือกตั้ง การพดู คุยเรือ่ ง การเมอื งการช่วยพรรคการเมอื งในการรณรงค์ หาเสียง การเขา้ รว่ มประชมุ การเปน็ ผสู้ มคั รเข้ารบั เลอื กตั้ง หรือแมแ้ ตก่ ารเดนิ ขบวนประท้วงหรอื สนบั สนุนการ ดำเนนิ การของรฐั ท่ียังผลให้ตนเองได้ประโยชน์หรือเสียประโยชนย์ ่อมถือวา่ เป็นการมีสว่ นรว่ มในการเมือง และ การมีสว่ นรว่ มทางการเมืองที่เป็นหวั ใจสำคัญของประชาธิปไตยแบบตวั แทน คอื การมีส่วนรว่ มในกระบวนการ เลือกตั้งผู้แทนท่ีไม่มีการทุจริต เลยต้องการนักการเมืองที่มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์คือ ด้าน บุคลิกภาพ ด้าน คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและด้านภาวะผนู้ าํ (กัลยา ยศคำลือ, 2557) ที่ผ่านมาได้มีการเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพด้วยวิธีต่างๆ เช่น การเดินขบวนของกลุ่มพลังนิสิต นกั ศกึ ษาและประชาชนในเหตุการณ์14 ตลุ าคม 2516 เหตกุ ารณ์นองเลือดเม่ือ 6 ตุลาคม 2519 และพฤษภา ทมิฬ 2535 ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าว ล้วนแล้วแต่เป็นเยาวชนและนิสิตนักศึกษา ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีอายุไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์ กระทั่งต่อมาได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้มีการ เปลี่ยนแปลง ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งจากเดิมคืออายุ20 ปีมาเป็น 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาชี้ให้เห็นวา่ เยาวชนนิสิตนักศึกษาได้มกี ารแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันเรามักจะ เห็นรูปแบบในการประท้วงชุมนุมของประชาชนที่ไม่เห็นด้วยในการบริหารงานในภาครัฐ ทำให้ประชาชนได้มี การออกมาเรียกร้องในเรื่องสิทธิและเสรีภาพทางการเมืองมากขึ้น ส่งผลให้มีเกิดการชุมนุมทางการเมืองของ ม็อบคณะราษฎรที่มีการร่วมตัวกันของประชาชนและนกั ศึกษาทั่วประเทศที่ออกมาเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพ ทางการเมืองกับรัฐบาล เพราะม็อบคณะราษฎรไม่เห็นด้วยในการบริหารประเทศของรัฐบาลในยุคนี้ ปัจจุบัน นักศกึ ษาและประชาชนหลายกลุ่มได้ออกมาแสดงความคิดเหน็ ทางการเมืองท่ีมีอยู่ในระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ที่ประชาชนมีอำนาจอธิประไตยเป็นของตัวเองมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้มีการเรียกร้องในหลายๆเรื่องกับรัฐบาล ม็อบคณะราษฎรได้มีการแสดงออกทางการเมืองเชิง สญั ลกั ษณไ์ ม่ค่อยมีความรุ่นแรงเหมือนกบั สมัยในอดตี ส่วนมากจะเป็นนกั ศึกษาหลากหลายมหาลยั ทไี่ ด้เข้าร่วม ~ 105 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ การชุมนุมเรียกร้องสิทธิและเสรีภาพที่ตนมีกับรัฐบาล จึงอยากทราบความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาลัยราช ภัฏชัยภมู ิ ว่ามีความคิดเห็นอยา่ งไรต่อการชุมนุมของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 2. วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุม ทางการเมอื งของม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 2.2 เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ 3. ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั 1.) ประโยชน์เชงิ วิชาการ เพื่อศึกษาความเห็นของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุมทาง การเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 และแนวทางการส่งเสริมให้นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภฏั ชยั ภูมิ ได้มสี ่วนรว่ มทางการเมอื ง 2.) ประโยชนเ์ ชิงนบาย เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษาคณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ โดยการเสนอให้กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกี่ยวกับแนวทางการ ส่งเสรมิ ใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีส่วนรว่ มมากขนึ้ 4. สมมติฐานงานวจิ ยั 1. ความคดิ เหน็ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ คณะรฐั ศาสตร์ ต่อการชุมนุมทางการเมือง ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 นา่ จะเกดิ จาก สาขาท่ศี กึ ษา 2. ความคดิ เห็นของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ คณะรัฐศาสตร์ ตอ่ การชมุ นมุ ทางการเมือง ของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กจิ กรรมทเ่ี ขา้ ร่วมของมหาวทิ ยาลยั 3. ความคดิ เหน็ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ คณะรฐั ศาสตร์ ตอ่ การชุมนุมทางการเมือง ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 นา่ จะเกิดจาก ท่ีตั้งของภมู ิลำเนา 4. ความคิดเห็นของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ตอ่ การชุมนมุ ทางการเมือง ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกดิ จาก สอื่ ออนไลน์ ~ 106 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 5. ความคดิ เห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการชุมนุมทางการเมือง ของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กระแสต่อต้าน 6. ความคดิ เหน็ ของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ คณะรฐั ศาสตร์ ตอ่ การชมุ นมุ ทางการเมือง ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกดิ จาก ข้อเรยี กร้อง 5. ขอบเขตของการวิจยั เพือ่ ให้การศกึ ษาเปน็ ไปตามวัตถุประสงคจ์ ึงกำหนดขอบเขตการวจิ ยั ดงั ต่อไปนี้ 1. ขอบเขตด้านประชากร คือ นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ คณะรฐั ศาสตร์ ภาคปกติ ช้นั ปีท่ี 1 ถึง 4 จำนวนทั้งหมด 290 คน (งานบริการการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ, 2563) 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษานี้มุ่งเน้นศึกษาในเรื่องความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏชัยภูมิ และปัจจยั ในการเข้ารว่ มในการชมุ นุมทางการเมอื ง 3. ขอบเขตด้านระยะเวลาในการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ได้เริ่มดำเนินการศึกษาในช่วง เดือน ธันวาคม พ.ศ.2563 – กมุ ภาพันธ์ 2564 4. ขอบเขตดา้ นพนื้ ท่ี เป็นการศึกษาเกบ็ ข้อมูลในมหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ 6. วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย การวิจยั ในคร้ังนี้มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อศกึ ษาความคดิ เหน็ หรอื ทัศนคติของนักศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ชยั ภมู ิ คณะรฐั ศาสตร์ ตอ่ การชมุ นมุ ทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 มวี ิธดี ำเนนิ การวจิ ัยดังนี้ 3.1 ประชาชนและกลุ่มตวั อย่าง 3.2 ขอบเขตของการวจิ ยั 3.3 เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการทำวิจยั 3.4 การสรา้ งและตรวจสอบเครอื่ งมือ 3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู ~ 107 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรท่ีศึกษาในครั้งน้ีเป็นนกั ศึกษาคณะรฐั ศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ภาคปกติ ช้นั ปที ่ี 1 ถงึ 4 จำนวนทงั้ หมด 290 คน ใช้จำนวนกลุ่มประชากรตวั อย่างทง้ั หมด 165 คน โดยใชก้ ารสุ่มตัวอยา่ งแบบ ตามสะดวก การเกบ็ รวบรวมข้อมูลการวิจยั ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผวู้ ิจัยดำเนนิ การดังน้ี 1. ผวู้ จิ ัยทำแบบสัมภาษณก์ ลุ่มตวั อย่าง จำนวน 165 ชดุ 2. ขอความรว่ มมือจากนักศึกษาภาคปกติ คณะรัฐศาสตร์ ช้ันปีที่ 1 ถึง 4 มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 3. นำแบบสอบถามมาคำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถติ ิ (SPSS) เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการทำวจิ ัย การวิจัยครงั้ นใี้ ช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ซึ่งผ้วู ิจยั สร้างขึ้นเองโดยมี ลกั ษณะเป็นแบบสัมภาษณแ์ บ่งเป็น 3 สว่ นคือ ส่วนท่ี1เป็นข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แก่ 1.) เพศ 2.) อายุ 3.) ความรู้ความเข้าใจ 4.) ช้นั ปีการศึกษา ส่วนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การตัดสนิ ใจของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ คณะรัฐศาสตร์เข้าร่วมการชมุ นุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 - ขอ้ เรียกรอ้ ง - กิจกรรมที่เข้าร่วมของมหาวิทยาลยั - ทีต่ งั้ ของภูมลิ ำเนา - ส่ือออนไลน์ - กระแสตอ่ ต้าน สว่ นที่ 3 แนวทางการสง่ เสริม ขอ้ เสนอแนะ และข้อคดิ เห็นเพม่ิ เติม ~ 108 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 7. สรุปผลของการวิจัย 7.1 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุม ทางการเมืองของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ.2563 ความคิดเหน็ ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ตอ่ การชมุ นุมทางการเมืองของ ม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 คือ ส่วนมากนักศึกษาในมหาลยั ราชภัฏชัยภูมิได้เล่นสื่อออนไลน์ทุกคนและได้รับ ข้อมมูลขา่ วสารทางการเมืองในปัจจบุ ันอย่างมากและได้มีความคิดเห็นและแสดงออกทางเชิงสญั ญาลักษณ์เป็น ส่วนใหญ่ เช่น การชูสามนิ้ว กิจกรรมชุมนุมในมหาวิทยาลัย โพสต์สื่อออนไลน์ เป็นต้น นักศึกษาส่วนใหญ่ได้มี ทัศนคติหรือความคิดไปในทางลบกับรัฐบาลที่มีการบริหารบ้านเมืองในปัจจุบัน มีการใช้สื่อออนไลน์เพื่อรับ ข่าวสารทางการเมืองและติดต่อพูดคุยกัน สื่อออนไลน์จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเคลื่อนไหวทางการเมือง ของประชาชนและนักศึกษาจำเป็นมากกับสถานการแบบนี้ ที่ได้มีโรคระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID) 2019 ที่ทำให้คนในสังคมไม่สามารถออกมาร่วมชุมนุมกันได้ในช่วงหนึ่ง แต่ก็ยังคงเคลื่อนไหวทางการเมืองผ่าน ช่องทางสอ่ื ออนไลน์จงึ เป็นการแสดงความคิดเห็นทางเชงิ สัญญาลักษณ์ 7.2.1 เพอ่ื ศกึ ษาปจั จัยท่สี ่งผลต่อการตัดสนิ ใจเขา้ ร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะ รฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ จากผลสำรวจพบว่าความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 จำนวน 165 คน พบว่าเกิดจากปัจจัยตัดสินใจเข้าร่วม ชุมนุม สาขาที่ศึกษา ตอบใช่จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 ตอบไม่ใช่จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 กิจกรรมมหาลัย ตอบใช่จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 78.2 ตอบไม่ใช่จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 ภูมิลำเนาตอบใช่จำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 85.5 ตอบไม่ใช่จนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 14.5 ส่ือ ออนไลน์ ตอบใช่จำนวน 159 คน คิดเป็นร้อยละ 96.4 ตอบไม่ใช่จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3.6 กระแส ตอ่ ต้าน ตอบใช่จำนวน 160 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97 ตอบไม่ใชจ่ ำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3 ข้อเรียกรอ้ ง ตอบ ใชจ่ ำนวน 162 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 98.2 ตอบไม่ใช่จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.8 7.2.2 เพ่ือศกึ ษาปจั จยั ท่สี ่งผลต่อการตัดสนิ ใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศกึ ษา คณะ รฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ สาขาที่ศึกษา ในภาพรวมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นตอบว่าใช่ จำนวน 110 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 66.7 ตอบไมใ่ ช่จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 รวมทงั้ หมด จำนวน 165 ~ 109 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเหน็ วา่ ใช่เป็นรายข้อพบว่า สาขาที่ศึกษา เป็นอันดับท่ี 6 เป็นลำดับสุดทา้ ย ทมี่ ีผตู้ อบวา่ ใชม่ ากกวา่ ไม่ใช่รวมท้ังหมด 110 คน ของนักศกึ ษา 165 คน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ กิจกรรมที่เข้าร่วมของมหาวิทยาลัย ในภาพรวมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แสดง ความคิดเห็นตอบว่าใช่จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 78.2 ตอบไม่ใช่จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 รวมทัง้ หมด จำนวน 165 คน เมอ่ื พิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใช่เปน็ รายข้อพบวา่ กจิ กรรมทีเ่ ขา้ ร่วมของ มหาวทิ ยาลยั เป็นอนั ดับท่ี 5 ที่มีผ้ตู อบวา่ ใชม่ ากกว่าไม่ใช่รวมทงั้ หมด 129 คน ของนักศึกษา 165 คน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ คือ ที่ตั้งของภูมิลำเนา ในภาพรวมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นตอบ ว่าใช่จำนวน 165 คน ตอบใช่จำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 85.5 ตอบไม่ใช่จนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 14.5 รวมทั้งหมด จำนวน 165 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใช่เป็นรายข้อพบว่า ที่ตั้งของ ภูมิลำเนา เปน็ อนั ดับท่ี 4 ท่ีมผี ตู้ อบวา่ ใชม่ ากกวา่ ไมใ่ ชร่ วมทงั้ หมด 141 คน ของนกั ศกึ ษา 165 คน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ สื่อออนไลน์ ในภาพรวมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นตอบว่าใช่ จำนวน 165 คน ตอบใชจ่ ำนวน 159 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 96.4 ตอบไมใ่ ช่จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3.6 รวม ทั้งหมด จำนวน 165 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใชเ่ ปน็ รายขอ้ พบว่า สื่อออนไลน์ เป็นอันดับที่ 3 ทีม่ ีผตู้ อบวา่ ใชม่ ากกว่าไมใ่ ชร่ วมทัง้ หมด 159 คน ของนักศึกษา 165 คน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คอื กระแสตอ่ ตา้ น ในภาพรวมผตู้ อบแบบสมั ภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นตอบว่าใช่ จำนวน 165 คน ตอบใช่จำนวน 160 คน คิดเป็นร้อยละ 97 ตอบไม่ใช่จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3 รวม ทั้งหมด จำนวน 165 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใช่เป็นรายข้อพบว่า กระแสต่อต้าน เป็น อันดับท่ี 2 เปน็ ลำดับท่ีรองลงมาจากอนั ดบั แรกท่ีมีผู้ตอบว่าใช่มากกวา่ ไม่ใช่รวมท้ังหมด 160 คน ของนักศึกษา 165 คน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ ข้อเรียกร้อง ในภาพรวมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นตอบว่าใช่ จำนวน 165 คน ตอบใช่จำนวน 162 คน คิดเปน็ ร้อยละ 98.2 ตอบไม่ใชจ่ ำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.8 รวม ทั้งหมด จำนวน 165 คน เมอื่ พจิ ารณาการแสดงความคิดเหน็ ว่าใชเ่ ป็นรายข้อพบว่า ขอ้ เรยี กรอ้ ง เป็นอันดับที่ 1 เป็นอนั ดบั แรกทมี่ ีผู้ตอบวา่ ใช่มากกวา่ ไมใ่ ชร่ วมท้ังหมด 162 คน ของนักศึกษา 165 คน ~ 110 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ จะเห็นได้ว่า การเข้าร่วมชุมนุมทางการเมืองจะอาศัยสื่อสังคมออนไลน์ในการครอบงำทัศนคติหรือ ความคิดของประชาชน โดยเฉพาะนักเรยี น นักศึกษา ที่ใช้สือ่ ออนไลน์เป็นประจำ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ เพ่ือ ติดตอ่ หรือส่งข้อมลู ข่าวสารในการรว่ มกลมุ่ หรือนดั สถานที่ทำกจิ กรรมทางการเมือง 7.3 การทดสอบสมมติฐานการวจิ ยั สมมติฐานข้อที่ 1 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนมุ ทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 นา่ จะเกิดจาก สาขาทศ่ี ึกษา ตอบใชจ่ ำนวน 110 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 66.7 ตอบไม่ใชจ่ ำนวน 55 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 ดังน้ัน เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 2 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กิจกรรมที่เข้าร่วมของมหาวทิ ยาลัย ตอบ ใช่จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 78.2 ตอบไม่ใช่จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 ดังนั้นเป็นไปตาม สมมตฐิ าน สมมติฐานข้อท่ี 3 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 นา่ จะเกดิ จาก ทต่ี ง้ั ของภูมลิ ำเนา ตอบใช่จำนวน 141 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 85.5 ตอบไม่ใช่จนวน 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.5 ดงั น้นั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 4 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก สื่อออนไลน์ ตอบใช่จำนวน 159 คน คิด เป็นร้อยละ 96.4 ตอบไมใ่ ชจ่ ำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.6 ดงั น้ัน เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 5 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กระแสต่อต้าน ตอบใช่จำนวน 160 คน คิดเป็นร้อยละ 97 ตอบไมใ่ ช่จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 3 ดังน้ัน เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อท่ี 6 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก ข้อเรียกร้อง ตอบใช่จำนวน 162 คน คิด เปน็ ร้อยละ 98.2 ตอบไมใ่ ช่จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.8 ดงั นั้น เป็นไปตามสมมตฐิ าน ~ 111 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ 8. อภปิ รายผลการวจิ ัย ผลการวิจัยเรื่องความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อ การชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 และ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ ผู้วจิ ยั ไดอ้ ภิปรายผลไดด้ ังน้ี 8.1.1 ความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ต่อการชุมนุมทาง การเมอื งของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ.2563 ความคดิ เห็นของนกั ศึกษา คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ตอ่ การชมุ นุมทางการเมืองของ ม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 คือ สาขาที่ศึกษา กิจกรรมที่เข้าร่วมของมหาวิทยาลัย ที่ตั้งของภูมิลำเนา ข้อ เรียกรอ้ ง กระแสตอ่ ต้าน และส่อื ออนไลน์ ทั้งนีอ้ ันเน่ืองมาจากในปัจจุบันมีเทคโนลียีท่ที ันสมัย เรียกได้ว่า เป็น ยุคโลกาภิวัตน์ ที่มีการไหลบ่าข่าวสารทางการเมืองข้อมูลต่างๆจากประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะใกล้หรือไกลก็ สามารถรับรู้ข้อมูลหรือข่าวสารทางการเมืองได้รวดเร็ว ซึ่งทำให้เด็กหรือเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้ใช้ เทคโนโลยเี หลา่ นี้ โดยเฉพาะโทรศัพท์ ในอดีตจะเหน็ ไดว้ ่าโทรศัพท์มไี ว้เพ่ือโทรสอื่ สารกัน แต่ตา่ งจากปัจจุบันน้ี ท่โี ทรศพั ท์ไม่ไดม้ ีไวเ้ พอ่ื โทรสื่อสารอย่างเดียว แตส่ ามารถหาขอ้ มลู ข่าวสารตา่ งๆไดอ้ ย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันการ เมอื งไทยได้มคี วามวนุ่ วายมีความไม่พอใจกับการบริหารของรัฐบาลในยุคปจั จุบันมีการเคล่ือนไหวทางการเมือง โดยใช้สื่อออนไลน์ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองและได้มีข้อมูลข่าวสารทางการเมืองในโซเชียลมีเดียทำให้ ประชาชน นักศึกษา ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการเมืองอย่างเต็มที่และรวดเร็วในการรับรู้ปัญหาทางการเมือง ของไทยในปัจจุบัน ประชาชนและนักศึกษามีข้อเรียกร้องให้รัฐบาลยุบสภาและให้ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาใหม่ เพราะประชาชนและนักศึกษามีความไม่พอใจกับรัฐบาลจนเกิดความวุ่นทำให้มีการก่อม็อบขับไล่รัฐบาลใน ปัจจบุ นั 8.1.2 ปจั จัยที่ส่งผลต่อการตัดสนิ ใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ผู้วจิ ัยไดอ้ ภปิ รายผลได้ดังนี้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คือ การที่มีสื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทในเรื่องการกระจายข้อมูลข่าวสารทาง การเมือง ประชาชนและนักศึกษาไดร้ ับข้อมลู ข่าวสารทางการเมืองจากส่ือออนไลน์เป็นสว่ นใหญ่ทำใหม้ ีทัศนคติ ทางการเมืองที่เปลี่ยนไปตามข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากสื่อออนไลน์ทำให้คนส่วนใหญ่มีทัศนคติหรือความ คิดเห็นทางการเมืองที่มีความไม่พอใจกับการบริหารงานของรัฐบาลจนเกิดปัจจัยที่ส่งผลทำให้ประชาชนและ ~ 112 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ นักศึกษาส่วนใหญ่มีความคิดท่จี ะเข้ารว่ มชมุ นมุ กับม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 จากการนดั สถานที่และรวมพล จนเกดิ ม็อบขณะใหญ่ในปี 2563 8.1.3 การอภิปรายผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั สมมติฐานข้อที่ 1 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนมุ ทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 นา่ จะเกิดจาก สาขาท่ีศกึ ษา ตอบใช่จำนวน 110 คน คิด เป็นร้อยละ 66.7 ตอบไม่ใช่จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐา น ทั้งนี้อัน เนื่องมาจากกลุ่มนักศึกษาบางสาขาที่ได้เรียนเกี่ยวกับการเมืองมีความสนใจในด้านการเมืองปัจจุบันเป็นอย่าง มากกับสถานการณ์ที่มีการชุมชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 ที่มีวุ่นวายกับการเมืองใน ปจั จุบนั สมมติฐานข้อที่ 2 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กิจกรรมที่เข้าร่วมของมหาวิทยาลยั ตอบ ใช่จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 78.2 ตอบไม่ใช่จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 ดังนั้นเป็นไปตาม สมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้นอาจจะมีบางกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้แสดงออก ทางความคิดต่อการเมืองในปจั จุบันที่นกั ศึกษาสนใจในการเมืองของประเทศมผี ลทำให้บางกจิ กรรมกล่อมเกลา หรอื เปลี่ยนแปลงความคิดในทางการเมือง สมมติฐานข้อท่ี 3 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชมุ นมุ ทางการเมืองของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก ท่ีตั้งของภูมลิ ำเนา ตอบใช่จำนวน 141 คน คิดเป็นร้อยละ 85.5 ตอบไม่ใช่จนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 14.5 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อัน เน่อื งมาจากสภาพแวดล้อมพื้นที่ต้ังภูมลิ ำเนาของประชาชนและนักศึกษามีผลต่อการเมืองเปน็ อย่างมากในการ เลือกผู้แทนเข้าไปในสภา เช่น พรรคเพื่อไทยส่วนใหญ่จะได้จากพื้นที่ภูมิลำเนาจากภาคเหนือ และพรรค ประชาธิปัตยส์ ่วนใหญ่จะได้ผ้แู ทนในพนื้ ทภี่ าคใตข้ องประเทศ สมมติฐานข้อที่ 4 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก สื่อออนไลน์ ตอบใช่จำนวน 159 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 96.4 ตอบไม่ใชจ่ ำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.6 ดงั นน้ั เปน็ ไปตามสมมติฐาน ทัง้ นอ้ี นั เน่ืองมาจาก สื่อโซเซียลต่างๆในปัจจุบันเป็นส่ือที่สามารถขอบงำในเรื่องทัศนคตขิ องประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา ที่มี มอ็ บการเมืองตา่ งๆท่ีใช้สื่อออนไลน์เป็นเคร่ืองมือในการงอบงำทัศนคตทิ างการเมอื งในเรือ่ งเหตุการณ์บ้านเมือง ในแง่ดแี ละรา้ ยท้งั จรงิ และเท็จตลอดเวลา ~ 113 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ สมมติฐานข้อที่ 5 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก กระแสต่อต้าน ตอบใช่จำนวน 160 คน คดิ เป็นร้อยละ 97 ตอบไมใ่ ชจ่ ำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3 ดังน้นั เป็นไปตามสมมตฐิ าน ทั้งนี้อันเนื่องมาจาก ในปัจจุบันเป็นโลกแหง่ เทคโนโลยีและส่ือต่างๆ ซง่ึ ทำให้เกิดผลดีและเสีย เช่น กระแสต่อต้านรัฐบาลและสื่อย่ัว ยุตา่ งๆนานๆและในเร่ืองการเมอื ง สมมติฐานข้อที่ 6 ความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 น่าจะเกิดจาก ข้อเรียกร้อง ตอบใช่จำนวน 162 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 98.2 ตอบไมใ่ ชจ่ ำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 ดังนั้น เป็นไปตามสมมตฐิ าน ทง้ั นอี้ ันเน่อื งมาจาก ประชาชนและนักศึกษาส่วนใหญม่ ีการเรยี กร้องกับรัฐบาล พ.ศ. 2563 และยังมีการประท้วงให้รัฐบาลยุบสภา เพือ่ จะไดม้ ีการเลอื กตัง้ ครงั้ ใหม่ 9. ข้อเสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพิ่มเตมิ จากผลการศกึ ษาพบว่า ความคิดเหน็ ของนักศึกษา คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ต่อการ ชุมนุมทางการเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 มีการแสดงออกทางความคิดเห็นต่อการชุมนุมทาง การเมืองของม็อบคณะราษฎร พ.ศ. 2563 มีกระแสต่อต้านจากสื่อออนไลน์เป็นจำนวนมาก และข้อเรียกร้อง ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ. 2563 9.2 ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ยั ครงั้ ต่อไป จากการศึกษาพบว่าปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจเข้ารว่ มม็อบคณะราษฎร พ.ศ.2563 ของนกั ศกึ ษา คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ น้นั มาจาก การตัดสินใจเขา้ ร่วมชมุ นุมมีความคิดอยากเข้ารว่ มเป็น จำนวนมาก จากกระแสต่อต้านการบรหิ ารประเทศของรัฐบาล ผ้จู ดั ทำวจิ ัยจึงไดท้ ำข้อเสนอแนะ เพื่อเป็น ประโยชนท์ ี่เกี่ยวขอ้ งดังน้ี 1. ควรมสี ิทธแิ์ ละเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมืองมากขึ้น 2. ควรมีกิจกรรมแสดงออกทางด้านความคิดหรือเชงิ สญั ญาลักษณ์ทางการเมือง ~ 114 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ บรรณานกุ รม 1. ภาษาไทย กลั ยา ยศคำลือ. (2557). การมสี ว่ นรว่ มทางการเมือง. บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ สกลนคร. กจิ ฎิภันส์ ยศปญั ญา. (2547). การมสี ว่ นร่วมทางการเมืองของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี ประชาชนใน หมูบ่ ้านสนิ ธนา 1 เขตบึงกมุ่ กรงุ เทพมหานคร. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญา รัฐ ประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารท่ัวไป มหาวิทยาลัยบูรพา. จันทนา สทุ ธจิ าร.ี (2544). การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ว.ี เจ พรน้ิ ต้ิง. หน้า 410. จรูญ สภุ าพ. (2527). การมสี ่วนร่วมทางการเมือง. โครงการการมสี ่วนรว่ มทางการเมืองของ ประชาชน และ ความคดิ เหน็ ต่อการทำงานของรัฐบาลและองคก์ รอสิ ระ. หนา้ 310. จรญู สภุ าพ. (2514). กลมุ่ พฤติกรรมตา่ งๆ.โครงการการมสี ่วนรว่ มทางการเมืองของประชาชน และ ความ คิดเห็นต่อการทำงานของรฐั บาลและองค์กรอิสระ. หน้า 254-269. จรญู สภุ าพ. (2554). ความเปน็ มาการมีส่วนร่วมทางการเมือง.ออนไลน์. จรญู สภุ าพ. (2514). หลกั รัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ หลักรฐั ศาสตร.์ กรงุ เทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานชิ . จริ โชค บรรพต, วรี ะสัยและคณะ. (2542). กลุ่มพฤตกิ รรมต่างๆ. โครงการการมีสว่ นรว่ มทางการ เมอื งของประชาชนและ ความคดิ เห็นต่อการทำงานของรัฐบาลและองค์กรอิสระ. กลมุ่ พฤติกรรม ต่างๆ. หนา้ 460-465. ณรงค์ สนิ สวัสด์.ิ (2518). การมีส่วนรว่ มทางการเมือง. รปู แบบการมีสว่ นร่วมทางการเมอื งของ ประชาชนใน องค์การ บริหารสว่ นตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณตี ำบลขุนคง อำเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม.่ หนา้ 117. ถวลิ วดี บรุ ีกลุ และคณะ. (2546). การมสี ่วนรว่ มทางการเมือง. กรงุ เทพมหานคร : สถาบัน พระปกเกลา้ . หน้า 8. ถวลิ วดี บุรีกุลและคณะ. (2547). โครงการการมสี ว่ นร่วมทางการเมอื งของประชาชนและ ความ คิดเหน็ ตอ่ การทำงานของรัฐบาลและองค์กรอิสระ. ชุดโครงการวจิ ยั เรื่อง การ ติดตาม และ ประเมินผลบงั คับใช้รัฐธรรมนูญ สนับสนนุ โดยสํานักงานกองทนุ สนับสนุน การวจิ ยั (สกว.). ทพิ าพร พมิ พิสทุ ธ์ิ. (2521). การมีส่วนรว่ มทางการเมือง. รูปแบบการมีสว่ นรว่ มทางการเมอื งของ ประชาชนในองค์การ บรหิ ารสว่ นตำบล : ศกึ ษาเฉพาะกรณตี ำบลขุนคง อำเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม่. หนา้ 204-205. ~ 115 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ นันทวุฒิ บุญยะสิทธิ์. (2548). การมีส่วนรว่ มทางการเมือง : ศึกษากรณีทหารในมณฑล ทหารบกท่ี 14อำเภอเมือง จงั หวดั ชลบุรี. วทิ ยานิพนธร์ ัฐประศาสนศาสตร มหาบณั ฑติ (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยบูรพา. ปริญญา นวลเปียน. (2543). การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งของขบวนการชาวนาไทย : กรณศี กึ ษาสมัชชาคน จน. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ รฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง. พุทธทาสภกิ ขุ. (2546). ความหมายการเมือง. หลกั การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในระบอบ ประชาธปิ ไตยแบบตัวแทน. หนา้ 21. พรศักดิ์ ผอ่ งแผ้ว. (2523). การมีส่วนรว่ มทางการเมือง. รปู แบบการมสี ว่ นร่วมทางการเมืองของ ประชาชนใน องค์การ บริหารส่วนตำบล : ศกึ ษาเฉพาะกรณตี ำบลขนุ คง อำเภอหางดง จงั หวัด เชียงใหม่. หน้า 23-24. ภาวิณี โพธม์ิ นั่ . (2543). รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในองคก์ าร บริหาร ส่วนตำบล : ศกึ ษาเฉพาะกรณตี ำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวดั เชียงใหม.่ วิทยานพิ นธ์ปริญญารัฐศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการเมืองและการ ปกครอง มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม.่ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย. (2560). สิทธแิ ละเสรีภาพของบุคคล. กรุงเทพฯ: รฐั ธรรมนญู . สทิ ธพิ นั ธ์ พทุ ธหนุ . (2541). การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี ประชาชนในหมบู่ ้านสินธนา 1 เขตบงึ กุ่ม กรุงเทพมหานคร. หน้า 156-157. สทิ ธพิ ันธ์ พทุ ธหุน. (2541). กลมุ่ พฤติกรรมต่างๆ. การมีส่วนรว่ มทางการเมืองของประชาชน : ศกึ ษาเฉพาะกรณี ประชาชนในหมบู่ ้านสินธนา 1 เขตบงึ กุ่ม กรงุ เทพมหานคร. หน้า 166- 167. สจุ ติ บญุ บงการ. (2542). การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง. การมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองของ ประชาชน : ศกึ ษาเฉพาะกรณี ประชาชนในหมบู่ ้านสินธนา 1 เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร. หนา้ 36-38. สทุ ธมิ า สัญวงษ.์ (2554). ความเป็นมาของการมีส่วนรว่ ม. จาก http://www.trueplookpanya.com. สบื ค้น วนั ที่ 3 กันยายน 2557. สมบัติ ธาํ รงธญั วงศ์. (2549). การมสี ว่ นรว่ มทางการเมือง. รูปแบบการมีส่วนรว่ มทางการเมือง ของ ประชาชนในองค์การ บรหิ ารสว่ นตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณตี ำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่. หน้า 570. สมบัติ ธาํ รงธญั วงศ์. (2549). กลมุ่ พฤตกิ รรมตา่ งๆ. รูปแบบการมีสว่ นรว่ มทางการเมืองของ ประชาชนใน องค์การ บริหารส่วนตำบล : ศึกษาเฉพาะกรณีตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่. หน้า 583- 595. ~ 116 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ สมบัติ ธาํ รงธัญวงศ์. (2549). ปจั จัยท่ีมอี ิทธพิ ลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง. รปู แบบการมี ส่วนรว่ ม ทางการเมืองของประชาชนในองค์การ บริหารสว่ นตำบล : ศกึ ษาเฉพาะกรณี ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม.่ หนา้ 595-604. 2. ภาษาอังกฤษ AlmondandPowell. (1976). Model of political participation. Participation modelThe politics of the people in the organization Sub-district administration: study only the case of Khun Khong SubdistrictHang Dong District, Chiang Mai Province. p.145-146. Barber J. David. (1972). Model of political participation. Participation model The politics of the people in the organization Sub-district administration: study only the case of Khun Khong SubdistrictHang Dong District, Chiang Mai Province. p. 3. Eulau Heinz. (1963). The history of participation. Public political participation: Case study People in Sinthana Village 1, Bueng Kum District, Bangkok. p.3. Geoffrey K. Robert. (1971). A dictionary of political analysis. Great Britain : Longman. p.145. Harold Lasswell. (1948). The history of participation. Public political participation: Case study People in Sinthana Village 1, Bueng Kum District, Bangkok. p. 17. Herbert Mc Closky. (1968). Political participation. Participation model The politics of the people in the organization Sub-district administration: study only the case of Khun Khong SubdistrictHang Dong District, Chiang Mai Province. P.252-253. James R. Townsend. (1967). Model of political participation. Participation model The politics of the people in the organization Sub-district administration: study only the case of Khun Khong SubdistrictHang Dong District, Chiang Mai Province. p. 25-29. Lester W. Milbrath. (1965). Political participation. Political participation; how and why do people get involved in politics?, Chicago : Rand McNally political science series. p.2. Lester W. Milbrath. (1971). Level of political participation. Political participation; how and why do people get involved in politics?, Chicago : Rand McNally political science series. p.12-16. Myron Wiener. (1971). Political participation. Participation model The politics of the people in the organization Sub-district administration: study only the case of Khun Khong SubdistrictHang Dong District, Chiang Mai Province. p.161-163. ~ 117 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ Norman H. Nie and Sidney Verba. 1975. Political participation. Political Participation : in Handbook of Political Science. V. 4. edited by Fred I. Greenstein and Nelson W. Polsby : 9-12 Massachusetts : Addison Wesley. Samuel Huntington and Joan Nelson. (1975) Political participation. Participation and Political Study. Cambridge : Cambridge University Press. P.33. Samuel Huntington and Joan Nelson. 1982. Political participation. Participation and Political Study. Cambridge : Cambridge University Press. p. 5. ~ 118 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ทศั นคติของนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา ต่อการแต่งกายเครอ่ื งแบบนักเรียน : กรณศี กึ ษา โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวัดชัยภูมิ ธรี วฒั น์ ประตาทะกัง (Theerawat Pratatakung)1 บทคดั ยอ่ การวิจัยในเล่มนี้ศึกษาเรื่อง ทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกายเครื่องแบบ นักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาต่อการแต่งเครื่องแบบนักเรียน 2) เพื่อศึกษาแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียน สตรชี ัยภมู ิ ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดชัยภมู ิ ซง่ึ มกี ลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ นักเรียนโรงเรยี นสตรชี ัยภูมิ จำนวน 346 คน เครื่องมือการวิจัย ไดแ้ ก่ สว่ นท่ี 1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปเกีย่ วกับเพศ อายุ ระดับชั้นเรียน สังกัด โรงเรียน ส่วนที่ 2) ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อทศั นคติของนกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ตอนที่ 2 ลักษณะแบบสอบถามแสดงความ คิดเห็นปลายเปิด และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ใน การวจิ ัย ได้แก่คา่ ร้อยละ (%) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือ เพศ อายุ ระดับชั้นเรียน สังกัดโรงเรียน การอบรมเลี้ยงดูจาก ผู้ปกครอง หรือจากคณุ ครู การเสพขา่ วจากส่ือออนไลนห์ รือขา่ วในโทรทัศน์ในรายการข่าวต่างๆ ที่เห็นได้อย่าง ชัดเจน ในข่าวปัจจุบันนี้ และการถูกปลูกฝังในการแต่งตัวที่เหมาะสมการและถูกกาลเทศะ 2. แนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา โรงเรยี นสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือ ให้นักเรยี นแตง่ กายตามกฎระเบียบของโรงเรยี งที่มแี นวทางทิศทางไปใทางดา้ น เดียวกัน เพื่อให้มองดูแล้วว่า มีความเป็นระบบระเบยี บ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกนั ระหว่างนักเรียน การแต่งกาย และโรงเรียน คำสำคญั : เคร่อื งแบบนักเรยี น, ทศั นคต,ิ พฤติกรรม 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ Corresponding author, E-mail: [email protected] ~ 119 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ Attitude of Secondary School Students for Student Uniform Dressing. A Case Study of Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Sub-District, Mueang District, Chaiyaphum Province. ABSTRACT Research studied Attitude of Secondary School Students for Student Uniform Dressing Case Study of Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Subdistrict, Mueang District, Chaiyaphum Province This study aimed: 1 ) To study the factors affecting the attitude of secondary school students towards the uniform. 2 ) To study the dress code from the perspective of secondary school students at Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Subdistrict, Mueang District, Chaiyaphum Province. The sample group was 3 4 6 students of Satree Chaiyaphum School. Study tools: 1) the checklist of gender, age, class level and school. 2 ) part 1 , questionnaire on factors affecting the attitude of secondary school students. part 2 ,open-ended opinion questionnaire of Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Subdistrict, Mueang District, Chaiyaphum Province, part 3 , additional suggestions and satisfaction questionnaire. The statistics for analyzing the data consisted of the percentage (%). The study findings revealed that: 1 . The factors affecting for attitude of secondary school students of Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Subdistrict, Mueang District, Chaiyaphum Province was gender, age, class level, school, training from parents or teachers, news addiction from various online media or news on television in various news programs, and cultivated in proper and gale-lying dressing. 2. Guidelines for dress code of secondary school students of Satree Chaiyaphum School, Nai Mueang Subdistrict, Mueang District, Chaiyaphum Province was students dressing according to the rules of the sorting house with a direction in the same direction, so that you can see that systematic, it is a unique harmony between students, dress and school. Keywords: school uniform, attitude, behavior ~ 120 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 1.บทนำ ปัจจุบันค่านิยมเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของวัยรุ่นวัยเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องแบบนักเรียนทั้ง หญิงและชายตามสถาบนั ต่าง ๆ เป็นสิ่งที่สังคมไทยวิตกกังวลเนื่องจากนักเรียนมพี ฤติกรรมความนิยมแตง่ กาย ตามวัฒนธรรมจากต่างชาติ การแต่งกายตามแฟชั่น การแต่งกายที่ล่อแหลมของนักเรียน กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการจงึ ให้ความสำคัญในการแกป้ ัญหาอย่างจริงจังโดยไดร้ ว่ มกนั กำหนด “วาระแห่งชาติ” ว่าด้วยการจัดระเบียบการแต่งกายของนักเรียนถึงแม้จะมีการกระตุ้นผลักดันและ เสนอให้โรงเรียน ทบทวน การบังคบั ใช้กฎระเบียบการแต่งกายของนักเรยี น โดยเฉพาะการ แตง่ กายให้ถูกระเบียบของทางโรงเรียนอย่าง จริงจังก็ตามแต่ การแก้ไขปัญหากลับไม่สามารถทําได้โดยง่าย ทั้งที่ทุกโรงเรียนต่างก็มีระเบียบของสถาบัน วา่ ด้วยเรอื่ งเครื่องแบบและการแต่งกายของนักเรียนอย่างชดั เจนและชี้แจงระเบียบต่าง ๆ ที่นักเรียนควรรู้และ ต้องปฏบิ ตั ติ ามเกยี่ วกบั การแต่งกายทถ่ี กู ระเบียบดว้ ย จากผลการสํารวจเกี่ยวกับปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนักเรียน (บุญสม ครึกครืน และ ชัยศักดิ์ คล้ายแดง, 2555) พบว่า การแต่งกายของนักศึกษาในปัจจุบันเป็นปญั หาที่ค่อนข้างน่าเป็นห่วงและ ควรได้รับ การแก้ไขอย่างเร่งด่วนรวมทั้งยังได้กล่าวถึงการแต่งกายที่ไม่เหมาะสมจะก่อให้เกิดปัญหา อาชญากรรม อาทิ การล่วงละเมดิ ทางเพศ การข่มขืน การจี้ปล้น วิ่งราวทรัพย์รวมถงึ ทําใหเ้ สื่อมเสียชือ่ เสียง ของสถาบันและของ ตนเองไปจนถึงขัดกับวัฒนธรรมอันดงี ามของไทย จากประเด็นปญั หาเกี่ยวกับการแต่งกายท่ีผดิ ระเบียบของนกั เรยี นในยคุ ปจั จบุ ันนี้ มีงานวิจัยหลายงาน ได้พบวา่ ส่อื มอี ทิ ธิพลต่อการก่อให้เกิดพฤติกรรมเลยี นแบบการแตง่ กายของดาราที่ชื่นชอบดงั นั้น ส่ือจึงเป็นตัว แปรของการรบั รแู้ ละอาจก่อใหเ้ กิดค่านิยมผดิ ๆตามมาได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันที่มสี ่ือให้ผู้รบั สารเลือกรับอย่าง หลากหลายท้ังสื่อแบบดัง้ เดิม (Traditional Media) หรือสื่อสมัยใหม่ (New Media)ดงั นนั้ ผวู้ ิจัยจึงเห็นปัญหา รวมถึงความจําเป็นและความสำคัญของการแต่งกายที่ถกู ระเบียบ โดยมุ่งศึกษาวา่ ส่ือใดที่มอี ิทธิพลต่อการแตง่ กายหรือเป็นมูลเหตุจงู ใจที่แท้จรงิ ของการแต่งกายผิดระเบยี บของนักเรียน เพื่อจะได้ นํามาเป็นแนวทางให้ได้ นํามาปรับใช้ในการวางแผนรณรงค์ให้นักเรียนเห็นถึง ความสำคัญของการแต่งกายที่ถูกระเบียบ เพื่อเป็น ศกั ดศ์ิ รแี ก่สถาบนั และประโยชน์ท่ีจะเกิดกับนักเรยี นตอ่ ไป ในต่างประเทศเคยมีการถกเถียงเรื่องการกำหนดให้นักเรียนต้องสวมชุดนักเรียนไปโรงเรียนมาก่อน เช่น ในอังกฤษ มีการเรียกร้องหาหลักฐานสนับสนุนว่า ทำให้เรียนดีขึ้นหรอื มีผลต่อพฤติกรรมของนักเรียนจรงิ และเมือ่ ปี 2015 เรเชล เฮสเคธ ผู้ชว่ ยนักวจิ ยั ประจำ สถาบันนโยบาย (Policy Institute) แหง่ มหาวทิ ยาลยั คิงส์ คอลเลจ ลอนดอน ไดเ้ ขียนบทความเผยแพร่ทางเว็บไซตข์ องมหาวิทยาลัยวา่ หากสรุปจากผลศึกษาวิจัยท่ีมีอยู่ อย่างจำกัด ไม่พบความสัมพันธ์ทีช่ ัดเจนระหว่างการใส่ชดุ เครื่องแบบนักเรียนและผลการเรียน เธอระบุด้วยว่า มีการตัง้ ทฤษฎี มากมายในเรอื่ งน้ี แตย่ งั มหี ลกั ฐาน ท่ีเชือ่ ถอื ได้น้อย ~ 121 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ขณะที่งานศึกษาโดย อีเลน จาร์ชาว ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Phi Delta Kappan ในปี 1992 ในสหรัฐฯ ระบวุ ่า เคร่อื งแบบนักเรียนเสริมสร้างความเป็นอันหน่งึ อันเดียวกัน และความภาคภูมิใจในหมู่นักเรียน ซึ่งช่วย พัฒนาในเรื่อง ความประพฤติได้ สอดคล้องกับแนวคิดของ เดล สโตเวอร์ ซึ่งเคยเขียนไว้ในวารสาร American School Board Journal เมื่อปี 1990 ว่า การใส่ชุดเครื่องแบบนักเรียนสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดี เพราะนักเรียนไมถ่ กู รบกวน สมาธิจากการแต่งกาย และไม่ตกเปน็ เหย่ือถูกเพอ่ื นล้อเลียนด้วย อย่างไรก็ตาม ซึงฮี ฮาน จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี ได้เขียนบทความลงในวารสาร International Journal of Education policy and Leadership ของมหาวิทยาลัยไซมอน เฟรเซอร์ ในแคนาดาว่า มีความ เปน็ ไปไดว้ ่าเคร่ืองแบบนักเรียน จะทำให้เกิดบรรยากาศที่ถูกควบคุมในลักษณะเผด็จการ ซึง่ อาจทำให้นักเรียน บางคนไม่พอใจได้ และเวลาทใ่ี ชไ้ ปกับการ บังคับกฎระเบยี บอาจทำให้เสยี เวลาในการเรยี นการสอนได้ เฮสเคธ ยกการศึกษาวิจัยโดย เดวิด แอล. บรันซ์มา และเคอร์รี เอ. ร็อคเคอมอร์ จากปี 1998 ซึ่งทั้ง ถูกอ้างองิ มากและถูก วพิ ากษว์ จิ ารณม์ ากเช่นกนั งานวิจัยน้สี รุปวา่ ไม่มีหลักฐานท่ีจะบอกว่าการใส่เคร่ืองแบบ นักเรียนเชื่อมโยงกับปัญหาเรื่อง ความประพฤติ การใช้สารเสพติด หรือการเข้าชั้นเรียน ในปี 2010 งานวิจัย โดย เอลิซาเบตตา เจ็นไทล์ และ สก็อตต์ อิมเบอร์แมน จากมหาวิทยาลัยฮิวสตัน ในสหรัฐฯ เสนอว่าแม้ว่า เครื่องแบบนักเรียน จะไม่มีผลต่อพฤติกรรมและผลการเรียนในระดับประถม เครื่องแบบนักเรียนมีผลดี เล็กน้อยต่อผลการเรียนภาษา และการเข้าชั้นเรียนในระดับ ม.ต้น และ ม.ปลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ นักเรียนหญิง เฮสเคธ สรุปไว้ว่า เป็นเรื่องยากที่เราจะแยกแยะออกมาว่าการใส่เครื่องแบบนักเรียนส่งผล อย่างไรต่อปัจจัยอื่น ๆ บ้าง (ข่าวสด : ออนไลน์) นอกจากนั้น ยังมีเรื่องทัศนคติ ที่เป็นอคติต้องพิจารณาด้วย เช่น โรงเรียนที่มีปัญหาเรื่องพฤติกรรมและผลการเรียนของ นักเรียน ก็อาจจะมีแนวโน้มบังคับใช้เครื่องแบบ นักเรียนมากกว่า และจะไม่พูดถึงผลเชงิ ลบของการบงั คบั ใส่ เคร่ืองแบบนักเรียน ในจังหวัดชัยภูมิเป็นจังหวัดที่มีเด็กนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาอยู่ไม่น้อย และแต่ละโรงเรียนและมี นักเรียนที่มีทัศนคติหรือแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายเครื่องแบบชุดนักเรียนที่ต่างกัน ในปัจจุบัน เหตกุ ารณ์บา้ นเมอื งคอ่ นขา้ งท่ีจะมกี ารเปลย่ี นแปลงและมผี ลกระทบต่อประชาชนหลายๆดา้ น สง่ ผลใหน้ ักเรียน มีการชุมนุมประท้วงเร่ืองการเมืองเป็นจำนวนมาก เม่อื มีการรวมตวั กันทำให้มีการอยากเรียกร้องสิทธิเรียกร้อง ในสิ่งที่อยากให้เป็นไปตามที่อยากให้เป็น ดังข่าวที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบันนี้ เป็นเหตุให้อยากทราบถึงทัศนคติและ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียนโรงเรียนสตรีชยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ ~ 122 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 2.1 เพ่อื ศกึ ษาปจั จัยที่สง่ ผลต่อทัศนคตขิ องนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาโรงเรียนสตรชี ยั ภมู ิ ตำบลใน เมือง อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ ทม่ี ีต่อการแต่งเครือ่ งแบบนักเรียน 2.2 เพื่อศกึ ษาแนวทางการปฏิบัตติ นดา้ นการแต่งกายจากมุมมองของนกั เรยี น ระดับชั้นมธั ยมศึกษา โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ 3. ประโยชนข์ องการวิจยั 3.1 ประโยชน์เชงิ วิชาการ เป็นการรับฟงั ความคิดเห็นจากเดก็ นักเรียน ในเร่อื งทศั นคติของนักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษา ต่อการ แต่งกายเคร่ืองแบบนักเรยี น ซ่ึงอาจนำไปส่คู วามเข้าใจซึง่ กันและกนั ระหว่างนักเรียนและสถานศกึ ษา เพื่อท่จี ะ นำไปเปน็ แนวทางเพ่ือแกไ้ ขปัญหาในเรอ่ื งการแต่งเครื่องแบบนักเรียนต่อไป 3.2.ประโยชน์เชงิ นโยบาย นำไปเสนอต่อผอู้ วยนวยการโรงเรียนสตรชี ัยภมู ิ เพ่ือเป็นการใชใ้ นการปรับปรงุ กฎหมายหรือข้อ ระเบียบในโรงเรียนเกี่ยวกับการแตง่ กาย 4. สมมติฐานการวจิ ัย 4.1 ปจั จยั และแนวทางการปฏิบตั ติ นด้านการแตง่ กายจากมมุ มองของนักเรียนโรงเรียนสตรชี ัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ นา่ จะเกิดจากเพศ 4.2ปจั จยั และแนวทางการปฏิบัติตนดา้ นการแตง่ กายจากมุมมองของนกั เรยี นโรงเรียนสตรชี ัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวัดชัยภูมิ นา่ จะเกดิ จากอายุ 4.3 ปจั จัยและแนวทางการปฏิบัตติ นดา้ นการแต่งกายจากมมุ มองของนักเรยี นโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภมู ิ นา่ จะเกิดจากระดับชน้ั เรยี น 4.4 ปัจจยั และแนวทางการปฏิบตั ติ นดา้ นการแต่งกายจากมมุ มองของนกั เรียนโรงเรียนสตรีชยั ภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ นา่ จะเกิดสังกัดจากโรงเรยี น ~ 123 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ 5. ขอบเขตของการวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษา ทัศนคติและแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน ระดับชน้ั มัธยมศึกษาโรงเรยี นสตรีชยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง โดยม่งุ เนน้ หาคำตอบว่า นักเรียนโรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ได้มีทัศนคติ ค่านิยม ความรู้ ความเข้าใจ ต่อการแต่ง เครอื่ งแบบนกั เรยี นอย่างไร ผวู้ จิ ยั ได้กำหนดขอบเขตการวิจยั ไว้ ดงั น้ี 1.ขอบเขตเขตด้านประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี นักเรียนโรงเรยี นท่ีกำลังศึกษาอยู่ภาค เรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 นกั เรยี นโรงเรยี น สตรชี ยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชยั ภูมิจำนวนรวม ทั้งหมดทง้ั ส้ิน 3500 คน (ฝา่ ยทะเบียนโรงเรยี นสตรีชัยภมิ, 2563 : ออนไลน์) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 นักเรียนโรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ จำนวนรวม 346คน โดยการคำนวณจากสูตรเครซ็ ซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อ้างใน ธรี วุฒิเอกะกุล,2543) 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา การศกึ ษานี้มุ่งเนน้ ศึกษาในเร่ืองของทัศนคติ ปัจจัยและแนวทางการปฏิบัติตน ดา้ นการแตง่ กายจากมมุ มองของนักเรียน 3. ขอบเขตด้านระยะเวลาในการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ได้เริ่มดำเนินการศึกษาในช่วงเดือน ธันวาคม พ.ศ.2563 – กุมภาพันธ์ 2564 6. วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย ในการประเมินผลการวิจัยการทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกายเครื่องแบบ นักเรยี น กรณีศึกษา โรงเรยี นสตรชี ัยภมู ิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภมู ิ ไดด้ ำเนินการตามลำดับดังนี้ 6.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ จำนวนทง้ั ส้ิน 3500 คน กลมุ่ ตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ จำนวนทัง้ สิ้น 3500 คน โดยในการวิจัยคร้ังนี้ ได้กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการเปิดตารางสำเรจ็ ของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จากนักเรยี น จำนวน 3500 คน ไดก้ ลุ่มตวั อย่าง 346 คน และ ~ 124 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ใช้วิธีการสุ่มตัวแบบตามสะดวก คือ เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนถือเอาความสะดวก หรือ ความง่ายในการเกบ็ ขอ้ มลู หลักคอื การเกบ็ ข้อมูลกับใครก็ไดท้ ่ีอยใู่ นขณะที่ผู้วิจัยกำลังเกบ็ ข้อมลู 6.2 ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษา ทัศนคติและแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน ระดับช้นั มัธยมศึกษาโรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง โดยม่งุ เน้นหาคำตอบว่า นักเรียนโรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ได้มีทัศนคติ ค่านิยม ความรู้ ความเข้าใจ ต่อการแต่ง เครอื่ งแบบนักเรยี นอย่างไร ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนดขอบเขตการวจิ ยั ไว้ ดงั น้ี 1.ขอบเขตเขตดา้ นประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษาครั้งนี้ นกั เรียนโรงเรยี นที่กำลังศึกษาอยู่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนโรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัด ชยั ภมู ิจำนวนรวมทั้งหมดทง้ั สิน้ 3500 คน (ฝ่ายทะเบยี นโรงเรยี นสตรชี ยั ภมิ, 2563 : ออนไลน์) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 นักเรียนโรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ จำนวนรวม 346คน โดยการคำนวณจากสตู รเคร็ซซ่แี ละมอรแ์ กน (Krejcie & Morgan, 1970 อา้ งใน ธรี วุฒิเอกะกลุ ,2543) 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา การศกึ ษานมี้ ุ่งเนน้ ศึกษาในเรื่องของทัศนคติ ปจั จยั และแนวทางการปฏิบัติตน ด้านการแตง่ กายจากมุมมองของนักเรียน 3. ขอบเขตด้านระยะเวลาในการศึกษา การศกึ ษาในครั้งนี้ไดเ้ รมิ่ ดำเนนิ การศึกษาในช่วง เดอื น ธันวาคม พ.ศ.2563 – กมุ ภาพนั ธ์ 2564 6.3 การเก็บรวมรวมขอ้ มลู การเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย ศึกษาใชว้ ิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง หลงั จากนนั้ ผศู้ ึกษาทำการเรียบเรียงและจัดแยกตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมลู โดยการสร้างแบบสัมภาษณ์ขึ้นจากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมีลักษณะ เป็นคำถามปลายปดิ และปลายเปิด แบ่งออก 3 ส่วน คอื ส่วนที่ 1 แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับ เพศ อายุ ระดับชั้นเรียน สังกัดโรงเรียน ลักษณะแบบ สัมภาษณ์เป็นแบบตรวจรายการ ~ 125 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ส่วนท่ี 2 แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ตอนที่ 1 ท่านคิดว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือปัจจัยใด จำนวน 4 ข้อ ลักษณะแบบสัมภาษณ์จะเป็นแบบเลือก คำตอบ 2 คำตอบคือ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ ไดแ้ ก่ 1. เพศ/ใช่หรอื ไม่ใช่ 2. อาย/ุ ใช่หรอื ไม่ใช่ 3. ระดับชั้นเรียน/ใช่หรอื ไม่ใช่ 4. สงั กดั โรงเรียน/ใช่หรอื ไมใ่ ช่ ตอนท่ี 2 และ ตอนท่ี 3 ลกั ษณะแบบสมั ภาษณจ์ ะคำถามปลายเปิด ไดแ้ ก่ ตอนที่ 2. ท่านคิดว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภมู ิ คือปัจจยั ใด ตอนที่ 3. ทา่ นจะมแี นวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายของนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษา โรงเรียน สตรชี ัยภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภมู ิ อยา่ งไร สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เห็นเพิ่มเติมของนกั เรียนนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาโรงเรยี นสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื ง จงั หวัดชัยภูมิ ทม่ี ตี ่อการแตง่ กายเครอ่ื งแบบนกั เรยี น โดยผู้วจิ ยั ออกแบบเปน็ คำถาม ปลายเปิดซึ่งผตู้ อบแบบสอบถามสามารถแสดงความคดิ เห็นไดอ้ ย่างอิสระ 6.4 การตรวจสอบข้อมูล การตรวจสอบขอ้ มูลทางการวจิ ัยในครง้ั นี้ ผ้วู ิจัยดำเนินการตรวจสอบขอ้ มลู ดงั น้ี 1. รวบรวมข้อมลู ทไี่ ด้จากแบบสอบถาม 2. ศกึ ษาจากตำรา เอกสารและงานวิจัยตา่ งๆที่เก่ียวข้องกับทัศนคติ ปจั จยั และแนวทางการปฏิบัติตน ด้านการแตง่ กายจากมุมมองของนักเรียน 3. กำหนดกรอบแนวคิดและเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย นำมาใช้เป็นข้อมูลในการสร้าง แบบสอบถาม ทง้ั ชนดิ ปลายปิดและปลายเปดิ 4. นำร่างแบบสอบถามที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษาทำการตรวจ วิจารณ์ แก้ไข เสนอแนะ ปรับปรุง เพ่อื ความเหมาะสมและความถูกต้องของแบบสอบถาม ~ 126 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ 5. นำแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุง เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content validity) และความครอบคลมุ ของเนื้อหา 6.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ซึ่งแยกวิเคราะห์ ตามลำดบั ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการหาค่าร้อยละ (Percentage) 2. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวัดชยั ภมู ิ ทม่ี ีต่อการแต่งเคร่ืองแบบนักเรียนโดยการหาคา่ รอ้ ยละ (Percentage) การวิเคราะหข์ ้อมูลเชงิ ปรมิ าณ ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถามทั้งหมด ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม สำเร็จรูป ทั้งนี้สถิติที่ใช้ในการประมวลผล โดยการหาค่าร้อยละ (Percentage) ในส่วนของแบบสอบถาม ปลายเปิดนำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์เน้ือหา สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การนำโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติมาใช้ในคำนวณสถิติและการหาเปอร์เซ็นต์ของแบบสอบถาม ทัศนคติปัจจัยและแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน เพื่อให้ได้รู้ถึงปัญหาและ นำมาวิเคราะห์ สรปุ ผลเพือ่ ในการทำวจิ ัยในครงั้ นี้ 7. สรุปผลของการวิจัย ผลการสำรวจทัศนคติของนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษา ตอ่ การแตง่ กายเครอื่ งแบบนกั เรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ มีนักเรียนกล่มุ ตวั อยา่ งจำนวน 346 คน พบว่าคน เพศชาย 40 คน คิดเป็นร้อยละ 11.6 เพศหญิง 306 คน คิดเป็นร้อยละ 88.4 ในช่วงอายุ 13 ปี จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0 อายุ 14 ปี จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 17.3 อายุ 15 ปี จำนวน 59 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 17.1 อายุ 16 ปี จำนวน 54 คน คิดเป็น 15.6 อายุ 17 ปี จำนวน 56 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.2 อายุ 18 ปี จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 18.8 ในระดับชั้น ม.1 จำนวน คน 53 คิดเป็นร้อยละ 15.3 ระดับชั้น ม.2 จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ระดับชั้น ม.3 จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ระดับชั้น ม.4 ~ 127 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ จำนวน 54 คน คิดเป็น 15.6 ระดับชั้น ม.5 จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 16.2 ระดับชั้น ม.6 จำนวน 65 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.8 สังกดั โรงเรยี นสตรีชยั ภูมิ จำนวน 346 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.0 ผลการสำรวจทัศนคติของนกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา ต่อการแต่งกายเครื่องแบบนกั เรยี นกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ มีนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 346 คน พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ คอื เพศ อายุ ระดับชัน้ เรยี น สังกดั โรงเรยี น ดังน้ี เพศ ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นว่า ใช่ จำนวน 242 คน คิดเป็นร้อยละ 69.9 ไม่ใช่ 104 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.1 อายุ แสดงความคิดเห็นใช่ 243 คน คิดเป็นร้อยละ 70.3 ไม่ใช่ 103 คิดเป็นร้อยละ 29.8 ระดับช้ัน เรียน แสดงความคิดเห็นใช่ 206 คน คิดเปน็ ร้อยละ 59.5 ไมใ่ ช่ 140 คดิ เป็นร้อยละ 40.5 และสังกัดโรงเรยี น แสดงความคดิ เห็นใช่ 205 คน คิดเป็นร้อยละ 59.2 ไม่ใช่ 141 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.8 ผลการทดสอบสมมตฐิ าน 7.1 ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ทศั นคติของนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรยี นสตรชี ยั ภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภมู ิ คือ เพศ อายุ ระดบั ชั้นเรยี น สงั กัดโรงเรียน การอบรมเล้ียงดูจากผ้ปู กครอง หรือ จากคณุ ครู การเสพขา่ วจากสื่อออนไลน์ตา่ งๆ หรอื ข่าวในโทรทัศนใ์ นรายการขา่ วต่างๆ ทเี่ ห็นได้อยา่ งชัดเจน ในข่าวปัจจุบนั น้ี การถูกปลกู ฝังในสงิ่ ท่ีเหมาะสมในการแตง่ ตวั ใหถ้ ูกกาลเทศะ 7.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิตนด้านการแต่งกายของนกั เรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษา โรงเรียนสตรชี ัยภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภมู ิ คอื ใหน้ ักเรียนแต่งกายตามกฎระเบยี บของโรงเรียงทม่ี แี นวทาง ทิศทางไปในทางด้านเดียวกัน เพ่ือให้มองดูแล้วว่า มคี วามเป็นระบบระเบยี บ เป็นอันนงึ อันเดีนวกันระหว่าง นกั เรียน การแต่งกาย และโรงเรยี น ซ้งึ ยังสอดคลอ้ งตามกฎระเบียบของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทีไ่ ดบ้ ัญญัติไว้ใน พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ 2551 7.3 การทดสอบสมมติฐานการวิจัย สมมติฐานข้อที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครอื่ งแบบนักเรยี นกรณีศึกษา โรงเรยี นสตรชี ัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภูมิน่าจะเกิดจากเพศ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 242 คน คิดเป็นร้อยละ 69.9 ไม่ใช่ 104 คน คิดเป็นร้อยละ 30.1 ดังนั้น เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรยี นกรณีศึกษา โรงเรยี นสตรีชยั ภูมิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั ชยั ภูมิน่าจะเกิดจากอายุ ~ 128 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ 243 คน คิดเป็นร้อยละ 70.3 ไม่ใช่ 103 คิดเป็นร้อยละ 29.8 ดังนั้น เป็นไปตาม สมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิน่าจะเกิดจาก ระดับชน้ั เรียนแสดงความคดิ เหน็ วา่ ใช่ จำนวน 206 คน คิดเปน็ ร้อยละ 59.5 ไม่ใช่ 140 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.5 ดังนัน้ ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิน่าจะเกิดจาก สังกัดโรงเรียนแสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 59.2 ไม่ใช่ 141 คน คิดเป็นร้อยละ 40.8 ดงั นัน้ ไมเ่ ปน็ ไปตามสมมติฐาน 8. อภิปรายผลการวจิ ยั ผลการวิจัยทัศนคติของนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษา ต่อการแต่งกายเครื่องแบบนักเรียน กรณีศึกษา โรงเรียนสตรชี ยั ภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภมู ิ มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยท่สี ่งผลต่อทัศนคติ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภมู ิ ที่มีต่อการแต่ง เครื่องแบบนักเรียน และเพื่อศึกษาแนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษา โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ ผวู้ จิ ัยได้อภิปรายผลได้ดงั นี้ 8.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จงั หวัดชัยภมู ิ ทมี่ ตี อ่ การแตง่ เครอ่ื งแบบนักเรยี น ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอ เมือง จงั หวัดชยั ภมู ิ คือ เพศ อายุ ระดับชั้นเรยี น สังกัดโรงเรยี น การอบรมเลี้ยงดจู ากผู้ปกครอง หรือจากคณุ ครู การเสพข่าวจากสื่อออนไลน์ต่างๆ หรือข่าวในโทรทัศน์ในรายการข่าวต่างๆ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน ในข่าว ปจั จุบันน้ี การถูกปลูกฝังในสิ่งท่ีเหมาะสมในการแต่งตวั ใหถ้ ูกกาลเทศะ 8.2 แนวทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายจากมุมมองของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียน สตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั ชัยภูมิ แนวทางทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภู มิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือ ให้นักเรียนแต่งกายตามกฎระเบียบของโรงเรียงที่มีแนวทาง ทิศทางไปในทางด้านเดียวกัน เพื่อให้มองดูแล้วว่า มีความเป็นระบบระเบียบ เป็นอันนึงอันเดีนวกันระหว่าง ~ 129 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ นกั เรยี น การแตง่ กาย และโรงเรียน ซงึ้ ยงั สอดคล้องตามกฎระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ ทีไ่ ด้บัญญัติไว้ใน พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ 2551 8..3 การอภิปรายผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย สมมติฐานข้อที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรยี นกรณีศึกษา โรงเรยี นสตรีชยั ภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง จังหวัดชัยภมู ิน่าจะเกิดจากเพศ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 242 คน คิดเป็นร้อยละ 69.9 ไม่ใช่ 104 คน คิดเป็นร้อยละ 30.1 ดังนั้น เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน ท้ังนเ้ี นอื่ งจากเพศท่ีต่างกันแต่กย็ ังมีทัศนคตทิ เ่ี ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน วา่ เหมาะสมที่จะ สวมใสก่ ารแตง่ กายเครอื่ งแบบนักเรียน สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรยี นกรณีศึกษา โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิน่าจะเกิดจากอายุ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ 243 คน คิดเป็นร้อยละ 70.3 ไม่ใช่ 103 คิดเป็นร้อยละ 29.8 ดังนั้น เป็นไปตาม สมมตฐิ าน ท้งั นี้อันเนอื่ งจากถึงมีอายุทแี่ ตกต่างกนั แต่กม็ ีการแสดงทศั นคติทค่ี ล้ายกนั เพราะว่าเป็นเครื่องแบบ นักเรียนถึงบ่งบอกวา่ ตนนั้นเปน็ นักเรยี น สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิน่าจะเกิดจาก ระดบั ช้ันเรียนแสดงความคิดเห็นวา่ ใช่ จำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 ไมใ่ ช่ 140 คิดเป็นร้อยละ 40.5 ดังนั้น ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากระดับชั้นเรียนที่แตกต่างกัน ทัศนคติและความนึกคิด ต่างกัน สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิน่าจะเกิดจาก สังกัดโรงเรียนแสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 59.2 ไม่ใช่ 141 คน คิดเป็นร้อยละ 40.8 ดังนั้น ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากสังกัดโรงเรียนที่นักเรียนเรียนอยู่อาจจะส่งผลต่อ ทัศนคติของนักเรยี นได้ ~ 130 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ัยครัง้ นี้ จากผลการศกึ ษาพบวา่ ทัศนคตขิ องนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา ต่อการแตง่ กายเครือ่ งแบบนักเรียน และมีแนวทางการทางการปฏิบัติตนด้านการแต่งกายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ คือ ให้นักเรียนแต่งกายตามกฎระเบียบของโรงเรียงที่มีแนวทาง ทิศทางไปในทางด้านเดียวกัน เพื่อให้มองดูแล้วว่า มีความเป็นระบบระเบียบ เป็นอันนึงอันเดีนวกันระหว่าง นักเรียน การแต่งกาย และโรงเรยี น 9.2 ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ยั ครงั้ ต่อไป จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ต่อการแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนกรณีศึกษา โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ นั้นมาจาก เพศ อายุ ระดับช้นั เรียน สังกัดโรงเรียน ผู้จดั ทำวจิ ัย จงึ ไดท้ ำข้อเสนอแนะ เพ่อื เปน็ ประโยชนท์ ่ีเกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.ควรอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเป็นอย่างดีว่าการแต่งกายเครื่องแบชุดนักเรียน ดีอย่างไร ทำไมถึงต้องใส่ บ่ง บอกสอ่ื สารถงึ อะไร 2.อยากใหม้ ีหัวข้อในการสอบถามท่หี ลากหลายมากยงิ่ ข้นึ บรรณานุกรม 1. ภาษาไทย บุญสม ครกึ ครนื และ ชยั ศกั ด์ิ คลา้ ยแดง. (2555). พฤติกรรมการแต่งกายชุดนกั ศึกษาของนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ฝ่ายทะเบียนโรงเรียนสตรีชัยภูมิ. (2564).ข้อมูลนักเรียน. ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2564 จาก http://satrichaiyaphum.ac.th Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement. 30(3) : 607 – 610. ~ 131 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ สาเหตุการตดิ ยาเสพตดิ และการปอ้ งกนั ของชาวบ้านนาสนี วล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง ชัยภูมิ จงั หวดั ชัยภมู ิ กรรณกิ าร์ คำทว้ ม (Kannika Khamthuam)1 บทคดั ย่อ งานวิจัยเรื่อง สาเหตุการติดยาเสพติดและการป้องกันของบ้านบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอ เมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1.เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการเสพยา เสพติดของคนในชุมชนบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 2. เพื่อศึกษาความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับยาเสพติดของคนในชมุ ชนบ้านนาสนี วล ตำบลนาเสยี ว อำเภอเมอื งชยั ภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3. ทำใหท้ ราบถงึ สาเหตุการติดยาเสพตดิ และการป้องกนั ของคนในชุมชนบ้านนาสนี วล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง ชัยภูมิ จงั หวัดชยั ภมู ิ 4.เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและพฤติกรรมของคนในชมุ ชนบ้านนาสี นวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ โดยศึกาจาก บ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมือง ชัยภูมิ จงั หวัดชัยภูมิ จำนวนท้ังสน้ิ 248 คน สำหรบั กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนในชุมชน บ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ที่นำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้กำหนด กระบวนการหรือแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองผู้ศึกษาจึงสร้างแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อนำ แบบสอบถามไปดำเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มุ โดยผู้ศึกษาลงพื้นท่ีไปแจกแบบสอบถาม และให้ผู้ตอบ แบบสอบถามไดท้ ำแบบสอบถามอย่างอสิ ระ โดยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง หลงั จากนัน้ ผู้ศกึ ษาทำการเรียบ เรียงและจัดแยกตรวจสอบและวิเคราหข์ อ้ มลู ผลรวมการเปรียบเทียบสาเหตุการติดยาเสพติดและการป้องกันของสาเหตุการติดยาเสพติดและการ ป้องกนั ของบา้ นบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภูมิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ ดังน้นั จงึ เปน็ สมมติฐานการวิจัย และเมอ่ื เปรยี บเทียบสาเหตุการติดยาเสพติดและการป้องกนั ของบา้ นบา้ นนาสีนวล ตำบลนาเสยี ว อำเภอเมือง ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิจำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ พบว่าประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในพน้ื ทีบ่ ้านนาสีนวล ตำบลนาเสียว อำเภอเมืองชัยภมู ิ จังหวดั ชยั ภูมิ ดงั นน้ั จงึ เปน็ สมมติฐานการวิจยั คำสำคญั : 1.สาเหตุการติดยาเสพตดิ 2.การป้องกนั 3.แนวทางในการแก้ไขปัญหา 4.พฤตกิ รรม 1 นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ Corresponding author, E-mail : [email protected] ~ 132 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook