การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ความคดิ เห็นของนกั ศึกษาตอ่ มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (Covid-19) ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ นำ้ ทพิ ย์ แสงแพง (Namthip Sangpang) บทคดั ย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดเห็นของนักศึกษาต่อ มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ 2. เพ่อื ศึกษาปัจจัย ทีส่ ง่ ผลต่อการยบั ย้งั และควบคุมไม่ใหเ้ ชอ้ื แพร่กระจายของนกั ศกึ ษาต่อมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดไวรัสโค โรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ และหาแนวทางการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) กลุ่มตัวอย่างในวจิ ัยครั้งนี้ คือนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 650 คน ทำการสุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณของ ตารางแคนซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 248 คน การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีลักษณะ เปน็ คำถามปลายเปิด แลว้ นำคำนวนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู สถติ ิ คำสำคญั : เชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ; มาตรการป้องกนั ; การยบั ยั้งและควบคมุ ~ 433 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ Opinions of students on measures to prevent the spread of coronavirus (Covid-19) of Chaiyaphum Rajabhat University Abstract Objective of this research: 1. To study the factors affecting students' opinions on measures to prevent the spread of the coronavirus ( COVID- 19) of Chaiyaphum Rajabhat University 2. To study the factors affecting the inhibition and control of transmission of students on the measures to prevent the spread of the coronavirus virus ( COVID- 19) Of Chaiyaphum Rajabhat University And find ways to prevent Coronavirus (COVID-19) epidemic The sample group in this research Ie 650 students of Chaiyaphum Rajabhat University, 1st year, sampling using the Cansy and Morgan table A sample of 248 people was obtained. This research uses the interview questionnaire created by the researcher. From studying related documents and research Related, which looks like an open-ended question And calculate by using a statistical software program. Keyword: coronavirus (COVID-19) ; measures to prevent the spread ; inhibition and control ~ 434 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ 1. บทนำ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ที่กระจายไปทั่วโลก และยังคงมีแนวโน้มการแพร่ระบาดเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่นี้ถูกตรวจครั้งแรก ในช่วงปลายเดือนธันวาคม ปี 2562 ที่เมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย ประเทศจีน โดยเป็นไวรัสชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์ ใหญ่ท่สี ุดในบรรดาไวรสั ท่ีพบในสัตว์และคน ซึ่งเป็นสาเหตุทำใหเ้ กดิ ความเจ็บปว่ ยตา่ ง ๆ ตงั้ แตโ่ รคหวัดธรรมดา จนถึงโรคท่ีทำใหเ้ กิดความเจ็บป่วยอย่างรุนแรง เช่น โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS) และโรคระบบ ทางเดนิ หายใจเฉยี บพลันรา้ ยแรง (SARS) สำหรับสาเหตุการแพร่ระบาดจนถึงขณะนี้ยังคงไม่เป็นที่แนช่ ดั แต่มีการสันนิษฐานว่าเปน็ การติดจาก สัตว์ สู่คน การระบาดในช่วงแรกจำกัดอยู่ในประเทศจีนก่อนจะลุกลามไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอย่าง รวดเร็ว ผู้ท่ีตดิ เชือ้ โควิด-19 นจี้ ะมอี าการเช่นเดยี วกบั ผ้ปู ว่ ยทม่ี ีการติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ โดยจะแสดง อาการตั้งแต่ระดับความรุนแรงน้อย ได้แก่ คัดจมูก เจ็บคอ ไอ และมีไข้ บางรายอาจไม่แสดงอาการผิดปกติ และผ้ปู ว่ ยราว 80% สามารถหายจากโรคได้เองตามธรรมชาติ โดยไมต่ อ้ งรับการรกั ษาใด ๆ แต่ในขณะเดียวกัน ยังไม่มียาหรือวัคซีนที่ใช้ในการรักษาและการป้องกัน รวมทั้งองค์ความรู้ทางวิชาการทั้งแนวทางการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ การตรวจวินิจฉยั โรคและการดูแลรักษา การคาดการณ์ระบาดในอนาคต การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและประเด็นอื่นๆ ที่จำเปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาวจิ ยั เพ่มิ เติม สถานการณ์โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยพบผตู้ ดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รายแรกในวันที่ 8 มกราคม 2563 ซึ่งเป็นผู้เดินทางจากประเทศจีน (ฐานเศรษฐกิจ, 2563) และ เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างจากประชากรภายในประเทศด้วยกัน ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน โรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สะสม 3,784 ราย ผู้ป่วยที่รักษาหายแล้ว 3,592 ราย รวมยอด ผู้เสียชีวิตอยู่ที่ 59 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563) และสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจังหวัดชัยภูมิพบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เข้าเกณฑ์สอบสวนโรคสะสมจำนวน 660 ราย เป็นผู้ป่วยยืนยันสะสมจำนวน 3 ราย และไม่พบผู้ติดเชื้อจำนวน 657 ราย รัฐบาลจึงกำหนดมาตรการเร่งดว่ น ในการควบคุมและป้องกันโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และเมือ่ สถานการณแ์ พรร่ ะบาดมีความ รา้ ยแรงมากขึน้ รัฐบาลจึงประกาศใช้พระราชกำหนดบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ.2548 และออก ข้อกำหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และมาตรา 11 แห่ง พระราชกำหนดบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ.2534 เพือ่ ควบคุมสถานการณแ์ ละจำกัดพนื้ ท่ีการแพร่ระบาด ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดไวรสั โคโรนา (Covid-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ซง่ึ เป็นที่มาของการศกึ ษาวจิ ัยคร้ังน้ี 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ ~ 435 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ 2. เพอื่ ศกึ ษาปจั จัยที่ส่งผลต่อการยบั ย้ังและควบคุมไมใ่ ห้เชื้อแพรก่ ระจายของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการ แพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฎชยั ภมู ิ 3. ประโยชน์ของการวจิ ัย 1. ให้ทราบถึงความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ 2. ให้ทราบถงึ เขา้ ใจของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ 4. สมมติฐานของการวิจยั 1. ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัย ราชภฎั ชยั ภมู ิ น่าจะเป็นจากเพศ 2. ความคิดเหน็ ของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรสั โคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัย ราชภัฎชัยภูมิ น่าจะเปน็ จากอายุ 3. ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรสั โคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัย ราชภฎั ชยั ภมู ิ น่าจะเป็นจากสงั กัดคณะศกึ ษา 4. ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัย ราชภฎั ชยั ภมู ิ น่าจะเปน็ จากลกั ษณะความเขา้ ใจ 5. ขอบเขตของการวจิ ัย 5.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร (Population) ได้แก่ นักศกึ ษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ ช้ันท่ี 1 ท่ีกำลังศึกษาอยู่ใน ปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 650 คน 5.2 กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ได้แก่ นักศึกษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ชั้นปีที่ 1 ที่กำลังศึกษา อยู่ในปีการศึกษา 2563 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างสูตรทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) จากกลุ่มประชากรและได้ กลมุ่ ตัวอย่าง จาก 27 สาขาวิชา จำนวน 248 คน ในการวิจัยคร้ังนเ้ี ปน็ การวิจยั เพ่ือศกึ ษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาด ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎชยั ภูมิ ผู้วจิ ัยได้กำหนดขอบเขตไว้ ดังนี้ ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากร (Population) ไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษาภาคปกติของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ ชัน้ ปีที่ 1 ที่กำลงั ศกึ ษาอยู่ ในปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 650 คน ~ 436 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา - ศกึ ษาหาวิจยั เรือ่ งความคิดเหน็ ของนักศึกษาต่อมาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ โดยศึกษาเนื้อหาตามวิจัยการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา เพื่อมากรองความ คิดเห็นของนักศกึ ษาของมหาวิทยาราชภัฏชยั ภมู ิ ขอบเขตดา้ นพ้ืนท่ี ขอบเขตด้านพ้นื ทใี่ นมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 1. คณะศลิ ปะศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2. คณะครุศาสตร์ 3. คณะบรหิ ารธุรกจิ 4. คณะรัฐศาสตร์ 5. คณะพยาบาลศาสตร์ ขอบเขตดา้ นเวลา การศกึ ษาในครั้งนีไ้ ด้เร่มิ ดำเนินการศึกษาในช่วง เดือน ธนั วาคม พ.ศ.2563 - กมุ ภาพนั ธ์ 2564 6. วิธดี ำเนินการวจิ ัย - ประชากร (Population) ได้แก่ นักศึกษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ชั้นปีที่ 1 ท่ีกำลังศึกษาอยู่ในปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 650 คน - กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ได้แก่ นักศึกษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ชั้นปีที่1 ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2563 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างสูตรทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) จากกลุ่ม ประชากรและได้กลุ่มตวั อย่าง จาก 27 สาขาวิชา จำนวน 248 คน 6.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วจิ ยั ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยมขี ั้นตอน ดังนี้ เก็บข้อมูลด้วยตนเอง ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ได้รับแบบสอบถามที่ครบถ้วนสมบูรณ์กลับคืนมา จำนวน 248 ชุด คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ของแบบสอบถามท่ีสง่ ออกไปทั้งหมดตามขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี 1. นำแบบสอบถามไปทำการเกบ็ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ดว้ ยตนเอง โดย อธบิ ายวัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั และวิธกี ารตอบแบบสอบถาม 2. ให้นกั ศึกษาตอบแบบสอบถาม 3. เกบ็ แบบสอบถามคืนด้วยตนเอง 4. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ของแบบสอบถามแตล่ ะชุด 6.2 การตรวจสอบขอ้ มูล 1. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบสอบถามแต่ละฉบบั 2. วเิ คราะห์ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามวเิ คราะหโ์ ดยการแจกแจงและหาคา่ รอ้ ยละ ~ 437 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 3. วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของมหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ วิเคราะห์โดยหาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบีย่ งเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 4. วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID -19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จำแนกตามเพศ ใช้การทดสอบคา่ ที (t – test) สถติ ิพืน้ ฐาน 1. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) 2. คา่ คะแนนเฉลีย่ (Mean) 3. คา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 1. หาคา่ ความเทย่ี งตรงเชิงพินจิ (IOC) เปน็ รายขอ้ โดยใช้วิธกี ารหาคา่ ร้อยละ 25 ของกลุ่มสงู และรอ้ ยละ 25 ของกลมุ่ ตำ่ และการใช้ทดสอบค่าที (t – test) 2. หาคา่ ความเชอื่ ม่นั ของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใชส้ ัมประสทิ ธิ์แอลฟ่า (Alpha - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach. 1970 : 169) ข้อ 2. ทา่ นคดิ วา่ ปจั จัยทีส่ ง่ ผลตอ่ ความคิดเห็นของนกั ศึกษาตอ่ มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดไวรสั โคโรน่า (COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ได้แก่ปจั จัยใดบา้ ง - ปจั จัยเกย่ี วกบั ดา้ นความรจู้ ัดหาสือ่ ความร้ปู ้องกันและควบคุมโควดิ -19 (COVID-19) ต่อการศึกษาใน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ - ปัจจยั เกีย่ วกบั ส่อื ประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพนั ธ์จากหลายชอ่ งทาง ไม่วา่ จะเปน็ สื่อบุคคล สอื่ สง่ิ พิมพ์ ส่ือมวลชน หรอื สื่อโสตทศั น์และสอื่ กจิ กรรม - ปจั จยั เก่ยี วกบั ความเช่ือ ขึ้นอยูก่ ับความเช่อื และการปฏบิ ัติตามกฎตอ่ มาตรการปอ้ งกัน การแพร่เชือ้ ของ แตล่ ะบคุ คล ข้อ 3. ท่านคิดว่าปัจจัยการยับยง้ั และควบคุมไมใ่ หเ้ ช้ือแพร่กระจาย ของนักศกึ ษาต่อมาตรป้องกนั การแพร่ ระบาดไวรัสโคโรนา (COVId-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ได้แก่ปัจจยั ใดบ้าง - มปี จั จยั การยับย้ังและควบคุมไมใ่ หเ้ ชอื้ แพร่กระจาย ไดแ้ ก่ ใหท้ ุกคนสวมหนา้ กากอนามัยทกุ ครัง้ กอ่ นออก จากบา้ น และมกี ารล้างมือทกุ คร้งั หลังจากกลับมาถงึ บ้านหรอื หลงั จากทำกิจกรรมตา่ งๆ ร่วมกบั บคุ คลอ่นื ๆ หมัน่ ลา้ งมอื บ่อยๆ และทำความสะอาดด้วยเจลแอลกอฮอล์ งดไปในสถานท่ี ทม่ี บี ุคคลมากๆ หรอื งดร่วม สังสรรค์ - จดั เตรียมอปุ กรณ์สำหรบั ตรวจวดั อุณหภูมริ า่ งกาย มจี ดุ คดั กรองกอ่ นเข้ามหาวิทยาลยั แก่นกั ศกึ ษาทุกครงั้ - จัดพื้นท่สี ำหรบั การเรียนการสอน ใหม้ รี ะยะห่าง 1 เมตร เพ่ือความปลอดภยั และป้องกันการแพรเ่ ชื้อ ~ 438 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของกลุ่มตวั อยา่ ง คำถาม จำนวน ร้อยละ 1. เพศ 127 51.2 - หญงิ - ชาย 121 48.8 2. อายุ 228 91.9 - ต่ำกวา่ 20 ปี 20 48.8 - 21 ปีขึ้นไป 3. คณะที่สงั กดั - คณะรัฐศาสตร์ 60 24.2 - คณะครุศาสตร์ 64 25.8 - คณะบริหารธุรกิจ 42 16.9 - คณะพยาบาลศาสตร์ 20 8.1 - คณะศลิ ปะศาสตร์ 23 9.3 - คณะวศิ วะกรรมศาสตร์ 39 19.7 4. สถานภาพ - โสด 248 100 5. ระดบั การศกึ ษา - ปริญญาตรี 248 100 จากกลุ่มตัวอยา่ งที่ 1 1. เพศ พบว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ เพศหญงิ จำนวน 127 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 51.2 รองลงมาเพศชาย จำนวน 121 คิด เป็นร้อยละ 48.8 2. อายุ พบว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ อายตุ ่ำกว่า 20 ปี จำนวน 228 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.9 -21ปีขน้ึ ไป จำนวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 81.1 3. คณะที่สังกัด พบว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID- 19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ คณะรัฐศาสตร์ จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 24.2 คณะครุศาสตร์ จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 25.8 คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 16.9 คณะพยาบาล ~ 439 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ศาสตร์ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 คณะศิลปะศาสตร์ จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 9.3 และคณะ วศิ วะกรรมศาสตร์ จำนวน 39 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.7 4. สถานภาพ พบวา่ ความคดิ เห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ สถานภาพโสด จำนวน 248 คดิ เปน็ ร้อยละ 100 5. ระดับการศึกษา พบว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ระดบั การศกึ ษาปริญญาตรี จำนวน 248 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ส่วนที่ 2 คำถาม จำนวน รอ้ ยละ 1. เพศ - ใช่ 222 89.5 - ไมใ่ ช่ 26 10.5 2. อายุ - ใช่ 71 28.6 - ไมใ่ ช่ 177 71.4 3. สังกดั คณะศึกษา - ใช่ 174 70.2 - ไม่ใช่ 74 29.8 4. ลกั ษณะความเขา้ ใจ - ใช่ 99 39.9 - ไม่ใช่ 149 60.1 กลุ่มตัวอย่างมองว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจาก เพศ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 89.5 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 จากกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งเพศได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาตอ่ มาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรสั โคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ และเป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว้ 1. กลุม่ ตัวอยา่ งมองวา่ ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจาก อายุ พบว่ากลุ่มตวั อย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 และกลุ่มตวั อย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 71.4 จากกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งอายุได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเหน็ ของนกั ศึกษาต่อมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ และเป็นไปตามสมมตฐิ านท่ตี งั้ ไว้ 2. กล่มุ ตวั อย่างมองวา่ ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจาก สังกัดคณะศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” ~ 440 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 70.2 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 29.8 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งเพศได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็นของนกั ศึกษาต่อ มาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และเป็นไปตาม สมมติฐานทีต่ ั้ง 3. กลุม่ ตัวอย่างมองว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ เกิดจาก ลักษณะความเข้าใจ พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งที่ตอบ “ใช่” จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 39.9 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 60.1 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งเพศได้มีส่วนเกีย่ วข้องในการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาตอ่ มาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และเป็นไปตาม สมมตฐิ านท่ีต้ัง 7. สรุปผลการวิจัย 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า(COVID- 19) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ พบว่า ปจั จยั เกย่ี วกบั ด้านความรจู้ ัดหาสื่อความรปู้ ้องกนั และควบคุมโควิด- 19 (COVID-19) ตอ่ การศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ - ปัจจยั เก่ยี วกับส่ือประชาสัมพนั ธ์ การประชาสัมพนั ธ์จากหลายช่องทาง ไมว่ า่ จะเป็น สื่อบุคคล สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือมวลชน หรือสอ่ื โสตทศั นแ์ ละสือ่ กิจกรรม - ปจั จยั เก่ยี วกบั ความเชื่อ ขน้ึ อยู่กับความเช่ือ และการปฏิบัตติ ามกฎต่อมาตรการป้องกนั การแพร่เชื้อ ของ แตล่ ะบุคคล 2. ปจั จัยการยับยั้งและควบคุมไม่ให้เช้ือแพร่กระจาย ของนกั ศึกษาต่อมาตรป้องกันการแพร่ระบาดไวรัส โคโรนา (COVId-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า มีปัจจัยการยับยั้งและควบคุมไม่ให้เช้ือ แพร่กระจาย ได้แก่ ให้ทุกคนสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน และมีการล้างมือทุกครั้งหลังจาก กลับมาถึงบ้านหรือหลังจากทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับบุคคลอื่นๆ หมั่นล้างมือบ่อยๆ และทำความสะอาดด้วย เจลแอลกอฮอล์ งดไปในสถานท่ี ทีม่ บี ุคคลมากๆ หรืองดร่วมสังสรรค์ - จดั เตรยี มอปุ กรณส์ ำหรบั ตรวจวดั อุณหภมู ริ ่างกาย มีจุดคัดกรองกอ่ นเขา้ มหาวทิ ยาลัยแกน่ กั ศกึ ษาทุกครั้ง - จัดพืน้ ทส่ี ำหรับการเรยี นการสอน ใหม้ ีระยะห่าง 1 เมตร เพอื่ ความปลอดภยั และปอ้ งกันการแพรเ่ ช้ือ 8. การอภปิ รายผล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาตรีระดับชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จำนวน 248 ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน 127 คน เพศหญิง จำนวน 121 คน กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ ดังนี้ ~ 441 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ สมมติฐานที่ 1 กลุม่ ตัวอย่างมองว่าปัจจัยความคิดเหน็ ของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัส โคโรนา(COVID-19) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ เกดิ จาก เพศ พบว่ากลมุ่ ตัวอย่างตอบ “ใช่” จำนวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 89.5 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 จากกลุ่ม ตวั อย่างทง้ั หมด จำนวน 248 คน ซึ่งเพศไดม้ สี ่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเหน็ ของนักศึกษาต่อมาตรการ ป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และเป็นไปตามสมมติฐาน ทต่ี ง้ั ไว้ สมมติฐานที่ 2 กลุ่มตัวอย่างมองว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ เกิดจาก อายุ พบว่ากลุ่มตัวอย่างทีต่ อบ “ใช่” จำนวน 71 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 28.6 และกลุ่มตวั อย่างทีต่ อบ “ไม่ใช่” จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 71.4 จากกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งอายุได้มีสว่ นเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเหน็ ของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรสั โคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ และเป็นไปตามสมมตฐิ านท่ีตั้งไว้ สมมติฐานที่ 3 กลุ่มตัวอย่างมองว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจาก สังกัดคณะศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 70.2 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 29.8 จากกลุ่มตวั อย่างทัง้ หมด จำนวน 248 คน ซึ่งสังกัดคณะศึกษาได้มีส่วนเก่ียวขอ้ งในการแสดงความคิดเห็นของ นักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และ เป็นไปตามสมมตฐิ านท่ีตง้ั ไว้ สมมติฐานที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมองว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโร นา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ เกิดจาก ลักษณะความเข้าใจ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 39.9 และกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 60.1 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งลักษณะความเข้าใจได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็น ของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และเปน็ ไปตามสมมติฐานทตี่ ้งั ไว้ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID- 19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกดิ สาเหตดุ งั ตอ่ ไปนี้ ~ 442 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 1. เพศ พบว่ากลุ่มตัวอย่างตอบ “ใช่” จำนวน 222 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.5 และกลมุ่ ตัวอย่างท่ี ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.5 จากกลุ่มตัวอยา่ งทั้งหมด จำนวน 248 คนเปน็ ไปตาม สมมติฐานทีต่ ง้ั ไว้ 2. อายุ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 และกลุ่มตัวอย่าง ที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 71.4 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งอายุ ได้มี สว่ นเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็นของนกั ศกึ ษาต่อมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดไวรัสโคโรนา(COVID- 19) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ และเป็นไปตามสมมตฐิ านทต่ี งั้ ไว้ 3. สงั กัดคณะศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งท่ตี อบ “ใช่” จำนวน 174 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 70.2 และ กลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ไม่ใช่” จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 29.8 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งสังกัดคณะศึกษาได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การแพร่ ระบาดไวรสั โคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ และเปน็ ไปตามสมมตฐิ านทีต่ ้งั 4. ลักษณะความเข้าใจ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบ “ใช่” จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 39.9 และกลุ่มตัวอย่างทีต่ อบ “ไม่ใช่” จำนวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 60.1 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 248 คน ซึ่งลักษณะความเข้าใจได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาต่อมาตรการป้องกัน การ แพร่ระบาดไวรสั โคโรนา(COVID-19) ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ และเป็นไปตามสมมตฐิ านที่ตง้ั ไว้ 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อความคิดเห็นของนักศึกษาตอ่ มาตรการป้องกัน การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เริ่มพิจารณาถึงการเลื่อน การสอบหรือ เปลี่ยนแปลงการสอบเปน็ ระบบออนไลน์ เพื่อลดความเสี่ยงในการชุมนมุ กันของนักศึกษาในวันสอบ รวมไปถึง การเลือ่ นจัดกิจกรรมต่างๆ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู อิ ีกดว้ ย 9.2 ข้อเสนอแนะการวจิ ัยครง้ั ตอ่ ไป ในการวิจัยครั้งต่อไปควรมุ่งเน้นประเด็นเกี่ยวกับการควบคุ มการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้เข้มงวดมากขึ้น เพราะจากการศึกษาครั้งนี้ได้พบว่า มีนักศึกษาบางส่วนไม่ได้ให้ความร่วมมือ กับทางควบคมุ มาตรการป้อง การแพร่ระบาดไวรัสโคนา (COVID-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และเป็น ตัวแปรท่สี ามารถพฒั นาหรือบริหารจัดการใหด้ ีขนึ้ ได้ซ่ึงจะ สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพของนกั ศึกษารา่ งกายและจิตใจ 10. บรรณานุกรม พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อควบคุมสถานการณ์และจำกัดพื้นที่การแพร่ระบาด มาตราที่ 11 พระราชบญั ญัติน้ีเรยี กวา่ “พระราชบัญญัตริ ะเบยี บ บรหิ ารราชกาลแผ่นดนิ พ.ศ. 2534” ~ 443 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ พระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. 2548 ออกขอ้ กำหนดตามความใน มาตรา 9 วิญญ์ทัญญู บุญทัน. (2558-2559). อาจารย์ ดร. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาํ เภอบางพลี จังหวดั สมทุ รปราการ 10540 ยง ภู่วรวรรณ. (2559). ค้นคว้าเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิกภาควิชากุมาร เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.สุภาภรณ์ วชั รพฤษา. (2560). สายพันธ์ขุ องไวรัสโคโรนาในคา้ งคาว พชั ราภรณ์ ไหวคดิ . (2562). เรม่ิ ข้นึ ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2562 ทีเ่ มอื งอฮู่ ่ัน ประเทศจีน สถานการณ์โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา(COVID-19) รายแรกในวนั ที่ 8 มกราคม 2563 (ฐานเศรษฐกิจ,2563) สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2563). ประชากรผู้ติดเชื้อในประเทศ (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2563) ยพุ าพร รูปงาม. (2545). การรส่วนรว่ มของข้าราชการสำนักงบประมาณ ในการปฏริ ปู ระบบราชการ. ภาค นิพนธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ สถาบันพระปกเกลา้ . (2545) กระทรวงศึกษาธกิ าร กรุงเทพฯ , หนา้ 30 – 31 กระทรวงสาธารณสขุ , กรมควบคุมโรค. (2563). คน้ เม่ือ 30 ตุลาคม 2563 วิกฤตการณ์จากโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID-19) คน้ เม่ือ 18 มนี าคม 2563 กระทรวงสาธารณสุข: กรงุ เทพฯ ปรศิ นา อัครธนพล. (2563-2564). คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวทิ ยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้า จฬุ าภรณ์ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์ เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210 จาก: https://www.who.int/docs/default-source/ Erwin. (1976). Participation Basic principles Techniques and example cases. Bangkok: 598 Print Retrieved December 9, 2010. Szentendre. (1970). Study to divide the process of participation. Bangkok: Prajadhipok Institute. ~ 444 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ การศกึ ษาพฤติกรรมการขบั ขข่ี องนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ชัยภูมทิ ม่ี ีผลต่อความ เส่ยี งในการเกดิ อุบตั เหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์ ทศั รินทร์ คณะแสวง (Thatsarin Khanasawang) บทคดั ยอ่ การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขับขี่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิท่มี ี ผลต่อความเสี่ยงในการ เกิดอุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์ในการคัดเลือกพื้นที่ ศึกษาได้พิจารณาจาก สัดส่วนจำนวน ผู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการเดินทางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูม จำนวน 100 คน โดยใช้แบบสอบถามที่พัฒนาข้ึนสำหรับการวิเคราะห์ แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้างหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรในแบบจำลองสมมติฐานและปจั จัยที่มีอิทธิพล ทงั้ ทางตรงและทางออ้ม ต่อพฤติกรรมเสีย่ งในการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ ซึ่งผลการวิเคราะห์พบวา่ ปจั จยั ด้าน ทัศนคติใน การขบั ข่ีของผ้ขู บั ขี่มอี ิทธพิ ลโดยตรงต่อพฤติกรรมเส่ียงในการเกดิ อุบัตเิ หตุ ซ่ึงช้ีให้เห็นวา่ ผขู้ ับขมี่ ีทศั นคติการไม่ ปฏิบัตติ ามกฎจราจร ใช้ ความเร็วในการขับขี่ และขับขด่ี ้วยความคึกคะนอง จะสง่ ผลให้ผขู้ ับข่ีมีพฤติกรรมการ ขับขท่ี ่เี ส่ียงต่อ การเกิดอุบัติเหตสุ งู คำสำคัญ: พฤติกรรมการขับขี่ (driver behavior), แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Modeling, SEM), ทฤษฎีแบบแผน (The theory of planned behavior :TPB ~ 445 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ A Study of Driving Behavior of Rajabhat Chaiyaphum University Students Affecting the Risk of Accidents from Using Motorcycles Abstract This research studied the driver's behavior that contributes to the risk of motorcycle accidents. Selection of the study area was based on the ratio of persons injured from accidents while traveling in the Northeastern region in Thailand. The sample group selected consists of 100 Student, Rajabhat Chaiyaphum University. Data was collected using a questionnaire developed for analysis using the Structural Equation Modeling (SEM)to find the relationship in the hypothesized model and the factors that directly and indirectly influences the risk behavior for accidents. Analysis indicates that the perception of the driver directly influences the risk of accidents. This shows that the drivers who have the concept of illegal driving practices, uses speed and drive recklessly will result in high risk behavior for accidents ~ 446 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 1. บทนำ อุบัติเหตุจราจรเปน็ สาเหตุสำคัญท่ีก่อให้เกิดการบาดเจบ็ และเสียชวี ติ ซึ่งมแี นวโน้มที่ สูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็นปัญหาเศรษฐกิจ และสังคมในหลายประเทศ ดังจะเห็นได้จากรายงานการ สูญเสียชีวิตและ ทรพั ย์สนิ ในประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก พบวา่ แตล่ ะปมี ผี ู้สียชีวิตจากอบุ ัตเิ หตุทางถนน ประมาณ 1.3 ลา้ นคน และมี ผไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ มากถึง 50 ลา้ นคน หรือเฉลีย่ มี ผเู้ สียชวี ิตจากอุบัตเิ หตุทางถนนประมาณวันละ 3,000 คน และ มีผู้ได้รับบาดเจ็บประมาณวันละ 30,000 คน ซึ่งต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บและทุพพล ภาพจากอุบัติเหตุท่ี เกิดขึ้นองค์การอนามัยโลก ได้ประมาณการตวั เลขต้นทุนทาง เศรษฐกิจที่เกิดจากอุบัติเหตุ ทางถนนไว้เป็นจำนวนเงินถึง 518 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปี ในประเทศ ที่มีรายได้สูง และประมาณ 65 พันลา้ นเหรียญสหรฐั ต่อปี ในประเทศทมี่ ีรายได้ปานกลางและรายได้น้อย นอกจากนี้ ละ 90 ของผ้เู สียชีวิตจาก อุบัติเหตุทางถนนพบในกลุม่ ประเทศที่มีรายได้ปานกลางและรายได้น้อย เช่น แอฟริกา และเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีปัญหา อุบัติเหตุจราจรในอันดับ ต้น ๆ จากการเปรียบเทียบสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทั่วโลกพบว่า ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจาก อุบัติเหตุจราจรอยู่ในอันดับที่ 70 จาก 178 ประเทศทั่วโลก โดย ผู้เสียชีวิตประมาณ 19.6 ต่อประชากร 100,000คน จากรายงานของกระทรวง สาธารณสุขปี พ.ศ.2553 พบว่าอุบัติเหตุจากการจราจรทางถนนทำให้ คนไทยเสียชีวิตมากเป็นอันดับ 2 รองจากโรคมะเร็ง และเป็นสาเหตุของการได้รับบาดเจ็บมากเป็นอันดับ 1 นอกจากนี้ยังพบว่าการเสียชวี ิตจากอุบตั ิเหตุจราจรยังเปน็ ปัญหาที่สำคัญของการ เสยี ชวี ติ ในวยั รุ่น โดยจำนวน ผ้เู สยี ชีวิตส่วนใหญม่ ีอายรุ ะหว่าง 20-24 ปี คดิ เป็นร้อยละ 31.7 รองลงมาได้แก่กลุ่มอายุระหว่าง 15-19 ปี คิด เป็นร้อยละ 28.9 แม้รัฐบาลจะกำหนดนโยบายออกมาเพื่อป้องกันควบคุมอุบัติเหตุแล้วก็ ตาม แต่จำนวน ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตกลับทวีเพิ่มจำนวนสูงขึ้นเร่ือย ๆ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า ปัญหาอุบัติเหตุ จราจรส่งผลทำให้ประเทศชาติต้อง สูญเสียงบประมาณ และทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะในกลุ่มวัยที่กำลัง ศึกษาเล่าเรียน และวัย 2 แรงงานที่เป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต เนื่องจากพฤติกรรมการขับข่ี นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มีความ ความสามารถในการประเมินสถานการณ์ที่เป็นอันตรายจาก การจราจรอยู่ในระดับต่ำ แต่มีการประเมินทักษะในการขับขี่ของตนเองไว้สูง ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุจราจรสงู อีกทั้งผลการศึกษาพบวา่ สาเหตุของการเกดิ อบุ ัติเหตุกวา่ ร้อยละ 95 มาจากปจั จัยด้านบคุ คล งานวิจัยน้ีใช้กรอบแนวคิดจากทฤษฎีแบบแผน (The theory of planned behavior :TPB) และการทบทวน งานวิจัยที่เกี่ยวข้องพฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ เพื่อกำหนดโครงสร้างของ แบบจำลอง มาใช้สำหรับ กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ต้องการตรวจสอบกับพฤติกรรม เสี่ยงในการขับขี่รถจักรยานยนต์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ โดยได้กำหนดปจั จัยทีน่ ่าจะมอี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรม เส่ียงในการขบั ข่ี ได้แก่ บุคลิกภาพ เป็นลักษณะการแสดงออกในรูปของแบบแผนแนวคิด ความรู้สึก และการแสดง พฤติกรรมท่ี แสดงออกช้า ๆ จนเป็นลักษณะเฉพาะแต่ละบุคคล โดยลกัษณะบุคลิกภาพของผู้ขับข่ีท่ี มักพบว่ามี ~ 447 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ความสัมพนั ธก์ ับการเกดิ อบุ ัติเหตุจราจร ไดแ้ ก่ ผู้ที่มบี คุ ลกิ ภาพลกั ษณะชอบคน้ หาความ ตื่นเต้น ท้าทาย มักจะ มีพฤติกรรมการขับข่ีที่ผาดโผน สนุกสนาน ชอบความเส่ียง และความตื่นเตน้ ผู้ที่มีบุคลิกภาพลกั ษณะก้าวรา้ ว และไม่ปฏิบัติตามกฎระเบยี บของสงั คม มักแสดงออกด้วยการขับขี่ ด้วยความเร็วสูง และชอบฝ่าฝืนกฎจราจร ส่วนผู้ที่มีบุคลิกภาพลักษณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เป็นสำคัญ จะมีความห่วงใยผู้อ่ืนขณะขับข่ี จึงมีความ ระมัดระวังในการขับขี่ มากขึ้น ทัศคติต่อโอกาสเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ เป็นลักษณะความรู้สึก ความเชื่อของผู้ ขบั ขที่ ่ีมีตอ่ โอกาสเสย่ี งของตนเองต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจร มักจะพบว่ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงใน การจราจร เช่น พฤติกรรมการขับขี่ที่ก้าวร้าว การขับขี่รถด้วยความเร็วสูง การศึกษาของพบว่าผู้ขับขี่ที่มี ทัศนคติว่าตนมีโอกาสเสี่ยงใน การเกิดอุบัติน้อยจะมีบุคลิกภาพชอบค้นหาความตื่นเต้นท้าทาย และไม่ปฏิบัติ ตามกฎระเบียบของ สังคม กลุ่มน้ีจะมีพฤติกรรมเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุมีการศึกษาพบว่าทัศนคติ ต่อโอกาส เสย่ี งของการเกิดอุบัติเหตุจราจรมีความสัมพนั ธ์กบั พฤตกิ รรมเส่ียงในการจราจรของผู้ขับข่ี โดยเฉพาะผู้ขับขี่ท่ีมี ทศั นคตชิ อบความการขับขฝี่ นื กฎจราจร และชอบใช้ความเรว็ ในการขับข่ี จะ 3 มลี กั ษณะการขบั ข่ดี ้วยความใจ ร้อน และมักดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก่อนขับขี่จึงนำไปสู่พฤติกรรม เสี่ยงและความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ จราจร การรับรูโ้ อกาสเสีย่ งในการเกิดอุบตั ิเหตุจราจร เป็นลักษณะการรับรู้ของผูข้ ับขีเ่ กี่ยวกับการ โอกาสจะมี ส่วนเกี่ยวข้องในการเกิดอุบัติเหตุได้ในอนาคต และความกังวลว่าตนเองจะได้รับ อันตรายจากอุบัติเหตุจราจร มีฐานความคิดจากรูปแบบความเชื่อด้านสุขภาพจากแบบจำลอง Health Belief Model การรับรู้โอกาสเสี่ยง ในการเกิดอุบัตเิ หตุจราจร หรือได้รับอันตราย จากการจราจรของผู้ขับขี่ แสดงถึงความสามารถในการประเมิน อนั ตรายท่ี อาจจะเกดิ ขน้ึ ใน สถานการณ์จราจร และสามารถป้องกันตนเองจากอันตรายในการจราจรได้ ทำให้ พฤติกรรมเสย่ี งใน การเกิดอบุ ัตเิ หตุนอ้ ยลง ดังนั้นผู้ขับขีท่ ่ีมีระดับการรับรโู้ อกาสเสี่ยงในการเกิดอบุ ัติเหตุจราจร ไม่ดี จะไม่ระมัดระวังในการขับขี่ จึงมีการขับขี่ที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจรได้มาก และเกิดอุบัติเหตุ ได้ ง่าย งานวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาพฤติกรรมเส่ียงในการขับขี่รถจักรยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ ซงึ่ มสี ดั ส่วนการใชร้ ถจกั รยานยนตส์ ูง โดยใช้แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้าง แสดงถงึ ความสัมพันธ์กับ ปัจจัยตา่ งๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุบตั ิเหตุ 2. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ทัศนคติ และการรับรู้โอกาสเสี่ยง ของ นักศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิทส่ี ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมเส่ียงในการขบั ขจี่ กั รยานยนต์ 2. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของแบบจำลองที่สร้างขึ้นกับ ข้อมูล เชงิ ประจกั ษ์ 3. เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลท้ังทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ จักรยานยนต์ ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ ~ 448 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ 3. ประโยชนข์ องการวิจัย 1. เป็นการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์ เพื่อนำไปใช้ในการ รณรงค์ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาท่ี อาจจะเกิดข้ึนจากพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ จักรยานยนต์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ 2. เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายการลดจำนวนอุบัติเหตุ และลดจำนวนการบาดเจ็บ และ เสียชวี ติ จากอุบตั เิ หตุรถจกั รยานยนตใ์ นอนาคต 4. ขอบเขตของการวจิ ัย 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิซึ่งเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มพฤติกรรม เสี่ยงในการขับข่ี จกั รยานยนต์สงู 2. การคัดเลอื กนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิจากการคัดเลอื กแบบสุ่ม 5. วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1. นักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ จำนวน 100 คน เครื่องมือท่ใี ช้ในการรวบรวมข้อมูล ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวข้อมูลส่วนตัวได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา ประสบการณ์ ขับ รถจักรยานยนต์ การครอบครองรถจักรยานยนต์ การเคยฝ่าฝืนกฎจราจร และการเคยประสบ อบุ ัติเหตุจราจร ลักษณะของแบบสอบถามเปน็ แบบเลือกตอบ (Check List) ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเพอ่ื วัดลักษณะบุคลิกภาพ 5 ลกั ษณะ สว่ นท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเพือ่ วดั ทศั นคตติ อ่ โอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุ 3 ดา้ น สว่ นที่ 4 เป็นแบบสอบถามเพื่อวัดพฤตกิ รรมเส่ยี งในการเกิดอบุ ัติเหตุ 5 ดา้ น สว่ นท่ี 5 เป็นแบบสอบถามเพอื่ วัดการรับรโู้ อกาสเส่ยี งในการเกิดอบุ ัติเหตุจราจร 6. สรปุ ผลการวิจยั งานวิจัยน้ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมการขับขขี่ องนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิที่มีผล ต่อความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์โดยการวิเคราะห์แบบจ ำลองสมการโครงสร้าง พฤติกรรม เสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้จักรยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น นักศึกษท่ีใช้รถจักรยานยนตจ์ ำนวน 100 คน ผู้วิจัยใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ จำเพาะเจาะจง เพื่อให้ได้ตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนดไว้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่ง ~ 449 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ออกเป็น 5 ส่วน คอื ส่วนที่ 1 เป็น แบบสอบถามเกย่ี วข้อมูลสว่ นตวั สว่ นท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเพอื่ วัดลักษณะ บุคลิกภาพ ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเพื่อวัดทัศนคติต่อโอกาสเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุส่วนที่ 4 เป็น แบบสอบถาม เพอ่ื วัดพฤติกรรมเส่ยี งในการเกิดอุบัติเหตุและสว่ นท่ี 5 เป็นแบบสอบถามเพ่ือวัดการรับรู้โอกาส เสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจราจร การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาข้อมูล เบื้องต้นและ พฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และตอนที่ 2 การ วเิ คราะห์แบบจำลองสมการ โครงสรา้ งพฤตกิ รรมเส่ยี งในการเกิดอุบัติเหตุจากการใชจ้ ักรยานยนต์ของนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู สามารถสรปุ ผลการศกึ ษาได้ดังน้ี 1 การศกึ ษาความสัมพันธ์ ระหวา่ งปัจจัยด้านบุคลิกภาพทัศนคติและการรบั รู้โอกาสเสี่ยงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ที่ส่งผล ตอ่ พฤตกิ รรมเส่ียงในการขบั ข่ีจักรยานยนตส์ รุปได้ดังนี้ 1. ข้อมูลส่วนบุคคลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนเพศชาย และเพศหญิงใกลเ้ คยี งกนั สว่ นใหญ่มอี ายรุ ะหว่าง 19-23 ปี 2. นักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ สว่ นใหญ่มี ประสบการณ์ในการขับขี่รถจักรยานยนต์ 1-5 ปี ไม่มีใบอนุญาตขบั ขี่ รถจักรยานยนต์ และเคยมีประสบการณ์ การฝ่าฝืนกฎจราจร ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากการไม่สวมหมวก นิรภัยและไม่มีใบอนุญาตขับข่ี 3. มีนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนตัวอย่างท้ังหมดท่ี เคยประสบอุบัติเหตุจาก รถจักรยานยนต์ ซึ่งความรนุ แรงของการเกดิ อุบตั เิ หตุคือ มีผบู้ าดเจ็บเลก็ น้อย ทรัพย์สนิ เสยี หาย บาดเจ็บสาหัส ตามลำดับ 4. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่วนใหญ่มีลักษณะบุคลิกภาพในการขับขี่รถจักรยานยนต์ คือเมื่อขับข่ีชอบจ้ีท้ายคันหน้า ขับรถปาดหน้าคันอื่นเป็นประจำ โดยปกติไม่ค่อยเปิดไฟเล้ียวเมื่อจะเล้ียวหรือ เปลี่ยนช่องทาง เมื่อโดนคันอื่นปาดหน้ายอมไม่ได้เด็ดขาด ถ้าด่ืมของมึนเมาจะขบัรถเร็วข้ึน การสวมหมวก นิรภัยเป็นส่ิงท่ี น่ารำคาญ ถ้าสัญญาณไฟจราจรเสียจะรีบ ขับรถผ่านแยกไปโดยไม่เปิดโอกาสให้คันอื่นตัดหนา้ 5. นกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ สว่ นใหญม่ ีทัศนคติในการขับข่ีในการขับขีร่ ถจกั รยานยนตค์ ือผู้ที่มีความ ชำนาญใน การขับขี่จะใช้ความเร็วสูงได้ จะขับรถเบียดแทรกคันอ่ืน 6. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุในการขับขี่ในการขับขี่รถจักรยานยนต์ คือ ขับรถเร็วเกินกว่าอัตราท่ี กำหนด ถ้าเหน็ สัญญาณไฟเหลืองจะเร่งไปเลย ขับข่ีฝ่าสญั ญาณไฟแดงเมื่อเหน็ ถนนว่าง ขบั รถสวนทาง จราจร ไม่สวมหมวกนิรภยั ในการขับข่ี ไม่ปฏิบตั ิตามกฎเพราะมันยงุ่ ยาก ขณะท่ีเปล่ียนสัญญาณไฟ เขียวจะรีบออกรถ ทันที และเมื่อมีรถใหญ่อยู่ข้างหน้าจะรักษาระยะห่างเอาไว้ 7. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ส่วนใหญ่ รับรูไ้ ด้ว่ามีความเปน็ ได้ท่ี จะเกดิ อุบัติเหตจุ ราจรข้ึนกบั ตนเองและอาจ ไดร้ ับบาดเจบ็ พกิ ารจนถงึ เสียชวี ติ 2. การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่จักรยานยนต์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบว่า พฤติกรรมเสีย่ งในการเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากการใช้จกั รยานยนต์ของ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ได้รบั อิทธิพลจากปัจจัยต่างๆ ท้ังทางตรงและทางอ้อม มีปัจจัยที่มีอิทธิพล กบั พฤตกิ รรมเส่ียงในการ เกิดอุบัติเหตจุ ากการใชจ้ ักรยานยนต์ของกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 2 ~ 450 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านบุคลิกภาพที่ไม่ดีในการ ขับขี่และปัจจัยด้านทัศนคติที่ไม่ดีในการขับขี่จากผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุจากการใช้จักรยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยด้านทัศนคติที่ไม่ดี ในการขับขี่มากที่สุด โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิขนาดอิทธิพล เท่ากบั 0.560 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01แสดงให้เห็นว่า การมีทัศนคติที่ไม่ดีในการขับข่ี รถจกั รยานยนต์สง่ ผลต่อพฤตกิ รรมเส่ยี ง ในการเกิดอุบตั ิเหตุจากการใช้จกั รยานยนตข์ องนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภฏั ชยั ภมู ิ หมายความว่า หากผูข้ ับข่ีมีทัศนคติต่อ การไมป่ ฏิบัติตามกฎจราจร การใชค้ วามเร็ว และการขับ ขี่ด้วยความคึกคะนอง จะส่งผลให้มี 69 พฤติกรรมเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุได้ และพฤติกรรมเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุจากการใช้ จักรยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากปัจจัย ด้านบุคลิกภาพที่ไม่ดีในการขับขี่ ผ่าน ปัจจัยด้านทัศนคติที่ไม่ดใี นการขับขี่ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ขนาดอิทธิพล เท่ากบั 0.467อยา่ งมี นยั สำคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01 นอกจากน้ีพฤติกรรมเสย่ี งในการเกดิ อุบตั ิเหตุจากการใช้ จกั รยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ได้รับอิทธพิ ลรวมจากปัจจัยด้านบุคลิกภาพท่ีไม่ดีในการ ขับข่ผี ่านปัจจัย ดา้ นทศั นคติท่ีไมด่ ีในการขับขี่มากท่ีสุด โดยมีคา่ สมั ประสิทธิ์ขนาดอิทธิพลเท่ากบั 1.027 อย่าง มี นยั สำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.01 แสดงให้เห็นวา่ หากนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มีบุคลิกภาพท่ีไม่ดี ในการขับขี่ร่วมกับ การมีทัศนคติที่ไม่ดีในการขับขี่ ยิ่งส่งผลให้ส่งผลให้มีพฤติกรรมเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุได้ มากยิ่งข้ึน จากผลการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้างพฤติกรรมเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุจากการ ใช้ จักรยานยนต์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ดงั กลา่ วมคี ่าสัม ประสิทธ์ิในการทำนายพฤติกรรมความ เส่ียง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.2 7. การอภิปรายผล จากผลการวจิ ัย สรปุ ไดว้ ่า ปจั จัยดา้ นทศั นคติเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเส่ียงต่อ การเกิด อุบัติเหตุของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ที่ใช้รถจักรยนต์ ประกอบด้วย ทัศนคติต่อการไม่ปฏบิ ัติตาม กฎจราจร ทัศนคติต่อการใช้ความเร็ว และทัศนคติต่อการการขับขี่ด้วยความคึกคะนอง ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ (Sümer, 2003) ได้อธิบายเก่ียวกับทัศนคติว่า ทัศนคติเป็นสิ่งสำคัญ ในการทำให้ค้น แสดง พฤติกรรมออกมา การรู้ทัศนคติของคนสามารถทำนายพฤติกรรมที่คนจะแสดงออกได้ ในทางกลับกันหาก พิจารณาเฉพาะเรื่องการขับข่ียานพาหนะ พบว่า งานวิจัยน้ีมีแตกต่างจากงานวิจัยของ (Ulleberg and Rundmo 2003) ท่พี บว่า บุคลิกภาพของผขู้ ับขี่มักมีสว่ นเก่ียวข้องกับการเกิดอบุ ตั ิเหตุอยู่เสมอ โดยพบว่าผู้ที่มี บุคลกิ ภาพแตล่ ะลกั ษณะ จะมีพฤติกรรมการขับข่ีท่ีเสย่ี งต่อการเกิดอบุ ัตเิ หตุที่แตกตา่ งกนั ซงึ่ บุคลิกภาพในการ ขับขี่เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ที่ใช้ รถจักรยานยนต์เป็นลำดับที่สองรองจากปัจจัยด้านทศั นคติในการขับขี่ของกลุ่มตวั อย่างนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิน่ันแสดงให้เห็นว่านักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิที่กำลังศึกษาอยู่เป็นกลุ่มที่อยู่ในวัยคึก ~ 451 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ คะนอง มีความใกล้ชิดกับเพื่อนมากกว่าครอบครัวหรือผู้ปกครอง และยังมีพฤติกรรมเลียนแบบเพื่อนเป็นไป ตามความเชื่อของกลุ่มในเรื่องต่างๆ รวมถึงความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการขับขี่รถจักรยานยนต์ อาทิ การละเมิด กฎจราจรบางคร้ังไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการเสี่ยงอันตรายเสมอไป ผู้ที่มีความชำนาญ ในการขับขี่จะใช้ ความเรว็ สงู ได้และผู้ตดิ ไฟแดงท่ีสีแ่ ยกตอนดึกๆ ไม่มีรถเลยนา่ จะฝ่าไปไดเ้ ปน็ ตน้ งานวิจัยน้ีทำให้ทราบถึงสาเหตุของพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจรของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ที่ใช้ รถจักรยนต์ เพื่อหาทางป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึน เช่น จาก ผลการวิจัยที่พบวา่ ทัศนคติในการขับขี่ของกลุ่มตัวอย่างเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเส่ียงต่อการเกิด อุบตั เิ หตุ ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 8. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะการนำผลการวจิ ัยไปใช้ สามารถนำไปใช้ในการกำหนดนโยบายและวางแผนการให้ความรู้ การรณรงค์และ ป้องกันการเกิด อุบัติเหตุจราจรได้ จึงหวังเปน็ อย่างยิ่ง ว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดนโยบายและวางแผนการลดอุบตั ิเหตุ ควรมีความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการสร้างจิตสำนกึ ปรบั เปลย่ี นลกั ษณะนิสัย ทัศนคติ บุคลิกภาพ ให้ มีความตระหนกั ถงึ อันตรายจากการ เกดิ อุบัติเหตมุ าขนึ้ 9.2 ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งตอ่ ไป ในการศึกษาคร้ังต่อไปควรศึกษากลุม่ ตัวอย่างทุกชว่ งอายเุ พ่ือนำ มาเปรยี บเทยี บสาเหตุหรอื ปัจจัยที่ ผลตอ่ พฤติกรรมเสยี่ งต่อการเกิดอบุ ตั เิ หตุจราจรท่ีเกิดขนึ้ ด้วย 9. บรรณานกุ รม คณะกรรมการป้องกันอุบตั ิภยั แหง่ ชาต.ิ (2553). การปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุจากภัยจราจร. คณะกรรมการ ป้องกนั อุบัตเิ หตแุ หง่ ชาต.ิ กรุงเทพฯ. จิรพัฒน์ โชติกไกร. (2531). วิศวกรรมการทาง (Highway Engineering). กรุงเทพฯ: ภาควิชา วิศวกรรมโยธาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาเกษตรศาสตร์. ณัฎฐามณี จิรินทรกุล. (2543). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อการับรู้ความคาดหวังใน ความสามารถของตนเองและพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ รับจ้างอำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์กรงุ เทพ. ธนินี เขียวอยู่, (2546). พฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดกรม สามัญศกึ ษา.จงั หวดั เพชรบรุ .ี ~ 452 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ว ิ จ ิ ต ร บ ุ ญ ย ะ โ ห ต ร ะ . ( 2538).ป ั ญ ห า จ า ก ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก . dc220.4 shared. com/ doc/cihttjpk/preview.html. วันที่ 5 กรกฎาคม 2564. สมจิตต์ สุพรรณทัศน์. (2534). การสำรวจพฤติกรรมการวางแผนครอบครัว การโภชนาการ การ อนามัยแม่และเด็กของสตรีวัยเจริญพันธ์ุในชุมชนแออัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล. สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2533). การโฆษณาหาเลียงกับพฤติกรรมการเลือกตั้ง. คณะวารสาร ศาสตร์ และสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุรเมศวร์ พิริ ยะวัฒน์. (2550). การศึกษาทัศนคติของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเพ่ือประยุกต์ใช้ มาตรการควบคุมความต้องการเดินทางอย่างยั่งยืน.รายงานการวิจัยพัฒนาฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาวิศวกรรม โยธาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา. ~ 453 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ การบริหารการจดั การการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรสั 2019 ของอาสาสมคั รสาธารณสุข กรณศี ึกษา บ้านหนองขนาก ตําบลสุขไพบูลย์ อาํ เภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสมี า บรรณสรณ์ วัณณะบุรี (Bannasorn Wannaburi)1 บทคัดย่อ การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข กรณีศึกษา บ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัด นครราชสีมา และ เพือ่ ศกึ ษาแนวทางการพฒั นาการบรหิ ารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข กรณีศึกษา บ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา โดยศึกษาการสัมภาษณ์จากอาสาสมัครสาธารสุขของตำบล จำนวน 10 คน โดยใช้ระยะเวลา ตั้งแต่ เดือน กรกฎาคม – zzzz ผลการศึกษาพบว่า อาสาสมัครสาธารสุขทั้ง 10 ท่าน ให้คำตอบในการสัมภาษณ์คือ มาตรการที่ใช้ในการควบคุมพื้นที่นั้นเป็นมาตรการที่ได้จากโรงพยาบาลอำเภอ โดยมีการนำสมาชิกที่มีส่วน เกี่ยวข้องไปอบรม เข้าร่วมโครงการสัมมนาออนไลน์เกี่ยวกับการป้องกันไวรัสโคโรนา่ 19 เพื่อเป็นการนำไปใน ชีวิตประจำวัน ใช้มาตรการนำชาวบ้าน ครัวเรือนละ 1 คน มาฟังมาตรการการป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับ สมุนไพรไทย รวมไปถึงการทำเจลแอลกฮอล์ในยุคนี้อีกด้วย นอกจากจะเป็นการดูแลตนเองและการใช้ชีวิตใน ยุค New Normal แล้ว ยังสามารถสร้างอาชีพและรายได้ผ่านทางออนไลน์ในสถานการณ์นี้อีกด้วย ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการปอ้ งกนั การระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) คำสำคัญ: การบรหิ ารการจดั การ.; การแพร่ระบาดโรคโคโรนา่ .; อาสาสมคั รสาธารณสุข 1 บรรณสรณ์ วัณณะบรุ ี [email protected] ~ 454 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ Management of Coronavirus Disease 2019 Epidemic Management of Public Health Volunteers: Case Study Ban Nong Khanak, Sukphaiboon Sub-district Soeng Sang District Nakhon Ratchasima Province Abstract The objectives of this research were to study the management of the corona virus 2 0 1 9 epidemic management of public health volunteers, a case study of Ban Nong Khanak, Sukphaiboon Sub-district, Soeng Sang District, Nakhon Ratchasima Province, and to study the development guidelines for the management of epidemic management. Corona virus 2019 of public health volunteers, case study, Ban Nong Khanak, Sukphaiboon Sub-district, Soeng Sang District, Nakhon Ratchasima Province The study was conducted by interviewing 10 volunteers in the public health of the sub-district, using the period from July to zzzz. The 10 public health volunteers answered in the interview as follows: Measures used to control the area are measures taken from the district hospital. by bringing the members involved in the training Join the corona virus prevention webinar 1 9 project for use in daily life. Take measures to bring 1 villager per household to listen to preventive measures and educate about Thai herbs. including making alcohol gel in this era as well In addition to taking care of yourself and living in the New Normal era, it can also create a career and income online in this situation. Recommendations: Factors affecting the performance of the village health volunteers should be studied. (Vol.) to prevent the outbreak of coronavirus disease 2019 (COVID - 19) Keyword: Management Administration; Corona Cirus Epidemic; Public Health Volunteer. ~ 455 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 1. บทนำ โรคโคโรน่าไวรัส 2019 (COVID -19) เป็นโรคกำเนิดใหม่ที่เรายังมีความเข้าใจน้อยมาก การระบาด อย่างรวดเร็วกระจายไปทั่วโลก(pandemic)ใช้เวลาเพียงสามเดือนโดยจุเริ่มต้นการระบาดเริ่มเมื่อปลายเดอื น ธนั าวาคม ค.ศ. 2019 เกดิ ท่ีตลาดอาหารทะเลหังหนาน เมอื งอู่ฮ่ัน มณฑลหูเป่ย ประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีนสร้างผลกระทบต่อทุกประเศสทั้วโลกในทุกๆ ด้านปัจจุบันมรยอดผู้ติดเชื้อทั่วโลก 64,188,962 ราย ผู้เสียชีวิต 1,486,609 ราย ผู้กำลังติดเชื้อ 14,766,859 ราย รักษาหาย43,951,713 รายในสหรัฐอเมริการ ประเทศเดียวมีผู้ตดิ เชือ้ สูงถึง 14,108,490 ราย ผู้เสียชีวติ 276,976 ราย สำหรับประเทศผู้ติดเชื้อ 4,008 ราย เสียชีวิต 60 ราย ผู้กำลังติดเชื้อ 137 ราย รักษาหาย 3,811 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2563) นับเป็นภัยพิบัติร้ายแรงของมนุษยชาติ นานาประเทศต่างออกมาตรการในการที่จะควบคุมโรคระบาดนี้ เพ่ือ รักษาชีวิตของประชาชนให้ได้มากที่สุด และเพื่อปกป้องระบบสาธารณไม่ให้ล่มสลายเนื่องจากมีผู้ป่วยล้น โรงพยาบาล แต่ในปจั จบุ ันอาสาสมัครสาธารณสุข หรือ อสม. หมายถึง บคุ คลท่ีไดร้ บั การคัดเลือกจากชาวบ้านใน แต่ละกลุ่มบ้านและได้รับการอบรมตามหลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยมีบทบาทหน้าที่สำคัญใน ฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย (Change agents) การสื่อข่าวสารสาธารณสุข การ แนะนำเผยแพร่ความรู้ การวางแผน และประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนให้บริการสาธารณสุข ด้านต่าง ๆ เช่น การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การเฝา้ ระวังและป้องกันโรค การชว่ ยเหลือและรักษาพยาบาลขัน้ ต้น โดย ใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการการฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านสขุ ภาพ บ้านหนองขนาก ตําบลสุขไพบูลย์ อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา เป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อ การเกิดโรคระบาดโควิด 19 เป็นอย่างมาก เนื่องจากบคุ ลากรมาจากตา่ งจังหวดั เยอะพอสมควร อย่างไรก็ตาม บา้ นหนองขนาก ตาํ บลสขุ ไพบลู ย์ อาํ เภอเสงิ สาง จงั หวดั นครราชสีมา นนั้ ยังมมิ ีผู้ใดติดเชื้อโคโรนา่ ไวรัส 2019 อันเนื่องมาจากการดูแลตนเอง การรักษาสุขภาพ รวมไปถึงขั้นตอนการทำงาน มาตรการการป้องกันของ จังหวัดและพื้นที่หมู่บ้านหนองขนาก อีกทั้งยังมีอาสาสามัครสาธารณสุขที่เป็นผู้ดูแลในเรื่องของมาตรการ เหล่านี้ นำมาปรับใช้ในพื้นที่ ตามคำสั่งเบื้องบน จึงทำให้หมู่บ้านบ้านหนองขนาก ตําบลสุขไพบูลย์ อําเภอเสิง สาง จงั หวัดนครราชสมี า ปลอดโควิดโดยส้ินเชิง ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่อง การบริหารการจัดการการแพรร่ ะบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข กรณีศึกษา บ้านหนองขนาก ตําบลสุขไพบูลย์ อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา อันสืบเนื่องมาจากการทำงานของอาสาสมัครสาธารสขุ ที่ทำงานกันอย่างมปี ระสิทธิภาพ ทำให้ผู้วจิ ัยสนใจที่จะ ศึกษาการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่าไวรัส 2019 เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการ ~ 456 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ บริหารงาน และเพื่อนำให้บุคลากร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำไปศึกษาและใช้ในพื้นที่ของตน เพื่อความ ปลอดภัยของคนไทยและมนุษยท์ ุกคนทเี่ สยี่ งตอ่ การเป็นโรคโควดิ 19 ตอ่ ไป 2. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 2.1 เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัคร สาธารณสขุ กรณีศกึ ษา บ้านหนองขนาก ตำบลสขุ ไพบูลย์ อำเภอเสงิ สาง จงั หวดั นครราชสมี า 2.2 เพ่ือศกึ ษาแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของ อาสาสมคั รสาธารณสุข กรณีศกึ ษา บา้ นหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสมี า 3. ประโยชน์ของการวิจัย 3.1 เพื่อได้ทราบการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัคร สาธารณสุข กรณีศึกษา บ้านหนองขนาก ตำบลสขุ ไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสมี า 3.2 เพื่อได้ทราบแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข กรณีศกึ ษา บ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสมี า 4. ขอบเขตของการวิจยั ขอบเขตพื้นที่การศึกษา คือ พื้นที่หมู่บ้านบ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัด นครราชสีมา โดยศึกษาการสัมภาษณ์จากอาสาสมัครสาธารสุขของตำบล จำนวน 32 คน โดยการใช้เกณฑ์คัด เขา้ ในการเลอื กกล่มุ ตวั อยา่ งจำนวน 10 คน โดยใช้ระยะเวลา ต้ังแต่ เดือน กรกฎาคม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.เป็นบุคคลที่ได้การรับผิดอบในส่วน หมู่บ้านบ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิง สาง จงั หวัดนครราชสมี า 2. ไม่เปน็ ผู้ที่มาจากต่างจงั หวดั เขตพื้นท่สี แี ดง หรือบรเิ วณใกลเ้ คยี ง จำนวนของผู้ให้ข้อมูลขึ้นอยู่กับความเพียงพอและคุณภาพของข้อมูลซึ่งจะพิจารณาจากข้อมูลที่มี ความสอดคล้องและตอบคำถามวิจัยได้สมบูรณ์มากกวา่ จำนวนผู้ให้ข้อมลู โดยผูว้ ิจัยยุติการเก็บข้อมูลเมื่อข้อมูล มคี วามอม่ิ ตัว (saturation) คือขอ้ มูลท่ไี ดเ้ ริม่ เปน็ ข้อมลู ท่ีซ้ำ ๆ กับขอ้ มูลเดมิ และข้อมูลเดิมได้รับการยืนยันหรือ ตรวจสอบแล้ว (Morse, 1991) ซ่งึ ความอ่มิ ตัวของข้อมูลไม่ได้ขึน้ อยู่กับจำนวนผู้ให้ข้อมลู แต่ข้ึนกับเนื้อหาของ เรื่องหรอื ประเด็นที่ศึกษาเปน็ สำคัญจำนวนผู้ใหข้ ้อมลู -ไม่อาจจะกำหนดไว้ลว่ งหน้าได้วา่ เป็นจำนวนเท่าใดท้งั น้ี ขน้ึ อยู่กบั ธรรมชาตขิ องการเก็บข้อมลู และทิศทางของข้อมลู (Sandelowski, 1986 อ้างตาม ประณีตและคณะ, 2546) สำหรบั ในการศกึ ษาครงั้ นี้ผู้วจิ ัยได้ศึกษาจำนวนท้งั หมด 10 ราย ~ 457 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 5. วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย การวจิ ัยครั้งนผี้ ้วู ิจยั ใชก้ ารสัมภาษณ์เจาะลึก (in-depth-interview) ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดังน้ัน ผู้วิจัยจึงเปน็ เครื่องมือที่สำคัญในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเชิงคณุ ภาพ (Straubert & Carpenter, 1999, คารุณี, 2545) นอกจากนี้มเี คร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลอ่นื ๆ มดี งั น้ี 1. แบบบันทกึ ข้อมลู สว่ นบุคคลเก็บรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา ประสบการณ์ การทำงาน มีลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการหรือ Check list จำนวน 6 ข้อ 2. แนวคำถามเกี่ยวกับปัญหา การแก้ไข และแนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการการแพร่ ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่บ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอ เสงิ สาง จังหวัดนครราชสมี า โดยมี 6 ข้อคำถาม 1. ท่านมีความพร้อมในการเตรียมตัวในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 อยา่ งไร 2. ท่านมีปัญหาในการบริหารงานในสถานการณแ์ พร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 ตาม มาตรการหรือไม่ อย่างไร 3. หากมีการเกิดแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่บ้านหนองขนาก ตำบลสุข ไพบลู ย์ อำเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสีมา ทา่ นจะมกี ารนำมาตรการมาใช้แก้ไขในพื้นที่อย่างไร 4. แนวคิดที่ท่านนำมาใช้การบริหารการจัดการการแพร่ระบาดโรคโคโรน่า ไวรัส 2019 ใน พ้ืนทบี่ ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบลู ย์ อำเภอเสงิ สาง จังหวดั นครราชสีมา อย่างไร 5. ท่านไดใ้ ชม้ าตรการในการปอ้ งการเช้ือไวรสั โคโรน่าในการดำเนินชวี ิตของท่านเองหรือไม่ 6. ท่านให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรการในการป้องการเชื้อไวรัสโคโรน่า ให้กับประชากรที่อาศัย อยใู่ นพน้ื ที่บ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสงิ สาง จังหวัดนครราชสมี า อย่างไร 3. แบบบันทึกภาคสนาม (field note) เพื่อบันทึกสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในการสัมภาษณ์ พฤติกรรมของผู้ให้ขอ้ มูลในดา้ นความรู้สึกอารมณ์สีหน้าท่าทางการแสดงออกของผู้ให้ขอ้ มูลรวมทั้งปัญหาและ อุปสรรคที่เกิดขึ้นขณะสัมภาษณ์ตลอดจนการวางแผนในการสัมภาษณ์ครั้งต่อไปเพื่อให้เห็นบริบทของ ปรากฏการณ์ที่ศึกษาและนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการบรรยายและอธบิ ายปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนได้อย่าง ชดั เจนมากยงิ่ ขึน้ 4. อปุ กรณส์ นามประกอบดว้ ยเครื่องบันทึกเสียงจำนวน 1 เคร่ืองสมดุ บนั ทกึ ดนิ สอปากกาสำหรับจด บนั ทึกขณะเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5. การวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา หาค่าร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของ ประชากรศาสตร์ และผลการสัมภาษณ์อาสาสมคั รสาธารณสุขรายบคุ คล ~ 458 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 6. สรุปผลการวจิ ัย ผลการวจิ ยั พบว่า อาสาสมัครสาธารสุขทงั้ 10 ท่าน ให้คำตอบในการสมั ภาษณ์คือ มาตรการที่ใช้ใน การควบคุมพื้นที่นั้นเป็นมาตรการที่ได้จากโรงพยาบาลอำเภอ โดยมีการนำสมาชิกที่มีส่วนเกี่ยวข้องไปอบรม เข้ารว่ มโครงการสัมมนาออนไลน์เกี่ยวกับการป้องกันไวรัสโคโรน่า 19 เพ่ือเป็นการนำไปในชีวิตประจำวัน และ แนะนำแนวทางมาตรการป้องกันในชุมชน แลว้ จงึ บังคับใช้เมื่อผลการดูแลตนเองไม่ดขี ้ึน ทางเราอาสาสมัครสา ธารสุขร่วมมือกันกับทางองค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และโรงพยาบาลระดับ อำเภอในการควบคุมมาตรการเหล่านี้ จึงเป็นที่มาของแนวคิดในการดูแลชุมชนที่ว่า เราควรใช้มาตรการกับ ตัวเองให้เห็นผลลัพธ์ก่อนนำไปเผยแพร่ในกับชาวบ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัด นครราชสีมา ให้รู้จักการป้องกันตนเอง เพื่อตัวเองและคนรอบขา้ ง พวกเขาจะทราบถึงผลที่ตามมาหลังจากไม่ ทำตามาตรการดงั เช่น ณ ปจั จบุ ัน ทผ่ี คู้ นยังละเลยการสวมใส่แมส และแนะนำในเรือ่ งของการฉัดวัคซีนอีกด้วย ส่วนการแนะนำนั้น เราใช้มาตรการนำชาวบ้าน ครัวเรือนละ 1 คน มาฟังมาตรการการป้องกันและให้ความรู้ เกีย่ วกบั สมนุ ไพรไทย รวมไปถงึ การทำเจลแอลกฮอลใ์ นยุคน้ีอกี ด้วย นอกจากจะเปน็ การดูแลตนเองและการใช้ ชีวิตในยุค New Normal แล้ว ยังสามารถสร้างอาชีพและรายได้ผ่านทางออนไลน์ในสถานการณ์นี้อีกด้วย อย่างไรก็ตามหากมีบุคคลอื่นที่เข้ามาในหมู่บ้านแล้วนำพาหะมาสู่ประชาชนคนอื่นๆ ทางเราได้มีการต้ัง ตรวจสอบคนเข้าออกของหมู่บ้านอยู่แล้ว ซึ่งแนวทางนี้ เป็นแนวทางการเริ่มจากจุดเล็กๆ ร่วมด้วยช่วยกันใน การป้องกันตนเอง สามารถนำไปสู่จุดใหญ่ๆได้ ทางเรากำลังคิดแนวทางใหม่เพื่อนำเสนอการแก้ปัญหาให้กับ หมู่บ้านอ่นื ๆอกี ดว้ ย 7. การอภิปรายผล การวิจัยฉบับนี้ได้มีการสัมภาษณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 10 คน ซึ่งแนวทางการใน ดำเนินการจะทีส่วนที่คล้ายคลงึ กันเป็นอย่างมาก ดังนั้น การอภิปรายจึงไปในแนวทางเดียวกันว่า อาสาสมัคร สาธารสขุ รว่ มมือกนั กบั ทางองค์การบรหิ ารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล และโรงพยาบาลระดับ อำเภอในการควบคุมมาตรการเหล่านี้ จึงเป็นที่มาของแนวคิดในการดูแลชุมชนที่ว่า เราควรใช้มาตรการกับ ตัวเองให้เห็นผลลัพธ์ก่อนนำไปเผยแพร่ในกับชาวบ้านหนองขนาก ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัด นครราชสีมา ให้รู้จักการป้องกันตนเอง เพื่อตัวเองและคนรอบข้าง พวกเขาจะทราบถึงผลที่ตามมาหลงั จากไม่ ทำตามาตรการดงั เชน่ ณ ปัจจบุ ัน ทผี่ ู้คนยงั ละเลยการสวมใส่แมส และแนะนำในเรื่องของการฉดั วัคซีนอีกด้วย ส่วนการแนะนำนั้น เราใช้มาตรการนำชาวบ้าน ครัวเรือนละ 1 คน มาฟังมาตรการการป้องกันและให้ความรู้ เกี่ยวกับสมนุ ไพรไทย รวมไปถึงการทำเจลแอลกฮอล์ในยคุ นี้อกี ดว้ ย นอกจากจะเปน็ การดแู ลตนเองและการใช้ ชีวิตในยุค New Normal แล้ว ยังสามารถสร้างอาชีพและรายได้ผ่านทางออนไลน์ในสถานการณ์นีอ้ ีกด้วย ซ่ึง สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐพงษ เฮียงกุล และ ยุทธนา แยบคาย ศึกษาปัจจัยทำนายการ ปฏิบัติงานตาม ~ 459 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมูบานเขตเมืองจงั หวัดสุโขทัยพบวาการ มีต าแหนงอื่นในชุมชนไดแก ประธานกรรมการ ชุมชนมีการปฏิบัติงานได้ดีกว่าไม่เป็นประธาน กรรมการชุมชนและตำแหน่งในกลุ่มอสม. มี ความสัมพันธ์กับระดับการปฏิบัติงานตามบทบาท ของอสม. โดยพบว่าอสม.ที่มีตำแหนงเป็นเลขานุการหรือ เหรญั ญิกมีการปฏิบตั งิ านตาม บทบาทของอสม.ร้อยละ100 ซึ่งสวนใหญผู้ทอี่ ยู่ในตำแหนง่ น้จี ะปฏิบัติงานและมี การประสานงานได้ดใี นส่วนของคะแนนความรู้ของอสม.มีความสัมพนั ธ์ทางบวกกบั การปฏิบตั ิงานตามบทบาท ของอสม. สอดคลองกับการศึกษา ของธัญญา สิริธันยสวัสด์ิ และคณะ ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ การปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บา้ น ในการดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ อำเภอวารนิ ชำราบจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ปัจจัยด้านความรู้ในการดำเนินงานการจดั การหมู่บ้านสุขภาพ มี ความสัมพันธ์ทางบวกกับการปฏิบัติงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และค่าเฉลี่ย แรงจูงใจของอสม. มีความสัมพันธ์ ทางบวกกบั การปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทของอสม. 8. ขอ้ เสนอแนะ 8.1 ขอ้ เสนอแนะการนำผลการวิจยั ไปใช้ การวิจัยฉบับนี้ได้มีการสัมภาษณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 10 คน ซึ่งแนวทางการใน ดำเนินการจะทีส่วนที่คล้ายคลึงกันเป็นอย่างมาก ซึ่งมีผลต่อการนำแนวทางไปใช้ในสถานที่อื่นๆได้อย่าง เหมาะสม เพ่อื เปน็ แนวทางในการปรบั ปรุง แก้ไขต่อสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรสั โคโรน่า 19 8.2 ข้อเสนอแนะการวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป ควรศกึ ษาปัจจัยท่ีมผี ลต่อการปฏิบตั ิงานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อส ม.) ในการปอ้ งกนั การระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เชน่ การมีส่วนรว่ มในการดำเนินงาน แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เป็นต้น และควรศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพในเรื่องบทบาทของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการป้องกันการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปรียบเทยี บในระดบั พ้ืนที่ เช่น ชุมชน หมูบ่ ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ภมู ภิ าค และระดบั ประเทศ 9. บรรณานกุ รม กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. (2564). คมู่ อื เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ ในการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ กรณีการ ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ เมื่อ 8 กรกฎาคม 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_other/G42_1.pdf. กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสขุ . (2563). โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา2019 (COVID-19) สถานการณทั่วโลก. สืบค้นเมือ่ 8 กรกฎาคม 2564, จาก https://ddcportal.ddc.moph.go.th/ portal/apps/opsdash board/index.html#/20f3466e075e45e5946aa87c96e8ad65. ~ 460 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ณัฐพงษ์ เฮียงกุล,ยุทธนา แยบคาย. (2563). ปัจจัยทำนายการปฏิบัติงานตามบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำ หมู่บ้านเขตเมืองจังหวดั สุโขทัย.วารสารวิชาการสาธารณสุข[อนิ เทอร์เน็ต] 2563(29):314-322. สบื คน้ เมอื่ เมื่อ 8 กรกฎาคม 2564, จาก http://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/8813/8110 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2563). การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศไทยพ.ศ.2563. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2564, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศไทย _ พ.ศ._2563. บุญใจ ศรีสถติ ยนรากูร. (2545). ระเบียบวิธีการวจิ ยั ทางพยาบาลศาสตร์=The methodology in nursing research.กรงุ เทพฯ :คณะพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารภาวะฉกุ เฉินกรมควบคมุ โรค. (2564). รายงานสถานการณโรคปอดอักเสบจากเชือ้ ไวรสั โคโรนา สายพนั ธใุ หม่. 2564(19): 121-128. เสรี ลาชโรจน. (2537). เอกสารการสอนชุดวชิ าการบริหารการจดั การและการประเมินลการศึกษา(หน่วยที่ 1- 7). นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช; ~ 461 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อการบริหารจดั การมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน และควบคมุ การแพร่ระบาดโรค โควดิ -19 ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรีธรรมราช วิไลวรรณ คงเสาร์ (Wilaiwan Kongsao)1 อญั ชนา หอ่ จนั ทร์ (Anchana Horjan)1 และเบญจพร จันทรโคตร (Benjaporn Juntarakote)2* บทคัดยอ่ งานวิจยั น้ีมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ การบริหารมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกัน และควบคุม การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 และศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคมุ การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการ วิจัย คือ กลุ่มบุคคลากรจำนวน 3 คน และประชาชนจำนวน 380 คน ใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามใน การเกบ็ รวบรวมข้อมลู สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ีย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบวา่ ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการบริหารมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาด โรคโควดิ -19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช จำแนกเปน็ 4 ด้าน คอื 1. ด้านบุคลากร มีภารกิจใน การปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อนหลายหน่วยงานเกิดความล่าช้าในการดำเนินงาน 2. ด้านงบประมาณ ในสถานการณ์ เรง่ ด่วนตอ้ งทำเรื่องของบประมาณภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับ ใช้เวลาในการดำเนนิ การท่ีคอ่ นข้างนาน 3. ดา้ น อุปกรณ์ ในช่วงแรกอุปกรณ์ยังไม่เพียงพอ อาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อเพิ่มจากเจ้าหน้าที่ในขณะปฏิบัติหน้าท่ี 4. ดา้ นการปฏิบตั งิ าน จากสถานการณค์ วามรุนแรงทำใหก้ ารดำเนนิ ภารกจิ ในสภาวะวกิ ฤตเกิดประสทิ ธิภาพไม่ ครบถ้วน ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหาร มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มี ค่าเฉลยี่ คอื 4.74 คำสำคญั : ปจั จยั ; การบรหิ ารจดั การ; มาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และควบคุม; การแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 1 นกั ศึกษาสาขารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช 2 อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑติ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช Corresponding author, E-mail: [email protected] ~ 462 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ Factors Affecting on the Management of Surveillance Measures, Prevention and Control of the Spread of COVID-19 of Lan Saka District, Nakhon Si Thammarat Province Abstract This research aims to study the factors affecting the management of surveillance measures, prevention and control of the spread of COVID-19. and study the public opinion on the administration of surveillance measures, prevention and control of the spread of COVID- 19 of Lan Saka District, Nakhon Si Thammarat Province. The sample group used in the research was a group of 3 personnel and 380 people. Interview forms and questionnaires were used to collect data. The statistics used to analyze the data were mean and standard deviation. The results of the research revealed that factors affecting the management o f surveillance measures, prevention and control of the spread of COVID-19 of Lan Saka District Nakhon Si Thammarat Province is divided into 4 areas: 1. Personnel, there are tasks that are redundant in many departments, causing delays in operations. 2. Budget, in urgent situations, need to request a budget under the rules and regulations. It takes quite a long time to complete. 3. Equipment, in the beginning, the equipment is not enough, it may cause additional infection from the staff while on duty. 4. Operations, due to the violent situation, the mission operation in the crisis situation was not fully effective, resulting in solving the problems of the people. Public opinion towards the administration of surveillance measures, prevention and control of the spread of COVID-19 found that the overall level was at a high level with an average of 4.74. Keyword: Factor; Management; Surveillance Measures, Prevention and Control; Spread of COVID-19 ~ 463 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 1. บทนำ การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 ในปี 2563 เปน็ โรคทต่ี ิดต่อไดง้ ่ายและ เป็นอันตรายอย่างมากต่อชวี ิตของผูไ้ ด้รบั เชือ้ ประกอบกับไม่มีวัคซีนที่สามารถป้องกันโรคได้ 100% จึงมีผู้ติด เชื้อและเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากทั่วโลกจน องค์การอนามัยโลกต้องประกาศให้การ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นการระบาดใหญ่ และขอให้ประเทศในกลุ่มอาเซียนบังคับใช้ มาตรการที่เข้มงวดเด็ดขาดยิ่งขึ้น การระบาดของโรคดังกล่าวจึงเป็นสถานการณ์อันกระทบต่อความสงบ เรียบร้อยและความปลอดภัยของประชาชน ซึ่งต้องใช้มาตรการเข้มงวดและเร่งด่วนเพื่อควบคุมมิให้โรคแพร่ ระบาดออกไปในวงกว้าง เพื่อรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัยของประชาชน และการดำรงชีวิตโดยปกติสุขของ ประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรจี ึงให้ประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ในทุกเขตท้องที่ ทั่วราชอาณาจักรประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร 2563 (ประยุทธ์ จันทร์โอชา, 2563) ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดนครศรีธรรมราช มีมติเห็นชอบให้มีการผ่อนคลายมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กำหนดพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพื้นที่เฝ้า ระวัง (สีเขียว) สั่งปิดสถานที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคฯเป็นการชั่วคราวหรือการจัดกิจกรรมอื่นใน ลักษณะทำนองเดียวกัน รายงานสถานการณ์การติดเชื้อโควิด-19 วันที่ 25 มกราคม 2564 ในจังหวัด นครศรีธรรมราช มีผู้ป่วยติดเชื้อสะสมจำนวน 4 ราย รักษาหายแล้วจำนวน 4 ราย ส่งตรวจหาเชื้อจำนวน 2,855 ราย ส่งตรวจไม่พบชื้อจำนวน 2,849 ราย รอผลการตรวจอีก 2 ราย การเฝ้าระวังผู้สัมผัสเสี่ยงสูงส่ง ตรวจหาเชื้อจำนวน 175 ราย ไม่พบเชื้อจำนวน 175 ราย การเฝ้าระวังกลุ่มแรงงานต่างด้าวส่งตรวจหาเชื้อ จำนวน 537 ราย ไม่พบเชื้อจำนวน 537 ราย ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่และไม่มีผู้ติดเชื้อที่รักษาตัวอยู่ใน โรงพยาบาล วันที่ 27 มกราคม 2564 จงั หวัดนครศรธี รรมราช คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั ฯ คลายล็อกให้ สามารถเปดิ สถานบริการรา้ นอาหาร คาราโอเกะ โรงแรม (สำหรบั จดั ประชมุ ) ฟิตเนส โรงภาพยนตร์ สนามเด็ก เล่น งานประเพณีต่าง ๆ และถนนคนเดินได้ แต่ต้องมีมาตรการเฝ้าระวังอย่างเคร่งครัดและให้หน่วยงานใน สังกัดควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (กระทรวงสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช, 2563; กระทรวงสาธารณสขุ จังหวัดนครศรธี รรมราช, 2564) อำเภอลานสกาเป็นหนึ่งในหน่วยงานในสังกัดของจังหวัดนครศรีธรรมราชที่นำมาตรการเฝ้าระวั ง ปอ้ งกัน และควบคมุ การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาใช้ในการบรหิ ารงาน ต้ังแต่ มกี ารระบาดโรคโควดิ -19 ในประเทศไทย หน่วยงานขอใหป้ ระชาชนในพนื้ ที่ปฏิบัตติ ามมาตรการการป้องกันโค วิด-19 อย่างเคร่งครัด สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าให้ถูกวธิ ตี ลอดเวลา ทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้านหรอื อยใู่ นพ้นื ท่ีสาธารณะ เว้นระยะหา่ งระหวา่ งกัน 1-2 เมตร หม่ันล้างมือดว้ ยน้ำและสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล และ สแกนแอปพลิเคชันไทยชนะทุกครั้ง เพื่อการสอบสวนและติดตามได้อย่างรวดเร็วในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จึงต้องอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากองค์กร ~ 464 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ปกครองส่วนท้องถิ่นในพืน้ ที่ เพื่อให้การดำเนินการตามข้อสั่งการเป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและทันท่วงที (วีร ศักดิ์ บวั ศรี, 2564) ดังนั้นผู้วิจัยจงึ มคี วามสนใจทจ่ี ะศกึ ษาปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ การบรหิ ารและความคดิ เห็นของประชาชนต่อ การบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัด นครศรีธรรมราช เพื่อนำผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ใน การเฝ้าระวัง การป้องกัน การควบคุม ของเจ้าหน้าที่ และประชาชน 2. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรค โควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรธี รรมราช 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการ แพร่ระบาดโรคโควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวัดนครศรธี รรมราช 3. ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1. ทำให้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรีธรรมราช 2. ทำให้ทราบถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) อำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช 3. ผลการวจิ ยั ในครงั้ นี้ สามารถนำไปเปน็ แนวทางในการปอ้ งกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของเช้อื โคโควดิ –19 ในปัจจุบัน 4. สมมติฐานของการวจิ ยั 1. ปัจจัยด้านบคุ คลากรท่ีสง่ ผลต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาด โรคโควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช 2. ประชาชนมีความคิดเห็นตอ่ การบริหารมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรค โควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช อยใู่ นระดับปานกลาง 5. ขอบเขตของการวจิ ัย ขอบเขตดา้ นตวั แปรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา 5.1 ตัวแปรต้น คอื ปจั จัยท่สี ่งผลต่อการดำเนนิ งานการบรหิ ารมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรธี รรมราช 4 m ประกอบดว้ ย 1) ทรัพยากรมนษุ ย์ 2) เงนิ ทนุ 3) วสั ดอุ ปุ กรณ์ 4) วิธปี ฏิบัตกิ าร ~ 465 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 5.2 ตัวแปรตาม การบริหารมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกัน และควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคโควิด- 19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรีธรรมราช ประกอบดว้ ย 1) การเฝา้ ระวงั 2) การปอ้ งกนั 3) การควบคมุ 6. วิธดี ำเนนิ การวิจัย 6.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 6.1.1 ประชากร การศึกษาครั้งนี้เปน็ การศึกษากลมุ่ บคุ ลากรในอำเภอลานสกา จำนวน 43 คน และ ประชาชนที่อยู่ในพื้นท่อี ำเภอลานสกา จำนวน 39,306 คน จากจำนวน 5 ตำบล 6.1.2 กล่มุ ตวั อย่าง ประกอบด้วย 1) บุคลากรท่ีเก่ยี วข้องกับการบรหิ ารมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกัน และควบคมุ การ แพร่ระบาดโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช จำนวน 3 คน กำหนดกลุม่ ตัวอยา่ งจากประชากรท่ีสอดคลอ้ งกับการวจิ ัยและสามารถเป็นผใู้ ห้ข้อมูลในระดับลึกได้ 2) ประชากรในพ้นื ที่อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 380 คน โดย ใชส้ ูตรคำนวณแบบเครซ่ีและมอร์แกน จากประชากรท้ังหมดในพนื้ ท่ีอำเภอลานสกาทง้ั จำนวน 5 ตำบล 6.2 เครอ่ื งมือรวบรวมขอ้ มูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม เพื่อสอบถาม ขอ้ มลู จากกลมุ่ ตัวอยา่ งในเรื่อง การบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช 6.2.1 แบบสัมภาษณ์สำหรับบุคลากรในที่ว่าการอำเภอลานสกา เรื่องการบริหารมาตรการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวัด นครศรธี รรมราช 3 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 แบบสมั ภาษณ์เกยี่ วกบั ขอ้ มูลทวั่ ไป ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณ์ข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลาสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช ตอนท่ี 3 แบบสมั ภาษณเ์ กยี่ วกบั เกยี่ วกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อการดำเนนิ งานการบริหารมาตรการ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวัด นครศรธี รรมราช 6.2.2 แบบสอบถามสำหรับประชาชน เรื่องการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคมุ การแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช 3 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลาสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ~ 466 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นคำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า ในคำถามแต่ละข้อจะมีคำตอบให้เลือกใน ลักษณะแบบมาตรสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั แปลความหมายโดยใช้ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และ จดั กลุ่มคะแนนตามคา่ พิสัยดังกลา่ ว ได้แบ่งคะแนนระดบั ความคิดเหน็ เปน็ 5 ระดบั ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ยต้ังแต่ 4.21 - 5.00 หมายถงึ เห็นด้วยระดับมากท่สี ุด คะแนนเฉลี่ยตง้ั แต่ 3.41 - 4.20 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยระดบั มาก คะแนนเฉลย่ี ต้งั แต่ 2.61 - 3.40 หมายถงึ เห็นด้วยระดับปานกลาง คะแนนเฉล่ียตง้ั แต่ 1.81 - 2.60 หมายถงึ เห็นดว้ ยระดับนอ้ ย คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 - 1.80 หมายถงึ เห็นดว้ ยระดับน้อยทส่ี ดุ 6.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผ้วู ิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดังน้ี 6.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณ ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง นำแบบสอบถามไปดำเนินการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ตรวจสอบ ความถูกต้องและความสมบรู ณ์ของคำตอบในแบบสอบถามและรับแบบสอบถามกลับคืนหลังจากกลุ่มตัวอย่าง ตอบแบบสอบถามเสร็จเรยี บร้อยแล้ว และนำขอ้ มลู จากแบบสอบถามมาใชใ้ นการวิเคราะห์และสรุปผล 6.3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยสร้างแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ทำการ สมั ภาษณ์เชงิ ลกึ และการสงั เกตโดยการสัมภาษณผ์ ใู้ หข้ ้อมลู หลัก ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของ คำตอบในแบบสัมภาษณ์และรบั แบบสัมภาษณ์กลับคนื หลังจากกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสัมภาษณ์เรียบร้อยแล้ว นำผลการศกึ ษาจากแบบสัมภาษณ์มาทำการวเิ คราะห์พรรณนาและสรุปผล 6.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผวู้ จิ ยั นำข้อมลู ในไปวเิ คราะห์ โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถิติ สำหรับการวจิ ยั ทางรัฐประศาสน ศาสตร์ เพอ่ื ให้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อมลู ที่ไดร้ วบรวมในส่วนน้จี ะเป็นการวเิ คราะหก์ ารบรหิ ารมาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช โดยหาคา่ ข้อมลู ที่ไดม้ าสรุปผลการวจิ ัย ดังนี้ 6.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ จากค่าเฉลี่ย (Mean) สำหรับวิเคราะห์ความคิดเห็น ของประชาชนท่ีมีต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคโควิด-19 (COVID- 19) ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สำหรับ การกระจายขอ้ มูล 6.4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ นำเสนอข้อมูลในรูปแบบพรรณนา มาวิเคราะห์ ประกอบการบรรยาย ข้ันตน้ หรือวธิ ีการตา่ งๆโดยการนำเสนอข้อมูลตามวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย ~ 467 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 7. สรปุ ผลการวิจยั การบรหิ ารมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควดิ -19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้วิจัยได้ดำเนินการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มซึ่งงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบ ผสานวิธี โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพร่วมกับการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์ เกี่ยวกับการบริหารมาตรการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัจจัยด้านบุคลากร ส่งผลต่อการดำเนินงานการบริหาร มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโควิด-19 ของอำเภอลานสกาจังหวัดนครศรีธรรมราช แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการ แพร่ระบาดโรคโควดิ -19 ของอำเภอลานสกา จังหวดั นครศรธี รรมราช จากการสัมภาษณ์เรื่อง การบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด- 19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โควดิ -19 ถอื เป็นภยั คกุ คามทีร่ า้ ยแรง มผี ู้ตดิ เช้อื เปน็ จำนวนมาก ทำให้สง่ ผลกระทบในหลาย ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเปน็ ทางด้านเศรษฐกจิ การท่องเที่ยว หรอื ความมั่นคงของชาติ จากวกิ ฤตกิ ารแพร่ระบาดของโรคไวรัส โคโรนา 2019 ในขณะนี้ ด้านการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 มีการส่งเสริมและสร้างภูมิคุ้มกันในการรับรู้การเฝ้า ระวังโรค แบ่งออกเป็น 1. การเฝ้าระวังในผู้สงสัยติดเชื้อ/ผู้ป่วย เช่น ผู้สงสัยติดเชื้อที่มีอาการ ผู้ป่วยโรคปอด อักเสบ 2. การเฝ้าระวังในบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. การป่วยเป็นกลุ่มก้อน เฝ้าระวังผู้มี อาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน และจัดตั้งจุดตรวจวัดอุณหภูมิตามหมู่บ้านเพื่อเป็นการเฝ้า ระวังโรคโควิด-19 ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ถึงภัยของโรคโควิด-19 และแจกจ่ายหน้ากากอนามัยในชมุ ชนและ สถานทีต่ า่ ง ๆ จดั ต้งั ทมี อสม. เฝา้ ระวังบุคคลที่มาจากพ้ืนท่ีเสย่ี งให้กักตัว 14 วัน และตง้ั ด่านคัดกรองตรวจวัด อุณหภูมิในทุกสถานที่ที่อาจก่อให้เกิดพื้นที่เสี่ยง มีการป้องกันโรคโควิด-19 โดยให้ปิดสถานท่ีเสี่ยงตอ่ การแพร่ ระบาดของโรค เป็นการชั่วคราวประกอบด้วย สนามชนโค สนามชนไก่ สนามกัดปลา สนามชกมวย ทั้งสนาม ฝึกซ้อมและสนามแข่งขันหรือการจัดกิจกรรมอื่นในลักษณะทำนองเดียวกัน ให้สถานที่/กิจการ/กิจกรรม รวม ไปถงึ สถานทีบ่ รกิ ารตา่ ง ๆ ไมใ่ หใ้ นพ้ืนท่ีจัดกิจกรรมทีจ่ ะเส่ยี งต่อการติดเชือ้ โรคและการบรู ณาการความร่วมมือ กบั หนว่ ยงานสาธารณสขุ และหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งเพือ่ รณรงค์ใหป้ ระชาชนในพนื้ ทีไ่ ด้รับร้ใู ห้ความสำคัญต่อโรค โควิด-19 และดำเนนิ การตามมาตรการที่รฐั บาลกำหนดไว้เพื่อป้องกนั อยา่ งเครง่ ครัด เพอ่ื เป็นการป้องกันไม่ให้ เกดิ การแพร่ระบาดของโรคไดอ้ ย่างรวดเรว็ การควบคุมโรคโควิด-19 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมลู ของผู้เดินทางมาจากพื้นทีเ่ สี่ยงสีแดงหรอื สี ส้มและการกักตัว 14 วันสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่ติดเชื้อและสถานที่แพร่ระบาดของเช้ือ สอบถามประวัติเสี่ยง ประวัติการเดินทางในช่วง 14 ที่ผ่านมา และอาการของเจ้าหน้าที่ พนักงานทุกคน และ บุคคลภายนอกที่เข้ามาในสถานที่ต่าง ๆ ณ จุดคัดกรอง มีการตรวจวัดอุณหภูมิ ให้ทุกคนสวมใส่หน้ากาก อนามัยตลอดเวลา กำหนดจำนวนคนในการเข้ารบั บริการในแตล่ ะวนั เว้นระยะหา่ งในการติดตอ่ กับผรู้ ับบริการ และที่นั่งรอรับบริการ และพนักงานด้วยกันอย่างน้อย 1 เมตร ระมัดระวังการสัมผัสใกล้ชิดขณะปฏิบัติหน้าที่ ~ 468 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ สวมหน้ากากอนามัย และสวมหน้ากากคุมหน้า (face shield) หรือแว่น ทุกครั้งเมื่อปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงทำ ความสะอาดบริเวณท่ีมีคนสัมผัสรว่ มกัน เชน่ ลกู บิดประตู ทกุ 2 ช่วั โมง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการดำเนินงานการบริหารมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดโรค วดิ -19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา จงั หวัดนครศรีธรรมราช จำแนกเป็น 4 ดา้ น ดงั น้ี 1. ปัจจัยด้านบุคลากร พบว่า กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม. มีภารกิจในการปฎิบัติงานที่ซ้ำซ้อนกันหลาย หน่วยงาน ภารกิจหลายอย่างใช้เวลายาวนานแต่ผูป้ ฏิบตั ิยังเป็นบุคคลเดิมจึงเกิดความล่าช้าในการดำเนินงาน ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงาน บุคลากรหรือผู้นำชุมชนในตำบลต่าง ๆ ขาดความรู้ในการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 ทเี่ พยี งพอหรือไม่สามารถรับมือกับสถานการณ์ในชุมชนกจ็ ะทำใหเ้ กิดการติดเช้ือหรือ แพร่ระบาดของโรคโควิดได้ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อการดำเนินงานของบุคลากร เพราะตอ้ งปฏบิ ัตงิ านภายใต้มาตรการทีท่ างรฐั บาลกำหนดอย่างเครง่ ครัด ทำให้เกดิ ความวิตกกงั วลเกี่ยวกับโรค เกิดความเครยี ดในการทำงาน กรณีมีการประชุมนอกหน่วยงาน หรือต้องปฏิบัติหน้าที่ภายนอกหน่วยงานตาม นโยบายรฐั บาล มคี วามสัมพันธต์ ่อประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน 2. ปัจจัยด้านงบประมาณ พบว่า ในสถานการณ์เร่งด่วนต้องทำเรื่องของบประมาณภายใต้กฎระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายอย่างเคร่งครัดเช่นเดิม มีขั้นตอนการทำงานซับซ้อน และใช้เวลาในการดำเนินการท่ี ค่อนข้างนาน กลายเป็นอุปสรรคสำคัญทำให้การแก้ไขปัญหาบางอย่างเกิดความล่าช้าไม่ทนั เหตุการณ์ การกัก ตัวผู้ที่มีความเสี่ยงที่ติดเชื้อเพื่อรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 งบประมาณจึง เป็นปจั จยั ทีส่ ำคญั เปน็ อย่างมากในการดำเนินการจัดแผนงานและโครงการแก้ไขปัญหาผลกระทบโรคโควิด-19 ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข จะต้องทำการแจกจ่ายงบประมาณในการทำงานภายใตส้ ถานการณแ์ พร่ระบาด โรคโควิด-19 ให้อย่างครอบคลุม มีการจัดการบริหารงานงบประมาณในเรื่อง 1. ค่าใช้จ่าย ค่าเยียวยา ค่าชดเชย ค่าเสี่ยงภัย 2. จัดหาอุปกรณ์การแพทย์และสาธารณสุข 3. ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต่อการบำบัดรักษา ป้องกัน และควบคุมโรค 4. เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มดา้ นสถานพยาบาลและค่าใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาล 3. ปัจจัยด้านอุปกรณ์ พบว่า การดำเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ ระบาดโรคโควิด-19 ในช่วงแรกที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้การจัดซื้ออุปกรณ์ ป้องกัน และอุปกรณ์ทางการแพทย์ทำได้ไม่มากนัก เนื่องด้วยของขาดแคลนและติดขัดในระเบียบที่เกี่ยวข้อง เจ้าหนา้ ทพี่ นักงานผูป้ ฏิบัติได้รบั การสนับสนุนอปุ กรณ์มาใช้ค่อนข้างน้อยไมเ่ พียงพอ เช่น หน้ากาก ชุดป้องกัน เป็นต้น อาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อเพิ่มจากเจา้ หน้าที่ในขณะปฏบิ ตั ิหน้าท่ีหรือประชาชนที่เข้ามารับบริการใน สถานที่ราชการ อุปกรณ์จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในบำบัดรักษา ป้องกัน และควบคุมโรค กำลังผลิตอุปกรณ์น้อย กว่าความต้องการ ทำให้การแจกจ่ายวัสดุอุปกรณ์การปอ้ งกันได้ไม่ทัว่ ถึงในบางพืน้ ท่ี ขาดแคลนอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการป้องกันและควบคุมเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ในสถานพยาบาลอาจส่งผลให้โรงพยาบาลต้องเสียบุคคลากร รวมทั้งพยาบาลและเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขทีส่ ัมผสั กับผ้ปู ่วยให้กับการกกั ตวั และรักษาโรคโควดิ -19 4. ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน พบว่า จากสถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ที่ ผ่านมา ทำให้ไม่สามารถดำเนินภารกิจในสภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชนเป็นไปโดยขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริการ ~ 469 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ประชาชน ในช่วงแรกของการระบาดอาจไม่สามารถดำเนินงานหรือให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ต้องนำมาปรับ กระบวนการทำงานใหม่ เพื่อให้มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการหรืองานบริการประชาชนที่สำคัญ สามารถ ดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลงแม้ว่าจะประสบกบั วิกฤตการณ์หรือภัยพิบัติต่าง ๆ ในช่วงแรกของ การปฏิบัติงานทำให้เจ้าหน้าที่บางรายปฏิบัติงานด้วยความกังวลและกลัวที่จะติดเชื้อจากบุคคลอื่น เนื่องด้วย ภาระหน้าที่ ครอบครัวที่ต้องดูแล ทำให้การปฏิบัติหน้าที่บางอย่างอาจไม่ได้ประสิทธิภาพอย่างเ ต็มที่แต่ ภายหลังได้มีการนำเอาเทคโนโลยเี ข้ามาใช้ในการทำงานเพ่ิมมากขน้ึ เพอื่ ลดความเสยี่ งตอ่ การตดิ เช้ือตอ่ กัน จากการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามความคิดเหน็ ต่อการบริหารมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกัน และควบคุมการ แพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ใหผ้ ลดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในด้านตา่ ง ๆ การบริหารมาตรการด้านการเฝา้ ระวงั การแพรร่ ะบาดของ 4.15 S.D. ระดับความ โรคโควิด-19 4.47 คดิ เหน็ 4.54 ด้านการเฝา้ ระวงั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 4.56 0.83 มาก 1. มีการจดั ตัง้ จดุ คัดกรองป้องกันการเเพร่ระบาดโรคโควิด-19 รอยตอ่ 0.60 มากที่สดุ จังหวดั /หมูบ่ า้ น/ชมุ ชน 4.77 0.50 มากท่สี ดุ 2. มีการเฝา้ ระวงั ผู้ปว่ ย/ผ้สู งสยั ติดเช้ือท่ีมาจากพื้นทเี่ ส่ยี ง 4.65 0.50 มากทส่ี ดุ 3. มีการเฝ้าระวงั ในบุคลากรด้านการเเพทย์เเละสาธารณสุข 4.65 4. มกี ารตรวจคัดกรองประชาชนเสีย่ งตามจุดคดั กรองเเละสถานที่ 4.54 0.44 มากทส่ี ุด ท่องเที่ยว 0.53 มากทส่ี ุด 5. เเจง้ ใหผ้ ้ปู ระกอบการเฝ้าระวงั ผปู้ ว่ ยเเละตรวจสอบการลงทะเบียนของ 4.79 0.72 มากที่สุด นักทอ่ งเทย่ี วอย่างละเอยี ด 4.89 0.59 มากทสี่ ุด 6. มกี ารติดตามสถานการณ์การเเพร่ระบาดโรคโควิด-19 อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4.89 7. มกี ารใชก้ ลไกคณะกรรมการหมบู่ า้ นในพนื้ ทต่ี ามความจำเป็นและ 4.84 0.64 มากที่สุด เหมาะสมสนับสนุนการดำเนินงานจงั หวัด 0.52 มากทส่ี ดุ 0.59 มากทส่ี ดุ รวม 0.65 มากทสี่ ุด ดา้ นการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 1. เจ้าหน้าทสี่ วมหนา้ กากอนามัย/หนา้ กากผา้ ตลอดการปฏบิ ัตงิ าน 2. มีการให้กำนนั ผ้ใู หญ่ บา้ นเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกับวิธีการ ป้องกนั โรคไวรสั covid-19 ผ่านทางหอกระจายข่าวเปน็ ประจำทกุ วนั 3. มีการวัดอุณหภมู ิก่อนเขา้ ท่วี ่าการอำเภอ 4. มกี ารใช้ระบบบัตรคิวเเละจำกัดจำนวนผู้เขา้ รับบริการ ~ 470 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 5. มกี ารเเจกเจลล้างมอื เเละหน้ากากอนามัยตามจดุ ท่ีมปี ระชาชนใช้ 4.91 0.48 มากที่สุด บรกิ าร 6. มีการดำเนินมาตรการระยะห่างทางสังคม เว้นระยะห่างไม่นอ้ ยกว่า 1 4.90 0.55 มากที่สุด เมตร 7. มีการจัดตงั้ ชดุ ปฏบิ ตั ิการเคล่ือนท่ีเร็วในการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรค covid-19 และบังคับใช้กฎหมายตามพ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉินและ 4.65 0.83 มากทีส่ ดุ กฎหมายอ่ืน ๆที่เกี่ยวข้อง รวม 4.84 0.61 มากท่ีสดุ ดา้ นการควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 1. มกี ารจัดพ้ืนสำหรบั ผ้รู บั บรกิ ารอยา่ งเหมาะสม 4.72 0.78 มากที่สุด 2. มีบริการการชำระเงินทปี่ ลอดภยั เชน่ Online Payment 4.85 0.64 มากทีส่ ดุ 3. มีการปดิ สถานที่เส่ียงในการเเพรก่ ระจายของโรคโควิด-19 เปน็ การ 4.89 0.55 มากท่สี ดุ ชั่วคราว 4. มีการให้เชค็ อินก่อนไปในสถานที่ต่าง ๆ 4.84 0.56 มากทส่ี ุด 5. ใหส้ ถานท่ีประกอบการเปดิ -ปิดตามเวลาทกี่ ฏหมายกำหนด 4.85 0.56 มากที่สุด 6. การจดั กิจกรรมรวมกลุ่มไมเ่ กิน 300 คนหรือเกนิ ต้องมีการแจ้ง 4.91 0.49 มากทสี่ ุด เจา้ หนา้ ทหี่ รือนายอำเภอ 7. มีการใหข้ ้อมลู ความรขู้ องโรคโควดิ -19 คำเเนะนำหรอื สื่อ 4.80 0.60 มากทีส่ ดุ ประชาสัมพนั ธ์ รวม 4.84 0.60 มากท่ีสดุ จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จงั หวัดนครศรธี รรมราช ในด้านการเฝ้าระวังการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยรวมอยใู่ นระดบั มากที่สดุ มคี ่าเฉลยี่ อยทู่ ่ี 4.54 เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า กลมุ่ ตัวอย่างสว่ นใหญ่มีความคดิ เห็นวา่ หนว่ ยงานมีการเเจ้งใหผ้ ู้ประกอบการเฝ้าระวังผู้ปว่ ยเเละตรวจสอบการ ลงทะเบียนของนักท่องเที่ยวอย่างละเอียดมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.77 รองลงมาคือ มีการติดตาม สถานการณ์การเเพร่ระบาดโรคโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง และมีการใช้กลไกคณะกรรมการหมู่บ้านในพื้นที่ตาม ความจำเป็นและเหมาะสมสนับสนุนการดำเนินงานจงั หวัด มีค่าเฉลี่ยเป็น 4.65 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างมีความ คิดเห็นต่อการจัดตั้งจุดคดั กรองป้องกันการเเพร่ระบาดโรคโควิด-19 รอยต่อจังหวัด/หมู่บา้ น/ชมุ ชน มีสัดส่วน น้อยที่สดุ มคี ่าเฉลี่ย 4.15 ในด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย อยู่ที่ 4.84 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าหนว่ ยงานมีการเเจกเจลล้าง มือเเละหน้ากากอนามัยตามจุดที่มีประชาชนใช้บริการมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.91 รองลงมาคือ มีการ ~ 471 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ดำเนินมาตรการระยะห่างทางสังคม เว้นระยะห่างไม่น้อยกว่า 1 เมตร มีค่าเฉลี่ยเป็น 4.90 ในขณะที่กลุ่ม ตัวอย่างมคี วามคิดเห็นต่อการจัดต้ังชุดปฏบิ ัติการเคลื่อนท่ีเร็วในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค covid-19 และบังคบั ใชก้ ฎหมายตามพ.ร.ก.ฯ ฉุกเฉินและกฎหมายอ่ืน ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งน้อยทสี่ ดุ มคี ่าเฉลย่ี 4.65 ในด้านการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 โดยรวมอยู่ในระดบั มาก มคี ่าเฉล่ียอยูท่ ี่ 4.93 เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างสว่ นใหญ่มคี วามคิดเห็นต่อมาตรการในการจัดกจิ กรรมรวมกลมุ่ ไม่ เกนิ 300 คนหรือเกินต้องมกี ารแจ้งเจ้าหน้าท่หี รือนายอำเภอ มีค่าเฉลย่ี 4.91 รองลงมาคอื มาตรการการปดิ สถานทเี่ ส่ียงในการเเพร่กระจายของโรคโควิด-19 เปน็ การชั่วคราว มคี ่าเฉลี่ยเป็น 4.89 ในขณะทก่ี ลุม่ ตัวอยา่ งมี ความคดิ เหน็ ต่อการจัดพน้ื สำหรบั ผู้รบั บริการอย่างเหมาะสม มีสัดสว่ นนอ้ ยทีส่ ดุ มคี า่ เฉล่ีย 4.72 8. การอภิปรายผล ในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการ แพร่ระบาดโรควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราชพบว่า 1. ด้านบุคลากร พบว่า การบริหาร มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรควิด-19 (COVID-19) ของอำเภอลานสกา มีการ จัดสรรบุคลากรเปน็ ปจั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ การการบริหารมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดโรค วิด-19 โดยด้านบุคลากรในอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม. มีภารกิจใน การปฎิบัติงานที่ซ้ำซ้อนกัน ภารกิจหลายอย่างใช้เวลายาวนานแต่ผู้ปฏิบัติยังเป็นบุคคลเดิมที่ทำภารกิจเกิด ความล่าชา้ ในการดำเนินงาน สง่ ผลกระทบต่อการดำเนนิ งาน 2. ดา้ นงบประมาณ พบวา่ ในสถานการณ์เรง่ ด่วน ต้องทำเร่อื งของบประมาณภายใต้กฎระเบียบข้อบังคับของกฎหมายเช่นเดิม มขี ั้นตอนการทำงานซับซ้อน และ ใช้เวลาในการดำเนินการที่ค่อนข้างนาน กลายเป็นอุปสรรคสำคัญทำให้การแก้ไขปัญหาบางอย่างเกิดความ ล่าช้าไมท่ ันเหตุการณ์ การกักตัวผูท้ ีม่ ีความเสี่ยงทีต่ ดิ เช้ือเพื่อรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินจากการแพรร่ ะบาดของ โรคโควิด-19 งบประมาณจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญเป็นอย่างมากในการดำเนินการจัดแผนงานและโครงการแก้ไข ปัญหาผลกระทบโรคโควิด-19 ต่อด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. ด้านอุปกรณ์ พบว่า ปัจจัยด้านอุปกรณ์ สง่ ผลกระทบต่อการดำเนนิ งานตามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ในช่วง แรกที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้การจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกัน และอุปกรณ์ทางการ แพทย์ทำได้ไม่มากนัก เนื่องด้วยของขาดแคลนและติดขัดในระเบียบที่เกี่ยวข้องเจ้าหน้าที่พนักงานผู้ปฏิบัติ ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์มาใช้ค่อนข้างน้อยไม่เพียงพอ เช่น หน้ากาก ชุดป้องกัน เป็นต้น อาจจะทำให้เกิด การติดเชื้อเพิ่มจากเจ้าหน้าที่ในขณะปฏิบัติหนา้ ท่ีหรือประชาชนที่เข้ามารับบริการในสถานที่ราชการ อุปกรณ์ จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในบำบัดรักษา ป้องกัน และควบคุมโรค 4. ด้านการปฎิบัติงาน พบว่า จากสถานการณ์ ความรุนแรงของการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 ทผี่ า่ นมา ส่งผลกระทบทำให้ไม่สามารถดำเนนิ ภารกจิ ในสภาวะ วิกฤตได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนเป็นไปโดยขาดระบบการ บริหารจัดการที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริการประชาชน ในช่วงแรกของการระบาดอาจไม่สามารถ ดำเนินงานหรือให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ต้องนำมาปรับกระบวนการทำงานใหม่ เพื่อให้มั่นใจว่าภารกิจหลัก ของราชการหรืองานบริการประชาชนที่สำคัญ สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลงแม้ว่าจะ ~ 472 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ประสบกบั วกิ ฤตการณห์ รือภยั พิบตั ติ ่าง ๆ ซ่งึ สอดคลอ้ งสมมุตฐิ านท่ีตง้ั ไว้วา่ ด้านบุคคลากรเปน็ ปัจจัยท่ีมีผลต่อ การบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัด นครศรธี รรมราช สอดคล้องกับแนวคิดของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2545) ซึ่งได้ศึกษาการบริหารจัดการทุกประเภท จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหรือทรัพยากรทางการบริหารจัดการที่สำคัญ ไดแ้ ก่ บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Material) และการจัดการ (Management) หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า 4M ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ใช้ใน การบริหาร เพราะการบริหารจะประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย ต้องอาศัยบุคลากรที่มีคุณภาพมีปริมาณเพียงพอ ต้องได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการเพียงพอ ต้องมีวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะกับความต้องการของแผนงาน และโครงการและต้องมีระบบการจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพเพื่อให้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์ รวมทั้ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (2563) ได้ศึกษาเรื่อง มาตรการการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรค การแพร่ระบาดของโควิด-19 ผลการวิจัยพบว่า ให้ปฏิบัติตามหรือดำเนินการตามมาตรการ หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวทางนั้นเพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคโควิด19 เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดหรืออาจเกิดขึ้นจากการดำเนินการได้อย่างทันท่วงที กรม ควบคุมโรค ในฐานะสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติจึงเห็นควรกำหนดมาตรการ และแนวทางการดำเนินการในกรณีการตรวจคัดกรอง แยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากผู้เดนิ ทางซึ่งมาจากท้องทีห่ รือเมืองท่านอกราชอาณาจักร กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ฐิติกร โตโพธิ์ไทย (2563) ได้ศึกษาเรื่อง บทเรียนจากการป้องกนั และควบคุมการระบาดของโควิด-19: กรณศี ึกษาเทศบาลเมืองอา่ งทองโลกกำลังอยู่ใน วิกฤตของการระบาดของโคโรนาไวรัสอุบัติใหม่ หรือโควิด-19 ผลการวิจัยพบว่า เพื่อให้เกิดความเข้าใจแนว ทางการปอ้ งกันและควบคุมการระบาดของโควดิ -19 จากการทำงานแบบมีสว่ นร่วมของแตล่ ะภาคส่วนในพื้นที่ จริง โดยบทเรียนที่ได้จากการศึกษามีประเด็นเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์อย่างมากที่ทำให้เข้าใจกลไกการ ดำเนินการโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัดอ่างทองเข้าใจศิลปะในการดำเนินการโดยเทศบาลเมืองอ่างทอง เห็นความสำคัญของบทบาทของผู้นำในพื้นที่ และเห็นพลวัตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตของ ประชาชนอนั จะส่งผลใหก้ ารพฒั นานโยบายการควบคุมโรคระบาดในระดับพื้นที่และประเทศดีย่งิ ข้ึนต่อไป ความคดิ เห็นของประชาชนต่อการบรหิ ารมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยแยกเป็นรายด้าน คือ 1. ด้านการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 มีการเเจ้งให้ผูป้ ระกอบการเฝ้าระวงั ผูป้ ่วยเเละตรวจสอบการลงทะเบยี น ของนกั ท่องเทยี่ วอยา่ งละเอยี ด ส่งเสริมและสร้างการรบั รูใ้ นการเฝ้าระวงั โรค ติดประกาศ ประชาสัมพันธ์ถึงโรค โควดิ -19 และแจกจา่ ยหนา้ กากอนามัยในชุมชนและสถานท่ีตา่ ง ๆ 2. ด้านการป้องกนั โรคโควิด-19 มีการเเจก เจลล้างมือเเละหน้ากากอนามัยตามจดุ ที่มีประชาชนใชบ้ ริการ มีการดำเนินมาตรการระยะห่างทางสังคม เว้น ระยะห่างไม่น้อยกว่า 1 เมตร และการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานสาธารณสุขและหน่วยงานที่ เกยี่ วข้องเพือ่ รณรงค์ใหป้ ระชาชนในพืน้ ท่ีได้รับรู้ให้ความสำคญั และดำเนินการตามมาตรการท่รี ัฐบาลกำหนดไว้ เพื่อป้องกันอย่างเคร่งครดั และ 3. ด้านการควบคุมโรคโควิด-19 มีมาตรการในการจดั กิจกรรมรวมกลุม่ ไมเ่ กิน ~ 473 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 300 คนหรือเกนิ ต้องมีการแจ้งเจ้าหน้าท่หี รือนายอำเภอ มาตรการการปดิ สถานท่ีเสี่ยงในการเเพร่กระจายของ โรคโควิด-19 เปน็ การช่วั คราว และมีการตรวจสอบและบันทกึ ข้อมลู ของผ้เู ดนิ ทางมาจากพน้ื ท่ีเสย่ี งสีแดงหรือสี ส้มและการกักตัว 14 วันสำหรับผู้ทีม่ ีพฤติกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับผู้ที่ติดเชื้อและสถานที่แพร่ระบาดของเชื้อ ซึ่งไม่ สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่าประชาชนมีความคิดเห็นต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับปานกลาง สูง กวา่ สมมติฐานท่ีต้ังไว้ เนื่องจากเจ้าหน้าท่ีอำเภอลานสกามีการปฏิบตั ิหน้าที่ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของ โรคโควดิ -19 อย่างเคร่งครดั ตามมาตรการ ผลงานวิจัยสอดคล้องกับงานวิจัยของ บัณฑิตา โสภาชื่น (2563) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินภัยพิบัติโรคไวรัสโควิด-19 ของศูนย์บริการประชาชน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย: จากนโยบายสู่มาตรการและการปฏิบัติของหน่วยงานการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ กระบวนการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มงานภายในศูนย์บริการประชาชน ศึกษา นโยบาย ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ฉุกเฉินภัยพิบัติโรคไวรัสโควิด-19 สู่มาตรการและการปฏิบัติหน้าท่ีรวมถึง ศกึ ษาปญั หา/อุปสรรคที่มีต่อการปฏิบัติหน้าที่ตลอดจนแนวทางแก้ไขและรบั มอื ต่อสถานการณ์ฉุกเฉินภัยพิบัติ โรคไวรัสโควิด-19 ในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า ศูนย์บริการประชาชนกรมการปกครองเป็นศูนย์กลางการ ให้บริการที่รวมงานต่างๆเกี่ยวกับการอนุมัติ/อนุญาตในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครภายใต้อำนาจหน้าที่ของ กรมการปกครองปัจจุบนั ผมู้ าตดิ ต่อขอรับบริการจำนวนมากและหลากหลายมีการนำมาตรการต่างๆทีเ่ กี่ยวข้อง กับสถานการณ์ฉุกเฉินภัยพิบัติโรคไวรัสโควิด-19 ของรัฐบาลมาปฏิบัติในหน่วยงานทั้งในด้านการจัดสถานท่ี ให้บริการด้านกระบวนการปฏบิ ัติ งานรวมถึงบุคลากรของหน่วยงานซึ่งนโยบายหลัก ๆ ที่มานำบังคับใช้ได้แก่ มาตรการการป้องกันและสกัดกั้นการนำเชื้อเข้าสู่ประเทศไทยมาตรการยับยั้งการระบาดภายในประเทศและ มาตรการเพือ่ การปรบั เปล่ียนการให้บริการงานอนมุ ตั ิ/อนญุ าตรบั รองจดแจ้ง หรือจดทะเบียนตามกฎหมาย ใน ส่วนของปัญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ของศูนย์บริการประชาชนมีดังนี้ คือ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ยังไม่ สามารถรองรับการปฏิบัติงานได้เท่าที่ควร บางส่วนงานไม่สามารถปฏิบัติตามนโยบาย Work from home หรือการเหลื่อมเวลาทำงานได้เนื่องจากจำนวนบุคลากรที่มีอยู่อย่างจำกัดกฎหมายยังไม่สอด คล้องกับแนวทาง ปฏิบตั จิ ริงความเส่ียงต่อการตดิ เช้ือของพนกั งานเจ้าหน้าท่ีและจำนวนผู้มาขอรับบริการลดน้อยลงเนื่องจากเกิด สถานการณ์ฉุกเฉินภัยพิบตั แิ ละแนวทางแก้ไขและรับมือต่อสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ในอนาคต คือ การพฒั นาในด้าน เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานการปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามแบบ “new normal” หรือ “ความปกติใหม่” ตลอดจนการทบทวนตัวบทกฎหมายทีใ่ ช้อยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้มีการ รองรับตอ่ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึน้ ตอ่ ไปใน อนาคต ~ 474 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ 9. ขอ้ เสนอแนะ 9.1 ข้อเสนอแนะการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 1. อำเภอลานสกาควรจะมกี ารส่งเสริมการประชาสมั พนั ธ์ ใชป้ ระชาชนในพนื้ ที่มีความรู้ความ เข้าใจเกยี่ วกบั เชือ้ โรคโควดิ -19 ใหเ้ พ่มิ มากข้ึน เพ่มิ จดุ การติดป้ายประชาสมั พันธบ์ างจุดในพนื้ ที่อาจไม่เพียงพอ สำหรับประชาชนในพ้นื ที่หา่ งไกล เข้าถงึ ยาก 2. ควรมีการจัดตั้งจุดตรวจวัดอุณหภูมิ กันอย่างจริงจังให้แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงหรือจุด สถานท่ที อ่ งเที่ยวทมี่ ีผูค้ นเข้ามาและแจกจ่ายหน้ากากอนามยั ใหป้ ระชาชนได้มหี นา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ใชก้ ันทัว่ ทุกครวั เรอื น 3. จัดตง้ั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง เข้ามาตรวจตราสอดส่องดแู ลบคุ คลทม่ี าจากพื้นท่ีเส่ียงหรือผู้ท่ี มีอาการเสี่ยงที่จะติดเชื้อโควิด-19 ในสถานการณ์นี้ให้มากกว่าเดิมและปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ ประชาชนได้ปฎิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด โดยการสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาเมื่ออยู่ในสถานที่ท่ี ผู้คนเยอะๆ ตรวจวัดอุณหภูมิก่อนเข้าสถานที่ต่างๆ ล้างมือด้วยเจลหรือสบู่ เว้นระยะห่างต่อกันอย่างน้อย 1 เมตร 9.2 ข้อเสนอแนะการวจิ ัยครั้งตอ่ ไป 1. ควรทำการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ ระบาดโรคโควดิ -19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช เพือ่ พฒั นาและปรับใชใ้ นงานวิจยั ครั้งต่อไป 2. ควรทำการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการ แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ี ส่งผลต่อการบริหารมาตรการ 3. ควรทำการศึกษาเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารมาตรการเฝ้า ระวัง ปอ้ งกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จงั หวัดนครศรธี รรมราช 10. บรรณานุกรม กระทรวงสาธารณสุขจังหวดั นครศรธี รรมราช. (2563). มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19 จังหวดั นครศรธี รรมราช. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่อื วนั ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www.nakhonsi.go.th/news/view/4125. กระทรวงสาธารณสขุ จังหวดั นครศรีธรรมราช. (2564). มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคกุ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโรโรนา 2019 (COVID-19) – COVID19. สสจ.นครศรธี รรมราช. [ออนไลน์]. สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก http://61.19.202.217/covid-19/?p=307. ฐิติกร โตโพธิ์ไทย. (2563). บทเรียนจากการป้องกันและควบคุมการระบาดของโควดิ -19: กรณศี ึกษาเทศบาล เมืองอา่ งทอง. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2564, จาก file:///C:/Users/Acer/Downloads/8819-Article%20Text-12632-1-10-20200515.pdf. ~ 475 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา. (2563). ประกาศสถานการณฉ์ ุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทว่ั ราชอาณาจกั รประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินในทกุ เขตทอ้ งท่ีทวั่ ราชอาณาจกั ร ๒๕๖๓. [ออนไลน์]. สืบค้นเม่อื วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก https://www.tosh.or.th/covid19. ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน์ และคณะ. (2542). พฤตกิ รรมองคก์ ร. กรุงเทพ: เพรชจรัสแสงแหง่ โลกธรุ กจิ . ฉัตรสมุ น พฤฒิภญิ โญ. (2563). มาตรการการเฝ าระวัง ป องกนั และควบคุมโรค การแพร ระบาด ของโควิด-19. [ออนไลน์]. สืบคน้ เมื่อวันท่ี 3 มนี าคม 2564, จาก file:///C:/Users/Acer/Downloads/247814-Article-Text-864662-3-10-20201111.pdf. บัณฑติ า โสภาชน่ื . (2563). การปฏิบัติหน้าท่ีภายใตส้ ถานการณ์ฉุกเฉนิ ภัยพบิ ัตโิ รคไวรัสโควิด-19 ของ ศูนย์บริการประชาชน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย: จากนโยบายสมู่ าตรการ และการปฏิบตั ิของหนว่ ยงาน. [ออนไลน์]. สบื ค้นเมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www3.ru.ac.th/mpa- abstract/files/2562_1597913693_6114832069.pdf. ~ 476 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การให้บรกิ ารขององคก์ ารบริหารส่วนตำบลหินดาด อำเภอด่านขนุ ทด จังหวัดนครราชสมี า ศศิมา ฮงุ สูงเนิน (Sasima Hungsungnoen) บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาปัจจัยทางประชากรศาสตร์ ในการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบล หินดาด อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้ใช้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด จำนวน 370 ตัวอย่าง โดยใช้สูตรสุ่มตัวอย่างแบบสำเร็จของเครซี่และมอร์แกน การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติที่ใช้ในการประมวลผลของข้อมูล โดยการหาร้อยละและค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศกึ ษาพบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญิง มอี ายุ 30-40 ปี มรี ายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน 5,000–10,000 บาทและมกี ารศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา นอกจากนี้พบว่าปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ การให้บรกิ ารเกิดจาก สาเหตุของปญั หาทีม่ ีสถานท่ไี มพ่ รอ้ มต่อการให้บริการ เชน่ ขาดแคลนโตะ๊ ขาดแคลนเกา้ อี้ เป็นต้น แนวทางในการแก้ไขปัญหาคือ หน่วยงานต้องมีความพร้อมตลอดเวลา มีการจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์ท่ี จำเปน็ ต้องใช้ในการให้บริการแก่ประชาชนลว่ งหน้า เพ่ือลดปัญหาของการขาดแคลนโตะ๊ และเก้าอี้ คำสำคัญ: ปจั จยั , องค์การบริหารส่วนตำบล , การใหบ้ รกิ ารแก่ผ้มู าใช้บรกิ าร ~ 477 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ Factors affecting the service of Hin Dad Sub-District Administrative Organization Dan Khun Thot District, Nakhon Ratchasima Province Abstract This research to study demographic factors In the service of Hin Dad Subdistrict Administrative Organization Dan Khun Thot District, Nakhon Ratchasima Province The samples used in the research were users of Hin Dad Subdistrict Administrative Organization. 370 samples using Casey and Morgan's successful sampling formula. Data analysis uses statistically finished computer programs used in data processing. By determining the percentage and average, standard deviation. The results showed that the majority of respondents were female, aged 30-40. Average monthly income of 5,000–10,000 baht and primary education In addition, it was found that the factors affecting the service were caused by problems with unavailable locations such as desk shortages, chair shortages, etc. The solution to the problem is that the agency must be ready at all times. In advance, the company has arranged to provide the public with the equipment they need to provide services in advance to reduce the shortage of tables and chairs. Keyword: Factors , Subdistrict Administrative Organization , Service to Visitors ~ 478 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 1. บทนำ “องค์การบริหารส่วนตำบล” เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่จำลองรูปแบบการ ปกครองรัฐบาลส่วนกลางมาใช้โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมืองตามระบบประชาธิปไตย เพื่อประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้อย่างทั่วถึง และเป็นธรรม ประชาชนมีบทบาทในการตัดสินใจ การกำกับดูแลการตรวจสอบตลอดจนสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเต็มที่ในส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีศักยภาพทางด้านการบริหาร จัดการและการคลังท้องถิ่นที่พึ่งตนเองและเป็นอิสระมากขึ้น ข้าราชการ พนักงานและลูกจ้างขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญและเป็นกลไกลหลักของประเทศในการบริการสาธารณะเพื่อ ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถ่ิน ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด งานบริการในด้านการบริการอย่างเสมอภาค การบริการรวดเร็ว ทันต่อเวลา การบริการอย่างเพียงพอ การ บริการอย่างต่อเนื่อง และการบริการอย่างก้าวหน้าโดยจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ต่อเดือน เพื่อนำการวิจัยครั้งนี้ไปปรับปรุงการให้บริการประชาชนที่มารับบริการในเขตองค์การบริหาร ส่วนตำบลหินดาดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนต่อไป 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย เพอื่ ศกึ ษาถึงปัญหาอปุ สรรคในการใหบ้ ริการขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลหนิ ดาด อำเภอด่านขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า และเพื่อศึกษาหาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาในด้านการบรกิ าร 3. ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1.เพอื่ เปน็ แนวทางในการพัฒนาปรับปรงุ การดำเนินงานด้านการให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วน ตำบลหินดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 2. เพื่อทราบถึงปัญหาของประชาชนที่มาใช้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด อำเภอด่าน ขุนทด จงั หวัดนครราชสมี า 4. สมมติฐานของการวิจัย (ถา้ ม)ี 1. ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด อำเภอด่านขนุ ทด จังหวัด นครราชสีมาน่าจะเกิดจากการทำงานของหนว่ ยงาน ~ 479 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 2. ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลหนิ ดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัด นครราชสมี านา่ จะเกดิ จากทกั ษะการทำงาน 3. ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการใหบ้ ริการขององค์การบริหารสว่ นตำบลหินดาด อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสีมาน่าจะเกดิ จากความรคู้ วามสามารถในการให้บรกิ าร 4. ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ การใหบ้ ริการขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลหินดาด อำเภอดา่ นขุนทด จังหวัด นครราชสมี าน่าจะเกิดจากสถานที่ของหนว่ ยงาน 5. ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การให้บริการขององค์การบริหารสว่ นตำบลหนิ ดาด อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวัด นครราชสีมานา่ จะเกดิ จากการประชาสมั พันธ์ 5. ขอบเขตของการวิจยั ในการศึกษาคร้ังน้ใี ชแ้ บบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ตอน โดยตอนที่1 เกย่ี วกบั ข้อมลู ของบุคคล ในตอน ท2ี่ เกีย่ วกับปจั จัยที่มผี ลต่อการให้บริการขององค์การบริหารสว่ นตำบลหินดาด และในตอนที่3 ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเหน็ เพ่ิมเติม เปน็ ต้น 6. วิธดี ำเนนิ การวิจัย 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือประชาชนที่มารับบริการของ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลหนิ ดาด อำเภอด่านขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า (อบต) 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้ที่ใช้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด จำนวน 13,368 คน โดยใชส้ ูตรของเครซแ่ี ละมอร์แกน ในการหากลุ่มตวั อยา่ ง ได้กลมุ่ ตวั อย่างจำนวน 370 คน 3.เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ จะใช้แนวทางในการสร้างเครื่องมือจากการรวบรวมข้อมูลที่ศึ กษาจาก ตำรา หนังสือ งานวิจัย และเอกสารต่างๆ โดยนำเอาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา ซึ่ง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยมีลักษณะแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังตอ่ ไปนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ การศกึ ษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน ตอนที่ 2 แบบสอบถามลักษณะปลายปิดและปลายเปิดเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการของ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลหินดาดอำเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสีมา ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและขอ้ คดิ เหน็ เพม่ิ เติม ~ 480 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 4.การเก็บรวมรวมข้อมลู การศึกษาในครัง้ นี้ เปน็ การศึกษาในเชงิ สำรวจ (Survey) โดยใช้ขอ้ มลู ดังน้ี 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) สร้างเครื่องมือที่ช่วยในการศึกษาข้อมูล คือแบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นจำนวน 370 ชุด และนำเครื่องมือนี้ไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของ ประชาชนทม่ี าใชบ้ รกิ ารขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลหินดาด 2. ข้อมูลทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Data) ศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลจากบทความ งานวิจยั เอกสารทางวิชาการ รวมถึงขอ้ มลู บนอินเทอร์เนต็ ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ และรวบรวมทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ งมาเปน็ ข้อมลู ประกอบการวิจยั 5. การวิเคราะหข์ ้อมูล จากที่ได้มีการเก็บรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ และตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย แล้วหลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยมี ขัน้ ตอนดงั ต่อไปน้ี 1. ตรวจข้อมลู ที่ได้จากแบบสอบถาม เพ่ือตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามและขัดแยกส่วน ท่ไี ม่สมบูรณอ์ อกเพอื่ นำข้อมลู ไปใช้ต่อในขน้ั ตอนถัดไป 2. นำแบบสอบถามทส่ี มบรู ณต์ ามทไ่ี ดค้ ัดกรองมาแล้วลงรหัสและบนั ทึกข้อมลู ลงในโปรแกรมสำเร็จรูป เพ่อื เตรียมการประเมนิ ผล 3. ทำการประมวลผล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ 7. สรุปผลการวจิ ัย ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 370 ตัวอย่าง พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 30-40 ปี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000 – 10,000 บาท และส่วนใหญม่ ีการศกึ ษาในระดับประถมศึกษา ตอนท่ี 2 ท่านคิดวา่ ปัจจัยมผี ลตอ่ การใหบ้ ริการขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลหนิ ดาดไดแ้ ก่ปจั จัยใด ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นถึงปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสีมา กลมุ่ ตวั อยา่ งทต่ี อบแบบสอบถามเก่ียวกบั ปจั จัยท่ีมผี ลต่อการให้บริการ ขององคก์ ารบริหารส่วนตำบลหินดาดมคี วามคิดเหน็ โดยแยกพจิ ารณาในแต่ละดา้ น ปรากฏผลดงั น้ี สมมติฐานการวิจยั สมมติฐานข้อที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก ความตรงต่อเวลาในการให้บริการ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 207 คน คิดเป็นร้อยละ 55.9 ไม่ใช่ 163 คน คดิ เป็นร้อยละ 44.1 ดงั นน้ั เปน็ ไปตามสมมติฐาน ~ 481 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก พนักงานมีความกระตือรือร้น ในการให้บริการ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 316 คน คิดเป็นร้อยละ 85.4 ไม่ใช่ 54 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.6 ดังนน้ั เปน็ ไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก การจัดเตรียมสถานที่มีความพร้อมต่อการให้บริการ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 7.3 ไมใ่ ช่ 343 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.7 ดังนน้ั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก การให้บริการทล่ี า่ ชา้ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 24 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.5 ไม่ใช่ 346 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.5 ดงั น้นั เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 5 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก พนักงานมีความพรอ้ มในการปฏิบัติงาน แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 370 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนนั้ เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 6 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก สถานทรี่ าชการถกู หลักอนามยั แสดงความคดิ เห็นวา่ ใช่ จำนวน 307 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.0 ไม่ใช่ 63 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 17.0 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 7 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด น่าจะเกิดจาก สภาพแวดล้อมของหน่วยงานมีความปลอดภยั ได้มาตรฐาน แสดงความคิดเห็นว่าใช่ จำนวน 326 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 88.1 ไมใ่ ช่ 44 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 11.9 ดังนั้น เปน็ ไปตามสมมติฐาน ดังนั้น ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลหินดาด อำเภอด่านขุนทด จังหวัด นครราชสีมา เกดิ จาก 1. มคี วามตรงตอ่ เวลาในการให้บริการ 2. พนกั งานมีความกระตือรอื ร้น ในการให้บริการ 3. พนักงานมีความพร้อมในการปฏบิ ตั ิงาน 4. สถานที่ราชการถกู หลกั อนามัย 5. สภาพแวดล้อมของหนว่ ยงานมคี วามปลอดภัย ได้มาตรฐาน ~ 482 ~
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 516
Pages: