การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ จากสูตร n= x2NP(1-P) e2(n-1)+x2P(1-P) แทนคา่ จากสตู ร = 3.841×(2,277×0.5)×(1−0.5) [(0.052)×(2,277−1)]+[(3.841×0.5)(1−05)] = 3.841×1,138.5×0.5 (0.0025×2,276)+(1.9205×0.5) = 2,186.48925 5.69+0.96025 = 2,186.48925 6.65025 = 328.7830 ≈ 329 = 329 คน ดังนน้ั ขนาดของกลุ่มตัวอย่างทใี่ ชใ้ นการวิจัยครัง้ นีจ้ ากการคำนวณหากลุ่มตัวอยา่ งของสูตรเครจซีและ มอร์แกน (krejcie and Morgan) คำนวณได้ 328.843 ผวู้ ิจยั จึงกำหนดกลุ่มตัวอยา่ งเปน็ 329 คน 6.2 เคร่ืองทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย เครอ่ื งมอื ที่นำมาใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ซ่งึ ประกอบด้วย 3 ส่วนดงั นี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาคณะ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะ มนุษยและสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ส่วนที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ในการตอบแบบสอบถามผู้วิจยั ไดก้ ำหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน ดงั นี้ 1. ลักษณะคำถามแบบประมาณค่า (Rating Scale) ในคำถามแต่ละข้อจะมีคำถาม-ตอบ ให้เลือกใน ลกั ษณะการประเมินค่า 5 ระดบั โดยมเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้ 5 หมายถึง มีสว่ นร่วมทางการเมืองมากทสี่ ดุ 4 หมายถึง มีสว่ นร่วมทางการเมืองมาก 3 หมายถงึ มสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งปานกลาง 2 หมายถงึ มสี ่วนรว่ มทางการเมืองน้อย 1 หมายถงึ มีสว่ นรว่ มทางการเมอื งน้อยทีส่ ดุ ~ 183 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ การแปลความหมายโดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่อใช้จัดกลุ่มระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และความคิดเห็นการมี ส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช แลว้ นำคะแนนที่ไดจ้ ากแบบสอบถามมาจัดกลุ่ม โดยแบ่งระดบั ออกเปน็ 3 ระดับ ดังนี้ การหาคา่ พิสยั = คะแนนสูงสุด − คะแนนต่ำสุด จำนวนกล่มุ = 5−1 3 = 1.33 ดงั น้นั ไดค้ ่าพิสัยเทา่ กบั 1.33 การจดั กลุ่มคะแนนตามคา่ พสิ ัยดังกลา่ ว ไดร้ บั คะแนนการมสี ่วนร่วม 3 ระดบั ระดบั คะแนน มสี ว่ นรว่ ม คา่ เฉล่ียตงั้ แต่ 1.00 - 2.33 มีสว่ นรว่ มนอ้ ย คา่ เฉลยี่ ตง้ั แต่ 2.34 - 3.67 มีสว่ นร่วมระดบั ปานกลาง คา่ เฉลี่ยตัง้ แต่ 3.68 - 5.00 มีสวนรว่ มระดบั มาก 6.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการศึกษาวจิ ัยครัง้ นผี้ ้ศู กึ ษาใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู ดังน้ี 1. ข้อมูลปฐมภมู ิ (Primary Data) เป็นข้อมูลทีไ่ ด้จากการเกบ็ รวบรวมจากกลุ่มตัวอยา่ งตามท่ีกำหนด ใว้แบบสอบถาม ประกอบไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช แบบสอบถาม มขี ้นั ตอนดังนี้ 1.1 ผูว้ ิจัยสรา้ งแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 ผูว้ ิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู ด้วยตัวเอง 1.3 ผวู้ จิ ัยนำแบบสอบถามไปดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลกบั กล่มุ ตวั อย่าง 1.4 ผู้วิจัยตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ในคำตอบในแบบสอบถามและรับ แบบสอบถามกลับคนื หลงั จากกลมุ่ ตวั อย่างตอบแบบสอบถามเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว 1.5 นำขอ้ มลู จากแบบสอบถามมาใช้ในการวิเคราะห์ สรปุ ผลการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักศกึ ษาคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช ~ 184 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ 2 ข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิ (Secondaey Data) เป็นขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากเอกสาร หนังสือ งานวิจยั บทความ วารสาร สื่อสารสนเทศ รายละเอียดของโครงการ ตลอดถึงเอกสารอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องเพือ่ นำมาเป็นข้อมูลเบือ้ งต้นในการ สนบั สนุนการวจิ ัยครงั้ น้ี 6.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผู้วิจัยนำข้อมูลไปวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ SPSS for Windows Version 24 (Statistical Product for the Social Science) โดยหาค่าข้อมูลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ สรปุ ผลการวิจยั ดงั น้ี 1. วิเคราะห์สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อย ละ (Percentage) 2. การหาค่าเฉลี่ย (Mean) สำหรับวิเคราะห์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วนำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย 3. ค่า T-test และค่า F-test (One-way Anova) สำหรับเปรียบเทียบความแตกต่างรหว่างตัวแปร หากพบว่ามีความแตกต่างอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี .05 ผวู้ ิจัยทำการเปรียบเทยี บรายคู่ 4. สว่ นคำถามปลายเปดิ ในแบบสอบถามจะทำการวเิ คราะหเ์ นื้อหา (Content Analysis) 7. สรปุ ผลการวจิ ยั 1. ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักศึกษามีส่วน ร่วมทางการเมืองในด้านการให้ข้อมูลและรับข้อมูล มากที่สุด รองลงมามีส่วนร่วมในด้านการณรงค์ทาง การเมือง ส่วนในด้านการแสดงความสนใจตอ่ กจิ กรรมทางการเมอื งการมสี ่วนร่วม นอ้ ยที่สุด การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรธี รรมราช โดยภาพรวม การมีสว่ นรว่ มทางการเมืองของนกั ศกึ ษาคณะมนุษย การมสี ว่ นร่วมทางการเมือง ศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ������̅ S.D. แปลคา่ นครศรีธรรมราช 1. ด้านการให้ข้อมูลและรับข้อมลู 3.11 0.837 ปานกลาง 2. ด้านการร่วมรณรงค์ทางการเมอื ง 2.98 0.903 ปานกลาง 3. ด้านการใช้สิทธิเลอื กตั้ง 2.86 1.000 ปานกลาง 4. ด้านการแสดงวามสนใจต่อกจิ กรรมทางการเมือง 2.59 0.953 ปานกลาง 5. ด้านการมบี ทบาทเคลื่อนไหวทางการเมือง 2.80 0.675 ปานกลาง รวม 2.87 0.874 ปานกลาง ~ 185 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 2. เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมทางเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ตามปัจจยั ส่วนบคุ คล พบว่า เพศ และอายุ ท่แี ตกตา่ งกนั การมีส่วนร่วม ทางการเมอื งของนักศกึ ษาไม่แตกตา่ งกัน ดังตารางขา้ งล่างนี้ ตาราง เพศ เพศ N ������̅ S.D. T Sig. ชาย 161 2.85 0.666 0.309 0.757 หญงิ 168 2.87 0.732 ตาราง อายุ แหลง่ ความแปรปรวน Df SS MS F Sig. ระหวา่ งกลมุ่ 2 2.031 1.016 2.086 0.126 ภายในกลุ่ม 326 158.741 0.487 รวม 328 160.773 ส่วนประเภทนักศึกษา ชั้นปี สาขาที่เรียน และเกรดเฉลี่ย ที่แตกต่างกันมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักศึกษาแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ ดังตารางตวั อย่าง ประเภทนกั ศึกษา ชัน้ ปี และสาขา ตาราง ประเภทนักศึกษา ประเภทนกั ศกึ ษา N ������̅ S.D. T Sig. ภาค ปกติ 284 2.90 0.729 2.682 0.008** ภาค กศ.บป. 45 2.60 0.482 ตาราง ชัน้ ปี Df SS MS F Sig. แหลง่ ความแปรปรวน 2 4.523 2.261 4.718 0.010** 326 156.250 0.479 ระหวา่ งกล่มุ 328 160.773 ภายในกลุม่ รวม ~ 186 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ตาราง สาขา แหลง่ ความแปรปรวน Df SS MS F Sig. ระหว่างกล่มุ 9 74.466 8.274 30.582 0.000*** ภายในกลุ่ม 319 86.306 รวม 328 160.773 3. ปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช คอื การมสี ่วนรว่ มบางรปู แบบเชน่ การชมุ นุมประท้วงตาม พ้นื ที่สาธารณะตา่ งๆนักศึกษาไม่กลา้ แสดงตวั ตนเน่ืองจากกลวั กระทบตอ่ สถานภาพนักศึกษา หรือกลวั วา่ ขัดต่อ ระเบยี บสถาบันการศกึ ษา รวมถงึ เกรงว่าจะมีปญั หากบั อาจารยแ์ ละเพือ่ นท่ีมีความคิดแตกตา่ งกนั จากตนเอง 8. อภิปรายผลการวิจยั จากการศกึ ษาวิจยั เรอ่ื ง การมสี ่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช ผวู้ ิจัยอภิปรายผลตามสมตฐิ าน มรี ายละเอยี ดดังนี้ สมมติฐานข้อที่ 1 การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมทางการเมือง ของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยอยู่ในระดับปาน กลาง เป็นไปตามสมมติฐาน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สำราญ วิเศษ (2555) ศึกษาเรื่อง กระบวนการมีส่วน ร่วมทางการเมืองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองอยู่ในระดับปานกลางทุก ด้าน โดยเรียงลำดับ ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือด้านการแสดงความคิดเห็นรองลงมาได้แก่ ด้านข้อมูล ข่าวสาร ด้านการประเมนิ ผล และดา้ น การตดั สินใจตามลำดับ สมมติฐานข้อที่ 2 การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มีความแตกต่างกันตามปัจจยั ส่วนบุคคล ผลการศกึ ษาพบว่า นักศึกษาท่ี มีปัจจัยส่วนบุคคลด้าน ประเภทนักศึกษา ชั้นปี สาขา เกรดเฉลี่ย แตกต่างกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สำราญ วเิ ศษ (2555) ศกึ ษาเร่อื ง กระบวนการมสี ่วนรว่ มทางการเมืองของนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า รฐั ประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นครพนม ผลการศึกษาพบว่านกั ศึกษาที่มี เพศ ชั้นปี ที่กำลังศึกษาและระบบการเรียนตา่ งกนั มีส่วนร่วมทางการเมืองแตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สำคัญทาง สถิติ สำหรับขอ้ เสนอแนะในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมอื งของนักศึกษา และลดปัญหาอปุ สรรคใน การเข้าไปมีส่วนร่วมทุกด้านองนักศึกษา อันได้แก่ ด้านการให้ข้อมูลและรับข้อมูล ด้านการร่วมรณรงค์ทาง ~ 187 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ การเมือง ด้านการใช้สิทธิเลือกตั้ง ด้านการแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง และด้านการมีบทบาท เคล่ือนไหวทางการเมือง ทางสถาบนั ทางศกึ ษาควรส่งเสริมใหน้ ักศึกษาเข้ารว่ มกิจกรรมดังกล่าวเพราะเป็นสิทธิ ขั้นพื้นฐานทางการเมอื งตามกฎหมายรัฐธรรมนู ตามที่ มาตราตรา 34 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ระบุไว้ว่า บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การ โฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจำกัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจ ตามบทบญั ญตั ิ แห่งกฎหมายท่ตี ราขน้ึ เฉพาะเพ่อื รักษาความมัน่ คงของรฐั เพอ่ื ค้มุ ครองสทิ ธหิ รือเสรภี าพของบคุ คลอ่นื เพ่อื รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอันดีของประชาชน หรอื เพอื่ ป้องกันสขุ ภาพของประชาชน เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง แตก่ ารใชเ้ สรภี าพนั้นต้องไมข่ ัดต่อหน้าท่ีของปวงชนชาวไทยหรือ ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเหน็ ต่างของบคุ คลอื่น 9. ข้อเสนอแนะการวจิ ยั 9.1 ขอ้ เสนอแนะท่ไี ดจ้ ากการวิจยั ผลจากการศึกษา ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซึ่งใช้เป็นแนวทางในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ นักศึกษาคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช 1. สถาบันทางการศึกษาควรส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองทุก ด้าน ทกุ รปู แบบท้ังที่เปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ 2. นักศึกษาควรตระหนักในสิทธิ เสรีภาพทางการเมืองของตนเอง และตะหนักรู้ว่าการเมืองเป็น เรื่องของทกุ คน และเกี่ยวข้องของตวั เราตงั้ แต่เกดิ จนกระทงั่ ตาย 9.2 ข้อเสนอแนะสำหรับวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1. ควรศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ครอบคลุมทกุ คณะ เพื่อท่จี ะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกตอ้ งมาปรับใช้ในงานวจิ ยั ครง้ั ต่อไป 2. ควรศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรธี รรมราช 3. ควรศึกษาเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาในเครือข่ายมหาวิทยาลัย ในจงั หวัดนครศรีธรรมราช 10. บรรณานุกรม บวศักด์ิ อวุ รรโณ และถวลิ วดี บรุ ีกุล. (2555). ประชาธิปไตยแบบมีสว่ นรว่ ม (Participatory Democracy). กรงุ เทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. ~ 188 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ วรรณี ปงั สกลุ ยานนท.์ (2561). การมสี ่วนรว่ มทางการเมืองของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ของ มหาวทิ ยาราชภฏั มหาสารคาม. สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วกิ พิ ีเดีย. (2563). การประท้วงในประเทศไทย. คน้ เมอ่ื กุมภาพันธ์ 8, 2564. จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ สมบตั ิ ธํารงธญั วงศ์. 2549. นโยบายสาธารณะ :แนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. (พิมพ์ครงั้ ท่ี14). กรงุ เทพฯ : เสมาธรรม. สถาบันพระปกเกลา้ . (2560). รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ. สำราญ วเิ ศษ. (2555). กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นครพนม. คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม. สุจรติ บญุ บงการ. (2551). วัฒนธรรมทางการเมืองของนิสิตนกั ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สมาคม สงั คมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย. ~ 189 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ พฤตกิ รรมการสบู บหุ รี่ของนกั ศกึ ษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ สิราวรรณ ดชั นะแสง บทคัดย่อ การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ สูบบุหรี่ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐ ประศาสนศาสตร์ใน จังหวัดชยั ภมู ิ จำนวน 100 คน เกบ็ ข้อมลู โดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของ วัยรุ่น วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิตพิ รรณาและ Chi – Square ผลการวิจัยพบว่า ปัจจุบันกลุ่มตัวอย่างสูบบหุ รี่ รอ้ ยละ 12.15 เพศชายสูบบุหรร่ี ้อยละ 10.03 เพศหญงิ ร้อยละ 2.79 เคยสบู บุหร่ี ร้อยละ 38.08 เหตุผลท่ีลอง สูบบุหรี่ ส่วนมากร้อยละ 26.39 สูบเพราะอยากลอง อายุเฉลี่ยที่สูบบุหรี่ 13.43 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.22) ค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่ต่อเดือนเฉลี่ย 309.08 บาท (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.77) สถานที่สูบบุหรี่ ส่วนมาก ร้อยละ 48.78 สูบที่บ้าน ในครอบครัวมีพ่อสูบบุหรี่ร้อยละ 36.08 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการสูบ บุหรี่ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา พื้นที่ของโรงเรียน เพื่อนสนิทชักชวนใหส้ ูบ และมีคน สูบบุหรีม่ าอยใู่ กลม้ ี ความสัมพันธ์กับพฤตกิ รรมการสูบบุหรอี่ ย่างมีวินยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p < .05) คำสำคญั พฤติกรรม, การสูบบหุ รี่ ,ปจั จยั ~ 190 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ Abstract This cross-sectional survey study aimed to examine factors related to smoking behavior among students at Chaiyaphum Rajabhat University. The sample group was students of the Faculty of Political Science. branch of public administration in 100 people in Chaiyaphum Province. Data were collected using the adolescent smoking behavior questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics and Chi-Square. keyword behavior, smoking, factors ~ 191 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ บทนำ บหุ รี่เปน็ ยาเสพตดิ ที่ถูกกฎหมายทส่ี ง่ ผล กระทบทั้งผ้ทู สี่ ูบและบคุ คลใกล้ชิด เปน็ สาเหตุทำ ให้เสียชีวิต ก่อนวัยอันควร นโิ คตินสามารถเขา้ สู่ สมองภายใน 7 วนิ าทเี รว็ กว่าการฉีดโคเคนเขา้ หลอดเลือด การสูบบหุ ร่ี 1 มวนทำให้ชีวิตสั้นลง 7 นาที และมีผลทำให้เกิดโรคต่าง ๆถึง 25 โรค โดยเฉพาะโรคมะเร็ง 10 ชนิด จากการ ประมาณ ความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์จากโรคที่เกิดจาก การสูบบุหรี่ ในปี พ.ศ.2552 พบว่า ค่าใช้จ่าย ทั้งหมดเท่ากับ 74,884 ล้านบาท หรือ 0.78% ของGDP (Pitayarangsarit, Chotbenjamaporn & Pankrajang, 2016) จากขอ้ มูลภาระโรคในปีพ.ศ. 2552 พบว่า บุหรีเ่ ปน็ สาเหตทุ ีท่ ำให้เสยี ชีวิตมากกว่ายาเสพ ติด ทุกชนิดรวมกัน 27.9 เท่า แอลกอฮอล์ทำให้ เสียชีวิตสูงกว่า 13.7 เท่า การเริ่มสูบบุหรี่หรือดื่ม สุราจะนำ ชีวิตไปส่คู วามเส่ียงตา่ ง ๆ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาสาเหตุของการสูบบุหรี่ของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภฏั ชัยภมู ิ 2. เพ่อื การศกึ ษาผลกระทบจากการสูบบุหร่ขี องนักศกึ ษา 3. เพื่อศกึ ษาหาแนวทางแก้ไขพฤติกรรมการสูบบหุ รี่ใหม้ ีจำนวนน้อยลง ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1. ทราบถึงพฤตกิ รรมการสบู บหุ รีข่ องนักศกึ ษา 2. ทราบถึงผลกระทบจากการสบู บหุ ร่ขี องนักศกึ ษา 3. ทราบถงึ แนวทางการแก้ไขของปญั หา สมมติฐานของการวิจัย 1. ปญั หาการสบู บหุ ร่ีของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ นา่ จะมาจาก: การอยากรู้อยากลอง 2. ปญั หาการสบู บหุ รี่ของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ นา่ จะมาจาก:สงั คมรอบขา้ ง 3. ปัญหาการสูบบุหรข่ี องนกั ศกึ ษาคณะรฐั ศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ น่าจะมาจาก: ปญั หาครอบครัว 4. ปัญหาการสบู บุหรข่ี องนักศกึ ษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ นา่ จะมาจาก:ภาวะการเครียด ~ 192 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ขอบเขตของการวิจยั 1. ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หา การวิจัยมุ่งศึกษาถึงพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ใน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ 2. ขอบเขตดา้ นพ้นื ที่ ในการศึกษาครง้ั น้ีมขี อบเขตด้านพ้ืนท่คี ือคณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ 3. ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ทุกชั้นปี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ จังหวดั ชัยภมู ิ วธิ ีการดำเนนิ การวจิ ยั ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นกั ศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ทกุ ชนั้ ปี จำนวน 100 คน เครอ่ื งมือในการวจิ ัย เครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย การสูบบุหรี่ของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิส่วนครั้งนี้เป็น แบบสอบถามพร้อมแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยได้ สร้างข้ึน โดยแบง่ ออกเป็น 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ 2 สาเหตุของการสูบบุหรี่ของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ ชัยภูมิ ทุกชั้นปี ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) สำหรับ ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ตารางนี้ใช้ในการประมาณค่า สัดส่วนของประชากร เช่นเดียวกัน และกำหนดให้สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร เท่ากับ 0.5 ระดับความคลาดเคลื่อนที่ ยอมรับได้ 5% และระดับความเช่ือมั่น 94% สามารถคำนวณหาขนาดของกลุ่ม ตวั อย่างกับประชากรท่ีมีขนาด เลก็ ได้ต้งั แต่ ขึ้นไป 10 ~ 193 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ สรุปผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ นักศึกษากลุ่มตัวอย่างคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งหมด 100 คน เพศชาย 70 คน คิดเป็นร้อยละ 87.5 เพศหญิง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รวมทงั้ หมดจานวน 100 คน คดิ เป็น 125 % การอภิปรายผล พฤติกรรมการสูบบหุ ร่ีของเยาวชนในจังหวดั ชัยภมู ิ การสูบบุหรี่ของนักศึกษา จากผลการศึกษา พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ พบว่า มี อัตราการสูบบุหรี่แม้พยี ง 1 หรอื 2 ครงั้ ร้อยละ 32.4 และเมอ่ื พจิ ารณาอตั ราการสูบบหุ รี่ ในช่วง 30 วันที่ผ่าน มาลดลงเหลือร้อยละ 18.2 อายุของเยาวชนเมื่อสูบบุหรี่ครั้งแรกเฉลี่ย 14.3 ปี น้อยที่สุด 15 ปี ใกล้เคียงกับ งานวิจัยของจันทนา จันทรไพจิตร ( 2541 ) ที่พบว่าเด็กนักเรียนเริ่มสูบ บุหรี่อายุระหว่าง13 – 16 ปีและ งานวจิ ยั ของอัจฉราวรรณ สร้อยทอง ( 2542 ) ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะการนำผลการวจิ ัยไปใช้ ผลการสรุปการวิจัยนั้นขึ้นอยู่กับกลุ่มตัวอย่างที่นำมาเป็นตัวอย่างในการวิจัย ควรคำนึงให้ดีว่าตรงตาม ทตี่ ง้ั เปา้ ไว้หรือไม่ 2. ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป การวจิ ัยข้ึนอย่กู บั ปรมิ าณของกลมุ่ ตัวอย่างและการคำนวณหาข้อเทจ็ จรงิ บรรณานกุ รม จันทนา/ จันทรไพจิตร.//เหตุผลในการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเชียงใหม่.// ( 2541 ) เชยี งใหม่ : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ อัจฉราวรรณ /สร้อยทอง.//ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่น.// ( 2542 ) ฐานข้อมลู วิทยานพิ นธไ์ ทย ~ 194 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ การศึกษาปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการใช้เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ของนกั ศกึ ษา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ปที ่ี 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ชตุ ิกาญจน์ วงศ์ตะลา บทคดั ยอ่ การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันปที ี่ 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาปัจจัย ท่ีส่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการใชเ้ ครือข่ายสงั คมออนไลน์ ของนกั ศกึ ษาคณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ ช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 2) เพื่อศึกษาผลกระทบและหาแนวทางแก้ไขจากการใช้เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ของนกั ศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ปที ่ี 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ประชากรท่ีใช้ในการ วจิ ยั คอื นกั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีท่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กลมุ่ ตัวอยา่ งทใี่ ช้ ในการวิจัย คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ที่กำลัง ศึกษาในปีการศึกษา 2564 จำนวน 48 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ตามการกำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน (Kreycie. And Morgan. D.W.) เครื่องมือที่ใช้การวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ที่ผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป ทางสถิติ ค่าเฉลี่ย (������̅), คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจากกลุ่มเพื่อน โทรศัพท์มือถือ แอปพลิเคชัน ความ ดงึ ดดู ของเว็บไซต์ และอาจารย์ ตามลำดับ 2. ผลกระทบและหาแนวทางแก้ไขจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะ ครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ซึ่งจากความคิดเห็นของนักศึกษา ตอ้ งการมีความรู้ ความเข้าใจและเพ่มิ พนู ความรูจ้ ากแอปพลเิ คชนั ทางการศึกษา คำสำคัญ : ปัจจัย ; พฤตกิ รรม ; เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ ~ 195 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ The study of factors affecting the behavior of using social networks of students of the Faculty of Education Mathematics, 4th year, Chaiyaphum Rajabhat University Abstract The study of factors affecting the behavior of using social networks of students of the Faculty of Education Mathematics,4th year, Chaiyaphum Rajabhat University Objectives 1) to study the factors affecting the behavior of using social networks of students of the Faculty of Education Mathematics, 4th year, Chaiyaphum Rajabhat University 2) to study the impact and find solutions from using social networks of students of the Faculty of Education Mathematics 4th year, Chaiyaphum Rajabhat University The population used in the research was students of the Faculty of Education. Mathematics, 4th year, Chaiyaphum Rajabhat University The sample group used in the research were students of the Faculty of Education. Education, Mathematics, Year 4, Chaiyaphum Rajabhat University A total of 48 students studying in the academic year 2021 were obtained by convenient randomized sampling. According to the sample size of Kreycie and Morgan (Kreycie. And Morgan. D.W.), the research instrument was a questionnaire that was verified by an advisor. The statistics used in the research were statistical packages, mean (x )̅ , standard deviation (S.D.). The results of the research showed that: 1. Factors affecting the behavior of using social networks of students of the Faculty of Education Mathematics, 4th year, Chaiyaphum Rajabhat University from a group of friends mobile phone Applications, website attraction and teachers,respectively. 2. Effects and solutions from using social networks of students Education, Mathematics, Year 4, Chaiyaphum Rajabhat University which from the opinions of students who want to have knowledge Understanding and gaining knowledge from educational applications Keyword : Factors ; Behavior ; social networks ~ 196 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ บทนำ ในยุคปัจจุบันโลกของเรามีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วอยู่ตลอดเวลา ดังที่ ชัชวนันท์ สันธิเดช (2554, หน้า 11) กล่าวไว้ว่า ในสังคมโลกยุคปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and Communication Technology หรอื ICT ) ไดเ้ ข้ามามบี ทบาทในการดำเนนิ ชวี ิตและการปฏิบตั ิงาน โดยชว่ ยให้เกดิ ความรวดเร็ว ทำให้ข้อมูลข่าวสารสามารถส่งผ่านถึงกันทั่วโลกเกิดสังคมที่เรียกว่า “สังคมข้อมูลข่าวสาร” ( Information Society) ซึ่งเป็นสังคมที่มีการใช้ข้อมูลข่าวสารในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ มีการกระจายภาพ เสียง และ ข้อมูล ไม่ว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้นที่ใดในโลก และได้ถูกนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน การผลิตและการบริการ เพื่อให้นำไปสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคม แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based economy/ society) ซึง่ ในยุคน้ขี ้อมลู (Information) เปน็ ส่งิ ลำ้ คา่ ท่ีแสดงถึงพลงั อำนาจอยา่ งย่งิ ยวด ถงึ ขนาดมีคำกลา่ วว่า ทุกวันนี้ผู้ใดมีข้อมูล ผู้นั้นมีอำนาจ ต่างจากสมัยที่โลกยังอยู่ในยุคอุตสาหกรรม (Industrial Age) ซึ่งอำนาจ ขึ้นอยู่กับกำลังการผลิต (Production Force) เป็นสำคัญ จากการที่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกแข่งขันกันด้วย ข้อมูล ทำให้มีคำเรียกสังคมโลกทุกวันนี้ว่าเป็นสังคมที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสารหรือสังคมที่อยู่บน พ้ืนฐานของความรู้ เช่นเดียวกบั คำวา่ วิถชี ีวิตแบบเว็บ ท่กี ลายเปน็ คำนิยามใหม่ของรูปแบบการดำเนินชีวิตของ ผ้คู นในยคุ น้ี นวัตกรรมทางเทคโนโลยีซึ่งเอื้อต่อการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วมากขึ้น จาก ปัจจัยการสนับสนุนทางด้านของอุปกรณ์ปลายทางต่าง ๆ โดยผ่านเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ท่ี โยงใยไปทั่วโลก หรือที่เรียกว่าอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายที่ทำให้คนทั้งโลกสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลได้อย่างเทา่ เทียมกนั จากเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลที่ได้พฒั นาข้ึนจากการเช่ือมต่อผ่านโมเด็ม สามารถเช่ือมต่อผ่านบอร์ด แบรนด์หรืออินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ทั้งยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ จากการพัฒนา เทคโนโลยี 4G เพื่อให้เครือข่ายโทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์พกพาสามารถรองรับการให้บริการภาพและ เสียง และการรับส่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ ผ่านเทคโนโลยีไดห้ ลายช่องทางมากขึ้นดว้ ยสัญญาณต่าง ๆ เช่น WAP ที่เปน็ อุปกรณ์ไร้สายที่ใช้เชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือที่ทำให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือใช้งานด้านอินเทอร์เน็ตทั่ว ๆ ไปได้ เหมือนกับใช้งานผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ GPRS การใช้งานผ่านโทรศัพท์เคลื่อนท่ี EDGE และ Bluetooth ซึ่งเป็นเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตเฟซทางคลื่นวิทยุที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายได้ทุกที่ทุกเวลา (เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ และคณะ, 2553, หน้า 11) ซึ่งเทคโนโลยีในปจั จุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทำให้ สร้างสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีการพัฒนาโทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน ให้ใช้งานง่ายและสะดวกขึ้น ทั้งในระบบ Android และ ios มีการรองรบั การใชง้ านตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นกล้องคณุ ภาพสงู รองรบั เครอื ข่าย 4G หรือแม้แต่ แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ มีการพัฒนาอยู่เสมอ และเป็นยุคที่สามารถซื้อสมารท์ โฟนที่มีรุ่นตัง้ แต่ถกู ที่สุดหลักพันถงึ แพงที่สุดหลักหมื่นทำให้ผู้บริโภคจับต้องได้ง่าย เลือกตามศักยภาพและกำลังของตนเอง ทั้งวัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ ต่างมีโทรศพั ทม์ อื ถอื ไวค้ รอบครอง จงึ สง่ ผลให้เครือขา่ ยสังคมออนไลน์มีการขยายตวั มากขน้ึ ตามไปด้วย ~ 197 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จาก ผลการวจิ ยั ไปเผยแพร่และนำขอ้ มลู ไปปรบั ใช้ในการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธิภาพยิง่ ขน้ึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา คณะครศุ าสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นปที ่ี 4 มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 2. เพอื่ ศึกษาผลกระทบและหาแนวทางแก้ไขจากการใชเ้ ครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุ ศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1 ประโยชนเ์ ชิงวิชาการ การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เพื่อเป็นการรับรู้พฤติกรรมการใช้ งานเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ซง่ึ จะนำไปสู่การใชอ้ ย่างถกู วิธแี ละได้ประโยชนส์ ูงสุด 2 ประโยชน์เชิงนโยบาย นำแนวทางในการแก้ไขจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เสนออาจารย์เพื่อนำไปสู่ การรณรงคก์ ารใชเ้ ครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ให้ได้ประโยชนส์ งู สุด สมมติฐานในการวจิ ยั 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณติ ศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ นา่ จะเกิดจากแอปพลิเคชัน 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณติ ศาสตร์ ช้นั ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ นา่ จะเกดิ จากโทรศพั ท์มือถอื 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ น่าจะเกิดจากความดึงดูดของเว็บไซต์ 4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ช้นั ปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ น่าจะเกิดจากอาจารย์ 5. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชัน้ ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ น่าจะเกิดจากกลมุ่ เพ่อื น ~ 198 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ขอบเขตการวจิ ยั 1. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยมุ่งเน้นศกึ ษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ภาคปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 2. ขอบเขตดา้ นประชากร กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 4 ภาคปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ 3. ขอบเขตด้านพ้ืนทแี่ ละระยะเวลา การวจิ ยั ในครงั้ น้ดี ำเนนิ การต้ังแต่เดือนมิถนุ ายนถึงเดือนตุลาคม 2564 วิธกี ารดำเนนิ การวจิ ัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครัง้ นีใ้ ช้การสุ่มจากจำนวนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ รวมท้ังสนิ้ จำนวน 55 คน กลุ่มตวั อย่าง ใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 48 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ตามการกำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอยา่ งของเครซ่ีและมอร์แกน เคร่อื งมอื ในการวิจยั เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม โดยผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อศึกษาเอกสารวิจัยที่ เกยี่ วขอ้ งและไดก้ ำหนดคำถามให้กับประชากรกล่มุ ตวั อยา่ งแล้วเปิดโอกาสให้ผตู้ อบได้อยา่ งเสรเี พือ่ ทราบข้อมูล ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับงานวิจยั ที่ตอ้ งการสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ส่วน สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นท่ี 2 ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการใช้เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ โดยผู้วิจัยออกแบบเป็นคำถามปลายเปิดซึ่งผู้ตอบ แบบสอบถามสามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งอิสระ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวิจัย ผู้วจิ ัยได้ดำเนนิ การและทำการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยมีลำดับข้นั ตอนดงั น้ี 1. ผวู้ จิ ัยทำแบบสอบถามจำนวน 48 ชุด 2. ขอความอนุเคราะห์จากนักศกึ ษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลัยราช ภฏั ชัยภมู ิ เพ่อื เข้าทำการเก็บแบบสอบถามจากกลุม่ ตวั อย่าง ~ 199 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ 3. นำแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์ เพื่อนำกรอกข้อมูลและคำนวณ โดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อทำสถิติการวิจัย หากข้อมูลในข้อแบบสอบถามใดไม่สมบูรณ์จะทำ การสอบถามเพิ่มเตมิ เพื่อให้ไดข้ อ้ มูลท่สี มบูรณ์ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ จิ ยั ไดท้ ำการวิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ ซ่งึ แยกวเิ คราะหต์ ามลำดบั ดงั น้ี 1. ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชน้ั ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ โดยการหาคา่ ร้อยละ 2. ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุ ศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ สรุปผลการวิจยั 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เกิดจากการเข้าถึงเครือข่ายสังคมผ่าน การชักชวนของกลุ่มเพื่อน การค้นหาข้อมูลหรือการใช้สื่อต่าง ๆ และเข้าถึงแอปพลิเคชันผ่านโทร ศัพท์มือถือ รวมไปถึงความดึงดูดของเว็บไซต์ที่ผู้พัฒนาเว็บสร้างขึ้นเพื่อเรียกยอดของผู้ใช้งาน อีกทั้งการใช้งานเมื่อเรียนภายในห้องเรียนแล้วไม่เข้าใจในเนื้อหาที่อาจารย์อธิบายจึงต้องศึกษาข้อมูลผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์เพม่ิ เตมิ 2. ผลกระทบและหาแนวทางแก้ไขจากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ช้ันปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิควรจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด และการเปิดใช้งานแอปพลิเคชันทางการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพในการใช้งาน เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น แอปพลิเคชัน Trainflix รวมไปถึงการพร้อมของอาจารย์ผู้สอน และสิ่งอำนวย ความสะดวกทางเทคโนโลยีภายในห้องเรียนเพื่อที่จะให้เรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้เต็มศักยภาพ และการปรบั ปรุงพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ ห้เข้าถึงและครอบคลุมในดา้ นเนื้อหาผา่ นเวบ็ ไซตท์ างมหาวิทยาลยั การอภปิ รายผล จากการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุ ศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ช้นั ปีที่ 4 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ สามารถอภิปรายผลไดด้ ังตอ่ ไปน้ี การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ ช้ันปที ่ี 4 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีทัศนคตเิ กี่ยวกับปัจจัย ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในด้านการชักชวนผ่านกลุ่มเพื่อน เนื่องจากการรู้จัก เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ผ่ากลุ่มเพ่ือนย่อมเป็นทยี่ อมรับและตอบสนองความต้องการได้ดีที่สุด อีกทั้งการเติบโต ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ในยุคปัจจุบันที่เติบโตอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามมี พฤติกรรมทป่ี รับเปล่ยี นและพัฒนาตนเพ่อื เปน้ ทย่ี อมรับในกลุ่มเพื่อนและสังคมของตน ~ 200 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ในปัจจุบันเป็นยุคของการใช้สื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทในการใช้ชีวิตประจำวันและการศึกษา มีการติดต่อสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันต่าง ๆ ผ่านสื่อสารสนเทศ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ส่วนตัว เว็บไซต์ต่าง ๆ เนื่องจากเครือข่ายสังคมออนไลน์ในปัจจุบันมีบทบาทและเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนา การศึกษาที่จัดระบบการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ ซึ่งตรงกับที่ บุปผชาติ หัฬหิกรณ์ และคณะ (2544, หน้า 34) กล่าวไว้ว่า การบริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตที่รู้จักกันและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง แยกออกเป้น ประเภท คือ บริการค้นคืนสารสนเทศ ได้แก่ การถ่ายโอนแฟ้มจากแหล่งข้อมูลที่เข้าถึงได้และการเรียกค้นใน ระบบเมนูท่นี ำข้อมูลตา่ ง ๆ มาจดั เรียงเป็นระดับของหวั ข้อ การโอนแฟม้ ผ่านโปรแกรมสำหรับการติดตอ่ ส่อื สาร ที่รวมทั้งการสนทนาและการส่งแฟ้มไว้ด้วยกัน การบริการสืบค้นสารสนเทศด้วยโปรแกรมค้นหาซึ่งมีอยู่ มากมาย เช่น Yahoo, Google เป็นต้น การบริการติดต่อสื่อสารเป็นบริการส่งข้อมูลให้แก่กันระหว่างบุคคล ได้แก่ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การติดต่อใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกล การใช้กระดานข่าว การ สนทนากับบุคคลหลายคนในเวลาเดียวกัน การสนทนาโดยการโทรศัพท์และการประชมุ ทางไกลผ่านเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ เป็นต้น ข้อเสนอแนะ 1 ขอ้ เสนอแนะการนำผลวจิ ยั ไปใช้ 1.1 ศึกษาปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่าเพศและระดับช้นั การศึกษา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เนื่องจากชี้ให้เห็นการเลือกใช้ รวมไปถึงบรรทัด ฐานทางสังคมรูปแบบใหม่ 1.2 ศึกษาข้อมูลเชิงลึกในส่วนของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ปที ี่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ มากนอ้ ยเพียงใด 1.3 ศึกษาปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อพฤติกรรมการใชเ้ ครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศกึ ษาคณะอ่ืน 2 ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครงั้ ต่อไป 2.1 ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาคณะอื่นร่วม ดว้ ย 2.2 ควรศกึ ษาปัจจยั ที่ส่งผลต่อพฤตกิ รรมการใชเ้ ครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ ในส่วนตวั แปรท่ีมลี กั ษณะเชิง ลกึ มากขนึ้ บรรณานุกรม เกศรา ช่งั ชวลิต.(2544).การแสวงหาขา่ วสาร การรับร้ปู ระโยชน์ และความพึงพอใจในการสื่อสาร ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ เพ่ือการเรียนรู้ของผใู้ ช้อินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพฯและ ปรมิ ณฑล.วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต.สาขาวชิ าการประชาสัมพนั ธ์ บณั ฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ~ 201 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ คณาจารยภ์ าควชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร.์ (2548).ทักษะการรู้สารสนเทศ. กรงุ เทพมหานคร.มหาวิทยาลยั ศรนี ครทิ รวิโรฒ. ชัชวนนั ท์ สนั ธเิ ดช.(2554).พฤตกิ รรมในการแสวงหาข้อมูล ความสามารในการใช้ และประโยชน์ท่ี ไดจ้ ากเทคโนโลยสี ารสนเทศของประชาชนที่เข้ารบั การอบรมหลักสตู ร คอมพิวเตอร์.วทิ ยานิพนธป์ ริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอื่ สารมวลชน ภาค วชิ าการส่ือสารมวลชน จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. เนตมิ า กมลเลศิ .(2549).ปัจจัยทสี่ ่งผลพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงคใ์ นการใช้อินเทอร์เน็ตของนักเรียน ชว่ งช้ันท่ี 4 โรงเรียนในเครอื คณะเซนตค์ าเบรียล เขตกรุงเทพมหานคร.วทิ ยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. นนทรฐั ไผเ่ จริญ.(2557).การศกึ ษาการใช้เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์(Social Network)เพอ่ื งานข่าว. การศกึ ษาเฉพาะบุคคลปรญิ ญามหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยเนชัน่ . น้ำทพิ ย์ วภิ าคิน.(2558).สรปุ ความหมาย เครือข่ายสงั คมออนไลน์. วารสารวิจัย สมาคมหอ้ งสมดุ ประเทศไทยฯ. ปารชิ าติ สถาปติ านนทแ์ ละคณะ.(2546).ส่ือสารกบั สังคมเครือขา่ ย.กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั ชุมชน ท้องถน่ิ พฒั นา. พบรัก แย้มฉิม.(2548).พฤติกรรมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศของนักศกึ ษาสถาบนั ราชภฏั สวน ดสุ ิต.วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ . พรทพิ ย์ พฒั นานสุ รณ์.(2546).การแสวงหาข่าวสารเกีย่ วกับประเด็นทางเพศของวัยรุ่นไทยท่ี นำเสนอผ่านทางอนิ เทอรเ์ นต็ .วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชานเิ ทศศาสตร์ พฒั นาการบัณฑติ วทิ ยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พระมหาสทุ ิตย์ อาภากโร.(2547)เครือขา่ ยธรรมชาติ ความรู้ และการจดั การ. กรงุ เทพมหานคร. โครงการเสรมิ สรา้ งการเรยี นรูเ้ พ่ือชมุ ชนเป็นสขุ . ยบุ ล เบ็ญจรงคกลุ .(2542).การวิเคราะหผ์ ูร้ บั สาร. กรุงเทพมหานคร: ที.ท.ี พริน้ ท.์ ยมุ ัยลา หลำสบุ .(2542).การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ เพื่อการศึกษาของนักศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. วทิ ยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี และการสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครทิ ร.์ ระวิ แก้วสกุ ใส.(2556). ทฤษฎกี ารใชป้ ระโยชน์และความพึงพอใจในการส่ือสาร.มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราชนนทบรุ .ี ศุภกั ษร สจุ ินพรหม.(2547).พฤติกรรมการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตของนกั ศกึ ษา และทัศนคติเกี่ยวกับอนิ เทอร์เนต็ ของนกั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั บรุ รี มั ย.์ วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตร บัณฑติ (เทคโนโลยกี ารศึกษา) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาต.ิ (2562).รายงานผลการสำรวจกลุ่มผ้ใู ช้อิน เทอรเ์ น็ตในประเทศไทย.กรงุ เทพมหานคร: ฝ่ายวิจัยกลยุทธ์และอุตสาหกรรม. ~ 202 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ และคณะ.(2553).เครือข่ายสงั คม(Socail Networking) ท่ีนกั การตลาด ต้องเรยี นรู้.กรุงเทพมหานคร. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาต.ิ (2553).ICT for Education นโยบายและยุทธศาสตร์ การพฒั นาเทคโนลีสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาของประเทศไทย.กรงุ เทพมหานคร: พิมพด์ ี จำกัด. สำนักงานสถติ แิ ห่งชาติ.(2553).ข้อมูลการใช้อินเทอร์เนต็ . กรงุ เทพมหานคร. สพุ รรณิกา ธีรพงศากร.(2551).พฤติกรรมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา ในสถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐ.วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพ้นื ฐานทางการศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. สรุ ศกั ด์ิ หลาบมาลา.(2545).เทคโนโลยกี ารเรียนรูข้ องไทยในปี 2553.กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. อมิกา เหมมินทร์.(2556).พฤตกิ รรมการใชแ้ ละความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ผลท่ไี ด้จากการใชเ้ ครือขา่ ย สงั คมออนไลน.์ องอาจ ฤทธ์ทิ องพิทกั ษ.์ (2548).พฤตกิ รรมการส่ือสารผา่ นระบบเวิลดไ์ วล์เว็บของนกั ศกึ ษาในเขต กรุงเทพมหานคร.วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควิชาการส่อื สารมวลชน คณะนเิ ทศ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อรรถยา เลวจิ นั ทร์.(2549).ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ พฤติกรรมการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตของนกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี และนักศกึ ษาปริญญาโท ในเขตกรงุ เทพมหานคร.การศึกษาตามหลกั สูตรปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี คริทรวิโรฒ. ~ 203 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ ประวตั ิความเปน็ มาของหมบู่ ้านหนองบวั น้อย หมทู่ ี่ 9 ตำบลบ้านเดอ่ื อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวัดชัยภมู ิ เฉลิมราช เสมาเพชร1 บทคดั ย่อ บ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 9 เป็นหมู่บ้านหนึ่งของตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ชาวบ้านได้ลงความเห็นกันว่า บ้านหนองบัวน้อยเป็นหมู่บ้านที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานและสืบเนื่องกันมา ต้งั แต่รุ่นสู่รนุ่ และเล่าต่อๆกันมาตั้งแต่อดีตจนถงึ ปจั จุบัน แตเ่ ดมิ ตัง้ ถิ่นฐานอยู่ทีบ่ ้านกุด หรือ (โรงเรียนบ้านเด่ือ วิทยาคมในปัจจบุ ัน) ต่อมานายขลู ู ขดภูเขียว กับพรรคพวกจำนวน 6 มี นายลอด นายขูลู นายจูม นายอมุ นาย เต็ง และนายคำแก้ว ไดน้ ำวัวควายมาเลีย้ งบริเวณสระนำ้ ซ่ึงมีน้ำเตม็ ตลอดปีกับทง้ั มดี อกบัวนาๆพนั ธ์ุอย่เู ต็มสระ มสี องสระติดกัน และได้ทำการสำรวจพ้ืนที่บริเวณโดยรอบๆมีความอุดมสมบูรณ์ จึงไดป้ รกึ ษากันอพยพมาจาก บ้านกุดมาอยู่ท่ีบรเิ วณรอบๆสระบัวจำนวน ครอบครวั ได้ก่อตัง้ หมบู่ ้าน พร้อมกบั ต้ังชื่อหมู่บ้านว่าบ้านหนองบัว นอ้ ย พ.ศ.2478 มนี ายขูลู ขดภูเขยี ว เปน็ ผใู้ หญ่บา้ นคนแรก ต่อจากน้ันชาวบ้านในบ้านกดุ ก็อพยพตามจนหมด ทำใหบ้ ้านกุดบ้านร้างไม่มีคนอยู่อาศัยต่อมาภายหลังได้จัดตั้งโรงเรียนบา้ นเด่ือวทิ ยาคมข้ึนบริเวณน้ันแล้วตั้งช่ือ หมู่บา้ นว่าบา้ นเดือ่ ตอ่ มาในสมัยของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธ์ิ ปราโมช เปน็ นายกรฐั มนตรี พ.ศ.2518 ได้มีการขุด ลอกสระหนองบัวจากสองสระให้เป็นสระเดียวพร้อมกับจัดตั้งศาลปู่ตาหมู่บ้าน โดยนายเหลี่ยม ป้อมอุ่นเรือน เป็นประธานจัดตั้งต่อมา พ.ศ.2529 จำนวนประชากรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทำให้การปกครองยาก จึงแยก หมู่บ้านออกเป็นหมู่ที่ 14ชื่อบ้านหนองบัวพัฒนา อยู่ทางทิศตะวันออก พ.ศ.2534 แยกเป็นหมู่ที่ 15 ชื่อบ้าน หนองบัว อย่ทู างทิศใต้ และแยกเป็นหมู่ท่ี 19 พ.ศ2539 อยูท่ างทิศเหนอื บา้ นหนองบัวน้อย หมู่ที่ 9 ตำบลบ้าน เดอื่ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวัดชัยภูมิมจี ำนวน 267 ครวั เรือน ประชากร 534 คน มวี ัด 1 วัดช่ือวดั สระแก้ว มีศาลากลางบา้ น(SML)1 แห่ง ศูนย์ศาลาประชาคม 1แห่ง ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน 1 แห่งมีแหลง่ น้ำธรรมชาตอิ ยู่ 2 แห่ง คือสระหนองบัว และสระหนองปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนเนินสูงไม่เคยมีประวัติน้ำท่วมขัง พื้นท่ี ส่วนใหญ่เป็นท่ีไร่นาดอน อาศยั น้ำฝน และนำ้ บาดาล ดินสว่ นใหญเ่ ป็นดินรว่ นปนทราย ภูมิอากาศคอ่ นข้างร้อน และร้อนมากในฤดูร้อน ชาวบ้านมีอาชีพทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ พืชที่ปลูก ข้าวนาปี มันสำปะหลัง ปลูกอ้อย อ่นื ๆ ปศสุ ตั ว์ วัว ควาย หมู เปด็ ไก่ ปลา หนนู า ปูนา อื่นฯ คำสำคญั : ประวตั ิความเปน็ มา , ปจั จยั การต้งั ถิ่นฐาน , สภาพชวี ิตความเปน็ อยู่ 1 นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ correspondingauthor, E-mail: [email protected] ~ 204 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ History of Nong Bua Noi Village, Village No. 9, Ban Dua Subdistrict Kasetsomboon District Chaiyaphum Province Abstract Ban Nong Bua Noi, Village No. 9, is a village in Ban Dua Subdistrict. Kasetsomboon District Chaiyaphum Province The villagers agreed that Ban Nong Bua is a village that has a long history and has been passed down from generation to generation and has been passed down from the past to the present. Originally, they settled in Ban Kut or (currently Ban Dua Wittayakom School). Later, Mr. Khu Lu Khod Phu Khieo and his group of 6, including Mr. Lod, Mr. Khu Lu, Mr. Joom, Mr. Um, Mr. Teng and Mr. Khamkaew, brought cattle. Come to feed the pond area which is full of water all year round and there are many lotus species in the pool. There are two pools next to each other. And have surveyed the surrounding area that is fertile therefore consulted to migrate from Ban Kut to live in the area around the lotus pond. 6 families have established a village Along with naming the village Ban Nong Bua Noi in 1935, Mr. Khu Lu Khod Phu Khiao was the first village headman. Subsequently, the villagers in Ban Kut were all gone, causing Ban Kut to be abandoned and uninhabited. Later, Ban Dua Wittayakhom School was established in that area and named the village Ban Dua. Later, in the reign of Mom Rajawongse Kukrit Pramoj as Prime Minister, in 1975, the Nong Bua pond was dug out from two ponds into one pool, along with the establishment of the Village Grandfather Shrine. by Mr. Liam warm fort was established in 1986 as the president, the number of population has increased, making it difficult to govern Therefore, the village was divided into 14 villages named Ban Nong Bua Phatthana. In the east, 1991, divided into 15 villages named Ban Nong Bua. in the south and split into 19 groups in 1996 in the north Ban Nong Bua Noi, Village No. 9, Ban Dua Subdistrict Kasetsomboon District Chaiyaphum Province has 267 households with a population of 534 people. There is one temple named Wat Sa Kaeo. There is a town hall (SML) 1 place, 1 community hall center, 1 village headman's office, 2 natural water sources, Nong Bua pond. and Nong Pladuk pond It is a village located on a high hill that has never had a history of flooding. Most of the area is paddy fields and relies on rainwater and groundwater. Most of the soil is sandy loam. The climate is subtropical and very hot in summer. The villagers have a career in farming, farming, ~ 205 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ raising animals, crops grown, rice, cassava, sugarcane planting, other livestock, cattle, buffaloes, pigs, ducks, chickens, fish, rice rats, crabs, etc. Keyword: History , settlement factor , iving conditions ~ 206 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ บทนำ ตั้งเป็นหมู่บ้านเมื่อ พ.ศ.2478 จัดตั้งชื่อหมู่บ้านตามสระหนองบัว ซึ่งในสมัยนั้นเป็นสระสองสระอยู่ ติดกันซง่ึ มีนำ้ เต็มตลอดปี แต่เดิมตั้งถน่ิ ฐานอย่ทู ี่บ้านกดุ หรอื (โรงเรียนบา้ นเด่อื วทิ ยาคมในปัจจบุ ัน) ต่อมานาย ขูลู ขดภูเขียว กับพรรคพวกจำนวน 6 มี นายลอด นายขูลู นายจูม นายอุม นายเต็ง และนายคำแก้ว ได้นำวัว ควายมาเลี้ยงบริเวณสระน้ำซึ่งมีน้ำเต็มตลอดปีกับทัง้ มีดอกบัวนาๆพันธุ์อยู่เต็มสระมีสองสระติดกัน และได้ทำ การสำรวจพื้นที่บริเวณโดยรอบๆมีความอุดมสมบูรณ์ จึงได้ปรึกษากันอพยพมาจากบ้านกุดมาอยู่ที่บริเวณ รอบๆสระบัวจำนวน 6ครอบครัว มีนายขูลู ขดภูเขียว เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ต่อจากนั้นชาวบ้านในบ้านกุด ก็อพยบตามจนหมดทำใหบ้ ้านกุดบ้านร้างไม่มีคนอยู่อาศัยต่อมาภายหลังได้จัดตั้งโรงเรียนบ้านเดื่อวทิ ยาคมขึ้น บริเวณนั้นแล้วตั้งชื่อหมู่บ้านว่าบ้านเดื่อ ต่อมาในสมัยของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2518 ได้มีการขุดลอกสระหนองบัวจากสองสระให้เปน็ สระเดียวพร้อมกับจัดตั้งศาลปู่ตาหมู่บ้าน โดยนาย เหลี่ยม ป้อมอุ่นเรือน เป็นประธานจัดตั้งต่อมา พ.ศ.2529 จำนวนประชากรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทำให้การ ปกครองยาก จึงแยกหมู่บ้านออกเป็นหมู่ที่ 14 ชื่อบ้านหนองบัวพัฒนา อยู่ทางทิศตะวันออก พ.ศ.2534 แยก เป็นหมู่ที่ 15 ชื่อบ้านหนองบัว อยู่ทางทิศใต้ และแยกเป็นหมู่ที่ 19 พ.ศ2539 อยู่ทางทิศเหนือบ้านหนองบัว นอ้ ย หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านเด่อื อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวดั ชยั ภมู ิ มจี ำนวน 267 ครัวเรือน ประชากร 534 คน มีวัด 1 วัดชื่อวัดสระแก้ว มีศาลากลางบ้าน(SML)1 แห่ง ศูนย์ศาลาประชาคม 1 แห่ง ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน 1 แห่งมีแหล่งน้ำธรรมชาติอยู่ 2 แห่ง คือสระหนองบัว และสระหนองปลาดุก เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนเนินสูงไม่ เคยมีประวตั ิน้ำทว่ มขัง พ้ืนท่สี ่วนใหญ่เป็นท่ีไร่นาดอน อาศัยนำ้ ฝน และนำ้ บาดาล ดนิ ส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปน ทราย ภูมิอากาศค่อนขา้ งร้อนและร้อนมากในฤดรู ้อน ชาวบา้ นมีอาชพี ทำไร่ ทำนา เลีย้ งสัตว์ พชื ท่ปี ลกู ข้าวนา ปี มันสำปะหลัง ปลูกอ้อย อื่นๆ ปศุสัตว์ วัว ควาย หมู เป็ด ไก่ ปลา หนูนา ปูนา อื่นฯ บ้านหนองบัวจึงมี 4 หมบู่ ้านจนถงึ ปัจจบุ นั วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 1.เพอื่ ศกึ ษาประวตั ิความเป็นมาของหมบู่ า้ นหนองบวั นอ้ ย หมทู่ ่ี 9 ตำบลบ้านเด่ือ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวดั ชัยภมู ิ 2.เพอื่ ศกึ ษาปัจจัยการต้ังถิน่ ฐานของบ้านหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบ้านเดอื่ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ 3.เพ่อื ศกึ ษาสภาพความเป็นอยูข่ องชาวบา้ น บ้านหนองบวั น้อย หมูท่ ่ี 9 ตำบลบ้านเด่ือ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวัดชัยภมู ิ ประโยชนข์ องการวจิ ัย 1.ทราบถงึ ประวตั ิความเปน็ มาของหมบู่ า้ นหนองบัวน้อย หมู่ที่ 9 ตำบลบา้ นเด่ือ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวดั ชัยภมู ิ ~ 207 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ 2.ทราบถงึ ปัจจัยการตั้งถนิ่ ฐานของบา้ นหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบ้านเดือ่ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวัดชยั ภมู ิ 3.ทราบถงึ สภาพความเปน็ อยู่ของชาวบ้าน บา้ นหนองบวั น้อย หมทู่ ี่ 9 ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวัดชัยภมู ิ สมมตฐิ านของการวจิ ัย 1.บา้ นหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 อาจจะเป็นหมู่บ้านเก่าแก่มปี ระวัตคิ วามเปน็ มายาวนานกวา่ หลายร้อยปี 2.ชาวบ้านอาจจะเปน็ ผู้คนท่ีอพยพมาจากทีอ่ ื่น 3.ชาวบา้ นอาจจะมาอาศยั เพราะตอ้ งการพืน้ ทเี่ พอื่ อยู่อาศัยและทำการเกษตร ขอบเขตของการวิจยั 1.ขอบเขตดา้ นพื้นท่ขี องการศึกษา -บ้านหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบา้ นเด่ือ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวัดชัยภูมิ 2.ขอบเขตดา้ นเน้ือหาของการศึกษา -ประวตั ิความเป็นมาของหมู่บ้านหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบ้านเด่ือ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวดั ชยั ภูมิ 3.ขอบเขตดา้ นประชากร -ประชากรที่มีอายุ 50-80 ปที ้ังหมด 50 คน -ประชากรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 45 คน 4.ขอบเขตดา้ นระยะเวลา -ระยะเวลาท่ีใชท้ ำการวจิ ัยตัง้ แต่ พฤษภาคม พ.ศ.2564 - ถึง มถิ ุนายน พ.ศ.2564 วธิ ีดำเนินการวิจัย 1. รูปแบบของการวิจยั การวิจัยเรื่อง “ประวัติความเป็นมาบ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัด ชัยภูมิ” ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Method) โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research ) ซึง่ เป็นการวจิ ยั แบบสำรวจ และการวิจัยเชิงคณุ ภาพ (Quantitative Research ) โดยเป็นการศึกษาข้อมูลการสัมภาษณเ์ จาะลึก (In-depth Interview) เป็นวิธีในการเก็บข้อมลู เนื่องจาก เป็นวิจัยที่ศึกษาประวัติความเป็นมา ปัจจัยการั้งถิ่นฐานและสภาพชีวิตความเป็นอยุ่ของผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัย สามารถค้นหาและรวบรวมความรู้เชิงลึกตามประเดน็ ทตี่ ้องศึกษาไดอ้ ย่างลกึ ซึ้ง 2. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ~ 208 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรในชุมชนบ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านเด่ือ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ที่มีอายุ 50-80 ปีทั้งหมดจำนวน 50 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง และสุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 44 คน โดยได้กำหนดขนาดตัวอย่างของกลุ่มประชากรตามแบบเครซี่ (Krejcie) และมอแ์ กน (Morgan) 3. ข้นั ตอนการสร้างเคร่อื งมือในการวิจัย 3.1 ผู้วิจัยได้เตรียมการด้านความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิด และจากเอกสารต่างๆโดยเฉพาะงานวิจัยที่มาก่อน หน้านี้ 3.2 ผู้วิจัยได้เตรียมความรู้ด้านระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ จรรยาบรรณของนักวิจัย วิธีการ เก็บรวบรวมขอ้ มลู และวธิ กี ารวิเคราะหข์ อ้ มลู จากตำรา และขอคำปรกึ ษาจากอาจารย์ท่ปี รึกษาเพื่อให้เข้าใจใน ระเบยี บวธิ วี จิ ยั อนั จะนำไปสูก่ ารศกึ ษาทถ่ี กู ต้องและครอบคลุมประเดน็ ทีต่ อ้ งการศึกษาให้มากทีส่ ุด 3.3 แนบคำถามในการสอบถาม และสัมภาษณ์ เป็นเคร่ืองมือท่ผี วู้ ิจัยสร้างข้ึนเองโดยการศึกษาประเด็นคำถาม จากการทบทวนวรรณกรรมและแนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง โดยสรา้ งเปน็ คำถามให้มกี ารครอบคลุมตามขอบเขต ของการวิจัยอันเปน็ สิง่ ทีต่ อ้ งศึกษาเพือ่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตัง้ เอาไว้มี ลักษณะของแบบสอบถาม มีลักษณะ ปลายปิด และปลายเปดิ แบง่ ออกเป็น 2 ตอนได้แก่ -ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา อาชีพ รายได้ของ ชาวบ้านหนองบัวนอ้ ย หมูท่ ่ี 9 ตำบลบ้านเดอ่ื อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวดั ชัยภูมิ -ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถาม ความเป็นมา ปัจจัยการตั้งถิ่นฐาน และสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้าน หนองบวั น้อย หมทู่ ี่ 9 ตำบลบ้านเด่อื อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวดั ชยั ภูมิ 4. วิธเี ข้าถึงข้อมลู และการเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจยั ได้แบ่งการเข้าถึงข้อมูลและการรวบรวมข้อมูลเป็น 2 ส่วนคือ การเก็บรวบรมข้อมูลด้าน เอกสาร (Review Data) และการเก็บรวบรวมขอ้ มูลแบบภาคสนาม (Field Data) 1. การเกบ็ รวบรมขอ้ มลู ด้านเอกสาร (Review Data) - ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ศึกษาจากตำรา เอกสาร บทความ ทฤษฏี หลักการและงานวิจัยท่ี เก่ยี วข้อง เพื่อำหนดขอบเขตของการวิจัยและสร้างเครอื่ งมอื วิจยั ใหค้ รอบคลมุ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั -ข้อมูลปฐมภมู ิ (Primary Data) ศึกษาวิธีการสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารงานวจิ ัย เพ่อื กำหนดขอบเขตและ เนือ้ หา จะได้มีความชดั เจนตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบภาคสนาม ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depthInterview) เพื่อเปิดเผยแรงจูงใจ ความเชื่อ ทัศนคติ ของผู้ตอบ โดยเตรียมคำถามกึ่งโครงสร้างลักษณะการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ โดยการกำหนดคำถาม ออกเปน็ ประเดน็ ใหค้ รอบคลมุ และสอดคล้องกบั เรือ่ งท่ที ำวจิ ยั กอ่ นเร่ิมการทำการแจกสอบถาม และสอบสมั ภาษณ์ ผ้วู จิ ัยได้ใชว้ ธิ ีการสมุ่ เพอ่ื แจกแบบสอบถาม เกีย่ วกบั เปน็ แบบสอบสัมภาษณป์ ระวัตคิ วามเป็นมา ปจั จัยการต้งั ถิ่นฐาน และสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้าน บ้านหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบา้ นเด่อื อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวดั ชยั ภูมิ ~ 209 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ความเช่ือถือได้ของเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั หลังจากที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว ได้นำมาตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้ครบถ้วนทั้งด้านความ เท่ียงตรงและความเช่อื มั่นของขอ้ มลู ดังน้ี 1. ผู้สมั ภาษณ์สรา้ งความสัมพันธ์อนั ดีต่อผู้ใหส้ ัมภาษณ์เพ่ือใหเ้ กดิ ความไวว้ างใจในตวั ผู้วจิ ัย ซ่ึงจะมีผลต่อความ ถกู ต้องและแม่นยำของขอมูล ซ่งึ เปน็ ข้อมูลที่ได้จากการเกบ็ รวบรวมภาคสนามด้วยวธิ ีการสังเกต การสัมภาษณ์ ควรที่จะมคี วามถกู ต้อง แมน่ ยำและเท่ียงตรงท่สี ุด ไมมีการบดิ เบือนไปจากความเปน็ จรงิ 2. การยืนยันความถูกต้องต้องของข้อมูล โดยการนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ จดบันทึกอย่างละเอียดและ อธิบายอย่างชัดเจนนำกลับไปให้ผู้สัมภาษณ์ยืนยันความถูกต้องของข้อมูล พิจารณาข้อมูลเป็นตรงตรงกับ ความรสู้ ึกของผใู้ ห้สมั ภาษณห์ รอื ไม่ 3. ตรวจสอบความไวว้ างใจไดข้ องข้อมลู โดยการนำข้อมูลไปตรวจสอบกับอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยเพ่ือยืนยัน ความถกู ต้องตามวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการศึกษา 4. ความสารถในการนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ โดยการเขียนระเบียบวิธีการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและ บริบทที่ต้องการศึกษาอย่างชัดเจน เพื่อเป็นการเพิ่มความน่าเชื่อถือของการวิจัยที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ใน บรบิ ทที่ใกลเ้ คียงกัน 5. การยืนยันผลการวิจัย โดยการที่ผู้วิจัยจะเก็บเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกังงานวิจัยไว้เป็นอย่างดี พร้อม สำหรับการตรวจสอบ เพ่อื ยนื ยันวา่ ขอ้ มูลท่ไี ดไ้ ม่มีความลำเอียงหรือเกิดจากการคิดขึน้ ของผูว้ จิ ยั เอง การวเิ คราะห์ข้อมลู 1.นำข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสอบถาม จำนวน 44 ชดุ มาวิเคราะหค์ วามถ่ี และหาค่าร้อยละโดยใช้โปรแกรม สำเรจ็ รปู คอื สถานภาพทวั่ ไป ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ วฒุ กิ ารศึกษา อาชีพ รายได้ของชาวบ้าน บ้านหนอง บวั น้อย หม่ทู ี่ 9 ตำบลบ้านเดอื่ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวัดชยั ภูมิ 2.เขียนบรรยายส่งิ ที่ค้นพบอยา่ งละเอียดและชัดเจน โดยจะไม่มีการนำทฤษฏีไปควบคุมปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งยกตัวอย่างคำพูดประกอบหลักความสำคัญที่ได้ เพื่อแสดงความชัดเจนของปรากฏการณ์ที่ เกดิ ขน้ึ ระยะเวลาในการวิจยั การวิจัยครง้ั นดี้ ำเนินการณร์ ะหว่างเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 – มิถนุ ายน พ.ศ.2564 สรุปผลการวิจัย สมมติฐานขอ้ ที่ 1.บ้านหนองบัวน้อย หมู่ท่ี 9 ตำบลบ้านเด่ือ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวัดชยั ภูมิ เร่มิ กอ่ ตงั้ เป็นตำบลหมู่บ้านเมื่อปี พ.ศ.2478 ปัจจุบนั เป็นเวลา 86 ปี สรปุ สมมตฐิ านข้อที่ 1 เปน็ ไปตาม สมมติฐาน ~ 210 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ สมมติฐานข้อที่ 2. เมือ่ ปี พ.ศ.2478 มีคนอพยพมาจากบ้านกุด (บา้ นเด่ือดอนกลางในปจั จุบนั ) คอื นายขูลู กบั พรรคพวกประมาณ 6 ครอบครัว ได้พักอยู่บริเวณรอบๆสระหนองบัว และได้ก่อตัง้ หมบู่ า้ นขน้ึ สรุป สมมติฐานขอ้ ที่ 2 เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานขอ้ ที่ 3. เม่ือปี พ.ศ.2479 มีชาวบ้านหนองบัวน้อย จำนวน 7 ครวั เรอื นมอี าชีพทำนา และมี พ้นื ที่นา อยู่ห่างออก ไปจากหมบู่ ้าน จึงอพยพมาอยู่ตามท่นี าและได้มองเห็นแหลง่ นำ้ ซึ่งเป็นหนองน้ำที่ใชด้ มื่ กนิ ได้ตลอดปี ตอ่ มาเพื่อนบ้านอพยพตามมาเพิม่ จำนวนขน้ึ ตามลำดบั ชาวบ้านท่ีมาอาศยั เพราะต้องการพืน้ ที่ เพือ่ ทำการเกษตร สรุปสมมติฐาน ข้อที่ 3 เปน็ ไปตามสมมติฐาน การอภปิ รายผล จากการสำรวจกลุ่มประชากรจำนวน 44 คน เพศของกลุ่มประชากรเพศชาย จำนวน 22 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 50% เพศหญงิ จำนวน 22 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50% อายุของกลมุ่ ประชากร อายุ 41-55 ปี จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 40.9% อายุ 56-70 ปี จำนวน 14 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.8 % อายุ 71 ปีขึ้นไป จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.3% สถานภาพของกลุ่มประชากร โสด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5% สมรส จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 63.6% หม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 31.8% การศึกษาของกลุ่มประชากรไม่ได้เรยี น จำนวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.0%ประถมศึกษา จำนวน 5 คน คิด เป็นร้อยละ 11.4% มัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.6% มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6.8% ปริญญาตรีขึ้นไปจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2% อาชีพของกลุ่ม ประชากร รับราการ/พนกั งานรัฐวิสาหกจิ จำวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.2% พนักงานบรษิ ทั เอกชนจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.1%ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.6% ค้าขาย/อาชีพอิสระ จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.9% อ่นื ๆ(ทำไร่ ทำนา ทำสวน) จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 43.2% รายได้ ของกลุ่มประชากร รายได้ 10,000 บาทลงมาจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 70.5% รายได้ 10,001-20,000 บาท จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 15.9% รายได้ 20,001-30,000 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นเป็นร้อยละ 9.1%รายได้ 30,000 ขึน้ ไป จำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.5% ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้ การศึกษาประวัตคิ วามเปน็ มาของบา้ นหนองบวั น้อย หมู่ที่ 9 ตำบลบา้ นเดอื่ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวัด ชัยภูมิ สมารถนำไปใช้ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ของหมบู่ ้านตลอดจน ผู้ทีส่ นใจไดน้ ำไปเป็นขอ้ มลู ในการศกึ ษา ต่อไป 2. ข้อเสนอแนะการวจิ ยั คร้ังต่อไป การศกึ ษาประวตั คิ วามเป็นมาของบ้านหนองบวั น้อย หมูท่ ่ี 9 ตำบลบา้ นเดือ่ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จงั หวัด ชัยภูมิ ครงั้ ตอ่ ไปควรมีการศึกษาวฒั นธรรมของหมบู่ ้าน และคนในหมบู่ ้านนบั ถือศาสนาใดบ้าง โดยอาจขยาย ~ 211 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ พื้นท่ีในการศึกษา เชน่ การสง่ เสรมิ ประวัติศาสตรข์ องหมู่บา้ นเชิงวัฒนธรรมในหม่บู า้ น ซงึ่ ทำใหเ้ กิดการพัฒนา สง่ เสรมิ วัฒนธรรมและประวตั ิศาสตร์ของบา้ นหนองบวั นอ้ ยให้ชัดเจนย่งิ ข้ึนและเป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป บรรณานุกรม กระทรวงการต่างประเทศ ( แปล ) .2535 . แผนปฏบิ ตั ิการ ๒๑ เพ่อื การพฒั นาอย่างยงั่ ยนื ( แปล จาก AGENDA 21 ) .กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการต่างประเทศ , 73. งามพิศ สัตย์สงวน. 2542 . การวิจยั ทางมนษุ ย์วทิ ยา . กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,36. ฉัตรทพิ ยน์ าถสุภา. 2544. แนวคิดเศรษฐกจิ ชุมชนข้อเสนอทางทฤษฎใี นบรบิ ททางสงั คม . กรุงเทพมหานคร : สถาบันวถิ ีทัศน์ , 42 . ชนศิ า กลอ่ มทอง . 2559 . เรื่องประวตั ิศาสตร์ชุมชนเมอื งพนุ นิ . กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ ชเนตตี จาตรุ นต์รศั มี . 2561 . ภูมิวัฒนธรรมกับแนวทางการอนุรักษว์ ิถีชีวติ ริมครองขา้ วเมา่ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา . พระนครศรอี ยธุ ยา : ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา . ธดิ า สาระยา . 2525 . ประวตั ศิ าสตรท์ ้องถ่นิ . กรุงเทพมหานคร : เมืองโบราณ , 26-28นธิ ิ เอียวศรวี งศ์ . 2527 . “ ประวัติศาสตร์และการวจิ ัยทางประวัตศิ าสตร์ ” . ปรัชญประวัตศิ าสตร์. ชาญ วทิ ย์ เกษตรศริ ิ และสุชาติ สวสั ดศิ์ รี , บรรณาธกิ าร. กรุงเทพมหานคร: นราวลั ย์ พลู พพิ ัฒน์ . 2557 . การศกึ ษา ความหมายและคณุ ค่าของภูมินามจากตำนานพน้ื บา้ นใน ชุมชนอำเภอแม่ทาจังหวัดลำพูน . เชียงใหม่ : ราชภฏั เชียงใหม่ . “ พยพั แดด ” ( นามแฝง ) . 2528 ปรัชญาและแนวคดิ การศึกษาศานตกิ ิเกตนั แนวคดิ การศึกษาท่ีแสดงออก ถึงวญิ ญาณแทจ้ รงิ ของมนุษย์ . กรุงเทพมหานคร : ฉับแกะ, 107 – 109 . พรชยั ปรชี าปญั ญา . 2544 . ภูมปิ ัญญาพ้นื บา้ นเก่ียวกบั ระบบนเิ วศวนเกษตรแหลง่ ต้นน้ำลำธารใน ภาคเหนอื . เชยี งใหม่ : หจก.ธนบรรณการพิมพ์ , 15 . พมิ พ์อมุ า ธญั ธนกลุ . 2558. ประวัติศาสตรช์ มุ ชนบา้ นสนั คู อำเภอเมือง จงั หวดั นครสวรรค์ . นครสวรรค์ : ราชภฏั นครสวรรค์ . ระพี สาคริก . 2547 . “ คำกล่าวเปิดงาน ” . สานสรรคค์ วามรูส้ ู่เกษตรยั่งยืน . กรงุ เทพมหานคร : เกษตรกรรมย่ังยืน ( ประเทศไทย ) , 10 -11 . วิฑูรย์ ปัญญากุล ( แปล ) . 2547 . เกษตรยง่ั ยืน วิถีการเกษตรเพ่ืออนาคต . กรงุ เทพมหานคร : มลู นิธิสายใยแผน่ ดิน , 153 ~ 212 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ สนิท สมัครการ . 2518 . วธิ ีการศกึ ษาสังคมมนษุ ย์กับตวั แบบสำหรับการศึกษาสังคมไทย . กรุงเทพมหานคร : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย , 77 . สาโรช บวั ศรี . 2535 . “ ปรชั ญาการศกึ ษาตามแนวพทุ ธธรรม ”. สารานุกรมศึกษาศาสตร์ . กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ , 443 – 444 . ~ 213 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองของผสู้ งู อายุ บ้านใหมแ่ สนสขุ หมู่8 ตำบลกุดพมิ าน อำเภอดา่ นขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ภัสรา พบื ขุนทด (Patsara Phuekhunthod)1 บทคดั ย่อ งานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสมี า มีวตั ถปุ ระสงค์ 1.เพ่อื ศกึ ษาปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา และ2.เพื่อ ศึกษาปัญหาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ และหาแนวทางแก้ไขของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่ 8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสมี า กระบวนการสังเกตและสมั ภาษณ์ชาวบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพมิ าน อำเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสีมา มีความรเู้ ก่ียวกับการดูแลสขุ ภาพตนเองเป็นอย่าง มาก และนำข้อมูลองค์ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่ 8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยโดยใช้วิธีการค้นคว้า ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ชาวบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 97 คน โดยสรุปได้ว่าพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุด พิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา คือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผ้สู ูงอายุโดยพบวา่ ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองของผ้สู งู อายคุ ือ เกดิ จากอายทุ เ่ี ยอะข้ึนเลย ทำให้หันมาดูแลตนเองออกกำลังกาย และรับประทานอาหาร สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม พักผ่อนที่เพียงพอ ดแู ลตนเองด้านอารมณเ์ พราะวัยผู้สูงอายุน้ันเปน็ วัยท่ดี ูแลเอาใจใส่และระมัดระวังเรื่องโรคประจำตัว ปัญหาใน การดแู ลสุขภาพตนเองของผสู้ งู อายุ และหาแนวทางแก้ไขของ ปญั หาในการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผู้สูงอายุคือ เร่ืองโรคประจำตวั ร่างกายไมแ่ ขง็ แรง อายเุ ยอะขน้ึ การลุกเดนิ ลำบาก และแนวทางแก้ไขคือ ตอ้ งมคี นดูแลเอา ใจใส่ ช่วยหยิบจบั ส่งิ ของเวลาต้องการ และกนิ ยาใหต้ รงตามที่แพทยส์ ่ัง เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบ สัมภาษณ์ ใชใ้ นการสมั ภาษณ์ชาวบ้านใหมแ่ สนสุข หมู่8 ตำบลกดุ พิมาน อำเภอด่านขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า โดยใช้โปรแกรมคำนวณ SPSS คำนวณข้อมูลดว้ ยโปรแกรมทางสถติ ิการวเิ คราะหข์ ้อมูลใชส้ ถติ ิค่าร้อยละเฉล่ยี คำสำคญั : พฤติกรรม,ผ้สู ูงอายุ,สุขภาพ 1 นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ correspondingauthor, E-mail: [email protected] ~ 214 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ Self-Care Behavior of the elderly at Ban Mai Saensuk Village,Village No. 8, kut Phiman sub- district, Dankhun Thot District Nakhon Ratchasima Province. Abstract Research on self- care behaviors of the elderly at Ban Mai Saen Suk Village, Moo 8 , Kutpiman Sub- district, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province have a purpose 1. To study the factors affecting self-care behaviors of the elderly at Ban Mai Saen Suk Village, Village No. 8, Kutpiman Sub-district, Dan Khun Thot District. Nakhon Ratchasima Province and 2. to study problems in self-care of the elderly and find solutions for the elderly in Ban Mai Saen Suk Village, Village No. 8 , Kut Phiman Sub- district, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province The process of observing and interviewing the villagers of Mai Saen Suk, Village No. 8 , Kut Phiman Subdistrict, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province They have a lot of knowledge about self-care. and used the body of knowledge about self- care behaviors of the elderly at Ban Mai Saen Suk Village, Village No. 8, Kutpiman Sub-district, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province This research was a research by using data from interviews with Mai Saen Suk villagers, Village No. 8 , Kut Phiman Sub- district, Dan Khun Thot District. In conclusion, the self-care behaviors of the elderly at Ban Mai Saen Suk Village, Village No. 8 , Kutpiman Sub- district, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province was the factors affecting the self-care behavior of the elderly. It was found that the factors affecting the self-care behavior of the elderly were Caused by an older age, so turned to take care of yourself and exercise. and eating Hygiene and environment enough rest Take care of yourself emotionally because the elderly are the age that takes care and is careful about underlying diseases. Problems in caring for the elderly's self- care and find solutions for Problems in caring for the elderly's self-care is about congenital disease The body is not strong, old age, difficult to get up and walk. and the solution is need someone to take care of Help pick up things when you need them. and take medication exactly as prescribed by the doctor The tool used to collect data was the interview form. Used to interview the villagers of Mai Saen Suk, Village No. 8, Kut Phiman Subdistrict, Dan Khun Thot District Nakhon Ratchasima Province Using the SPSS computation program, the data were calculated with a statistical program. The data were analyzed using the average percentage statistics. Keyword: behavior, elderly, health ~ 215 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ บทนำ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ตามคำนิยามขององค์การ สหประชาชาตทิ ก่ี ำหนดสัดสว่ นของประชากรท่ีมีอายุ 60 ปีขน้ึ ไปมากกวา่ ร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งจะเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete - Aging Society) เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่มีอายุ 60 ปี ข้นึ ไปเกนิ รอ้ ยละ 20 และเขา้ สู่สังคมสูงอายรุ ะดบั สดุ ยอด (Super- Aging Society) เมื่อมสี ดั ส่วนของประชากร ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 28 ตามลำดับ สำหรับสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ในปี พ.ศ. 2563 มีประชากร ผูส้ งู อายุสงู ถงึ ร้อยละ 18.24 ของประชากรทั้งประเทศ และมีแนวโนม้ การเพมิ่ ขนึ้ ของประชากรผูส้ ูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี (คิดเป็น 400,000 คนต่อปี) ซึ่งตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภา พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ (สศช.) (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2562) คาดการณว์ ่า ในปี พ.ศ. 2566 จะมี ประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าในปี พ.ศ. 2578 จะมีประชากร ผูส้ ูงอายุสูงถงึ รอ้ ยละ 28.55 ของประชากรทง้ั ประเทศ ทงั้ นี้ การเตรียมการเพือ่ รองรบั สถานการณส์ ังคมสูงอายุ จึงเป็นประเด็นที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งกระทบต่องบประมาณด้านการ รักษาพยาบาล โดยสำนักงานวิจยั เพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ไดค้ าดประมาณการดา้ นงบประมาณ ในการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุท่ีมภี าวะพึ่งพงิ เฉลี่ยประมาณ 15,000 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น การส่งเสรมิ สุขภาพผู้สูงอายุให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นประเด็นสำคัญ เพื่อลดภาระด้านเศรษฐกิจของ ประเทศ สังคม และครอบครัว กระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินงานโดยมีเป้าหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบ สุขภาพยั่งยืน” อีกทั้งได้มีการทบทวนแผนยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ให้มีความสอดคล้อง และเช่อื มโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) โดยแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ ประกอบด้วย สถานการณ์และปัจจัยที่ส่งผลต่อ สุขภาพ สถานะสุขภาพ ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้านของกระทรวงสาธารณสุข คือ 1) ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุม้ ครองผบู้ ริโภคเปน็ เลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence) 2) บริการ เป็นเลิศ (Service Excellence) 3) บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) และ 4) บริหารเป็นเลิศด้วยธรร มาภิบาล (Governance Excellence) ซ่งึ มีเป้าหมาย ตวั ช้วี ดั และมาตรการสำคัญในแต่ละโครงการ ตลอดจน แนวทางการขบั เคลือ่ น การ กรมอนามัย โดยสำนักอนามัยผู้สูงอายุ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทและภารกิจหลักในการดูแลส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุในทุกระดับ บนฐานข้อมูลและองค์ความรู้ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย (GOAL) “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พร้อมทั้ง กำหนดตัวชี้วัด และมาตรการสำคัญ ทั้งนี้ ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ บุคลากรที่รับผิดชอบงาน ผสู้ งู อายใุ นระดับส่วนกลางและสว่ นภูมิภาคจำเปน็ ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจยทุ ธศาสตร์ และแนวทางขบั เคลื่อน การดำเนนิ งานด้านการดูแลส่งเสริมสขุ ภาพผู้สูงอายุ โดยบูรณาการร่วมกันใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดียวกัน รวมท้ัง พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความรอบรู้ทางด้านการสง่ เสริมป้องกันสุขภาพผู้สูงอายุ สำนักอนามัยผ้สู งู อายุตระหนักถึง ~ 216 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ ความสำคญั ดงั กล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาและขับเคล่อื นยุทธศาสตร์การสง่ เสริมสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ปี 2564 เพอื่ สรา้ งความเข้าใจการดำเนนิ งานส่งเสรมิ สุขภาพผู้สูงอายุ จากความเป็นมาและปัญหาดังกล่าว ทำให้ผู้วิจยั มีความสนใจที่จะศึกษา “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ตนเองของผู้สูงอาย”ุ ในบ้านใหม่แสนสขุ ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา โดยศึกษาวา่ กลุ่มตัวอย่างของผู้สูงอายุ ในบ้านใหม่แสนสุข ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา มี พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองเป็นอย่างไร มีปัจจัยอะไรบ้างทีม่ ีผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผูส้ งู อาย วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่ 8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า 2. เพ่ือศึกษาปัญหาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ และหาแนวทางแก้ไขของผ้สู งู อายุบา้ นใหม่ แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขนุ ทด จังหวัดนครราชสีมา ประโยชนข์ องการวิจยั 1. ประโยชน์เชิงวิชาการ 1.1 เพ่ือจะไดท้ ราบปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการดแู ลสุขภาพตนเองของผสู้ งู อายุ 1.2 เพอ่ื เป็นขอ้ มลู ในการพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ 2. ประโยชนเ์ ชิงนโยบาย ผลของการวิจัยสามารถนำไปปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ในบ้านใหม่ แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา และช่วยในการปรับพฤติกรรมเหล่าน้ัน ให้ดไี ปจากเดิม สมมติฐานของการวจิ ัย 1. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่าน ขนุ ทด จงั หวัดนครราชสีมา นา่ จะเกิดจากการดูแลสขุ ภาพตนเองด้านการออกกำลังกาย 2. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่าน ขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า นา่ จะเกดิ จากการดูแลสุขภาพตนเองด้านการรบั ประทานอาหาร 3. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่าน ขนุ ทด จังหวดั นครราชสมี า นา่ จะเกิดจากการดูแลสขุ ภาพตนเองดา้ นสขุ อนามยั และสิง่ แวดลอ้ ม 4. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่าน ขนุ ทด จงั หวัดนครราชสมี า น่าจะเกิดจากการดูแลสขุ ภาพตนเองดา้ นการพักผอ่ นท่ีเพียงพอ ~ 217 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ 5. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่าน ขุนทด จังหวัดนครราชสมี า นา่ จะเกดิ จากการดแู ลสขุ ภาพตนเองดา้ นอารมณ์ ขอบเขตของการวจิ ยั 1.ขอบเขตดา้ นเวลา การวิจยั ครั้งนด้ี ำเนินการตั่งแต่เดอื น 20 พฤษภาคม ถงึ เดือน 30 มิถนุ ายน 2564 2.ขอบเขตด้านเน้ือหา การศึกษาคร้ังน้ผี ูว้ ิจัยมุ่งศึกษาถึงปัจจัยที่สง่ ผลต่อพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองของผู้สูงอายุ และ ปัญหาในการดูแลสุขภาพตนเองของผ้สู งู อายุ และหาแนวทางแก้ไขของผ้สู ูงอายุ วธิ ีดำเนินการวจิ ัย 1. ประชาการและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร ผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่าง ใช้การสุ่มจากตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด 134 คน ใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 97 ชุด เป็นการใช้ วธิ ีสุม่ ตัวอย่างตารางของเครซแ่ี ละมอร์แกน (krejcie & Morgan) 2. โดยใช่ตารางสำเรจ็ รูปสูตรเครซี่และมอรแ์ กน (krejcie & Morgan) 3. เครอ่ื งมอื ในการวจิ ยั เครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในการวิจัย พฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผสู้ ูงอายุ บา้ นใหม่ แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ครั้งนี้เป็นแบบสอบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยได้ สรา้ งขน้ึ โดยแบ่งแบบสัมภาษณ์ออกเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ อายุ อาชีพ รายได้ต่อปี สถานะ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้าน ใหมแ่ สนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอดา่ นขนุ ทด จงั หวัดนครราชสีมา ตอนที่ 3 แบบสอบถามคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับสาเหตุ,และแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองของ ผสู้ ูงอายุ ตอนท่ี 4 แบบสอบถามเกยี่ วกบั ขอ้ เสนอแนะและข้อคดิ เหน็ เพ่มิ เติม 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามข้ันตอน ดงั น้ี 1.ผู้วิจัยได้ขอความร่วมมือจากชาวบ้าน บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสมี โดยจำนวน 134 คน กลุม่ ตวั อยา่ ง 97 คน เพือ่ ให้ข้อมูลในการศึกษาข้อมลู การวจิ ัยในคร้ังนี้ 2. ผู้วจิ ัยไดอ้ อกแบบสอบถาม 3. ผวู้ ิจยั นำแบบสอบถามไปแจกใหก้ ับชาวบา้ นในพน้ื ทต่ี ามสดั ส่วนของกลุ่มตัวอยา่ งทีผ่ วู้ จิ ยั กำหนดไว้ ~ 218 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ 5. การวิเคราะหข์ อ้ มูล ผู้วิจัยจะตรวจสอบความสมบูรณ์แล้วนำข้อมูลไปประมวลผลและวิเคราะห์ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้คอมพวิ เตอรโ์ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถติ ิ ซ่ึงแยกวิเคราะห์ตามลำดบั ดงั นี้ 1.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาค่าร้อยล่ะ (Percentage) ค่าความถ่ี (Frequency) เพื่อวัดคา่ เฉลย่ี และการกระจายขอ้ มลู 2.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสน สุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา โดยหาค่าร้อยล่ะ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) เพ่ือวัดคา่ เฉลี่ยและการกระจายข้อมูล 3.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามคำถามปลายเปิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา โดยหาค่าร้อยล่ะ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) เพ่อื วัดคา่ เฉลยี่ และการกระจายข้อมูล 4.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสัมภาษณ์ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแล สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บา้ นใหมแ่ สนสุข หมู่8 ตำบลกุดพมิ าน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา โดย หาค่าร้อยละ่ (Percentage) ค่าความถ่ี (Frequency) เพอ่ื วดั คา่ เฉลยี่ และการกระจายข้อมูล สรปุ ผลการวิจัย 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุด พิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เกิดจากการที่ผู้สูงอายุมีอายุเพิ่มมากขึ้นเลยทำให้หันมาออก กำลังกาย และรับประทานอาหาร สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม พักผ่อนที่เพียงพอ ดูแลตนเองด้านอารมณ์ และ การมีโรคประจำจึงทำให้ต้องหนั มาดูแลตนเองเป็นอย่างมาก เพราะตั่งแต่อายุ 60ปีข้ึนไปกจ็ ำตอ้ งดแู ลสุขตนเอง 2. ปัญหาในการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผสู้ งู อายขุ องผู้สงู อายุบ้านใหมแ่ สนสขุ หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จงั หวัดนครราชสมี า ประชาชนบา้ นใหมแ่ สนสขุ หมู่8 สว่ นใหญใ่ หค้ ำตอบว่าปญั หาในการ ดูแลสขุ ภาพตนเองของผ้สู งู อายเุ กิดจาก เร่ืองโรคประจำตวั ร่างกายไม่แข็งแรง อายุเพ่ิมมากขึ้น การลุกเดิน ลำบาก การเคลื่อนไหวลำบาก กระดูกไมด่ เี หมือนแต่ก่อน และแนวทางแก้ไขคือ ต้องมีคนดูแลเอาใจใส่ และกนิ ยาให้ตรงตามทแี่ พทย์ส่ัง ตอ้ งระวังการลกุ การน่ัง และต้องระวงั การออกกำลงั กายหนกั จนเกินไป การอภปิ รายผล อภิปรายผลการวจิ ัย ผลของการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุด พิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแล สุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบา้ นใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือ ศึกษาปัญหาในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ และหาแนวทางแก้ไขของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่ 8 ~ 219 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ตำบลกุดพิมาน อำเภอดา่ นขุนทด จงั หวัดนครราชสมี า กล่มุ เปา้ หมายทใ่ี ช้ทำการวจิ ยั ในครง้ั น้ีคือ ชาวบ้านบ้าน ใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมาจำนวน 97 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บข้อมูลจะเป็นแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 1 ฉบับ แบ่งออกเป็น4ตอน ตอนท่ี1 ข้อมูล ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี2พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ บ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ใช่หรือไม่ใช่ ตอนที่3 คำถามปลายเปิด ตอนท่ี4 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม จากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่หาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน ขอ้ เสนอแนะ 1 ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้ จากผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนบ้านใหม่แสน สุข หมู่8 ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พบว่าประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็น ตรงกันว่าอยากให้หน่วยงานเข้ามาดูแลเรื่องตรวจสุขภาพประจำปี อยากให้ให้โรงบาลนำยามาฝากไว้ที่ศูนย์ อนามยั ตำบล อยากใหห้ น่วยงานเข้ามาอารมณ์การดแู ลสขุ ภาพตนเอง 2 ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป จากผลการศึกษาพบวา่ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพตนเองของ ผสู้ งู อายบุ ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกดุ พิมาน อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั นครราชสีมา นั้นมาจากประสบการณ์ การการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผู้สงู อายุ ผจู้ ัดทำวจิ ยั จงึ ได้ทำขอ้ เสนอแนะเพื่อเป็นประโยชนท์ เี่ กี่ยวข้อง ดงั นี้ 1.ควรศึกษาเกี่ยวกบั การดแู ลสขุ ภาพตนเองของผ้สู ูงอายุบ้านใหม่แสนสุข หมู่8 ตำบลกดุ พมิ าน อำเภอ ดา่ นขุนทด จังหวดั นครราชสีมา 2.ควรศกึ ษาหาความรูเ้ กีย่ วกับการมโี รคประจำตวั ของผูส้ ูงอายเุ พื่อใหเ้ กิดประโยชน์แกต่ นเองและคน รอบข้าง บรรณานุกรม กองแผนงานกรมอนามัย. ( 2559). ศูนย์ปฏิบัติการกรมอนามัย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://gg.gg/urkv2. (วนั ทีส่ ืบค้นขอ้ มูล : 5 มถิ ุนายน 2564). มูลนิธิสถาบันวิจัยและการพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2551). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยปี พ.ศ. 2550 กรงุ เทพฯ. (วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมูล : 5 มถิ ุนายน 2564). ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ 20 ปี (2561 – 2580). กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พิมพ์ครั้งท่ี1) กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์สามลดา. (ออนไลน์). แหล่งท่มี า : http://gg.gg/uroow. (วันทสี่ ืบค้นข้อมลู : 5 มิถุนายน 2564). start.txt · Last modified. (2564). คลังกลางความรดู้ ้าน HR. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา : http:// gg.gg/uro1p. (วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมูล : 5 มถิ นุ ายน 2564). ~ 220 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ปัจจัยท่สี ่งผลให้เกดิ ความสนใจในการเล้ยี งโคพนั ธ์พุ น้ื เมอื งของชาวบ้านคูณ หม่ทู ่ี 8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพทุ ไธสง จังหวดั บรุ ีรัมย์ ปทติ ตา คงศัตรา1 บทคัดยอ่ งานวิจัยเรื่องปัจจัยท่ีส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลีย้ งโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบล บ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบรุ รี มั ย์ มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ศึกษา 1. เพ่อื ศกึ ษาปัจจัยทส่ี ง่ ผลในการเล้ยี งโคพันธุ์ พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. เพื่อศึกษาปัญหาและ อุปสรรคในการเล้ียงโคพันธ์ุพื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเปา้ อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาสายพันธืและนำผลไปปรับปรุงในการเลี้ยงจากอาชีพเสริมให้เป็นอาชีพหลัก ของชาวบ้านคูณหมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ กระบวนการสังเกตและสัมภาษณ์ ชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบรุ ีรัมย์มีความรู้เกี่ยวกับปจั จัยที่ทำให้สนใจเลี้ยงโค กันเป็นอย่างมาก และนำข้อมูลองค์ความรูเ้ กี่ยวกับปจั จัยที่ส่งผลใหเ้ กิดความสนใจในการเลีย้ งโคพันธ์ุพื้นเมอื ง ซ่งึ การวจิ ยั ในคร้ังน้เี ป็นการวจิ ัยโดยใชว้ ธิ กี ารคน้ ควา้ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ชาวบ้านคูณ หมู่ท8ี่ ตำบลบา้ นเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 186 คน โดยสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโค พนั ธุพ์ ื้นเมอื งของชาวบ้านคณู หมทู่ ี่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพทุ ไธสง จังหวัดบรุ รี มั ย์คือ จากเลย้ี งเพื่อเปน็ รายได้ เสรมิ จากการทำนาแต่พอเล้ียงนานไปมันไดผ้ ลกำไรดีต้นทุนไมส่ ูงแต่สามารถต่อเปน็ กำไรได้อย่างมากเลยหันมา เล้ยี งโคจำนวนมากข้นึ จนบางครอบครวั การเลี้ยงโคกลายเป็นอาชีพหลักปัญหาและอุปสรรคท่เี กิดจากการเล้ียง โคนั้นคือปัจจุบันเลยที่ตอนนี้โรคลัมปีสกินที่ระบาดหนักกับโคทำให้ประชาชนที่เลี้ยงโคได้รับผลกระทบเป็น จำนวนมากเพราะต้องใช้เวลารักษานานบางตัวรักษาไม่หายก็ตายที่ผ่านมาปัญหาและอุปสรรคกับโคที่เกิดข้ึน อีกก็คือหน้าแล้งน้ำตามคลองและสระน้ำตามทุ่งนาแห้งแล้งวัวไม่มีน้ำกินและโคเป็นโรคมือเท้าเปื่อยแตท่ ี่หนัก และเป็นปญั หาแลอุปสรรคหนักปจั จุบันคือโรคลัมปสี กินตลอดจนแนวทางในการแก้ไขปัญหาคือคนเลี้ยงโคต้อง ดูแลเอาใจใสก่ ับการเล้ียงโคและศึกษาหาความรู้เพิม่ เติมใหม่ๆอยู่เสมอในการเลีย้ งโคเพื่อเวลาโคเจ็บป่วยจะได้ รูจ้ กั วธิ ีดแู ลรกั ษาเบ้ืองต้นไปกอ่ นปัญหาอุปสรรคดา้ นอาหารและหญา้ ไมเ่ พียงพอเราจะตอ้ งแก้ไขปัญหาด้านการ ปลูกหญ้าสายพันธ์ต่างๆที่สำหรับให้โคปัญหาพื้นที่แออัดในการเลี้ยงแนวทางในแก้ไขปัญหาคือต้องหาพื้นที่ 1 นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขารฐั ประศาสนศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ Corresponding author, E-mail: [email protected] ~ 221 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ เหมาะในการเลี้ยงและต้องหมั่นทำความสะอาดคอกอยู่บ่อยๆและเมื่อ เราอยากที่จะพัฒนาสายพันธุ์โคให้มี ประสทิ ธภิ าพและผลผลิตนน้ั กค็ อื ลกู โคที่สวยงามมีคณุ ภาพเราจะตอ้ งหาและศึกษาเกยี่ วกับพ่อพันธ์ุและแม่พันธุ์ ที่ดีเพื่อจะได้นำมาเป็นน้ำเชื้อในการผสมพันธุ์เพื่อจะได้ผลผลิตที่ดีและได้น้ำเชื้อที่มีประสิทธิภาพเพื่อจะได้ พัฒนาสายพันธ์ุโคต่อไป จึงระดมความคิดเห็นจากผู้ที่สนใจเรื่องนี้เพือ่ เป็นแนวทางในการที่จะตัดสินใจเล้ียงโค พันธุ์พื้นเมืองอยู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ ใช้ในการสัมภาษณ์ชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบา้ นเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวดั บรุ ีรัมย์ โดยใชโ้ ปรแกรมคำนวณ SPSS คำนวณขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรมทาง สถติ กิ ารวิเคราะหข์ อ้ มลู ใชส้ ถติ ิค่ารอ้ ยละเฉลี่ย คำสำคัญ: โคพ้ืนเมือง; โรคลมั ปสี กนิ ; สายพันธ์ุ ~ 222 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ Factors affecting the raising of native cattle of Koon villagers Village No. 8 Ban Pao Sub-district Phutthaisong District Buriram Province. Abstract Research on factors affecting interest in raising native cattle of Koon villagers, Village No. 8, Ban Pao Sub-district, Phutthaisong District, Buriram Province. The objectives of this study were: 1. To study the factors affecting the raising of native cattle of Koon villagers, Village No. 8, Ban Pao Sub-district, Phutthaisong District, Buriram Province. 2. To study the problems and obstacles in raising native cattle of Koon Moo villagers. No. 8, Ban Pao Subdistrict, Phutthaisong District, Buriram Province To study the guidelines for the development of the breed and to apply the results to improve in raising from supplementary occupation to be the main occupation of villagers in Village No. 8, Ban Pao Sub-district, Phutthaisong District, Buriram Province. The process of observing and interviewing villagers Koon, Village No. 8, Ban Pao Subdistrict, Phutthaisong District, Buriram Province, was very knowledgeable about the factors that made them interested in raising cattle. and bring knowledge about the factors that result in interest in raising native cattle This research was a research by using research data from interviews with 186 villagers in Village No. 8, Ban Pao Sub-district, Phutthaisong District, Buriram Province, with a total of 186 people. Factors resulting in interest in raising native cattle of Koon villagers, Village No. 8, Ban Pao Subdistrict, Phutthaisong District, Buriram Province The solution to this problem is to find a suitable area for raising and to clean the pen frequently. And when we want to develop an efficient breeding cow and the yield is beautiful quality calves, we must find and Study about good breeders and sowers so that they can be used as semen for breeding for good yields and effective semen for further breeding of cattle. Therefore, opinions from people who are interested in this issue are brainstormed as a guideline in making decisions about raising native cattle. The tool used to collect data was the interview form. It was used in interviews with villagers Koon, Village No. 8, Ban Pao Subdistrict, Phutthaisong District, Buriram Province. Using the SPSS computation program, the data were calculated with a statistical program. The data were analyzed using the average percentage statistic. Keyword: Native cattle; Lumpyskin; Speies ~ 223 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ บทนำ การทำวิจัยเรื่องนี้เกิดขึ้นเพื่อศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองและ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงการเลี้ยงโคในพื้นที่ให้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและโคมีประสิทธิภาพมี ราคาสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านในการเลี้ยงสัตว์ของชาวบ้านเ ปรียบเปรียบเสมือนการฝากเงินไว้กับธนาคาร เช่น การลี้ยงปลาเลยี้ งไก่ ซึง่ สัตว์เหลา่ น้สี ามารถเล้ียงเอาไว้กินใน ครวั เรือนหรือขายไดเ้ งินจำนวนไม่มาก 100- 200 บาท พอสำหรับกินสำหรับใช้ได้ไม่มากนักหรือถ้าเป็นแบบฝาก ประจำอย่างการเลี้ยงสุกร 4-6 เดือน ก็ ขายออกแล้วแตถ่ า้ เปน็ การเล้ยี งโคเปรียบเสมือนเป็นการฝากเงินรายปี เป็นตน้ รวมท้งั การเลี้ยงสตั วใ์ นชมุ ชนยัง สามารถก่อเกิดเปน็ วัฒนธรรมประเพณีข้ึน เช่น การทำพธิ แี ลกนาขวัญ แต่อย่างไรกต็ ามระบบการเล้ียงสัตว์ใน ชุมชนหรือในวิถีของชาวบ้านได้มีวิถีบางอย่างที่ขาดหายไปคือ ภาวะที่ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน การฝาก สัตว์ไปเลี้ยงด้วยกันการไปเลี้ยงสัตว์ด้วยกันเป็นกลุ่ม เก็บไข่ ผัก ผลไม้ไป ฝากกันและกัน ซึ่งพบว่าภูมิปัญญา ชาวบ้านหลายข้อท่ีกำลังจะสูญหายไปพร้อมกบั ความเจรญิ ทางวัตถุที่เข้ามาแทนทีด่ งั น้ันเราควรจะตระหนักว่า เราจะรักษาความรู้ความเข้าใจอย่างไรดีที่จะเก็บความรู้เหล่านี้และถ่ายทอดข้อมูลให้กับคนรุ่นหลังต่อๆไป เพราะแต่ก่อนจะเลี้ยงโคเพื่อเป็นอาชีพเสริมไม่ได้เป็นรายได้หลัก แต่ปัจจุบันโดยเฉพาะการเลี้ยงโคเนื้อเลี้ยง เพอื่ เปน็ เงินออมเมื่อถึงเวลาจำเปน็ ก็ขายเพ่ือนำเงินมาจนุ เจือครอบครวั ครอบครวั แต่ปจั จุบันน้ีการเลี้ยงโคพันธุ์ พื้นเมืองในประเทศไทยไดม้ ีการพัฒนาจากการเลี้ยงโดยเกษตรกรรรายย่อยไปสู่การเลีย้ งเชิงธุรกิจมากขึ้นเลีย้ ง สัตว์จำนวนมาก ซ่งึ รายไดส้ ว่ นมากจะมาจากผลผลิตของสัตว์เพราะโคให้ผลผลิตดี การศึกษาหาความรู้ในแง่มุม ด้านต่างๆ รวมทั้งปัญหาที่เกีย่ วข้องกับการเลี้ยงโคและการจัดการโคให้เข้าใจ จะช่วยในการลดผลกระทบจาก การโคลงได้บ้าง โดยเฉพาะถ้าในการเลี้ยงโคที่เป็นระบบแบบ ชาวบ้าน วิถีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจ จะมี ปัญหาในการเลี้ยงสัตว์อยู่บ้าง ดังนั้นในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมือง จากวิถีชาวบ้าน ภูมิปัญญาดั้งเดิม คาดว่าจะทำให้รู้ปัจจัยที่ส่งผลและรวมทั้งปัญหาเพื่อจะเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาและผลกั ดันให้การ เลย้ี งสัตว์ในชุมชนประสบผลสำเรจ็ และส่งเสรมิ ใหเ้ กิดอาชีพในชมุ นได้อย่างยั่งยืน ดังนั้นวิจัยนี้จะเป็นการสำรวจปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มเป้าหมายบ้านคูณ หมู่ที่8 ต.บ้านเป้า อ.พุทไธสง จ. บุรีรัมย์ เกี่ยวกับระบบการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองวิถีชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ การพฒั นาเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลติ ให้ได้กำไรสูงและเป็น แนวทางในการขยายโอกาสให้การเลี้ยงโคพันธ์ุ พน้ื เมอื งเปน็ อาชีพหลกั ให้คนในชุมชนต่อไป วัตถุประสงคข์ องการวิจัย 1. เพื่อศกึ ษาปัจจยั ท่ีส่งผลในการเลย้ี งโคพันธ์ุพืน้ เมืองของชาวบ้านคูณ หมูท่ 8่ี ตำบลบา้ นเป้า อำเภอพุท ไธสง จงั หวดั บรุ ีรัมย์ 2. เพื่อศึกษาปญั หาและอปุ สรรคในการเลี้ยงโคพนั ธพ์ุ น้ื เมอื งของชาวบา้ นคูณ หมทู่ ี่8 ตำบลบ้านเปา้ อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรีรมั ย์ ~ 224 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ 3. เพ่ือศกึ ษาแนวทางในการพัฒนาและนำผลไปปรับปรุงในการเลยี้ งจากอาชีพเสรมิ ให้เปน็ อาชีพหลัก ของชาวบ้านคูณหมทู่ ี่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรมั ย์ ประโยชนข์ องการวจิ ยั ประโยชน์เชิงวิชาการ 1.ได้ทราบถึงผลปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี 8 ตำบลบ้านเปา้ อำเภอพุทไธสง จังหวัดบรุ ีรัมย์ 2. ได้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพทุ ไธสง จงั หวัดบุรรี ัมย์ 3.ไดท้ ราบถงึ แนวทางในการพฒั นาและปรบั ปรุงแก้ไขในการเลย้ี งโคพนั ธ์ุพนื้ เมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ ท8ี่ ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวดั บรุ ีรัมย์ ประโยชน์เชงิ นโยบาย ผลของการวิจัยสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาของผู้เลี้ยงโคทั้งในการดูแลวิธีการเลี้ยงโค เพื่อให้ได้ลูกโคหลากหลายสายพันธุ์ขึ้นเพื่อจะได้เพิ่มมูลค่าราคาโคที่สูงขึ้นและนำข้อมูลไปช่วยปรับปรุงการ พัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัด บรุ รี ัมย์ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพและเป็นรายได้หลักของคนในหมู่บ้านต่อไป สมมติฐานของการวิจัย 1. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวดั บุรรี ัมย์ น่าจะเกิดจากสามารถสร้างรายได้เสรมิ 2. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรรี ัมย์ นา่ จะเกิดจากเพอ่ื พัฒนาสายพันธุ์ 3. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพทุ ไธสง จังหวัดบุรรี ัมย์ นา่ จะเกิดจากประหยัดตน้ ทนุ 4. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ น่าจะเกิดจากขายได้ราคาดี 5. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรรี มั ย์ นา่ จะเกดิ จากลดปญั หาการว่างงานของประชาชน ~ 225 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ ขอบเขตของการวิจัย 1 ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลา6เดือน ที่จะศึกษาข้อมูลปัจจยั ที่ส่งผลให้เกดิ การเลีย้ งโคพันธุ์พืน้ เมอื ง ของชาวบา้ นคูณ หมทู่ ี่8 ตำบลบ้านเปา้ อำเภอพทุ ไธสง จังหวัดบรุ รี มั ย์ 2 ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาในครั้งนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจการเลี้ยงโคพันธุ์ พื้นเมือง และเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงในการเลี้ยงโคให้มีประสิทธิภาพเพื่อในอนาคตจะ กลายเปน็ อาชีพหลักของชาวบา้ นของชาวบ้านคูณ หมทู่ ่ี8 ตำบลบา้ นเป้า อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรีรมั ย์ 3 ขอบเขตด้านพน้ื ที่ บ้านคณู หมทู่ ี่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรรี มั ย์ 4 ขอบเขตด้านประชากร กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนในพื้นที่บ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบล บา้ นเปา้ อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรรี ัมย์ วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั 1. ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ประชากรศึกษาในครั้งนี้เป็นชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวนท้งั หมด 356 คน ใชจ้ ำนวนกลมุ่ ประชากรตัวอย่างทง้ั หมด 186 คน โดยใช้การสุ่มแบบตัวอยา่ ง 2. โดยใชต้ ารางสำเรจ็ รปู สูตรเครจซแี่ ละมอรแ์ กน (Kreicie & Morgan) 3 .เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามและแบบสัมภาษณเ์ ก่ียวกบั ปจั จยั ท่ีส่งผลให้เกิด การเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยแบ่ง ออกเปน็ 4 ส่วน ดังน้ี ตอนท1ี่ ข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ อายุ อาชีพ รายได้ตอ่ ปี สถานะ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบล บ้านเปา้ อำเภอพุทไธสง จงั หวดั บุรรี ัมย์ ตอนที่ 3 แบบสอบถามคำถามปลายเปดิ ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะและขอ้ คดิ เห็นเพ่ิมเติม การเก็บรวบรวมขอ้ มูลการวิจัย ผวู้ ิจัยดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1 ผู้วิจัยได้ขอความร่วมมือจากชาวบา้ นคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 290 คนเพ่อื ใหข้ ้อมลู ในการศกึ ษาข้อมูลการวจิ ัยในคร้งั น้ี 2 ผวู้ ิจยั ไดอ้ อกแบบสัมภาษณ์ 3 ผู้วิจัยนำแบบสอบถามไปแจกให้กับชาวบ้านในพนื้ ท่ตี ามสัดสว่ นของกลุ่มตัวอย่างท่ผี ู้วจิ ยั กำหนดไว้ ~ 226 ~
การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ การวิเคราะห์ข้อมลู เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากแบบสมั ภาษณ์ไดแ้ ลว้ นำข้อมลู ต่างๆทไ่ี ด้จดั หมวดหมู่ตรวจสอบ ความถกู ต้อง เพือ่ ประมวลผลด้วยคอมพวิ เตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู SPSS For Window (Statistical Product and Service Solutions) เพ่ือใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 6.5 วิเคราะหข์ ้อมลู ลกั ษณะทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ใชค้ า่ รอ้ ยละ (Percentage) ค่าความถ่ี (Frequency) เพ่ือวดั ค่าเฉลยี่ และการกระจายของข้อมลู 6.5 วเิ คราะห์ข้อมูลเก่ียวกับแบบสอบถามปัจจยั ท่ีส่งผลให้เกิดการเลี้ยงโคพันธ์ุพื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) เพื่อวัด คา่ เฉลีย่ และการกระจายของขอ้ มูล 6.5 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามคำถามปลายเปิดปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของ ชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) เพอ่ื วดั คา่ เฉลย่ี และการกระจายของข้อมูล 6.5 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสัมภาษณ์ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการ เลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ใช้ค่าร้อยละ (Percentage) คา่ ความถ่ี (Frequency) เพื่อวดั ค่าเฉล่ียและการกระจายของขอ้ มลู สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเปา้ อำเภอพุทไธสง จงั หวัดบรุ รี ัมยก์ ารเลี้ยงโคเกิดจากเลยี้ งเพื่อเปน็ รายได้เสรมิ จากการทำนาแต่พอ เลี้ยงนานไปมันได้ผลกำไรที่สูงเลยหันมาเลี้ยงโคเสริมมากขึ้นจนบางครอบครัวการเลี้ยงโคกลายเป็นอาชีพ หลักการเลี้ยงโคต้นทุนไม่สูงมากแต่ต้องใช้เวลาในการเลี้ยงดูเพื่อที่จะได้ผลผลิตก้อนโตและกา รเลี้ยงโคยังเกิด จากการวา่ งงานของคนและทำให้หนั มาสนใจการเลยี้ งโคเป็นจำนวนมากในหมูบ่ า้ น 2. ปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธ สง จังหวัดบรุ รี มั ย์ ประชาชนบ้านคณู หม่ทู ่ี 8 ส่วนใหญใ่ ห้คำตอบว่าปัญหาท่ีเกดิ จากการเล้ยี งโคนั้นคือปัจจุบัน เลยที่ตอนนี้โรคลัมปีสกินที่ระบาดหนักกับโคทำให้ประชาชนที่เลี้ยงโคได้รับผลกระทบเป็นจำนวนมากเพราะ ตอ้ งใชเ้ วลารักษานานบางตวั รักษาไมห่ ายก็ตายท่ีผา่ นมาผลกระทบกับโคท่เี กิดข้นึ น้อยเชน่ หนา้ แลง้ น้ำตามห้วย, คลองสระน้ำตามทุ่งนาแห้งแล้งวัวไม่มีน้ำกินและโคเป็นโรคมือเท้าเปื่อยแต่ที่หนักและผลกระทบหนัก ณ ปัจจุบัน เลยกค็ ือโรคลมั ปีสกนิ 3. แนวทางในการที่จะพัฒนาโคสายพันธุ์พื้นเมืองอย่างไรให้ประสิทธิภาพและผลผลิตที่ดีขึ้นเลี้ยงโค พันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ประชาชนบ้านคูณหมู่ที่ 8 ส่วนใหญ่ให้คำตอบว่าแนวทางในการที่จะพัฒนาคือคนเลี้ยงโคต้องดูแลเอาใจใส่และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับการเลี้ยงโคเพื่อเวลาโคป่วยจะได้รู้จักวิธีดูแลรักษาเบื้องต้นได้และด้านอาหารและหญ้าต้องมีให้ ~ 227 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ เพียงพอเพื่อโคจะได้เติบโตอย่างสมบรูณ์และเรือ่ งพื้นที่แออัดในการเลี้ยงคอื ต้องมีพื้นที่เหมาะในการเลี้ยงและ ต้องหมั่นทำความสะอาดคอกอยู่บ่อยๆและสำหรับวิธีที่จะพัฒนาสายพันธุ์โคคนส่วนใหญ่มีความคิดเห็น สว่ นมากว่าเราจะต้องนำพ่อพันธ์ุและแม่พันธ์ุทดี่ ีเพ่ือท่ีจะเอาน้ำเชื้อมาใช้ในการผสมพันธ์ุเพ่ือท่ีจะได้ผลผลิตที่ดี และได้น้ำเช้ือท่ีมีประสิทธภิ าพเพอื่ จะไดพ้ ฒั นาสายพนั ธุโ์ คตอ่ ไป การอภปิ ราย ผลของการวิจัยเรื่องปัจจัยทส่ี ่งผลใหเ้ กดิ การเลย้ี งโคพันธุพ์ ืน้ เมืองของชาวบา้ นคูณ หมู่ที่8 ตำบลบา้ นเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบรุ รี ัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทีส่ ง่ ผลในการเลี้ยงโคพันธุพ์ ืน้ เมอื งของชาวบา้ น ปัญหาและอุปสรรคในการเล้ียงโคพันธพุ์ ื้นเมอื งและแนวทางในการพัฒนาและนำผลไปปรับปรงุ ในการเล้ียงจาก อาชีพเสริมให้เป็นอาชีพหลักของชาวบ้านคูณหมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ทำการวิจัยในครั้งนี้คือ ชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 186 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจะเป็นแบบสมั ภาษณ์เกี่ยวกับปจั จัยที่ส่งผลให้เกิดการเลีย้ งโค พันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 1 ฉบับ แบ่ง ออกเป็น4ตอน ตอนที่1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้ เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัด บุรีรัมย์ ใช่หรือไม่ใช่ ตอนท่ี3 คำถามปลายเปิด ตอนที่4 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม จากนั้นเก็บ รวบรวมขอ้ มลู และใชส้ ถติ ิวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ กห่ าคา่ รอ้ ยละและค่าเฉลยี่ ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ จากผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนชาวบ้านคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้าอำเภอพุทไธสง จงั หวดั บุรรี ัมย์ พบวา่ ประชาชนส่วนใหญม่ ีความคดิ เห็นตรงกนั ว่าอยากใหป้ ศุสัตว์ออกมาใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน คนเลย้ี งโคอย่างน้อย 3 เดอื น 1 คร้ังก็ยงั ดี ท้งั ยงั อยากให้ปศุสัตวอ์ อกมาฉีดวัคซีนป้องกนั โรคให้แก่โคและอยาก ให้ปศสุ ตั วอ์ อกมาดแู ลเรื่องสัตว์ทีป่ ่วยและให้ความรู้และหาแนวทางวธิ ีป้องกนั โรคลัมปสี กนิ ทั้งอยากให้มีวัคซีน ปอ้ งกนั โรคต่างๆที่เกิดขน้ึ กับโคมาสนับสนุนใหแ้ กป่ ระชาชน 2. ขอ้ เสนอแนะการวิจัยครง้ั ตอ่ ไป จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความสนใจในการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองของชาวบ้านคูณ หมู่ท่ี8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์นั้น มาจากประสบการณ์การสนใจเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมือง ผู้จัดทำวิจัยจึงไดท้ ำขอ้ เสนอแนะเพ่ือเป็นประโยชน์ที่เกยี่ วข้อง ดังน้ี 1. ควรศึกษาเก่ียวกับการเล้ียงโคสายพันธต์ุ ่างๆในหมบู่ ้านของชาวบา้ นคูณ หมู่ที่8 ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธ สง จงั หวดั บรุ รี มั ย์ ~ 228 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 2. ควรศึกษาหาความรู้เกย่ี วกับการเลี้ยงโคใหไ้ ด้หลากหลายสายพนั ธมุ์ ากท่ีสุดเพ่ือใหเ้ กิดประโยชนแ์ ก่ตนเอง และคนรอบขา้ ง บรรณานกุ รม คณะสตั วแพทศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. (2562). โครงการระบบการเล้ียงโคเน้ือ. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี า : https://rms.msu.ac.th. (วนั ท่ีสบื ค้น 21 พฤษภาคม 2564). บรษิ ทั เอ็นบี ดิสทริบิว ชัน่ จำกดั . (2558). ประวัติความเป็นมาโคเนอื้ ในไทย. (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า : https://nbdcthailand.com (วันที่สบื คน้ ข้อมลู 22 พฤษภาคม 2564 ). รพวี รรณ. (2557). ตารางใชส้ ตู รเครจซแี่ ละมอร์แกน. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า : https://sites.google.com. (วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล : 21 พฤษภาคม 2564). Apple. (2558). โคพืน้ เมือง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://breeding.did.go.th. (วันท่สี บื คน้ 29 พฤษภาคม 2564). Copyright. (2021). ประวัติความเปน็ มาของโคเน้ือในไทย. (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : https://www.farmsteadinc.com. (วันท่สี ืบคน้ 26 พฤษภาคม 2564). ~ 229 ~
การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ การศึกษาความพึงพอใจและแนวทางการพฒั นาของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการคนละครึง่ เฟส 1 จังหวัดอตุ รดิตถ์ นราพร กลัดจิตร1 อาริมา ทองปนิ 2 ยุพนิ เถือ่ นศร3ี * บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ แนวทางการพัฒนาของผู้เข้าร่วมโครงการ และ เปรยี บเทยี บความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการคนละครึ่งเฟส 1 ในจงั หวดั อุตรดิตถ์ เปน็ การวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชากรคือผู้เข้าร่วมโครงการคนละครึ่งเฟส 1 จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ใช้การสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า T-test ส่วนกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน ใช้วธิ ีการคัดเลือกแบบบอกต่อ วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยการวิเคราะห์เนอ้ื หา ผลการวจิ ยั พบวา่ ความ พึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก แนวทางการพัฒนาโครงการคนละครึ่งเฟส 1 มีดังน้ี ด้านความสะดวก ควรมชี ่วงเวลาเปดิ รับลงทะเบยี นที่เหมาะสม ร้านคา้ ทรี่ ่วมโครงการมเี พียงพอ มีชอ่ งทางการ ชำระเงินที่สะดวก ด้านสิทธิประโยชน์ ควรมีระบบการตรวจสอบสิทธิ์ของผูเ้ ข้าร่วมโครงการชัดเจน ควรขยาย ช่วงเวลาการใช้สิทธิ์จาก 06.00-23.00 น. เป็น 24 ชั่วโมง ด้านเงื่อนไขโครงการ ควรการกำหนดวงเงินให้ เพียงพอต่อการใช้จา่ ยในแตล่ ะวนั ควรระบสุ ทิ ธิ์การลงทะเบียนให้เหมาะสม ดา้ นขน้ั ตอนการลงทะเบียน ควรมี แนวทางสำหรับผู้ที่ไม่มีสมาร์ทโฟนในการลงทะเบียน มีระบบการลงทะเบียนที่รองรับผู้สมัครจำนวนมากได้ และเข้าใจง่าย ด้านการประชาสัมพันธ์ ควรมีการแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับการใช้งานแอพพลิเคชันที่รวดเร็ว หลากหลายช่องทาง และทว่ั ถงึ คำสำคัญ : โครงการคนละครงึ่ เฟส 1 ความพึงพอใจ แนวทางการพฒั นา 1นกั ศึกษาปรญิ ญาตรี สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ 3อาจารย์ทีป่ รกึ ษา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราช-ภฏั อตุ รดิตถ์ ~ 230 ~
การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ A study of satisfaction and development guidelines of half-person participants in Phase 1, Uttaradit Province Abstract The purpose of this research was to study satisfaction. Development guidelines of project participants and compare the satisfaction of the participants in the half phase 1 project in Uttaradit Province. It is a quantitative and qualitative research. The population is half a participant in Phase 1, Uttaradit Province. The sample consisted of 400 people using random random sampling. The tools used were questionnaires and interview forms. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and T-test. The target group were 1 0 participants in the project, using a word-of-mouth selection method. Analyze the data by analyzing the content. The tools used were questionnaires and interview forms. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and T-test. The target group were 10 participants in the project, using a word-of-mouth selection method. Analyze the data by analyzing the content. The results showed that Overall project participants' satisfaction was at a high level. The development guidelines for the half-person project phase 1 are as follows: There should be an appropriate registration opening period. There are enough shops participating in the project. There are convenient payment methods Benefits There should be a clear authentication system for project participants. The privilege period should be extended from 06.00-23.00 to 24 hours. in terms of project conditions Should set a limit that is enough to spend each day. Registration rights should be specified appropriately. The registration process There should be a guideline for those who do not have a smartphone to register. There is a registration system that can accommodate a large number of applicants and is easy to understand. public relations Should be informed about the use of fast applications. through a variety of channels. Keywords : Half-person project Phase 1, Satisfaction, Development guidelines. ~ 231 ~
การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ บทนำ การบรหิ ารระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในทกุ รัฐบาลต่างก็มุ่งหวังทีจ่ ะเพิม่ ตวั เลขการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ และเพิ่มรายได้ประชาชาติหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ให้สูงขึ้น โดยวิธีการเพ่ิม ตัวเลขดงั กล่าวน้ันสามารถกระทำได้โดยการกระตุ้นเศรษฐกิจในด้านต่างๆ ซึ่งวธิ ีการกระต้นุ เศรษฐกิจโดยท่ัวไป น้ันมี 3 แนวทาง อาทิ แนวทางกระตุ้นทางด้านอุปสงค์และอุปทาน แนวทางการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยใช้ นโยบายการเงนิ และนโยบายการคลัง และแนวทางกระต้นุ เศรษฐกิจโดยการดำเนินนโยบายของรฐั บาลโดยตรง สำหรับประเทศไทยได้นำมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมาใช้ในสมัยนายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์ จันโอชา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2562 คือ มาตรการบรรเทาค่าครองชีพผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและกองทุนหมู่บ้าน มาตรการ เพื่อบรรเทาค่าครองชีพสำหรับเกษตรกรผู้ประสบภัยแล้งปี พ.ศ. 2562 และเกษตรกรรายย่อย และมาตรการ เพื่อกระตุ้นการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายใ นภาคการท่องเที่ยวและส่งเสริม การลงทนุ SMEs และภาคเอกชนผา่ นมาตรการทางการเงินและมาตรการทางภาษี (ประชาชาตธิ รุ กจิ . 2563) สำหรับโครงการคนละครึ่งเฟส 1 ซึ่งเริ่มดำเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 23 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นโครงการที่รัฐบาลนำออกมาใช้เพื่อกระตุ้นให้เกิดกระแสเงินในระบบเศรษฐกิจของประเทศในทุกระดับ เพราะสิทธิ์ของผู้ที่จะเข้าร่วมโครงการได้ในกลุ่มผู้ขาย จะต้องเป็นร้านค้าขนาดเล็กที่อยู่ตามชุมชน ตลาดนัด แผงลอย หาบเร่ เป็นต้น ในส่วนของประชาชนเง่ือนไขการเข้าร่วมโครงการ คือ ไม่เป็นผู้มีบัตรสวัสดิการแห่ง รัฐ ปัจจุบันได้มีมาตรกระตุ้นเศรษฐกิจคือโครงการคนละครึ่ง เสนอโดยกระทรวงการคลัง มุ่งเน้นไปเพ่ือ แก้ปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดจากวิกฤตโควิดโดยเฉพาะ และมีกลุ่มเป้าหมายอยู่ที่ประชาชนระดับกลางถงึ ล่าง โครงการคนละครึ่ง ภาครัฐช่วยออกค่าใช้จ่ายให้ครึ่งหนึ่ง แต่ไม่เกิน 150 บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน 3,000 บาท ตลอดระยะเวลาโครงการ ภายใต้วงเงินอุดหนุน 30,000 ล้านบาท ซึ่งโครงการคนละครึ่งเฟส 1 สิทธิ์ที่ สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการได้มี 10 ล้านคน (คนละครึ่ง. 2564) โดยมีผู้ลงทะเบียนใช้สิทธิ์รวมทั้งส้ิน 10 ล้านสทิ ธิ์ (ประชาชาติธุรกจิ . 2563) จากการศึกษาเอกสารโครงการคนละครึ่งเฟส 1 ในจังหวดั อตุ รดิตถ์ ภายหลังไดด้ ำเนนิ การมาต้งั แต่ 23 ตุลาคม 2563 พบปัญหาสำคัญและอุปสรรคหลายประการ อาทิ บางรายสแกนใบหน้าเพ่ือยืนยันตัวไม่ผ่านทำ ให้เสยี เวลาในการตดิ ต่อกับธนาคารกรงุ ไทย การค้นหาร้านค้าท่ีรว่ มรายการใชเ้ วลานาน ระบบอนิ เตอร์เน็ตล่ม บ่อยครั้ง และเครือข่ายสัญญาณมือถือไม่เสถียร เป็นต้น และจากการสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมมาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจโครงการคนละครึ่งเฟส 1 ในจังหวัดอุตรดิตถ์เพิ่มเติม (เทียม สุกใส, คมเพชร อ่อนวงษ์. 13 กุมภาพันธ์ 2564) สรุปได้ว่า โครงการคนละครึ่งเฟส 1 มีประโยชน์ในด้านช่วยให้ประชาชนมีรายได้เพ่ือ นำมาใชจ้ ่ายในชีวติ ประจำวนั มากขนึ้ โดยรา้ นค้าทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะไดร้ ับผลประโยชนใ์ นด้านมรี ายได้เพ่ิมขึ้น และมีผู้ที่มาใช้บริการรู้จักร้านค้าเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการค้าขายก่อนนำโครงการคนละครึ่งเฟส 1 มาใช้ พบว่ารายได้จากการค้าขายมีน้อย จนกระทั่งเมื่อมีโครงการคนละครึ่งเฟส 1 ทำให้ร้านค้ามีรายได้จากการค้า ขายเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาสำคัญประการหนึ่งคือระบบแอพริเคชันไม่สามารถใช้งานได้ ตลอดเวลา ทำให้เกดิ ความลา่ ชา้ ในการชำระเงนิ ให้แก่รา้ นค้า ~ 232 ~
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 516
Pages: