Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

Published by Pawinee Keawsangin, 2020-09-30 06:44:21

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2563

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสูตร หลักสตู รโรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 36 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ประกาศโรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม เรื่อง ให้ใชห้ ลักสตู รโรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ****************** เพ่ือให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 สอดคลอ้ งกบั สภาพการเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคมวฒั นธรรมสภาพแวดลอ้ ม และความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอยา่ งรวดเรว็ เป็นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพ คนของชาติ ให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการ เรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคลอ้ งกับประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียม กับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดังน้ันโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม จึงได้ดาเนินการเพ่ือให้เป็นไปตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง ให้ ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) เม่ือวนั ที่ 7 สิงหาคม 2560 และ คาส่ังให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 รวมทั้งประกาศ เร่ืองการบริหาร จดั การหลกั สูตรสถานศึกษากลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการ เรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 8 มกราคม 2561 และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ี 921/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2561เร่ืองยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระท่ี 2 การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐานที่ 922/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เร่ือง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจัดทารายวิชาการป้องกันการทุจริต เป็นท่ี เรียบรอ้ ย ท้ังนี้หลักสูตรโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมอ่ื วนั ท่ี 1 เดอื น เมษายน พ.ศ.2563 จึงประกาศให้ใชห้ ลักสูตรโรงเรยี นตง้ั แต่บดั นเ้ี ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ 1 เดือน เมษายน พ.ศ.2563 (ลงชือ่ ) (ลงชื่อ) (นายเลอื่ น ผิวผอ่ ง) (นายเจรญิ โกศยั ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผ้อู านวยการโรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

ก สารบญั หน้า ประกาศโรงเรียน……………………………………………………………………………………...………………..…… ก ความนา…………………………………………………………………………………………………………………….…... 1 วิสยั ทัศนข์ องหลักสตู รสถานศึกษา................................................................................................. 2 สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น............................................................................................................ 2 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์............................................................................................................. 3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้....................................................................................................... 3 คณุ ภาพผู้เรียน............................................................................................................................... 5 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง............................................................................................ 6 โครงสรา้ งหลกั สูตรกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม................................................. 47 คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวิชาพ้นื ฐาน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ................................. 49 คาอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวิชาพืน้ ฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย............................. 89 คาอธิบายรายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ................................. 109 คาอธิบายรายวชิ าและโครงสรา้ งรายวิชาเพม่ิ เติม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย............................. 128 แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้...................................................................................... 147

1 ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีและมีขีดความสามารถ ในการ แขง่ ขนั ในเวทรี ะดบั โลก พร้อมกันน้ีได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2442 และ ท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ท่ีมุ่งเน้น การกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ิน และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลกั สูตรเพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพ และ ความต้องการของท้องถ่ิน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม ได้จัดทาขึ้นให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง2560) ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมาย ของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การ โดยได้มีการกาหนด วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด ท่ีชัดเจน นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง รายวิชาแกนกลางและรายวิชาเพิม่ เตมิ ในแต่ละช้ันปีไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาตามความพร้อมและจุดเน้น อกี ท้ังได้ปรับกระบวนการวดั และประเมินผลผ้เู รยี น เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดง หลักฐานทางการศึกษาใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ และมคี วามชัดเจนต่อการนาไปปฏบิ ัติ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2563 นี้ จัดทาขึ้นสาหรับครูผู้สอนได้นาไปใช้ เป็นทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จาเป็น สาหรับการดารงชีวิต ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ตลอดชวี ิต เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

2 วิสยั ทัศน์ โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม จัดการศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี ด้วยวถิ ีตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดหมายของหลกั สตู ร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดังนี้ 1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏิบตั ติ น ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะ ชีวิต 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มสี ุขนสิ ยั และรกั การออกกาลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่มี ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งส่ิงทดี่ ีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารสอ่ื สาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีมตี อ่ ตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

3 เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียง พฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนขุนตาลวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่ ว่ มกบั ผู้อนื่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุง่ มน่ั ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ทาไมตอ้ งเรยี นสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชีวิต เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสังคมโลก เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความ เช่ือมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระตา่ งๆไว้ ดงั นี้  ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สงั คมและสว่ นรวม เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

4  หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยม ด้านประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ สิทธิ หนา้ ที่ เสรีภาพการดาเนินชวี ิตอย่างสันติสุข ในสงั คมไทยและสงั คมโลก  เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรท่ีมอี ยู่อย่างจากดั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การดารงชวี ิตอย่างมีดลุ ยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจาวัน  ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมทส่ี าคัญของโลก  ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสงิ่ ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และส่งิ ที่มนษุ ยส์ ร้างข้นึ การนาเสนอข้อมลู ภมู ิสารสนเทศ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทย่ี ่ังยนื สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตาม หลกั ธรรม เพอ่ื อยูร่ ่วมกันอยา่ งสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระห นั กและป ฏิ บั ติตนเป็ น ศาสนิ กช นที่ ดี และธารงรักษ า พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนับถอื สาระที่ 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ัตติ นตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีคา่ นิยมทีด่ ีงาม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สงั คมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และธารง รักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรพั ยากรทีม่ อี ยู่จากัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคุม้ คา่ รวมทัง้ เข้าใจ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ การดารงชีวติ อยา่ งมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ และความจาเป็นของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

5 สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในดา้ นความสัมพันธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและ สามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จและธารงความเปน็ ไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผล ต่อ มาตรฐาน ส 5.1 กนั ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางวิทยาคมศาสตร์ตลอดจนใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี มาตรฐาน ส 5.2 ประสิทธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อใหเ้ กิดการ สรา้ งสรรคว์ ถิ ีการดาเนินชีวิต มีจติ สานกึ และมีสว่ นรว่ มในการจดั การทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาท่ยี ั่งยืน คณุ ภาพผเู้ รยี น จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3  ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับ ประเทศในภูมภิ าคต่างๆในโลก เพ่อื พัฒนาแนวคิด เรื่องการอย่รู ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ  ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และ ภมู ศิ าสตร์ ด้วยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ และสังคมศาสตร์  ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ใน การดาเนินชีวติ และวางแผนการดาเนินงานไดอ้ ย่างเหมาะสม จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6  ได้เรยี นร้แู ละศกึ ษาความเป็นไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลึกซึ้งย่งิ ขึ้น  ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมท้ังมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนและอยู่ในสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ รวมทัง้ มศี ักยภาพเพือ่ การศึกษาตอ่ ในชัน้ สงู ตามความประสงค์ได้ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

6  ได้เรียนรู้เร่ืองภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยดึ ม่ันในวิถีชวี ติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข  ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสรา้ งสง่ิ ทด่ี งี ามให้กบั สงั คม  เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ การเรียนรตู้ ่างๆในสังคมไดต้ ลอดชีวิต ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยดึ มนั่ และปฏิบัติตามหลกั ธรรมเพอ่ื อยู่ รว่ มกันอยา่ งสันติสุข ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การสังคายนา ศาสนาทตี่ นนบั ถือส่ปู ระเทศไทย  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย 2. วิเคราะหค์ วามสาคัญของ  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ที่ สงั คมไทยในฐานะเป็น มตี ่อสภาพแวดลอ้ มในสงั คมไทย รวมทั้ง  ศาสนาประจาชาติ การพัฒนาตนและครอบครวั  สถาบันหลักของสงั คมไทย  สภาพแวดล้อมที่กวา้ งขวาง และ ครอบคลุมสังคมไทย  การพฒั นาตนและครอบครัว 3. วเิ คราะห์พทุ ธประวัตติ ้ังแต่ประสูตจิ นถึง  สรปุ และวิเคราะห์ พุทธประวตั ิ บาเพญ็ ทุกรกิรยิ า หรือประวตั ิศาสดาที่  ประสตู ิ ตนนับถอื ตามที่กาหนด  เทวทตู 4  การแสวงหาความรู้  การบาเพ็ญทุกรกริ ิยา 4. วิเคราะห์และประพฤตติ นตาม  พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา แบบอย่างการดาเนินชวี ิตและข้อคิดจาก  พระมหากสั สปะ ประวตั ิสาวก ชาดก/เรือ่ งเลา่ และศาสนิก  พระอบุ าลี ชนตัวอย่างตามท่ีกาหนด  อนาถบิณฑิกะ  นางวิสาขา  ชาดก  อมั พชาดก  ตติ ตริ ชาดก เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

7 ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 5. อธบิ ายพทุ ธคณุ และข้อธรรมสาคญั ใน  พระรตั นตรัย  พุทธคณุ 9 กรอบอรยิ สจั 4 หรือหลกั ธรรมของ ศาสนาทตี่ นนับถือ ตามทกี่ าหนด เห็น  อริยสัจ 4 คุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ  ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) ตนเองและครอบครวั o ขันธ์ 5 - ธาตุ 4  สมุทัย (ธรรมท่คี วรละ) o หลกั กรรม - ความหมายและคุณคา่ o อบายมุข 6  นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สขุ 2 (กายิก, เจตสิก) o คหิ สิ ุข  มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ) o ไตรสกิ ขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 -ไมค่ บคนพาล - คบบัณฑติ - บชู าผู้ควรบูชา  พุทธศาสนสภุ าษิต  ย เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเปน็ คนเช่นนั้น  อตตฺ นา โจทยตฺตาน จงเตอื นตน ด้วยตน  นสิ มมฺ กรณ เสยโฺ ย ใครค่ รวญก่อนทาจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทกุ ฺขา 6. เหน็ คณุ คา่ ของการพัฒนาจิต เพอ่ื การ เรอื นท่ีครองไม่ดีนาทุกข์มาให้ เรียนร้แู ละการดาเนนิ ชวี ิต ด้วยวิธีคดิ แบบ โยนิโสมนสิการคือวิธคี ดิ แบบคุณคา่ แท้ –  โยนิโสมนสกิ าร คณุ ค่าเทยี ม และวิธคี ิดแบบคุณ – โทษ  วิธคี ิดแบบคณุ คา่ แท้ – คุณคา่ เทียม  วธิ คี ิดแบบคณุ - โทษและทางออก และทางออก หรือการพฒั นาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

8 ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 7. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา เจรญิ ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม  วิธปี ฏบิ ัติและประโยชนข์ องการบรหิ ารจติ แนวทางของศาสนาท่ีตนบั ถือตามท่ี และเจริญปัญญา การฝึกบริหารจติ และ กาหนด เจริญปญั ญาตามหลักสติปฎั ฐานเนน้ อานาปานสติ  นาวธิ ีการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญาไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั 8. วเิ คราะห์และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม  หลักธรรม (ตามสาระการเรยี นรู้ขอ้ 5) ทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ในการดารงชีวิต แบบพอเพยี ง และดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ การอยู่รว่ มกนั ได้อย่างสนั ตสิ ุข 9. วเิ คราะหเ์ หตุผลความจาเป็นท่ีทุกคน  ศาสนกิ ชนของศาสนาต่าง ๆ มีการ ตอ้ งศึกษาเรียนรู้ศาสนาอน่ื ๆ ประพฤติปฏบิ ัติตนและวถิ ีการดาเนินชวี ติ แตกตา่ งกันตามหลักความเชื่อและคาสอน ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ 10. ปฏิบตั ิตนตอ่ ศาสนิกชนอื่นใน  การปฏิบตั อิ ยา่ งเหมาะสมตอ่ ศาสนกิ ชนอื่น สถานการณต์ ่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ในสถานการณ์ตา่ งๆ 11. วเิ คราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็น  ตัวอยา่ งบคุ คลในท้องถิน่ หรือประเทศที่ แบบอย่างด้านศาสนสมั พันธ์ และนาเสนอ ปฏิบัติตนเปน็ แบบอยา่ งดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ แนวทางการปฏบิ ัติของตนเอง หรอื มีผลงานดา้ นศาสนสมั พันธ์ ม.2 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สูป่ ระเทศ ศาสนาที่ตนนบั ถือสปู่ ระเทศ เพ่ือนบ้านและการนบั ถือพระพุทธ -ศาสนา เพอื่ นบา้ น ของประเทศเพ่ือนบา้ นในปจั จุบัน 2. วิเคราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธ-  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาทีช่ ่วย ศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถือทช่ี ว่ ย เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดีกับประเทศ เสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันดีกับประเทศ เพอ่ื นบ้าน เพือ่ นบ้าน 3. วิเคราะหค์ วามสาคัญของ  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือใน สังคมไทยในฐานะเป็น ฐานะท่ีเปน็ รากฐานของวฒั นธรรม  รากฐานของวฒั นธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ  เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ 4. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธ -  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากบั ศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือกับ การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบียบสงั คม การพฒั นาชมุ ชนและการจัดระเบยี บสงั คม 5. วเิ คราะหพ์ ุทธประวตั หิ รอื ประวัตศิ าสดา  สรปุ และวิเคราะห์ พทุ ธประวัติ ของศาสนาทต่ี นนับถอื ตามท่ีกาหนด  การผจญมาร เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

9 ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  การตรัสรู้  การสั่งสอน 6. วเิ คราะห์และประพฤติตนตาม  พระสารบี ตุ ร แบบอยา่ งการดาเนินชีวิตและขอ้ คิดจาก  พระโมคคลั ลานะ ประวตั สิ าวก ชาดก/เรือ่ งเล่าและ  นางขชุ ชุตตรา ศาสนิกชนตวั อยา่ งตามท่ีกาหนด  พระเจา้ พิมพสิ าร  มิตตวินทกุ ชาดก  ราโชวาทชาดก 7. อธบิ ายโครงสร้าง และสาระสังเขปของ  โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ พระไตรปิฎก หรือคัมภีรข์ องศาสนาที่ตน พระวินยั ปฎิ ก พระสตุ ตันตปิฎก นบั ถือ และพระอภธิ รรมปิฎก 8. อธบิ ายธรรมคุณ และข้อธรรมสาคญั ใน  พระรัตนตรัย กรอบอริยสจั 4 หรอื หลักธรรมของศาสนา  ธรรมคณุ 6 ท่ตี นนับถือ ตามท่ีกาหนด เห็นคณุ คา่  อรยิ สจั 4 และนาไปพฒั นา แก้ปัญหาของ  ทุกข์ (ธรรมทีค่ วรร)ู้ o ขันธ์ 5 ชมุ ชนและสังคม - อายตนะ  สมุทยั (ธรรมทีค่ วรละ) o หลักกรรม - สมบัติ 4 - วิบตั ิ 4 o อกศุ ลกรรมบถ 10 o อบายมุข 6  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ o สขุ 2 (สามิส, นริ ามสิ )  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o บพุ พนิมติ ของมัชฌิมาปฏปิ ทา o ดรณุ ธรรม 6 o กลุ จิรฏั ฐติ ิธรรม 4 o กศุ ลกรรมบถ 10 o สติปฏั ฐาน 4 o มงคล 38 - ประพฤตธิ รรม - เวน้ จากความชั่ว - เวน้ จากการด่มื นา้ เมา เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

10 ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง  พทุ ธศาสนสภุ าษติ  กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก สตั ว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม  กลยฺ าณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก ทาดีไดด้ ี ทาชั่ว ได้ชั่ว  สุโข ปุญญฺ สสฺ อุจฺจโย การสง่ั สม บญุ นาสุขมาให้  ปชู โก ลภเต ปชู วนทฺ โก ปฏวิ นทฺ น ผบู้ ชู าเขา ย่อมไดร้ ับการบชู า ตอบ ผู้ไหวเ้ ขายอ่ มไดร้ บั การไหวต้ อบ 9. เหน็ คณุ คา่ ของการพัฒนาจิตเพื่อการ  พัฒนาการเรยี นรู้ดว้ ยวธิ ีคดิ แบบโยนโิ ส- เรียนรแู้ ละดาเนินชวี ิต ดว้ ยวิธคี ดิ แบบ มนสิการ 2 วธิ ี คอื วิธีคิดแบบอบุ ายปลกุ โยนิโสมนสกิ ารคือ วธิ ีคดิ แบบอบุ ายปลกุ เรา้ คณุ ธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถธรรม เร้าคุณธรรม และวธิ ีคดิ แบบอรรถธรรม สัมพันธ์ สัมพันธ์ หรือการพฒั นาจติ ตามแนวทาง ของศาสนาท่ีตนนับถือ 10. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตาม  รู้และเขา้ ใจวิธปี ฏิบตั ิและประโยชน์ของ แนวทางของศาสนาทต่ี นนับถือ การบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญา  ฝกึ การบริหารจติ และเจริญปญั ญาตามหลัก สตปิ ฎั ฐาน เน้นอานาปานสติ  นาวิธีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา ไปใช้ ในชีวติ ประจาวัน 11.วเิ คราะหก์ ารปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม  การปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาท่ีตนนับถือ เพ่ือการดารงตน การเรียนรู้ ข้อ 8.) อยา่ งเหมาะสมในกระแสความเปล่ยี นแปลง ของโลก และการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ุข ม. 3 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศ ศาสนาทต่ี นนับถือสปู่ ระเทศต่างๆ ทั่วโลก ต่าง ๆ ท่วั โลก และการนบั ถือ พระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านนั้ ในปัจจบุ นั 2. วิเคราะห์ความสาคัญของ  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ี พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือใน ชว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสขุ ฐานะที่ช่วยสรา้ งสรรค์อารยธรรม และ ให้แกโ่ ลก ความสงบสขุ แก่โลก เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

11 ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. อภปิ รายความสาคญั ของ  สมั มนาพระพุทธศาสนากับปรชั ญาของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ เศรษฐกจิ พอเพียงและการพัฒนาอย่าง กบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ ยัง่ ยนื (ท่สี อดคลอ้ งกบั หลักธรรมในสาระ การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื การเรียนรู้ ข้อ 6 ) 4. วเิ คราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพุทธรปู  ศกึ ษาพุทธประวตั ิจากพระพุทธรูปปาง ปางต่างๆ หรือประวัตศิ าสดาท่ตี นนบั ถือ ตา่ ง ๆ เช่น ตามท่ีกาหนด o ปางมารวชิ ยั o ปางปฐมเทศนา o ปางลลี า o ปางประจาวนั เกดิ  สรุปและวเิ คราะห์พุทธประวัติ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏโิ มกข์ 5. วิเคราะหแ์ ละประพฤตติ นตาม  พระอัญญาโกณฑญั ญะ แบบอย่างการดาเนินชวี ิตและข้อคิดจาก  พระมหาปชาบดเี ถรี ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเลา่ และ  พระเขมาเถรี ศาสนิกชนตวั อยา่ ง ตามที่กาหนด  พระเจา้ ปเสนทิโกศล  นันทิวิสาลชาดก  สวุ ณั ณหังสชาดก 6. อธิบายสงั ฆคณุ และข้อธรรมสาคัญใน  พระรัตนตรัย กรอบอริยสจั 4 หรือหลกั ธรรมของ  สังฆคณุ 9 ศาสนาท่ตี นนับถือตามทีก่ าหนด  อริยสัจ 4  ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) o ขนั ธ์ 5 -ไตรลักษณ์  สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) o หลกั กรรม -วฏั ฏะ 3 -ปปัญจธรรม 3 (ตณั หา มานะ ทิฎฐ)ิ  นโิ รธ (ธรรมทีค่ วรบรรลุ) o อตั ถะ 3  มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) o มรรคมีองค์ 8 o ปัญญา 3 o สปั ปรุ ิสธรรม 7 เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

12 ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง o บุญกิรยิ าวัตถุ 10 o อบุ าสกธรรม 7 o มงคล 38 - มศี ิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล  พทุ ธศาสนสภุ าษติ  อตตฺ า หเว ชิต เสยฺโย ชนะตนน่ันแลดกี วา่  ธมมฺ จารี สุข เสติ ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยเู่ ปน็ สุข  ปมาโท มจฺจโุ น ปท ความประมาทเปน็ ทางแห่งความตาย  สสุ ฺสูส ลภเต ปญฺญ ผฟู้ งั ดว้ ยดยี ่อมไดป้ ญั ญา  เรอ่ื งน่าร้จู ากพระไตรปฎิ ก : พทุ ธ ปณธิ าน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร 7. เห็นคุณคา่ และวิเคราะห์การปฏบิ ัติตน  การปฏบิ ัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ ตามหลักธรรมในการพฒั นาตน การเรยี นรู้ ขอ้ 6.) เพอ่ื เตรียมพร้อมสาหรับการทางาน และการมคี รอบครัว 8. เห็นคณุ ค่าของการพฒั นาจิตเพื่อการ  พัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวิธคี ิดแบบ เรยี นรู้และดาเนนิ ชวี ิต ดว้ ยวธิ คี ิดแบบ โยนิโสมนสิการ 2 วธิ ี คอื วิธคี ิดแบบ โยนโิ สมนสกิ ารคือ วิธีคิดแบบอริยสจั และ อริยสจั และวธิ คี ิดแบบสบื สาวเหตุปัจจยั วธิ ีคิดแบบสืบสาวเหตปุ ัจจยั หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาทต่ี น นบั ถือ 9. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา เจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตาม  รแู้ ละเขา้ ใจวธิ ีปฏบิ ตั ิและประโยชนข์ องการ แนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถือ บรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา  ฝึกการบรหิ ารจติ และเจริญปัญญาตามหลัก สติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ  นาวธิ ีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

13 ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 10. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวถิ ี  วิถกี ารดาเนินชีวติ ของศาสนกิ ชนศาสนา การดาเนินชีวติ ของศาสนิกชนในศาสนา อ่นื ๆ อนื่ ๆ ม.4-ม.6 1.วเิ คราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความ  ลกั ษณะของสังคมชมพูทวปี และคติความ เชื่อทางศาสนาสมยั ก่อนพระพุทธเจ้า เชอื่ ทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจา้ หรอื สงั คมสมยั ของศาสดาท่ตี นนบั ถือ 2. วิเคราะห์ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็น  พระพทุ ธเจ้าในฐานะเปน็ มนุษย์ ผฝู้ กึ ตนได้ มนษุ ยผ์ ฝู้ กึ ตนได้อยา่ งสูงสดุ ในการตรสั รู้ อยา่ งสูงสุด (การตรสั รู้) การก่อต้ัง วิธกี ารสอนและการเผยแผ่  การก่อตัง้ พระพุทธศาสนา วธิ ีการสอน พระพุทธศาสนา หรือวิเคราะห์ประวตั ิ และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนว ศาสดาท่ตี นนบั ถอื ตามทกี่ าหนด พทุ ธจริยา 3.วิเคราะห์พุทธประวัตดิ า้ นการบรหิ าร  พทุ ธประวัติดา้ นการบริหารและการธารง และการธารงรักษาศาสนา หรือ วิเคราะห์ รักษาพระพทุ ธศาสนา ประวัตศิ าสดาท่ีตนนบั ถือ ตามท่กี าหนด 4. วเิ คราะหข์ ้อปฏิบตั ิทางสายกลางใน  พระพุทธศาสนามที ฤษฎีและวิธีการท่ีเปน็ พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี สากลและมีข้อปฏิบตั ิท่ยี ึดทางสายกลาง ตนนบั ถอื ตามท่กี าหนด 5. วิเคราะห์การพฒั นาศรทั ธา และปัญญาท่ี  พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและ ถกู ต้องในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ปัญญาทถี่ ูกต้อง ศาสนาทตี่ นนับถือ ตามท่ีกาหนด 6. วิเคราะหล์ ักษณะประชาธปิ ไตยใน  ลกั ษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธ- ศาสนา พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ี ตนนบั ถอื ตามท่ีกาหนด 7. วเิ คราะห์หลักการของพระพทุ ธศาสนา  หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลัก กับหลักวทิ ยาศาสตร์ หรือแนวคิดของ วทิ ยาศาสตร์ ศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามทกี่ าหนด  การคิดตามนยั แห่งพระพทุ ธศาสนาและ 8. วเิ คราะห์การฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ การพงึ่ ตนเอง และการมุง่ อิสรภาพใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ี  พระพทุ ธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน ตนนบั ถือตามที่กาหนด การพง่ึ ตนเอง และการม่งุ อิสรภาพ 9. วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนาวา่ เปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศึกษาซึง่ เนน้  พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสตร์แหง่ การศึกษา  พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธ์ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

14 ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ความสมั พนั ธ์ของเหตปุ จั จัยกับ ของเหตปุ จั จัยและวธิ ีการแก้ปัญหา วิธีการแกป้ ญั หา หรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ี ตนนับถอื ตามท่ีกาหนด 10. วเิ คราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตน  พระพทุ ธศาสนาฝึกตนไมใ่ หป้ ระมาท ไมใ่ ห้ประมาท มุ่งประโยชนแ์ ละสนั ติภาพ  พระพทุ ธศาสนามุ่งประโยชน์สขุ และ บุคคล สงั คมและโลก หรือแนวคดิ ของ สันติภาพแก่บุคคล สงั คมและโลก ศาสนาทตี่ นนบั ถือตามทีก่ าหนด 11. วเิ คราะห์พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญา  พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ของเศรษฐกจิ พอเพียงและการพัฒนา พอเพียงและการพฒั นาแบบยั่งยืน ประเทศแบบยั่งยนื หรือแนวคดิ ของ ศาสนาทีต่ นนบั ถือตามทีก่ าหนด 12. วิเคราะห์ความสาคญั ของ  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนากบั พระพุทธศาสนาเกยี่ วกบั การศกึ ษา การศึกษาทส่ี มบูรณ์ ทสี่ มบูรณ์ การเมืองและสนั ติภาพ  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนากบั หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนับถอื การเมือง ตามท่กี าหนด  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากบั สนั ตภิ าพ 13. วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบ อรยิ สัจ 4  พระรตั นตรัย หรือหลกั คาสอนของศาสนา ท่ีตนนับถือ  วเิ คราะหค์ วามหมายและคุณค่าของ พทุ ธะ ธรรมะ สงั ฆะ  อรยิ สจั 4  ทุกข์ (ธรรมท่คี วรรู้) o ขนั ธ์ 5 - นามรูป - โลกธรรม 8 - จิต, เจตสกิ  สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) o หลักกรรม - นยิ าม 5 - กรรมนิยาม ( กรรม 12) - ธรรมนยิ าม(ปฏจิ จสมุปบาท) o วิตก 3 o มิจฉาวณชิ ชา 5 o นวิ รณ์ 5 o อปุ าทาน 4 เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

15 ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง  นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) o ภาวนา 4 o วมิ ุตติ 5 o นิพพาน  มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) o พระสัทธรรม 3 o ปัญญาวุฒิธรรม 4 o พละ 5 o อบุ าสกธรรม 5 o อปริหานิยธรรม 7 o ปาปณกิ ธรรม 3 o ทิฏฐธมั มกิ ัตถสังวตั ตนกิ ธรรม 4 o โภคอาทิยะ 5 o อริยวัฑฒิ 5 o อธปิ ไตย 3 o สาราณียธรรม 6 o ทศพิธราชธรรม 10 o วิปสั สนาญาณ 9 o มงคล 38 - สงเคราะห์บตุ ร - สงเคราะหภ์ รรยา - สนั โดษ - ถูกโลกธรรมจติ ไมห่ วน่ั ไหว - จติ ไมเ่ ศรา้ โศก - จิตไม่มัวหมอง - จิตเกษม - ความเพยี รเผากิเลส - ประพฤติพรหมจรรย์ - เหน็ อริยสัจ - บรรลุนิพพาน  พทุ ธศาสนสุภาษติ  จิตฺต ทนตฺ สุขาวห จติ ท่ีฝกึ ดีแล้วนาสขุ มาให้  นอุจจฺ าวจ ปณฺฑติ า ทสฺสยนฺติ บณั ฑติ ย่อมไมแ่ สดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ  นตฺถิ โลเก อนนิ ทฺ โิ ต เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

16 ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง คนท่ไี ม่ถกู นนิ ทา ไม่มใี นโลก  โกธ ฆตวฺ า สขุ เสติ ฆา่ ความโกรธไดย้ ่อมอย่เู ป็นสุข  ปฏิรูปการี ธรุ วา อุฎฐฺ าตา วนิ ทฺ เต ธน คนขยนั เอาการเอางาน กระทา เหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้  วายเมถว ปรุ ิโส ยาว อตฺถสฺส นิปปฺ ทา เกดิ เป็นคนควรจะพยายามจนกว่าจะ ประสบความสาเรจ็  สนฺตฎฺฐี ปรม ธน ความสนั โดษเปน็ ทรัพย์อย่างยง่ิ  อิณาทาน ทุกขฺ โลเก การเปน็ หนีเ้ ปน็ ทุกข์ในโลก  ราชา มขุ มนสุ สฺ าน พระราชาเป็นประมุขของประชาชน  สติ โลกสฺมิ ชาคโร สตเิ ปน็ เครือ่ งต่นื ในโลก  นตถฺ ิ สนตฺ ปิ ร สขุ สขุ อ่นื ยิ่งกวา่ ความสงบไม่มี  นิพพฺ าน ปรม สุข นิพพานเป็นสุข อย่างย่ิง 14. วเิ คราะหข์ ้อคดิ และแบบอย่าง  พุทธสาวก พุทธสาวกิ การดาเนนิ ชวี ติ จากประวตั ิสาวก ชาดก  พระอสั สชิ เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่าง ตามท่ี  พระกสี าโคตมีเถรี กาหนด  พระนางมัลลิกา  หมอชีวก โกมารภจั  พระอนุรุทธะ  พระองคุลิมาล  พระธัมมทินนาเถรี  จติ ตคหบดี  พระอานนท์  พระปฏาจาราเถรี  จูฬสุภัททา  สมุ นมาลาการ  ชาดก  เวสสันดรชาดก เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

17 ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก  ชาวพทุ ธตัวอย่าง  พระนาคเสน - พระยามิลินท์  สมเด็จพระวนั รตั (เฮง เขมจาร)ี  พระอาจารย์มนั่ ภูริทตโฺ ต  สชุ ีพ ปุญญานภุ าพ  สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภกิ ข)ุ  พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานนั ท ภกิ ข)ุ  ดร.เอม็ เบดการ์  พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า เจา้ อยูห่ ัว  พระโพธิญาณเถร (ชา สภุ ทฺโท)  พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)  อนาคารกิ ธรรมปาละ 15. วิเคราะห์คุณคา่ และความสาคญั ของ  วิธีการศกึ ษาและค้นคว้าพระไตรปฏิ ก และ การสังคายนา พระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ์ คมั ภรี ์ของศาสนาอื่น ๆ การสังคายนาและ ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ และการเผยแผ่ การเผยแผพ่ ระไตรปฏิ ก  ความสาคัญและคุณค่าของพระไตรปฏิ ก 16. เชื่อม่ันตอ่ ผลของการทาความดี ความ  ตัวอยา่ งผลท่เี กิดจากการทาความดี ช่ัว สามารถวเิ คราะหส์ ถานการณ์ที่ตอ้ ง ความชัว่ เผชญิ และตดั สนิ ใจเลอื กดาเนินการหรอื  โยนิโสมนสกิ ารดว้ ยวิธีคิดแบบอรยิ สจั ปฏิบัตติ นไดอ้ ย่างมเี หตุผลถูกตอ้ งตาม  หลักธรรมตามสาระการเรยี นรขู้ อ้ 13 หลักธรรม จรยิ ธรรม และกาหนด เปา้ หมาย บทบาทการดาเนนิ ชีวติ เพอื่ การ อยรู่ ่วมกันอย่างสันติสุข และอยูร่ ่วมกัน เป็นชาตอิ ย่างสมานฉันท์ 17. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวตั ิพระพทุ ธเจ้า มุฮัมมดั พระเยซู โดยสังเขป 18.ตระหนักในคุณคา่ และความสาคญั ของ  คุณคา่ และความสาคญั ของคา่ นยิ มและ ค่านยิ ม จรยิ ธรรมทีเ่ ปน็ ตวั กาหนดความ จรยิ ธรรม เชอื่ และพฤติกรรมทแี่ ตกตา่ งกนั ของศา  การขจัดความขดั แย้งเพ่ืออยูร่ ่วมกันอย่าง สนิกชนศาสนาต่างๆ เพอ่ื ขจดั ความขดั แย้ง สันติสุข และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอย่างสันตสิ ขุ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

18 ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 19. เห็นคณุ คา่ เชอ่ื มนั่ และมุ่งม่ันพัฒนา  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโส ชีวิตด้วยการพัฒนาจติ และพัฒนาการ มนสิการ 10 วธิ ี (เนน้ วธิ คี ดิ แบบแยกแยะ เรยี นรดู้ ้วยวธิ คี ิดแบบโยนิโสมนสกิ าร สว่ นประกอบ แบบสามัญญลักษณะ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา แบบเปน็ อยู่ในขณะปจั จุบนั และแบบ ทีต่ นนับถือ วภิ ชั ชวาท ) 1) วธิ คี ิดแบบสืบสาวเหตปุ จั จยั 2) วธิ คี ิดแบบแยกแยะสว่ นประกอบ 3) วิธคี ิดแบบสามัญลกั ษณะ 4) วธิ ีคดิ แบบอรยิ สจั 5) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ์ 6) วิธคี ดิ แบบคุณคา่ แท้- คณุ ค่าเทียม 7) วธิ ีคดิ แบบคุณ-โทษ และทางออก 8) วธิ ีคิดแบบอุบาย ปลกุ เร้าคุณธรรม 9) วธิ คี ิดแบบเปน็ อยู่ในขณะปัจจบุ นั 10) วิธีคิดแบบวภิ ัชชวาท 20. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบรหิ ารจิต  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา และเจริญปัญญาตามหลกั สติปัฏฐาน หรอื รแู้ ละเข้าใจวิธปี ฏิบัติและประโยชน์ของการ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา  ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจริญปัญญาตาม หลกั สตปิ ฎั ฐาน  นาวธิ ีการบริหารจติ และเจรญิ ปญั ญา ไปใช้ในการพัฒนาการเรยี นรู้ คณุ ภาพ ชวี ติ และสงั คม 21. วเิ คราะห์หลักธรรมสาคัญในการอยู่  หลักธรรมสาคัญในการอยู่ร่วมกนั อย่าง รว่ มกนั อย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ และ สนั ตสิ ขุ ชักชวน ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหบ้ คุ คลอื่นเห็น o หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา เช่น ความสาคัญของการทาความดี ต่อกัน สาราณียธรรม 6 อธปิ ไตย 3 มิจฉาวณชิ ชา 5 อริยวฑั ฆิ 5 โภคอาทิยะ 5  คริสต์ศาสนา ได้แก่ บัญญัติ 10 ประการ (เฉพาะทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง)  ศาสนาอสิ ลาม ได้แก่ หลกั จริยธรรม (เฉพาะทีเ่ ก่ยี วข้อง) 22. เสนอแนวทางการจัดกิจกรรม ความ  สภาพปัญหาในชุมชน และสังคม รว่ มมอื ของทุกศาสนาในการแก้ปญั หาและ พฒั นาสงั คม เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

19 สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ัติตนเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. บาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของ  การบาเพญ็ ประโยชน์ และการบารงุ รักษาวดั ศาสนาทต่ี นนับถือ 2. อธบิ ายจริยวัตรของสาวกเพื่อเป็น  วถิ ชี ีวิตของพระภกิ ษุ แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และ  บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่ ปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมต่อสาวกของ พระพทุ ธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถา ศาสนาทีต่ นนับถอื ธรรม การประพฤติตนให้เปน็ แบบอย่าง  การเข้าพบพระภกิ ษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมอื การไหว้ การกราบ การเคารพพระรตั นตรัย การฟงั เจริญ พระพุทธมนต์ การฟงั สวด พระอภธิ รรม การฟัง พระธรรมเทศนา 3. ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคล  ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อเพ่อื นตามหลัก ต่างๆ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ี พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื กาหนด 4. จดั พธิ กี รรม และปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี  การจัดโตะ๊ หม่บู ูชา แบบ หมู่4 หมู่ 5 หมู่ 7 หม9ู่ พธิ ีกรรมได้ถูกต้อง  การจุดธปู เทียน การจัดเคร่ืองประกอบโตะ๊ หมู่ บชู า  คาอาราธนาต่างๆ 5. อธิบายประวัติ ความสาคญั และ  ประวัติและความสาคญั ของวนั ธรรมสวนะ วนั ปฏบิ ัติตนในวนั สาคัญทางศาสนาทีต่ นนบั เข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ ถือ ตามท่กี าหนด ไดถ้ ูกตอ้ ง  ระเบยี บพิธี พธิ ีเวียนเทียน การปฏบิ ัติตนในวนั มาฆบูชา วันวิสาขบชู า วนั อัฏฐมีบูชา วนั อาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ 1. ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคลตา่ ง  การเป็นลกู ท่ีดี ตามหลกั ทศิ เบ้ืองหน้าใน ทศิ 6 ม.2 ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถอื ตามท่ี กาหนด 2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี  การต้อนรบั (ปฏสิ นั ถาร) ตามท่กี าหนด  มรรยาทของผเู้ ปน็ แขก  ฝกึ ปฏิบัติระเบียบพธิ ี ปฏิบัติต่อพระภกิ ษุ การ ยนื การใหท้ ี่นั่ง การเดินสวนการสนทนา การ รบั สง่ิ ของ  การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงานมงคล งาน อวมงคล เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

20 ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 3. วิเคราะหค์ ณุ ค่าของศาสนพธิ ี และ  การทาบญุ ตักบาตร  การถวายภตั ตาหารส่งิ ของทคี่ วรถวายและสง่ิ ของ ปฏบิ ตั ิตนไดถ้ กู ต้อง ต้องห้ามสาหรบั พระภิกษุ  การถวายสงั ฆทาน เคร่ืองสังฆทาน  การถวายผา้ อาบน้าฝน  การจัดเครื่องไทยธรรม เครอ่ื งไทยทาน  การกรวดนา้  การทอดกฐนิ การทอดผา้ ปา่ 4. อธบิ ายคาสอนทีเ่ ก่ยี วเนือ่ งกบั  หลักธรรมเบ้ืองต้นท่เี กี่ยวเนือ่ งในวันมาฆบชู า วนั สาคญั ทางศาสนา และปฏบิ ัติตน วนั วสิ าขบูชา วนั อฏั ฐมบี ูชา วันอาสาฬหบชู า ได้ถูกต้อง  วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั  ระเบยี บพธิ ีและการปฏบิ ตั ิตน ในวนั ธรรมสวนะ วันเขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ 5. อธบิ ายความแตกตา่ งของศาสนพิธี  ศาสนพิธี/พิธีกรรม แนวปฏิบตั ิของศาสนาอ่ืน ๆ พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนา อ่ืน ๆ เพ่ือนาไปสกู่ ารยอมรับ และความ เข้าใจซ่ึงกันและกัน ม.3 1. วเิ คราะห์หนา้ ที่และบทบาทของสาวก  หน้าท่ีของพระภกิ ษใุ นการปฏบิ ัติตามหลกั พระ และปฏบิ ัติตนต่อสาวก ตามที่กาหนดได้ ธรรมวินยั และจริยวตั รอยา่ งเหมาะสม ถกู ตอ้ ง  การปฏบิ ตั ติ นต่อพระภิกษุในงานศาสนพิธีทบ่ี า้ น การสนทนา การแต่งกาย มรรยาทการพดู กับ พระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมตอ่ บคุ คล  การเปน็ ศิษยท์ ีด่ ี ตามหลักทศิ เบอื้ งขวา ในทิศ 6 ต่างๆ ตามหลักศาสนา ตามทก่ี าหนด ของพระพทุ ธศาสนา 3. ปฏิบตั ิหน้าที่ของศาสนกิ ชนท่ดี ี  การปฏิบตั ิหนา้ ทชี่ าวพทุ ธตามพทุ ธปณิธาน 4 ใน มหาปรนิ พิ พานสตู ร 4. ปฏิบัติตนในศาสนพธิ พี ธิ ีกรรมได้  พิธีทาบญุ งานมงคล งานอวมงคล ถูกตอ้ ง  การนิมนตพ์ ระภกิ ษุ การเตรียมท่ตี ้ังพระพุทธรูป และเครื่องบชู า การวงด้ายสายสิญจน์ การปลู าด อาสนะ การเตรียมเครือ่ งรบั รอง การจดุ ธปู เทยี น  ข้อปฏิบตั ิในวนั เล้ียงพระ การถวายข้าวพระพุทธ การถวายไทยธรรมการกรวดนา้ 5. อธิบายประวตั ิวันสาคญั ทางศาสนา  ประวตั วิ ันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศ ตามทกี่ าหนดและปฏิบตั ิตนได้ถกู ตอ้ ง ไทย  วนั วสิ าขบูชา (วันสาคัญสากล)  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคัญ  หลกั ปฏบิ ตั ิตน : การฟังพระธรรมเทศนา การ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

21 ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง 6. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรอื แตง่ กายในการประกอบ ศาสนพธิ ที วี่ ัด การงด แสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของศาสนา ท่ีตนนับถือ เวน้ อบายมขุ 7. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษา ศาสนาทต่ี นนับถอื  การประพฤตปิ ฏบิ ัติในวนั ธรรมสวนะและเทศกาล ม.4-ม.6 1. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ีตอ่ สาวก สาคญั สมาชิกในครอบครวั และคนรอบขา้ ง  การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ  ข้นั เตรียมการ  ข้นั พิธกี าร  การศกึ ษาเรยี นรูเ้ รอ่ื งองคป์ ระกอบของ พระพทุ ธศาสนา นาไปปฏิบัตแิ ละเผยแผ่ตาม โอกาส  การศึกษาการรวมตัวขององค์กรชาวพทุ ธ  การปลกู จติ สานกึ ในด้านการบารุงรักษาวัดและ พทุ ธสถานให้เกิดประโยชน์  ปฏบิ ตั ิตนเป็นชาวพทุ ธที่ดีต่อพระภิกษุ  การเขา้ ใจในกิจของพระภกิ ษุ เชน่ การศกึ ษา การปฏิบัตธิ รรม และการเปน็ นกั บวชท่ีดี  คณุ สมบัติทายกและปฏิคาหก  หนา้ ทแี่ ละบทบาทของพระภกิ ษุ ในฐานะ พระนักเทศก์ พระธรรมทตู พระธรรม จาริก พระวิทยากร พระวิปัสสนาจารย์ และ พระนักพัฒนา  การปกป้องคุม้ ครอง พระพทุ ธศาสนาของ พทุ ธบริษัทในสังคมไทย  การปฏิบตั ิตนตอ่ พระภกิ ษทุ างกาย วาจา และใจ ท่ปี ระกอบดว้ ยเมตตา  การปฏสิ นั ถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ  ปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครวั และสงั คม  การรักษาศีล 8  การเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชกิ ขององคก์ ร ชาวพทุ ธ  การเปน็ ชาวพุทธที่ดี ตามหลกั ทิศเบอ้ื งบน ในทศิ 6  การปฏบิ ตั ติ นท่เี หมาะสมในฐานะผูป้ กครอง และ ผูอ้ ยู่ในปกครอง ตามหลักทิศเบอื้ งลา่ ง ในทศิ 6 เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม

22 ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง  การปฏิสันถารตามหลักปฏสิ นั ถาร 2  หน้าทแ่ี ละบทบาทของอบุ าสก อุบาสิกาทีม่ ี ตอ่ สังคมไทยในปัจจุบนั  การปฏิบัตติ นเปน็ สมาชิกท่ีดขี องครอบครวั ตามหลักทิศเบอ้ื งหลังในทศิ 6  การบาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และโลก 2. ปฏิบตั ติ นถูกต้องตามศาสนพธิ ี  ประเภทของศาสนพธิ ใี นพระพุทธศาสนา พธิ ีกรรมตามหลกั ศาสนาทต่ี นนับถอื  ศาสนพธิ ีเน่อื งดว้ ยพทุ ธบัญญัติ เช่น พธิ ี แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ พธิ ีเวียนเทียน ถวายสังฆทาน ถวายผ้าอาบน้าฝน พิธี ทอดกฐิน พธิ ีปวารณา เปน็ ต้น  ศาสนพธิ ที นี่ าพระพทุ ธศาสนา เข้าไป เกีย่ วเนือ่ ง เช่น การทาบญุ เล้ยี งพระใน โอกาสตา่ งๆ  ความหมาย ความสาคัญ คติธรรมในพิธีกรรม บทสวดมนต์ของนักเรยี น งานพธิ ี คุณค่าและ ประโยชน์  พธิ ีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของผู้ขอ บรรพชาอุปสมบท เครือ่ งอัฏฐบริขาร ประโยชน์ ของการ บรรพชาอปุ สมบท  บุญพธิ ี ทานพิธี กุศลพธิ ี  คณุ คา่ และประโยชนข์ องศาสนพิธี 3. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือ  การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนา  ขั้นเตรียมการ ท่ีตนนบั ถอื  ขัน้ พิธีการ 4. วเิ คราะหห์ ลักธรรม คติธรรมที่  หลักธรรม/คติธรรมทเี่ กี่ยวเนอ่ื งกับวันสาคัญ และ เกี่ยวเน่อื งกบั วันสาคัญทางศาสนา และ เทศกาลทีส่ าคญั ในพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาอ่ืน เทศกาลทส่ี าคัญ ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื  การปฏบิ ัตติ นที่ถกู ต้องในวนั สาคัญและเทศกาลที่ และปฏบิ ตั ิตนไดถ้ กู ตอ้ ง สาคัญในพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาอ่นื 5. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปกป้อง คุม้ ครอง ธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา ธารงรักษาศาสนาที่ตนนบั ถอื อันส่งผล ของพุทธบรษิ ทั ในสงั คมไทย ถึงการพฒั นาตน พฒั นาชาตแิ ละโลก  การปลูกจิตสานกึ และการมีส่วนร่วมในสงั คมพุทธ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

23 สาระที่ 2 หน้าทพี่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านยิ มท่ดี ีงามและธารงรกั ษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่รว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสนั ติสุข ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. ปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิ  กฎหมายในการคุม้ ครองสทิ ธิของบุคคล ของบุคคล - กฎหมายการคุ้มครองเดก็ - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค - กฎหมายลิขสทิ ธิ์  ประโยชน์ของการปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมาย การคุ้มครองสิทธขิ องบุคคล 2. ระบุความสามารถของตนเอง  บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนท่ีมตี อ่ สังคม ในการทาประโยชน์ต่อสงั คมและ และประเทศชาติ โดยเนน้ จิตสาธารณะ ประเทศชาติ เช่น เคารพกติกาสงั คม ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย มีสว่ นร่วมและ รับผิดชอบในกิจกรรมทางสงั คม อนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ รักษา สาธารณประโยชน์ 3. อภปิ รายเกี่ยวกับคุณคา่ ทางวัฒนธรรมที่  ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหวา่ ง เปน็ ปัจจยั ในการสร้างความสมั พันธ์ทด่ี ีหรือ วฒั นธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน อาจนาไปสู่ความเข้าใจผดิ ต่อกัน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้  วัฒนธรรมท่เี ปน็ ปจั จัยในการสรา้ ง ความสมั พนั ธท์ ด่ี ี หรืออาจนาไปสู่ความ เข้าใจผดิ ตอ่ กนั 4. แสดงออกถงึ การเคารพในสทิ ธิของ  วิธีปฏิบตั ิตนในการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผูอ้ ื่น ตนเองและผู้อืน่  ผลที่ได้จากการเคารพในสทิ ธิของตนเอง และผอู้ ่นื เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

24 ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.2 1. อธิบายและปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายท่ี  กฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกับตนเอง ครอบครัว เก่ยี วข้องกบั ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและ เชน่ ประเทศ - กฎหมายเก่ียวกบั ความสามารถของ ผู้เยาว์ - กฎหมายบตั รประจาตวั ประชาชน - กฎหมายเพง่ เกยี่ วกับครอบครวั และ มรดก เช่น การหมนั้ การสมรส การรบั รองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และมรดก  กฎหมายทีเ่ กี่ยวกบั ชมุ ชนและประเทศ - กฎหมายเกีย่ วกับการอนรุ ักษธ์ รรมชาติ และส่งิ แวดล้อม - กฎหมายเกย่ี วกับภาษีอากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษเี งินได้บุคคล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน 2. เห็นคุณค่าในการปฏิบตั ิตนตาม  สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ี สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าทใ่ี น ในฐานะพลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย ฐานะพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย  แนวทางส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบัตติ นเป็นพลเมือง ดีตามวถิ ีประชาธิปไตย 3. วเิ คราะห์บทบาท ความสาคญั และ  บทบาท ความสาคญั และความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของสถาบันทางสงั คม ของสถาบนั ทางสังคม เช่น สถาบนั ครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั ทางการเมอื งการปกครอง 4.อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกตา่ ง  ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของ ของวฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมของ วัฒนธรรมไทย และวฒั นธรรมของประเทศ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชีย เพื่อนาไปสู่ความ ในภมู ภิ าคเอเชยี วัฒนธรรม เปน็ เขา้ ใจอันดีระหวา่ งกัน ปจั จัยสาคัญในการสรา้ งความเขา้ ใจอันดี ระหว่างกัน เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

25 ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. อธิบายความแตกต่างของการกระทา  ลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา และ ความผดิ ระหวา่ งคดีอาญาและคดีแพ่ง โทษ  ลกั ษณะการกระทาความผดิ ทางแพ่ง และ โทษ  ตัวอยา่ งการกระทาความผิดทางอาญา เช่น ความผิดเกี่ยวกบั ทรพั ย์  ตวั อยา่ งการทาความผิดทางแพง่ เชน่ การ ทาผดิ สญั ญา การทาละเมิด 2. มีสว่ นรว่ มในการปกปอ้ งคุ้มครองผู้อืน่  ความหมาย และความสาคญั ของสทิ ธิ ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชน มนษุ ยชน  การมสี ่วนรว่ มค้มุ ครองสิทธมิ นษุ ยชนตาม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยตาม วาระและโอกาสทเี่ หมาะสม 3. อนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยและเลอื กรับ  ความสาคญั ของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ภูมิปญั ญาไทยและวฒั นธรรมสากล  การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและ ภูมิปญั ญาไทยท่ีเหมาะสม  การเลอื กรับวฒั นธรรมสากลทีเ่ หมาะสม 4. วเิ คราะห์ปัจจัยทีก่ ่อใหเ้ กดิ ปญั หาความ  ปจั จยั ท่กี ่อให้เกิดความขัดแยง้ เช่น ขัดแย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดในการ การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ ลดความขัดแย้ง สังคม ความเชือ่  สาเหตปุ ัญหาทางสังคม เชน่ ปัญหา สง่ิ แวดล้อม ปญั หายาเสพตดิ ปญั หา การทจุ รติ ปญั หาอาชญากรรม ฯลฯ  แนวทางความร่วมมอื ในการลดความ ขดั แย้งและการสร้างความสมานฉนั ท์ 5. เสนอแนวคิดในการดารงชีวิตอยา่ งมี  ปจั จยั ท่สี ่งเสรมิ การดารงชีวิตใหม้ คี วามสขุ ความสุขในประเทศและสังคมโลก เช่น การอยูร่ ว่ มกนั อยา่ งมี ขนั ติธรรม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เหน็ คุณค่าในตนเอง รจุ้ กั มอง โลกในแงด่ ี สร้างทกั ษะทางอารมณ์ รูจ้ กั บรโิ ภคดว้ ยปัญญา เลือกรับ-ปฏิเสธขา่ ว และวตั ถตุ า่ งๆ ปรบั ปรงุ ตนเองและสง่ิ ต่างๆให้ดขี ึ้นอยู่เสมอ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

26 ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.4-ม.6 1. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตามกฎหมายที่  กฎหมายเพง่ เก่ียวกบั นิติกรรมสัญญา เช่น เกย่ี วขอ้ งกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ซอ้ื ขาย ขายฝาก เชา่ ทรพั ย์ เช่าซ้ือ กยู้ มื ประเทศชาติ และสังคมโลก เงนิ จานา จานอง 2. วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทาง  กฎหมายอาญา เชน่ ความผิดเกี่ยวกับ สังคม การขัดเกลาทางสังคม และ การ เปลย่ี นแปลงทางสังคม ทรัพย์ความผิดเกยี่ วกบั ชีวติ และร่างกาย  กฎหมายอื่นทส่ี าคัญ เชน่ รฐั ธรรมนญู แหง่ 3. ปฏบิ ตั ิตนและมสี ว่ นสนับสนุนให้ผูอ้ ื่น ประพฤติปฏบิ ตั เิ พื่อเป็นพลเมืองดีของ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จบุ ัน กฎหมาย ประเทศชาติ และสังคมโลก การรบั ราชการทหาร กฎหมายภาษอี ากร กฎหมายคุ้มครองผู้บรโิ ภค  ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ เช่น ปฏิญญา สากลวา่ ดว้ ยสิทธมิ นษุ ยชน กฎหมาย มนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ  โครงสรา้ งทางสังคม - การจัดระเบียบทางสงั คม - สถาบันทางสังคม  การขดั เกลาทางสงั คม  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม  การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทาง สังคม  คณุ ลักษณะพลเมืองดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เชน่ - เคารพกฎหมาย และกติกาสงั คม - เคารพสิทธิ เสรภี าพของตนเองและ บคุ คลอืน่ - มเี หตผุ ล รบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ ่ืน - มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน ประเทศชาติและสังคม - เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางการเมือง การปกครอง - มสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหา เศรษฐกจิ สงั คม การเมืองการ ปกครอง สิ่งแวดลอ้ ม - มคี ุณธรรมจริยธรรม ใช้เปน็ ตัวกาหนดความคิด เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

27 ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4. ประเมนิ สถานการณ์สทิ ธมิ นุษยชนใน  ความหมาย ความสาคญั แนวคดิ และ ประเทศไทย และเสนอแนวทางพฒั นา หลักการของสิทธิมนุษยชน  บทบาทขององค์กรระหวา่ งประเทศ ในเวทโี ลกที่มผี ลต่อประทศไทย  สาระสาคัญของปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิ มนษุ ยชน  บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปัจจบุ นั เกยี่ วกับสิทธมิ นษุ ยชน  ปญั หาสทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศ และแนวทางแกป้ ญั หาและพัฒนา 5. วิเคราะห์ความจาเปน็ ทีต่ ้องมีการ  ความหมายและความสาคญั ของวัฒนธรรม ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงและอนุรักษ์  ลักษณะและ ความสาคัญของวฒั นธรรมไทยท่ี วฒั นธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล สาคญั  การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงและอนรุ กั ษ์ วฒั นธรรมไทย  ความแตกต่างระหวา่ งวฒั นธรรมไทยกับ วฒั นธรรมสากล  แนวทางการอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทย ทีด่ ีงาม  วธิ ีการเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล สาระที่ 2 หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยึดมนั่ ศรัทธาและธารงรักษา ไวซ้ ึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง  หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญแห่ง สาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับปัจจบุ นั ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปจั จุบัน โดยสงั เขป 2. วเิ คราะห์บทบาทการถว่ งดุลของอานาจ  การแบง่ อานาจ และการถ่วงดลุ อานาจ อธิปไตยในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักร อธปิ ไตยทั้ง 3 ฝ่าย คือนิตบิ ัญญตั ิ บรหิ าร ไทย ฉบับปัจจุบัน ตุลาการ ตามทร่ี ะบใุ นรัฐธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจกั รไทยฉบับปจั จุบัน 3. ปฏบิ ตั ติ นตามบทบัญญตั ิของ  การปฏิบัตติ นตามบทบญั ญัติของ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ปัจจบุ นั ที่เก่ยี วข้องกบั ตนเอง ปจั จุบัน เกี่ยวกบั สิทธิ เสรีภาพและหนา้ ท่ี เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

28 ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.2 1. อธิบายกระบวนการในการตรา  กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผู้มีสทิ ธเิ สนอรา่ งกฎหมาย - ขน้ั ตอนการตรากฎหมาย - การมสี ว่ นร่วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย 2. วเิ คราะหข์ ้อมลู ขา่ วสารทางการเมือง  เหตกุ ารณ์ และการเปลย่ี นแปลงสาคัญของ การปกครองท่มี ผี ลกระทบต่อสงั คมไทย ระบอบการปกครองของไทย สมยั ปจั จุบนั  หลักการเลือกข้อมลู ขา่ วสาร ม.3 1. อธบิ ายระบอบการปกครองแบบต่างๆ  ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ในยุค ที่ใชใ้ นยคุ ปัจจบุ นั ปจั จุบัน เชน่ การปกครองแบบ  เผดจ็ การ การปกครองแบบประชาธิปไตย  เกณฑ์การตัดสนิ ใจ 2. วเิ คราะห์ เปรียบเทียบระบอบการ  ความแตกต่าง ความคลา้ ยคลึงของการ ปกครองของไทยกบั ประเทศอื่นๆ ที่มีการ ปกครองของไทย กับประเทศอืน่ ๆ ทมี่ ี ปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบประชาธิปไตย 3. วิเคราะห์รฐั ธรรมนญู ฉบับปัจจบุ ันใน มาตราตา่ งๆ ที่เกีย่ วข้องกับการเลอื กต้ัง  บทบัญญัติของรัฐธรรมนญู ในมาตราต่างๆ การมีส่วนรว่ ม และการตรวจสอบการใช้ ทเ่ี กยี่ วข้องกับการเลือกตงั้ การมสี ่วนร่วม อานาจรัฐ และการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ 4. วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปัญหาท่ีเปน็  อานาจหน้าท่ีของรฐั บาล อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตยของ  บทบาทสาคัญของรัฐบาลในการบริหาร ประเทศไทยและเสนอแนวทางแกไ้ ข ราชการแผน่ ดิน  ความจาเป็นในการมีรฐั บาลตามระบอบ ประชาธปิ ไตย  ประเดน็ ปญั หาและผลกระทบทเี่ ป็น อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตยของ ประเทศไทย  แนวทางการแก้ไขปัญหา เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

29 ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4-ม.6 1. วเิ คราะห์ปญั หาการเมืองที่สาคญั ใน  ปญั หาการเมืองสาคัญทเี่ กิดขึ้น ประเทศ จากแหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ พรอ้ มท้ัง ภายในประเทศ เสนอแนวทางแกไ้ ข  สถานการณ์การเมืองการปกครอง ของสังคมไทย และสังคมโลก และ การประสานประโยชน์ร่วมกนั  อิทธิพลของระบบการเมอื งการปกครอง ท่มี ีผลต่อการดาเนินชวี ิตและความสมั พนั ธ์ ระหว่างประเทศ 2. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการ  การประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหวา่ ง ปกครองท่ีนาไปสู่ความเข้าใจ และ ประเทศ เช่น การสรา้ งความสัมพนั ธ์ การประสานประโยชน์รว่ มกนั ระหวา่ ง ระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ ประเทศ  การแลกเปลี่ยนเพ่ือชว่ ยเหลือ และส่งเสรมิ ดา้ นวัฒนธรรม การศกึ ษา เศรษฐกิจ สังคม 3. วิเคราะหค์ วามสาคัญและ ความจาเปน็  การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี ทต่ี ้องธารงรักษาไว้ซึง่ การปกครองตาม พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ์ - รูปแบบของรฐั ทรงเปน็ ประมุข - ฐานะและพระราชอานาจของ พระมหากษัตรยิ ์ 4. เสนอแนวทางและมสี ่วนรว่ มในการ  การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ตาม ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ ปัจจุบัน ทีม่ ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงทาง สังคม เช่น การตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ การตรวจสอบโดยประชาชน เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

30 สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ ทรัพยากร ทม่ี อี ยู่จากดั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทง้ั เข้าใจหลกั การของ เศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชวี ติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของ  ความหมายและความสาคญั ของ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เบื้องตน้  ความหมายของคาวา่ ทรัพยากรมจี ากัดกับ ความต้องการมีไมจ่ ากัด ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส 2. วิเคราะหค์ ่านยิ มและพฤติกรรมการ  ความหมายและความสาคัญของการบริโภค บรโิ ภคของคนในสังคมซ่ึงส่งผลตอ่ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เศรษฐกจิ ของชมุ ชนและประเทศ  หลักการในการบรโิ ภคท่ีดี  ปัจจัยท่มี อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค  ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของคน ในสงั คมปัจจบุ ัน รวมทง้ั ผลดแี ละผลเสียของ พฤติกรรมดงั กล่าว 3. อธิบายความเป็นมาหลักการและ  ความหมายและความเป็นมาของปรัชญาของ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพียงต่อสังคมไทย  ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวรวมท้ังโครงการตาม พระราชดาริ  หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง  การประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใน การดารงชวี ิต  ความสาคญั คณุ ค่าและประโยชน์ของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสงั คมไทย ม.2 1. วิเคราะห์ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การลงทนุ และ  ความหมายและความสาคญั ของการลงทุน การออม และการออมตอ่ ระบบเศรษฐกจิ  การบริหารจดั การเงนิ ออมและการลงทนุ ภาคครวั เรือน  ปจั จยั ของการลงทนุ และการออมคือ อัตรา ดอกเบ้ยี รวมท้ังปัจจยั อนื่ ๆ เช่น ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกยี่ วกับอนาคต  ปัญหาของการลงทนุ และการออมใน สังคมไทย เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

31 ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2. อธิบายปัจจัยการผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร  ความหมาย ความสาคญั และหลกั การผลติ และปจั จัยทม่ี ีอิทธิพลต่อการผลิตสินคา้ สนิ คา้ และบริการอย่างมีประสิทธิภาพ และบริการ  สารวจการผลติ สนิ ค้าในท้องถน่ิ ว่ามีการผลิต อะไรบ้าง ใช้วธิ ีการผลติ อย่างไร มปี ัญหา ดา้ นใดบา้ ง  มีการนาเทคโนโลยอี ะไรมาใช้ที่มผี ลต่อ การผลิตสนิ ค้าและบริการ  นาหลักการผลิตมาวเิ คราะหก์ ารผลติ สินคา้ และบริการในท้องถน่ิ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม 3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ใน  หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจ ท้องถน่ิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง  สารวจและวเิ คราะหป์ ญั หาการผลติ สินค้า และบริการในท้องถ่นิ  ประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใน การผลติ สินค้าและบริการในท้องถิ่น 4. อภปิ รายแนวทางการคุ้มครองสทิ ธขิ อง  การรกั ษาและคมุ้ ครองสิทธิประโยชน์ของ ตนเองในฐานะผบู้ ริโภค ผบู้ รโิ ภค  กฎหมายคมุ้ ครองสิทธผิ ุ้บริโภคและหน่วยงาน ทีเ่ กย่ี วข้อง  การดาเนนิ กจิ กรรมพทิ ักษ์สิทธิและ ผลประโยชนต์ ามกฎหมายในฐานะผู้บรโิ ภค  แนวทางการปกป้องสิทธิของผู้บริโภค ม.3 1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ  ความหมายและประเภทของตลาด  ความหมายและตัวอย่างของอปุ สงค์และอปุ ทาน  ความหมายและความสาคัญของกลไกราคา และการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ  หลกั การปรับและเปล่ียนแปลงราคาสนิ ค้า และบรกิ าร 2. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ  สารวจสภาพปจั จบุ ันปญั หาท้องถน่ิ ทัง้ พฒั นาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกจิ ทางด้านสงั คม เศรษฐกิจและสงิ่ แวดลอ้ ม พอเพียง  วิเคราะห์ปญั หาของท้องถ่ินโดยใช้ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง  แนวทางการแก้ไขและพัฒนาท้องถิน่ ตาม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างแนวคิด  แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การพัฒนาใน เศรษฐกิจพอเพยี งกับระบบสหกรณ์ ระดบั ต่าง ๆ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวิทยาคม

32 ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  หลกั การสาคญั ของระบบสหกรณ์  ความสัมพนั ธ์ระหว่างแนวคดิ เศรษฐกิ พอเพยี งกบั หลกั การและระบบของสหกรณ์เพ่ือ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน ม.4–ม.6 1. อภปิ รายการกาหนดราคาและค่าจ้างใน  ระบบเศรษฐกจิ ของโลกในปจั จบุ ัน ผลดีและ ระบบเศรษฐกจิ ผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ  ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดแี ละ ข้อเสยี ของตลาดประเภทต่าง ๆ  การกาหนดราคาตามอุปสงค์ และอุปทาน การกาหนดราคาในเชิงกลยุทธท์ มี่ ีในสังคมไทย  การกาหนดคา่ จา้ ง กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องและ อัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทย  บทบาทของรฐั ในการแทรกแซงราคา และการ ควบคุมราคาเพือ่ การแจกจา่ ย และจัดสรรในทาง เศรษฐกจิ 2. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของปรชั ญา  การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกิจพอเพยี งที่มีต่อเศรษฐกิจ ในการดาเนนิ ชีวติ ของตนเอง และครอบครัว สังคมของประเทศ  การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพียงใน ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ และบริการ  ปัญหาการพัฒนาประเทศท่ีผ่านมา โดย การศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมฉบับทีผ่ า่ นมา  การพัฒนาประเทศทนี่ าปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ ในการวางแผนพฒั นา เศรษฐกิจ และสงั คมฉบับปัจจุบนั 3. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของระบบ  วิวัฒนาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย สหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกิจในระดบั  ความหมายความสาคัญ และหลักการของระบบ ชุมชนและประเทศ สหกรณ์  ตวั อยา่ งและประเภทของสหกรณใ์ นประเทศไทย  ความสาคัญของระบบสหกรณใ์ นการพัฒนา เศรษฐกจิ ในชมุ ชนและประเทศ  ปญั หาทางเศรษฐกิจในชมุ ชน 4. วิเคราะหป์ ัญหาทางเศรษฐกจิ  แนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน ในชุมชนและเสนอแนวทางแกไ้ ข  ตัวอย่างของการรวมกล่มุ ท่ีประสบ ความสาเรจ็ ในการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ ของชุมชน เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนขนุ ตาลวทิ ยาคม

33 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความ จาเปน็ ของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. วเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าทแี่ ละความ  ความหมาย ประเภท และความสาคัญของ แตกต่างของสถาบนั การเงินแต่ละ สถาบันการเงินทม่ี ตี ่อระบบเศรษฐกิจ ประเภทและธนาคารกลาง  บทบาทหน้าที่และความสาคญั ของธนาคาร กลาง  การหารายได้ รายจา่ ย การออม การลงทุน ซึ่ง แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งผู้ผลติ ผูบ้ ริโภค และสถาบนั การเงิน 2. ยกตวั อยา่ งท่สี ะท้อนใหเ้ ห็นการ  ยกตวั อย่างที่สะท้อนให้เห็นการพ่ึงพาอาศยั กนั พ่งึ พาอาศัยกนั และการแข่งขันกัน และกนั การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ทางเศรษฐกจิ ในประเทศ  ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน ประเทศ และเสนอ แนวทางแก้ไข 3. ระบุปัจจัยท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อการกาหนด  ความหมายและกฎอปุ สงค์ อุปทาน อุปสงคแ์ ละอปุ ทาน  ปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ การกาหนดอุปสงคแ์ ละ อปุ ทาน 4. อภิปรายผลของการมกี ฎหมาย  ความหมายและความสาคัญของทรพั ย์สนิ ทาง เก่ียวกับทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ปัญญา  กฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การคุ้มครองทรพั ยส์ นิ ทาง ปัญญาพอสงั เขป  ตวั อย่างการละเมิดแหง่ ทรัพย์สินทางปญั ญา แตล่ ะประเภท ม.2 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ  ระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆ  หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศยั กนั 2. ยกตัวอย่างทีส่ ะท้อนให้เห็น การพ่ึงพาอาศยั กัน และการแขง่ ขัน และการแขง่ ขันกันทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าค กนั ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชยี เอเชีย  การกระจายของทรพั ยากรในโลกท่สี ่งผลต่อ 3. วเิ คราะห์การกระจายของ ทรัพยากร ในโลกทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจระหว่าง เชน่ นา้ มนั ป่าไม้ ทองคา ถ่านหนิ แร่ เป็น ประเทศ ตน้ 4. วิเคราะห์การแข่งขันทางการคา้  การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและ ในประเทศและตา่ งประเทศส่งผลตอ่ ต่างประเทศ คุณภาพสนิ ค้า ปรมิ าณการผลติ และ ราคาสนิ ค้า ม.3 1. อธบิ ายบทบาทหน้าท่ขี องรัฐบาล  บทบาทหน้าทีข่ องรฐั บาลในการพฒั นา ในระบบเศรษฐกิจ ประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

34 ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรฐั บาล เชน่ การผลิตสนิ ค้าและบริการสาธารณะที่ เอกชนไม่ดาเนนิ การ เช่นไฟฟ้า ถนน โรงเรยี น - บทบาทการเกบ็ ภาษีเพื่อพัฒนาประเทศ ของรฐั ในระดับตา่ ง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคุมราคาเพอ่ื การแจกจ่ายและการ จดั สรรในทางเศรษฐกิจ  บทบาทอน่ื ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกจิ ใน สังคมไทย 2. แสดงความคดิ เหน็ ต่อนโยบาย  นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของ และกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของ รฐั บาล รัฐบาลทมี่ ีตอ่ บุคคล กลมุ่ คน และ ประเทศชาติ 3. อภิปรายบทบาทความสาคัญของ  บทบาทความสาคญั ของการรวมกลุ่มทาง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหวา่ ง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเทศ  ลกั ษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ  กลุ่มทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคตา่ งๆ 4. อภิปรายผลกระทบที่เกดิ จากภาวะ  ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงนิ เฟอ้ เงินฝดื เงนิ เฟ้อ เงนิ ฝดื ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงนิ เฟ้อ เงนิ ฝืด 5. วเิ คราะหผ์ ลเสยี จากการวา่ งงาน  สภาพและสาเหตุปญั หาการวา่ งงาน และแนวทางแก้ปัญหา  ผลกระทบจากปัญหาการว่างงาน  แนวทางการแก้ไขปัญหาการวา่ งงาน 6. วเิ คราะห์สาเหตแุ ละวธิ กี ารกีดกัน  การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ ทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ  สาเหตุและวธิ ีการกดี กันทางการค้าในการคา้ ระหว่างประเทศ ม.4–ม.6 1. อธบิ ายบทบาทของรฐั บาลด้าน  บทบาทของนโยบายการเงนิ และการคลงั ของ นโยบายการเงิน การคลงั ในการ รัฐบาลในด้าน พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ - การรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ - การสรา้ งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ - การรักษาดุลการค้าระหวา่ งประเทศ - การแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคา  รายรับและรายจ่ายของรฐั ท่มี ีผลตอ่ งบประมาณ หนีส้ าธารณะ การพัฒนาทาง เศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ของประชาชน - นโยบายการเกบ็ ภาษปี ระเภทต่าง ๆ และการใชจ้ า่ ยของรัฐ เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวิทยาคม

35 ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - แนวทางการแก้ปญั หาการว่างงาน  ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกดิ จาก ภาวะทางเศรษฐกิจ เชน่ เงินเฟอ้ เงินฝืด  ตวั ชี้วดั ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ เชน่ GDP , GNP รายได้เฉลีย่ ต่อบุคคล  แนวทางการแกป้ ัญหาของนโยบายการเงนิ การ คลัง 2. วเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปิด  ววิ ฒั นาการของการเปิดเสรีทางเศรษฐกจิ ใน เสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่มี ยุคโลกาภวิ ัตน์ของไทย ผลตอ่ สังคมไทย  ปัจจัยทางเศรษฐกจิ ท่ีมผี ลตอ่ การเปดิ เสรที าง เศรษฐกิจของประเทศ  ผลกระทบของการเปดิ เสรที างเศรษฐกิจของ ประเทศท่มี ตี ่อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและบรกิ าร  การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ  บทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวที การเงินโลกที่มีผลกับประเทศไทย 3. วิเคราะหผ์ ลดี ผลเสียของความ  แนวคดิ พนื้ ฐานที่เกย่ี วข้องกับการค้าระหวา่ ง ร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ ประเทศ ในรูปแบบตา่ ง ๆ  บทบาทขององคก์ ารความร่วมมือทาง เศรษฐกิจที่สาคญั ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เช่น WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB , OPEC , FTA , APECในระดบั ต่าง ๆ เขตส่ีเหล่ยี ม เศรษฐกจิ  ปัจจยั ต่าง ๆ ทีน่ าไปสู่การพง่ึ พา การแข่งขนั การขัดแย้ง และการประสานประโยชน์ทาง เศรษฐกจิ  ตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์ที่นาไปสู่การพึงพาทาง เศรษฐกิจ  ผลกระทบจากการดาเนินกจิ กรรมทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ  ปัจจัยตา่ ง ๆ ที่นาไปสู่การพึ่งพาการแข่งขัน การขัดแย้ง และการประสารประโยชนท์ าง เศรษฐกจิ วิธกี ารกีดกันทางการคา้ ในการค้า ระหวา่ งประเทศ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

36 สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ า่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของเวลาใน  ตัวอย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและยุคสมัย การศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ทป่ี รากฏในเอกสารประวตั ศิ าสตร์ไทย  ความสาคัญของเวลา และชว่ งเวลาสาหรบั การศึกษาประวตั ิศาสตร์  ความสมั พันธ์และความสาคัญของอดตี ทีม่ ตี ่อ ปจั จุบันและอนาคต 2. เทยี บศกั ราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษา  ทมี่ าของศักราชท่ีปรากฏในเอกสาร ประวตั ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ไทย ไดแ้ ก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.  วธิ ีการเทียบศกั ราชต่างๆ และตัวอย่าง การเทยี บ  ตัวอย่างการใช้ศกั ราชต่าง ๆ ที่ปรากฏใน เอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย 3. นาวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าใชศ้ ึกษา  ความหมายและความสาคัญของประวัติศาสตร์ เหตุการณท์ างประวตั ิศาสตร์ และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์ เช่อื มโยงกัน  ตวั อยา่ งหลักฐานในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ไทยสมัยสุโขทัย ทัง้ หลกั ฐานชั้นต้น และ หลักฐานชนั้ รอง ( เชือ่ มโยงกับ มฐ.ส 4.3) เชน่ ขอ้ ความในศลิ าจารึกสมยั สโุ ขทยั เปน็ ต้น  นาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ไปใช้ศกึ ษา เรอื่ งราวของประวตั ศิ าสตรไ์ ทยท่ีมีอยูใ่ น ทอ้ งถน่ิ ตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมยั กอ่ น ประวตั ิศาสตร์ สมัยกอ่ นสโุ ขทยั สมัยสโุ ขทัย สมัยอยธุ ยา สมัยธนบรุ ี สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ) และเหตุการณส์ าคัญใน สมยั สุโขทัย ม.2 1. ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของหลกั ฐาน  วธิ ีการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตรใ์ นลกั ษณะต่าง ๆ ทางประวตั ศิ าสตรใ์ นลักษณะ ต่าง ๆ อยา่ ง งา่ ย ๆ เชน่ การศึกษาภูมหิ ลังของผู้ทา หรอื ผู้เก่ียวขอ้ ง สาเหตุ ชว่ งระยะเวลา รปู ลักษณ์ ของหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ เป็นต้น  ตวั อยา่ งการประเมินความนา่ เชือ่ ถือของ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรไ์ ทยท่อี ยู่ในทอ้ งถ่ิน เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

37 ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ของตนเอง หรือหลกั ฐาน สมยั อยธุ ยา ( เชื่อมโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) 2. วเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหว่างความจริง  ตัวอย่างการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากเอกสารต่าง ๆ กบั ขอ้ เทจ็ จริงของเหตุการณ์ทาง ในสมยั อยุธยา และธนบรุ ี ( เชอื่ มโยงกบั มฐ. ส ประวตั ศิ าสตร์ 4.3 ) เช่น ข้อความบางตอน ในพระราช 3. เห็นความสาคัญของการตีความหลกั ฐาน พงศาวดารอยุธยา / จดหมายเหตชุ าวตา่ งชาติ  ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลกั ฐานท่ี ทางประวัติศาสตร์ท่ีน่าเชื่อถอื แสดงเหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี  การแยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู กับความคิดเหน็ รวมท้ังความจริงกับขอ้ เทจ็ จรงิ จากหลกั ฐาน ทางประวัติศาสตร์  ความสาคญั ของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู และการ ตคี วามทางประวัตศิ าสตร์ ม.3 1. วเิ คราะห์เรอื่ งราวเหตกุ ารณส์ าคญั ทาง  ข้ันตอนของวิธกี ารทางประวัติศาสตร์สาหรบั ประวัติศาสตรไ์ ดอ้ ย่างมีเหตุผลตามวิธีการ การศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตรท์ ี่ ทางประวตั ศิ าสตร์ เกิดขน้ึ ในทอ้ งถน่ิ ตนเอง 2. ใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา  วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์สาคัญในสมัย เรื่องราวตา่ ง ๆ ท่ตี นสนใจ รัตนโกสนิ ทร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์  นาวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้ใน การศกึ ษาเรอื่ งราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครวั และทอ้ งถน่ิ ของตน ม.4 –ม. 6 1. ตระหนักถงึ ความสาคัญของเวลาและ  เวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่ปรากฏ ยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ แ่ี สดงถงึ การ ในหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทยและ เปลย่ี นแปลงของมนษุ ยชาติ ประวตั ิศาสตร์สากล  ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ของสังคมมนษุ ย์ที่มปี รากฏในหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ (เช่ือมโยงกับ มฐ. ส 4.3)  ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ 2. สรา้ งองค์ความร้ใู หมท่ างประวตั ศิ าสตร์  ขัน้ ตอนของวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ โดย โดยใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ นาเสนอตัวอยา่ งทีละข้ันตอนอยา่ งชัดเจน ระบบ  คณุ ค่าและประโยชนข์ องวธิ กี ารทาง ประวัติศาสตร์ทมี่ ีตอ่ การศกึ ษาทาง ประวัติศาสตร์  ผลการศกึ ษาหรือโครงงานทาง ประวัตศิ าสตร์ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

38 สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั ในด้านความสัมพนั ธแ์ ละ การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดขึน้ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม  ทตี่ งั้ และสภาพทางภูมศิ าสตร์ของประเทศต่าง ๆ ใน เศรษฐกจิ และการเมืองของ ภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ท่ีมผี ลต่อพัฒนาการ ประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ทางดา้ นต่างๆ ตะวันออกเฉยี งใต้  พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมอื งของ ประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 2. ระบคุ วามสาคัญของแหลง่ อารย  ท่ีตั้งและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในภมู ิภาค ธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศ เฉียงใต้ ตา่ ง ๆของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  อทิ ธิพลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดนไทยท่ีมีตอ่ พฒั นาการของสังคมไทยในปจั จุบนั ม.2 1. อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม  ที่ต้งั และสภาพทางภูมศิ าสตรข์ องภูมภิ าคต่างๆในทวปี เศรษฐกิจ และการเมอื งของ เอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต)้ ทมี่ ีผลตอ่ ภูมภิ าคเอเชีย พัฒนาการโดยสังเขป  พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ ภูมิภาคเอเชยี (ยกเวน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต)้ 2. ระบุความสาคัญของแหลง่ อารย  ทต่ี ้งั และความสาคญั ของแหลง่ อารยธรรมโบราณใน ธรรมโบราณในภมู ภิ าคเอเชีย ภมู ิภาคเอเชยี เชน่ แหลง่ มรดกโลกในประเทศต่างๆ ใน ภมู ภิ าคเอเชยี  อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณท่ีมตี อ่ ภมู ภิ าคเอเชียใน ปัจจุบัน ม.3 1. อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม  ทต่ี ง้ั และสภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องภมู ิภาคต่างๆของโลก เศรษฐกิจ และการเมอื งของ (ยกเว้นเอเชีย) ทม่ี ผี ลตอ่ พฒั นาการโดยสงั เขป ภูมิภาคต่างๆ ในโลกโดยสังเขป  พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมภิ าค ต่างๆของโลก (ยกเว้นเอเชีย)โดยสังเขป  อิทธพิ ลของอารยธรรมตะวนั ตกที่มีผลตอ่ พฒั นาการและ การเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก  ความร่วมมอื และความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น สงครามโลกครัง้ ที่ 1 ครั้งท่ี 2 สงครามเยน็ องคก์ ารความร่วมมือระหว่างประเทศ 2. วเิ คราะหผ์ ลของการ เปลย่ี นแปลงทนี่ าไปสคู่ วามรว่ มมอื และความขัดแย้ง ใน ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 ตลอดจน ความพยายามในการขจดั ปญั หา ความขดั แย้ง เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนขุนตาลวทิ ยาคม

39 ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4-ม.6 1.วิเคราะห์อิทธพิ ลของอารย  อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ไดแ้ ก่ อารยธรรมลุม่ แม่นา้ ธรรรมโบราณ และการตดิ ต่อ ไทกรสี -ยูเฟรตีส ไนล์ ฮวงโห สินธุ และอารยธรรมกรกี - ระหว่างโลกตะวนั ออกกับโลก โรมัน ตะวันตกทม่ี ผี ลตอ่ พัฒนาการและ  การติดต่อระหวา่ งโลกตะวันออกกบั โลกตะวันตก และ การเปลย่ี นแปลงของโลก2. อิทธพิ ลทางวัฒนธรรมทม่ี ตี ่อกนั และกนั วิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์สาคญั ต่างๆท่ี  เหตุการณ์สาคญั ตา่ งๆที่สง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลงของ สง่ ผลตอ่ การเปล่ียนแปลงทาง โลกในปัจจุบนั เช่นระบอบฟิวดสั การฟื้นฟู ศลิ ป สงั คม เศรษฐกิจและการเมือง เข้า วิทยาการสงครามครูเสด การสารวจทางทะเล การ ส่โู ลกสมัยปัจจุบัน ปฏิรปู ศาสนา การปฏวิ ตั ิทาง 3. วิเคราะห์ผลกระทบของการ  วทิ ยาศาสตร์ การปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม จกั รวรรดนิ ิยม ขยายอทิ ธิพลของประเทศใน ลทั ธิชาตนิ ิยม เปน็ ตน้ ยโุ รปไปยงั ทวีปอเมริกา แอฟรกิ า  ความรว่ มมือ และความขัดแยง้ ของมนุษยชาติในโลก และเอเชีย  สถานการณ์สาคัญของโลกในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 21 เช่น 4. วิเคราะห์สถานการณข์ องโลก - เหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 (Nine Eleven) ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21 - การขาดแคลนทรัพยากร - การก่อการรา้ ย - ความขดั แยง้ ทางศาสนา ฯลฯ เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวทิ ยาคม

40 สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภูมิใจและ ธารงความเปน็ ไทย ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. อธิบายเร่อื งราวทางประวัติศาสตร์  สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย สมัยกอ่ นสโุ ขทัยในดนิ แดนไทย โดยสงั เขป โดยสงั เขป  รฐั โบราณในดนิ แดนไทย เช่น ศรวี ชิ ัยตามพร ลงิ ค์ ทวารวดี เปน็ ตน้ 2. วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของอาณาจกั ร  รัฐไทย ในดินแดนไทย เช่น ล้านนา สโุ ขทยั ในด้านตา่ ง ๆ นครศรีธรรมราช สพุ รรณภมู ิ เปน็ ตน้ 3. วเิ คราะห์อทิ ธิพลของวฒั นธรรม และ  การสถาปนาอาณาจักรสโุ ขทยั และปจั จัยที่ ภมู ิปญั ญาไทยสมัยสโุ ขทยั และสงั คมไทย เก่ยี วขอ้ ง (ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก ) ในปัจจบุ ัน  พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทยั ในดา้ น การเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม และ ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ  วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย เชน่ ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี าคัญ ศลิ ปกรรมไทย  ภมู ปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทยั เช่น การชลประทาน เคร่อื งสงั คมโลก  ความเสอื่ มของอาณาจกั รสุโขทัย ม.2 1. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจกั ร  การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อยธุ ยา และธนบุรีในด้านตา่ งๆ  ปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ ความเจริญรุ่งเรืองของ 2. วิเคราะห์ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อความ อาณาจักรอยธุ ยา มั่นคงและความเจรญิ รงุ่ เรอื งของ  พัฒนาการของอาณาจกั รอยุธยาในด้าน อาณาจักรอยธุ ยา การเมอื งการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ และ 3. ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ สมัยอยธุ ยาและธนบุรี และอิทธพิ ลของ  การเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาครั้งที่ 1 และการกู้เอก ภมู ปิ ัญญาดังกล่าว ต่อการพัฒนาชาติ ราช  ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยุธยา เช่น ไทยในยุคตอ่ มา การควบคุมกาลังคน และศลิ ปวัฒนธรรม  การเสียกรุงศรอี ยุธยาครั้งที่ 2 การกเู้ อกราช และการสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี  ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ธนบุรี  วีรกรรมของบรรพบุรษุ ไทย ผลงานของบุคคล สาคญั ของไทยและตา่ งชาตทิ ่มี ีส่วนสรา้ งสรรค์ ชาตไิ ทย ม.3 1. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของไทย  การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี สมยั รัตนโกสินทรใ์ นด้านต่างๆ เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวทิ ยาคม

41 ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 2. วิเคราะหป์ จั จยั ที่สง่ ผลตอ่ ความ ม่ันคงและความเจรญิ รงุ่ เรืองของไทย ของไทย ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์  ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความม่ันคงและ 3.วิเคราะห์ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรม ไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ และอิทธพิ ลตอ่ ความเจริญร่งุ เรอื งของไทยในสมยั การพฒั นาชาติไทย รัตนโกสินทร์ 4.วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมยั  บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ไทยในราชวงศ์ ประชาธปิ ไตย จกั รใี นการสรา้ งสรรค์ความเจริญและความ ม.4 – ม.6 1.วิเคราะห์ประเดน็ สาคัญของ มน่ั คงของชาติ ประวัติศาสตรไ์ ทย  พฒั นาการของไทยในสมัยรตั นโกสินทร์ 2. วิเคราะห์ความสาคัญของสถาบัน พระมหากษัตรยิ ์ต่อชาติไทย ทางด้านการเมอื ง การปกครอง สงั คม 3. วเิ คราะหป์ จั จัยที่สง่ เสริมความ เศรษฐกิจ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ สรา้ งสรรค์ภูมปิ ัญญาไทย และ วฒั นธรรมไทย ซ่งึ มีผลต่อสงั คมไทยใน ตามช่วงสมยั ตา่ งๆ ยคุ ปจั จบุ นั  เหตุการณส์ าคัญสมยั รตั นโกสนิ ทร์ทม่ี ี 4. วเิ คราะหผ์ ลงานของบคุ คลสาคญั ท้ัง ผลต่อการพัฒนาชาตไิ ทย เช่น การทา ชาวไทยและตา่ งประเทศ ที่มีส่วน สรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทย และ สนธสิ ญั ญาเบาว์ริงในสมยั รชั กาลท่ี 4 การ ประวัติศาสตร์ไทย ปฏริ ปู ประเทศในสมยั รชั กาลท่ี 5 การเข้าร่วม สงครามโลกคร้ังที่ 1 และครัง้ ที่ 2 โดย วิเคราะหส์ าเหตปุ จั จัย และผลของเหตุการณ์ ต่าง ๆ  ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในสมัย รัตนโกสินทร์  บทบาทของไทยตงั้ แตเ่ ปลี่ยนแปลง การปกครองจนถึงปัจจบุ ันในสงั คมโลก  ประเด็นสาคญั ของประวัติศาสตรไ์ ทย เชน่ แนวคดิ เก่ียวกบั ความเป็นมาของชาตไิ ทย อาณาจักรโบราณในดนิ แดนไทย และอิทธพิ ล ทม่ี ีต่อสังคมไทย ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การสถาปนา อาณาจักรไทยในชว่ งเวลาตา่ งๆ สาเหตแุ ละ ผลของการปฏริ ูป ฯลฯ  บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ในการ พฒั นาชาติไทยในดา้ นต่างๆ เช่น การป้องกัน และรักษาเอกราชของชาติ การสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทย  อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวนั ตก และ ตะวนั ออกท่ีมตี ่อสงั คมไทย  ผลงานของบุคคลสาคัญท้ังชาวไทยและ ต่างประเทศ ท่มี ีส่วนสรา้ งสรรค์ วัฒนธรรม เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

42 ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ไทย และประวตั ิศาสตร์ไทย  ปจั จัยทสี่ ง่ เสริมความสรา้ งสรรค์ภูมิปญั ญา ไทย และวฒั นธรรมไทย ซง่ึ มีผลต่อสงั คมไทย ในยคุ ปัจจุบัน 5. วางแผนกาหนดแนวทางและการมี  สภาพแวดลอ้ มทมี่ ีผลตอ่ การสร้างสรรค์ภมู ิ สว่ นรว่ มการอนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาไทยและ ปญั ญาและวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทย  วิถีชวี ติ ของคนไทยในสมัยต่างๆ  การสบื ทอดและเปลี่ยนแปลงของวฒั นธรรม ไทย  แนวทางการอนุรักษ์ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรม ไทยและการมสี ่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์  วิธีการมสี ่วนร่วมอนรุ ักษภ์ ูมิปญั ญาและ วฒั นธรรมไทย สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสมั พันธข์ องสรรพส่งิ ซึ่งมผี ลต่อกนั ใชแ้ ผน ท่ีและเครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์และสรุปข้อมลู ตามกระบวนการ ทางวทิ ยาคมศาสตรต์ ลอดจนใชข้ อ้ มูลภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.1 1. วิเคราะหล์ ักษณะทางกายภาพของ  ลักษณะทางกายภาพ ของทวปี เอเชยี ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เนยี โดยใช้ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สบื คน้ ข้อมูล 2. อธบิ ายพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจดู และ  พกิ ัดภูมศิ าสตร์ (ละตจิ ูด และลองจจิ ูด) ลองจจิ ดู ) เสน้ แบง่ เวลาและเปรียบเทยี บ เสน้ แบ่งเวลา วนั เวลาของ โลก  เปรยี บเทยี บวนั เวลาของโลก 3. วเิ คราะห์สาเหตุการเกิดภัยพบิ ตั ิของ  ภยั พบิ ตั ขิ องทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนีย และโอเชยี เนีย ม.2 1. วิเคราะหล์ ักษณะทางกายภาพของ  ลักษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป และ ทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกา โดยใช้ ทวีปแอฟรกิ า เครอื่ งมือทาง ภมู ศิ าสตรส์ ืบค้นขอ้ มลู 2. อธบิ ายมาตราสว่ น ทิศ และ  มาตราสว่ น ทิศ และสญั ลักษณ์ สัญลกั ษณ์ 3. วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบตั ิของ ภัยพบิ ัติของทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา ทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

43 ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.3 1. วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของ  ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา เหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้ เหนอื และทวปี อเมริกาใต้ โดยเลอื กใชแ้ ผนท่ี เฉพาะเรอ่ื งและ  การเลอื กใชแ้ ผนท่เี ฉพาะเรอ่ื งและ เคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์สบื ค้น ข้อมูล เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์สบื คน้ ข้อมูล ม.4 – ม.6 2. วิเคราะห์สาเหตุการเกดิ ภัยพบิ ัตขิ อง  ภยั พบิ ตั ขิ องทวีปอเมริกาเหนอื และ ทวีป อเมรกิ าเหนือ และทวปี อเมริกาใต้ ทวีปอเมรกิ าใต้ 1. วิเคราะห์การเปลยี่ นแปลงทาง กายภาพของพื้นทใี่ น ประเทศไทยและ  การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ภมู ิภาคต่างๆ ของโลก ซึง่ ไดร้ ับ อทิ ธิพล (ประกอบดว้ ย 1. ธรณีภาค 2. จากปจั จัยทางภูมิศาสตร์ บรรยากาศภาค 3. อุทกภาค 4. ชีวภาค) ของพ้ืนทใ่ี นประเทศไทย และภมู ิภาค 2. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพซ่งึ ทา ต่างๆ ของโลก ซ่งึ ไดร้ ับ อทิ ธิพลจาก ใหเ้ กดิ ปญั หา หรอื ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์ ในประเทศไทยและ ภมู ภิ าคต่างๆ ของ โลก  ความสมั พนั ธ์ของการเปลี่ยนแปลงทาง 3. ใช้แผนทีแ่ ละเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ กายภาพทสี่ ง่ ผลต่อภูมปิ ระเทศ ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปข้อมูล ภูมอิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ตามกระบวนการทาง ภมู ิศาสตรแ์ ละนา ภูมสิ ารสนเทศมาใช้ประโยชนใ์ น  ปัญหาทางกายภาพหรือภัยพบิ ัติ ทาง ชีวิตประจาวนั ธรรมชาตใิ นประเทศและภมู ิภาค ต่างๆ ของโลก  แผนทีแ่ ละองค์ประกอบ  การอ่านแผนที่เฉพาะเร่ือง  การแปลความหมายรูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม  การนาภมู สิ ารสนเทศไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

44 สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท่กี ่อให้เกดิ การ สร้างสรรค์วิถีการดาเนนิ ชวี ติ มีจิตสานึก และมีส่วนรว่ มในการจัดการทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาท่ยี ัง่ ยืน ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. สารวจและระบทุ าเลทีต่ ัง้ ของกิจกรรม  ทาเลท่ตี ง้ั ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ ทางเศรษฐกิจ และสงั คมในทวปี เอเชยี สังคมในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และ ทวปี ออสเตรเลยี และโอ เชียเนยี โอเชียเนีย 2. วิเคราะห์ปัจจยั ทางกายภาพและ  การเปลย่ี นแปลงโครงสร้าง ทางประชากร ปจั จัยทางสังคมทมี่ ี ผลต่อทาเลทต่ี ง้ั ของ สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คมและ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ สงั คมในทวีป วฒั นธรรมในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนยี และโอเชยี เนยี 3. สืบค้น อภปิ รายประเด็นปัญหาจาก  ประเดน็ ปญั หาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหวา่ งสภาพแวดล้อมทาง สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพกับมนุษย์ ที่ กายภาพกับมนุษย์ที่ เกิดขึ้นในทวีป เกิดขน้ึ ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และ เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี โอเชยี เนีย 4. วเิ คราะห์แนวทางการจดั การภัยพบิ ัติ  แนวทางการจดั การภยั พิบัตแิ ละการ และการ จดั การทรัพยากรและ จัดการการจดั การทรัพยากรและ สิง่ แวดลอ้ มในทวปี เอเชยี ทวีป สง่ิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชีย ทวีป ออสเตรเลยี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย อยา่ งยง่ั ยนื และโอเชียเนีย อยา่ งย่ังยืน ม.2 1. สารวจและระบทุ าเลที่ตง้ั ของกจิ กรรม  ทาเลทีต่ ั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ ทางเศรษฐกิจ และสงั คมในทวีปยโุ รป สงั คมในทวปี ยุโรป และทวปี แอฟริกา และทวีปแอฟริกา 2. วเิ คราะห์ปจั จยั ทางกายภาพและปัจจัย  การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทาง ประชากร ทางสงั คมท่ีมี ผลต่อท าเลท่ีตั้งของ ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สงั คม และ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ สังคมในทวีป วฒั นธรรมในทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกา ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า 3. สืบค้น อภปิ รายประเด็นปัญหาจาก  ประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง ปฏิสมั พันธ์ ระหวา่ งสภาพแวดลอ้ มทาง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ท่ี กายภาพกับมนุษย์ที่ เกดิ ขน้ึ ในทวปี ยุโรป เกิดขึ้นในทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟริกา และทวีปแอฟริกา 4. วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการภัยพบิ ตั ิ  แนวทางการจัดการภยั พิบัตแิ ละ การ และการจดั การ ทรพั ยากรและ จัดการทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อม ในทวปี สง่ิ แวดล้อมในทวีปยโุ รป และทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า อย่างยัง่ ยืน แอฟริกา อย่างย่ังยืน เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขุนตาลวิทยาคม

45 ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. สารวจและระบุทาเลทตี่ ัง้ ของกิจกรรม  ทาเลท่ตี ั้งของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ ม.4 –ม.6 ทางเศรษฐกิจ และสังคมในทวีปอเมริกา สังคมในทวีปอเมริกาเหนือ และ ทวีป เหนอื และทวีปอเมริกาใต้ อเมริกาใต้ 2. วเิ คราะหป์ ัจจัยทางกายภาพและ  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง ประชากร ปัจจยั ทางสงั คมทมี่ ี ผลตอ่ ทาเลทีต่ ้ังของ สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สงั คม และ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ สังคมในทวปี วฒั นธรรมทวีปอเมริกาเหนือ และ ทวีป อเมริกาเหนือ และทวปี อเมริกาใต้ อเมรกิ าใต้ 3. สืบค้น อภปิ รายประเดน็ ปัญหาจาก  ประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง ปฏิสมั พันธ์ ระหวา่ งสภาพแวดลอ้ มทาง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ ที่ กายภาพกับมนษุ ย์ที่ เกิดข้นึ ในทวปี เกิดขึ้นในทวปี อเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาเหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้ อเมริกาใต้ 4. วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การภัยพิบตั ิ  แนวทางการจดั การภัยพิบัติและการ และการจัดการ ทรัพยากรและ จัดการทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อมใน ทวปี สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ และ อเมรกิ าเหนอื และทวปี อเมรกิ าใต้ อย่าง ทวปี อเมรกิ าใต้ อย่างยงั่ ยนื ยั่งยืน 5. ระบคุ วามร่วมมือระหว่างประเทศทีม่ ี  เป้าหมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื ของโลก ผลต่อการ จัดการทรัพยากรและ  ความร่วมมอื ระหว่างประเทศทีม่ ีผลต่อ สิง่ แวดล้อม การจดั การทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม 1.วเิ คราะหป์ ฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง  ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างสิ่งแวดลอ้ มทาง ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ กบั กิจกรรม กายภาพกับกจิ กรรมของมนุษย์ ภายใต้ ของมนษุ ย์ในการสร้างสรรคว์ ิถกี าร กระแสโลกาภิวฒั น์ ได้แก่ ดาเนนิ ชวี ิตของท้องถิน่ ทัง้ ในประเทศ - ประชากรและการต้ังถิ่นฐาน (การ ไทยและ ภูมิภาคตา่ งๆ ของโลกและเห็น กระจายและการเปลี่ยนแปลง ความสาคัญของ สิ่งแวดลอ้ มท่ีมผี ลตอ่ ประชากร การดารงชวี ิตของมนษุ ย์ ชมุ ชนเมอื งและชนบท และการ กลายเป็นเมือง - ความสมั พันธ์ระหว่างสิง่ แวดลอ้ ม ทาง กายภาพกับวิถชี วี ิต - การกระจายตัวของกิจกรรม ทาง เศรษฐกิจ (เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การผลิต การบริการ และการ ทอ่ งเที่ยว) เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

46 ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 2. วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และ  สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้าน ผลกระทบของ การเปลยี่ นแปลง ดา้ น ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ได้แก่ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมของ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ความ ประเทศไทยและภมู ิภาคต่างๆ ของ โลก เส่ือมโทรมของสิ่งแวดลอ้ ม ความ หลากหลาย ทางชวี ภาพ และภัยพิบตั ิ  สาเหตุ และผลกระทบของการ เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอ้ มของประเทศไทยและ ภมู ิภาค ตา่ งๆ ของโลก  การจัดการภยั พิบตั ิ 3. ระบุมาตรการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา  มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา กฎหมายและ นโยบายดา้ น ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ประเทศและระหวา่ งประเทศ ตามแนวทาง บทบาทขององค์การทเ่ี กยี่ วข้อง และการ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ความมั่นคงของมนุษย์ ประสาน ความรว่ มมือทั้งในประเทศและ และการบรโิ ภค อย่างรบั ผิดชอบ ระหว่างประเทศ  กฎหมายและนโยบายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ทงั้ ใน ประเทศและระหวา่ งประเทศ  บทบาทขององค์การ และการประสาน ความร่วมมอื ทั้งในประเทศและระหว่าง ประเทศ 4. วเิ คราะห์แนวทางและมีส่วนรว่ มใน  แนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติและ และสิง่ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นา ทย่ี ่งั ยืน  การมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปัญหาและการ ดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวทาง การจดั การ ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม เพอื่ การพฒั นา ท่ยี ง่ั ยนื เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม

47 โครงสรา้ งหลักสตู รกลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั ชั้น/ รหัสวชิ า / ชือ่ รายวิชา เวลาเรียน ภาคเรยี นท่ี รายวิชาพนื้ ฐาน หนว่ ยกิต/ชม. ม. 1/1 ส 21101 สงั คมศึกษา 1 1.5 / 60 ม. 1/1 ส 21102 ประวตั ศิ าสตร์ 1 0.5 / 20 ม. 1/2 ส 21103 สังคมศึกษา 2 1.5 / 60 ม. 1/2 ส 21104 ประวตั ศิ าสตร์ 2 0.5 / 20 ม. 2/1 ส 22101 สังคมศกึ ษา 3 1.5 / 60 ม. 2/1 ส 22102 ประวตั ศิ าสตร์ 3 0.5 / 20 ม. 2/2 ส 22103 สังคมศึกษา 4 1.5 / 60 ม. 2/2 ส 22104 ประวตั ิศาสตร์ 4 0.5 / 20 ม. 3/1 ส 23101 สังคมศึกษา 5 1.5 / 60 ม. 3/1 ส 23102 ประวัตศิ าสตร์ 5 0.5 / 20 ม. 3/2 ส 23103 สงั คมศกึ ษา 6 1.5 / 60 ม. 3/2 ส 23104 ประวตั ิศาสตร์ 6 0.5 / 20 ม.1/1 รายวชิ าเพิ่มเติม 0.5 / 20 ม.1/2 0.5 / 20 ม.2/1 ส21231 หน้าท่พี ลเมอื ง1 0.5 / 20 ม.2/2 ส21232 หน้าที่พลเมอื ง2 0.5 / 20 ม.3/1 ส22233หน้าท่ีพลเมอื ง3 0.5 / 20 ม.3/2 ส22234 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง4 0.5 / 20 ม.ต้น ส23235 หนา้ ที่พลเมือง5 0.5 / 20 ม.ต้น ส23236 หนา้ ทพ่ี ลเมือง6 1.0 / 40 ม.ตน้ ส 20237 ท้องถ่นิ ของเรา 1 1.0 / 40 ม.ตน้ 1.0 / 40 IS 1 IS 2 IS 3 เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นขนุ ตาลวิทยาคม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook