Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562

Published by วารสาร สพม.ปจนย, 2021-02-18 03:18:56

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2562

Search

Read the Text Version

[ก] แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 คำนำ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2562 เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบการดาเนนิ งาน และขับเคลอ่ื นบรหิ ารจัดการศึกษาของสานักงานเขต พน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7 และสถานศึกษาในสังกดั โดยมีสาระสาคญั ประกอบดว้ ย วิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ จุดเน้น โครงการและกิจกรรมต่างๆ ซ่ึงมีการวิเคราะห์ความสอดคล้องกับจุดเน้น มาตรการ และตัวชี้วัดความสาเร็จท่ีจะดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สาหรับการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฉบับนี้ จะบรรลุผลตามเป้าหมายความสาเร็จท่ีกาหนดไว้ ต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทางการศึกษาและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน รวมทั้ง บุคลากรทางการศึกษาในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสุดท้าย คือ การ พัฒนาการศกึ ษาให้นักเรยี นได้รบั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทั่วถึง และมีคุณภาพตามมาตรฐาน สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7 พฤศจกิ ายน 2561 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

[ข] หน้า แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ก สำรบญั ข คานา 1 6 สารบัญ 7 8 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐำน 9 ขอบข่ายภารกจิ การจัดการศึกษา โครงสร้างการบรหิ ารงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 10 เครอื ข่ายการบริหารการศึกษา 12 ขอ้ มูลพน้ื ฐานสถานศึกษาในสงั กัด 13 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) 16 17 ส่วนที่ 2 ทศิ ทำงกำรพฒั นำกำรศึกษำ 20 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) 23 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 24 จุดเนน้ เชงิ นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นโยบายสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ส่วนท่ี 3 รำยละเอยี ดแผนปฏิบตั กิ ำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2562 งบประมาณสาหรับบรหิ ารจดั การสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 งบประมาณพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ส่ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7

[ค] แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หนา้ ส่วนที่ 4 รำยละเอยี ดโครงกำร นโยบำยที่ 1 ด้ำนกำรจดั กำรศกึ ษำเพ่อื ควำมม่ันคง 1. โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษและแนวชายแดนไทย-กมั พูชา 30 นโยบำยที่ 2 พัฒนำคุณภำพผ้เู รยี น 2. โครงการต่อตา้ นคอรปั ชัน่ (เสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม เพอื่ ปลูกจิตสานกึ ป้องกนั 37 การทุจริตและคอรัปช่ัน ) 3. โครงการเฝ้าระวงั แก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษาและเสริมสรา้ งทักษะชวี ติ 41 4. โครงการสรา้ งความเขม้ แข็งองคส์ ภานักเรียน 46 5. โครงการสนองพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10 และเศรษฐกจิ 51 พอเพยี ง/ศาสตร์พระราชาสู่สถานศกึ ษา 6. โครงการลูกเสอื ชอ่ สะอาดโดยกระบวนการลูกเสอื 55 7. โครงการส่งเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือการมีงานทา 58 8. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 63 9. โครงการชมรมวิชาการ (พัฒนามาตรฐานและคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล) 68 10. โครงการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้และรกั การอ่าน 73 11. โครงการประกวดแข่งขัน คดั เลอื กตัวแทนเขา้ ร่วมงานความสามารถทางศิลปะหัตกรรม 77 วิชาการ และเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 68 ปีการศึกษา 2561 ของ สพม.7 ปีงบประมาณ 2562 12. โครงการนเิ ทศติดตามและประเมินการศึกษา 81 13. โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกของสถานศึกษา 85 เพ่ือพร้อมรับการประเมินรอบสี่ 14. โครงการพัฒนาทกั ษะความสามารถเด็กหวั ปานกลางลงมา 89 15. โครงการอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อม (โรงเรียนปลอดขยะ Zero waste School) 93 16. โครงการ สพม.7 จิตอาสา นาพาเขตพืน้ ที่ \"สเี ขียว\" 96 17. โครงการการส่งเสริมการเรียนรู้ประวตั ศิ าสตร์จงั หวัดปราจนี บรุ ี 100 นโยบำยที่ 3 พัฒนำผบู้ รหิ ำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ 18. โครงการการคดั สรรพนักงานราชการตาแหนง่ ครผู สู้ อน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 103 19. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การซักซอ้ มความเขา้ ใจเพื่อให้มีและเลื่อนเปน็ วทิ ยฐานะ 106 ชานาญการและชานาญการพเิ ศษ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (ว21/2560) 20. โครงการรับพระราชเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ ชน้ั ตา่ กวา่ สายสะพายและเหรยี ญจักรพรรดิ 110 มาลา 21. โครงการส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สพม.7 ตามความจาเปน็ ความ 114 ต้องการตามศักยภาพและสมรรถนะทางวชิ าชพี ให้เป็นไปตามระเบยี บและกฎหมาย สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[ง] แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หน้า 22. โครงการประชมุ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) 120 23. โครงการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา โรงเรยี นในสงั กดั สพม.7 124 นโยบำยท่ี 4 สร้ำงโอกำสในกำรเขำ้ ถงึ บริกำรกำรศึกษำท่ีมคี ณุ ภำพ มีมำตรฐำน และลดควำมเลอ่ื มลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ 24. โครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารผู้บริหารและเจา้ หน้าท่กี ารเงนิ การบญั ชี และพัสดุ 127 โรงเรยี น 25. โครงการปอ้ งกนั การมีเพศสมั พันธ์กอ่ นวัยอันควร( เพศวิถี )(ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื และค้มุ ครองนกั เรียน) 131 26. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการรับนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2562 135 27. โครงการส่งเสริมการศึกษาพิเศษ (พฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาเรียนรวมและ 139 เรยี นรว่ มประจาปงี บประมาณ 2562) 28. โครงการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และการพฒั นาการจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโดยครอบครวั 143 และศูนยก์ ารเรียนอยา่ งเป็นระบบ นโยบำยท่ี 5 เพิ่มประสิทธภิ ำพกำรบรหิ ำรจัดกำร 29. โครงการสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร/สพฐ.และหนว่ ยงานอื่นทเี่ กย่ี วขอ้ ง 147 30. โครงการสง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการวางแผนการจดั การศึกษา 150 31. โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพงานตรวจสอบภายใน 156 32. โครงการพัฒนาศักยภาพข้าราชการและบคุ ลากรเพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ าน 159 33. โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (พฒั นาเครอื ขา่ ยและการประชาสัมพันธ์ขององคก์ ร ) 167 34. โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเตรยี มความพร้อมป้องกนั ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติและภัยอ่ืนๆ 172 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สว่ นท่ี 5 กำรบริหำรแผนสู่กำรปฏิบัติ 175 ภาคผนวก 177 สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[1] แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพื้นฐาน ขอบขา่ ยภารกจิ การจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7 สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ภาครัฐ ทต่ี ั้ง : สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 เลขที่ 60 หมู่ 14 ถนนสุวรรณศร ตาบลบ้านพระ อาเภอเมอื งปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี 25000 มีพื้นทค่ี รอบคลมุ 3 จังหวดั รวม 44 โรงเรียน ดังน้ี สถานศึกษาในจังหวัดปราจนี บุรี 19 โรง สถานศึกษาในจังหวัดสระแกว้ 14 โรง สถานศึกษาในจังหวดั นครนายก 11 โรง ท่ตี ั้งและอาณาเขตจังหวดั ปราจีนบุรี จังหวัดปราจนี บรุ ี ประกอบด้วย 7 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองปราจีนบุรี อาเภอศรีมโหสถ อาเภอบา้ นสรา้ ง อาเภอประจันตคาม อาเภอศรีมหาโพธิ อาเภอกบนิ ทร์บุรี อาเภอนาดี มีหนา้ ทีร่ ับผิดชอบดแู ล โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาในสังกดั จานวนท้งั สนิ้ 19 โรงเรยี น สภาพพื้นทีโ่ ดยท่ัวไปของจงั หวัดปราจีนบุรี ตงั้ อยู่ภาคตะวันออกของประเทศ ห่างจากกรุงเทพ โดยทางรถไฟ 122 กโิ ลเมตร โดยทางรถยนต์ 136 กโิ ลเมตร มีเนอื้ ท่ี 4,762,362 ตารางกิโลเมตร เป็นทร่ี าบ สงู และภเู ขา มอี ุทยานแห่งชาติ 2 แหง่ คอื อุทยานแห่งชาตเิ ขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาตทิ ับลาน ร้อยละ70 ของพ้ืนทตี่ อนลา่ งเป็นทร่ี าบลมุ่ มีแมน่ ้าปราจีนบรุ ี ไหลผา่ น อาเภอกบนิ ทรบ์ รุ ี อาเภอประจนั ตคาม อาเภอ ศรมี หาโพธิ อาเภอเมอื งปราจนี บรุ ี และอาเภอบ้านสรา้ ง ยาวประมาณ 180 กิโลเมตร หรือ ประมาณ 2,976,476.2 ไร่ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั นี้  ทิศเหนอื ติดจังหวดั นครราชสมี า  ทิศตะวันออก ติดจังหวัดสระแก้ว  ทิศใต้ ตดิ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ จังหวัดนครนายก และ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[2] แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 รายช่อื โรงเรียนระดับมธั ยมศึกษาในจังหวัดปราจีนบุรี ท่ี โรงเรียน ทีอ่ ยู่ 1. ปราจณิ ราษฎรอารุง 880 ถนนปราจีนอนสุ รณ์ ตาบลหน้าเมอื ง อาเภอเมือง จงั หวัดปราจนี บุรี 25000 2. ปราจีนกลั ยาณี ถนนปราจีนอนสุ รณ์ ตาบลหน้าเมอื ง จังหวัดปราจีนบุรี 25000 3. ไทยรัฐวิทยา 7 7 หมู่ 13 ตาบลดงขี้เหลก็ อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบรุ ี 25000 4. ปราจณิ ราษฎรอารงุ 2 47/2 หมู่ 2 ตาบลบางเดชะ อาเภอเมือง จังหวัดปราจนี บรุ ี 25000 “อดุลศาสนกจิ ศึกษา” 5. ศรมี โหสถ 217 หมู่ 7 ตาบลโคกปีป อาเภอศรมี โหสถ จังหวัดปราจนี บรุ ี 25190 6. กระทุ่มแพ้ววทิ ยา 48 หมู่ 4 ตาบลกระทุม่ แพ้ว อาเภอบา้ นสร้าง จงั หวดั ปราจีนบรุ ี 25150 7. ประจนั ตราษฎรบ์ ารงุ 261 หมู่ 1 ตาบลประจนั ตคาม อาเภอประจนั ตคาม จังหวัดปราจนี บรี 25130 8. สุวรรณวิทยา 72 หมู่ 5 ตาบลคาโตนด อาเภอประจันตคาม จังหวดั ปราจีนบุรี 25130 9. วังตะเคียนวทิ ยาคม 209 หมู่ 5 ตาบลวงั ตะเคยี น อาเภอกบนิ ทร์บรุ ี จังหวัดปราจนี บรุ ี 25110 10. ศรมี หาโพธิ 115 หมู่ 9 ตาบลศรมี หาโพธิ อาเภอศรีมหาโพธิ จงั หวดั ปราจีนบุรี 25140 11. กรอกสมบูรณว์ ิทยาคม หมู่ 7 ตาบลกรอกสมบรู ณ์ อาเภอศรีมหาโพธ์ิ จงั หวัดปราจีนบุรี 25140 12. กบนิ ทร์วิทยา 166 หมู่ 6 ตาบลกบนิ ทร์ อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี 25110 13. ลาดตะเคยี นราษฎร์ 1 หมู่ 10 ตาบลลาดตะเคียน อาเภอกบนิ ทร์บรุ ี จงั หวัดปราจนี บุรี 25110 บารงุ 14. กบินทร์บุรี 99 หมู่ 13 ตาบลเมอื งเกา่ อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จงั หวัดปราจีนบุรี 25240 15. วดั พรหมประสทิ ธ์ิ หมู่ 7 ตาบลกรอกสมบูรณ์ อาเภอศรมี หาโพธ์ิ จังหวัดปราจีนบรุ ี 25140 16. ชิตใจชื่น 146 หมู่ 4 ตาบลบา้ นสร้าง อาเภอบ้านสรา้ ง จงั หวัดปราจีนบุรี 25150 17. วงั ดาลวทิ ยาคม 7113 หมู่ 10 ตาบลวังดาล อาเภอกบินทรบ์ รุ ี จังหวดั ปราจีนบุรี 25110 18. มณีเสวตรอปุ ถัมภ์ 404 หมู่ 1 ตาบลสาพนั ตา อาเภอนาดี จงั หวัดปราจีนบุรี 25220 19. รม่ เกลา้ ปราจีนบุรี หมู่ 1 ตาบลบุพราหมณ์ อาเภอนาดี จงั หวัดปราจีนบรุ ี 25220 สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 7

[3] แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ที่ต้งั และอาณาเขตจังหวัดนครนายก จงั หวดั นครนายก ประกอบด้วย 4 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองนครนายก อาเภอบ้านนา อาเภอองครักษ์ อาเภอปากพลี มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบดูแลโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาในสังกัด จานวนท้งั สน้ิ 11 โรงเรยี น สภาพพนื้ ท่ีโดยท่วั ไปของจงั หวดั นครนายก ต้ังอยทู่ างทิศตะวันออกของประเทศไทย เป็นท่รี าบ สูงและภเู ขา ประกอบดว้ ย 4 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมอื งนครนายก อาเภอปากพลี อาเภอบา้ นนา และอาเภอ องครักษ์ จงั หวัดนครนายก มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวง แผน่ ดินหมายเลข 305 เลียบ คลองรังสิตผ่านอาเภอองครักษ์ถงึ จังหวัดนครนายก ระยะทาง 105 กิโลเมตร แตถ่ า้ มีการก่อสร้างทางคมนาคม สายตรงจากกรุงเทพฯ จะมีระยะทางประมาณ 60 กโิ ลเมตร มีเนือ้ ทจ่ี งั หวัดประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 1,326,250 ไร่ จงั หวัดนครนายก ตัง้ อยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศไทยหา่ งจากกรุงเทพฯ 107 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตติดตอ่ ดงั นี้  ทศิ เหนือ ตดิ จงั หวดั สระบุรี และจงั หวดั นครราชสีมา ปราจีนบรุ ี  ทิศตะวันออก ตดิ จงั หวัดนครราชสมี า และจังหวดั ปราจนี บรุ ี  ทิศใต้ ติดจังหวัดฉะเชงิ เทรา และจังหวัด  ทศิ ตะวนั ตก ติดจงั หวดั ปทมุ ธานี รายชอื่ โรงเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาในจงั หวดั นครนายก ท่ี โรงเรียน ทอี่ ยู่ 1. เมืองนครนายก หมู่ 7 ตาบลทา่ ชา้ ง อาเภอเมือง จังหวดั นครนายก 26000 2. นครนายกวิทยาคม ข1-330 ถนนสุวรรณศร ตาบลนครนายก อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 3. ปยิ ชาตพิ ัฒนา ในพระ 61/3 หมู่ 4 ตาบลพรหมณี อาเภอเมือง จงั หวัดนครนายก 26000 ราชูปถมั ภฯ์ 4. นวมราชานุสรณ์ ตาบลท่าช้าง อาเภอเมือง จงั หวัดนครนายก 26000 5. อบุ ลรตั นราชกญั ญาราช 19 หมู่ 12 ตาบลศรจี ุฬา อาเภอเมอื ง จังหวัดนครนายก 26000 วิทยาลัย 6. เขาเพ่ิมนารีผลวิทยา 7 หมู่ 1 ตาบลเขาเพิม่ อาเภอบา้ นนา จังหวดั นครนายก 26110 7. บา้ นนา “นายกพิยากร” 112 หมู่ 4 ถนนสวุ รรณศร ตาบลบ้านนา อาเภอบ้านนา จังหวดั นครนายก 26110 8. ภัทรพิทยาจารย์ หมู่ 13 ตาบลพระอาจารย์ อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120 9. องครักษ์ 78 หมู่ 3 ตาบลองครักษ์ จงั หวดั นครนายก 26120 10. เลขธรรมกติ ติว์ ทิ ยาคม หมู่ 14 ตาบลบางอ้อ อาเภอบา้ นนา จังหวดั นครนายก 26110 11. ปากพลวี ิทยาคาร 101 หมู่ 4 ตาบลปากพลี อาเภอปากพลี จงั หวัดนครนายก 26130 สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[4] แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ทต่ี ง้ั และอาณาเขตจังหวัดสระแก้ว จังหวดั สระแกว้ ประกอบด้วย 9 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองสระแก้ว อาเภอเขาฉกรรจ์อาเภอ วงั น้าเยน็ อาเภอคลองหาด อาเภอวงั สมบูรณ์ อาเภอวฒั นานคร อาเภออรัญประเทศ อาเภอตา-พระยา อาเภอ โคกสูง มีหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบดูแลโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาในสงั กัด จานวนทั้งสิน้ 14 โรงเรียน สภาพพน้ื ท่ีโดยทั่วไปของจงั หวัดสระแกว้ และมีอาณาเขตติดต่อกับราชอาณาจกั รกัมพูชาเป็น ระยะทาง 165 กโิ ลเมตร เปน็ ทีร่ าบสูงและภเู ขา มแี หล่งท่องเทยี่ วตามธรรมชาติ คือ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อทุ ยานแห่งชาติตาพระยา ซึง่ ไดร้ ับการประกาศให้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของมรดกโลก ละลุ เขื่อนพระปรง ถา้ เพชรโพธ์ิ ทอง และน้าตกเขาตระกรบุ ประกอบด้วย 9 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภอเมืองสระแก้ว อาเภอเขาฉกรรจ์ อาเภอวงั น้า เย็น อาเภอวงั สมบูรณ์ อาเภอวฒั นานคร อาเภออรญั ประเทศ อาเภอคลองหาด อาเภอโคกสงู และอาเภอตา พระยา จังหวัดสระแก้ว มรี ะยะทางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ 236 กโิ ลเมตร มีเนื้อท่ี จงั หวดั ประมาณ 7,195,138 กิโลเมตร ต้งั อย่ภู าคตะวันออกของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อ ดงั น้ี  ทิศเหนอื ตดิ จังหวัดบรุ รี มั ย์ และจังหวดั นครราชสมี า  ทศิ ตะวันออก ตดิ ประเทศกมั พูชา  ทิศใต้ ตดิ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา และจังหวัดจนั ทบรุ ี  ทศิ ตะวันตก ตดิ จังหวัดปราจนี บุรี รายช่อื โรงเรียนระดับมัธยมศกึ ษาในจงั หวัดสระแกว้ ที่ โรงเรียน ทอ่ี ยู่ 1. ทา่ เกษมพิทยา 431 หมู่ 2 ตาบลท่าเกษม อาเภอเมอื ง จงั หวดั สระแก้ว 27000 2. สระแก้ว 58 ถนนสุวรรณศร อาเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000 3. คลองหาดพิทยาคม 325 หมู่ 5 ตาบลคลองหาด อาเภอคลองหาด จังหวดั สระแกว้ 27000 4. วังน้าเยน็ วิทยาคม 862 หมู่ 1 ตาบลวงั นา้ เยน็ อาเภอวังนา้ เยน็ จงั หวดั สระแกว้ 27210 5. วงั สมบูรณ์วิทยาคม 58 หมู่ 10 ตาบลวังสมบรู ณ์ อาเภอวงั สมบูรณ์ จงั หวัดสระแก้ว 27250 6. วงั หลังวิทยาคม 135 หมู่ 18 ตาบลทุง่ มหาเจรญิ อาเภอวังนา้ เย็น จังหวดั สระแก้ว 27210 7. ทัพพระยาพิทยา 99 หมู่ 8 ตาบลโคกสงู อาเภอโคกสูง จงั หวดั สระแกว้ 27120 8. ซับมว่ งวทิ ยา 89 หมู2่ ตาบลโคกลาน อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ 27180 9. ทัพราชวิทยา 94 หมู่ 16 ตาบลทัพราช อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว 27180 10. อรัญประเทศ 1ถนนสุวรรณศร ตาบลอรัญประเทศ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว 27120 สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7

ท่ี โรงเรยี น [5] 11. คลองนา้ ใสวิทยาคาร แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 12. รม่ เกล้าวัฒนานคร ทอ่ี ยู่ สระแก้ว รัชมังคลา 238 หมู่ 10 ตาบลผ่านศกึ อาเภออรญั ประเทศ จังหวัดสระแก้ว ภเิ ษก 27120 238 หมู่ 10 ตาบลผ่านศึก อาเภออรญั ประเทศ จงั หวัดสระแก้ว27120 13. ตาพระยา 182 หม1ู่ ถนนธนะวิถี ตาบลตาพระยา อาเภอตาพระยา 14. วังไพรวทิ ยาคม จังหวดั สระแก้ว 27180 100 หมู่ 11 ตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จงั หวดั สระแก้ว 27250 สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[6] แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 7 สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[7] แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เครอื ข่ายการบรหิ ารจดั การศกึ ษาของสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 7 สหวทิ ยาเขตขนุ ดา่ นปราการชล สานกั งาน สหวทิ ยาเขตบา้ นนา – องครักษ์ เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา โรงเรียนบ้านนา ”นายกพทิ ยากร” โรงเรียนนครนายกวทิ ยาคม มัธยมศึกษา เขต 7 โรงเรียนองครักษ์ โรงเรยี นปยิ ชาติพัฒนาฯ โรงเรียนเขาเพิม่ นารีผลวทิ ยา โรงเรียนปากพลีวทิ ยาคาร โรงเรียนภัทรพิทยาจารย์ โรงเรียนนวมราชานสุ รณ์ โรงเรียนเลขธรรมกติ ตว์ิ ทิ ยาคม โรงเรยี นเมืองนครนายก สหวิทยาเขตปิ่นมาลา โรงเรยี นอุบลรตั นราชกญั ญาราช โรงเรียนอรญั ประเทศ โรงเรียนตาพระยา สหวทิ ยาเขตวังบรู พา โรงเรยี นคลองน้าใสวิทยาคาร โรงเรียนวังนา้ เย็นวิทยาคม โรงเรียนทพั พระยาพทิ ยา โรงเรยี นคลองหาดพิทยาคม โรงเรียนทพั ราชวิทยา โรงเรยี นท่าเกษมพิทยา โรงเรียนซบั ม่วงวทิ ยา โรงเรียนวงั สมบูรณ์วิทยาคม โรงเรียนร่มเกล้าวัฒนานคร โรงเรยี นวังหลังวทิ ยาคม โรงเรียนสระแกว้ สระแกว้ รชั มังคลาภิเษก โรงเรยี นวงั ไพรวิทยาคม สหวทิ ยาเขตทวาราวดี สหวทิ ยาเขตกบนิ ทร์ – นาดี สหวิทยาเขตศรีบรู พา โรงเรียนปราจณิ ราษฎรอารุง โรงเรียนกบนิ ทร์วทิ ยา โรงเรียนปราจนี กัลยาณี โรงเรียนประจันตราษฎร์บารุง โรงเรยี นวังตะเคยี นวทิ ยาคม โรงเรยี นศรีมหาโพธิ โรงเรยี นชติ ใจชน่ื โรงเรียนกบนิ ทร์บุรี โรงเรยี นศรีมโหสถ โรงเรยี นวัดพรหมประสิทธิ์ โรงเรยี นวงั ดาลวทิ ยาคม โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 7 โรงเรียนสุวรรณวทิ ยา โรงเรยี นร่มเกลา้ ปราจีนบุรี โรงเรียนปราจิณราษฎรอารงุ 2 โรงเรียนกระทมุ่ แพว้ วิทยา โรงเรยี นมณเี สวตรอปุ ถมั ภ์ โรงเรียนลาดตะเคยี นราษฎร์บารุง “อดลุ ศาสนกจิ ศกึ ษา” โรงเรยี นกรอกสมบรู ณ์วิทยาคม แผนภมู ิโครงสรา้ งรปู แบบเครือข่ายสถานศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[8] แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ขอมูลพน้ื ฐานสถานศึกษาในสังกดั -ขอมูลจานวนนกั เรียน หองเรียน ขนาดโรงเรียน และจานวนครู เรียงลาดบั ตามขนาดโรงเรียน (ขอมูล ณ วันที่ 10 มถิ นุ ายน 2561) จังหวัด โรงเรยี น จานวนนักเรียน หอ้ ง ขนาด ครู ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. รวม เรยี น โรงเรยี น 174 ปราจณิ ราษฎรอารงุ 1,557 1,820 3,377 83 ใหญพ่ ิเศษ 127 12 ปราจนี กลั ยาณี 1,363 1,101 2,464 65 ใหญ่ 15 ปราจณิ ราษฎรอารุง 2 14 3 17 6 เลก็ 85 18 “อดลุ ศาสนกจิ ศึกษา” 22 39 ไทยรฐั วทิ ยา 7 157 83 240 12 เล็ก 14 40 กบนิ ทรว์ ทิ ยา 735 947 1,682 45 ใหญ่ 14 25 ลาดตะเคยี นราษฎร์บารงุ 110 102 212 7 เลก็ 12 72 กบินทร์บรุ ี 189 117 306 12 เล็ก 15 15 จังหวัดปราจีนบุรี วังตะเคยี นวิทยาคม 289 298 587 19 กลาง 65 14 วงั ดาลวิทยาคม 95 50 145 8 เล็ก 35 813 มณีเสวตรอุปถมั ภ์ 388 258 646 21 กลาง 15 141 ร่มเกล้าปราจีนบุรี 133 111 244 8 เลก็ 38 44 ชติ ใจชื่น 318 187 505 14 กลาง 18 28 กระท่มุ แพ้ววทิ ยา 53 16 69 6 เลก็ 110 19 ประจนั ตราษฎรบ์ ารุง 739 495 1,234 34 กลาง 17 81 สุวรรณวิทยา 70 28 98 6 เล็ก 25 536 วัดพรหมประสทิ ธ์ิ 93 74 167 7 เล็ก ศรมี หาโพธิ 639 492 1,131 33 กลาง กรอกสมบรู ณ์วิทยาคม 124 84 183 7 เล็ก ศรมื โหสถ 399 235 634 21 กลาง รวมจงั หวดั ปราจนี บุรี 7,456 6,077 13,921 414 เมืองนครนายก 144 74 218 11 เล็ก นครนายกวทิ ยาคม 1,493 1,177 2,670 72 ใหญพ่ เิ ศษ นวมราชานุสรณ์ 481 282 763 27 กลาง จังห ัวดนครนายก ปิยชาตพิ ฒั นา ในพระราชปู ถัมภฯ์ 356 264 620 18 กลาง อุบลรัตนราชกญั ญาราชวิทยาลยั 138 97 235 12 เลก็ ปากพลีวทิ ยาคาร 298 206 504 16 กลาง บา้ นนา “นายกพยิ ากร” 1,394 794 2,188 50 ใหญ่ เขาเพ่ิมนารผี ลวิทยา 176 123 299 12 เล็ก เลขธรรมกติ ติ์วิทยาคม 130 75 205 9 เล็ก องครกั ษ์ 886 614 1,500 41 ใหญ่ ภทั รพทิ ยาจารย์ 199 155 354 12 เลก็ รวมจังหวัดนครนายก 5,695 3,861 9,556 456 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[9] แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จงั หวัด โรงเรยี น จานวนนกั เรยี น หอ้ ง ขนาด ครู เรียน โรงเรียน จังห ัวดสระแ ้กว คลองหาดพทิ ยาคม ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. รวม 61 วงั น้าเย็นวทิ ยาคม 641 420 1,061 36 กลาง 113 สระแกว้ 1,229 890 2,119 57 ใหญ่ 155 วงั หลังวทิ ยาคม 1,678 1,223 2,901 83 ใหญพ่ เิ ศษ 29 ท่าเกษมพิทยา 216 261 477 16 เล็ก 39 วังสมบรู ณว์ ิทยาคม 356 287 643 24 กลาง 44 วงั ไพรวิทยาคม 398 379 777 23 กลาง 20 อรัญประเทศ 167 117 284 11 เลก็ 111 ทพั ราชวิทยา 658 1394 2,052 61 ใหญ่ 49 คลองนา้ ใสวทิ ยาคาร 420 365 27 กลาง 32 ร่มเกลา้ วฒั นานคร 283 169 62 847 14 เลก็ 26 สระแก้ว รชั มงั คลาภเิ ษก 156 211 452 11 เลก็ ซับมว่ งวิทยา 367 25 ตาพระยา 72 ทัพพระยาพทิ ยา 163 111 274 11 เล็ก 59 รวมจังหวัดสระแกว้ กลาง 835 รวม สพม.7 592 490 81 1,163 49 กลาง 2184 606 487 1,093 31 7,563 6,804 143 14,510 456 20,723 17,121 143 38,987 1,150 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2560  ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ระดบั /วชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ย์ ไทย สงั คม องั กฤษ คณติ 31.72 32.28 ประเทศ 47.89 - 29.07 25.34 30.26 30.27 ระดบั เขต 47.29 - 30.45 26.30 30.37 จ.ปราจีนบรุ ี 45.02 - 27.68 21.94 วทิ ย์ 28.2 จ.นครนายก 44.48 - 27.85 23.11 29.37 25.20 จ.สระแกว้ 45.72 - 27.09 23.28 26.07 26.65  ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระดบั /วิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ไทย สังคม องั กฤษ คณติ ประเทศ 47.74 33.54 25.15 21.66 ระดบั เขต 49.25 34.70 28.31 24.53 จ.ปราจนี บรุ ี 42.81 30.94 21.85 17.77 จ.นครนายก 44.64 31.37 23.53 18.90 จ.สระแก้ว 43.61 31.46 22.21 18.56 สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 7

[10] แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส่วนท่ี 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7 ไดศ้ กึ ษารายละเอียดแผน นโยบายท่เี ก่ียวขอ้ ง ประกอบดว้ ย กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579 จุดเน้นนโยบายของรฐั มนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของสานกั งานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน รายละเอียด ดังน้ี ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี มุ่งเนน้ การขบั เคล่อื นพฒั นาประเทศไปสคู่ วามมนั่ คง ม่ังค่ัง และ ยั่งยืน ดว้ ย การพฒั นา ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” นาไปสกู่ ารพัฒนาให้คนไทยมีความสขุ และตอบ สนองตอบตอ่ การ บรรลซุ ึ่งผลประโยชนแ์ ห่งชาติ การพฒั นาคุณภาพชวี ิต สรา้ งความสุขของคนไทย สังคมมี ความมั่นคง เสมอภาค เปน็ ธรรม และประเทศสามารถแข่งขนั ไดใ้ นระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ สาคัญสรปุ ได้ดังน้ี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยทุ ธศาสตรด์ ้านความม่ันคง 1.1 เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลกั และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อนั มี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ 1.2 ปฏิรปู กลไกการบรหิ ารประเทศและพัฒนาความมน่ั คงทางการเมือง ขจดั คอร์รปั ช่นั สร้างความ เชอ่ื มน่ั ในกระบวนการยตุ ธิ รรม 1.3 การรกั ษาความมัน่ คงภายในและความสงบเรยี บรอ้ ยภายใน ตลอดจนการบรหิ าร จัดการความ มั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล 1.4 การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมอื ระหวา่ ง ประเทศทุกระดบั และรกั ษาดลุ ยภาพ ความสัมพันธ์กับประเทศ มหาอานาจ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความม่นั คงรปู แบบใหม่ 1.5 การพัฒนาเสริมสรา้ งศักยภาพการผนึกกาลงั ป้องกันประเทศ การรกั ษาความสงบ เรียบรอ้ ย ภายในประเทศ สร้างความรว่ มมือกบั ประเทศเพอ่ื นบ้านและมิตรประเทศ 1.6 การพฒั นาระบบการเตรียมพร้อมแหง่ ชาติและระบบบรหิ าร จัดการภัยพิบัติ รกั ษาความมนั่ คงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม 1.7 การปรบั กระบวนการทางานของกลไกทเี่ กี่ยวข้องจากแนวด่ิงสู่แนวระนาบมากข้นึ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 2.1 การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ ส่งเสริมการค้า การลงทุน พัฒนาสู่ชาติการคา้ 2.2 การพฒั นาภาคการผลติ และบริการ เสริมสรา้ งฐานการผลิตเขม้ แข็งย่ังยนื และ ส่งเสริมเกษตรกร รายย่อยสู่เกษตรยัง่ ยนื เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม 2.3 การพัฒนาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผ้ปู ระกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพ แรงงานและพฒั นา SMEs สูส่ ากล 2.4 การพฒั นาพน้ื ทเ่ี ศรษฐกิจพิเศษและเมือง พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พิเศษชายแดน และพฒั นาระบบ เมอื งศนู ย์กลางความเจริญ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 7

[11] แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 2.5 การลงทุนพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน ดา้ นการขนสง่ ความมั่นคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และการวจิ ยั และพัฒนา 2.6 การเชือ่ มโยงกับภูมภิ าคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเปน็ หุ้นส่วนการพัฒนากบั นานาประเทศ สง่ เสริมให้ไทยเปน็ ฐานของการประกอบธุรกิจ ฯลฯ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน 3.1 พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ 3.2 การยกระดับการศึกษาและการเรียนร้ใู หม้ ีคุณภาพเทา่ เทียมและทั่วถงึ 3.3 ปลูกฝงั ระเบยี บวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ 3.4 การสร้างเสรมิ ให้คนมสี ขุ ภาวะท่ดี ี 3.5 การสรา้ งความอยู่ดีมสี ุขของครอบครัวไทย ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสงั คม 4.1 สรา้ งความมั่นคงและการลดความเหล่ือมลา้ ทางเศรษฐกิจและสังคม 4.2 พฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ 4.3 มสี ภาพแวดล้อมและนวัตกรรมท่ีเออ้ื ตอ่ การดารงชวี ิตในสังคมสงู วัย 4.4 สร้างความเข้มแข็งของสถาบนั ทางสงั คม ทนุ ทางวัฒนธรรมและความเขม้ แข็ง ของชมุ ชน 4.5 พัฒนาการสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนบั สนุนการพัฒนา ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 5.1 จัดระบบอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟูและปอ้ งกนั การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบรหิ ารจัดการน้าให้มีประสิทธภิ าพทั้ง 25 ลุ่มน้า เนน้ การปรับระบบ การบริหารจดั การอทุ กภยั อย่างบูรณาการ 5.3 การพฒั นาและใช้พลงั งานท่เี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม 5.4 การพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศและเมืองทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม 5.5 การรว่ มลดปัญหาโลกร้อนและปรบั ตัวใหพ้ ร้อมกับการเปลยี่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ 5.6 การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพ่ือสิง่ แวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นา ระบบการบรหิ ารจดการภาครัฐ 6.1 การปรับปรุงโครงสรา้ ง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ ใหม้ ขี นาดที่ เหมาะสม 6.2 การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ 6.3 การพฒั นาระบบบริหารจดั การกาลงั คนและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ 6.4 การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ 6.5 การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบยี บต่าง ๆ 6.6 ให้ทนั สมยั เป็นธรรมและเป็นสากล 6.7 พฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชนของหน่วยงานภาครฐั 6.8 ปรบั ปรงุ การบริหารจัดการรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครัฐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7

[12] แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ไดจ้ ัดทาขน้ึ ใน ช่วงเวลา ของการปฏริ ปู ประเทศและสถานการณโ์ ลกทเี่ ปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและเชื่อมโยงใกล้ชดิ กนั มากข้ึน โดยไดน้ อ้ มนา หลกั “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเป็นปรชั ญานาทางในการพฒั นาประเทศ ต่อเนื่องจาก แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9-11 เพือ่ เสรมิ สร้างภูมิคมุ้ กันและช่วยใหส้ งั คมไทยสามารถยนื หยัดอยไู่ ด้อย่างม่ันคง เกิด ภูมิคมุ้ กัน และมี การบรหิ ารจัดการความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ส่งผลใหก้ ารพฒั นาประเทศสูค่ วามสมดุลและ ย่ังยนื โดยมี 6 ยทุ ธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปีและอีก 4 ยทุ ธศาสตรท์ เี่ ปน็ ปัจจัยสนับสนุน ดังน้ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษยใ์ หค้ วามสาคัญกบั การวางรากฐาน การพฒั นา คนให้มคี วามสมบูรณเ์ พื่อให้คนไทยมีทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานที่ดีของสงั คม ได้รับ การศึกษาที่มี คุณภาพสงู ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง มสี ุขภาวะท่ดี ขี ้ึน คนทกุ ช่วงวยั มี ทักษะ ความรู้และความสามารถเพมิ่ ขน้ึ รวมท้งั สถาบันทางสงั คมมคี วามเข้มแข็งและมีสว่ นรว่ ม ในการพฒั นา ประเทศเพ่ิมข้ึน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหลอ่ื มล้าในสงั คม มุง่ ลด ปัญหา ความเหลื่อมล้าดา้ นรายไดข้ องกลุม่ คนท่ีมฐี านะทางเศรษฐกิจสังคมที่แตกต่างกัน แกไ้ ขปัญหาความ ยากจน เพิม่ โอกาสการเข้าถงึ บริการพ้ืนฐานทางสงั คมของภาครฐั รวมทง้ั เพม่ิ ศกั ยภาพชุมชนและเศรษฐกจิ ฐาน รากให้มี ความเข้มแขง็ เพ่ือใหช้ มุ ชนพึง่ พาตนเองและได้รบั สว่ นแบง่ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจมากข้นึ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตร์การสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขันไดเ้ น้นให้ เศรษฐกจิ เติบโตได้ ตามศักยภาพและมเี สถยี รภาพ ภาคส่งออกมีการพฒั นาจนสามารถขยายตัวและเปน็ กลไก สาคัญในการขบั เคล่ือน เศรษฐกิจไทย ผลติ ภาพการผลติ ของประเทศเพิ่มข้ึน การลงทนุ ภาครัฐและเอกชนมีการ ขยายตวั อยา่ งต่อเน่ืองและ มาจากความรว่ มมือกนั มากขึน้ ประชาชนและผปู้ ระกอบการเข้าสรู่ ะบบภาษีมากขน้ึ และประเทศไทยมี ขดี ความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจสงู ขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตรก์ ารเติบโตทเี่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาทยี่ ั่งยืน มุ่งเนน้ การรกั ษา และฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติการสรา้ งความมั่นคงดา้ นนา้ และการบริหารจดั การทรัพยากรนา้ ให้ มี ประสทิ ธิภาพ การสรา้ งคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมท่ดี ีลดมลพิษ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและ ระบบ นเิ วศ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการ ลดกา๊ ซเรือนกระจกและขดี ความสามารถในการปรบั ตวั ต่อการ เปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ และการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการเพื่อลดความเสย่ี งจากภัยพิบัตแิ ละ ลดความสญู เสยี ใน ชวี ิตและทรัพย์สินที่เกดิ จากสาธารณภัย ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความม่ันคงแหง่ ชาตเิ พ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความ มง่ั คั่งและยั่งยนื เนน้ ในเร่อื งการปกป้องและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษตั ริย์ใหเ้ ปน็ สถาบนั หลักของประเทศสงั คมมี ความสมานฉันท์ ประชาชนมีสว่ นรว่ มปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หาความมั่นคง ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตม้ ี ความปลอดภยั ใน ชวี ติ และทรัพย์สนิ มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพท่สี ร้างรายได้เพิม่ ข้นึ ประเทศ ไทยมีความสัมพันธ์ และความร่วมมอื ดา้ นความมนั่ คงกบั นานาประเทศในการป้องกนั ภัยคุกคามในรปู แบบตา่ งๆ ควบคูไ่ ปกับการรักษา ผลประโยชนข์ องชาตมิ คี วามพรอ้ มต่อการรบั มือภัยคุกคาม ทง้ั ภัยคกุ คามทางทหารและภยั คกุ คามอืน่ ๆ และแผนงาน ด้านความมนั่ คงมกี ารบูรณาการสอดคลอ้ งกับนโยบาย การพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[13] แผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ยุทธศาสตรก์ ารบริหารจัดการในภาครฐั การป้องกนั การทุจริตประพฤติ มิชอบ และ ธรรมาภิบาลในสังคมไทย เร่งปฏิรปู การบริหารจดั การภาครฐั ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธอ์ิ ย่างจริงจงั โดย ม่งุ เน้นในเรอื่ งการ ลดสัดสว่ นคา่ ใช้จ่ายดา้ นบคุ ลากร และเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการใหบ้ ริการ ของภาครัฐ รวมทง้ั ประสิทธิภาพการประกอบธุรกจิ ของประเทศ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น การปรบั คะแนนดัชนีการรับรู้การทจุ ริตให้อยใู่ นระดับทดี่ ีขึ้น และ การลดจานวน การดาเนนิ คดีกับผู้มิได้ กระทาความผิด ยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบโลจสิ ติกส์ มุง่ เน้นในเร่ือง การลด ความเข้มของการใช้พลงั งานและลดต้นทนุ โลจิสติกส์ของประเทศ การพฒั นาระบบขนส่งทางรางและทาง น้า เพ่ิมปรมิ าณการเดินทางด้วยระบบขนสง่ สาธารณะในเขตเมือง และขยายขีดสามารถในการรองรับปริมาณ ผู้โดยสารของทา่ อากาศยานในกรุงเทพมหานครและท่าอากาศยานในภมู ิภาคการเพิ่มความสามารถในการ แข่งขนั ด้านโลจสิ ตกิ สแ์ ละการอานวยความสะดวกทางการค้าการพัฒนาด้านพลังงานเพื่อเพิ่มสัดสว่ นการใช้ พลงั งานทดแทนต่อปริมาณการใชพ้ ลงั งานขน้ั สุดทา้ ย และลดการพึง่ พาก๊าซธรรมชาตใิ นการผลติ ไฟฟา้ การ พฒั นา เศรษฐกิจดิจทิ ัล และการพฒั นาดา้ นสาธารณูปการ (น้าประปา) ยุทธศาสตร์ที่ 8 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยวี ิจยั และนวตั กรรม เพมิ่ ความ เข้มแข็ง ด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และการเพิ่มความสามารถในการประยกุ ต์ใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพื่อยกระดับ ความสามารถการแข่งขันของภาคการผลิตและบรกิ าร และคุณภาพชวี ติ ของ ประชาชน ยุทธศาสตรท์ ่ี 9 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ที่เศรษฐกจิ มงุ่ เน้นในเร่อื งการลด ชอ่ งวา่ งรายได้ ระหวา่ งภาคและมีการกระจายรายไดท้ ่ีเป็นธรรมมากข้นึ การเพ่ิมจานวนเมอื งศูนย์กลางของ จงั หวดั เป็นเมอื งน่าอยู่ สาหรับคนทกุ กลุ่มในสงั คม พนื้ ท่ฐี านเศรษฐกิจหลกั มีระบบการผลิตที่มปี ระสิทธิภาพสงู และเป็นมิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม และการเพิ่มมลู ค่าการลงทุนในพ้ืนทเี่ ศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน ยทุ ธศาสตร์ที่ 10 ยทุ ธศาสตร์ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา มงุ่ เน้นในเร่ือง การมี เครอื ขา่ ยการเชอื่ มโยงตามแนวระเบยี ง เศรษฐกิจที่ครอบคลุมและมกี ารใช้ประโยชนไ์ ด้เต็มศักยภาพ การเพ่ิม ระบบห่วงโซ่มูลคา่ ในอนภุ มู ิภาคและภูมภิ าคอาเซียน ประเทศไทยเปน็ ฐานเศรษฐกิจการคา้ และ การลงทนุ ที่ สาคัญในภูมิภาค อนุภูมิภาคอาเซียน และเอเชีย รวมทัง้ มีการพัฒนาสว่ นขยายจากแนวระเบียง เศรษฐกิจ ในอนภุ มู ิภาคให้ครอบคลุมภูมภิ าคอาเซียน เอเชียตะวนั ออกและเอเชยี ใต้ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 เป็นแผนการศึกษาระยะยาว 20 ปใี หห้ น่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องใช้ เปน็ แผนแม่บท/กรอบแนวทางในการพฒั นาการศกึ ษา โดยกาหนด วสิ ยั ทัศน์ วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย และ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ดงั น้ี วสิ ยั ทศั น์ : คนไทยทุกคนได้รับการศกึ ษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวติ อยา่ งเปน็ สุข สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพฒั นาคนไทยให้เปน็ พลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทกั ษะและสมรรถนะทีส่ อดคล้องกบั บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[14] แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3. เพ่ือพฒั นาสังคมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม รู้จกั สามัคคี และร่วมมือผนึกกาลงั มงุ่ สกู่ ารพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกบั ดักประเทศท่ีมีรายไดป้ านกลาง และความเหลื่อมลา้ ภายในประเทศลดลง เปา้ หมาย 1. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) 2. ผเู้ รียนทกุ คน ทุกกลุ่มเปา้ หมายไดร้ ับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอยา่ ง เทา่ เทียม (Equity) 3. ระบบการศึกษาที่มคี ุณภาพ สามารถพฒั นาผเู้ รียนใหบ้ รรลุขีดความสามารถเตม็ ตาม ศกั ยภาพ (Quality) 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสทิ ธิภาพ เพื่อการลงทนุ ทางการศึกษาท่ีค้มุ ค่า และบรรลเุ ปา้ หมาย (Efficiency) 5. ระบบการศกึ ษาทส่ี นองตอบและกา้ วทันการเปลย่ี นแปลงของโลกทเ่ี ปน็ พลวัตและบริบท ทเ่ี ปลย่ี นแปลง (Relevancy) ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : การจดั การศกึ ษาเพื่อความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติมีเป้าหมาย ดงั น้ี 1.1 คนทุกชว่ งวยั มคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาตแิ ละยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ 1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพนื้ ที่พิเศษ ได้รับการศึกษา และเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ 1.3 คนทกุ ช่วงวยั ได้รบั การศึกษาการดูแลและปอ้ งกันจากภยั คกุ คามในชีวติ รปู แบบ ใหม่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การผลิตและพัฒนากาลังคนการวิจัย และนวตั กรรรม เพื่อสรา้ ง ขีด ความสามารถใน การแข่งขนั ของประเทศ มีเปา้ หมาย ดังน้ี 2.1 กาลังคนมีทักษะทส่ี าคญั จาเปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด งานและการ พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานทจ่ี ัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความ เชย่ี วชาญ และเปน็ เลศิ เฉพาะด้าน 2.3 การวจิ ัยและพัฒนาเพ่ือสรา้ งองค์ความรแู้ ละนวัตกรรมท่ีสรา้ งผลผลิตและ มลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรมู้ ี เป้าหมาย ดงั นี้ 3.1 ผู้เรียนมีทกั ษะและคุณลกั ษณะพ้นื ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ คุณลกั ษณะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 3.2 คนทุกช่วงวยั มีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา และมาตรฐาน วิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

[15] แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 3.3 สถานศกึ ษาทุกระดบั การศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ตาม หลกั สูตรอยา่ งมี คุณภาพและมาตรฐาน 3.4 แหล่งเรยี นรู้ส่ือตาราเรียน นวัตกรรม และสอ่ื การเรียนรู้มคี ุณภาพและมาตรฐาน และประชาชน สามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี 3.5 ระบบและกลไกการวัดการตดิ ตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ 3.6 ระบบการผลิตครอู าจารย์และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดบั สากล 3.7 ครอู าจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา มี เป้าหมายดงั นี้ 4.1 ผู้เรยี นทกุ คนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาที่มีคุณภาพ 4.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การศึกษาสาหรับคนทุก ช่วงวยั 4.3 ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาที่ครอบคลุม ถกู ต้องเป็น ปจั จบุ ันเพ่อื การวาง แผนการบรหิ ารจดั การศกึ ษา การติดตามประเมนิ ผลและรายงานผล ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การจดั การศกึ ษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม มเี ป้าหมาย ดงั น้ี 5.1 คนทุกชว่ งวัย มีจติ สานึกรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ 5.2 หลกั สตู ร แหล่งเรยี นรู้และสอื่ การเรยี นรูท้ ส่ี ง่ เสริมคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอ้ ม คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏบิ ัติ 5.3 การวจิ ัยเพื่อพัฒนาองค์ความรูแ้ ละนวตั กรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวติ ที่ เปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 : การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา มีเปา้ หมายดงั นี้ 6.1 โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบรหิ ารจดั การการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลส่งผลตอ่ คณุ ภาพ และมาตรฐาน การศึกษา 6.3 ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาทีต่ อบสนองความต้องการ ของประชาชนและพืน้ ท่ี 6.4 กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรบั ลักษณะ ที่แตกตา่ งกนั ของ ผเู้ รยี น สถานศึกษาและความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบรหิ ารงานบุคคลของครูอาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษามีความเปน็ ธรรมสร้างขวญั กาลงั ใจและส่งเสริมใหป้ ฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างเต็มตามศักยภาพ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[16] แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จดุ เน้นเชิงนโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (นายธรี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์) จดุ เน้นเชิงนโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกยี รตเิ จริญเศรษฐศิลป์) ท่สี าคัญ 6 ดา้ น รายละเอียด ดังน้ี จดุ เน้นท่ี 1 ด้านความมนั่ คง ประกอบด้วยประเด็น 1. การสร้างความปรองดองและสมานฉันท ์ 2. การพฒั นาคุณภาพการศึกษาและส่งเสรมิ โอกาสทางการศกึ ษา 3. การเสรมิ สรา้ งความ่นั คงของสถาบันหลักของชาติ 4. การส่งเสรมิ การสร้างภมู ิคุ้มกนั และพัฒนาทักษะชวี ิตเพ่ือความม่นั คง 5. การขบั เคลอื่ นการแก้ไขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพนื้ ท่ีชายขอบ/ชายแดน จดุ เนน้ ที่ 2 ดา้ นการผลติ พัฒนากาลังคนและสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ประกอบดว้ ย ประเด็น 1. การจดั การศกึ ษาเพ่ือความเช่ยี วชาญ/เป็นเลิศเฉพาะด้าน 2. การสง่ เสริม สนบั สนุนการผลติ และพฒั นากาลังคนด้านอาชีวะ 3. การส่งเสริม สนับสนุนการพฒั นาเพื่อเสริมสรา้ งการผลติ และพฒั นา 4. การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวตั กรรม 5. การประสานพลังประชารฐั ดา้ นการศึกษา จุดเน้นที่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ประกอบด้วยประเด็น 1. การเรยี นการสอนรูปแบบ Active Learning 2. การจดั การศกึ ษาปฐมวัย 3. การวัดและประเมินผล 4. การผลิต และพฒั นาครคู ณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา 5. การปรับปรงุ หลกั เกณฑ์กฎ ระเบียบครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 6. การเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ พลเมือง 7. การส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษา และการให้ความรู้สาหรบั คนทกุ ชว่ งวัย จุดเนน้ ที่ 4 ด้านการสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และการลดความเหลอ่ื มลาทางการศึกษา ประกอบด้วยประเดน็ 1. การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเพ่ือโอกาสและการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษา 2. การจดั การศกึ ษาสาหรบั กลุ่มทมี่ คี วามต้องการพิเศษ 3. โครงการด้านการศึกษาทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั พระมหากษัตรยิ ์และพระบรมวงศานุวงศ์ 4. การพฒั นาการศึกษาในพ้นื ทีพ่ เิ ศษและเพ่ือคุณภาพชีวติ 5. การขบั เคลือ่ นแผนแมบ่ ทเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา เพ่ือสร้างและเพิ่ม ประสิทธภิ าพด้าน การศึกษา 6. สนบั สนนุ ทนุ และอปุ กรณ์ทางการศกึ ษา จดุ เน้นท่ี 5 ดา้ นการเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวิตประชาชนทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย ประเดน็ 1. การสรา้ งความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักในการเปลีย่ นแปลงของภมู ิอากาศและ สภาพแวดลอ้ ม และ การสร้างจติ สานึกรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7

[17] แผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 จุดเนน้ ที่ 6 ดา้ นการพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ ประกอบด้วยประเด็น 1. ปรับโครงสรา้ งการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค 2. การปรบั ปรงุ แก้ไขระเบยี บ กฎหมาย ท่ีเกย่ี วข้องกับการบริหารการศกึ ษาและ ส่งเสริม สนบั สนุนให้ สถานศึกษา สถาบันการศึกษามคี วามคลอ่ งตวั 3. การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 4. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาด้านการปราบปรามการทุจรติ นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ได้บญั ญัติไวใ้ นมาตรา 54 วา่ “รฐั ตอ้ งดาเนินการ ให้เด็กทุกคนได้รับการศกึ ษาเปน็ เวลาสิบสองปี ตงั้ แตก่ อ่ นวัยเรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั อยา่ งมีคณุ ภาพ โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ ่าย” และคาสั่งหวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 28/2559 เร่ือง ใหจ้ ัดการศกึ ษา ขัน้ พืน้ ฐาน 15 ปี โดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ย ไดม้ ีคาสัง่ ไว้ในขอ้ 3 ว่า “ใหส้ ว่ นราชการทเี่ กีย่ วข้องกับการจัดการศึกษา ข้นั พ้นื ฐานดาเนินการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย” สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานได้ตระหนักถึงภารกิจทส่ี าคัญในการพฒั นาประชากรของชาตใิ ห้ เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทัง้ กาย ใจ สตปิ ญั ญา มีพฒั นาการที่ดีรอบดา้ นและมีสุขภาวะทด่ี ี ในทกุ ชว่ งวยั มจี ิตสาธารณะ รบั ผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่นื มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รักษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีหลกั คิดที่ถูกต้อง มีทกั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มที ักษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 และอนรุ ักษ์ภาษาทอ้ งถนิ่ มีนสิ ยั รักการเรียนร้แู ละการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต สู่ การเป็นคนไทย ท่มี ีทักษะสูง เปน็ นวตั กร นกั คิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอ่ืน ๆ โดยมสี ัมมาชพี ตาม ความถนัดของตนเอง” นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 โดยได้ ทาการศึกษา วิเคราะห์ นโยบายการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของรฐั บาลจากยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580) ซ่ึงจะต้องนาไปสู่การปฏบิ ัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสยั ทศั น์ “ประเทศไทย มคี วามม่ันคง มั่งคง่ั ย่งั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2565) ไดก้ าหนดทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ สงั คมแหง่ ชาติ ในระยะ 5 ปี ด้านการศึกษาไว้ ดงั น้ี 1) ให้มกี ารยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี คณุ ภาพ เทา่ เทียมและท่ัวถึง 2) การพัฒนาศกั ยภาพคนในทุกช่วงวัยใหส้ นบั สนนุ การเจริญเติบโตของประเทศ และ 3) การพฒั นาผลิตภาพแรงงาน เปน็ การสร้างความร่วมมอื ระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนในการพัฒนา กาลังคนและแรงงาน แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 ซ่งึ แนวคิดการจัดการศึกษา โดยยดึ หลกั สาคัญในการจัดการศึกษา ประกอบดว้ ย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลกั การ จดั การศึกษาเพอ่ื ความเท่าเทียมและท่วั ถึง (Inclusive Education) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลกั การมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ นของ สงั คม (All for Education) อกี ท้งั ยึด ตามเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs, 2030) ประเด็น ภายในประเทศ (Local Issues) เช่น คุณภาพของคนทกุ ช่วงวยั การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของ ประเทศ ความเหลื่อมล้าของการกระจายรายได้ และวกิ ฤติด้านสงิ่ แวดลอ้ ม โดยนายุทธศาสตรช์ าติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสาคญั ในการจดั ทาแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ และการปฏริ ปู การศึกษาตาม แนวทางของคณะกรรมการอิสระเพ่ือปฏริ ปู การศึกษา สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 7

[18] แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จงึ ไดก้ าหนดนโยบายสานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทจี่ ะเขา้ สยู่ คุ ของการเปลี่ยน แปลง การจดั การศึกษาของประเทศคร้ังสาคัญทีจ่ ะพัฒนาประชากรในวยั เรียนทุกคนและทุกกลมุ่ เป้าหมาย ซึ่งหมายรวมถงึ กลมุ่ ผเู้ รยี นท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ กล่มุ ชาติพนั ธุ์ กลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส และกลมุ่ ที่อยูใ่ น พน้ื ทหี่ ่างไกลทุรกันดาร ให้มีความพร้อมทง้ั กาย ใจ สตปิ ญั ญา มสี ุขภาวะทดี่ ใี นทุกช่วงวัย มจี ิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ัย รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มหี ลักคิดทถี่ ูกตอ้ ง มีทกั ษะท่จี าเป็นในศตวรรษที่ 21 มที ักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษและ ภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาทอ้ งถนิ่ มนี สิ ัยรกั การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ สู่การเปน็ คนไทยและพลโลกทีม่ ที กั ษะการคิดขั้นสงู เปน็ นวตั กรรม นักคดิ ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง โดยได้กาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ และแนวทางในการดาเนินการ ดงั น้ี วิสัยทศั น์ “ สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สู่สงั คมมนษุ ยท์ ่ยี ัง่ ยืน ” พนั ธกิจ 1. จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พฒั นาศักยภาพผู้เรยี นเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั โดยพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มี ความรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะชวี ติ ทักษะวิชาชพี คณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21 3. สง่ เสริมการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชีพ 4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลอ่ื มลา้ ให้ผเู้ รยี นทกุ คนไดร้ ับบรกิ ารทางการศึกษา อยา่ งทัว่ ถึงและเท่าเทยี ม 5. สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ยดึ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายโลกเพ่ือการพฒั นาที่ย่ังยืน (SDGs) 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และสง่ เสรมิ ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา เป้าหมาย 1. ผเู้ รียน เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คิดริเร่ิมและสร้างสรรคน์ วตั กรรม มีความรู้ มที ักษะและ คุณลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 มีสขุ ภาวะทีเ่ หมาะสมตามวยั มีความสามารถในการพง่ึ พาตนเอง และปรบั ตวั ต่อ เปน็ พลเมืองและพลโลกทด่ี ี 2. ผู้เรยี นที่มคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกลุ่มที่อย่ใู นพืน้ ท่ี ห่างไกลทรุ กนั ดารไดร้ บั การศึกษาอย่างท่วั ถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ พรอ้ มก้าวสูส่ ากล ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ครู เป็นผูเ้ รียนรู้ มจี ิตวิญญาณความเป็นครู มีความแมน่ ยาทางวชิ าการ และมีทกั ษะการจดั การเรยี นร้ทู หี่ ลากหลายตอบสนองผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรคน์ วัตกรรม และทกั ษะในการใช้ เทคโนโลยี สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 7

[19] แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 4. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบคุ คล คดิ เชงิ กลยุทธ์และนวตั กรรม มีภาวะผ้นู า ทางวชิ าการ มีสานกึ ความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบร่วมมอื 5. สถานศกึ ษา มคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารงานและจดั การเรยี นรู้ ร่วมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และผูเ้ กยี่ วข้องในการจดั การศกึ ษาระดบั พื้นท่ี จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพ่ือการเรยี นรู้ในทกุ มิติ เป็น โรงเรียนนวตั กรรม 6. สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา มีการบรหิ ารงานเชงิ บูรณาการ เปน็ สานักงานแหง่ นวัตกรรม ยคุ ใหม่ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศและการวิจัยและพฒั นาในการขับเคล่อื นคุณภาพ กากับ ตดิ ตาม ประเมินและ รายงานผลอยา่ งเป็นระบบ 7. สานักงานส่วนกลาง ปรบั เปลี่ยนวัฒนธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการบรหิ ารงานและ การจัดการศกึ ษาใหส้ ถานศกึ ษา บรหิ ารเชิงบรู ณาการ มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ กากบั ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใชว้ จิ ยั และนวตั กรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพ นโยบาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน นโยบายท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คง นโยบายท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น นโยบายท่ี 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา นโยบายท่ี 4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษา นโยบายท่ี 5 เพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการ เปา้ ประสงค์รายนโยบาย นโยบาย เปา้ ประสงค์ นโยบายที่ ๑ จัดการศึกษาเพ่ือความมน่ั คง 1. ผ้เู รยี นในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และเขตพ้นื ที่พิเศษเฉพาะ ได้รบั การบริการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ทมี่ คี ณุ ภาพเหมาะสมกับสังคมพหุวฒั นธรรม 2. เสริมสรา้ งคุณภาพประชากรวัยเรยี นกล่มุ ชาติพนั ธุ์ กลุ่มที่ ด้อยโอกาส และกลุ่มทอี่ ยู่ในพ้ืนทีห่ า่ งไกลสงู ในถิน่ ทรุ กันดาร อาทิ พน้ื ทส่ี งู ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแกง่ เพื่อสรา้ ง ความมง่ั คงของประเทศในระยะยาว สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[20] แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นโยบาย เป้าประสงค์ นโยบายท่ี 2 พฒั นา1ค.ุณภาพผู้เรยี น 1. ผู้เรยี นทกุ คนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมัน่ การ 2. ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 3. มที ัศนคติท่ถี ูกต้องต่อบา้ นเมือง มีหลกั คิดท่ีถูกต้อง และเป็นพลเมอื ง ดีของชาติ และการพลเมืองโลกที่ดี (Global Citizen) 4. 2. ผู้เรยี นทกุ คนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีค่านยิ มที่พงึ ประสงค์ มจี ติ สาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสังคมและผ้อู ื่น มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อม 5. อารี มีวนิ ัย รกั ษาศีลธรรม 6. 3. ผเู้ รียนทกุ คนได้รับการพัฒนาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพในแตล่ ะช่วงวัย 7. อยา่ งมคี ณุ ภาพมีทักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มคี วามเป็นเลศิ 8. ทางดา้ นวิชาการ มีทักษะสอื่ สารภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 มนี สิ ยั รกั การเรียนร้แู ละการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ และมี ทักษะอาชีพตามความต้องการและความถนดั 4. ผู้เรียนท่มี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ มีพฒั นาการตามศกั ยภาพ ของแตล่ ะบุคคล ทงั้ ในดา้ นทมี่ พี ัฒนาการปกติและด้านท่ีมคี วาม บกพร่องหรอื ความแตกต่างทางการเรียนรู้ หรอื ความสามารถพเิ ศษ ตามทีร่ ะบุไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คลหรือแผนการให้บรกิ าร ช่วยเหลอื เฉพาะครอบครวั ซ่งึ จดั ทาข้นึ บนพนื้ ฐานความต้องการจาเปน็ เฉพาะของผเู้ รยี น 5. ผเู้ รยี นที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ มคี วามพร้อมสามารถเข้า ส่บู รกิ ารชว่ งเช่ือมต่อ (Transitional Services) หรอื การสง่ ต่อ ( Referral) เขา้ ส่กู ารศกึ ษาในระดบั เดยี วกนั และท่สี ูงขนึ้ หรือการ อาชพี หรือการดาเนินชวี ติ ในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล 5. ผเู้ รยี นทุกคนมที กั ษะชีวติ มีสุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวยั มคี วาม เขม้ แข็ง อดทน และสามารถพึ่งตนเองได้ในสังคมอนาคตท่ีซบั ซอ้ น และการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม่ สามารถป้องกัน ตนเองจากปัญหายาเสพตดิ ได้ นโยบายที่ 3 พัฒนาผ้บู ริหาร ครู 1. สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือกับสถาบนั ทางการศึกษาทผ่ี ลิตครู และบุคลากรทางการศึกษา ในการผลิตและพัฒนาครู ให้ตรงกบั สาขาวิชา และสอดคล้องกับ การพฒั นาในศตวรรษท่ี 21 2. พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหม้ ี สมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี มศี ักยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3. นา Digital Technology มาใชใ้ นการพฒั นาผูบ้ ริหาร ครู และ บุคลากรทางการศึกษาทุกประเภททง้ั ระบบ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 7

[21] แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นโยบาย เป้าประสงค์ นโยบายที่ 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาที่มีคุณภาพ 1. รว่ มมือกับองค์กรปกครองระดบั ท้องถนิ่ ภาคเอกชน หนว่ ยงาน มมี าตรฐาน และลดความเหลื่อมล้า ท่ีเกี่ยวขอ้ งในการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทของพน้ื ท่ี ทางการศกึ ษา 2. ยกระดับสถานศึกษาในสงั กัดทกุ ระดบั และทกุ ประเภท ให้มี มาตรฐานตามบริบทของพน้ื ที่ เพอ่ื ให้พัฒนาผู้เรียน มีคุณภาพ นโยบายท่ี 5 เพิ่มประสิทธภิ าพการ มีมาตรฐานเสมอกนั บรหิ ารจัดการ 3. สร้างความเข้มแขง็ ในการบริหารจดั การศึกษาสาหรบั ผูเ้ รียน ท่มี ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ 4. จดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ผูเ้ รยี น และสถานศึกษาอย่าง เหมาะสม เพยี งพอ 5. ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษา หน่วยงานทกุ ระดบั นา Digital Technology มาใชเ้ ป็นเครอื่ งมือในการพฒั นา คุณภาพของผู้เรียน 1. เพ่มิ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา 2. สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือและส่งเสรมิ ให้ทุกภาคส่วนของสังคม เข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการศึกษา 3. ยกระดับการบรหิ ารงานของสถานศึกษาให้มีอสิ ระ นาไปสู่การ กระจายอานาจ 4 ด้าน ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ ศูนย์กลางในการจัด การศกึ ษาตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี 4. ปรับเปลยี่ นระบบงบประมาณเพ่ือสนับสนนุ ผเู้ รยี นและ สถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ 5. สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหส้ ถานศึกษา หนว่ ยงานทุกระดบั นา Digital Technology มาใช้ในการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ าร อย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพื่อเช่อื มโยง ขอ้ มลู ด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ข้อมลู ผู้เรยี น ขอ้ มลู ครู ข้อมลู สถานศึกษา ข้อมลู งบประมาณ และขอ้ มูลอ่นื ๆ ทจี่ าเป็นมาวิเคราะหเ์ พ่ือให้ สถานศกึ ษา สามารถจดั การเรียนร้เู พื่อพัฒนาผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ตามสมรรถนะ และความถนดั และสามารถวิเคราะห์เป็นขอ้ มูลใน การวางแผนการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศต่อไป สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

[22] แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นโยบายสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 7 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7 ได้ศึกษารายละเอียดแผน นโยบายที่เกี่ยวข้อง ประกอบดว้ ย กรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 จุดเน้นนโยบายของ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และผลการดาเนินงานของสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 มากาหนดกลยทุ ธใ์ นการพฒั นาการศึกษาสคู่ วามสาเร็จ ดังนี้ วสิ ยั ทศั น์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7 เปน็ องค์กรบริหารจัดการศกึ ษา ใหผ้ ้เู รียน มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมและพัฒนาผเู้ รียนให้ไดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีความ เปน็ ไทยและมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 2. สง่ เสรมิ สนับสนุนใหป้ ระชากรวยั เรียนได้รบั การศกึ ษาอย่างทั่วถึง และเสมอภาค 3. พัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้ปฏิบัติหนา้ ทเี่ ตม็ ศักยภาพ และ มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานและสมรรถนะตามวชิ าชีพ 4. พฒั นาระบบการบริหารจัดการแบบมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ และการมีสว่ นร่วมรบั ผิดชอบ ต่อคุณภาพการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ ผเู้ รียนเป็นคนดี คนเกง่ และอยู่ในสงั คมอย่างมีความสุข คา่ นยิ มองค์กร = สง่ เสรมิ สนบั สนุนการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสู่มาตรฐานสากล สพม.7 = พฒั นาองคก์ รสูม่ าตรฐานสากล ส. = ม่งุ ม่ันพฒั นาสู่เป้าหมายความสาเรจ็ “ครูคุณธรรม นักเรยี น พ. คุณภาพ บคุ ลากรมืออาชีพ” ม. ซอ่ื สตั ย์ โปรง่ ใส มวี นิ ยั ย้มิ ไหว้ ใหเ้ กียรติ บรกิ ารฉับไว จิตใจงดงาม 7 คณุ ลักษณะ = วัฒนธรรมองคก์ ร ใสใ่ จบริการ ยึดมั่นคุณธรรม น้อมนาศาสตร์พระราชา พัฒนาสูค่ วามเป็นเลศิ อัตลักษณ์องคก์ ร “รว่ มคิด รว่ มทา นาส่เู ปา้ หมาย” สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 7

[23] แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 7

ตารางตัวช้วี ดั นโยบายท่ี 1 จัดการศึกษาเพ่ือความมนั่ คง ประเดน็ กลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนนิ กา 1.พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา 1. การศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ งความม่ันคง 2. การผลิตและพฒั นากาลงั คนใหม้ สี มรรถนะใ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ 3. 3. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัยและการสร จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 4. การเรยี นรู้ 5. 4. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม 6. การศึกษาเพอ่ื เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ ม 7. การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา 2. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหผ้ เู้ รียน 1. สนบั สนนุ งบประมาณในการพฒั นาครูและบ ในเขตพ้นื ท่ีเฉพาะ กลุ่มชาตพิ ันธุ์ พ้นื ท่สี งู ในถิ่นทรุ กันดาร ชายแดน ชายฝัง่ ทะเล กลมุ่ ท่ดี ้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ ในพื้นท่ีห่างไกลทรุ กันดาร เช่น ความจาเปน็ และ เหมาะสมกับบรบิ ท พ้นื ท่สี งู ชายแดน ชายฝัง่ ทะเล 2. สนับสนนุ งบประมาณในการพฒั นาครแู ละบ และเกาะแก่ง ไดร้ บั การบรกิ าร ดแู ลหอพกั นอนตามความจาเปน็ และเหมาะสม ด้านการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ท่ีมี 3. จดั สรรงบประมาณเพมิ่ เตมิ ใหโ้ รงเรียนในกล คณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตาม ทรุ กันดาร ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแก่ง ความตอ้ งการ คณุ ภาพ และเกิดจิตสานึกรกั ในสถาบนั ชาติ ศา

ดความสาเรจ็ าร ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ในการแขง่ ขัน 1. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนสงู ข้นึ ร้างสงั คมแห่ง 2. ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัด ชายแดนภาคใตจ้ ัดการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผู้เรยี นโดยการบูรณาการ มกนั ทางการศึกษา หลกั สตู รให้สอดคล้องกบั สังคม วัฒนธรรม และภาษาของ มติ รกับส่ิงแวดล้อม ท้องถน่ิ 3. ผ้เู รียนในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ไดร้ บั บริการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานท่ีมีคณุ ภาพ บคุ ลากรทางการศึกษาใน 1. จานวนผู้เรียนบ้านไกลได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาจากการ ล และเกาะแก่ง ตาม ได้ เขา้ พักในโรงเรียนทมี่ หี อพักนอน หรือการสนับสนนุ การ บุคลากรทางการศึกษาที่ เดินทางจากบา้ นถึงโรงเรียนอยา่ งปลอดภยั มกบั บรบิ ท 2. จานวนโรงเรยี นไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณเพ่ือใชใ้ น ลุ่มโรงเรยี นพนื้ ที่สูงในถ่ิน การประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชีวิต และการพฒั นา ง ใหจ้ ดั การเรยี นรู้ทม่ี ี สภาพหอพักนอนใหม้ คี ุณภาพทด่ี ี อยา่ งเหมาะสม าสนา พระมหากษัตรยิ ์ 3. จานวนผ้เู รียนไดร้ บั การพฒั นาคุณภาพทัง้ ดา้ นทักษะ วชิ าการ ทกั ษะชีวิต และทักษะอาชีพ ท่เี หมาะสมกบั บรบิ ท 4. จานวนผบู้ ริหาร ครู ในสถานศึกษา/ห้องเรียนสาขา และท่ี ดแู ลหอพักนอน ทมี่ นี กั เรยี นกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ กลุ่มที่ดอ้ ยโอกาส กล่มุ ที่อยู่ในพื้นท่ีหา่ งไกลทุรกันดาร ไดร้ ับการพฒั นา

ประเดน็ กลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนินการ 4. สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นประเด็น“การพฒั นาก เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของพน้ื ทส่ี ูงใน ถิ่นทรุ กนั ดาร ชา และ เกาะแก่ง ควรทาอยา่ งไร” ผ่านชอ่ งทาง จดั เวทีเสวนา นิทรรศการ การตดิ ตอ่ สื่อสารผา่ นช่องทางออนไลน์ ตา่ ง Website Facebook และ Line เป็นต้น 4. พฒั นารปู แบบและวธิ กี ารจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรีย และประเมินผลท่ีเหมาะสมสาหรบั การพฒั นาศักยภาพ กล่มุ ชาติพนั ธ์ุ กลมุ่ ทด่ี อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ที่อยูใ่ นพน้ื ท 5. พฒั นาครใู หม้ ที ักษะการสอนภาษาไทยสาหรับเด็ก เปน็ ภาษาท่ี 2 7. ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ในก วิชาการ ทกั ษะชีวิต ทกั ษะอาชพี และภาษาที่ 3 ท่ีสอ เหมาะสมกบั สังคมพหวุ ฒั นธรรม

การจดั การศึกษา ท่ี ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ ายแดน ชายฝัง่ ทะเล า การแสดง 5. และสวสั ดิการท่เี หมาะสมกบั บรบิ ท ง ๆ เชน่ การสร้าง 6. จานวนผู้เรยี นกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ทดี่ อ้ ยโอกาส และกล่มุ ทอ่ี ยู่ ในพน้ื ท่ีหา่ งไกลทรุ กนั ดาร ได้รบั การส่งเสรมิ การเรียนรู้ที่มคี ณุ ภาพ ยนรู้ และการวัด และเกิดจติ สานึกรกั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พสงู สุด ผูเ้ รยี น 7. การบรหิ ารจัดการศกึ ษาในโรงเรยี นท่มี ผี ้เู รียนกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ทหี่ ่างไกลทรุ กนั ดาร กลมุ่ ที่ด้อยโอกาส และกลุม่ ท่ีอยใู่ นพ้ืนทห่ี า่ งไกลทุรกันดาร กทีใ่ ชภ้ าษาไทย ได้รับการปรบั ปรงุ และมรี ปู แบบที่มปี ระสทิ ธภิ าพ 8. ผเู้ รยี นกลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุ กล่มุ ทด่ี อ้ ยโอกาส และกล่มุ ทอ่ี ยู่ในพ้ืนท่ี หา่ งไกลทุรกันดาร มีผลสัมฤทธ์สิ ูงขึน้ การพฒั นาทักษะ อดคล้องและ

นโยบายที่ 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ประเดน็ กลยุทธ์ แนวทางการดาเนนิ การ 1. ปรับปรุง และพัฒนาหลกั สูตร 1. พัฒนาหลกั สตู รระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐ ทกุ ระดับการศึกษา ให้เอื้อต่อการ กบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเน พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนเป็นรายบุคคล สมรรถนะผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล เพ่ือส่งเสริมให มีทักษะท่จี าเป็นในศตวรรษที่ 21 ทถ่ี ูกต้อง รักในสถาบนั หลักของชาติ และยึดม นาไปสูก่ ารจดั การศึกษาเพ่ือการมี ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ท งานทา (Career Education) และเป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลก เลิศทางด้านวชิ าการ มีทักษะชีวติ และทกั ษะ ต้องการได้ และมที ักษะชวี ติ ในการป้องกันต คุกคามรูปแบบใหม่ 2. ปรบั ปรงุ หลกั สตู รปฐมวยั เพื่อให้เดก็ ได้รบั ทัง้ 4 ดา้ น สอดคล้องกับทกั ษะการเรียนร้ใู น 3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาพฒั นาหล และปรบั เปลยี่ นการจดั การเรียนรใู้ หต้ อบสนอ ของผูเ้ รยี นและบริบทของพื้นที่ 4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา จัดทาแผ เฉพาะบุคคลหรือแผนการใหบ้ ริการชว่ ยเหลือเ ซ่ึงจดั ทาขนึ้ บนพ้ืนฐานความต้องการจาเปน็ เฉ ความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ หรือความสามารถพ

ร ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ ฐาน ให้สอดคลอ้ ง น้นการพัฒนา 1. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาพฒั นาหลักสตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน หผ้ ู้เรยี นมีหลักคดิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 โดยเนน้ การ ม่นั การปกครอง พัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนมี ทรงเป็นประมขุ หลกั คิดที่ถูกตอ้ ง รกั ในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการ กทีดี มคี วามเปน็ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ะอาชพี ตามความ ประมุข เปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมอื งโลกทดี่ ี มีความ ตนเองจากภัย เป็นเลศิ ทางดา้ นวิชาการ มีทกั ษะชีวติ และทกั ษะอาชีพตามความ ตอ้ งการ และมที ักษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบ บการพฒั นา ใหม่ นศตวรรษท่ี 21 2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา ลกั สตู รสถานศึกษา ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รยี นและพื้นท่ี องต่อความต้องการ ผนการจัดการศกึ ษา เฉพาะครอบครัว ฉพาะของผู้เรยี นที่มี พเิ ศษ

ประเด็นกลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนนิ การ 2. พฒั นาผู้เรียนทุกคนให้มคี วามรกั ๑. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาปรบั ในสถาบนั หลักของชาติ และยึดม่นั ปรับปรงุ หลกั สูตร จดั บรรยากาศส่งิ แวดลอ้ ม การปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รียนแสดงออกถึงความรกั ในส อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั ม มที ัศนคติทดี่ ตี ่อบา้ นเมือง มหี ลักคดิ ทรงเป็นประมุข มที ัศนคตทิ ี่ดตี อ่ บ้านเมอื ง มีห ท่ถี ูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ เป็นพลเมอื งดขี องชาติ และพลเมอื งโลกทีด่ ี ม และพลเมืองโลกทดี่ ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรยิ ธรรม ๒. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ สถานศกึ ษาน้อมนา ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และ เศรษฐกิจพอเพียงไปบรู ณาการจดั กิจกรรมกา ผูเ้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามท่กี าห

ร ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ บปรงุ หลักสตู ร 1. ร้อยละของผเู้ รียนทมี่ พี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรักใน และจดั กิจกรรม สถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย สถาบันหลักของชาติ อันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มพี ระมหากษตั ริย์ 2. รอ้ ยละของผู้เรยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถึงการมที ัศนคติ หลักคดิ ท่ีถกู ตอ้ ง ที่ดีต่อบ้านเมือง มหี ลักคดิ ท่ีถูกตอ้ ง เป็นพลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ๓. ร้อยละของสถานศึกษาที่ปรับปรงุ หลกั สตู ร จดั บรรยากาศ พระบรมราโชบาย ส่ิงแวดล้อม และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รยี นแสดงออกถึง ะหลกั ปรัชญาของ ความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ ยึดม่นั การปกครองระบอบ ารเรียนรู้เพื่อพัฒนา ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ มที ัศนคติ หนด ทดี่ ีต่อบา้ นเมอื ง มหี ลักคิดที่ถูกตอ้ ง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม ๔. ร้อยละของสถานศกึ ษาทน่ี อ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ น การศึกษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 และหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ตามทกี่ าหนดได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ประเดน็ กลยุทธ์ แนวทางการดาเนนิ การ 3. พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี น 1. 1. พฒั นาผ้เู รยี นระดบั ปฐมวยั มคี วามพร้อมด้านรา่ ง สงั คม สติปญั ญา เพื่อท่ีจะเขา้ รบั การพัฒนาการเรยี ใหม้ ที กั ษะการเรยี นรใู้ น 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล ศตวรรษที่ 21 มคี วามเป็นเลิศ หอ้ งเรียนให้เอือ้ ต่อการพฒั นาการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐ ด้านวชิ าการ นาไปสูก่ ารสร้าง 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดการเรยี นรูร้ ะดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขัน ท่ีหลากหลาย 2. 4. ส่งเสริมการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจแก่พ่อแม่ผู้ป เลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวัยทถ่ี กู ต้องตามหลักจติ วทิ ยาพฒั นา 3. 5. จดั ให้มีโรงเรยี นต้นแบบการจดั การศึกษาปฐมวยั เดก็ กอ่ นประถมให้มีพัฒนาการความพร้อม เพื่อเตรยี ในศตวรรษท่ี 21 4. 6. พฒั นาผู้เรียนส่คู วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ โดยเนน้ สมรรถนะท่ีจาเป็น 3 ด้าน 1) การรู้เร่อื งการอา่ น (Reading Literacy) 2)การรู้เรอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Lit 3)การรู้เร่ืองวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literac 2) 7. พฒั นาผ้เู รียนให้มีสมรรถนะด้านดิจทิ ลั (Digital และสมรรถนะดา้ นการสอื่ สารภาษาองั กฤษ และภา 8. มคี วามรู้ และทักษะในการปอ้ งกันตนเองจากภยั ใหม่ 9. ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดการเรียนร้ทู ผา่ นกจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)

ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ งกาย อารมณ์ ดา้ นผู้เรียน ยนรู้ในระดบั ทส่ี ูงขึ้น 1. รอ้ ยละของผู้เรยี นระดับปฐมวัย ได้รบั การพฒั นารา่ งกาย ล้อมทง้ั ในและนอก จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา และมคี วามพร้อมท่ี ฐมวัย จะเขา้ รบั การศกึ ษาในระดบั ทสี่ งู ข้นึ บปฐมวัยในรปู แบบ 2. รอ้ ยละของผู้เรียนระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานไดร้ บั การพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา มีพฒั นาการ ปกครองเก่ยี วกบั การ ทีด่ รี อบดา้ น การ 3. รอ้ ยละของผเู้ รียนทอ่ี า่ นออกเขียนได้ คดิ เลขเปน็ และมนี ิสยั ย ใหส้ ามารถพัฒนา รกั การอ่าน ยมตัวไปสู่การเรยี นรู้ 4. รอ้ ยละของผู้เรียนที่มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 5. ร้อยละของผู้เรียนที่ผา่ นการประเมนิ สมรรถนะทีจ่ าเปน็ ด้าน นการพฒั นา การรูเ้ ร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) 6. ร้อยละของผู้เรยี นที่ผ่านการประเมนิ สมรรถนะที่จาเปน็ ด้าน การรู้เรือ่ งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) teracy) 7. ร้อยละของผู้เรียนทผ่ี า่ นการประเมนิ สมรรถนะที่จาเป็นด้าน cy) การรเู้ ร่ืองวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) Competence) 8. รอ้ ยละของผู้เรียนที่มที กั ษะส่อื สารองั กฤษ และส่อื สาร าษาท่ี 3 ภาษาท่ี 3 ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ยคุกคามรปู แบบ 9. ร้อยละของผเู้ รยี นทม่ี ีทกั ษะดา้ น Digital Literacy ในการ เรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ทใี่ ห้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ 10. ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมคี วามรู้ และทักษะในการป้องกนั ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่

ประเดน็ กลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนินการ 10. ส่งเสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษาทีม่ ีการจดั การเรยี นรูใ้ ห ในลักษณะของ STEM ศึกษา 11. ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั การเรยี นรูต้ ามกร 5 ขน้ั ตอน หรอื บนั ได 5 ข้ัน (IS: Independent St 12. สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบมุง่ ฐานความร้แู ละระบบความคิดในลกั ษณะสหวิทยาการ เชน่ 1) ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละการตง้ั คาถาม 2) ความเขา้ ใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลย 3) ความรทู้ างวิศวกรรม และการคดิ เพื่อหาทางแก้ป 4) ความรู้และทักษะในดา้ นศิลปะ 5) ความรดู้ า้ นคณติ ศาสตร์ และระบบคิดของเหตุผล การหาความสัมพนั ธ์ 13. สง่ เสริมสนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาประเมนิ สมรรถนะตา การประเมิน PISA ด้วยระบบการสอบ แบบ Online ให้กบั ต้ังแต่ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาตอนปลาย จนถงึ มธั ยมศกึ ษาต 14. สง่ เสรมิ สรา้ งความรู้ความเข้าใจในทางการประเมนิ ทัก แก้ปัญหาตามแนวทางการประเมนิ PISA ใหแ้ กศ่ ึกษานิเทศ ครผู สู้ อน

ห้ผูเ้ รยี น ตัวชี้วัดความสาเร็จ ระบวนการ 11. ร้อยละของผู้เรยี นทีม่ ีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษา tudy) ระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) มากกว่ารอ้ ยละ 50 ในแตล่ ะวิชา งเน้นการใช้ เพิ่มขนึ้ จากปีการศึกษาทผี่ ่านมา น 12. รอ้ ยละ 60 ของผู้เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ มีสมรรถนะ การเรยี นรูเ้ รือ่ งการอา่ นตั้งแตร่ ะดับขนั้ พ้นื ฐานขึ้นไป (ระดบั 2) ยี ตามแนวทางการประเมนิ PISA ปัญหา 13. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนทง้ั หมดได้รับการประเมนิ ทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ PISA ลและ ดา้ นสถานศึกษา 1. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาจดั การเรียนร้ทู ี่ใหผ้ ูเ้ รียนได้เรยี นรู้ผา่ น ามแนวทาง กจิ กรรม การปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning) บผเู้ รียนทกุ คน 2. ร้อยละของสถานศกึ ษาที่มกี ารจัดการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนในลกั ษณะ ตอนตน้ ของ STEM ศึกษา กษะการคิด 3. ร้อยละของสถานศกึ ษาทก่ี ารจัดการเรยี นร้ตู ามกระบวนการ 5 ศกแ์ ละ ข้นั ตอน หรือบนั ได 5 ขั้น (IS: Independent Study) 4. ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีจดั การเรียนรู้ และบรรยากาศ ส่ิงแวดล้อมที่สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นร้แู ละฝกึ ทกั ษะดา้ น ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ประเด็นกลยุทธ์ แนวทางการดาเน 15. ให้บริการเครื่องมือการวดั และประเมิน ประเมินผลผู้เรยี นร่วมกบั นานาชาติ (PISA) 16. ส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษาจดั หลกั สตู รและ เปน็ เลิศในแต่ละด้าน 17. ส่งเสริมผเู้ รยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ จัดเป็นหอ้ งเรียนเฉพาะดา้ น 18.พฒั นาศักยภาพของผเู้ รียนตามความถน นวัตกรรม 4. พัฒนาผเู้ รียนให้มีทกั ษะอาชีพและ 1. สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ทกั ษะชวี ิต มสี ุขภาวะทด่ี ีสามารถ เรยี นรอู้ ิงสมรรถนะและเตรียมความพร้อมส ดารงชีวิตอย่ใู นสังคมได้อย่างมีความสุข 2. พัฒนารายวชิ าทสี่ ง่ เสรมิ การศกึ ษาตอ่ แล 3. สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั หลกั สูตรทักษะ เช่น ทวิศึกษาหลักสตู รระยะสน้ั 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดการเร ในทักษะอาชพี ที่ตนเองถนดั เพอ่ื เตรยี มควา และการพัฒนาประเทศ 5. ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนทกุ คนไดร้ บั ประทานอ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของอนามัย 6. สง่ เสริมการเรียนรูแ้ ละพัฒนาด้านอารมณ Emotional Learning : SEL) ในทุกช่วงวยั 7. สถานศึกษามีระบบการปอ้ งกันและแก้ไข

นนิ การ ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จ นองิ สมรรถนะตามแนวทางการ ดว้ ยระบบ Online Testing ะแผนการเรียนนาไปสคู่ วาม ดา้ นศิลปะดนตรีและกฬี าโดย นัด และเปน็ นวตั กรรม ผู้สรา้ ง กษาเพ่อื ส่งเสริมกระบวนการ 1. ร้อยละของผเู้ รียน มี ID plan และ Portfolio สู่การประกอบสัมมาอาชีพ เพือ่ การศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชพี ละการประกอบอาชพี 2. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่จัดการเรยี นรู้ และ ะอาชพี ควบคู่ กบั วชิ าสามัญ บรรยากาศสิง่ แวดล้อมทเี่ อื้อตอ่ การพฒั นาทกั ษะ อาชพี ตามความถนัด รียนรแู้ กผ่ เู้ รยี น ตามความสนใจ 3. ร้อยละของผู้เรียนทมี่ ีสุขภาวะทด่ี ที กุ ชว่ งวัย ามพร้อมก่อนเข้าสูต่ ลาดแรงงาน 4. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ ีระบบป้องกนั และ แกไ้ ขปญั หาในสถานศึกษา อาหารตามหลกั โภชนาการ และ ณ์และสังคม (Social and ย ขปญั หาในสถานศกึ ษา

ประเด็นกลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนินการ 5. การจัดการศกึ ษาเพ่อื การบรรลุ เป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่าง 1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั การเ ยั่งยืน (SDGs) เพ่ือสรา้ งเสรมิ คุณภาพ ผเู้ รยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม ตาม 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาการจัดก หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โลก เพอื่ การพฒั นาอย่างยัง่ ยนื (Global Go Sustainable Development) 6. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มคี วาม 3. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาและหน ต้องการจาเปน็ พเิ ศษ จัดสิง่ แวดล้อม สงั คม และเศรษฐกิจให้สอด Zero waste และมาตรฐานสง่ิ แวดล้อมเพ่อื (Environmental Education Sustainable De EESD) 4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั กิจก สิ่งแวดลอ้ ม และการประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของ อย่างต่อเน่อื ง 1. ใหบ้ ริการชว่ ยเหลือระยะแรกเรมิ่ (Early ท่ศี ูนย์การศกึ ษาพิเศษ หน่วยบรกิ ารและท่ีบ ประสทิ ธภิ าพ 2. สง่ เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดการ ผู้เรยี นท่มี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ด้วยระ หลากหลาย 3. สง่ เสริม สนับสนนุ การจดั การศึกษาในโร และศูนย์การเรยี นเฉพาะความพิการ

ร ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ เรียนรเู้ พอ่ื พฒั นา ยง 1. ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี พี ฤติกรรมแสดงออกถงึ การดาเนนิ ชวี ิต การศึกษเป้าหมาย ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม และการประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของ oals for เศรษฐกจิ พอเพียง 2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มทีส่ อดคลอ้ ง น่วยงานทุกสงั กัด กับมาตรฐานสง่ิ แวดล้อม สงั คม และเศรษฐกิจ เพอื่ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ดคลอ้ งกับหลัก (Environmental Education Sustainable Development: อการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื EESD) evelopment: 3. ทกุ สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพื่อให้บรรลุเปา้ หมายโลก เพือ่ การพฒั นา อยา่ งย่งั ยนื (Global Goals for Sustainable กรรมการอนุรักษ์ Development) งเศรษฐกิจพอเพียง y Intervention: EI) 1.ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ มีคุณภาพ บา้ นอยา่ งมี ตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของแต่ละระดบั 2.ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการ รศกึ ษาสาหรบั พัฒนาด้านทักษะอาชีพ ทักษะการดารงชีวิต มีคุณธรรม ะบบและรูปแบบท่ี จริยธรรม และมีจิตสาธารณะ 3.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการ รงเรียนเรียนรวม ส่งเสริมให้มีความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี เปน็ ตน้

ประเดน็ กลยทุ ธ์ แนวทางการดา 4. ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการวัดและประเมนิ ผลตามสภา 5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาทักษะการอา่ น การเ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 6. ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพฒั นาทักษ จติ สาธารณะและการดารงชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อมตามหล 7. ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามโครงการอนั เน 8. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ู้เรยี นมที ศั นคตทิ ่ถี กู ตอ้ งต่อการปกค ทรงเปน็ ประมุข 9. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชส้ อื่ เทคโนโลยี สารสนเทศและการ 10. ส่งเสริม สนับสนนุ เทคโนโลยี ส่งิ อานวยความสะดวก สอื่ 11. สง่ เสรมิ และพัฒนาผ้เู รียนทม่ี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ท ศลิ ปะ และอ่ืนๆ เพ่อื ยกระดบั สคู่ วามเปน็ เลศิ พร้อมกา้ วสสู่ ากล 12. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช 13. จดั ใหม้ ีระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการจดั การ 14.จัดใหม้ กี ลมุ่ งานระบบประกนั คณุ ภาพในสานกั บรหิ ารงานก มรี ะบบประกนั คณุ ภาพภายในทเ่ี ข้มแขง็ 15.ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาจดั ทา รวบร ทางการศึกษา 16.สารวจสภาพอาคารสถานท่ี และส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา 17.ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหม้ แี นวทางปฏบิ ตั ิ และมาตรการรกั ษาค 18.สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ครอื ข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพและกล ประสิทธิภาพ

าเนนิ การ ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ าพจริง รเขียน การสื่อสาร การคดิ คานวณ การคิดวิเคราะห์ และ ษะอาชีพ ทกั ษะการดารงชีวติ ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอื่ งมาจากพระราชดาริ ฯ ครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ รสือ่ สารอยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และสรา้ งสรรค์ บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออ่ืนใดทางการศกึ ษา ที่มีความสามารถพิเศษในดา้ นวชิ าการ ดนตรี กีฬา ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน รศึกษาเชงิ บูรณาการ การศกึ ษาพิเศษ เพ่อื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา รวม ผลติ พัฒนา และเผยแพร่ สื่อ นวตั กรรม งานวจิ ยั า จัดทาผงั บรเิ วณ จัดทาแบบรูปและรายการสงิ่ ก่อสรา้ ง ความปลอดภยั ของสถานศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ ลมุ่ สถานศกึ ษา ขบั เคล่ือนการจัดการศึกษาใหม้ ี

ประเด็นกลยทุ ธ์ แนวทางการดาเนนิ การ 19.สง่ เสริม สนบั สนนุ การดาเนินงานของค สง่ เสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพกิ ารจัง 20.สง่ เสรมิ สนับสนนุ สถานศึกษาร่วมมือกับ และองค์กรปกครองในพ้นื ท่ี พฒั นาระบบกา นกั เรียนและระบบแนะแนวใหม้ ปี ระสทิ ธภิ า 21.ส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั สภาพแวดล้อม ใหเ้ อ้ือตอ่ การจัดการศกึ ษา 7. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา 1.พัฒนาระบบคลังขอ้ มลู องคค์ วามรู้ เพ่อื ใ นา Digital Technology มาใชใ้ นการ Textbook ตามเน้อื หาหลักสตู รที่กับหนด ส จดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ูเ้ รยี นเปน็ ความร้ปู ระเภทตา่ ง ๆ และใหบ้ รกิ ารแกผ่ เู้ ร รายบุคคลตามสมรรถนะ ความ ตนเองอย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ติ ต้องการ และความถนัด สรา้ งสงั คม 2.พัฒนา Digital Platform เพ่อื ตอบสนอง ฐานความรู้ (Knowledge-Based เรยี นรู้ของผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล Society) เพื่อการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง 3.สถานศกึ ษาสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเร ตลอดชีวติ ผา่ น Digital Platform

ร ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จ คณะอนกุ รรรมการ งหวัด บผปู้ กครอง ชุมชน ารดูแลชว่ ยเหลือ าพ มและแหล่งเรียนรู้ ใหบ้ ริการ Digital 1.ร้อยละของผูเ้ รียนทเี่ รยี นร้ผู ่าน Digital Platform สือ่ วิดโี อ และองค์ 2.รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการเรยี นรเู้ พ่อื ให้พัฒนาตนเอง รียนใหก้ ารพัฒนา ผา่ น Digital Platform งต่อการพฒั นาการ รยี นรู้ดว้ ยตนเอง

นโยบายที่ 3 พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ประเด็นกลยุทธ์ แนวทางการดาเนินการ 1.สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือกบั 1.ประสานความรว่ มมือกับสถาบนั การศกึ ษาใ สถาบนั ทางการศึกษาท่ีผลิตครู ความขาดแคลน และความต้องการครู ในการผลิตและพัฒนาครูให้ตรงกบั 2.ประสานความรว่ มมือกับสถาบันการศกึ ษาใ สาขาวิชา และสอดคล้องกับการ สมรรถนะครูใหส้ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาในศต พัฒนาในศตวรรษท่ี 21 3.ประสานความร่วมมอื ในการวางแผนในกา 4. สถาบนั การศึกษาผลิตครตู ามความต้องการ 2.พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากร ขาดแคลนครู ระยะ 20 ปี ทางการศกึ ษาทกุ ประเภท ให้มี 5.ประสานความร่วมมือ ติดตาม ประเมนิ ผล สมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี มศี กั ยภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเปน็ ในการพ (Need Assessment) ของผู้บรหิ าร ครู และบ ศึกษา เพือ่ วางแผนการพฒั นาอย่างเป็นระบบ 2.กาหนดกรอบและวิเคราะห์หลกั สูตรเพอ่ื พฒั และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ช่อื มโยงกบั ควา วิชาชพี (Career Path) 3.ประสานกบั สถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ครุ ุพัฒ หน่วยงานอน่ื ๆ จัดทาหลักสูตรท่ีมีคุณภาพให กรอบหลกั สูตรทีก่ าหนด 4. สนบั สนุนใหผ้ ูบ้ ริหาร ครูและบุคลากรทางกา และเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรทก่ี าหนดท่ีเช ความกา้ วหน้าในวิชาชีพ (Career Path)

ร ตัวชี้วดั ความสาเร็จ ในการวิเคราะห์ 1. สถานศึกษามแี ผนความตอ้ งการครูระยะ 20 ปี ในการกาหนด 2. สถานศกึ ษามกี รอบสมรรถนะครูทส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นา ตวรรษท่ี 21 ในศตวรรษที่ 21 และสอดคลอ้ งกับบริบทของพนื้ ท่ี ารผลิตครทู ้ังระบบ 3. สถานศึกษาทุกแหง่ มจี านวนครูอยา่ งเหมาะสม และพอเพียง รและความ ต่อการพฒั นาคุณภาพของผเู้ รยี น การผลิตครู 1. ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท มศี ักยภาพในการปฏบิ ตั งิ านครบตามความจาเปน็ ในการจัด พัฒนาตนเอง การเรียนร้อู ย่างมีประสิทธภิ าพ บุคลากรทางการ บและครบวงจร 2. ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาสามารถพฒั นา ฒนาผู้บรหิ าร ครู หลักสตู รสถานศกึ ษา การจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมนิ ผล ามก้าวหนา้ ใน อย่างมีคณุ ภาพในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น แต่ละบคุ คล ฒนา หรอื หส้ อดคล้องกบั ารศึกษา วางแผน ชอื่ มโยง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook