Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore One Moment เปลี่ยนชีวิต

One Moment เปลี่ยนชีวิต

Description: One Moment เปลี่ยนชีวิต

Search

Read the Text Version

ONE moment เ ป ล่ี ย น ชี วิ ต



ONE moment เปลีย่ นชีวติ ลขิ สทิ ธหิ์ นังสือเป็นของ สำ� นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส) กองบรรณาธกิ าร ธรากร กมลเปรมปยิ ะกุล ภทั รอนงค์ สิรพี พิ ฒั น์ ณชิ ากร ศรีเพชรดี พิสจู น์อกั ษร นิธวิ ดี โหเ้ ฉ่ือย ศิลปกรรม เปมิกา ตันตทิ วีโชค

สารบญั

16 26 ธนัญธร เปรมใจชื่น ประสทิ ธิ์ วิทยสมั ฤทธ์ิ ทดลองสร้างของขวญั แหง่ ปัจจบุ ัน หยดุ กบั ดักความคดิ 34 42 นันท์ วิทยดำ� รง ณฐั ฬส วงั วิญญู ความสมบูรณ์ทางใจอันงดงาม จากการเรียนรู้ สูก่ ารส�ำรวจโลกภายใน 50 60 นพ. ทปี ทัศน์ ชุณหสวัสดิกุล โซโนโกะ พราว ดรี ้าย ไมม่ คี ำ� วา่ บังเอิญ ชวี ติ จะผลกั ให้คณุ ตน่ื 70 74 วีระพล เจนพทิ กั ษ์ชาติ พรชยั บริบูรณต์ ระกลู มองเหน็ และเป็นอสิ ระ การตืน่ ร้เู ปน็ ปาฏหิ าริยข์ องชวี ิต

84 96 ยุพิน ประเสรฐิ พรศรี ชวณัฏฐ์ ลว้ นเส้ง สูพ่ รแห่งชวี ติ เผชิญทุกขส์ กู่ ารพบปญั ญาภายใน 108 118 อังคณา มาศรังสรรค์ โพธิรกั ษ์ แสงสวา่ ง ปลอ่ ยตัวเองออกจากสนามรบ โยคะตื่นรู้ 126 132 ธีรญั ญ์ ไพโรจนอ์ งั สธุ ร ดร.อรโุ ณทัย ไชยช่วย ความหมายใหม่ ยอมให้ตัวเองได้ถกู ฝกึ ของความสุขและความสำ� เรจ็ 152 140 พลวิช กลา้ หาญ กิตตเิ ชษฐ์ สิริศรีพรชัย ร้เู พอื่ เลกิ วงจรทกุ ข์ แสงที่ปลดปล่อยพนั ธนาการ

158 176 เอกฤทธ์ิ เอกสมทิ ธ์ ภัทรมน วเิ ศษลีลา กอ่ นโลกสลาย ไม้หอมแห่งการรูส้ กึ ตวั บรหิ ารชวี ติ และธรุ กจิ ดว้ ยการตนื่ 204 184 รสั รินทร์ เรอื งบูรณะรัตน์ ดร.เมธา หริมเทพาธิป เสน้ ทางสูช่ วี ติ สดุ ทา้ ย Oneness เรียบงา่ ย และหน้าทมี่ นษุ ย์ 212 220 ธาตรี โภควนิช อนรุ ักษ์ เมน่ หรุ่ม ตืน่ รู้ตวั รแู้ ละตระหนักจึงตื่น 230 238 อชิระวชิ ญ์ ภกั ดิโ์ ชติพงศ์ ตา สรุ างคนา พบ ‘Mind’ แมป ออกจากลมหายใจแหง่ ความเจ็บปวด

254 260 พระปกรณ์นนั ทน์ ฐติ ธมโฺ ม รศ.นพ. ธวชั ชยั กฤษณะประกรกจิ ไม่ตอ่ ส้กู บั ความมดื ความจรงิ ของความจรงิ 270 282 ชรรนิ ชร เสถียร โอม รตั นกาญจน์ ลกู แม่ ฉนั และการเดนิ ทาง ชวี ติ คอื โรงฝกึ เพ่ือการต่ืน สอู่ สิ รภาพของใจ 298 290 ศภุ โชค ชมุ สาย ณ อยุธยา ดร. พระมหาอนชุ น สาสนกติ ตฺ ิ สรา้ งสรรค์อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ ใหช้ วี ติ ไมส่ ูญเปล่า 302 312 ทววี รรณ กมลบุตร ประชา หตุ านุวัตร ลมหายใจเพ่ือสง่ ตอ่ ปตี สิ ขุ ชีวติ นต้ี ้องไม่เป็นโมฆะ

328 336 วีระกิจ อัชรวี งศ์ไพศาล อิทธศิ ักดิ์ เลอยศพรชัย ความสขุ หาง่าย เหน็ โลกภายในทบี่ ดิ เบือน ในความจรงิ แสนธรรมดา สู่สงั คมท่ที ุกคนรักกัน 350 358 พศนิ อนิ ทรวงค์ เมยล์ ภสั บญุ สิทธวิ์ ิจติ ร ตนื่ ไดใ้ นทกุ ขณะ เปน็ แม่จึงค้นพบ 372 378 นพ. สนั ต์ ใจยอดศลิ ป์ บญุ ชยั สขุ สรุ ยิ ะโยธนิ ผ่าตดั ตัวตนจากการต่นื รู้ คยุ กบั ทกุ ข์ 386 402 สภุ าวัลย์ กลดั ส�ำเนยี ง พระจิตร์ จติ ฺตสํวโร รูส้ ึกตัวเพื่อความปกติ เหน็ ความเปน็ มนุษยแ์ จ่มแจง้ ในธรรมชาตขิ องชวี ิต



ก่อนถึง Moment เปลีย่ นชีวติ ท�ำไมบางครั้ง ช่างดูเหมือนว่าชีวิตของเรา คนรอบข้าง ไปจนถึงสังคมท้ังหมด เต็มไปด้วยปัญหาและอยู่ยาก ท�ำไม หลายคร้ัง เรารสู้ กึ เหมอื นโลกทงั้ ใบก�ำลังตง้ั อยบู่ นความขดั แยง้ ยังมีโอกาสที่เราหาไม่เจอ? มีผู้คนที่เราไม่เข้าใจ? มีความ ทกุ ขท์ ี่เหมือนไม่มวี ันกา้ วผา่ นได้? ความดที เ่ี ราไมแ่ นใ่ จ? เพือ่ น ทีเ่ ราไม่รู้จกั ? ศักยภาพในตวั เราทีถ่ กู เกบ็ ซอ่ นไว้? ความสุขท่เี รา ไม่ร้หู นทางเขา้ ถึง? ความรกั ท่ีเราไม่เคยสมั ผัส? ความงามที่เรา อาจเคยมอง แต่ไม่เห็น ความอัศจรรย์ที่ไม่อาจเห็นได้ด้วยตา คุณค่าทม่ี องเหน็ ไดด้ ว้ ยใจ และ ความจริง ทเี่ รามองข้ามไป? ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประเวศ วะสี เคยกล่าวไวว้ ่า “มนุษยอ์ ยใู่ นธรรมชาตขิ องการปรงุ แต่ง ซ่ึงแยกเปน็ ส่วนๆ เปน็ เขาเปน็ เรา เปน็ สง่ิ ทไี่ มม่ ชี วี ติ สงิ่ ทมี่ ชี วี ติ สงิ่ มชี วี ติ นานปั การ โดยเอาตัวเองเป็นศนู ยก์ ลาง เป็นสมมติสจั จะซ่งึ ไม่ใชค่ วามจริง ตามธรรมชาติ เพราะความจรงิ ตามธรรมชาตไิ มม่ ตี วั ตนของใคร เปน็ ศูนยก์ ลาง

แต่มนุษย์ไม่ได้มีธรรมชาติการปรุงแต่งแยกส่วนแต่เพียง อย่างเดียว มนุษย์ยังมีธรรมชาติที่ซ่อนเร้นอยู่อีกอย่างหน่ึง ดังท่ีกล่าวข้างต้น คือ ธรรมชาติของการเข้าถึงความเป็น หนึ่งเดียวกับความจริงตามธรรมชาติ ซ่ึงก่อให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงความรสู้ กึ นกึ คดิ เหมอื นเปน็ คนใหมโ่ ดยสนิ้ เชงิ มีผู้เรียกสภาพใหม่น้ีว่า การตื่นรู้ บ้างและในชื่ออื่นๆ อีก หลายอย่าง มนุษย์บางคนขณะมีประสบการณ์ท่ีท�ำให้ความรู้สึกนึกคิด เปลี่ยนไป มีความเป็นอิสระ เบาเนื้อเบาตัว มีความสุขอย่าง ลึกล้�ำซึมซ่านไปทั้งเนื้อท้ังตัว ไม่รู้จะเรียกว่าสภาวะอย่างน้ีว่า อะไร เรยี กวา่ ความรสู้ กึ อนั เปน็ ทพิ ยบ์ า้ ง การเขา้ ถงึ พระผเู้ ปน็ เจา้ บา้ ง การเกดิ จติ สำ� นกึ ใหมบ่ า้ ง การตน่ื รบู้ า้ ง การรอู้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั บา้ ง ฯลฯ จติ สำ� นกึ ใหมเ่ ปน็ จติ ทใ่ี หญ่ จติ สำ� นกึ เกา่ เลก็ ตดิ อยใู่ นความ คบั แคบ เสมอื นตดิ อยู่ในคกุ ท่ีมองไม่เห็น การออกจากคุกท�ำให้ มคี วามสขุ ฉนั ใด การทจ่ี ติ ออกจากทค่ี บั แคบไปสธู่ รรมชาตทิ ก่ี วา้ ง ใหญไ่ พศาลแลว้ มีความสุขอย่างมหาศาลเชน่ เดียวกัน

ฉะนั้น คำ� ว่า การเขา้ ถึงความจรงิ หรือธรรมชาตทิ ี่ใหญท่ ส่ี ุด จงึ เปน็ คำ� กลางๆ ซงึ่ อาจมที างเขา้ ถงึ อนั หลากหลาย ซง่ึ อาจเกย่ี ว กบั ศาสนาหรือไมเ่ ก่ียวกับศาสนาก็ได้” เราเช่อื วา่ ยงั มีโลกใบใหมบ่ นโลกใบเดิม ใบเดียวกนั ในโลก เดมิ ที่คณุ ตนื่ ข้ึนมาทุกเมอ่ื เชือ่ วนั เพียงคุณอาจยังไม่รู้วิธีมองเห็น และเข้าถึงโลกใบนั้น... ซ่งึ ทงั้ หมดน้ี ตอ้ งเร่ิมต้นที่ ...ตวั คณุ เอง... ผา่ นประสบการณท์ ี่แทจ้ ริง คอื การตืน่ ขนึ้ ของหวั ใจแท้จริง ของคุณ ท่ีใครกไ็ มอ่ าจท�ำแทนได้



ONE moment เ ป ล่ี ย น ชี วิ ต

ทดลองสรา้ ง ของขวัญ แหง่ ปจั จุบนั — 16 —

ธนญั ธร เปรมใจช่ืน “ในความแห้งผากของทุ่งความรู้อันอุดม มีกลุ่มคนจ�ำนวนไม่น้อย เร่ิมอนุญาตให้ตัวเองได้สัมผัสและรู้สึกถึงการเรียนรู้เพื่อเติบโตจากตัวตน ภายใน ความรักกำ� ลังแทรกตัวบนรอยแยกน้นั “อาจถูกมองว่าเป็นความคิดแบบโลกสวย อยู่ในภาพฝัน ในโลก อุดมคติ แต่ความคิดเหล่านี้อาจเปน็ ค�ำตอบทเี่ ราต่างกระหาย “ความโลกสวย ความคิดเชิงอุดมคติ และจากประสบการณ์ของฉัน กลบั ท�ำให้ฉันยนื อยบู่ นความจริง ดว้ ยการมองความจรงิ อย่างเขา้ ใจ” — 17 —

ค�ำตอบของ ธนัญธร เปรมใจช่ืน วิทยากรกระบวนการ องค์กรของขวญั แหง่ ปัจจบุ ันขณะ (7 presents) จากค�ำถามที่ว่า “ท�ำไมคนจึงสนใจภาวะของการ ‘ตื่นรู้’ ” และ “ประสบการณ์ อะไรทท่ี �ำให้เกิดการตื่นรู”้ ‘การตน่ื รใู้ นมมุ มองและจากประสบการณข์ องคณุ คอื อะไร’ “อธิบายไม่ง่ายเลย แล้วก็ไม่กล้าฟันธงให้ใครด้วยว่าการ อธิบายของฉันจะเป็นค�ำตอบท่ีถูกต้อง ถือเป็นการแบ่งปันมุม มองนะคะ คดิ วา่ คอื การ ‘รู้ตัวท้ังยามหลบั และตืน่ ’ มีส�ำนึกรบั รู้ และการรู้ท่ีเป็นบริบทของความเข้าใจไม่ว่ารอบตัวหรือภายใน ตนเอง ถา้ เราตน่ื นานและมคี วามถี่ในการต่นื ของเรามากขึ้นมนั กน็ า่ จะเปน็ โอกาสในการทจ่ี ะมสี ภาวะรมู้ ากขนึ้ ตามมมุ มองและ ความเช่ือของฉัน การตื่นรู้คงมีระดับของสภาวะเชิงกายภาพ สภาวะจติ ใจ และมติ ขิ องจิตวิญญาณ เติบโตมากับตน้ ไมแ้ ห่งความหวาดกลัว ปจั จบุ นั ธนัญธร หรอื ‘ครนู ้อง’ เปน็ วิทยากรกระบวนการท่ี องคก์ รของขวญั แหง่ ปจั จบุ นั (7 Presents) จดั อบรมและออกแบบ กระบวนส�ำรวจโลกภายในให้กับองค์กรหรือชุมชนให้เกิดการ เรยี นรู้ เปล่ยี นแปลง และเข้าใจตวั เองจากภายใน — 18 —

เราอาจเดาว่าเธอคงเตบิ โตมาอยา่ งแข็งแรง จนทำ� ให้กลาย เป็นคนเข้มแข็งและมั่นคง แต่เปล่า...ธนัญญาปฏิเสธ กลับกัน เธอเลา่ วา่ เธอเตบิ โตอยา่ ง ‘ไมร่ สู้ กึ วา่ ตวั เองเชอ่ื มโยงหรอื ผกู พนั กบั ใคร’ “ฉันเป็นเด็กท่ีจัดได้ว่าไม่มีคุณภาพหรือล้มเหลวจากระบบ มสี ภาวะที่ช้า เงยี บ ไมค่ ่อยส่อื สาร คุณครูประถมบางทา่ นสงสยั ว่าฉันอาจเป็นพวกสมองตอบรับช้า แม้ว่าผลการเรียนระดับ มัธยมจะน่าชื่นชมมากขึ้น แต่ก็ดีข้ึนเฉพาะบางวิชาท่ีฉันรู้สึกว่า เชือ่ มต่อกบั ครูผ้สู อนได้ “สุดท้ายฉันเรียนไม่จบมหาวิทยาลัยเพราะค�ำถามโง่ๆ ท่ี ถามออกไปตอนนั้น อาจเพราะขณะน้ันมีความคิดนอกกรอบ ศรทั ธาตอ่ กจิ กรรมนกั ศกึ ษาทปี่ รารถนาจะเปลยี่ นแปลงโลกและ สังคม การหันหลังให้การศึกษาในตอนน้ันจึงท�ำให้รู้สึกเหมือน เป็นฮีโร่กล้าหาญ ทา้ ทายความไม่ชอบธรรม “กระทงั่ ไดท้ ำ� งานกบั องคก์ รชมุ ชนวถิ พี ทุ ธ การเปน็ เดก็ ดแู ล รับใช้ปราชญ์ คุรุ นกั คิด นักเขยี น และผู้มากประสบการณห์ ลาย ท่าน ราวกับของขวัญท่ีเข้ามาเติมโลกภายในฉันท่ีหิวกระหาย ความรมู้ ากมายจากมมุ ตา่ งๆ ของโลกถกู ถา่ ยเทอยา่ งเมตตาผา่ น การสนทนา เร่อื งเลา่ และการได้สมั ผสั ชีวิตทา่ นเหลา่ น้ี — 19 —

“จนมคี ำ� ถามแปลกๆ มากมายผดุ ขน้ึ ในชว่ งเวลานนั้ เชน่ ฉนั เป็นใคร เกิดมาท�ำไมนะ แลว้ ฉันจะเป็นใครตอ่ ไปจากนี้” นั่นอาจเป็นจุดเปล่ยี นทท่ี ำ� ใหเ้ ธอรูส้ กึ ว่า ‘ตอ้ งตน่ื ’ มุมมองการตื่นรู้ คือ ‘สภาวะรู้ตวั ทง้ั ยามหลับและตน่ื ’ แมก้ ารตนื่ จะสำ� คญั แตเ่ ธอยำ�้ วา่ ‘การหลบั ’ กส็ ำ� คญั เทา่ กนั ในฐานะของความสมดุลในเชิงกายภาพ ท่ีเธอเรียกว่า ‘สภาวะ รู้ตวั ท้งั ยามหลบั และต่นื ’ “ส่ิงที่พึงตระหนักไม่ย่ิงหย่อนกว่ากัน คือ ‘การหลับ’ และ การ ‘อนญุ าตใหอ้ ยกู่ บั ความไมร่ ’ู้ ถงึ แมม้ ติ ทิ างกายภาพของการ ต่นื จะทำ� ให้เกดิ การกระท�ำมากมาย คณุ อาจไดร้ งั สรรค์ส่ิงตา่ งๆ ใหก้ บั โลก แตแ่ มค้ ณุ ไดส้ รา้ งคณุ คา่ อนั ยงิ่ ใหญ่ คณุ กอ็ าจพบและ เผชญิ หนา้ กบั ทกุ ขท์ หี่ ลบซอ่ นอยภู่ ายใน เพราะคณุ หยดุ ไมไ่ ด้ พกั ไม่เป็น เครียด เพ่ง เกร็ง จากการไลค่ ว้าจบั ความส�ำเร็จ “ทง้ั หมดนี้เปน็ ความตน่ื ทแ่ี ขง็ กรา้ ว ยนื อยูบ่ นความรู้ในทุก เร่ือง จนไม่อาจเข้าอกเข้าใจความไม่รู้เบื้องหน้า ไม่อาจเมตตา ยอมรับ หรือยนื อยู่บนความไมร่ ู้ภายใน หลายต่อหลายครั้ง มนั น�ำพาโรคภัยไข้เจบ็ แกผ่ คู้ นทีป่ ระสบความส�ำเร็จ — 20 —

“จรงิ อยวู่ า่ การหลบั ใหล ไมต่ น่ื ยนื อยา่ งไมร่ ู้ ไมเ่ ขา้ ใจวา่ สง่ิ ใด เป็นความมืดบอด เหล่าน้ีนับเป็นความไม่เท่าทัน แต่น่ันไม่ได้ หมายความว่าเราต้องกระโจนไปอยู่อีกฟากหนึ่ง สภาวะ ‘รู้ตัว ท้ังยามหลับและต่ืน’ อาจเป็นนัยที่ส�ำคัญมากต่อผู้ปรารถนา ความตื่นรู”้ ‘แบบนจี้ ะไมย่ ง่ิ เปน็ ความเครยี ด ทตี่ อ้ งทำ� ใหต้ วั เองรตู้ วั ทำ� ยามหลับและต่ืนหรอกหรือ?’ “เราไม่จ�ำเป็นต้องกระเสือกกระสนท่ีจะผลักดันให้ตัวเอง ลุกขึ้นมาตื่น ลุกขึ้นมารับรู้เรียนรู้ หากคุณและฉันยังไม่รู้สึกว่า การหลับใหลของตัวเองเป็นผลอย่างไร ถ้าคุณยังไม่เห็นสิ่งท่ี คณุ เปน็ ณ ขณะน้ี โมงยามนอ้ี ยา่ งตรงไปตรงมาและไมบ่ ดิ เบอื น การพยายามปลกุ ใหต้ นื่ อาจเปน็ การฝนื เคน้ ใหค้ ณุ เปน็ โดยทคี่ ณุ ไมพ่ รอ้ ม การต่ืนรู้ของผู้คนอาจกลายเป็นการบิดเบือน ทับซอ้ น ราวกับคนทเี่ ดนิ ละเมอ” ‘กอ่ น’ ‘ระหวา่ ง’ และ ‘หลงั ’ การต่ืนรู้ เราคิดว่าการต่ืนรู้ไม่เคยส�ำเร็จเสร็จพร้อม ไม่เคยมีหมุด หมายส�ำเร็จรูป แต่คือการค่อยเปล่ียนแปลง เม่ือเปลี่ยนแปลง แล้วก็ค้นพบวา่ เรายงั เปลยี่ นไดอ้ กี — 21 —

“เอาเข้าจริง อุปสรรคภายนอกรอบตัว เราอาจจัดการได้ เพียงระดับหนึ่งซ่ึงยังเป็นระดับน้อยเมื่อเทียบกับทั้งหมดท่ีมัน มี เรามักเข้าใจว่าเราควบคุมเรื่องภายนอกได้ แต่ความคิดเช่น น้ันอาจกลายเป็นกับดักของตัวเราเอง ให้สร้างชุดความเข้าใจ ชุดความเช่ือ ท่ีท�ำให้เรายึดติดกับตัวตนของเราจนยากจะแก้ไข ในวนั หนึ่ง “ยงิ่ พยายามควบคมุ ใหไ้ ด้ ยงิ่ เหมอื นตคี อกขงั ตวั ตนภายใน ยิ่งอันไหนควบคุมได้แล้ว อาจหมายถึงว่า เราย่ิงหลงติดใน กับดักนั้น “อุปสรรคท่ีน่าจะเป็นข้อจ�ำกัดส�ำคัญของเราแต่ละคน คือ ตัวตนภายในของเราเอง และมักเป็นแง่มุมในด้านท่ีเรามักมีชุด ค�ำอธิบายเข้าข้างตัวเอง เพราะตัวตนด้านลบที่เป็นข้อจ�ำกัดที่ เรามองเหน็ รบั รไู้ ดโ้ ดยทว่ั ไป มกั ไมย่ ากเทา่ กบั ตวั ตนลกึ ๆ ทแี่ อบ ซอ่ นภายใน ที่เรามีชดุ ค�ำอธบิ ายเข้าขา้ งอย่างแข็งแรงสมบรู ณ์” ‘แล้วเราจะเอาอย่างไรกันดี วิธีคลี่คลายความคิดแบบนี้ เรม่ิ จากจดุ ไหน?’ จะอธบิ ายเรอ่ื งน้ี เธอเลา่ ใหเ้ หน็ ภาพผา่ นประสบการณเ์ รอ่ื ง หน่ึงของตัวเอง ท่ีเล่าว่า จริงๆ แล้วเธอมีอีกตัวตนท่ีอ่อนแอ เปราะบาง ร้องไห้ได้ง่ายกบั เรอ่ื งราวตา่ งๆ ท้ังในชีวติ ของตวั เอง และผอู้ น่ื ซงึ่ ในความคดิ ของแม่ นน่ั ไมก่ ลา้ หาญและแขง็ แกรง่ เลย — 22 —

“แมพ่ ดู ตดั พอ้ ฉนั บอ่ ยๆ วา่ ฉนั ไมเ่ หมาะจะเกดิ เปน็ ลกู ของ แมเ่ ลย คำ� พูดของแมไ่ ม่กค่ี รงั้ ส่งผลต่อชีวติ ฉนั มาก ฉนั พยายาม ไมร่ อ้ งไหเ้ พอ่ื ใหแ้ มย่ อมรบั แตย่ งิ่ พยายาม ฉนั กลบั ยงิ่ หยดุ นำ�้ ตา ไม่ได้ จนกระท่งั ประสบการณ์ในชีวติ หลายคร้ัง ท�ำใหฉ้ ันคน้ พบ คุณค่าและความหมายใหม่” เพราะมีบางคนหันมาชื่นชมที่เธอร้องไห้กับเร่ืองของเขา ชน่ื ชมทเ่ี ธอรบั ฟงั เขา นน่ั เปน็ จดุ เปลย่ี นทท่ี ำ� ใหเ้ ธอยอมรบั ตวั ตน รจู้ ักตวั ตนภายในของตวั เอง “และโดยไม่ได้พยายาม ฉันกลับร้องไห้น้อยลง แม้จะยัง รอ้ งอยแู่ ตไ่ มใ่ ชเ่ พราะความเปราะบางออ่ นแอ แตเ่ ปน็ นำ้� ตาของ ความเขา้ ใจเห็นใจ รบั รู้ในหัวใจอีกคนได้” น่ันคอื ‘ส่วนหนึ่ง’ ของประสบการณ์ ‘ก่อน’ และ ‘ระหว่าง’ การตนื่ เพอ่ื รบั รู้ แตห่ ลงั จากนน้ั ละ่ … เธอเขา้ ใจหรอื คน้ พบวา่ การ ตน่ื คืออะไร? “เป็นคุณภาพของการเป็นครูผู้น�ำทางตัวเอง เป็นคุณภาพ ของหมอที่เยียวยาตัวเอง และเป็นคุณภาพของผู้ใช้ชีวิตในมิติ ตา่ งๆ อยา่ งเปย่ี มเตม็ พรอ้ มกบั เปน็ คณุ ภาพของเดก็ นอ้ ยทเ่ี บกิ บานและสดใหมต่ อ่ โลก — 23 —

“จากภาวะพึ่งพิงกลายเป็นความม่ันคงหนักแน่นในแต่ละ ย่างก้าว เข้าใจสุขและทุกข์ท่ีเกิดข้ึน ด�ำรงอยู่ ประคับประคอง และงอกงามจากมัน ยังมีความสามารถส่งต่อการค้นพบนั้น เพ่ือแบ่งปันสู่ผู้คน สู่โลกรอบตัว กลายเป็นท่ีพ่ึงพิงให้กับผู้อ่ืน ไดม้ ากขนึ้ ” หากไมต่ น่ื และไม่รู้ ชวี ติ เธอจะเปน็ อย่างไร เธอเชื่อว่า จะช้าหรือเร็ว มากหรือน้อย ชัดหรือพร่ามัว ทกุ คนตอ้ งเปลย่ี น แมว้ า่ เธอจะไมไ่ ดน้ ยิ ามวา่ สง่ิ ทเี่ ธอเจอคอื การ ‘ตื่นร’ู้ แต่ทกุ ประสบการณ์ชวี ิตท่ีเธอเจอมา ก็ยังเป็น ‘ของขวญั ’ และมีคณุ ค่าต่อการเป็น ธนัญธร ในวนั นี้ “แม้จะมชี ว่ งท่ฉี นั อ่อนแอ งอแง อยากหยุดกระทำ� การ น่ัน ก็เป็นคุณภาพอนั มหศั จรรยข์ องจกั รวาล ท่ีทำ� ให้การพักของฉัน เป็นพนื้ ทใ่ี หใ้ ครบางคนไดแ้ สดงศักยภาพของเขากับฉัน” — 24 —

ธนัญธรย้ำ� วา่ ส่ิงทเี่ ธอคิด ค้นพบ รูส้ กึ ไม่จำ� เป็นตอ้ งเป็น ส่ิงเดียวกับท่ีคนอ่ืนพบ และหากประสบการณ์ท่ีเธอเล่า จะไม่ ตรงหรือเฉียดใกล้กับส่ิงที่ผู้อ่านได้พบเจอ ก็อย่าได้เข้าใจว่าคุณ ก�ำลงั มาผดิ ทาง “การต่นื รขู้ องผู้คนมรี ะดับมิติแตกต่าง และแตล่ ะระดับของ การตน่ื นน้ั กม็ คี า่ ตอ่ ระดบั จติ ของคนคนนนั้ อยา่ เอาประสบการณ์ ปลายทางที่เราเช่ือว่าดีที่สุดไปกดทับย่างก้าวใหม่ หัวใจใหม่ท่ี กำ� ลังบ่มเพาะตนสู่การตน่ื ในระดับของตัวเอง “อนุญาตให้ตัวเองได้เรียนรู้และทดลองชีวิต ค�ำตอบที่ดี ที่สุดหรือการค้นพบที่ย่ิงใหญ่ท่ีสุดของใครคนหน่ึง อาจน�ำพา แรงบันดาลใจ อาจนำ� พาการตนื่ ตัวต่อเปา้ หมายมาสเู่ รา แต่น่นั ไม่ไดแ้ ปลวา่ ทุกวิถที างทเี่ ป็นของเขา จะเป็นของเราด้วย” — 25 —

หยุด กบั ดัก ความคิด — 26 —

ประสทิ ธ์ิ วทิ ยสมั ฤทธ์ิ สำ� หรบั ประสิทธ์ิ วิทยสมั ฤทธิ์ ครเี อทีฟวยั 36 ป,ี ผู้ร่วมกอ่ ตง้ั บริษัท ชใู จ กะ กลั ยาณมิตร ครเี อทฟี เอเจนซีโ่ ฆษณาเพื่อสงั คม และคอลัมน์นิสต์ประจ�ำนิตยสาร a day คอลัมน์คิดแล้วธรรม ความทุกข์ของเขาคือ ‘ความคิดท่ีติดกับ’ และ ‘การจมอยู่ใน โลกของตวั เอง’ — 27 —

และเชื้อเพลงิ ของความทุกขด์ ังกล่าวกม็ าจากตวั เอง สภาพ แวดล้อม และสงั คมท่ีอาศยั อยู่ ถึงขั้นที่เขาออกปากว่า ‘เหนอื่ ย ล้า’ และ ‘สงสาร’ ตัวเอง ท่ีหยุดและวางความคดิ ตน้ เหตคุ วาม ทกุ ข์ดังกลา่ วไมไ่ ด้ จนเขาบวชเรียนท่ีวัดธารน้�ำไหล (สวนโมกขพลาราม) อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี ช่วงเวลา 6 เดือน ของความเปลี่ยนแปลงได้รู้จัก เรียน รู้ เข้าใจและอยู่กับความทุกข์ของตัวเองอย่างเท่าทันมากขึ้น จนกลายเป็นเส้นทางแหง่ การตื่นเพื่อรู้ของเขาเช่นทกุ วันนี้ ออกจากกบั ดกั ความคิด วถิ ชี ีวิตคนเมือง ประสิทธ์ิเล่าย้อนถึงความคิดที่จมลึกจนกลายเป็นความ ทุกข์ว่า เขาเป็นคนช่างฝันแต่เด็ก อยู่ในโลกของตัวเองมาโดย ตลอด เมอื่ โตขน้ึ สายงานทท่ี ำ� กเ็ ปน็ งานทตี่ อ้ งใชค้ วามคดิ สมอง เคยชนิ กับการตอ้ งคดิ อยตู่ ลอดเวลา “ผมเป็นคนชนชั้นกลาง ไม่ได้ร่�ำรวยจนสบาย แต่ก็ไม่เคย ล�ำบาก พออยู่ได้อย่างสุขสบายในเมืองเท่ากับท่ีคนคนหน่ึงจะ หาได้ คือมีเงินพอดูแลตัวเองและครอบครัวท่ีเรารัก ไม่มีหน้ี ไมม่ สี ิน มงี านทดี่ ี” — 28 —

ถึงอย่างน้ัน เขากลับไม่เคยพอใจในชีวิตตัวเองและวิ่งตาม หาชีวิตอีกคร่ึงหน่ึงที่ขาดหาย ตามหาโดยที่ไม่รู้ว่ามันคืออะไร จนกลายเป็นความเบื่อหน่าย “แต่ละวัน ผมร้สู ึกว่าชวี ติ ยงั เต็มไปด้วยความไมพ่ อใจ มีแต่ ความร้สู กึ วา่ ไม่ถูกใจชวี ติ ตวั เอง รูส้ ึกวา่ ใจยังพรอ่ ง ไมเ่ ต็ม มแี ต่ ความร้อนรุ่มในอก ถ้ามีอะไรไม่ถูกใจมากระทบเพียงเล็กน้อย ความคดิ ดา้ นลบจะทำ� ใหผ้ มรูส้ ึกขุ่นมวั ไดท้ งั้ วัน ท้ังท่ีวนั นัน้ มีแต่ เรื่องดีๆ “พอรตู้ วั เอง ผมกเ็ กดิ ความเบอื่ หนา่ ยกบั ความรสู้ กึ แบบนนั้ ของตวั เองขน้ึ ทกุ วัน ผมสงสารตัวเองทไี่ มไ่ ดม้ ชี วี ติ ทส่ี งบสุข เคย รู้สึกเป็นทุกข์มากๆ สงสารตัวเองที่หยุดความคิดไม่ได้ เม่ืออยู่ กับความคดิ ตลอดเวลาก็กลายเปน็ ความรูส้ ึกดตี อ่ ตัวเองลดลง” และนน่ั จดุ เรม่ิ ตน้ ทท่ี ำ� ใหป้ ระสทิ ธหิ์ นั มาตง้ั คำ� ถามกบั ตวั เอง เพือ่ รเู้ ทา่ ทันและหาทางอยกู่ บั ความคิด ตน่ื เพอื่ ทำ� ความรจู้ ักและเรยี นร้ตู วั เองใหมอ่ กี ครัง้ ประสิทธิ์เล่าว่าเม่ือครั้งตัดสินใจไปบวชท่ีสวนโมกข์ ตอน นน้ั เขาไมไ่ ดส้ นใจธรรมะเลยสกั นดิ แตห่ ลงั จากไดร้ จู้ กั และสมั ผสั กบั ประสบการณน์ น้ั เพยี งครงั้ เดยี ว กพ็ บวา่ ชวี ติ ตวั เองเปลยี่ นไป อยา่ งหนา้ มือเป็นหลังมือ — 29 —

“ตอนนนั้ อายจุ ะ 30 แลว้ คดิ ไวว้ า่ เราเดนิ ทางมาไดค้ รง่ึ ชวี ติ ประกอบกับวันนั้นเป็นวันเกิดพอดี เลยต้ังใจว่าถ้าเราได้ไปเกิด ใหมใ่ นเพศบรรพชติ ก็จะถอื โอกาสนีข้ อโทษทกุ คน คนทเ่ี ราเคย ทะเลาะหรือไม่คุยด้วย เราก็โทรไปขอโทษ หลายคนก็งงว่าเรา โทรไปท�ำไม เราถือโอกาสกราบเท้าพ่อแม่ หลังจากวันนั้น ผม รู้สึกเบาสบาย หมดภาระทางจิตใจ ไม่น่าเช่ือว่าแค่การให้อภัย กลา้ เผชญิ หน้ากับทิฐิ มันช่วยใหช้ ีวติ เบาสบายได้ขนาดน้”ี เปน็ ครัง้ แรกทีใ่ จเขายอมปล่อยวาง ราวกับก้อนหินในใจได้ หลุดออกไป ย่ิงไปกว่าน้ัน ประสิทธ์ิยังยอมรับว่า ตลอดระยะ เวลา 6 เดอื นในการเป็นนกั บวช ได้สง่ เสรมิ และทำ� ให้เขาเข้าใจ ภายในตวั เองอย่างท่ไี ม่เคยรสู้ ึกมากกอ่ น “การบวชคือการฝึกเพื่อเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ เป็นการ ฝึกฝนเอาชนะสัญชาตญาณของการท�ำตามใจและเดินตามโลก การบวชเรียนสอนให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง และท�ำให้ผมนึกย้อน ไปถึงช่วงเวลาวัยประถมตอนที่นั่งอยู่ใต้ถุนตึกเรียน ท่ีที่มีลม เย็นๆ พัดผ่านแล้วบอกกับตัวเองว่า ‘ชีวิตต้องการแค่นี้แหละ ทำ� ไมมันสบายจัง’ ” อย่างไรก็ดี ช่วงเวลาที่ประสิทธิ์อยู่ในสภาวะ ‘ตื่นเพื่อรู้’ อย่างเข้มข้นจนรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงภายในอย่างรอบด้าน คือช่วงท่เี ขาลาสิกขาแลว้ — 30 —

“ตอนบวช ผมไม่ได้รู้สึกถึงการตื่นรู้จากการภาวนา แต่พอ ลาสกิ ขาแลว้ มองกลับไป ผมถงึ เหน็ สภาวะของความวา่ ง ความ เบาสบาย ความรู้เท่าทันสติ ความมั่นคงหนักแน่นและชัดเจน ในชีวิต รู้สึกว่าตัวเองมี ‘หลัก’ มากข้ึน ค้นพบว่าจะใช้ชีวิตอยู่ อยา่ งไร นน่ั คอื ใชช้ วี ติ เทา่ ทจี่ ำ� เปน็ เบยี ดเบยี นธรรมชาตใิ หน้ อ้ ยลง และพึ่งพาตัวเองได้ดขี น้ึ ” อยกู่ ับความทุกข์ในใจทชี่ ่ือว่า ‘ความปรารถนา’ “รเู้ ทา่ ทันสญั ชาตญาณ ไมท่ ำ� ตามใจตวั เอง หมดความกลัว และความลังเลในชีวิต มีเง่ือนไขในชีวติ นอ้ ยลง พึงพอใจในชวี ิต มากข้ึน สัมผัสปัจจุบันขณะและเชื่อมโยงกับสิ่งรอบตัว ไม่เห็น แก่ตัว กล้าเสยี สละ ท�ำเพ่ือผอู้ ื่น” คอื คำ� ตอบจากประสทิ ธเ์ิ มอ่ื ถามวา่ การตน่ื รหู้ มายความวา่ อย่างไร แม้ดูเหมือนว่าเขาจะเข้าใจและค้นพบความหมายของ ชีวติ แล้วกต็ าม แต่เขากลับย้ำ� ว่าตัวเองยังคงออ่ นแอและไม่อาจ หลดุ พ้นจากกับดักวถิ ีคนเมืองอยา่ งเบด็ เสร็จ แมค้ วามปราถนา ทีจ่ ะตนื่ รู้ กเ็ ป็นหนึ่งในความทุกขข์ องเขาขณะน้ี — 31 —

“ผมยงั เตม็ ไปดว้ ยความโลภ โกรธ หลง ตวั ตนจดั และยงั คง เหน็ แกต่ วั รดู้ วี า่ การบวชเพยี ง 6 เดอื นยงั ไมพ่ อทจี่ ะขดั เกลากเิ ลส ในสนั ดานจากทผี่ มว่ิงตามโลกมา 30 ปี ออกไปง่ายๆ จิตใจยัง คงหว่นั ไหว เมอื่ มาใชช้ วี ิตแบบฆราวาสมนั ก็ยงั ไมม่ ่นั คง สา่ ยไป ตามอารมณ์ ยังหวั่นไหวไปกับอารมณ์และส่ิงท่ีมากระทบเต็ม ไปหมด “ความปรารถนา ความอยาก ยังคงเป็นอุปสรรคในทุกสิ่ง แม้กระท่ังความอยากท่ีจะมีความสุข อยากมีชีวิตในระดับท่ีอยู่ เฉยๆ แตม่ คี วามสุข หรือกระท่งั ความปรารถนาที่อยากจะต่ืนรู้ เองกต็ าม แมจ้ ะเปน็ ความปรารถนาสขี าว เปน็ สง่ิ ทด่ี ี แตส่ ดุ ทา้ ย แล้วความอยากหรือความต้องการเหลา่ นีแ้ หละทท่ี ำ� ให้ใจเรายัง ไม่บริสทุ ธ์ิ” ถงึ อย่างน้ัน การต่ืนหนึง่ คร้ังเหมือนเปน็ เสาเขม็ กลางใจชัน้ ดี ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ สง่ิ ยึดเหน่ยี วจิตใจ และเปน็ ประสบการณท์ ด่ี ีให้ เขารวู้ า่ ‘ความทกุ ข’์ คอื อะไร จนกลายเปน็ การรเู้ ทา่ ทนั ความคดิ ของตวั เองอย่ตู ลอดเวลา — 32 —

ครีเอทฟี เอเจนซ่โี ฆษณาเพ่ือสังคมทง้ิ ทา้ ย “การบวชท�ำให้ชวี ิตผมมีหลกั ถึงผมยงั คงออ่ นแอ อ่อนข้อ และถดถอยลงต่อวิถีการใช้ชีวิตหลังจากสึกออกมา แต่ในเม่ือ เราอยู่บนเส้นทางแห่งการต่ืนรู้มาแล้ว มีประสบการณ์ว่าความ ทกุ ขค์ อื อะไร ผมเชอ่ื วา่ เมอื่ มหี ลกั เราจะเดนิ ตามทางนน้ั ได้ อยา่ ง น้อยชีวิตยังพอจะเห็นหลักอะไรให้เรายึดโยงกลับมาอยู่บนเส้น ทางทถี่ กู ควร” — 33 —

ความ สมบูรณ์ ทางใจ อันงดงาม — 34 —

นันท์ วิทยดำ� รง ผกู้ อ่ ตง้ั และผบู้ รหิ าร บรษิ ทั ซนั เด เทเลวชิ น่ั จำ� กดั เปน็ ทร่ี จู้ กั ในฐานะนกั เขยี น นกั แปล ผลงานทเี่ ปน็ ท่ีรู้จักในวงกว้างคืองานแปลเรื่อง “The Seven Spiritual Laws of Success” Deepak Chopra (“7 กฎดา้ นจติ วญิ ญาณ เพอ่ื ความส�ำเรจ็ ” ดพี ัค โชปรา) และผู้เขียน จงั หวะจกั รวาล ทง้ั 2 เล่ม — 35 —

อาจเพราะชีวิตวัยเด็กของเขา - ลูกชายคนเดียวของนาย สถานรี ถไฟจงั หวดั หนงึ่ คอื ผนื นา ตน้ ไม้ สวนใกลบ้ า้ น ทำ� ใหเ้ ขา เคยชนิ กบั การทอดสายตามองธรรมชาติ การสอบทานความคดิ ในหวั เปน็ สง่ิ ท่คี ุ้นชิน เมื่อถึงวัยที่ความคิดกลายเป็นอาวุธ ความสร้างสรรค์ คือแบบประเมินหลักในฐานะนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปญั หาทพ่ี บคอื บางวนั ความคดิ ไหลลน่ื บางวนั คน้ หาความคดิ แทบตาย อยา่ งไรกไ็ มอ่ อกมา สงิ่ ทเ่ี ขาเรม่ิ ท�ำต้งั แตน่ ั้น คือการทดลองเขียนบนั ทึก มันไม่ใช่บันทึกประจ�ำวัน แต่คือการทบทวนความรู้สึกว่า ‘คิดอะไร’ ต่อเหตุการณ์นัน้ ๆ นั่นอาจเป็นชว่ งเวลาแรกๆ ท่ีเขา ได้ทบทวนความรู้สึกภายในของตัวเอง “ระบุไม่ได้เลยว่าภาวะน้ีเกิดข้ึนเม่ือไหร่ เพราะการรู้จักกับ สภาวะดังกล่าวเป็นไปอย่างค่อยๆ คล่ีคลาย ค่อยๆ ขยาย สัมผัสนัน้ ไปทลี ะนิดๆ จนถงึ ขณะน้ี กย็ ังรสู้ ึกว่าสภาวะดงั กลา่ ว ยังขยายตอ่ ไปเรือ่ ยๆ ถ้าถามถึงจุดเรม่ิ ต้น มันคงเกดิ จากทุกสงิ่ ในอดตี ทห่ี ลอ่ หลอมเปน็ เราขึ้นมา” นอกจากทดลองเขยี นบนั ทกึ ความรสู้ กึ ยงั เปน็ การพจิ ารณา ถึงส่ิงรอบตัวโดยเฉพาะธรรมชาติ — 36 —

“หากจะให้ยกตัวอย่างบางขณะหรือจังหวะที่โดดเด่นเป็น พเิ ศษ คงเปน็ ชว่ งขณะทไี่ ดพ้ บบางสง่ิ ทส่ี นั่ สะเทอื นภายในตนเอง เหมือนถูกปลุกภายใน เช่น ช่วงขณะที่ได้อ่านบทกวีบางบท ข้อความบางย่อหน้า ท่ีพูดถึงสภาวะที่ผู้เขียนได้สัมผัสสภาวะ ธรรม ความจรงิ อนั เปน็ แกน่ หรอื รากน้ี การไดเ้ หน็ ใบไม้ ใบหญา้ แสงเงาของแดด ทอ้ งฟ้า ผ้คู น พระอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ ในบาง ชั่วขณะท่ีสัมผัสมันคมชัด ปรากฏเป็นความงามที่ท�ำให้เราหยุด รู้สึกว่าความเปน็ ตัวเราหายไป” แมจ้ ะรจู้ กั ‘สภาวะดงั กลา่ ว’ อยา่ งไมท่ นั ตง้ั ตวั แตน่ นั ทก์ ลา่ ว ว่า เมื่อรู้จักกับวิธีการทบทวนจิตใจภายใน เขาก็หม่ันพิจารณา บม่ เพาะ ศึกษา ทดสอบ สภาวะดงั กลา่ วด้วยตวั เองอย่างที่เขา ให้นยิ ามว่า ‘อย่างรูท้ ันและรู้จักวางสิ่งท่รี ้ลู งใหเ้ ป็น’ และสภาวะ ภายในท่เี ขาคน้ พบท้งั หมดนี้ นนั ท์ขีดเสน้ ใตไ้ วด้ ว้ ยด้วยเสน้ หนา หนักใตค้ วามหมายของสง่ิ ท่ีเขาพบเจอน้ีวา่ “จากผลลพั ธน์ ้ี ผมไมแ่ นใ่ จวา่ สภาวะทต่ี วั เองเปน็ อยเู่ รยี กวา่ ‘ตื่นรู้’ หรอื ควรบอกว่าตัวเอง ‘ตน่ื รู’้ หรอื เปลา่ “แต่ถ้าสิ่งที่เป็นอยู่นี้เข้าข่ายการต่ืนรู้ ส�ำหรับผม การต่ืนรู้ คอื ภาวะทก่ี ลบั ไปจำ� ไดอ้ กี ครง้ั วา่ แทจ้ รงิ แลว้ เราเปน็ ใคร กลบั ไปสู่ รากหรอื แกน่ แทข้ องการเกดิ มา เพอ่ื ใหช้ วี ติ ทตี่ อ้ งดำ� เนนิ อยเู่ ตม็ ไปดว้ ยความงาม ความรกั ความสมบรู ณท์ างใจ ในทกุ ขณะชวี ติ ” — 37 —

‘ความสมบูรณ์ทางใจ’ ที่ว่าคืออะไร มีรูปร่างหน้าตา ประมาณไหน คือสภาวะนี้ท�ำให้ใจมีทิศทางว่าจะด�ำเนินชีวิตอย่างไร เรา จะไม่พลัดหลงหรือถูกหลอกได้ง่ายจากอุปสรรคหรือความทุกข์ ท่ีเผชิญ เราจะรู้ว่าทุกการศึกษา ทุกการเรียนรู้ ทุกการกระท�ำ ต่างเป็นไปเพ่ือสิ่งใดและเท่าใด เราจะดูเหมือนไม่ทุกข์ ไม่สุข ไม่ร้อนรนมากมาย จะดูเหมือนอะไรๆ ก็ดี ก็เหมาะสม หรือ คลา้ ยกับรู้สกึ วา่ ‘โชคด’ี อยู่เสมอๆ อีกประการคือ คือการได้เข้าใจว่าแก่นของเร่ือง หรือส่ิงที่ เราให้ความหมายในระดับจักรวาลน้ี ‘ไม่มีอะไรเลย’ เพราะถ้า ไม่มี ‘ตัวเรา’ ไปให้ความหมายกับสรรพสิง่ นนั้ ไมร่ บั รู้ ไมต่ คี วาม มนั กไ็ มม่ อี ะไร แตก่ ารทเี่ ราเขา้ ไปคน้ พบความไมม่ อี ะไรนน้ั แหละ กลายเป็นเข้าใจความหมายทแี่ ท้จริง ความเขา้ ใจตอ่ ความหมายของสรรพสง่ิ หรอื การไดค้ น้ พบ ‘ความสมบูรณ์ทางใจ’ ที่กล่าวไป ท�ำให้เราเห็นอะไร หรือ เกดิ การเปลี่ยนแปลงอะไร ปฏิสมั พันธข์ องตวั เองกับบุคคล สภาพแวดลอ้ ม เหตกุ ารณ์ เปล่ียนไปในทางที่ดีข้ึน ชีวิตเราสุขสงบและไหลลื่นท้ังภายนอก และภายใน ไม่ว่าสภาพแวดลอ้ ม บุคคล หรอื เหตุการณใ์ นชวี ิต เป็นแบบไหน ต่างก็มีสิ่งดีงามอาจเรียกส่ิงน้ีว่า ‘สัมผัสบริสุทธิ์’ — 38 —

คอื สมั ผสั ทเี่ รามตี อ่ ทกุ สง่ิ ทรี่ บั รกู้ ลายเปน็ ความงาม เปน็ ความรกั ทีไ่ ร้ขอบเขต อะไรคือจุดเร่ิมต้นที่ท�ำให้คนคนหน่ึงหันมาสนใจภาวะ ภายในของตัวเอง อนั ทจ่ี รงิ แลว้ การศกึ ษาเรอื่ งการเตบิ โตภายในเปน็ เรอื่ งสว่ น บคุ คล เรมิ่ จากเรอ่ื งของตวั เองเพอื่ ผลลพั ธส์ ว่ นบคุ คล เปา้ หมาย มีแค่นัน้ แต่การกระท�ำของบคุ คลน้ันๆ อาจกลายเปน็ แนวทาง แสงสว่าง แรงบันดาลใจให้กับบุคคลอื่นๆ มากบ้าง น้อยบ้าง แตกต่างกันไป แตห่ ากตอ้ งการขยายการศกึ ษาเรอื่ งภายในสสู่ งั คมวงกวา้ ง คณุ คิดวา่ ควรมกี ารส่งเสรมิ อะไรบา้ ง พดู ถงึ ‘โดยรวม’ หรอื ‘คนทวั่ ไป’ คงประเมินไดย้ าก การที่ แตล่ ะคนจะเขา้ ใจหรอื เขา้ ถงึ ไดย้ ากหรอื งา่ ยนน้ั ไมเ่ หมอื นกนั ขน้ึ กบั จรติ ภมู หิ ลงั ภมู ริ ทู้ สี่ งั่ สมมาตามจงั หวะของแตล่ ะชวี ติ แตถ่ า้ ถามวา่ อะไรจะเปน็ สงิ่ ทชี่ ว่ ยสง่ ตอ่ หรอื ขยายผลสสู่ งั คม ผมคดิ วา่ อาจเป็นการสง่ เสริม สรา้ งความเชอ่ื มโยง สนับสนนุ ใหบ้ คุ คลที่ ตื่นรู้ท้ังอดีตและปัจจุบันได้ส่ือสารประสบการณ์ของแต่ละคน อย่างเหมาะสมกับบริบทในสังคมน้ันๆ และต้องดำ� เนินไปบน มาตรฐานของสัจจะความจรงิ คือเปน็ ของแท้ของจริงทั้งเนอ้ื หา และขบวนการ วิธนี อ้ี าจเปน็ อีกส่วนทช่ี ่วยขยายผลสู่สังคมได้ — 39 —

หลายคนอาจตง้ั ธงในใจวา่ การสำ� รวจโลกภายในเปน็ เรอ่ื ง ยาก คุณเห็นด้วยหรือเห็นต่างจากแนวคิดนี้ และหากมีคน อยากเริ่มต้นศึกษา เขาควรเริม่ จากอะไรด?ี อยากจะให้เข้าใจหรือเข้าถึงได้ง่าย ก็ต้องท�ำให้เห็นว่าเป็น เรอ่ื งงา่ ยและสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของแตล่ ะกลมุ่ ทเี่ ปน็ เปา้ หมาย ก่อน เริ่มจากส�ำรวจใจตัวเองและเร่ิมเด๋ียวน้ีเลย ส�ำรวจว่าเรา ตอ้ งการอะไร เราสนใจเร่อื งนี้เพราะอะไร ให้เริม่ จากจุดน้นั และ ถงึ แมว้ า่ คำ� ตอบนน้ั อาจจะไมใ่ ชค่ ำ� ตอบสดุ ทา้ ย กเ็ อาแคค่ ำ� ตอบ ใกลต้ ัว เอาเรอ่ื งเฉพาะหน้ากอ่ น แล้วค่อยหาความรู้ เครือ่ งมือ เทคนคิ ท่สี อดคลอ้ งกับตัวเอง เพือ่ ปรบั ใช้ ทดลอง ปฏบิ ัติอย่าง ต่อเนื่อง และจับประเด็นหรือแก่นหลักให้ถูก แต่อันน้ีอาจจะ ยากหนอ่ ยเพราะบางครงั้ ผสู้ อนเองกย็ งั สบั สน แตต่ ามธรรมชาติ แล้วมันจะหาหนทางไปเอง อาจเริ่มจากทางวกวนและคดเค้ียว บ้างในช่วงแรก ก็ทดลองไป ถ้าไม่ยึดติดเกินไป เด๋ียวทางมัน จะค่อยๆ เปิดออกเอง สุดท้ายท่ีเคยคิดว่ายาก เม่ือลองแล้ว ผลลัพธ์อาจจะไปไกลกว่าที่ตั้งหวังไว้ รวมท้ังต้องรู้จักวางความ คาดหวงั ใหเ้ ป็นดว้ ย — 40 —

ระหวา่ งทางทศ่ี กึ ษาเรอ่ื งของการเตบิ โตภายใน จะพบเจอ อปุ สรรคอะไรบา้ ง ขั้นแรกสุด คือไม่ให้ความสนใจ จึงขาดการเรียนรู้ ช้ีแนะ จากบุคคล หรือจากสื่อต่างๆ สอง-ถ้าสนใจแล้ว ก็ขาดความ สมำ่� เสมอในการปฏบิ ตั ิ วนิ จิ ฉยั และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สาม- ถา้ ไดป้ ฏบิ ัติแล้ว ก็เป็นการยึดตดิ กับวธิ กี าร เคร่อื งมือ ความเชอ่ื หรอื แนวคดิ ใดเกนิ ไปจนลมื ไปเครอ่ื งมอื หรอื วธิ กี ารเปน็ แคบ่ นั ได เปน็ แคแ่ นวทางทีเ่ ราต้องหมั่นปรับปรงุ ปรับใจ ใหเ้ หมาะกับตัว เองอยา่ งรทู้ นั รวมทั้งปล่อยวางลงไดเ้ มือ่ ถึงเวลาที่เหมาะสม เคยคิดไหมว่า หากไม่ได้เดินในเส้นทางนี้ ชีวิตจะเป็น อยา่ งไร ผมคงไมอ่ าจบอกวา่ สภาวะที่พบนี้ ‘สำ� คญั ’ อย่างไร เพราะ กอ่ นที่จะสัมผัสกับสภาวะความจรงิ เราไม่เคยรหู้ รอกว่าสภาวะ ที่ว่าเป็นอย่างไร หรือแม้ว่าจะได้มีโอกาสสัมผัสจริงก็ยังไม่อาจ บอกได้ว่ามันส�ำคัญ เพราะในสภาวะนั้นๆ เราก็แค่ตระหนักรู้ ถงึ ความปกตแิ ละความธรรมดา เพราะเรามองทกุ สง่ิ วา่ เสมอกนั ตอบไม่ได้เหมือนกันว่าชีวิตจะเป็นอย่างไรหากไม่พบกับ สภาวะนี้ และไม่เคยคิดอยากรู้ค�ำตอบ ตอบได้แค่ว่ายินดีและ รสู้ กึ พงึ ใจทีช่ วี ิตไดส้ มั ผสั กับส่ิงหรอื สภาวะทวี่ า่ น้ี — 41 —

จาก การเรยี นรู้ ส่กู ารสำ�รวจ โลกภายใน — 42 —

ณฐั ฬส วงั วิญญู “ส�ำหรับผมไม่มีค�ำว่า ‘ต้อง’ ตื่นรู้ ผมมองชีวิตว่า เป็น กระบวนการเรียนรู้ในการด�ำรงชีวิตให้มีความสุขโดย เรียนรู้จากความทุกข์และข้อจ�ำกัดต่างๆ ที่จ�ำกัดตัวผม ไม่ให้อิสระหรือมีความสุข ท�ำให้ผมต้องเรียนรู้ รู้จักกับ ข้อจ�ำกัดภายในตัวเองเหล่านี้ จะตั้งใจหรือไม่ต้ังใจ ชีวิต จะนำ� พาการเรยี นรแู้ ละการ ‘ตนื่ ’ ใหก้ บั ผมไมม่ ากกน็ อ้ ย” — 43 —

ความเหน็ ของ ณัฐฬส วังวญิ ญู อายุ 46 ปี ผ้ทู ำ� งานด้าน การพัฒนาภาวะผู้น�ำ กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม การ พัฒนามิติด้านจิตวิญญาณในการศึกษาและการเปลี่ยนแปลง องค์กรอยา่ งสรา้ งสรรค์ ณัฐฬสเปน็ ผ้กู อ่ ตัง้ สถาบนั ขวัญแผ่นดิน กระบวนกรนักจัดการเรียนรู้เพื่อส�ำรวจโลกภายในตัวเอง และ ผู้แปลหนังสือ กล้าท่ีจะสอน: การส�ำรวจโลกภายในของชีวิต ครูส�ำหรับเขาแล้วชีวิตของแต่ละคนไม่เหมือนกัน แตกต่างและ เป็นไปตามเง่ือนไข ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่เราอาศัยอยู่ ทง้ั หมดหล่อหลอมจนน�ำมาสู่ ‘ความทกุ ข์ทเ่ี ปน็ ของใครของมัน’ เช่นเดียวกันกับ ‘การตื่นเพื่อรู้’ ท่ีมีหลากหลายมิติท้ังศาสนา จิตวิทยา จติ วิญญาณ หรือสังคม อย่างไรก็ดี เขาเช่ือว่าไม่ว่าใครก็เกิดการเติบโตจากภายใน จนเปลีย่ นแปลงและขยายไปสู่สงั คมรอบขา้ งได้ทง้ั สน้ิ “การตื่นรู้คือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับเราแล้วส่งผลต่อ จติ สำ� นกึ การรบั รู้ และความสมั พนั ธท์ มี่ นษุ ยม์ ตี อ่ ตวั เอง ตอ่ โลก และชวี ิตทก่ี วา้ งออกไป” เม่ือการตื่นรู้คือประสบการณ์ท่ีเราพบเจอแล้วสั่งสมจน เกดิ การเปลยี่ นแปลงภายในตวั เอง สำ� หรบั คณุ ประสบการณ์ ดงั กล่าว คอื อะไร คงไมไ่ ดม้ เี หตกุ ารณเ์ ดยี ว สำ� หรบั ผมไมว่ า่ จะเปน็ การตน่ื ทาง สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม หรอื การตน่ื เพอ่ื รทู้ างจติ ใจ การเตบิ โตทง้ั หมด เป็นการเรียนรู้ การสั่งสมและซึมซับเร่ืองราวตา่ งๆ มากกว่า — 44 —

ตอนทผ่ี มไดเ้ ขา้ สมั มนาเรอ่ื งความเทา่ เทยี มทางเพศ ไดร้ บั รู้ ความทกุ ขท์ เ่ี กดิ จากความไมเ่ ทา่ เทยี มระหวา่ งชายหญงิ อนั ทำ� ให้ ผหู้ ญงิ จำ� นวนมากรสู้ กึ วา่ ไมไ่ ดร้ บั คณุ คา่ หรอื โอกาสเทา่ กบั ผชู้ าย ในสงั คม ท�ำใหเ้ ห็นว่า ในฐานะทผ่ี มเปน็ ผู้ชาย ผม ‘มองไมเ่ ห็น’ กรอบหรือกรงขังนี้ และไม่จ�ำเพาะเพศหญิงเท่านั้น แต่จ�ำกัด ความเป็นไปไดใ้ นการเปน็ มนษุ ยข์ องเพศชายเชน่ กนั ส่วนการต่ืนเพ่ือรู้ทางจิตและธรรมชาติของผมเกิดข้ึนบ่อย ครง้ั เวลาไปอดอาหาร ภาวนาในปา่ ธรรมชาติ ในภาวะทจ่ี ติ วา่ งๆ สงบๆ และรสู้ ึกเป็นหน่งึ เดียวกบั ธรรมชาติ จะรู้สึกว่าตัวผมเปน็ เพียงสว่ นหนง่ึ ของธรรมชาติทงั้ หมด ผมไม่ได้เป็นนายเหนือร่างกายหรือแผ่นดิน ผมเป็นเพียง ผู้มาอาศัย ข้อคน้ พบ หรือสิ่งสำ� คญั ท่คี ณุ ได้รับจากการเติบโตภายใน คอื อะไร ท�ำให้ชีวิตมีพลังขึ้นจากอิสรภาพท่ีมี มีทางเลือกมากข้ึน เข้าใจตัวเองและจัดการตวั เองไดด้ ีขึน้ มนั่ คงขน้ึ ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ไดม้ ากขน้ึ ลกึ ซึ้งขนึ้ ถ้าตืน่ เพือ่ รู้ในกระบวนการของจิต จะเหน็ วา่ จติ สร้างความ จรงิ ขนึ้ มาชดุ หนงึ่ แลว้ ทำ� ใหผ้ มรสู้ กึ รสู้ าไปกบั ความจรงิ ดงั กลา่ วท่ี ถูกสร้างขึ้น เมอ่ื รู้เช่นนี้ เรากเ็ ลือกท่จี ะไมย่ ดึ ปล่อยวาง เบาใจ และสบายใจไดม้ ากข้ึน — 45 —

ถ้าตื่นทางสังคมหรือนิเวศ เมื่อมนุษย์รับรู้ความทุกข์ยาก ของผู้อ่ืนหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และตระหนักถึงคุณค่าที่เขามีต่อ ความอยู่รอดของเราเองด้วย เราก็อาจรู้สึกหวงแหน ห่วงใย ผูกพัน ปกป้องหรือรักษาระบบนเิ วศนนั้ มากขึ้น ส�ำหรับตัวผม การตื่นเพื่อรู้ท�ำให้ผมมีความละเอียดอ่อน มองส่ิงต่างๆ อย่างประณีต แยกแยะ คมชัดมากข้ึน ทำ� ให้ผม วางใจตวั เองและโลกไดม้ ากขน้ึ มศี รทั ธาตอ่ ศกั ยภาพในการดำ� รง อยู่และจัดสมดุลของชีวิต คนรอบข้างก็อาจจะเห็นส่ิงนั้นในตัว ผม รบั ฟงั และเปิดรับมากข้นึ มากกว่าเอาตวั เองเป็นศูนย์กลาง ของการตัดสินถูกผดิ เปราะบางและจริงแท้กับตัวเองได้มากข้ึน กล้ายืนยันใน คุณค่าบางอยา่ งมากข้ึน คนเราจ�ำเป็นตอ้ ง ‘ตน่ื ร้’ู ไหม สำ� หรบั ผมไมม่ คี ำ� วา่ ‘ตอ้ ง’ ตนื่ รู้ ผมมองชวี ติ เปน็ กระบวนการ เรียนรู้ในการด�ำรงชีวิตให้มีความสุข โดยเรียนรู้จากความทุกข์ และข้อจ�ำกัดต่างๆ ที่จ�ำกัดตัวผมไม่ให้อิสระหรือมีความสุข ทำ� ใหผ้ มตอ้ งเรยี นรู้ รจู้ กั กบั ขอ้ จำ� กดั ภายในตวั เองเหลา่ นี้ จะตง้ั ใจ หรือไม่ตั้งใจ ชีวิตจะน�ำพาการเรียนรู้และการ ‘ต่ืนรู้’ ให้กับผม ไมม่ ากกน็ ้อย แตถ่ า้ ผมตง้ั ใจกอ็ าจทำ� ใหผ้ มเขา้ ใจไดม้ ากขน้ึ ลกึ ซงึ้ ขน้ึ แตก่ ็ ตอ้ งตง้ั ใจใหถ้ กู ทาง บางทตี งั้ ใจมากไปเปน็ อปุ สรรคตอ่ การตนื่ กม็ ี — 46 —

อุปสรรคทว่ี า่ คืออะไรบา้ ง อุปสรรคท่ีใหญ่หลวงคือความกลัวท่ีจะเปล่ียนแปลง แต่ ที่ส�ำคัญกว่าความกลัวคือ ความไม่รู้ว่าผมกลัว หมายความว่า กลัวที่จะเปลี่ยนแปลง กลัวความเป็นตัวผมแบบเดิมจะหายไป จะไม่มี ไม่ดำ� รงอยู่อีกตอ่ ไป คณุ ปลดตัวเองจากความกลวั นั้นได้ยงั ไง การเรียนรู้ แลกเปล่ียนแบ่งปันเร่ืองราวส�ำคัญๆ ที่ส่งผล กับชีวิตและสังคมตามความสนใจของแต่ละคน การมีแวดวงท่ี สนทนากันได้ลึกๆ มเี วลาทีจ่ ะครุ่นคิดใครค่ รวญและแบง่ ปนั จะ ท�ำให้การเรยี นรู้ลงลึกและเพิม่ เติมทศั นคตทิ ่กี ว้างขน้ึ ใหก้ ับผม สังคมทวี่ า่ น่าจะทำ� ให้เรารู้จักรับฟังและรับรู้กันและกนั มาก ข้นึ เห็นคณุ ค่าของส่งิ ตา่ งๆ ได้ลกึ ซง้ึ ข้ึน มากกว่าการชว้ี ัดตัดสนิ เชงิ ปรมิ าณหรอื สงิ่ ทม่ี องเห็นภายนอกท่เี ปน็ เพยี งปรากฏการณ์ สดุ ทา้ ย หากตอ้ งใหค้ ำ� แนะนำ� สำ� หรบั นกั เดนิ ทางหนา้ ใหม่ เพอื่ ไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลง ควรเรม่ิ ตน้ จากอะไรเปน็ อยา่ งแรก อาจลองค้นหาว่าเราแคร์อะไร ความสุขที่แท้จริงของเรา คืออะไร เอกลักษณ์พิเศษในตัวเราเองคืออะไร เราอยากสร้าง ประโยชนอ์ ะไรให้กบั ชีวติ ทเี่ กดิ มา ณ ปัจจบุ ันนี้ — 47 —

— 48 —

วางใจตวั เองและโลกไดม้ ากขนึ้ มีศรัทธาตอ่ ศักยภาพในการดำ�รงอยู่ และจดั สมดลุ ของชีวิต ณฐั ฬส วงั วญิ ญู — 49 —

ดีร้าย ไมม่ ีคำ�ว่า บงั เอิญ — 50 —