Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิวเซียมเล็กๆ ในโซล

มิวเซียมเล็กๆ ในโซล

Description: มิวเซียมเล็กๆ ในโซล

Search

Read the Text Version

SEOULLITTLE MUSEUM IN ตึกกอ็ ยู่ติดกบั คลองเนา่ ๆ สถานศกึ ษาบางแหง่ ก็อยใู่ กล้กบั ผบั วดั บางแหง่ ก็มี เพิงขายเหล้าดองยาอยู่ข้างๆ ถา้ ไม่นับเร่ืองความไม่เข้ากนั ในเชิงศลี ธรรมแบบนี้ กรุงเทพก็มีสีสนั ทีน่ ่าสนใจ อย่างโชห่วยแบบสมยั เก่าเราก็ยังมี รถเขน็ ขายอาหาร สารพัด ตกึ แถวทเ่ี ปิดขายของกันหลากหลายชนิด ความมชี ีวติ ชีวาเหล่าน้ผี มว่า เป็นเสนห่ ท์ ่ีนกั ทอ่ งเที่ยวชอบนะครับ บางทีเรารสู้ ึกว่ามนั จะมาเที่ยวดูอะไรกนั รา้ น โทรมๆ ซอยรกๆ ถนนแออดั เราอาจจะร้สู กึ เฉยๆ หรืออาจจะรูส้ ึกเหนอ่ื ยหนา่ ย แต่ เราก็ยังอย่กู ันไดไ้ มใ่ ชห่ รือ หลายคนบ่นวา่ อยากหนีไปใหไ้ กลๆ เอาเขา้ จรงิ ก็อาลยั อาวรณก์ ันทกุ ราย มนั คือวถิ ชี ีวิตแบบไทยๆ มนั คอื รปู แบบท่ีเราอยู่ทเ่ี ราเป็น ลอง ให้ร้ือเมอื งใหม่เอาใหม้ รี ะเบียบเปะ๊ ๆ ผมวา่ นักท่องเท่ยี วหนหี มด มันจะมอี ะไรให้ดู ล่ะครับถ้าทกุ อย่างอยใู่ นกรอบไปเสียหมด บ่นมาถึงตรงนี้ก็ไม่ได้หมายความว่าผมจะเห็นด้วยกับการอยู่แบบ เลอะเทอะไม่ต้องสนใจสภาพแวดล้อมว่ามันจะซกมกกันแคไ่ หน ผมวา่ เตมิ จติ สำ�นึกลงไปในจิตใจของคนเมือง เทา่ นี้กรงุ เทพก็น่าอย่ขู ึ้นมาได้แล้วครับ อาจจะ หนักหนาสักหนอ่ ยแตผ่ มเชือ่ ว่าทำ�ได้ อยา่ งทีโ่ ซลนห่ี ลายคนอาจมองวา่ บ้านเมอื ง เขาชา่ งศวิ ไิ ลซก์ ว่า ไมจ่ รงิ เลยครับ บางหลืบมุมของโซลกไ็ ม่ได้ยง่ิ หยอ่ นไปกวา่ กรงุ เทพเลย แตผ่ มคดิ ว่าเขามีจิตสำ�นกึ นะครับ ยกตวั อยา่ งการทง้ิ ขยะ ทโี่ นน่ ตอนดึกๆ ตามเสาไฟฟ้าหรอื ตามต้นไมร้ ิมทาง ชาวบา้ นเขากข็ นขยะออกมากองๆ กนั ไว้ แต่ ทีแ่ ปลกกค็ อื ทำ�ไมขยะบ้านเขาไม่เจง่ิ นองไปดว้ ยนำ้�โสโครก ไม่มีกล่ินเหมน็ โชยออก มา ไมม่ ตี กหกเร่ียราดตามพ้นื ให้เห็นรกตา เพราะเขามกี ารแยกขยะ ใส่ถุงเรยี บร้อย กองๆ ไวร้ อเทศบาลมาเกบ็ เปน็ บา้ นเรารึ ไม่ตอ้ งใสถ่ ุงหรอก เทมนั ดือ้ ๆ ลงพ้นื นน่ั เลย ตวั อยา่ งพ้ืนๆ แคน่ ้ีกเ็ หน็ ความตา่ งกนั แล้ว ๘๕

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๘๖

SEOULLITTLE MUSEUM IN อย่างทเ่ี ลา่ ไปวา่ เขต Jongno เตม็ ไปดว้ ยสถานที่ทม่ี คี ุณค่าทาง ประวัตศิ าสตร์ ท่ีผมชอบกค็ ือสถานทีเ่ หลา่ น้ีสามารถอยูร่ ว่ มกับพน้ื ทพี่ ักอาศยั ของชาวเมืองไดโ้ ดยไม่ต้องแบง่ แยกออกจากกัน ตดิ กบั พิพิธภัณฑ์หรือแหล่งเรยี น รทู้ างวฒั นธรรมกค็ ือบา้ นคนที่เขาใชช้ วี ติ อย่กู ินกนั จริงๆ มานาน มนั จงึ มีความ ผูกพนั จนเกิดความรกั และหวงแหนเสมือนเป็นครอบครัวเดยี วกัน ตวั อย่างที่เห็น ชัดคือชุมชน Bukchon แหล่งทอ่ งเท่ยี วทข่ี ึ้นช่อื สดุ ๆ ของเขต Bukchon เป็นชมุ ชนโบราณของกรุงโซล เป็นย่านท่ีมชี ื่อเสยี งอยา่ งมาก ในเขตน้ี ถ้าจะเปรียบใหเ้ ข้าใจง่ายๆ ก็คงจะพอๆ กบั อมั พวาหรอื สามชกุ ในบา้ นเรา นน่ั แหละครับ ทำ�เลทต่ี ัง้ ของชุมชนแห่งน้ีอย่ตู รงกลางของสามเส้าที่ประกอบไป ดว้ ยสถานทสี่ �ำ คญั สามแหง่ ไดแ้ ก่ พระราชวังเคียงบก พระราชวังชางดอ็ ก และภู เขาบูกัก มีชุมชนย่อยๆ อกี หลายแห่งรวมกนั อยู่ในพ้นื ทีแ่ หง่ นี้ ในสมัยราชวงศ์โช ซอนพื้นที่ได้ถูกตัดแบ่งให้มีขนาดเล็กลงกว่าเดิมเพื่อจุดประสงค์ทางการปกครอง และเศรษฐกจิ และยงั เป็นชมุ ชนส�ำ คัญทีต่ ง้ั อยใู่ จกลางนครฮานยาง เพราะอย่คู นั่ กลางระหว่างพระราชวังส�ำ คญั สองแห่ง เกือบครง่ึ หนึ่งของผูค้ นท่ีอาศัยอยใู่ นย่าน น้ี ล้วนแต่เป็นชนช้ันสงู พวกขนุ น�ำ้ ขนุ นางหรอื พ่อค้าวาณิชที่มหี นา้ มีตาในสังคม จึงไม่แปลกท่ีชุมชนแห่งนี้จะเป็นแหล่งรวมศิลปวัฒนธรรมท่ีสำ�คัญนับจากอดีต จนถงึ ปจั จบุ นั บกุ ชอนมอี ายุมากกว่า ๖๐๐ ปีเขา้ ใหแ้ ล้ว แตเ่ รากย็ ังเหน็ ร่องรอย ความเจริญเม่ือครง้ั อดตี อยู่ไมเ่ ปล่ยี นแปลง แหล่งท่องเท่ียวที่ข้ึนช่ือของยา่ นนกี้ ค็ ือ Bukchon Hanoks Village หรอื ชมุ ชนหม่บู า้ นโบราณท่ีใครไปเทยี่ วโซลกม็ ักจะแวะไปเยอื นเสมอ ทา่ นทเี่ คย ไป Bukchon Hanoks Village มาแล้วคงจะรู้สกึ ได้ว่าพน้ื ทีแ่ ถวนี้คอ่ นข้างเป็น เนิน เดี๋ยวสงู เดยี๋ วต�่ำ แลดูเป็นคล่นื ท่ีเปน็ เช่นนเ้ี พราะท่ดี นิ แถบมพี น้ื ท่เี อียงลาด ๘๗

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๘๘

SEOULLITTLE MUSEUM IN ลงไปทางใต้ ส่วนทางฝ่งั เหนอื นั้นจะเป็นเนินเขาสลับกันไปถึงสีแ่ ห่ง นอกจากน้ี ยงั มีทางน�้ำ ไหลผ่านซ่งึ จะขนานไปกบั แนวถนน ในปจั จบุ นั ลกั ษณะภูมปิ ระเทศอาจ เปลย่ี นแปลงไป แตบ่ ริเวณ Bukchon HanoksVillage จะยังคงสภาพเดมิ ได้เดน่ ชัดทีส่ ดุ หากสงั เกตจากภาพถา่ ยในหนงั สอื ทอ่ งเที่ยวตา่ งๆ กจ็ ะพอเหน็ ได้ ทีบ่ อกวา่ แถบน้ีเปน็ ท่ีอยู่ของบรรดาชนชั้นสงู ของเกาหลีน้ัน มตี ัวอยา่ งที่ เดน่ ๆ ก็เชน่ ปัก ยอง โฮ (Park Yeong Hyo) คนนเ้ี ปน็ นักการเมืองหวั กา้ วหนา้ มีบทบาทมากในช่วงปลายยุคโจซอง เปน็ หน่งึ ในขบวนการรฐั ประหารเมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๘๘๔ หลงั จากท่ีเกาหลไี ดร้ บั เอกราชจากญี่ปนุ่ ปกั ยอง โฮ ผู้นค้ี ือคนทอี่ อกแบบ Taegukki หรอื ธงชาติเกาหลีท่ีเราเห็นกนั ในปัจุบัน อีกทา่ นหนง่ึ ทคี่ นเกาหลีร้จู กั กนั ดีคือ คมิ ออ๊ ก ยุน (Kim Ok Gyun) นักปฏริ ปู คนส�ำ คัญของเกาหลี มีชีวิตใน ชว่ งปลายยคุ โจซอง รับราชการในรชั สมัยพระเจา้ โกจอง มปี ณิธานในการพฒั นา ประเทศเกาหลีหลังจากที่เป็นอิสระจากการปกครองของจีนและญี่ปุ่นตามลำ�ดับ มุ่งปฏริ ปู การปกครอง เทคโนโลยี การทหาร โดยยดึ แนวทางของชาตติ ะวนั ตก น่า เสียดายท่ยี ุคนัน้ เกิดความผันผวนทางการเมืองชนิดทเี่ อาแน่เอานอนไม่ได้ คมิ ถูก ลอบสังหารขณะพำ�นักอย่ทู ี่นครเซยี่ งไฮ้ ในปี ค.ศ. ๑๘๙๔ นอกจากสองท่านนี้แล้ว ยังมีปัญญาชนอกี มากมายเคยพำ�นักอยทู่ ีแ่ ถบนี้ ในช่วงท่ีเกาหลกี �ำ ลงั ปนั่ ปว่ น หลงั จากญ่ปี ่นุ ถอนก�ำ ลังออกไป Bukchon มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งชัดเจนที่สุดในช่วงทีก่ �ำ ลังดำ�เนนิ การแผนสิบปีแห่งการพัฒนาพนื้ ที่ (ค.ศ. ๑๙๖๐-๑๙๗๐) บริเวณเขตกงั นมั (Gangnam) หรอื พนื้ ท่ีฝ่งั ใตข้ องแมน่ ำ�้ ฮนั ถูกพฒั นาใหก้ ลายเป็นเขตเศรษฐกิจ ประชากรส่วนหนึ่งของเขตกังบุก (Gangbuk) หรอื พน้ื ท่ฝี ั่งเหนอื ของแมน่ �ำ้ ฮนั ก็ อพยพย้ายลงมาท่ีเขตกังนัม ในสว่ นพนื้ ที่ของ Bukchon ก็เกิดการเปลย่ี นแปลง ๘๙

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๙๐

SEOULLITTLE MUSEUM IN เชน่ กัน โรงเรยี นส�ำ คัญบางแหง่ ไดย้ ้ายออกไปเปน็ จุดเรมิ่ ต้นของการเปลี่ยนของ ครงั้ สำ�คัญ ผมคดิ วา่ ที่เปน็ เช่นนัน้ เพราะวา่ การมีโรงเรียนน่าจะบ่งบอกถึงสภาพ ชมุ ชนในบรเิ วณนนั้ แสดงวา่ ต้องมปี ระชากรอยพู่ อสมควรและสว่ นหน่ึงกค็ อื เดก็ ในวัยเรยี น การย้ายโรงเรยี นตามประชากรทีอ่ พยพออกไป จึงอาจเป็นการบอก เป็นนัยว่าพื้นที่แถบนั้นกำ�ลังจะถูกเปล่ียนไปใช้ประโยชน์ทางอื่นมากกว่าจะชุมชน ท่อี ยู่อาศัย การยา้ ยออกของโรงเรียนทีส่ ำ�คัญก็เชน่ โรงเรยี นคยุงกิ (Kyunggi High School) ทำ�การยา้ ยออกไปเมือ่ ปี ค.ศ. ๑๙๗๕ แตอ่ าคารของโรงเรยี นก็ถกู ดัดแปลงกลายเปน็ หอสมุดประชาชนจองดอ็ ก (Jeongdok Public Library) โรงเรยี นวมิ อ็อง (Whimoon High School) ทยี่ า้ ยออกไปเมือ่ ปี ค.ศ. ๑๙๗๘ ก็ ถกู สร้างใหมเ่ ป็นอาคาร ๑๕ ชัน้ ของ บรษิ ัทฮนุ ได หรอื โรงเรียนสตรจี างดุ๊ก (Changduk Girl’s High School) พอย้ายออกไปแล้วก็ถูกปรบั เปลีย่ นกลาย เปน็ ทต่ี งั้ ของอาคาร ศาลรฐั ธรรมนูญของเกาหลี เหล่าน้คี อื ตัวอยา่ งของการ เปล่ียนแปลงทางภมู ิทศั น์ของพ้ืนทแี่ ห่งน้ี แม้จะมีการพัฒนาเพ่ือเน้นความเจริญทางเศรษฐกิจแต่รัฐบาลเกาหลีเอง ก็มิได้ละเลยรากเหง้าของตนเอง รัฐบาลเร่มิ วางแผนทจ่ี ะให้พน้ื ท่ีบรเิ วณน้ีให้เขต อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมต้งั ปี ค.ศ. ๑๙๗๖ (หลงั จากท่ีอะไรๆ เรม่ิ เปลย่ี น เร่มิ มคี วามทนั สมัยเข้ามาในเขตนี้มากข้ึนๆ) อยา่ งไรกต็ ามแผนการนีฝ้ า่ ยรฐั เป็นผู้จัดการล้วนๆ โดยประชาชนส่วนหน่งึ ยังไมเ่ หน็ ด้วย ถ้าพูดแบบให้ทนั สมัยหนอ่ ยก็คอื ยังไมไ่ ดม้ ี การท�ำ ประชาพิจารณ์ การอนุรกั ษ์ในมุมมองของรัฐกับมุมมองของชาวบา้ นทเ่ี ปน็ เจ้าของพนื้ ที่ยงั คงขัดแย้งกนั ผมคิดว่าก็คงเหมอื นท่ีบา้ นเราน่ันแหละครับ หลายๆ แห่งถูกจัดการโดยฝ่ายรัฐซึ่งบางคร้ังก็ไม่ได้เข้าใจวิถีชีวิตของคนในชุมชนเลย ๙๑

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๙๒ แมค่ า้ ตง้ั แผงขายปลา ขอดเกลด็ กันรมิ ถนนเลย ท้ังทไ่ี ม่ใชเ่ ขตตลาด

SEOULLITTLE MUSEUM IN เอะอะกจ็ ะอนรุ กั ษจ์ นกลายเป็นพื้นทจ่ี ดั แสดงที่ไม่มีชีวติ การอนุรักษแ์ บบน้อี ย่าทำ� เสยี ดีกว่าครบั แตแ่ บบอย่างทดี่ ีๆ กม็ ีให้เหน็ มากมายนะครบั อยา่ งตลาดสามชุก อมั พวา ตลาดน�้ำ ด�ำ เนินฯ ผมวา่ น่ีคอื การอนรุ ักษ์ที่ยังคงวิถีชีวิตแบบชาวบ้าน ให้ พวกเขาไดม้ สี ่วนรว่ มหรอื ไมก่ ใ็ ห้พวกเขาด�ำ เนินการกนั เองเลย โดยทีร่ ฐั ท�ำ หน้าที่ เป็นกองหนนุ ชาวบา้ นเขามภี ูมปิ ญั ญาทีบ่ างครง้ั รัฐนึกไม่ถึงหรอกครบั เพราะ ชมุ ชนไม่ใชว่ ัตถุทจี่ ะมาตงั้ โชวแ์ หง้ ๆ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ เช่นเดียวกบั ท่รี ฐั บาลเกาหลที ำ� กับ Bukchon ท่ีพยายามปรับแตง่ พืน้ ที่ให้ดูดีดว้ ยการทำ�ลายอาคารบางสว่ นซะ งั้น ท�ำ ใหค้ นในพ้ืนท่เี ขาไม่คอ่ ยเหน็ ด้วยเลยพาลไมใ่ หค้ วามร่วมมือเสยี เลย พนื้ ที่ทน่ี ่าจะมปี ญั หามากท่ีสดุ ก็คือบรเิ วณ Bukchon Hanoks Village หมบู่ ้านโบราณที่นักท่องเที่ยวชอบไปชมกนั น่ันแหละครบั คำ�ว่า Hanok หรอื ฮนั อก แปลว่าบา้ นสไตลเ์ กาหลีโบราณ เปรยี บกับบา้ นเราก็ประมาณเรือนไทย บ้าน แบบฮันอกน่าจะคุ้นตากนั ดสี �ำ หรบั แฟนละครเกาหลี จุดเด่นท่ีชดั เจนก็คอื หลังคา ท่ีดูไกลๆ เราอาจจะนึกวา่ เปน็ ศาสนสถาน บ้านเรอื นของชาวเกาหลีที่เป็นอาคาร เก่ายงั คงสรา้ งดว้ ยหลังคาแบบนี้อยู่นะครบั เวลาเราไปเทย่ี วที่น่ันก็จะยงั เห็นบา้ น สไตลน์ ป้ี ะปนอยูท่ า่ มกลางตึกสูงๆ ทนั สมยั แมว้ ่ารปู ลกั ษณ์ภายนอกจะเป็นแบบ เดิมแต่การตกแต่งและจัดการประโยชน์ใช้สอยภายในบ้านจะถูกปรับเปล่ียนตาม ยุคสมัย ในเขตหมู่บ้านฮันอกทีน่ ี่กเ็ ช่นกนั บา้ นเกา่ ๆ บางหลังอาจจะยังคงสภาพ เดมิ เอาไว้เนอื่ งจากเอาไวโ้ ชวห์ รือถูกใชเ้ ป็นพพิ ิธภัณฑ์ แตห่ ลายหลงั ถกู ดัดแปลง ให้เข้ากบั วิถีชีวติ ยุคใหม่ โดยยงั คงสภาพภายนอกเอาไว้ ปัญหาก็คือบา้ นสไตลน์ ีจ้ ะ ๙๓

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๙๔

SEOULLITTLE MUSEUM IN ไม่สงู มากนัก เม่ืออยู่ท่ามกลางตึกสมยั ใหม่ก็ถูกบดบงั เสยี มิด อนั ที่จรงิ บุกชอนน้นั กินอาณาเขตกว้างขวางมากนะครับ การอนรุ กั ษ์ให้ คงความเปน็ ตน้ ฉบับคงท�ำ ไดย้ ากท่ามกลางความเจริญท่ีถาโถมเข้ามาแบบน้ี ครนั้ จะให้ประชาชนอยู่กนั แบบเกา่ ๆ คงจะทำ�ได้ยาก หลายๆ เขตในบุกชอนจึงจำ�เปน็ ต้องพฒั นาไปตามยคุ สมยั แต่บางพ้ืนท่กี ็ยังจ�ำ เปน็ ตอ้ งรกั ษาของเดิมไว้ อยา่ งหมู่ บา้ นฮันอกน่เี ป็นตน้ เขา้ สู่ปี ค.ศ. ๑๙๙๐ สภากรุงโซลก็เร่ิมออกกฎหมายควบคมุ การกอ่ สรา้ ง อาคารและควบคมุ ความสงู ของอาคารในบริเวณนี้ เนือ่ งจากอยใู่ กลเ้ คยี งกับเขต พระราชวัง อกี ท้งั อาคารใหม่ๆ ท่สี รา้ งขึน้ กใ็ ห้ความรู้สึกแปลกแยกจากบา้ นเรอื น โบราณแถมยงั บดบังทศั นยี ภาพทีส่ วยงามอนั เป็นจดุ เด่นของทน่ี ่ี จนในปี ค.ศ. ๒๐๐๐ มกี ารยกเครื่องระบบการจดั การอนุรักษค์ รั้งใหญ่ เนื่องจากการขยายตวั ของความเจรญิ ทส่ี ่งผลตอ่ ภมู ทิ ศั น์ โดยเฉพาะอาคารบา้ นเรือนทีเ่ รม่ิ มสี ิ่งปลกู สรา้ งแนวไฮโซมากขน้ึ องค์การพัฒนาแหง่ กรุงโซล (Seoul Development Institute : SDI) เข้ามารว่ มมือกบั ชาวบ้านออกกฎระเบียบข้อตกลงกนั ในชุมชน เก่ียวกับการก่อสร้าง การปรับปรงุ พื้นท่ี และเรอ่ื งอืน่ ๆ ท่ีจะสง่ ผลกระทบต่อ ภาพรวมของพ้นื ท่ี แต่กอ็ ยา่ งท่ีผมบอกไปว่าความเจริญมนั เขา้ มาจะห้ามก็คงไม่ ได้ พืน้ ทีเ่ ศรษฐกจิ บางจดุ กจ็ �ำ เป็นต้องปลอ่ ยไปตามความเหมาะสม ส่วนพื้นท่อี นุ รกั ษ์จริงๆ อย่างเขตจองโนนก่ี ต็ ้องรักษาเอาไวไ้ มใ่ ห้เปลย่ี นแปลง บนเนินในกลางชุมชนเปน็ ทตี่ ้งั ของ Bukchon Asian Art Museum ๙๕

SEOULLITTLE MUSEUM IN ตเู้ หลก็ ขนาดย่อมๆ ริมถนนในกรงุ โซล นี่คอื ร้านซ่อมรองเทา้ ๙๖ คนทน่ี ี่มันเดินกนั หนกั รไึ งก็ไม่ทราบ ร้านพวกนี้มีกันเกลื่อน

SEOULLITTLE MUSEUM IN เป็นมวิ เซยี มท้องถิน่ ท่รี วบรวมผลงานและถา่ ยทอดวถิ ชี าวบา้ น วธิ คี ิดแบบขงจือ๊ ซงึ่ รงุ่ เรืองมากในสมัยโชซอน และยังถือเปน็ ศนู ยก์ ลางทางวฒั นธรรมของชุมชนน้ี มีอาคารจัดแสดงและพ้ืนท่ีสำ�หรับเปิดสอนวัฒนธรรมพ้ืนบ้านให้กับนักท่องเท่ียว และเยาวชนในชว่ งปดิ เทอม อยา่ งเช่น พธิ ีชงชา งานหตั ถกรรมพน้ื บ้าน แนวคิด ของลัทธขิ งจื๊อ การเขยี นพู่กัน ฯลฯ จดุ เด่นของมิวเซียมแหง่ นค้ี ือพ้ืนทที่ ่ีอยู่ใจกลางชมุ ชน ท�ำ ให้มองเหน็ ทัศนียภาพโดยรอบได้อย่างชัดเจน และยังมองเหน็ พระราชวังเคยี งบก และ พระราชวังชางด็อก และทสี่ ำ�คญั คอื สถานท่ีตรงนย้ี ังเคยเปน็ ที่พำ�นกั ของ มงิ ซา ซอง (Meng Sa-Seong) ซึง่ เปน็ พระอาจารย์ของ พระเจา้ เซจงมหาราช กษัตรยิ ์ ลำ�ดับท่สี ี่แห่งอาณาจกั รโชซอน ในสมัยของพระองค์นั้นจัดเป็นชว่ งเวลาทอี่ าณา จกั รโชซอนรงุ่ เรืองมาก พระองค์เปน็ ผู้ประดษิ ฐอ์ กั ษรฮันกลุ ท่ชี าวเกาหลใี ชก้ นั ใน ปัจจบุ นั และพระองคเ์ ปน็ หนง่ึ ในสองกษัตริย์ของเกาหลที ไ่ี ด้รบั การขนานพระนาม “มหาราช” มีเร่อื งเล่าถงึ ความผกู พันของศิษย์กบั อาจารย์คู่น้ีวา่ พระเจ้าเซจงจะทอด พระเนตรมายังทบี่ า้ นของพระอาจารยเ์ สมอ หากเหน็ ว่าไฟยงั สว่างอยู่ พระองค์ก็ จะไม่เข้าบรรทม จะอา่ นหนงั สือศกึ ษาตำ�ราตอ่ จนกว่าไฟท่บี า้ นพระอาจารยจ์ ะดบั ลง พระองค์ถงึ จะเข้าบรรทม มีหลายเมืองในโลกถูกจัดให้เป็นพ้นื ทอี่ นุรกั ษ์ บางแหง่ ถงึ กบั รอื้ ระบบ เมอื งใหม่เพอ่ื คงความเปน็ เมืองแห่งวัฒนธรรมไว้ ผมว่าก็แปลก วฒั นธรรมมัน ไมใ่ ชแ่ ค่วัตถหุ รือสถานทีท่ ี่มองเหน็ จับต้องได้ มนั ไม่ใช่แค่วตั ถสุ ง่ิ ของที่มาต้ัง โชว์ให้คนมาเดินดูแลว้ ถ่ายรปู เมอื งทุกเมืองเป็นเมอื งวฒั นธรรมได้ เพราะมัน ๙๗

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๙๘

SEOULLITTLE MUSEUM IN คอื วิถีชีวิตโดยรวมของคนในสังคมตา่ งหาก ไม่ต้องมีใครไปจัดการไปก�ำ หนด รูปแบบอะไรใหว้ ุ่นวาย ปล่อยใหค้ นในพ้นื ท่ีเขาดแู ลกนั เอง อยา่ งเช่นชมุ ชน Bukchon นกี่ แ็ ถบจะดไู ม่ออกว่าเปน็ พ้ืนท่ีพิเศษ ชาวเมอื งเขากอ็ ยูก่ นั แบบนั้น มาแตไ่ หนแตไ่ ร ความนา่ สนใจท่นี กั ท่องเทีย่ วเขาต้องการมาสัมผสั คอื การเป็น อยู่อยา่ งธรรมชาติท่ไี ม่ใช่การจัดฉากอยา่ งจงใจ ๙๙

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๐๐

(Tteตok๊อกMมuิวsเeซuียmม) ๑๐๑

SEOULLITTLE MUSEUM IN หากใครเป็นแฟนละครเกาหลี อาจจะเคยเห็นอาหารชนดิ หนึ่งดเู หมือน ขนมเคก้ สสี ันน่ารับประทาน เป็นอาหารที่ปรุงไดท้ ั้งคาวและหวาน ดูไปอาจนกึ วา่ เปน็ โมจิของญ่ีปุน่ แต่มันคอื การแปรรูปอาหารชนดิ หนง่ึ จากภมู ปิ ัญญาของ คนเกาหลที ีเ่ ขามีชอ่ื เรยี กว่า ตอ๊ ก ต๊อก ภาษาอังกฤษเขาใชว้ ่า Rice Cake เพราะของกนิ ชนิดน้ที �ำ จากข้าว ทง้ั ข้าวเจา้ ข้าวเหนยี ว สว่ นประกอบก็มีขา้ วเปน็ หลัก แล้วก็เกลือ นำ�้ ตาล ธญั พชื ตา่ งๆ เอามาบด ปนั้ ผ่านกรรมวิธีนานา คอื น่งึ ต้ม ทอด มนั ก็จะออกมาหน้าตา เป็นก้อนๆ บางทีก็เตมิ ไสข้ ้างในจ�ำ พวกถ่ัวบดหวานๆ เนอ้ื แปง้ ออกจะเหนยี วสัก หนอ่ ย เจ้าของกินชนิดนีอ้ ยู่คคู่ นเกาหลีมานานมากๆ ตงั้ แต่สมัยโบราณ มกี ารน�ำ มาใช้ในพิธีกรรมต่างๆ เมือ่ เสร็จพิธีกจ็ ะกลายเปน็ ลาภปากของผู้คนไป เพราะข้าว เปน็ อาหารหลกั ของชาวเกาหลีเหมอื นๆ บ้านเรา ทีโ่ น่นเขาปลกู ข้าวในปรมิ าณที่ มากทเี ดียวและคนเกาหลีกก็ ินขา้ วจมุ าตั้งแตอ่ ดีต ประเทศเกาหลีมภี มู ิประเทศ ย่ืนออกสู่มหาสมุทร มีอากาศคอ่ นขา้ งแปรปรวน โดยส่วนใหญแ่ ล้วอากาศจะเยน็ เมือ่ ถงึ ฤดูหนาวกห็ นาวสดุ ขั้ว แถมดนิ แดนแถวนั้นกต็ ง้ั รบั ลมพายุประจำ�ฤดู วันดี คืนดีก็เจอพายไุ ตฝ้ ุ่นลกู โตๆ สร้างความเสยี หายเปน็ ระยะ แต่ขอให้ลองนกึ สภาพ แบบนี้เม่อื ในอดีต เป็นไปได้ไหมว่าคนเกาหลจี ำ�เปน็ ตอ้ งเก็บกกั อาหารไว้บรโิ ภค ยามเกิดภัยพิบัตติ า่ งๆ หรือแม้กระทง่ั ในช่วงฤดูหนาวทก่ี ารออกไปลา่ สัตว์หรือ ท�ำ การเพาะปลกู แทบจะเปน็ ไปไม่ได้ จึงมกี ารคิดคน้ วธิ ีถนอมอาหารรปู แบบตา่ งๆ ที่คุ้นกันดีกค็ อื กมิ จิ แลว้ ไหนจะอาหารหมกั นานาชนดิ อกี จวบจนมาถงึ ยคุ ปัจจบุ นั แมว้ ่าสภาพภูมิประเทศจะเปลยี่ นแปลงไปแล้ว แต่วัฒนธรรมการเกบ็ รักษาอาหาร ๑๐๒

SEOULLITTLE MUSEUM IN ยังคงอยู่ กลายเปน็ นสิ ยั การบริโภคประจ�ำ ชาติไปในทส่ี ดุ ตอ๊ กนก่ี ็อาจจะเหมอื นกนั คอื ก�ำ เนิดมาจากการแปรรูปขา้ วทก่ี นิ กนั แบบเดิมๆ เป็นการถนอมอาหารวิธีหนง่ึ ซึ่งอาจเป็นไปไดเ้ พราะ ตอ๊ ก นา่ จะเก็บรกั ษาไว้ไดน้ านกวา่ ขา้ วสวยธรรมดาแนน่ อน แถมยงั สามารถหยิบมากนิ ได้สะดวกและลดขน้ั ตอนการปรงุ ลง จนกระท่งั เรม่ิ มี การประดดิ ประดอยตกแต่งให้มีสีสนั และรูปร่างท่ีดสู วยงามและน่ากิน ยิง่ มายุคนี้ ท่ีเทคนคิ การทำ�อาหารก้าวหนา้ ขน้ึ ตอ๊ กจงึ พัฒนามาจนกลายเปน็ ของกนิ ทมี่ ีชือ่ เสียง ไม่ใชเ่ ปน็ เพียงอาหารโบราณท่ดี ูนา่ เบือ่ เหมอื นเดมิ ต๊อก หรือเคก้ ขา้ วน่ีนับเวลายอ้ นไปได้ถึงสมยั ยุคสำ�รดิ เลยทีเดยี ว ผมคดิ ว่าเดมิ ทมี ันก็คงไมไ่ ดม้ ีหน้าตาแบบท่เี ราเห็นทกุ วนั นี้ แต่เรม่ิ มีพัฒนาการมาเรอ่ื ยๆ ในยคุ สามอาณาจกั ร (ช่วงประมาณศตวรรษที่ ๕ เปน็ ชว่ งทแี่ ผน่ ดนิ เกาหลีถกู แบ่ง ออกเป็นสามก๊ก จากสามราชวงศ์ที่มอี ำ�นาจคานกัน) ซง่ึ สนั นิษฐานวา่ อาจมีการใช้ ธัญพืชชนิดอน่ื เปน็ ส่วนประกอบนอกเหนือจากข้าวดว้ ย และเป็นไปได้วา่ ต๊อกอาจ จะรบั ประทานกันเฉพาะในราชพธิ ีหรอื ในกลุม่ เจ้านายมากกว่า จนมาถงึ ยคุ อาณาจกั รโครยอ (ราวตน้ ศตวรรษที่ ๑๐) ตอ๊ กกก็ ลายเปน็ ท่ี นิยมแพรห่ ลายในหมชู่ าวบ้านมากขึน้ จนมาถงึ ยุคโชซอน (ศตวรรษท่ี ๑๐) ต๊อกก็ กลายมาเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตชาวเกาหลีซึ่งส่วนมากมักจะใช้เป็นส่วนหน่ึงของ งานมงคล แต่ถ้าจะท�ำ กินกนั เองภายในครอบครัวก็ไมแ่ ปลก คนเกาหลแี บง่ ต๊อกออกเปน็ หลายชนดิ แตห่ ลกั ๆ เขาแยกย่อยไว้สีป่ ระเภท คือ แบบต้ม (Boiled Tteok) มักทำ�ออกมาเป็นชิ้นเล็กๆ พอค�ำ หรอื ไมก่ เ็ ปน็ ๑๐๓

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๐๔

SEOULLITTLE MUSEUM IN ทอ่ นๆ มหี ลากสีสนั อย่างต๊อกโบกิทีข่ ายเกลือ่ นเกาหลนี ั่นก็ใช่ แบบน่งึ (Steamed Tteok) ทำ�ออกมาหลากหลายรูปแบบ เปน็ ชนิดท่ีคนุ้ หน้าคนุ้ ตากันมากท่ีสุด แบบ นวด (Pounded Tteok) คล้ายๆ วธิ ีการทำ�แปง้ โมจิของญปี่ ุ่น คือเอาขา้ วท่สี ุกแล้ว มากระหน�ำ่ ตีจนกลายเป็นก้อนแป้งเหนียวๆ จากนน้ั กน็ �ำ มาดดั แปลง ปรงุ รสหรือ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม และแบบผดั (Fried Tteok) หรืออาจจะเปน็ การทอดก็ได้ บาง คร้งั กจ็ ะเสริ ฟ์ แบบกระทะรอ้ น เป็นการเอาตอ๊ กมาปรงุ เปน็ อาหารคล้ายๆ กับพาส ต้า มหี ลากหลายเมนู เมอ่ื พจิ ารณาดๆี แล้ว ตอ๊ กกค็ ือการแปรรูปข้าวทก่ี ินกนั อยู่ทกุ วันนน่ั เอง ซึ่งวธิ ีการนกี้ ไ็ ม่ไดม้ แี คท่ ี่เกาหลี ทจี่ ีน ญปี่ ุน่ อนิ โดนีเซยี ก็มีกระบวนการแปรรูป ข้าวเหมอื นกัน หรอื เมทองไทยเราเองก็มนี ะครบั ขนมเขง่ นน่ั ไงละ่ ที่ไหวเ้ จ้ากันทกุ ปี น่ีก็ข้าวลว้ นๆ แต่เขา้ ใจวา่ น่าจะมาจากคนจนี นอกจากจะเป็นอาหารท่ีอรอ่ ย ต๊อกยังมคี วามสมั พนั ธ์กับวิถชี วี ิตของ คนเกาหลี โดยจะถกู นำ�มาเป็นอาหารในพธิ ีการสำ�คัญสำ�หรบั ชวี ิต อยา่ งเช่นพิธี ส�ำ คัญในแตล่ ะช่วงอายุ คือ เมื่อแรกคลอดได้ ๒๑ วนั ๑๐๐ วัน อายคุ รบ ๑ ปี ๖๐ ปี กจ็ ะมพี ธิ ีมงคลโดยมีต๊อกเปน็ อาหารมงคล ในงานมงคลสมรส พิธีร�ำ ลึกถึง บรรพบรุ ุษ งานปใี หม่ เทศกาลประจ�ำ ฤดูต่างๆ ลว้ นแตใ่ ช้ตอ๊ กเป็นอาหารมงคล ท้งั นัน้ ซ่งึ น่าจะเปน็ การบ่งบอกได้ชดั เจนว่าตอ๊ กหรอื ที่แทจ้ รงิ กค็ อื ข้าว มีความ สำ�คัญกบั คนเกาหลีชนิดที่แยกกันไม่ออกตั้งแต่เกิดจนตาย ๑๐๕

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๐๖

SEOULLITTLE MUSEUM IN ต๊อกมิวเซียม ตั้งอยู่บริเวณทเี่ ป็นยา่ นการคา้ อารมณ์ย้อนยุคประมาณ ตลาดนางเล้งิ พอขึ้นจากสถานรี ถไฟแล้วก็เดินทอดน่องมาเรื่อยๆ ไม่ทันเหนอื่ ย กเ็ จอครบั ระหวา่ งทางจะมีรา้ นรวงที่ขายของทีเ่ ป็นเกาลเ้ี กาหลี อย่างเชน่ ชุด ฮนั บก เครอ่ื งแต่งกายประจำ�ชาตบิ ้านเขา เครือ่ งแตง่ กายแบบเก่าๆ ท่ีนา่ จะใช้ ในเฉพาะพิธกี าร พวกเครื่องใชไ้ มส้ อย งานหัตถกรรม มกี ลองขายดว้ ย กลองท่ี เปน็ กลองขนาดใหญๆ่ ทีเ่ ขาเอาไวต้ ใี นพธิ กี ารต่างๆ ที่เราเคยเหน็ ในทีวีนน่ั แหละ ครับ บรรยากาศจึงดู Nostalgia เสยี เหลือเกนิ แถมผู้คนแถวน้ันก็ช่างเข้ากบั บรรยากาศเสยี ดว้ ย ไม่ค่อยเห็นหนมุ่ สาวสกั เท่าไหร่ เจอแต่รุน่ นา้ รนุ่ อา ไมก่ ็รุ่น คณุ ตาคุณยายนัน่ เลย คอ่ นขา้ งเงียบเชยี บครับ เจอผเู้ ฒา่ มานง่ั ตากแดดกันสลอน ดีทม่ี ีนกั ท่องเทย่ี วพอสมควรไม่ง้ันคงคิดวา่ เปน็ อุทยานผู้สงู อายุเปน็ แน่ เดินมาสกั พกั กจ็ ะเจออาคารสูงสบิ กว่าชนั้ อยูร่ ิมถนนเลยครบั ดา้ นลา่ ง เป็นร้านอาหาร ตกึ นี้เปน็ ทีต่ ้งั ของตอ๊ กมวิ เซียมทวี่ า่ นี้ และยังเปน็ ท่ตี ้งั ของ The Institute of Traditional Korean Food แปลเปน็ ไทยก็คงประมาณ สถาบัน อาหารพน้ื บา้ นเกาหลี เป็นสถาบนั ท่ตี ัง้ ขึ้นมาเพือ่ อนุรกั ษแ์ ละเผยแพรว่ ัฒนธรรม การกนิ ของคนเกาหลีในยุคอดีต ซ่ึงต๊อกกเ็ ป็นหน่ึงในนน้ั กอ่ ตั้งขนึ้ โดย ดร. ยนู ซุก จา (Yoon Sook-Ja, Ph.D.) เธอเปน็ ปรมาจารยด์ ้านอาหารของเกาหลี เปน็ คนท่ีมีชอ่ื เสียงระดับโลกเชยี วนะครับเจา้ ปา้ คนน้ี ทหี่ น้าตกึ กจ็ ะมคี ตั เอาต์ขนาด ใหญม่ รี ูปป้ายูนยืนเดน่ เป็นสง่าอยู่ สถาบนั แหง่ น้ียงั เปดิ สอนทำ�อาหารเกาหลีให้ แก่คนท่ีสนใจดว้ ย ตอนทผี่ มไปน้นั เป็นช่วงบ่ายพอดี เหน็ มีหลายคนข้นึ ตกึ ไปซง่ึ นา่ จะเป็นนักเรียนของสถาบันนนั่ แหละครับ เขายังเปดิ สอนสำ�หรับนกั ท่องเท่ยี ว ที่สนใจด้วย แตจ่ ะเปดิ เฉพาะเทศกาลหรอื ยา่ งไรผมกไ็ มท่ ราบได้ สถาบันอาหารท่ีว่าน้ีความจริงแล้วไม่ใช่เป็นแค่โรงเรียนสอนทำ�อาหาร ๑๐๗

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๐๘

SEOULLITTLE MUSEUM IN เหมอื นบา้ นเรานะครับ เนื้อทีส่ บิ ช้ันของตกึ หลงั น้ีประกอบไปด้วยสว่ นงานทเี่ ห็น แล้วต้องทง่ึ อยา่ งชั้นหน่งึ ถึงสามนเี่ ป็นส่วนของร้านค้าและมิวเซยี ม เหนือขน้ึ ไป ไลเ่ รยี งขนึ้ ไปจากช้ันสี่กเ็ ป็น ศนู ยศ์ กึ ษาการครวั ในราชสำ�นกั ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นา อาหาร ศนู ย์เครือ่ งด่ืมหมักและชาพ้ืนบ้าน ศนู ย์ต๊อกศกึ ษา ห้องสมดุ ห้องวิจยั ตอ๊ ก ศูนย์กมิ จิศึกษา คดิ ดสู ิครับ แคต่ ๊อกกบั กมิ จเิ ขาก็ตง้ั เป็นศูนยศ์ ึกษาวิจยั กนั เอาจริงเอาจังเลยทเี ดียว เขา้ สภู่ ายในตึกจะเปน็ ทางเดนิ แคบๆ ด้านล่างจะเปน็ รา้ นอาหาร ตัว พิพิธภณั ฑ์นั้นต้งั อย่ทู ีช่ น้ั ๒-๓ ของตกึ ชั้นสี่ขึน้ ไปนั้นเปน็ ส่วนของสถาบัน ซึ่งถ้า ไมม่ กี จิ ธรุ ะอนั ใดเขากห็ ้ามข้ึน ดา่ นหน้าจะมีคณุ ยายสองท่านนั่งเม้าทแ์ ตกกันอยู่ ซ่ึงพอเห็นผมก็พอจะเดาออกวา่ มันมาดูมวิ เซยี มแนๆ่ ประโยคแรกท่ีแกบอกก็คอื ๒,๐๐๐ วอน คือแกไมไ่ ดพ้ ดู หรอกครับ แกชี้ไปทีโ่ บรชวั ร์ว่าจา่ ยมาก่อนสองพันแลว้ ถงึ จะเขา้ ไปดูได้ พอเห็นเปน็ คุณยายผมกร็ ทู้ ันทวี ่าถามอะไรไปคงไมร่ เู้ รอื่ งแนๆ่ (ถ้า ทา่ นไปอาจจะไมโ่ ชคดี อดเจอคุณยายแบบผมกไ็ ด้นะครบั ) รูปแบบการจัดแสดงของท่ีนกี่ เ็ รยี บๆ ครบั มีการจ�ำ ลองครัวโบราณของ เกาหลี ให้เราเหน็ ว่าสมัยก่อนเขาท�ำ ครัวกนั อยา่ งไร มอี ปุ กรณ์หนา้ ตาแปลกๆ หลายชน้ิ ที่ไม่คุ้นเคย คือไม่ใชจ่ ะแสดงเฉพาะตอ๊ กเทา่ น้ัน จะยงั แสดงบรรยากาศ การทำ�ครัวของเกาหลเี อาไวใ้ หเ้ ราดูดว้ ย ส่วนของต๊อกนัน้ ก็นา่ สนใจครับ เขา จ�ำ ลองตอ๊ กแสดงไวม้ ากมาย ผมวา่ เป็นร้อยชนิดเชียวละ่ แต่ละแบบก็มีสีสัน สวยงามจนไม่น่าเช่ือว่าท�ำ มาจากข้าว และทส่ี งสัยมากๆ ก็คือ ขดลายตา่ งๆ ท่ีวน เป็นวงน้นั เขาทำ�ไดอ้ ยา่ งไร การมาชมของผมในครั้งนม้ี ีข้อท่นี า่ เสยี ดายอยคู่ รบั นั่นคอื วนั ทผ่ี มมาชม นัน้ ค่อนขา้ งเงยี บเหงา ไมม่ เี จ้าหน้าทีม่ าคอยใหค้ วามรู้ ซ่ึงอาจเปน็ ไปไดว้ ่าเขาจดั ๑๐๙

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๑๐

SEOULLITTLE MUSEUM IN ไวส้ �ำ หรับคนท่ีมาเป็นกล่มุ เทา่ นั้น ส่วนมาเด่ยี วๆ แบบผมกอ็ า่ นปา้ ยเอาเองละกัน แลว้ บอกไวก้ อ่ นว่าทีน่ ่เี ขาห้ามถ่ายรูป แต่ใครจะละเมิดกฎดกู ็ตามใจนะครบั เดินดไู ปดมู าก็เรม่ิ อยากลองชิมดูแล้วสวิ า่ ตอ๊ กมนั มีรสชาติยังไง จะอรอ่ ย เหมอื นหนา้ ตามันมย้ั นอ้ หลังจากชมจนหน�ำ ใจผมก็ลงมาชนั้ ล่าง เจอสองคณุ ยายนัง่ ยิม้ แฉง่ รอ อยู่ ผมกส็ ง่ ภาษาใบ้ทนั ทีว่าจะลองกินต๊อกไดท้ ไี่ หน คณุ ยายควา้ มือผมจงู ไปทรี่ า้ น ชน้ั หน่งึ ทนั ที กค็ อื ร้าน Tteok Café Jilsiru ทอี่ ยู่ตรงทางเขา้ นน่ั แหละครับ พร้อม ผายมือเชือ้ เชญิ วา่ เอาเลยๆ เลือกซ้อื ได้เลย ... แหม นึกวา่ จะมีให้ชมิ ฟรี ร้าน Tteok Café Jilsiru ทีว่ า่ น้กี ็คือสว่ นหนึ่งของสถาบนั อาหารน่แี หละ ครับ ทนี่ เี่ ปน็ เหมือนคาเฟ่เอาไว้น่งั จบิ ชากนิ เค้ก แตเ่ ปน็ เค้กข้าวนะครบั บรรยากาศ ดเู หมอื นภัตตาคารจีน มีคณุ พนักงานสาวคนสวยคอยตอ้ นรับ ทีห่ นา้ รา้ นเขากำ�ลงั สาธติ ทำ�ขนมพนื้ บ้านอยูค่ รบั เขาก็ทำ�ไปแล้วก็เช้ือ เชิญคนท่เี ดินผา่ นไปมาใหม้ าชมิ ฟรี กลุม่ เปา้ หมายกเ็ ปน็ นักท่องเท่ยี ว แต่อยา่ งท่ี บอกวา่ วันนัน้ มนั ชา่ งเงียบเหงาจริงๆ นอกจากผมแล้วนานๆ จะมีฝรั่งผ่านมาซกั คนสองคน ผมกป็ ร่ีเขา้ ไปยนื ดูด้วยความสนใจ ก็เหมอื นกับเขาสาธิตใหผ้ มดคู น เดียวนัน่ แหละ เชฟเขาอธบิ ายว่ามนั คือสแนคแบบเกาหลี ซึง่ ผมมองมันเปน็ ข้าว ซอยตัดทม่ี ีขายทก่ี าดหลวงเชยี งใหม่ชัดๆ วธิ กี ารกค็ อื เขาจะเอาขา้ วทอดมาผดั กับ เครอ่ื งปรงุ มีน้ำ�เชือ่ มเปน็ ตัวยึด เมือ่ ส่วนผสมไดท้ ี่ก็เอาข้นึ มาแผใ่ หเ้ ย็นแล้วตัดเปน็ ชน้ิ ๆ พอเย็นแล้วกจ็ ะกรบุ กรอบ มนั ก็ข้าวซอยตดั บ้านเฮาชัดๆ ๑๑๑

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๑๒

SEOULLITTLE MUSEUM IN รสชาติน้ันขอบอกว่าจืดสนิท แต่กลบั เคีย้ วมันได้ใจจริงๆ ครับ ระหวา่ งท่ี ยืนชมิ ไปหลายช้นิ ก็มฝี รง่ั กลุ่มหนึง่ แวะเขา้ มาพอดี เชฟกเ็ ลยไดส้ าธติ อกี รอบ สว่ น ผมกห็ นีเข้ามาหาเชฟคนสวยในรา้ นดีกวา่ ภายในรา้ นมตี ๊อกให้เลอื กมากมาย เอาละ่ สิ เลอื กไมถ่ ูกล่ะ สนนราคาก็ หลากหลาย หลักรอ้ ยวอนหรือจะเปน็ แพค็ ขายกันเปน็ หลักพันวอนกม็ ี ผมเลือก ชน้ิ เล็กๆ จะไดก้ ินหลายๆ แบบ ก็เลยชวนคุณพนักงานคนสวยคยุ ว่าแบบไหนดี เธอ ก็แนะนำ�โนน่ นว่ี ่าแบบนยี้ อดฮติ เลยนะ แบบนีอ้ อกใหม่ สุดท้ายผมก็เลือกเอาทุก แบบที่เธอแนะนำ� ไดม้ า ๕ ช้นิ ซง่ึ ทีแรกกค็ ดิ วา่ ไมเ่ ท่าไหร่หรอก ช้ินเล็กนดิ เดียว จากนัน้ เขากต็ ดั แบ่งใสจ่ านกระเบอ้ื งสวยๆ มาเสิรฟ์ พรอ้ มน�ำ้ ชา พอมาถงึ โตะ๊ แล้วเร่มิ รูส้ ึกว่ามันก็ดูเยอะเหมอื นกันแฮะ ค�ำ แรกทกี่ ินขอบอกวา่ ทำ�เอาอ้งึ ไป เลย เพราะมนั คอื ขา้ วชดั ๆ (กท็ �ำ จากขา้ วน่นี ะ) อารมณ์เหมือนกินขา้ วเลยจรงิ ๆ มนั จะหนืดๆ กนิ แลว้ ฝืดคอ แตไ่ สข้ ้างในท่ที ำ�จากถั่วบดอร่อยมาก รสหวานพอดี ช้ิน ต่อมากเ็ รมิ่ นิ่มข้ึน แตพ่ อชิน้ ต่อมากเ็ ริ่มจะรูส้ กึ อดึ อัดละ เจา้ ตอ๊ กน่มี ีหลายชนิดนะครับ บางชนดิ เขาจะทำ�แบบแหง้ ๆ บางชนดิ จะ นุ่มนิม่ และชมุ่ ฉ่ำ�สกั หนอ่ ย คงเพราะผมเลือกอนั แหง้ ๆ เองละ่ ม้ัง กวา่ จะกินจน หมดก็เล่นเอาเมือ่ ยกราม โดยรวมแลว้ รสชาตอิ าจจะไมถ่ กู ปากคนไทย รสชาติ มนั เหมือนกนิ ข้าวน่ันแหละครับ ขนมของเกาหลีเกือบทง้ั หมดจะไมเ่ นน้ รสชาติ หวานอย่างทค่ี นไทยคนุ้ ลนิ้ แต่จะเน้นทร่ี สชาติดง้ั เดมิ ตามธรรมชาติของวตั ถุดิบ มากกว่า แต่อนั นกี้ ็แล้วแตร่ สนยิ มนะครบั บางทา่ นอาจจะชอบ แต่ส�ำ หรบั ผมแลว้ สองพนั วอนทจี่ ่ายไปทำ�เอาอดึ อดั พอดู เพราะมันกำ�ลังอืดอยใู่ นทอ้ งผมซะแลว้ ๑๑๓

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๑๔

SEOULLITTLE MUSEUM IN แน่นอนว่าเม่ือมาถึงต๊อกมิวเซียมก็คงจะต้องมาทำ�ความรู้จักกับผู้บุกเบิก กนั สักหนอ่ ย นน่ั กค็ ือ ดร. ยนู ซกุ จา ปา้ ยนู คนน้ีไม่ธรรมดานะครบั เป็นกรู ูอนั ดับตน้ ๆ ของเกาหลดี า้ น วัฒนธรรมการกนิ นอกจากจะเปน็ ผจู้ ดั การ ต๊อกมิวเซียม และ สถาบนั อาหาร พ้นื บา้ นเกาหลี ยังทำ�หน้าที่เป็นอาจารยส์ อนวิชาทำ�อาหาร เขียนต�ำ รา และเปน็ เสมอื นตวั แทนของชาวเกาหลใี นการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมการกินแบบพ้นื บา้ น พนื้ เพแต่เดิมของปา้ ยนู มาจากเมืองเกชอง (Gaeseong) ซึง่ อยใู่ นเขต เกาหลีเหนือ แตเ่ ดิมนนั้ เป็นเมืองหลวงของอาณาจกั รโครยอ ตน้ ตระกลู ของป้าก็ ตั้งหลกั ปกั ฐานอยทู่ ีน่ จ่ี นมาถงึ ในยคุ โชซอน ซึ่งรับเอาลทั ธขิ งจ๊ือเข้ามาเต็มๆ ทำ�ให้ ในช่วงเวลานนั้ ตระกูลยูนท่เี ขา้ ใจวา่ น่าจะพอมีหน้ามีตาในสงั คมอย่พู อสมควร ตอ้ ง ต้อนรบั ลูกศิษย์ลูกหาหรือบคุ คลหลากหลายที่มาประกอบพิธกี รรมต่างๆ การที่ ต้องคอยต้อนรับผู้คนมากมายทำ�ให้จำ�เป็นต้องมีการจัดหาข้าวปลาอาหารรับรอง ต้นตระกูลของป้าจึงน่าจะตอ้ งพอมฝี ีมอื ในการจัดการอาหารอยพู่ อตวั และทำ�การ ถา่ ยทอดกันมารุน่ ส่รู นุ่ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตามประเพณขี องเกาหลี เรอื่ งการครัว จะตกเป็นหนา้ ทีข่ องลูกสะใภ้ ซ่งึ วิชาการทำ�ครัวกไ็ ด้ตกมาถึงรนุ่ คุณแม่และสง่ ตอ่ มาถงึ ตัวเธอในท่ีสดุ “คุณแม่ของฉันท่านนับว่าเป็นเลิศเร่ืองการครัวและเร่ืองการเป็นแม่ศรี เรือนช้นั ยอด โดยเฉพาะเร่อื งการทำ�ครวั ฉันเรียนรู้จากทา่ นมาถึงสามสิบปจี น กระทัง่ ท่านจากไป” ป้ายูนในวัยเยาว์เป็นเด็กท่ีกระตือรือร้นและสนใจเร่ืองการครัวเป็นอย่าง มาก โดยเฉพาะการจดั เตรียมอาหารชดุ ของเกาหลีท่ีเรยี กวา่ ฮานซกิ (Hansik) อันเปน็ อาหารฟูลคอร์สต้นต�ำ รับทป่ี ระกอบไปดว้ ยอาหารคาวหวานมากมาย ฮาน ๑๑๕

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๑๖

SEOULLITTLE MUSEUM IN ซิก ทค่ี รบถ้วนและถกู ต้องใชว่ า่ จะหากนิ กนั ได้ง่ายๆ เปน็ วฒั นธรรมของเกาหลที ี่ ตกทอดมาถงึ ปจั จุบนั โดยป้ายนู เป็นหน่งึ ในผู้ที่เช่ียวชาญอย่างท่ีสุด “ฉนั เรียนรจู้ ากการลงมือทำ�จริงๆ ภายใต้กรอบและระเบยี บการฝกึ ฝน ท่เี ขม้ งวด ฉันผา่ นพ้นโรคร้ายมาได้ส่วนหน่งึ เพราะอาหารที่เป็นของด้ังเดมิ ของ ประเทศของเรานเ่ี อง” ปา้ เลา่ ถึงประสบการณเ์ มือ่ ครั้งทตี่ ้องเผชิญกับโรคมะเร็ง “สขุ ภาพทด่ี เี กิดจากนิสยั การกินทด่ี ี สำ�หรับฉนั จะไม่เคยอดอาหารหรอื ขา้ มอาหารมือ้ สำ�คญั นน่ั เปน็ กฎประจำ�ตวั ฉันมคี วามสขุ กบั การกนิ อาหารประเภท ถัว่ มาก คณุ รู้ไหมวา่ ถัว่ เปน็ อาหารท่มี โี ปรตนี มากท่สี ดุ ในบรรดาพชื ดว้ ยกนั มัน ท�ำ ใหร้ ะบบย่อยอาหารเราดี มันยังแปรรูปเป็นอาหารอนื่ ๆ ไดม้ ากมาย อาหารแทบ ทุกมอ้ื ของฉันจะตอ้ งมีถ่ัว ขา้ ว และธญั พชื อน่ื ๆ ประกอบด้วยเสมอ” นอกจากน้ีเธอยังใหค้ วามสำ�คัญกับข้าวและผกั อยา่ งมาก เพราะทง้ั สอง อยา่ งเป็นส่วนประกอบส�ำ คญั ของฮานซิก โดยเฉพาะผกั ทเ่ี ปน็ เครอื่ งเคยี งสำ�คญั เธอย้ำ�ว่าผักคือสิ่งสำ�คัญทชี่ ว่ ยยบั ยง้ั ปริมาณคอเลสเตอรอล รักษาระดบั ความดนั เลอื ดและยังช่วยในการขบั ถา่ ยได้อยา่ งวเิ ศษ แต่ชาวตา่ งชาตทิ ีม่ ักมองว่าฮานซกิ น้นั มสี ว่ นประกอบสำ�คญั คอื กมิ จิ ซ่งึ พวกเขารู้สึกวา่ มนั ตอ้ งมรี สชาติทีเ่ ผด็ ร้อน แนๆ่ “มีวารสารด้านสุขภาพของอเมริกาได้เลือกให้กิมจิเป็นหน่ึงในห้าของ อาหารเพอื่ สขุ ภาพของโลกมาแล้วนะ แต่คนส่วนมากกย็ ังคิดเอาเองว่ากิมจิน่มี ัน จะตอ้ งเผด็ รอ้ นมาก ไม่จริงเลยนะพ่อคุณ กิมจิของเกาหลนี ะ่ มีมากกวา่ หนง่ึ รอ้ ย ชนิดเชียว ดังนัน้ มันจึงมรี สชาตทิ หี่ ลากหลาย ซ่ึงเพียงพอทจี่ ะให้ทุกคนเลอื กแบบ ท่ถี ูกปากไดบ้ า้ งล่ะ ถา้ ใครคดิ วา่ กมิ จิมีแตส่ แี ดงและรสเผด็ ผดิ ถนัด กมิ จิสขี าวก็มี แล้วทร่ี สไมเ่ ผด็ ก็มี ขอบอก” ๑๑๗

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๑๘

SEOULLITTLE MUSEUM IN อาหารฮานซกิ ท่ีป้ายนู เลอื กว่าเหมาะส�ำ หรบั ชาวต่างชาตกิ ็คอื Doenjang Jjigae มันก็คอื สตวู ์แบบเกาหลที ่ีใส่ถั่วหมกั (คลา้ ยซุปญป่ี ่นุ ท่ใี ส่มโิ ซะ) ใส่ผกั นานา ชนดิ มีรสค่อนขา้ งจดั จา้ น ทานกบั ข้าวสวยรอ้ นๆ สว่ นประกอบของอาหารจานนี้ เธอบอกวา่ ล้วนแต่ช่วยยับยงั้ การเกดิ มะเร็ง อกี จานหน่ึงทเี่ ธอแนะน�ำ คือ Bibim- bap เมนนู ค้ี นไทยทชี่ ื่นชอบวัฒนธรรมเกาหลนี า่ จะคนุ้ เคยกันดี มีสว่ นประกอบ สำ�คัญคอื ผกั นานาชนิด ซง่ึ ถา้ เป็น Bibimbap ท่ีครบสูตรจะต้องเป็นผกั ห้าสี และ มีท้งั ผักสดและผกั ดอง มีข้าวสวยหย่อมนงึ ใสเ่ น้ือดบิ ไข่ดบิ และปรงุ รสดว้ ยซอส ท่ีท�ำ จากพรกิ และเคร่อื งเทศ ดูๆ ไปแล้วก็คลา้ ยขา้ วยำ�บา้ นเราน่นั เลย ท้งั สองเมนู นี้เธอบอกว่ารสเลิศเป็นที่สุดและน่าจะเหมาะกับชาวต่างชาติที่อยากจะลิ้มลอง อาหารเกาหลีของจริง และทขี่ าดไมไ่ ด้คอื ต๊อกหรอื เคก้ ขา้ ว เธอบอกว่าต๊อกกเ็ หมอื นกบั ขนมปงั หรอื คุ้กกข้ี องชาวตะวันตกน่ันแหละ จะกนิ เอาอ่มิ หรอื จะกนิ เป็นขนมกไ็ ดท้ ั้งนนั้ ป้ายูนท้ิงท้ายไว้ด้วยว่าอาหารเกาหลีน้ันแท้จริงก็คืออาหารเพ่ือสุขภาพ ของยคุ นี้ เธอมีความตัง้ ใจทจ่ี ะเผยแพรว่ ัฒนธรรมการกินของเกาหลใี หก้ ระจาย ไปทว่ั โลก ดว้ ยโปรเจคตน์ านาชนิดทเี่ ธอคดิ คน้ หรอื รว่ มมอื กับหนว่ ยงานตา่ งๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชน (ต๊อกมวิ เซียมก็เปน็ หนง่ึ ในนัน้ ) ไมแ่ ปลกทีจ่ ะพบเหน็ เธอใน เทศกาลอาหารหรอื เทศกาลวฒั นธรรมของเกาหลีท่ีจดั ตามประเทศตา่ งๆ งานชิน้ ล่าสุดท่ีเธอก�ำ ลงั ทำ�อยคู่ ือเขียนหนังสอื รวบรวมอาหารเกาหลี ๓๐๐ ชนิด เผยแพร่ ไปทัว่ โลก โดยอิงกับกระแสคลืน่ ความคล่งั เกาหลีท่กี ำ�ลงั กระจายไปทว่ั โลก เปน็ ยังไงล่ะครับ นคี่ อื ไอเดยี บรรเจิดในการถ่ายทอดวัฒนธรรมของ เกาหลีท่ีไม่ใช่เพยี งเป็นวฒั นธรรมทางเลือกส�ำ หรบั แค่นกั ทอ่ งเทีย่ วเท่าน้ัน แต่ ๑๑๙

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๒๐

SEOULLITTLE MUSEUM IN เขาก�ำ ลงั จะพาวฒั นธรรมของตนเองกระจายไปส่สู ากล ทำ�ไมคนไทยถงึ คลั่ง ไคล้เกาหลี หรอื ประเทศอนื่ ๆ ในฝง่ั ตะวันออกก็กลายเป็นคนคล่งั เกาหลี ขนาด วยั รุน่ ในตะวันตกบางประเทศกย็ ังพลอยตดิ กระแสไปดว้ ย กับบา้ นเราแล้วชาว ต่างชาตินึกถึงอะไรครบั สมมุตถิ า้ เป็นอาหารไทยท�ำ ไมเขาถงึ นกึ ไดแ้ ค่ ตม้ ย�ำ กงุ้ กบั ผดั ไทย อาหารไทยด้อยกวา่ เกาหลรี กึ เ็ ปลา่ ถา้ เราม่งุ ม่ันแล้วเติมความ คิดสร้างสรรคล์ งไป ฮานซกิ กเ็ ถอะ สูก้ ับข้าวไทยเราไมไ่ ด้หรอกครับ ๑๒๑

SEOULดร. ยนู ซกุ จา (YoonILNSIToToLkE-JMa,UPShE.UDM.) ๑๒๒

ดูพธิ ีชงชาที่ อนึ เฮียนกุง ๑๒๓

SEOULLITTLE MUSEUM IN ประเทศเกาหลีนั้นต้ังอยู่ตรงกลางระหว่างสองมหาอำ�นาจของเอเชีย คอื จีน และ ญป่ี ุ่น จึงเป็นธรรมดาทเี่ กาหลจี ะได้รับเอาวฒั นธรรมมาจากทั้ง สองประเทศ โดยเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่ทมี่ ีอารยะธรรมเกา่ แกย่ นื ยาวมากกวา่ หรือจะบอกวา่ เกาหลีได้อทิ ธพิ ลมาจากจีนแบบเตม็ ๆ กค็ งไม่แปลก แตเ่ มื่อเวลา ผ่านไปคนเกาหลีก็เริ่มปรับเปลี่ยนส่ิงที่ได้รับมาให้กลายเป็นวัฒนธรรมของ ตนเองได้อย่างกลมกลืนและกส็ บื สานเรอื่ ยมาจนถึงปจั จบุ นั ซึง่ วฒั นธรรม อยา่ งหนง่ึ ที่ผมจะพาไปรู้จกั น่ันคอื การด่ืมชา เกาหลีเป็นชาติท่ดี ่มื ชาจนติดเป็นนิสยั ไมแ่ พ้คนจนี หรือญป่ี ุ่น วฒั นธรรม การดืม่ ชาเขา้ มาในคาบสมทุ รเกาหลเี มือ่ ไหรน่ ้ันผมก็ไมแ่ น่ใจนัก เพราะเท่าที่คน้ ดู แตล่ ะตำ�ราก็วา่ ไมต่ รงกัน ท่เี ห็นเกา่ สดุ ก็ว่าเข้ามาในสมยั อาณาจกั รซิลลา (ราว ๕๗ ปีกอ่ นคริสตศักราช) และยังพบหลกั ฐานวา่ มีพธิ ีการชงชาในราชส�ำ นกั ในยคุ อาณา จกั รโครยอ (ราว ค.ศ. ๙๑๘) โดยเป็นหนึ่งในพธิ ีทางพทุ ธศาสนา จะเก่าแก่แค่ไหนผมก็ไม่ทราบแน่ชัดแต่แน่นอนว่าต้องย้อนหลังไปเป็นพัน ปแี น่ๆ การดมื่ ชาในสมัยก่อนกเ็ พือ่ ใหร้ า่ งกายสดชน่ื กระปรีก้ ระเปร่า ขับไล่ความ ง่วง ซึง่ เข้ากนั ดีกบั พธิ กี ารทางพทุ ธศาสนาท่ีต้องอาศัยสมาธิ ดังนัน้ การดื่มชาจงึ เป็นอกี หนง่ึ พธิ ีกรรมทช่ี ว่ ยขดั เกลาจิตใจ ถา้ จะวา่ กนั ตามหลักวทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ ฤทธขิ์ องชาท�ำ ใหผ้ ดู้ ืม่ ตาสว่าง ไม่ง่วง ท�ำ ใหม้ สี มาธิในการปฏบิ ัติศาสนกจิ แต่ถา้ จะว่ากันในแงข่ องพิธกี ารแล้ว พธิ ีการชงชาหรอื ดมื่ ชาน้นั มขี ้นั ตอนกระบวนการ มากมาย กวา่ จะชงกว่าจะดื่มกินเวลาเป็นชวั่ โมง ซึง่ น่ันก็คือการฝึกสมาธิอย่าง หน่งึ เพราะพิธกี ารชงชาน้ันไม่ไดส้ ำ�คัญทก่ี ารดมื่ ชา แตส่ ำ�คัญท่ีกระบวนการในการ ท�ำ พธิ ตี ่างหาก ๑๒๔

SEOULLITTLE MUSEUM IN ชาทคี่ นเกาหลีดมื่ นน้ั ออกจะคลา้ ยๆ ชาของจีน ชาทีเ่ ราคุน้ เคยกันนน้ั กจ็ ะ มีชาจีน ชาญี่ป่นุ แลว้ กช็ าฝร่ัง ชาของจนี ไดม้ าจากในประเทศจนี และบางสว่ นของ อนิ เดีย ชาฝรัง่ นน้ั ได้มาจากอนิ เดยี และศรีลังกา สว่ นชาญปี่ ุน่ ก็ได้มาจากในประเทศ ญปี่ ุน่ เองและจากประเทศจีน ซงึ่ ชาของเกาหลนี ้ันสว่ นหน่ึงไดม้ าจากประเทศจีน และส่วนหน่ึงก็ได้มาจากภายในประเทศ ซง่ึ เริม่ น�ำ มาปลกู ตง้ั แตส่ มัยอาณาจักรซลิ ลาโนน่ ชาที่ใช้ในการทำ�พิธีน้ันท่ีผมสังเกตออกจะดูคล้ายชาจีนมากกว่าชาญี่ปุ่น ทีม่ ลี กั ษณะเป็นผงชาอยา่ งทเ่ี ราเห็นในหนังญป่ี ุ่นทัว่ ไป เวลาทำ�พธิ ีชงชาก็จะได้ชา สเี ขยี วข้นๆ แตพ่ ิธชี งชาของเกาหลีจะไดช้ าสอี ่อนดูคลา้ ยชาจนี เสียมากกวา่ พธิ ีชง ชาแบบน้ีคนเกาหลีเรยี กวา่ ดาโด มปี ระวัตยิ าวนานเร่ิมจากในหม่เู จา้ นายในราช สำ�นกั แล้วจงึ แพร่หลายมาในหม่ปู ระชาชน กลายเปน็ พิธกี ารส�ำ หรบั ฝกึ จิตของ ชาวเกาหลี และเป็นหนึ่งในขน้ั ตอนส�ำ คัญส�ำ หรบั การประกอบพิธกี รรมต่างๆ ท้งั ทางโลกและทางธรรม ตอ่ มาเม่ือพุทธศาสนาเร่ิมเสอ่ื มถอยจากการเขา้ มาของ ลัทธิขงจ๊อื ประเพณกี ารดืม่ ชาจึงลดน้อยลงไปเรื่อยๆ ท�ำ ใหพ้ ิธีกรรมน้ีกลายเป็น พิธกี รรมเฉพาะกลุม่ ไป มาเท่ียวเกาหลีครั้งนี้ผมมีโอกาสได้พักในบ้านของเจ้าของเกสต์เฮ้าส์แห่ง หนึง่ (อ่านเรือ่ งราวยุ่งๆ น้ไี ดใ้ นตอนตน้ ) ก็เลยได้เหน็ ความเปน็ อย่แู บบบา้ นๆ ของ คนท่ีนน่ั จรงิ ๆ คณุ เจา้ ของบา้ นเขาบอกวา่ เปดิ ตูเ้ ยน็ ด่มื ชาได้เลยนะ เพราะในตู้เยน็ มี แตช่ าจริงๆ ขวดน้�ำ ทุกขวดในต้เู ย็นเป็นนำ�้ ชาหมดเลย ไมม่ ีน�ำ้ เปลา่ ถ้าอยากได้นำ้� เปลา่ กเ็ ปิดกอ๊ กรองเอาเอง ทุกเย็นคุณเจา้ ของกจ็ ะมาตง้ั กาน้�ำ ใบเบอ้ เรม่ิ ใสช่ าซอง สำ�เร็จรปู ลงไปกเ็ สร็จพธิ ี อันน้ีเปน็ การดื่มชาตามบ้านนะครบั แต่ถา้ อยากจะลอง ดม่ื ชาบรรจุขวดแบบที่บ้านเรามีขาย อาจจะตาลายนิดหน่อย เพราะชาบรรจขุ วด ๑๒๕

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๒๖

SEOULLITTLE MUSEUM IN ที่นนั่ มีเยอะมากแล้วกห็ ลากรสชาติเสียดว้ ย ข้อแตกต่างระหวา่ งการด่มื ชาของคน เกาหลกี บั ญี่ปุ่นกค็ อื คนญ่ปี ุ่นเอะอะกจ็ ะเสริ ฟ์ ชาร้อน ตอ่ ให้หน้าร้อนกต็ ามเขากย็ ก ชารอ้ นมาให้ดื่ม แตท่ น่ี ่ีผมรู้สกึ ว่าเขาชอบแบบเยน็ มากกวา่ ผมไปน่งั ในคอ็ ฟฟ่ี ช็อปทีต่ ๊อกมวิ เซยี ม เขาก็ยกชามาเสริ ์ฟในถ้วยกระเบอ้ื ง ผมก็คดิ ไปว่าเป็นชารอ้ น แนๆ่ ทไ่ี หนไดก้ ลบั เป็นชาเย็นเจีย๊ บ บังเอิญมากที่การมาเกาหลีครั้งน้ีผมได้มีโอกาสได้ดูพิธีการชงชาแบบ เกาหลี (แม้จะไมใ่ ช่พิธีการเต็มรปู แบบ) เริม่ จากการรอ่ นไปชมหา้ พระราชวงั ส�ำ คัญของกรงุ โซล หนึง่ ในนนั้ คอื พระราชวงั อึนเฮยี นกงุ (Unhyeongung Royal Palace) ในบรรดาห้าพระราชวงั นน้ั อึนเฮียนกุงแหง่ นเ้ี ปน็ พระราชวงั ที่มี ขนาดเล็กทสี่ ดุ เป็นสถานทพี่ ระราชสมภพของ พระเจา้ โกจอง กษัตรยิ ์พระองค์ สุดท้ายแห่งราชวงศโ์ ชซอน ครองราชย์ในปี ค.ศ. ๑๘๖๔-๑๘๙๗ แตพ่ ระองค์ ยงั คงดำ�รงตำ�แหน่งกษตั รยิ ข์ องเกาหลตี ่อมาในฐานะ จกั รพรรดิควางมู ใน สมยั จักรวรรดเิ กาหลี (ปี ค.ศ. ๑๘๙๗-๑๙๐๗) ซึง่ เปน็ ชว่ งทแี่ ผน่ ดนิ เกาหลีเกดิ ความวุ่นวายมากจากปญั หาภายในราชส�ำ นกั รวมถึงการรกุ รานจากญ่ปี นุ่ ต่อมา พระองค์ถูกบีบให้ต้องสละราชสมบัติและยกพระราชโอรสของพระองค์ขึ้นสืบราช สมบัตแิ ทนคือ พระเจา้ ซนุ จง ซ่ึงได้กลายเปน็ กษตั ริย์พระองค์สุดท้ายและเป็นการ ส้ินสดุ สถาบนั กษัตรยิ ์ของเกาหลีในปี ค.ศ.๑๙๑๐ นอกจากจะเป็นสถานทพ่ี ระราชสมภพของพระเจ้าโกจองแลว้ พระราชวงั แหง่ น้ยี ังเปน็ ทปี่ ระทบั ของ องคช์ ายแทวอน ซึ่งเป็นพระราชบดิ าของพระองค์ ๑๒๗

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๒๘

SEOULLITTLE MUSEUM IN และยังมีฐานะเปน็ ผสู้ ำ�เร็จราชการแทนพระองค์ ผมไมม่ ่นั ใจว่าเปน็ เพราะนี่ไมใ่ ช่ สถานที่ประทบั ของกษัตริยร์ เึ ปลา่ นะครับ แมจ้ ะมีความส�ำ คญั พอสมควรแตก่ ลบั มีขนาดและภาพลกั ษณ์ทค่ี อ่ นขา้ งด้อยกว่าส่ีพระราชวงั ท่เี หลือ เอาแคพ่ ระตำ�หนัก แตล่ ะหลงั กไ็ ม่ได้วจิ ติ รพิสดาร แถมยังเปน็ พระราชวงั แหง่ เดียวท่ีไมไ่ ด้มีการทาสี สดใสเหมอื นท่อี ่ืนๆ แต่ผมกลบั คดิ ว่ามันสวยงามและคลาสสกิ กว่าพระราชวงั ใหญๆ่ เสยี อกี ความสวยงามของลายไม้ยิ่งขบั ใหต้ วั พระตำ�หนกั ดูมีราศขี ึน้ มากกวา่ เดิม แม้ว่าจะเป็นพระราชวังท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดแต่สำ�หรับผมคิดว่านี่คือพระราชวังที่ สวยท่ีสุด ถ้าใครไปเทย่ี วเกาหลีแลว้ คิดวา่ ต้องไปแตพ่ ระราชวงั เคียงบก ลองแวะมา ทอี่ ึนเฮียนกุงนก่ี ็ไมเ่ ลวนะครบั อยใู่ กล้ๆ พระราชชางด็อกกงุ ลองมาทนี่ ีม่ าสัมผัส บรรยากาศสงบรม่ ร่นื มาดูพระต�ำ หนักไมส้ วยๆ ทีไ่ ม่ได้ฉาบสี เปน็ อีกอารมณห์ นึง่ ทตี่ ่างจากการไปดูพระราชวงั ใหญๆ่ คงเพราะปมู หลงั ท่ไี มค่ อ่ ยโดดเด่นเท่าไหร่ ท�ำ ให้พระราชวงั แหง่ นเี้ ป็น สถานท่ีทา้ ยๆ หรือเป็นเพยี งแคจ่ ดุ แวะถ่ายรูปของกรุ๊ปทวั ร์ ในสมยั ที่เกดิ สงคราม พระราชวังแห่งนี้ได้รบั เสยี หายพอสมควร และในยุคท่ญี ป่ี ุน่ รกุ รานก็ท�ำ ให้ พระราชวงั แหง่ น้สี ญู เสยี พื้นทไ่ี ปพอสมควร ปจั จบุ นั ได้รับการบรู ณะจนกลับมา งดงามตามเดิม และยังมกี ารร้ือฟืน้ ประเพณโี บราณโดยเฉพาะการจัดแสดงการ จ�ำ ลองพระราชพธิ อี ภิเษกสมรสของพระเจา้ โกจองให้นกั ท่องเท่ียวได้ชม กค็ ง เพราะความที่เป็นสถานที่ที่ขาดจุดขายนั่นกระมังก็เลยต้องสรรหากิจกรรมอ่ืนๆ ๑๒๙

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๓๐

SEOULLITTLE MUSEUM IN มาเป็นตัวดึงดดู นักทอ่ งเทย่ี ว บอกตามตรงว่าการเดินทางไปอึนเฮียนกุงน้ันผมก็ไม่ได้ต้ังใจจะไปดูอะไร มากมาย (เพราะเดมิ ทีก็ไม่รจู้ ริงๆ วา่ ที่น่ีมอี ะไร) พอถึงหนา้ พระราชวงั กต็ ระหนก เล็กน้อยเพราะชว่ งนนั้ เขากำ�ลงั มงี านเทศกาลอะไรซักอย่าง ปกตแิ ลว้ การเข้าชม พระราชวังทีน่ ี่ต้องเสยี ค่าธรรมเนยี ม แตพ่ อเขาจัดงานแบบนี้ ผมก็เลยเขา้ ฟรี เซฟ เงินไปดอี กี หนอ่ ย ดจู ากปา้ ยหน้างานแลว้ เข้าใจวา่ จะมงี านใหญ่สองงานคือ งานแสดง เคร่อื งถ้วย Art made from Earth and Fire กับงาน The 31st Korean Tea Culture Festival (ช่วงท่ผี มไปนนั้ เปน็ ช่วงปลายเดือนพฤษภาคม) บรเิ วณด้าน หนา้ ของพระราชวังจะเปน็ ลานกว้างไว้จัดกจิ กรรมต่างๆ เขากก็ างเต้นท์ใหญโ่ ต มีการออกรา้ นจ�ำ หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์มากมาย อารมณก์ ป็ ระมาณงานแสดงสินคา้ OTOP บา้ นเรานัน่ แหละครับ เดนิ ดเู พลนิ เชยี วล่ะ คนขายที่นเ่ี ขาก็แตง่ กายย้อนยคุ ใสช่ ุดฮนั บกเดนิ กันให้ขวกั ไขว่ไดอ้ ารมณ์ดีเหมอื นกนั ของทมี่ าขายกม็ ีตง้ั แตเ่ สอื้ ผ้า อาหาร เคร่อื งประดับ ถว้ ยชามรามไห แล้วก็มกี ารแสดงบนเวที มีคณุ ปา้ คนหน่งึ ออกมาร่ายร�ำ แล้วกร็ ้องทำ�นองเสนาะอะไรซกั อยา่ ง เห็นคนดูซงึ่ กเ็ ป็นล้วนแต่เป็น รนุ่ อาวุโสทงั้ น้ันนง่ั หัวเราะกันน้�ำ หมากกระจาย คงจะเปน็ การแสดงคลา้ ยๆ เพลง ฉ่อยบา้ นเรากระมัง ตอนคุณป้าแกร้องน่ะผมก็ไมส่ นใจเท่าไหร่ พอแกลงเวทไี ป แลว้ เปล่ียนเป็นนางร�ำ หน้าแฉล้มข้นึ มา ผมก็แทบจะวงิ่ ไปเกาะหนา้ เวทีเลยเชยี ว ขา้ งๆ เวทแี สดงจะมหี ้องจัดแสดงเคร่ืองถ้วยครบั เหน็ มีผู้ชมเขา้ ไปชมพอ สมควร ในนั้นกจ็ ะมเี จ้าป้ากลุ่มหนง่ึ ถือแฟ้มจดโน่นจดน่ี แอบเข้าไปดใู กลๆ้ กพ็ อ เข้าใจไดว้ า่ เจ้าป้ากลุ่มน้คี ือคณะกรรมการคอยใหค้ ะแนน คงจะมกี ารประกวดประ ขันเครอื่ งถ้วยประมาณนนั้ ละ่ ครบั ๑๓๑

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๓๒

SEOULLITTLE MUSEUM IN พอเดนิ ลกึ เข้าไปก็จะเจอกลุม่ พระต�ำ หนกั สวยๆ ซ่ึงรอบๆ กม็ สี าวนอ้ ยสาว ใหญ่ปเู สอ่ื เรียงรายจนรอบพระต�ำ หนักทกุ หลัง นบั ครา่ วๆ ผมวา่ นา่ จะถึงร้อย ถึง ตรงนผี้ มก็เดาได้วา่ เขาจะต้องมกี ารประกวดพิธชี งชาแน่ๆ แต่ละรายก็จะขนเอา เคร่ืองถว้ ยชดุ ชาทด่ี ีที่สดุ มาเตรยี มไว้ ปดู ้วยผา้ ทสี่ วยท่สี ดุ มขี นมเปน็ เครอื่ งเคยี งที่ ดีทสี่ ดุ เตรยี มชาชนั้ ดที ่สี ุด เท่าทเ่ี ดินดคู นท�ำ พิธีเป็นรุ่นปา้ ๆ แทบท้งั น้นั แต่ในทส่ี ุด ผมก็พบ คุณแดจงั กมึ ทแ่ี ฝงตวั มาเขา้ จนได้ ไม่ใชน่ างเอกในละครหรอกนะครับ ท่ผี มเรียกแบบนี้เพราะเธอหนา้ ตา เหมอื นในละครซะจริงๆ นะ่ สิ เมือ่ พิธกี ารยังไมเ่ ริ่ม ผมก็เดนิ ชมรอบๆ พระราชวงั ไปเรือ่ ยๆ กะวา่ ไหนๆ มี โอกาสดแี บบนแ้ี ลว้ จึงอยากจะรอดูเขาท�ำ พธิ ีเสียหนอ่ ย พอดูวงั หมดแลว้ ก็เลยเดิน เล่นดแู ผงตา่ งๆ ทุกแผงเขากต็ ระเตรยี มอปุ กรณส์ วยงามเชยี วครับ คอื งานนก้ี ะโชว์ เต็มท่ี ผมวา่ การประกวดนัน้ ไม่น่าจะเน้นทพ่ี ิธกี ารนะครบั เพราะมาจัดกลางแจ้ง เรียงเปน็ แผงแบบนนี้ า่ จะให้คะแนนลำ�บาก ผมจึงคดิ วา่ เขาอาจะดูจากรปู แบบการ จดั เตรยี ม ความสวยงาม ความสมบรู ณข์ องพิธกี าร แนวนีเ้ สยี มากกว่า แต่ละคน ท่มี านนั้ ไม่ไมแ่ นใ่ จว่ามาจากสถาบันหรอื ส�ำ นักไหนกนั บ้าง คอื ลองชวนคยุ แล้วก็ได้ แตภ่ าษาใบก้ ับรอยยิม้ กลบั มา ข้าวของท่เี ขาเตรยี มมานนั้ กจ็ ะมีบรรดากาน�ำ้ ชา ถว้ ยชาหลากหลายขนาด กรรมวธิ กี ารชงชาของเขาคล้ายของจีนมากกว่าญี่ปุ่นนะครบั ชงชาแบบจนี ที่เรา คนุ้ เคยก็ตอ้ งเน้นเรอื่ งอณุ หภมู ขิ องน�้ำ คงเคยเหน็ ในทีวมี าบา้ งนะครับวา่ กวา่ จะ ๑๓๓

SEOULLITTLE MUSEUM IN ๑๓๔