Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังใหญ่

Description: หนังใหญ่

Search

Read the Text Version

181 หากเทียบเวลาและสถานที่ในการเคล่อื นย้ายถา่ ยเทตวั หนังจงึ คาดวา่ หนงั ใหญ่วัดโบสถ์ หนา้ จะมาจาก ชุมชนวัดบ้านอิฐ อ่างทองหรอื ในระแวกใกล้เคียง ตามคาํ บอกเลา่ ของ ครอู อ๋ สขุ คล้าย100 วัย ๘๕ ปี ครโู ขน พากย์น่งั ราวแหง่ วัดโบสถ์ โกง่ ธนู กล่าวว่า ครูท่ีมาสอนโขนและหนังใหญม่ ีครแู สง ครูคล้าย ครคู รา้ ม ซงึ่ พ้องกบั ชือ่ ครหู นงั ใหญว่ ัดบ้านอิฐ ทัง้ นีใ้ นโอกาสต่อไปหากสามารถเทียบเคียงอายุลวดลาย ระหวา่ งหนังใหญ่ ชดุ พระมงกฏุ พระลบ ทวี่ ัดสวา่ งอารมณ์ กบั หนังเจ้าหรอื หนงั ครทู ี่ทายาทครูหนังใหญ่วดั บ้านอฐิ เกบ็ รักษาไว้ก็จะ สามารถระบเุ สน้ ทางที่มาท่ีไปของตวั หนังใหญ่วัดโบสถ์ได้ดีย่งิ ข้นึ ส่งิ สําคญั ทน่ี ่าสนใจคอื ในอดตี ชุมชนวดั โบสถแ์ ห่งนี้ มีท้ังโขนพากย์นงั่ ราว และหนังใหญ่ จึงเหน็ ความ ประสงคข์ องครู และเจตนารมย์ข องหลวงพ่อพริง้ ที่ต้องการรักษารูปแบบการแสดงมหรสพดง้ั เดิมทงั้ สองไว้ ด้วยกนั นน่ั คอื โขนพากย์ (นงั่ ราว)หน้าจอ หากเนน้ หนกั แสดงหนงั ใหญ่จะเรยี กว่า หนังตดิ โขน แตถ่ ้าโขนมี ความสําคญั มากกว่าก็จะเรียกว่า โขนตดิ หนัง 101 ซง่ึ ในปจั จบุ นั ยังหลงเหลอื โขนพากยน์ งั่ ราว อย่างเดียวและ แห่งเดียวในประเทศไทย ท่ีควรรีบศึกษาวิจยั อย่างเร่งดว่ นใหท้ ันอายขุ ัยของศิลปินทีช่ ราภาพมากแล้ว 100 สัมภาษณ์ ครอู อ๋ สุขคลา้ ย (ครโู ขนพากยน์ ั้งราว อาวุโส แห่งวดั โบสถ์ โก่งธนู ลพบรุ ี), ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ 101 สมั ภาษณ์ครูวีระ มเี หมือน, เร่ืองเดียวกนั

182 ๒.หนังใหญ่วัดตะเคียน ทา้ ยตลาด ลพบรุ ี สถานทต่ี ัง้ ตาํ บลทา้ ยตลาด อาํ เภอเมอื งลพบุรี จังหวดั ลพบุรี ช่วงระยะเวลาประมาณ รัชกาลท่ี ๕ (พ.ศ.๒๔๕๐-ไมส่ ามารถระบไุ ด้) ผรู้ ิเรม่ิ และอปุ ถัมปห์ นงั ใหญ่ หลวงพ่อป๎น่ สรุปลาํ ดบั เหตุการณห์ นงั ใหญ่วัดตะเคียน ทา้ ยตลาด ลพบุรี ตามเวลาปีพทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) ดังนี้ พ.ศ. ๒๔๕๐ หลวงพอ่ ปนั่ ธัมมโชติ เจ้าอาวาสวดั ตะเคยี น ไดร้ วบรวมศลิ ปะการแสดงพ้ืนบ้านมา ไวท้ ่ีวดั ตะเคียนอาทิ โขน ละครราํ หนงั ใหญ่ ป่พี าทย์ และหนงั ใหญ่เปน็ ต้น พ.ศ.๒๔๙๕ มขี โมยลกั ตัวหนงั ใหญ่(มากกว่า ๔๐ ตวั )ไปขายกรงุ เทพฯ พ.ศ.๒๕๑๘ ชมรมอนุรกั ษ์โบราณวัตถสุ ถานและสงิ่ แวดล้อม จงั หวัดลพบรุ ี ได้เสนอขอรบั หนงั ใหญจ่ ํานวน ๑๕๗ ตวั มาทําการอนรุ ักษไ์ ว้ ณ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถาน แหง่ ชาติสมเด็จพระนารายณ์ จังหวดั ลพบรุ ี จากบทความหนังใหญ่วัดตะเคยี น ลพบรุ ี ของ จนั ทร์ บวั สนธิ นบั เป็นหลักฐานสําคญั ทีเ่ ล่าเรอ่ื งราว ของไวว่ ่า เม่ือประมาณ พ .ศ. ๒๔๕๐ หลวงพ่อปนั่ ธมั มโชติ ซึ่งเปน็ เจ้าอาวาสวดั ตะเคยี น และเจ้าคณะตําบล ทา้ ยตลาดในขณะน้ัน ไดร้ วบรวมงานการแสดง และศิลป ะการแสดงพน้ื บา้ นนาํ มาไวท้ ่ีวดั ตะเคียนเปน็ จาํ นวน มาก ได้แก่ โขน ละครรํา หนังใหญ่ และป่ีพาทย์ หลวงพอ่ ปนั่ ไดช้ กั ชวนใหเ้ จา้ ของหนงั ใหญ่ และละครรํา ชื่อ นายดัด และนางเลก็ ศรจี ังหวัด ซึ่งอย่ใู นละแวกใกล้ ๆ วดั ตะเคียนย้ายคณะหนังใหญ่ และละครราํ มาอยใู่ นวดั และไดเ้ พ่ิมการฝกึ โขน และป่พี าทยข์ ึน้ ดว้ ย นอกจากนี้ หลวงพ่อยังได้ให้ช่าง ช่ือ นายสี (ไมท่ ราบนามสกลุ ) ซง่ึ เป็นชา่ งแกะหัวโขนที่มฝี ี มืออยู่ ในขณะน้ัน แกะหนังใหญเ่ พิม่ ขึน้ อีก เพอื่ ให้มีจาํ นวนมากพอต่อการจดั แสดง จงึ มหี นังใหญ่ที่สมบูรณ์รวมท้งั สน้ิ มากกว่า ๒๐๐ ตัว สามารถจัดแสดงได้ ๓ คืน โดยไม่ซาํ้ กนั

183 วดั ตะเคียนในสมยั น้ันไดก้ ลายเป็นศนู ย์ศิลปะการแสดงโดยปริยายเด็กวยั หน่มุ สาว ในละแวกตาํ บล ทา้ ยตลาด จะไดร้ ับการชกั ชวนใหเ้ ขา้ มาฝกึ การแสดงตา่ ง ๆ ชายหน่มุ ฝกึ โขน ปี่พาทย์ และหนังใหญ่ ส่วนหญิง สาวกจ็ ะฝึกเป็นนางละครราํ ผ้ทู ี่เป็นกําลงั สาํ คญั ทําหนา้ ท่ฝี กึ และควบคมุ ได้แก่ นายดัด ศรจี งั หวัด ฝกึ ควบคมุ โขน หนังใหญ่ และปี่ พาทย์ สว่ นนางเลก็ ศรีจงั หวัด (ภรรยา) ฝกึ และควบคุมละครราํ ระยะต่อมาได้มนี ายแค จฑุ าเกตุ (บตุ รเขย) และนางจวน จฑุ าเกตุ(บุตรสาว) เปน็ กําลังสาํ คัญในการฝกึ และควบคมุ เพ่มิ ข้นึ อีก หนงั ใหญ่วดั ตะเคียน เปน็ มหรสพซึ่งเปน็ ท่ีนิยมมากของชาวบา้ นในสมัยนน้ั นอกจากจะจดั แสดงในงาน ของวัดตะเคียนแลว้ ยังไดร้ บั เชิญไปแสดงในงานวดั และงานศพตามวดั ตา่ ง ๆ เปน็ ประจาํ ก่อนการแสดงจะมี การบรรเลงเพลงโหมโรงแลว้ ก็จะเป็นการไหว้ครู ตอ่ จากนัน้ จะเริม่ เบิกโรง การเบกิ โรงกอ่ นการแสดงหนงั ใหญม่ ี หลายเร่ือง เชน่ บ้องตนั แทงเสอื หัวลา้ นชนกัน ฯลฯ แตท่ ี่นยิ มกนั มากท่สี ุด คือ ชุดลงิ หัวคํ่า ผูเ้ ชิดหนงั ใหญค่ น สาํ คญั ได้แก่ นายสมั ฤทธิ์ จุฑาเกตุ และ นายสุข ปนิ่ เงิน ผู้พากย์หนงั ใหญ่ ได้แก่ นายแค จุฑาเกตุ เมอื่ หมด สมัยหลวงพ่อป่ัน ธมั มโชติ การมหรสพตา่ ง ๆ ดังกล่าวก็ซบเซาเพราะขาด ผ้อู ปุ ถมั ภบ์ าํ รงุ ผ้แู สดงโขนละครจงึ ได้แยกย้ายกนั ไปประกอบอาชพี สว่ นตัว คงเหลอื อยู่แต่วงป่ีพาทย์ประจําวดั มาจนถึงปัจจุบัน สว่ นตัวหนงั ใหญถ่ ูกเกบ็ รกั ษาไวใ้ นกฏุ ิหลงั หนงึ่ แต่ก็ขาดผู้ดูแลรกั ษาอย่างแทจ้ รงิ ต่อมาได้มกี ารซอ่ ม กฏุ ทิ ีเ่ กบ็ หนังใหญ่ หนังใหญ่จึงถูกนําไปเกบ็ ไวท้ เี่ พิงเป็นการชัว่ คราว เม่อื ถึง ฤดฝู น ฝนรั่วลงมาเปียก ทําใหต้ ัว หนงั ชํารดุ ไปจาํ นวนหนึง่ ในปี พ.ศ.๒๔๙๕ ได้มีคนร้ายมาขโมยเพอ่ื นําไปขายยังกรงุ เทพมหานครจํานวนหนง่ึ ทาํ ให้หนังใหญว่ ดั ตะเคยี น อยูใ่ นสภาพชาํ รุดเสียหายและไมป่ ลอดภัย ชม รมอนุรกั ษโ์ บราณวัตถสุ ถานและ สง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวดั ลพบุรีจึงได้เสนอขอรบั มาทาํ การอนรุ ักษ์ไว้ ณ พิพิธภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติสมเดจ็ พระ นารายณ์ อําเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี เม่ือวันที่ ๒๕ มนี าคม พ .ศ. ๒๕๑๘ มหี นังใหญท่ ่มี สี ภาพสมบรู ณ์ รวม จาํ นวน ๑๕๗ ตวั ทางพิพธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติจัดเกบ็ รกั ษา และตัง้ แสดงไว้ ณ หมตู่ ึกนางใน ในพระ นารายณ์ราชนเิ วศน์ จงั หวดั ลพบรุ ี102 102 จันทร์ บวั สนธิ, หนงั ใหญว่ ัดตะเคียน : ม.ป.ท, ม.ป.ป. ๒๕๔๒, หนา้ ๖๙๕๖

๓.หนังใหญ่วดั สาํ ราญ 184 สถานที่ต้งั “หนังใหญ่ ๗๕๐ ตัว ไปอยู่ทอี่ ิตาล”ี ระยะเวลาประมาณ หม่ทู ี่ ๓ ตาํ บลโพธเิ์ ก้าต้น อาํ เภอเมืองลพบรุ ี จังหวดั ลพบุรีชว่ ง ผรู้ ิเร่มิ และอุปถัมป์หนงั ใหญ่ ยงั ไมส่ ามารถระบเุ วลาได้ ยังไมท่ ราบข้อมูล สรปุ ลาํ ดบั เหตกุ ารณ์หนงั ใหญ่วัดสําราญ ตามเวลาปพี ทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) ดงั น้ี พ.ศ.๒๔๒๑ ปฏิสงั ขรณ์ วัดสาํ ราญ พ.ศ.๒๔๕๕ หลวงพ่อฉายไดน้ ิมนต์หลวงพอ่ หิน พระพทุ ธรูปโบราณปางนาคปรกมาประดิษฐาน พ.ศ.๒๔๘๖-๘๘ ชว่ งสงครามโลกครัง้ ท่ี ๒ หนังใหญ่วดั สําราญ ถกู เคลื่อนยา้ ยไปต่างประเทศ ? พ.ศ.๒๔๘๖-๘๘ นักวจิ ัยชาวอิตาลยี ืนยนั มตี ัวหนงั จากวัดสาํ ราญจํานวน ๗๕๐ ตัว ไปอยู่ในพพิ ิธภณั ฑแ์ หง่ หนงึ่ ในประเทศอติ าลี สาํ หรบั หนงั ใหญว่ ัดสาํ ราญและรวมถึงหนังใหญว่ ัดตะเคยี น มีข้อ มลู ระบวุ ่าเกบ็ รกั ษาไวท้ ่ี หมตู่ ึกพระ ประเทยี บใน พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์103 จากการสอบถามเจา้ หนา้ ทพี่ พิ ธิ ภณั ฑสถานฯ104 ท่านท่ี ๑ ระบวุ า่ มหี นังใหญ่ ๓ ชดุ เก็บไว้ ณ พพิ ิธภณั ฑฯ์ แหง่ น้ี คอื วดั ตะเคยี น วดั สาํ ราญและชุดนครไหวบาง ตวั ทส่ี ่งมาจากสว่ นกลาง ท่านท่ี ๒ (อาวุโส) เคยไปขนหนงั ใหญท่ วี่ ัดสําราญช่วง สงครามโลก (พ.ศ.๒๔๘๖ – ๒๔๘๘) แต่นกั วจิ ัยชาวอติ าลยี ืนยัน ซงึ่ พบกันขณะไปสาํ รวจภาคสนามวนั เดยี วกนั กลา่ วว่ามตี ัวหนงั จากวัด สาํ ราญ จํานวน ๗๕๐ ตัว ไปอย่ใู นพิพิธภณั ฑแ์ ห่งหนึ่ง ในประเทศอิตาลี ดงั น้นั จงึ ไดแ้ จ้งความประสงค์ ขอทาํ เรอ่ื งไปถา่ ยภาพเพอื่ ถอดลายหนงั จาํ นวน ๗๕๐ ตวั ทีอ่ ติ าลี หรือหากมภี าพถ่ายอยู่แล้วกจ็ ะทําเรื่องขอ สาํ เนาภาพหนงั ใหญ่ โดยไมม่ คี วามประสงคท์ ่ีจะทวงคนื แต่อย่างใด 103 พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ แหล่งเข้าถงึ http://th.wikipedia.org 104 สงวนชือ่ ทา่ นท่ี ๑ และทา่ นที่ ๒ ผูใ้ หข้ อ้ มูล

185 ทงั้ นีเ้ ป็นท่ีนา่ สงั เกตว่า หนังใหญ่ของประเทศไทย ได้เคลือ่ นย้ายไปอยู่ในต่างประเทศหลาย แหง่ อาทิ เยอรมัน สห รฐั อเมริกา และขอ้ มูลลา่ สุดคือ อติ าลี หากจะมีโครงการตอ่ เนือ่ งหรอื มีผ้ชู ว่ ยเหลอื สนับสนุนในการค้นหาตามรอยหนงั ใหญ่ในต่างประเทศ เพอื่ ขอถา่ ยภาพลวดลายหนังใหญท่ ัง้ หมด รวมถงึ ขอ้ มูลรายละเอียดอน่ื ๆ เพื่อนาํ มาศกึ ษาหรือสร้างใหมล่ าํ ดับตอ่ ไป ยอ่ มเป็นประโยชน์ยง่ิ ใหญแ่ ก่วงกา ร ศลิ ปการแสดงไทย ๔.หนังใหญท่ ่ีพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ สถานที่ตงั้ ตําบลทา่ หนิ อําเภอเมอื งลพบรุ ี จังหวัดลพบรุ ี ระยะเวลาประมาณ รชั กาลที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๑๘-ป๎จจบุ นั ) สรปุ ลําดับเหตุการณห์ นงั ใหญท่ ีพ่ ิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตสิ มเด็จพระนารายณ์ ตามเวลาปีพทุ ธศกั ราช ดงั น้ี พ.ศ.๒๕๑๘ ชมรมอนุรักษ์โบราณวตั ถสุ ถานและสง่ิ แวดล้อม จังหวดั ลพบุรี ไดเ้ สนอขอรับหนังใหญ่จาํ นวน ๑๕๗ ตัว มาทาํ การอนุรักษไ์ ว้ ณ พพิ ธิ ภัณฑ์สถาน แหง่ ชาติสมเด็จพระนารายณ์ จังหวัดลพบรุ ี จากการสอบถามเจ้าหน้าทพ่ี พิ ิธภณั ฑสถานฯ105 กลา่ วว่า มีหนังใหญ่ ๓ ชดุ เกบ็ ไว้ ณ พพิ ธิ ภัณฑฯ์ แห่งนี้ คือวดั ตะเคียน วัดสาํ ราญ และชดุ นครไหวบางตวั ท่ีสง่ มาจากสว่ นกลาง ซึ่งเก็บรกั ษาไว้ในส่ วนคลัง ไม่ได้ จัดนทิ รรศการ ตามท่ีมกี ารประชาสมั พนั ธ์ผา่ นสื่อออนไลน์แต่อย่างใด จงึ เป็นเร่อื งทต่ี ้องมขี ้นั ตอนในการศึกษา และตอ้ งใชเ้ วลาวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยเน้นศึกษาลวดลายของตวั หนังใหญ่เชงิ เปรยี บเทยี บ เพ่ือหาขอ้ มูลทีแ่ ท้จริง หรอื เพอ่ื โครงการสรา้ งหนงั ชดุ ใหมข่ น้ึ มาเพื่อเฉลิมฉลองวาระสําคญั ในฐานะท่ีลพบรุ ี เปน็ แผน่ ดินของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ที่พระองค์ทรงสนพระทยั พระราชนิพนธ์สมุทรโฆษคาํ ฉนั ท์ เพอื่ เป็นบทพากยห์ นงั ใหญ่ อกี เรือ่ งหนง่ึ ให้แก่ประชาราษฎร์สืบต่อไป 105 สงวนชอื่ ทา่ นที่ ๑ และทา่ นท่ี ๒ ผใู้ หข้ อ้ มูล

186 หนังใหญ่อา่ งทอง ๑.ชุมชนวัดบ้านอิฐ อ่างทอง สถานที่ตัง้ ตาํ บลบา้ นอฐิ อาํ เภอเมอื ง จังหวัดอา่ งทอง ชว่ งระยะเวลาประมาณ รัชกาลที่ ๓ – ตน้ รชั กาลท่ี ๙ (พ.ศ.๒๔๙๐) ประวัตชิ ุมชนหนังใหญว่ ัดบา้ นอิฐ กลา่ วกนั วา่ ทีเ่ รียกชื่อบ้านอิฐ เพราะผ้คู น ตงั้ บ้านเรือนอยตู่ ามแนวคลองบางแก้ว และคลองปากนา้ ประคาทอง นยิ มสร้างวดั ขนึ ้ บริเวณลาคลองทงั้ ๒ สาย จึงทาอิฐสาหรับสร้างโบสถ์ คนแถวนกี ้ ็มีอาชีพทา อิฐเป็ นสว่ นมาก จงึ เรียกวา่ \"บ้านอิฐ\" แตเ่ มื่อสอบถามคนในชุมชน ก็ไม่เคยพบเห็นเตาเผาอิฐหรือหลกั ฐาน ใดมายนื ยนั วา่ ผ้คู นแถวนนี ้ ิยมทาอิฐ นา่ จะเป็ นทมี่ ีโบสถ์วหิ ารในบริเวณนจี ้ านวนมากสร้างด้วยอิฐ เสยี มากกวา่ 106 ครหู นังใหญ่ร่นุ แรกๆของชุมชนวดั บา้ นอฐิ แห่งนี้คือครูคร้าม มีชว่ งชีวิตในประมาณ สมัยรชั กาลที่ ๓ ต่อเน่อื งรัชกาลท่ี ๕ รุ่นราวคราวเดยี วกบั หลวงพอ่ อยู่ ผ้รู เิ รมิ่ หนงั ใหญ่วัดบางน้อย จงั หวดั สมทุ รสงคราม ดว้ ย คาํ บอกเลา่ วา่ ครูคร้ามยงั ตอ้ งเขา้ เดือนออกเดือน คอื เข้าเวรราชการเดือนหนง่ึ ออกเวรเดอื นหน่ึง 107 ซ่ึงน่าจะ ได้รบั การเรียนรถู้ ่ายทอดหนังใหญ่ จากบ้านเจา้ ขนุ มลู นายในเวลาเดียวกันและนาํ มาเผยแพรส่ ู่ญาติพีน่ ้องผคู้ น ในชมุ ชนบ้านอฐิ และบริเวณใกล้เคยี งย่านจงั หวัดอา่ งทอง ลูกศษิ ยข์ องครคู ร้ามเท่าทส่ี ืบคน้ ได้มีดังนี้ 106 ลุงกรุ่น นาควลี อายุ ๗๗ ปี ลกู ชายขนุ อิฐโพธิ์พิทกั ษ(์ กานนั ฟอง) และหลานตาขุนมลิวรรณ ผ้นู าชมุ ชนบ้านอฐิ ในอดีต 107 สมั ภาษณ์ครูวรี ะ มเี หมือน(ทางโทรศพั ท)์ , วนั พธุ ที่ ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕, เวลา ๑๐.๔๕ น

187 1. ครูคล้าย และแม่สังวาลย์ ช้างงาม บ้านอิฐ เปน็ หลานและลูกศิษย์ของครูครา้ ม เกิดในชว่ งประมาณ รัชกาลท่ี ๕ ตอนปลาย 2. ครูกรด บา้ นเกา้ ช่าง108 ลูกศิษยค์ รูครา้ ม มีความเมตตารกั เหมอื นลูก จงึ ได้กระท้เู จรจาหนังเยอะมาก 3. ครดู าํ บา้ นบางพุทรา 109 เปน็ ท้ังโขนทั้งหนงั ลูกหลานต่อมาสบื สายละครพนื้ บ้าน มีลูกศิษยช์ ื่ อครูยม้ิ มแี กร110 วดั คลองพูล ไดเ้ รยี นและมีบทพากย์โขน 4. ผัวบุญ เมียบุญ111 บ้านไชโย เป็นโต้โผโขนละคร 5. ครลู ะม่อม เปน็ คนพากย์หนัง เคยไปเป็นผปู้ ระกอบพธิ ไี หวค้ รูหนงั ใหญ่ ทีว่ ัดสวา่ งอารมณ์ จังหวัด สงิ หบ์ ุรี ชว่ งท้ายไปใชช้ ีวติ อยทู่ ีค่ ณะปพ่ี าทยก์ ํานนั แสวง คล้ายฉํ่า บา้ นดอนตาล สพุ รรณบรุ ี 6. ครูล่าํ ไตรนาวี …ยงั ไม่ทราบบา้ นเกิด แตม่ ามคี รอบครวั ท่ีบ้านอิฐ พากย์ได้ เชิดได้ ทอดหนงั ไดด้ ี ซงึ่ ตอ่ มา ครวู รี ะ มเี หมอื น ไดไ้ ปขอเรียนรูเ้ ร่ืองพากยเ์ จรจาหนังใหญ่ นอกจากนย้ี งั มศี ลิ ปนิ และบทพากย์โขนหนัง ท่หี ันสงั บังเพลงิ 112 ซึง่ อาจมีความเกีย่ วโยงกับชุมชนวัด บา้ นอิฐท่รี อการสืบค้นต่อไป เสน้ ทางตัวหนังใหญช่ ุมชนวัดบ้านอิฐ ยงั ไม่สามารถสืบค้นท่มี าของการสร้างหนงั ใหญ่ ใครสรา้ ง สร้าง ตอนอะไรบา้ ง หรอื มาจากทีใ่ ด ในความทรงจําวัยเดก็ ของ กรุ่น นาควลี เล่าวา่ ทันเหน็ การแสดงหนังใหญท่ ีว่ ัด บ้านอฐิ ในงานศพ ประมาณปี พ .ศ. ๒๔๙๐ ตวั หนังใหญ่นนั้ เป็นสีดําสเี ดยี ว113 ซึ่งกค็ ือหนงั กลางคืน ตวั หนัง ท้ังหมดเกบ็ ไว้ทีว่ ัดบ้านอิฐ และสามารถจดจาํ เฉพาะช่ือคนเชดิ หนงั ได้ ๓ ทา่ น คอื 1. นายไปล่ บ้านรี 2. นายนนุ่ บ้านอฐิ บ้านอยตู่ ิดวัดบา้ นอิฐ 3. นายสขุ บา้ นอฐิ บา้ นติดคลองชลประทาน 108 สนั นิษฐานวา่ เดิมช่อื คลองเก้าชา่ ง ติดแมน่ า้ ลพบรุ ,ี ยงั ไมส่ ามารถระบพุ กิ ดั ได้ 109 ตาบลบางพทุ รา อาเภอโพธ์ิทอง จงั หวดั อา่ งทอง 110 วดั คลองพลู หมู่ที่ ๑๓ บา้ นคลองพูล ตาบลบางจกั อาเภอวเิ ศษชยั ชาญ 111 ชื่อบญุ ทงั้ สามแี ละภรรยา, อาเภอไชโย จงั หวดั อา่ งทอง 112 ปัจจบุ นั เรียกวา่ “หนั สงั ” อยใู่ นอาเภอบางประหนั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา, สอดคล้องกบั คาบอกเล่าของ รตต.อ๊ดี พจนยี ์ ทเ่ี คยพบ ลูกหลานศิลปิ นหนงั ใหญ่ ชมุ ชนแถบบางประหนั 113 ลงุ กรุ่น นาควลี อายุ ๗๗ ปี , เร่ืองเดียวกนั

188 สอดคลอ้ งกบั คําบอกเล่าของหลวงพ่อเกลย้ี ง วัดตะกู จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ว่าหนังใหญว่ ดั ตะกู ส่วนหนง่ึ ได้มาจากทางตอนเหนอื ของอา่ งทอง เป็นหนังสดี าํ สีเดียวเหมือนกัน ซึง่ น่าจะเปน็ หนงั ใหญ่จากชมุ ชน วัดบ้านอฐิ แห่งน้ี และอีกกระแสวา่ หนงั ใหญใ่ นชมุ ชนแหง่ น้ถี ูกขายเปน็ งานศลิ ปโ์ บราณแถวรา้ นของเกา่ ในเวิ้ ง นาครเกษม พร้อมๆกบั ตัวหนงั ใหญ่และศิลปวตั ถุจาํ นวนมากมายมหาศาลแหลง่ อื่นๆทว่ั ประเทศ ทีถูกนํามาขาย ทอดตลาดประมาณชว่ งตน้ พ.ศ.๒๕๐๐114 มบี ทพากย์เจรจาของชุมชนวดั บา้ นอฐิ สว่ นหนึ่งไดถ้ ่ายทอดไปยัง ชุมชนหนงั ใหญว่ ัดสว่างอารมณ์ จงั หวดั สิงห์บุรี เช่น กระท้เู กีย้ วแมห่ ม้าย อยใู่ นศกึ ต่างเมือง บอกต่อกันวรรคละ ๑ สลึง115 เป็นตน้ ท้ังนี้ผู้วิจยั สันนษิ ฐานวา่ ชมุ ชนหนงั ใหญว่ ดั บ้านอฐิ นา่ จะมคี วามเชอื่ มโยงกบั ชุมชนใกลเ้ คียงบา้ นนาํ้ ผงึ้ ทีเ่ ป็นชมุ ชนใหญเ่ ก่าแกม่ าตั้งแต่สมยั อยธุ ยา และชุมชนหนังใหญ่วดั โบสถ์ โกง่ ธนู จังหวดั ลพบุรี ๒.พพิ ิธภณั ฑห์ นังใหญค่ รวู ีระ มเี หมอื น สถานทต่ี ้ัง ๑๑๙ หมทู่ ี่ ๔ ตาํ บลมงคลธรรมนมิ ิต (เดิมเรยี กบา้ นดอนรกั ) อาํ เภอสามโก้ จงั หวัดอ่างทอง ชว่ งระยะเวลาประมาณ รัชกาลที่ ๙ พ.ศ.๒๕๓๘-ปจ๎ จุบนั (พ.ศ.๒๕๕๗) พิพิธภัณฑห์ นังใหญค่ รวู ีระ มีเหมือน มชี อื่ อยา่ งเป็นทางการวา่ “พพิ ิธภัณฑก์ ุฏีไศเลนทร” เปน็ แหล่งรู้ หนงั ใหญ่ โขน งานช่างสิบหมแู่ ละศลิ ปวิทยาการตา่ งๆ เปดิ ใหเ้ ข้าชมและเรยี นรแู้ บบตามอัธยาศยั ตัง้ แต่ปี พ .ศ. ๒๕๓๘ ขณะเกบ็ ข้อมลู ภาคสนาม (พ.ศ.๒๕๕๗) กาํ ลงั ขยายพื้นท่ีอาคารปรงุ เรอื นไทยเพมิ่ ขน้ึ เพื่อใช้เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์หนงั ใหญ่ 114 สมั ภาษณ์ ครูวีระ มีเหมอื น (ผา่ นโทรศพั ท)์ , วนั พธุ ท่ี ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕,เวลา ๑๐.๔๕ น. 115 ครูวรี ะ มเี หมอื น อ้างถงึ คา บอกเล่าของ ครูล่า ไตรนาวี

189 ครูวรี ะ มเี หมื อน เปน็ ท่ีรูจ้ ักกนั ในวงการศิลปินในชอื่ ครเู จยี๊ บ หรอื คณุ เจยี๊ บ เกิดเมื่อวันท่ี ๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๗ ภูมิลาํ เนาเกดิ ท่ี ตาํ บลบางกระสอ อาํ เภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบุรี เป็นบุตรนายเวก นางบญุ ชว่ ย มเี หมือน อาชพี ทําสวนและสืบทอดการเล่นดนตรี ทําขวัญนาค และทาํ ขวญั ทั่วไปจากบ รรพบรุ ษุ ศกึ ษา ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ดรงเรียนวดั สมรโกฎิ ตาํ บลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี จงั หวัดนนทบรุ ี จน จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ แล้วเรยี นตอ่ ในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ท่โี รงเรยี นศรีบณุ ยานนท์จบช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เรยี นหนงั สือระดับมธั ยมศกึ ษาทีโ่ รงเรียนศรีบญุ ยานนท์ จงั หวดั นนทบรุ ใี นระหวา่ งเรยี นไดเ้ ข้าการ ฝึกอบรมการแสดงโขนกบั ครหู ยดั เพิม่ สุวรรณ, ครูประพิศ พรหมศร, ครูประภา พรหมศร เป็นเวลา ๓ เดือน ไดต้ ิดตามครูหยดั ไปเลน่ โขนจนได้พบครูนาฎศิลป์โขนคนอ่นื ๆ เชน่ ครชู ติ แกว้ ดวงใหญ่ ครูสรา้ งหวั โขน ทําใหไ้ ด้ มีโอกาสเรยี นรูว้ ิธกี ารสร้างหัวโขน ต่อมาได้มโี อกาสไดพ้ บครูทําหัวโขนที่มีชอื่ อกี ท่านหนง่ึ ของจงั หวัด พระนครศรอี ยุธยา คอื หม่อมราชวงศ์จรูญสวัสด์ิ ศุขสวสั ดิ์ วิชาความรูท้ ีไ่ ด้เพิม่ พนู ข้นึ คอื การทาํ หนงั ใหญ่ ทา่ น ไดเ้ ป็นศิษย์ของครหู ม่อมราชวงศ์จรญู สวัสด์ิ ทาํ ให้ไดว้ ิชาการดา้ นห นังใหญ่ได้แก่ การทําตัวหนงั การพากย์และ การจดั การแสดงซง่ึ ทา่ นไดส้ บื ทอดมาถงึ ปัจจุบนั ครูวีระ มเี หมือนเปน็ ครูผูส้ บื ทอดการพากย์-เจรจาหนังใหญแ่ ละโขน ตามแบบแผนโบราณ โดยสบื ทอดการพากย์-เจรจาหนังใหญจ่ ากหม่อมราชวงศจ์ รญู สวสั ดิ์ ศุขสวัสด์ิ ในสายของพระยานั ฏกานรุ กั ษ์ (ทองดี สวุ รรณภารต ) และสืบทอดการพากย์-เจรจาโขนจากครูสงา่ ศะศวิ ณิช ในสายของพระยาสนุ ทรเทพ ระบาํ (เปลย่ี น สุนทรนัฏ ) การสืบทอดองค์ความรู้ดงั กล่าวเป็นการสืบทอดตามประเพณมี ขุ ปาฐะ ดว้ ยวธิ ีการ ฝากตัวเป็นศิษย์กบั ครแู ละวธิ คี รพู ักลักจํา116 ครวู รี ะ มีเหมือน เป็ นปราชญภ์ าคสนาม ทีเ่ ดนิ ทางสืบคน้ พรอ้ มเรียนรู้ขอ้ มลู จากครหู นังใหญ่ในชมุ ชน หนังใหญ่ เกือบทกุ หนทุกแหง่ ในประเทศไทย เป็นบคุ คลสําคัญทจี่ ดุ ประกายและใหค้ าํ ปรกึ ษาในการ ค้นคว้าวิจัยภาคสนามหนังใหญใ่ นครั้งน้ี เกยี รติคณุ ทไี่ ด้รบั สํานกั นายกรฐั มนตรใี ห้เปน็ ครภู มู ปิ ัญญาไทยรุ่นท่ี ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ดา้ นศิลปกรรม (การทําหนังใหญ่) 116 รตั นพล ชื่นคา้ : การสืบทอดการพากย์-เจรจาหนังใหญ่และโขนเรอื่ งรามเกียรติ์ ของครวู ีระ มเี หมือน,วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาอกั ษรศาสตรม หาบณั ฑิต บณั ฑิตวิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั หนา้ บทคดั ย่อ, 2554

190 หนังใหญ่สมทุ รสงคราม จังหวดั สมทุ รสงครามหรือสวนนอก-อัมพวานั้น นบั เปน็ เมืองที่มีศิลปนิ ดา้ นศลิ ปะการแสดงมากท่ีสุด แหง่ หน่งึ ของประเทศไทย ทไ่ี ด้รบั ชอื่ เสียงอยา่ งมากคือด้านดนตรี มีปรมาจารยท์ ส่ี รา้ งผลงานและชือ่ เสีย ง ประดบั วงการมากมายอาทิ ครหู ลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง ), ครูเอ้ือ สนุ ทรสนาน , เปน็ ต้น โดยเฉพาะครูเอือ้ น้นั น้อยคนเหลือเกนิ ทจี่ ะทราบวา่ ท่านเปน็ ลกู ชายของ ครดู ี ครูชา่ งและครูเชิดหนงั ใหญ่ท่มี ี คณะหนงั ใหญ่อยทู่ ่ีวดั ราษฎรบ์ ูรณะ อมั พวา ในชว่ งเวลายอ้ นหลงั ใกล้กนั ก็ มีหนงั ใหญ่วัดบางน้อย บางคนฑี ของหลวงพอ่ อยู่ทด่ี ังคู่มากับผลงานชา่ งพลุตะไลไฟพะเนยี ง นอกน้นั ยังมีตวั หนังใหญป่ รากฏหลงเหลอื อยูท่ ี่ วัด กุฏที องภมุ รินทร์ ซ่ึงอาจเปน็ หนังใหญ่ในยุคของรัชกาลที่ ๒ รวมถึงมีหนงั ชุดอิเหนาสร้างใหม่ เพือ่ จดั แสดง นทิ รรศการในอุทยาน รชั กาลที่ ๒ ล่าสดุ มีครชู ่างหนังใหญ่ ครสู งดั ใจพรหม วยั ๘๗ ปีเปดิ บ้านพพิ ิธภณั ฑ์ หนงั ใหญ่(พ.ศ.๒๕๕๗) ใกลว้ ัดบางนอ้ ย และ ครูสมพร เกตุแกว้ บ้านพญาซอ ทไ่ี ดไ้ ปถา่ ยทอดวิชาหนังใหญ่ ใหก้ ับนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยเกษมบณั ฑติ ชุมชนหนงั ใหญ่และศิลปินหนังใหญใ่ นสมทุ รสงคราม ๑.หนงั ใหญว่ ดั บางนอ้ ย อ.บางคนฑี ๒.หนังใหญว่ ัดราษบรู ณะอ.อัมพวา ๓.หนงั ใหญ่วดั กฏุ ที องภมุ รนิ ทร์ ๔.หนังใหญ่อุททยาน รัชกาลท่ี ๒ ๕.พพิ ธิ ภัณฑห์ นงั ใหญค่ รูสงดั ใจพรหม ๖.ครสู มพร เกตุแกว้ บ้านพญาซอ อ.บางคนฑี

191 ๑.หนงั ใหญว่ ดั บางน้อย อ.บางคนฑี สถานทตี่ ัง้ ต.จอมปลวก อ.บางคนที จ.สมทุ รสงคราม ช่วงระยะเวลาประมาณ รชั กาลที่ ๕ (พ.ศ.๒๔๒๙-ไม่สามารถระบุได้) ผรู้ เิ รมิ่ และอุปถมั ป์หนงั ใหญ่ หลวงพ่ออยู่ วัดบางนอ้ ย สรุปลําดบั เหตุการณห์ นงั ใหญ่วดั บางน้อย อ.บางคนฑี ตามเวลาปีพุทธศกั ราช (พ.ศ.) ดงั น้ี พ.ศ.๒๓๘๙ ปเี กิดหลวงพอ่ อยู่ วัดบางน้อย พ.ศ.๒๔๕๙ หล่อรปู เหมอื น และสร้างเหรยี ญป๊ัมหลวงพ่ออยู่ (อายุ ๗๐ ป)ี หนงั ใหญ่หลวงพ่ออยวู่ ดั บางน้อย ไมม่ ีบนั ทกึ ไวว้ า่ เร่ิมต้นเมือ่ ใด และใครเปน็ คนสร้าง แตส่ ามารถ ประมาณการไดจ้ ากการเทียบอายุ ชว่ งหลวงพอ่ เป็นเจา้ อาวาส ซึ่งอยใู่ นชว่ ง พ .ศ. ๒๔๒๙ เป็นตน้ มา และไม่ ทราบปที ยี่ ุตกิ ารแสดงหนังใหญ่ มเี พยี งเรือ่ งเล่าปากตอ่ ปากสบื มา และตวั หนงั ใหญจ่ าํ นวนหนง่ึ ทีห่ ลงเหลอื จาก ไฟไหมว้ ัดบางนอ้ ยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ กอ่ นหนา้ ที่ไฟจะไหมต้ ัวหนังใหญ่วัดบางนอ้ ยนั้น ครูสงัด ใจพรหมและครูวรี ะ มเี หมอื น ไดข้ ออนุญาต เขา้ ไปดู ดว้ ยความตัง้ ใจทีจ่ ะฟืน้ ชีวิตให้ กบั หนงั ใหญ่ ซง่ึ ไม่ไดม้ กี ารบนั ทึกภาพใดๆไว้ นับเป็นความสญู เสยี ครัง้ ยิง่ ใหญ่อีกครัง้ หน่ึงของศิลปะหนังใหญใ่ นสมยั รัชกาลท่ี ๕ ผูว้ ิจัยได้เขา้ ไปสํารวจเพ่มิ เติมอีกคร้งั (พ.ศ.๒๕๕๗) พบวา่ ทา่ นเจา้ อาวาสรปู ปัจจุบนั มีความสนใจทจี่ ะ ฟน้ื หนงั ใหญว่ ดั บางนอ้ ย เบอ้ื งตน้ ทา่ นไ ดน้ าํ หนงั ใหญจ่ ํานวน ๓ ตัวใสก่ รอบกระจกติดไว้ด้านล่างอาคารสงฆ์ และมีความต้งั ใจท่ีจะเปิดกรตุ ัวหนังใหญจ่ ํานวนมาก ที่หลงเหลือจากไฟไหม้ ท่เี กบ็ ไว้บนเพดานศาลาหลงั ใหม่ นน่ั แสดงวา่ ยงั พอมหี นงั ใหญ่หลงเหลอื อยู่จาํ นวนไม่น้อย ซ่ึงพอจะนาํ มาซอ่ มแซมหรือลอกลายเพ่ือสรา้ งใหม่ ตามสมควร กอ่ นหนา้ นี้ อาจารย์ชนะ กรํ่ากระโทก อาจารยป์ ระจํามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ผ้รู เิ รม่ิ หนงั ใหญใ่ นร้ัว มหาวิทยาลัยเอกชน ไดเ้ คยเข้ามาสาํ รวจตัวหนังใหญ่วดั บางน้อย พบตัวหนงั เป็นรปู จรเข้ขนาดใหญ่ ซึง่ เป็นไป

192 ได้วา่ ทว่ี ัดบางนอ้ ยอาจจะแสดงเบิกโรงจระเข้กดั กนั สลบั กับจับลิ งหวั คา่ํ เหมอื นอย่างสมยั อยุธยาท่มี กี ารแสดง เบิกโรงมากมายหลายอย่างอาทิ หัวลา้ นชนกัน เป็นตน้ ครสู งดั ใจพรหม ครชู า่ งหนงั ใหญแ่ ละเปน็ คนชมุ ชนบางน้อยไดเ้ คยใหข้ ้อมลู ไว้ว่า “วดั บางนอ้ ยแตก่ อ่ น สมัยหลวงพอ่ อยู่ มหี นังใหญ่ราวๆ ๓๐๐ ตวั ตอนสมัยประถมฯ ชว่ งพกั กลางวันผมกับเพ่ือนยงั เคยแอบขน้ึ ไปบน ศาลา ไปหยบิ หนังใหญ่มาเชิดเลน่ เลย หลงั หลวงพอ่ อยมู่ รณะภาพเขาก็เลิกเลน่ หนงั กนั แลว้ แต่นา่ เสยี ดายโดน ไฟไหมไ้ ปพร้อมกับกุฏศิ าลา โชคดียังเหลอื ให้เห็นเป็นบุญตา ๑๐ ตัว ในซากเถา้ กองเพลงิ ผมเคยไปสาํ รวจหนงั ใหญ่หลายท่ี อย่างวัดขนอน จังหวดั ราชบุรี ตั วหนังสว่ นใหญเ่ ป็นฝมี อื ช่างทอ้ งถน่ิ บางตัวทีม่ ฝี มี ือเด่นๆ นา่ มาจากชา่ งของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ เจา้ ฟูากรมพระนรศิ รานวุ ดั ติวงษ์ (พ.ศ. ๒๔๐๖-๒๔๙๐) ซึ่งหลวงปูกุ ล่อม อดตี เจา้ อาวาสวัดขนอน(พระครูศรัทธาสุนทร พ.ศ.๒๓๙๑ – ๒๔๘๕) กับหลวง พ่ออยู่ อดีตเจ้าอาวาสวัดบางนอ้ ย เป็นเพอ่ื นเกจอิ าจารยแ์ ละมีหนงั ใหญ่เหมอื นกัน แต่หลวงพ่ออยู่ท่านจะเด่น ทางดา้ น ดอกไมไ้ ฟพลตุ ะไล... ท่เี พชรบุรี วัดพลับพลาไชย ก็มีตัวหนงั ใหญ่ แตไ่ ม่รวู้ ่าใครทํา (ช่างสร้างหนังใหญ่) เพราะไฟไหม้ไปหมดแล้วเหมือนกนั และที่อัมพวานี่สมยั ก่อนก็มีช่างแกะหนงั ใหญช่ อื่ นายดี พ่อของครเู อื้อ สุนทรสนาน และทว่ี ดั ราษฎร์บูรณะ ตาํ บลเหมอื งใหม่ อาํ เภออัมพวา กเ็ คยมหี นังใหญ่ แต่ลกู หลานเจ้าของเดิม เขาขายยกตบั ทั้งหมดให้ต่างประเทศไปแลว้ ..”117 117 สัมภาษณ์ สงดั ใจพรหม, (ศลิ ปนิ ดเี ด่น สาขาทศั นศลิ ป์ จงั หวดั สมุทรสงคราม ประจําปี ๒๕๔๒). ๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔

193 ๒.หนงั ใหญว่ ดั ราษฎรบ์ รู ณะ อ.อมั พวา สถานทีต่ ้งั หมู่ ๙ ต.เหมืองใหม่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ช่วงระยะเวลาประมาณ ประมาณรชั กาลที่ ๕ (กอ่ นพ.ศ.๒๔๓๓-ไมส่ ามารถระบุได้) เจา้ ของคณะหนังใหญ่ ครดู ี (บดิ าของครูเอ้อื สุนทรสนาน) สรุปลําดับเหตกุ ารณห์ นังใหญว่ ัดราษฎรบ์ รู ณะ อ.อัมพวา ตามเวลาปพี ุทธศกั ราช (พ.ศ.) ดังน้ี พ.ศ.๒๔๕๓ ปีเกิดครูเอ้ือ สุนทรสนาน บตุ รชายครูดี ครูดี เปน็ ช่างสลกั หนงั ใหญ่และเป็นเจา้ ของคณะหนงั ใหญ่ ย่าน วัดราษฎรบ์ รู ณะ อ .อัมพวา ภรรยาชอื่ แส มบี ตุ รธิดาดว้ ยกัน ๓ ท่านคือ ๑.หม่ืนไพเราะพจมาน (อาบ สุนทรสนาน) 118 ๒.นางปาน แสงอนันต์ ๓.นายเอ้อื สนุ ทรสนาน เมอื่ ครดู ี เสยี ชีวิตแลว้ หนังใหญท่ ้งั หมดได้เก็บรั กษาไว้ท่ีวดั วัดราษฎรบ์ ูรณะ ในช่วงหลังปพี .ศ. ๒๕๐๐ ครวู ีระ มีเหมอื นไดเ้ คยมาจัดแสดงโขนทวี่ ัดราษฎรบ์ รู ณะและทราบข่าวว่าวา่ ท่ีวัดยังมตี ัวหนังเกบ็ ไว้ หลังจากนนั้ ไดต้ ั้งใจมาสํารวจแตไ่ มพ่ บเสียแลว้ ครสู งัด ใจพรหม ใหข้ อ้ มูลเพ่ิมเติมอีกวา่ “..อมั พวาน่ีสมัยกอ่ นก็ มชี า่ งแกะหนงั ใหญช่ อ่ื นายดี พ่อของครเู อ้ือ สุนทรสนาน และทว่ี ัดราษฎรบ์ ูรณะ ตําบลเหมอื งใหม่ อําเภออัมพ วา ก็เคยมหี นงั ใหญ่แตล่ ูกหลานเจา้ ของเดิมเขาขายยกตับทงั้ หมดให้ต่างประเทศไปแล้ว”119 118 ต่อมาไดร้ ับพระราชนามสกลุ สุนทสนาน 119 สัมภาษณ์ สงัด ใจพรหม, เรื่องเดยี วกัน

194 แม้ตวั หนังใหญจ่ ะไม่เหลือ แต่กย็ งั มีเรอ่ื งเลา่ หนงั ใหญ่หนุมานว่ายนา้ํ กลบั วัด เปน็ ความมหัศจรรย์ที่ เกิดข้นึ เมื่อตอนท่คี ณะหนังใหญว่ ดั วดั ราษฎร์บรู ณะฯ กลับจากงานแสดงงานหนึ่ง แลว้ มหี นังตวั หนุมาน ทหาร เอกพระรามเกิดพลดั ตกนํา้ ในแม่นาํ้ แม่กลองน่แี หละ งมหาอยา่ งไรกไ็ มเ่ จอ แตพ่ อมาถึงวัดฯ หลวงพ่อเจา้ อาวาสบอกวา่ หนงั ใหญห่ นมุ านว่ายมาถงึ วดั ก่อนแล้ว ..สร้างความประหลาดใจใหก้ ับชาวคณะหนงั ใหญแ่ ละเปน็ เรื่องล่ําลอื ถึงปาฏหิ ารยส์ บื ต่อกนั มา ๓.หนงั ใหญว่ ดั ภมุ รินทร์กุฎที อง อ.อมั พวา สถานท่ตี ัง้ บา้ นภุมรนิ ทร์ ต.สวนหลวง อ.อัมพวา จ.สมทุ รสงคราม ช่วงระยะเวลาประมาณ ไม่สามารถระบุได้ ตวั หนงั ใหญว่ ัดภุมรนิ ทรก์ ุฏีทอง ไดจ้ ดั ต้งั ไว้ในพธิ ภัณฑ์ภายในวดั ครูวรี ะ มีเหมอื นได้เคยมาสาํ รวจและ สันนิษฐานจากตวั หนังว่าอาจเปน็ หนงั ใหญช่ ดุ หน่ึงทต่ี กทอดยาวนานมาตั้งแตค่ ร้งั ต้นรัตนโกสนิ ทร์ ดว้ ยสถานที่ มีประวตั สิ อดคล้องเกย่ี วเนอื่ งกนั เพราะตามประวัติศาสตรค์ ือมีกุฎที องขนาดใหญส่ ร้างโดยสมเดจ็ พระชนกนาถ ของสมเด็จพระอมรินทรามาตยพ์ ระอคั รมเหสใี นรัชกาล ที่ ๑ เพ่ือถวายเจา้ อาวาสวัดบางลี่บน ต่อมาบริเวณที่ ปลูก กุฎีทองถูกน้าํ เสาะจนตล่ิงพังจึงตอ้ งย้ายกฎุ ีทองมาไว้ท่ีวดั ภมุ รินทร์ หลงั จากย้ายกุฎีทองจากวดั บางล่ีบน มา ไว้ท่วี ัดนี้จึงเรยี กชอื่ รวมกนั 120 ๔.หนงั ใหญอ่ ุทยาน รชั กาลท่ี ๒ สถานท่ตี ง้ั อําเภออัมพวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม ชว่ งระยะเวลาประมาณ พ.ศ.๒๕๔๐-ปจ๎ จุบนั หากเขา้ ไปเยี่ยมชมพิพิธภณั ฑ์พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ในอุทยาน รัชกาลที่ ๒ ตรงหอกลาง จะ พบเหน็ หนงั ใหญ่ เรอื งอิเหนาจัดแสดงอยู่ ซง่ึ เปน็ โครงการจัดสร้างหนงั ใหญ่ประกอบการจดั แสดงในเรือ่ งอเิ หนา ตอนประสนั ตาเชดิ หนงั -สกึ ชี โดย มลู นธิ ิพระบรมราชานุสรณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ในพระ 120 แหลง่ ที่มา http://www.watphummarin.com

195 บรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการดําเนนิ งาน ซ่ึงสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ องค์ ประธานมีพระราชประสงค์ใหก้ รมศลิ ปากรจดั สร้างหนังใหญ่ ใ ชส้ ําหรบั ในงานแสดงนาฏศิลป์ เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ประจําปี ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ .ศ.๒๕๔๐ ประกอบละครใน เรือ่ ง อิเหนา ตอนประสันตาเชิดหนัง- สึกชี เพอื่ เปน็ ประโยชนใ์ นการอนุรกั ษ์และเผยแพร่บทพระราชนพิ นธข์ อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ๕.พิพธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่ครูสงดั ใจพรหม สถานท่ตี ัง้ ๓๑ หมู่ ๒ ต.ยายแพง อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ช่วงระยะเวลาประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ เมือประมาณปพี .ศ.๒๕๕๔ ผวู้ ิจยั ได้มีโอกาสสัมภาษณ์และทาํ ความรู้จกั กับครสู งดั ใจพรหม 121 จึงได้ ทราบ ความมงุ่ มั่นตงั้ ใจท่ีจะสรา้ งพพิ ิธภณั ฑ์หนังใหญ่ภายในบา้ นตนเอง และพิพธิ ภัณฑไ์ ดส้ รา้ งสําเรจ็ สมความต้งั ใจ และเปิดให้เข้าชมในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ครสู งัด ใจพรหม เคยเลา่ ประวตั ิชีวติ และความเป็นมาของพิพธิ ภัณฑ์หนังใหญแ่ หง่ นว้ี า่ “ถา้ ยอ้ นชีวติ กับไปหลงั จากท่ีทา่ นเรยี นจบชั้นประถมท่ีโรงเรียนวดั บางน้อยใน และ เรียนมธั ยมท่โี รงเรยี นสายธรรมจันทร์ จงั หวัดราชบรุ ี ก็ไดไ้ ปเรียนตอ่ ทโี รงเรยี นเพาะช่าง (วิทยาลยั เพาะชา่ งในปัจจบุ ัน) จนจบวุฒิประโยคครูประถม การช่าง สาขาวจิ ติ รศิลป์ และวุฒิประโยคครูมัธยมการชา่ ง สาขาประตมิ ากรรม กลับบ้านมารับราชการใน ตาํ แหน่งครจู ตั วา ประจํากรมวิสามัญ ศึกษา พ .ศ.๒๔๙๖ ไปเป็นครูตรีโรงเรียนสกลวสิ ทุ ธ์ิ อ .บางคนที จ . สมทุ รสงคราม พ .ศ ๒๕๑๕ ได้รับการแตง่ ตั้งเป็นอาจารย์ ๒ ระดบั ๖ โรงเรยี นอัมพวันวทิ ยาลัย อ .อัมพวา จ . สมุทรสงครามจนเกษยี ณอายรุ าชการในปพี .ศ๒๕๓๑ ครชู า่ งคนนี้ได้สร้างผลงานไวอ้ ย่างมากมาย ทโี่ ดดเด่นคุน้ ตากนั ดี คอื ออกแบบและป้นั รปู เหมอื น รชั กาลท่ี ๕ หรอื พระบรมรูปทรงม้า ณ บรเิ วณ หนา้ ศาลากลางจงั หวัดสมุทรสงคราม และออกแบบปั้นหุน่ แฝด สยามอนิ -จนั ฝาแฝดทสี่ รา้ งชื่อเสยี งใหก้ บั ประเทศไทย ตั้งอยทู่ ี่ ต .ลาดใหญ่ อ .เมือง จ .สมุทรสงคราม 121 ครูสงัด ใจพรหม ปัจจบุ ันอายุ ๘๖ ปี (พ.ศ.๒๕๕๗) อย่บู า้ นเลขที่ ๓๑ หมู่ ๒ ต.ยายแพง อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ภรรยาช่อื นางบุญเยอ่ื ใจพรหม ปจั จุบนั เปน็ ข้าราชการบํานาญ มีบตุ รสาว ๒ คน

196 นอกน้นั ยังมีงานออกแบบและป้นั พระบรมรปู รชั กาลท่ี ๖ ทค่ี า่ ยบางกุ้ง, รปู เหมอื นเจา้ พระยาวงศาสรุ ศักด์ิ วัดบางแคใหญ่ , ปราสาทจตั ุรมุขหน้าวดั ภุมรนิ ทร์กุฎที อง, อนุสาวรยี ห์ ลวงปุเู หมือน และพระครสู มุทรสธุ ี วัดกลางเหนือ, พระรปู เหมือน หลวงปเูุ อย่ี มวดั ปากลดั , ปราสาทจัตุรมขุ สําหรบั ประดิษฐานพระบรมรปู ทา่ นเจา้ คุณ พระราชสมุทรเมธี อดีตเจ้าอาวาสวดั อมั พวนั เจติการาม , พระรูปเหมอื นหลวงปูุหอม วดั เหมืองใหม่ , ออกแบบและควบคมุ การก่อสรา้ งลายอโุ บสถวัดบางนอ้ ยและศาลาวิหารหลวงพอ่ อยู่, ซมุ้ ทรงไทยจตรุ มุข ทางเขา้ วัดบางน้อยใน, ซอ่ มพระพทุ ธรปู ศลิ าแลง จาํ นวน ๕ องค์ ที่ถกู ทาํ ลายเสยี หายใหอ้ ยใู่ นสภาพเดิม โดยใช้ ปูนตําแบบโบราณ, ปั้นรูปพระเจา้ ตากสินมหาราช เพ่ือไปประดิษฐานที่จังหวัดตราด เป็นตน้ แลว้ ครชู า่ งผมู้ ีฝมี ือในงานป้น๎ ชัน้ เยี่ยมยอดอย่างครสู งัด ใจพรหม ทําไมถึงไดม้ าสนใจงานหนงั ใหญ่ ? “หลงั จากเรยี นเพาะช่าง พบวา่ ตนเองทํางานทางด้านศิลปะไดด้ ี โดย เฉพาะลายไทย เพ่ือนเหน็ ก็เอามา ใหเ้ ขียนให้แก้ มีคนเอามาให้ออกแบบ ปน้ั ลายบ้าง กท็ าํ ต้ังแตน่ นั้ มา แตห่ นังใหญ่นี่เปน็ เรื่องทช่ี อบฝังใจผกู พันธ์ กนั มาตัง้ แตเ่ ด็ก และคิดว่ามันนา่ จะเป็นตัวเรามากที่สุด...เลยอยากกลับมาฟน้ื ชีวติ ใหต้ วั หนังบางน้อยบา้ นผมอีก คร้ัง...” แบ่งอายุหนงั ใหญ่ตามลวดลายและรอยตอกตุ๊ดตู่ “ผมแบ่งยุคสมยั หนังตามฝมี อื ครชู า่ งหนังใหญ่สมยั รตั นโกสนิ ทร์ ๓ รุ่นดว้ ยกันคือ รนุ่ แรก พระพรหม วจิ ติ ร ช่วงราวสมัยรัชกาลที่ ๒ ซึ่งจะมลี วดลายวิจติ รละเอียด ใชต้ ุด๊ ตู่ตอกรไู ลเ่ ล็กใหญล่ ดหลัน่ หลายขนาด , รุ่น สอง พระเทวาภนิ ิมมิต(ฉาย เทียมศลิ ปช์ ัย : พ.ศ.๒๔๓๑-๒๔๘๕) เป็นศลิ ปนิ เอกทา่ นหน่งึ ของไทยในสมัยรชั กาล ที่ ๕-๗ แห่งกรงุ รตั นโกสินทร์ จะตอกลายต๊ดุ ตู่สองชั้น และรุ่นสาม สมเด็จพระเจ้าบรมวงษเ์ ธอ เจา้ ฟาู กรมพระ นรศิ รานุวดั ตวิ งษ์(พ.ศ.๒๔๐๖-๒๔๙๐)ใช้ตดุ๊ ตู่ตวั เดียวตอกเกือบทง้ั ตวั .....หนังใหญ่วัดบางนอ้ ย นา่ จะเป็นผ ลงาน ของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงษ์เธอเจา้ ฟาู กรมพระนริศรานุวดั ตวิ งษ์ ผมพยายามตามหาหนงั ใหญ่ท่ีเยอรมัน ตดิ ต่อผ่านไปยงั สถานทูตพบวา่ มอี ยจู่ ริงประมาณ ๓๐๐ ตัว ใน พิพิธภณั ฑป์ ระเทศของเขา เจตนาคืออยากขอถา่ ยรูป เพื่อจะมาเทยี บกบั ชดุ แรกท่โี ดนไฟไหม้ (วดั บางน้อย? หรือ ท่ีโรงละครแหง่ ชาติ ชุดหนังใหญ่ “พระนครไหว”?) แลว้ นาํ มาวาดลาย แกะตัวหนังใหมเ่ ท่าน้ันเอง ไมไ่ ดไ้ ป คดิ ทวงคืนอะไร แตเ่ ขาไมอ่ นญุ าตใหไ้ ปถ่ายรปู ?...ครสู งัดจงึ ใชว้ ิธีรวบรวมรวมภาพหนงั ใหญ่ตามหนงั สือหรือ โปสการ์ดเกา่ ๆ “...จากนัน้ มากร็ วบรวมภาพไวต้ ้ังแตย่ ังไม่ปลดเกษยี ณ คิดว่าจะอนุรักษห์ นงั ใหญ่ ทาํ ยังไงดี ? มคี วามคิด ทจ่ี ะทาํ พพิ ิธภัณฑ์พ้นื บา้ น ตั้งใจจะเปิด “ศนู ยศ์ ิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน” ขึ้นทขี่ ้างบา้ นผมนแ่ี หละ เพ่ือใหเ้ ปน็

197 พพิ ิธภณั ฑช์ ุมชนให้นกั เรียน นกั ศึกษา นักท่องเท่ียวไดม้ าดู มาศึกษาหนงั ใหญ่ แบบไมท่ งิ้ รูปแบบดงั้ เดิม โดยผม ปรึกษาหารือกับลกู ศิษยล์ กู หาทกุ รุ่นทีเ่ คยสอนเขามาใหท้ อดผา้ ปุาการศกึ ษา แล้วจากน้ันใหพ้ วกเขาเป็น ผ้จู ัดการดแู ลถงึ ถา้ ผมไมอ่ ยู่เขากส็ ามารถชว่ ยกนั สบื สานดําเนินการตอ่ ได้” ๖.ครูสมพร เกตแุ กว้ บ้านพญาซอ อ.บางคนฑี สถานทต่ี ั้ง ๔๓ หมู่ ๕ ตาํ บลบางพรม อาํ เภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ช่วงระยะเวลาประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ครสู มพร เกตแุ ก้ว เกดิ วนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม พ .ศ. ๒๕๐๑ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช กรุงเทพมหานคร ปจั จุบันเป็นครภู มู ปิ ญั ญาท้องถิ่นในด้านประวัตศิ าสตร์ ท้องถน่ิ จังหวดั สมทุ รสงคราม ไดร้ ับ เชิญเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษทัง้ ในจงั หวัดและต่างจงั หวดั มคี วาม เช่ียวชาญทางด้านการแกะกะลาซอ ,เพลงเรอื และ หนังใหญ่ ได้นําความร้ไู ปถ่ายทอดแกบ่ คุ คลทส่ี นใจ และ นกั เรยี นในสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยไม่คดิ ค่าตอบแทน ผลปรากฏวา่ มผี ูใ้ หค้ วามสนใจสอบถามขอ้ มลู ประวตั ิ ความเป็นมาของอาํ เภอบางคนทีและจงั หวดั สมทุ รสงครามอย่างตอ่ เน่อื ง122 ครูสมพร เกตุแกว้ 123 ได้เคยให้สมั ภาษณไ์ ว้ในรายการไทยโชว์ เกี่ยวกับหนงั ใหญ่ทไ่ี ด้ไปถ่ายทอดให้ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิตว่า“เดก็ ๆนกั ศกึ ษา เขาไม่ได้เรียนรู้ แลว้ มานําเสนอทั้งดนุ้ เขานํามา สรา้ งสรรค์ในมมุ มองใหม่ อยา่ งหนังใหญ่เขาหยิบเอาตอน จบั ลงิ หวั ค่ํามาปัดฝุ น นําเสนอ เป็นหนังใหญ่ทีไ่ ม่ตอ้ ง ตง้ั ฉากหรือขงึ จอหนัง แต่งแต้มสีสนั ใหม่บนตัวหนังใหแ้ ปลกแตกต่าง เดิมจับลิงขาวลิงดํากม็ าเป็นจบั ลงิ หมู่ แบง่ เปน็ สองฝาุ ยเพ่ือเพ่ิมพลังความยิง่ ใหญ่ จับเรอ่ื งตอน หนมุ านจับนางสพุ รร ณมจั ฉา มานําเสนออยา่ งกระชบั ฉับไว ระหว่างเชดิ หนังใหญก่ ส็ ลบั ฉากนาํ โขนตัวลงิ กบั ตัวนาง และหนุ่ กระบอกคนมาสลับเลา่ เร่อื งราวสร้าง ความหลากหลายน่าชม....เด็กๆนกั ศึกษาเขานําหนงั ใหญ่ที่ถ่ายทอดแบบดงั่ เดิม มาสร้างสรรคต์ อ่ ยอดเอง ซงึ่ มองวา่ ทําให้ดนู ่าสนใจมากดกี ว่าไม่ทาํ อะไรแล้วปล่อยให้สูญหาย คอื ของเก่ากต็ ้องเรยี นรู้ ไว้”124 122 ประวตั ิครูสมพร เกตแุ กว้ แหล่งท่มี า http://www.m-culture.in.th 123 คมสันต์ สทุ นต์, ครูสมพร เกตุแก้ว พญาซอแหง่ บางคนฑ,ี เรอ่ื งเดยี วกัน 124 รายการไทยโชว์ ตอน ม.มติ รวัฒนธรรม วนั อาทิตยท์ ี่ ๖ มนี าคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๘.๐๐ น. ทางทวี ีไทย

198 หนงั ใหญ่วดั พลับพลาชัย เพชรบุรี สถานทต่ี ัง้ ๑๐๖ ถนนดาํ เนนิ เกษม ตําบลคลองกระแชง อําเภอเมอื งเพชรบรุ ี จงั หวัดเพชรบรุ ี ช่วงระยะเวลาประมาณ รชั กาลท่ี ๕ – ต้นรัชกาลท่ี ๙ (พ.ศ.๒๔๑๒-๒๔๙๐) เจา้ ของคณะ/ผ้อู ุปภมั ป์ หลวงพอ่ ฤทธ์ิ วดั พลับ ผวู้ ิจัยสรปุ ลําดับเหตุการณ์หนงั ใหญว่ ัดพลบั พลาชยั ตามเวลาปีพทุ ธศักราช(พ.ศ.) ดังนี้ พ.ศ.๒๓๗๘ ปเี กดิ หลวงพอ่ ฤทธ์ิ (ปลายรชั กาลที่ ๓) ประมาณ พ.ศ.๒๓๙๐ หลวงพอ่ ฤทธ์ิคร้ังฆราวาสเปน็ ศษิ ยข์ รัวอินโข่ง พ.ศ.๒๓๙๘ หลวงพ่อฤทธอิ์ ปุ สมบท พ.ศ.๒๔๑๒ หลวงพอ่ ฤทธ์เิ ปน็ เจ้าอาวาส ๒๔๑๒ พ.ศ.๒๔๕๓ หนังใหญห่ น้าพระที่นง่ั รชั กาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๕๘ ไฟไหมว้ ดั พลบั พลาชยั นําหนงั ใหญไ่ ปเก็บทีห่ อไตรวดั คงคารามฯ พ.ศ.๒๔๖๔ หลวงพ่อฤทธ์ิละสงั ขาร พ.ศ.๒๔๘๓ หนังใหญว่ ัดพลบั ฯ ไปประดับหน้าต่างโรงเรียนพรมมานุสรณ์ พ.ศ.๒๔๙๐ แสดงหนงั ใหญ่ งานพระราชทานเพลิงศพพระเพชรคุณมุนี (กร) ก่อน พ.ศ.๒๕๐๓ หนังใหญจ่ ากวดั คงคารามฯ ไปอยู่วัดลาด อาจารย์เฟ้ือ หริพิทกั ษ์ ขอนาํ ไปไว้ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๑๘ อาจารยบ์ ุญมี พบิ ูลยส์ มบตั ิ สํารวจหนังใหญ่วัดพลบั ฯ เก็บไว้ในวหิ ารของวดั พบ หนงั ใหญป่ ระมาณ ๒๔–๒๕ ตัว เหลือสมบูรณ์อย่เู พยี ง ๑๐ กว่าตัว

199 หนงั ใหญ่หลวงพอ่ ฤทธิ์ วัดพลับ หรือวัดพลบั พลาชยั จังหวัดเพชรบรุ ี เป็นชุมชนหนังใหญท่ มี่ ชี ่อื เสียง มากในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยเฉพาะตัวหนังนัน้ จะมีความงดงามวจิ ติ รเทียบเคียงไดก้ บั หนังชุดพระนครไหว ของ กรมมหรสพ รวมถงึ เป็นเครอื ญาตกิ บั หนังใหญ่วดั บางนอ้ ย สมุทรสงคราม และ หนงั ใหญ่ วดั ขนอน ราชบรุ ี ประวัติหลวงพ่อฤทธิ์ ผใู้ หก้ าํ เนิดหนงั ใหญ่วัดพลบั พลาชยั หลวงพอ่ ฤทธิ์เกดิ พ.ศ. ๒๓๗๘ ปลายสมัยรชั กาลที่ ๓ ที่ บา้ นปากทะเล อ .บา้ นแหลม เมือ่ เติบใหญไ่ ด้ มอบตวั เปน็ ศษิ ย์ ขรวั อินโขง่ พระภิกษุ ผูม้ ชี ่อื เสียงโดง่ ดังมากสมยั รัชกาลท่ี ๔ ซง่ึ เกดิ ที่ตําบลบางจาน อาํ เภอ เมอื ง จังหวดั เพชรบรุ ี เปน็ คนเมอื งเพชรฯดว้ ยกนั ได้ตดิ ตามไป ปัน้ รูป เขยี นภาพในทีต่ า่ งๆ มากมาย นัยว่า ภาพเขยี นของขรวั อนิ โข่งบนผนังพระอโุ บสถวดั มหาสมณารามวรวหิ าร หรือวดั เขาวงั เล่ากันวา่ ”ท่านขรัวอนิ โข่งรา่ งแบบ แล้วใหค้ ณุ พอ่ ฤทธ์ิวาดและลงสตี อ่ อีกทหี น่ึง ” ฝีมือป้ันพระพทุ ธรปู ในถาํ้ เขาหลวง สมัยรชั กาลที่ ๔, ๕ นั้น หลวงพอ่ ฤทธ์ิมสี ว่ นในการปั้นอย่ดู ้วย เชือ่ กนั ว่า จิตรกรรมรปู พระฉายหน้าพระวหิ ารวัดมหาธาตวุ รวหิ าร พระพทุ ธรูปในพระระเบียงวิหารคดวดั มหาธาตุ กอ่ นการซ่อมครั้งใหญ่ ก็เป็นฝมี ือของหลวงพ่อฤทธ์ิเช่นกนั พ.ศ. ๒๓๙๘ หลวงพ่อฤทธอ์ิ ปุ สมบท ณ วัดมหาธาตุวรวหิ าร แลว้ มาจําพร รษา ณ วัดพลับพลาชัย นอกจากศึกษาพระปริยตั ิธรรมสมควรแก่สมณเพศแล้ว ยังรบั การศึกษาวชิ าแพทยแ์ ผนโบราณจาก หลวงพอ่ คง ซงึ่ โดง่ ดังทางรักษาโรคตา ด้วยตํารบั ยาตาวดั พลบั ฯ ... พ.ศ. ๒๔๑๒ หลวงพอ่ คงมรณภาพ หลวงพ่อฤทธิไ์ ดเ้ ปน็ เจา้ อาวาสวดั ตอ่ มา ตลอดช่วงก่งึ ศตวรรษใน สมัยของท่าน นอกจากสืบทอดวิชาแพทยแ์ ผนโบราณดา้ นโรคตาแลว้ ท่านสามารถทาํ ให้วดั พลบั ฯ เป็น ศนู ย์กลางการศึกษาวชิ าสามญั มีลกู ศิษย์ลกู หามาขอเรียนวิชาศิลปะดา้ นตา่ งๆ จากท่านมากมาย หลวงพ่อฤทธิไ์ ดร้ ะดมศิษย์มฝี มี ือทางชา่ งวาด ช่างแกะสลัก แลว้ ใช้ศาลาการเปรยี ญเปน็ โรงงานฉลหุ นงั ใหญ่ โดยมากจะใชห้ นังววั ตัวเมยี เพราะบาง ระบายสีแล้วแสงไฟผา่ นเกิดความสวยงาม ทําอยู่ ๓ ปี ได้ตัวหนัง เพยี ง ๒๐๐ ตวั เท่าน้ัน เพราะต้องใชค้ วามประณตี และต้องอาศัยชา่ งทาํ ทมี่ ฝี ีมือถงึ ขนาดจรงิ ๆ ทา่ นได้ฝึกซ้อม คณะหนังใหญ่ และกําหนดบทพากยแ์ ละมขุ ตลกดว้ ยตนเอง วชิ าแกะสลกั และเชดิ ห นังใหญ่โดยวัดพลบั พลาชัย

200 ได้ไปมชี ือ่ เสยี งโดง่ ดงั อยู่ในสาํ นกั วดั ขนอน อ .โพธาราม ตราบเท่าทกุ วันนี้ (ตน้ กําเนดิ หนังใหญ่วดั ขนอน มี ประวตั วิ า่ มาศกึ ษากบั ครูฤทธ์ิ แห่งเมืองเพชรบุรี) ศิษยท์ างด้านจติ รกรรม ปฏมิ ากรรม และปูนปัน้ ทีส่ ืบทอดต่อ จากทา่ นกม็ ี นายเลิศ พว่ งพระเดช นายอยู่ อนิ มี และนายพิณ อินฟาู แสง ฯลฯ หนังใหญห่ นา้ พระท่ีนง่ั รัชกาลที่ ๕ ณ วังบา้ นปืน125 วนั ที่ ๘ ตลุ าคม ๒๔๕๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ ทรงมีพระกระแสรบั สงั่ ใหพ้ ระยา สุรนิ ทร์ฦๅไชย (เทยี ม บนุ นาค ) เจ้าเมืองเพชรบุรี ไปหาหนังใหญ่คณะวดั พลับพลาชัย มาแสด ง ณ พระราชวัง รามราชนเิ วศน์ (วังบ้านปนื ) ... หลวงพ่อฤทธิ์ไดต้ ้งั ให้ นายรวบ เป็นนายหนงั (ผูก้ าํ กบั การแสดง) นายจู เป็นนาย ไต้(ผคู้ วบคมุ แสง) นายเปล่ยี น เสียงละหอ้ ย(ฉายาการแสดง) เป็นผพู้ ากย์ และมผี ู้เชิดหนังอีกประมาณ ๗ คน ... พอไดเ้ วลา ๑ ท่มุ นายจู ไดจ้ ดุ ไตบ้ นแ ปนู คณะหนังใหญ่โห่ ๓ ลา พิณพาทยบ์ รรเลงเพลงรวั และเพลง เชิด คนเชิด ๓ คน นาํ ตวั หนงั เจา้ ๓ ตวั ออกมาพงิ กับจอ นายรวบจุดธูปเทียนบชู าหนังเจ้า พณิ พาทย์บรรเลง เพลงสาธุการจบแลว้ นายเปล่ียนเริม่ บทพากย์ “เบกิ หนา้ พระ” พณิ พาทยบ์ รรเลงเพลงครอบจักรวาล ผเู้ ชดิ นาํ หนังเจ้าทง้ั ๓ ตวั กลบั พอได้เวลา ๓ ทมุ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พร้อมดว้ ยข้าราชบริพาร กเ็ สด็จฯมา ประทบั นั่งบนพระทน่ี ง่ั หน้าจอ พณิ พาทย์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี คณะหนงั ใหญท่ ้งั หมดเข้าเฝูาฯ กราบถวายบังคมพร้อมกนั นายรวบผคู้ วบคมุ การแสดง ไดก้ ราบบังคมทลู ถวายรายงานแดพ่ ระบาทส มเด็จพระ เจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงมพี ระราชดาํ รัสตอบ คณะหนังใหญห่ มอบลงกราบถวายบังคมอกี ครง้ั หนง่ึ แลว้ เดินเข้า จอ คณะหนงั ใหญเ่ รมิ่ ลงมอื เชดิ เปน็ การเบิกโรง เชิดตอน “จบั ลงิ หวั คํา่ ” พอเปน็ สงั เขป แล้วก็เรม่ิ เชดิ ตาม เรอื่ งทแ่ี สดง การแสดงคืนนน้ั เปน็ การแสดงตอน “พระรามลงสรง” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ได้ ทอดพระเนตรการแสดงอยู่พอสมควรแกเ่ วลา ก็เสดจ็ พระราชดําเนินไปชมการแสดงตา่ งๆ โดยรอบพระราชวงั รามราชนเิ วศนต์ ่อไป 125 วันท่ี ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๕๓ ทรงบําเพ็ญพระราชกศุ ลเนอ่ื งในโอกาสครบรอบปีพระเจา้ ลกู ยาเธอพระองคเ์ จา้ อรุ ุพงศร์ ชั สมโภชส้นิ พระชนม์ โดยจดั พระราชพิธี ณ บริเวณปะราํ พระราชพิธกี อ่ พระฤกษ์พระท่ีนงั่ บ้านปนื กลางคืนมมี หรสพคือหนงั ใหญ่ วัดพลับพลาชัย ๑ โรง หนงั ตลุง ๑ โรง ลครตลก ๑ โรง ละครชาตรี ๑ โรง มีจุดดอกไม้เพลงิ จุดพลุ วนั ท่ี ๙ กนั ยายน พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ มเี ทศนาธรรม ๒ กณั ฑค์ อื พระปลัดฉิม เจา้ อธิการวดั ปูอมกบั เจา้ อธิการทุ่มวดั นอ้ ย มีสดบั ปกรณ์ ๑๐๐ รปู ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ท้งิ ทานผลกลั ปพฤกษ์ พระครญู าณเพชรรัตน์วดั ยางถวายธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ กลางคืน มมี หรสพเชน่ เดยี วกบั คนื ก่อน

201 ไฟไหม้วัดพลับพลาชัย เดอื นเมษายน พ .ศ.๒๔๕๘ เกดิ ไฟไหมค้ รงั้ ใหญใ่ นเพชรบุรี ตน้ ไฟเกิดจากสแี่ ยกวัดโพธาราม ไหมท้ าง ตะวันออกซ่งึ เปน็ ตลาดจนหมด เชอื้ ไฟได้ลามข้ามสะพานชา้ งมา เพราะสะพานจอมเกลา้ ปพู น้ื ดว้ ยไม้ ไฟได้ไหม้ วดั มหาธาตหุ มดทัง้ วดั ที่วัดพลบั เหลือแตก่ ุฏิหลวงพ่อฤทธิ์กับวหิ าร แมไ้ ฟจะลุกไหมก้ ระหน่าํ ศาลาการเปรียญ ไปทัง้ หลัง แต่กุฏหิ ลวงพ่อฤทธซิ์ งึ่ อยู่ตดิ กนั ไฟกลับลามไปไมถ่ งึ หลวงพอ่ ฤทธ์ิ ท่านยังคงน่ังกมั มัฏฐานสงบ ดว้ ย จิตอนั แน่วแนม่ ิได้หว่นั ไหวตอ่ ทุกขภ์ ยั พบิ ัติท่เี กิดขน้ึ เฉพาะหน้า เป็นท่นี า่ อศั จรรยย์ ่งิ นัก ... ส่วนหนงั ใหญว่ ัด พลับฯ ไดถ้ กู ขนหนี ไมท่ ราบวา่ มีตัวหนังถูกไฟไหมเ้ สยี หายไปบ้างหรือเปล่า และเพราะวัดพลบั ฯไมม่ ีที่เก็บ จงึ ได้นําไปฝากวดั คงคารามวรวิหาร (เพชรบรุ ี) เก็บไวบ้ นหอไตร หลวงพอ่ ฤทธิล์ ะสงั ขาร . . . . พ.ศ. ๒๔๖๔ เลา่ กันวา่ หลวงพ่อฤทธ์ิไม่เคยเจ็บปุวย ท่านยงั ปฏิบัติภารกจิ ของท่านอยโู่ ดยปกติ กอ่ นทจ่ี ะ เข้าจําวดั ในคืนท่ที า่ นมรณภาพ ท่านจากไปด้วยอาการสงบ รุ่งเช้าจึงมีผู้เขา้ ไปพบว่าจาํ วดั ในลกั ษณะค รองไตร จวี รครบถว้ นตามพุทธบญั ญตั ิ สงบนิง่ อยบู่ นเตียงเหมือนกําลังหลับ แต่ทา่ นส้นิ ลมหายใจเสยี แล้ว ดว้ ยอายุ ๘๔ ปี มีพรรษา ๖๕ ดํารงตําแหนง่ เจ้าอาวาสวดั พลับพลาชยั อยูถ่ ึง ๕๒ ปี มที รพั ยส์ นิ ส่วนตัวเหลืออยเู่ พยี ง ไตรจีวร อตเิ รก ๑ ชดุ ไตรครองอยูใ่ นขณะมรณภาพอีก ๑ ไตร กาน้ํา ร้อนเคลอื บ ๑ ใบ พร้อมด้วยถ้วยชา ๒ ใบ กระโถน ๑ ใบ ขันทองเหลอื ง ๑ ใบ และตะเกียงหลอด ๑ ดวง เท่านน้ั เอง ส่วนเงนิ ส่วนตวั ของท่าน ตรวจค้นดู ในกฏุ แิ ลว้ ไม่มเี หลือแมแ้ ตเ่ ฟ้อื งเดียว ท้ังน้ีเพราะ ท่านไมส่ ะสมปจั จัย … ฝงู ชนทวั่ สารทศิ ท้งั ฝุายบรรพชิตและ คฤหัสทกุ อาชพี ตา่ งหล่ั งไหลมาร่วมงานศพและประชุมเพลิงศพหลวงพอ่ ฤทธ์ิมากมายเหลอื คณานับ พธิ ี ฌาปนกิจศพเรมิ่ เม่ือบ่าย ๔ โมงเย็น ไปจนเทย่ี งคืนผ้คู นยงั ทยอยกันขึ้นไปจุดศพไม่หมด หลังเทีย่ งคนื แลว้ บรรดาพระสงฆแ์ ละสามเณร จึงจะมีโอกาสข้นึ ไปจุดศพได้ หลวงพอ่ กร เปน็ เจ้าอาวาสตอ่ และยงั คงมกี าร สืบทอดเรื่องของการทําหนงั ใหญ่อยู่บา้ ง แตห่ ลงั จาก หลวงพ่อฤทธจิ์ ะมรณภาพไดไ้ มน่ าน ก็เกดิ เหตุไฟไหมว้ ดั พลบั พลาชยั ครั้งใหญ่วอดวายไปเกอื บท้งั หมด หลวงพอ่ กรจึงเร่งบรู ณะวัดให้กลบั มาสวยงามดงั เดิม การต่อยอดในเรือ่ งของหนงั ใหญ่จงึ ได้ชะงักไป

202 พ.ศ. ๒๔๘๓ อาจารยล์ าํ ใย แกวกกอ้ ง จัดการแสดงงานโรงเรยี นพรหมานุสรณ์ฯ ในบรเิ วณวดั คงคา ราม(เพชรบรุ ี) ได้นําหนังใหญ่ตัวท่ีสมบรู ณต์ ดิ ตามบานหน้าตา่ ง เรือนสินธบุ าํ รงุ ทุกบาน ต่อมาทราบว่าหนงั ใหญบ่ างตัวท่ชี าํ รุดเพราะถูกนํ้าฝนบ้าง ถูกหนูกัดเสยี หายบา้ ง ถกู นาํ ไปท้ิงในบ่อ (กลางสนามฟุตบอลขณะนี้ หอ ไตรเดิมก็เคยต้งั อยู่ในบรเิ วณท่ีเปน็ สนามฟุตบอล กอ่ นท่จี ะย้ายมาอยู่ข้างพระอุโบสถ และครง้ั สดุ ทา้ ยไดย้ ้ายไป สรา้ งใหม่อยกู่ ลางสระน้าํ เม่อื พ .ศ. ๒๕๓๖) … หนังใหญ่ของวัดพลบั ฯ ทเี่ ก็บอยู่ท่วี ดั คงคาราม (เพชรบรุ ี) ไม่ ทราบวา่ ได้ถกู นาํ ไปไว้ ณ ท่อี นื่ ใดอกี บา้ ง คร้งั สดุ ทา้ ยเห็นเหลอื อยู่ อกี ๒ ตวั อยทู่ ีโ่ รงเรยี นพรหมานสุ รณฯ์ เปน็ ตัวขนาดกลางๆ ดูเหมือนจะเป็นนลิ พัทธ์ และนลิ นนท์ เกบ็ ไวท้ เ่ี รือนวเิ ทศ คอื อาคารไม้ ๒ ชน้ั หลงั ยาวขา้ ง สนามฟุตบอลซึ่งอยู่ในเน้อื ทวี่ ัดชา้ ง จากการที่โรงเรยี นประจาํ จงั หวดั ไดย้ า้ ยจากวัดคงคารามไปอยใู่ นทใ่ี หม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ และเมอื่ มีการร้อื อาคารดังกล่าว เม่ือราว พ .ศ. ๒๕๑๘ หนังใหญ่ ๒ ตัว กเ็ ลยหายสาปสูญไปแต่ คราวนน้ั พ.ศ. ๒๔๙๐ มีการแสดงหนงั ใหญ่ใหป้ ระชาชนดทู ่วี ดั พลับฯ ในงานพระราชทานเพลงิ ศพพระเพชรคุณ มนุ ี (กร) อดตี เจา้ อาวาสวดั พลับฯ และอดีตเจา้ คณะจังหวดั เปน็ การแสดงคร้ังใหญ่โด ยลูกศิษย์ของวดั พลบั ฯ ท่ี เคยฝึกหดั มาแตค่ รั้งหลวงพ่อฤทธ์ิ ผู้แสดงคราวนั้น หลายคนมีอายุค่อนขา้ งมาก … ผแู้ สดงหนังใหญจ่ ะน่งุ ผ้าโจง กระเบนสนี าํ้ เงนิ เส้ือขาว สวมถงุ น่องยาวสขี าว รองเทา้ ดํา การเลน่ หนังใหญ่แม้มสี ่วนคลา้ ยหนังตะลุง แตห่ นัง ใหญ่ดลู ีลาทา่ ทางคนเชิด มากกวา่ จ ะดเู งาทีป่ รากฏในจออย่างดูหนังตะลุง การแสดงหนังใหญ่ดจู ะเป็นสิ่งทีเ่ กิด จากการผสมผสานระหว่างหนงั ตะลุงกบั โขนเขา้ ดว้ ยกัน … ในงานครั้งนน้ั มคี นมงุ ดหู นงั ใหญ่กันมาก ตั้งแต่ เตรียมเลน่ ไหว้ครู เบกิ หน้าพระ เสมอื นสงิ่ แปลกใหม่ เพราะนานๆ ทีจงึ จะมีให้เห็น หรอื ยังไมเ่ คยเห็ นมาก่อน เลยก็มี ดังนนั้ เมื่อดจู นพอรูพ้ อเห็นว่าอะไรเปน็ อะไร กจ็ ะไปดกู ารแสดงอย่างอน่ื ที่มใี นงานตอ่ ไป บางคนไม่ได้ดู แตต่ ้นจนจบการแสดงให้ตลอดรายการเหมือนดลู เิ ก ละคร หรอื หนังตะลุง คนสว่ นใหญม่ กั จะบอกว่าหนังใหญ่ เลน่ ชา้ คนส่วนหน่ึงทีด่ ูก็เพื่อความบนั เทงิ หรือตอ้ งก ารความสนุกสนาน มากกวา่ เพื่อศิลปะการแสดง จงึ ไม่ ชอบดหู นงั ใหญ่ อาจเปน็ อกี เหตุหน่งึ ท่กี ารเล่นหนงั ใหญ่ไมอ่ าจอนรุ ักษไ์ ว้ได้เช่นการแสดงอยา่ งอ่นื และจากวัน นน้ั มา หนงั ใหญ่วัดพลบั กไ็ ม่ไดม้ กี ารรวมตัวกนั มาแสดงให้ประชาชนไดด้ อู กี เลย พ.ศ. ๒๕๑๕ อาจารย์ น. ณ ปากนํา้ เขยี นไวว้ า่ “หนังใหญ่ท่ขี ึ้นช่ือลือชาคอื หนังใหญ่ชดุ พระนครไหว ฝีมอื ช่างสมยั รชั กาลที่ ๒ เดิมเอาเกบ็ ไวใ้ นพพิ ธิ ภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติ ต่อมาสมัยกอ่ นโรงละครไหม้ อธิบดีกรม ศลิ ปากรไดค้ ดั เลือกเอาตวั หนงั ใหญ่ทีว่ ิเศษ เชน่ รูปพระนครไหว รูปพระรามคร่ําครวญถึงนางสดี าตอ่ หนา้ นาง เบญจกายแปลง และรูปหนงั ใหญท่ ี่วเิ ศษไม่มีอะไรเทียบอกี สบิ กวา่ ชน้ิ เอาไว้ท่ีโรงละคร ภายหลังเกดิ ไฟไหมโ้ รง ละคร หนงั ใหญถ่ ูกเผาทาํ ลายหมด … หนังใหญอ่ กี ชุดหนึ่ง เป็นฝีมอื ช่างสมยั รชั กาลที่ ๕ ฝีมอื อาจารย์ฤทธิ์ จาก

203 เพชรบรุ ี เดมิ เก็บไว้ท่ี วดั คงคาราม ราชบุรี ภายหลงั เอามาไวว้ ดั ลาด เพชรบรุ ี นายเฟ้อื หรพิ ทิ กั ษ์ ไดไ้ ปพบเขา้ จึงขอมาเก็บไวใ้ นพพิ ิธภัณฑส์ ถานแห่งชาติ เป็นฝมี อื รองลงมาจากชุดพระนครไหว พ.ศ. ๒๕๑๗ อาจารย์บุญมี พิบูลย์สมบตั ิ ได้ไปขอดูหนงั ใหญว่ ัดพลบั ฯ ซ่งึ เหลือเกบ็ ไว้ในวิหารของวดั ขณะนั้นวหิ ารชาํ รดุ มาก หลงั คามีรอยร่ัวหลายแหง่ เป็ นเหตใุ ห้หนังใหญ่ราว ๒๔–๒๕ ตัว เหลอื สมบูรณ์อยเู่ พียง ๑๐ กวา่ ตวั หนงั ใหญจ่ ํานวนนีไ้ มท่ ราบว่าขนกลับมาจาก วัดคงคาราม (เพชรบุรี) หรือเปน็ ส่วนท่ีไมไ่ ดน้ าํ ไป คง ยงั เหลือไว้ทวี่ ดั พลับฯบา้ งในตอนไฟไหม้ใหญ่ในครง้ั นัน้ เหตผุ ลหนง่ึ ทีท่ ําใหห้ นังใหญค่ อ่ ยๆ สูญหายไปจาก แผ่นดนิ ไทย นอกจากขาดผ้สู นใจแล้ว ส่วนหนง่ึ ยังเป็นเพราะตัวหนังมไี มค่ รบชุด จงึ ไม่สามารถนาํ มาจัดแสดง ได้ 126 ในวนั น้ีหนงั ใหญว่ ดั พลบั พลาชัยเหลือไว้แต่ตวั หนงั และชอื่ เสียงเทา่ นน้ั แตด่ ้วยทา่ นเจา้ อาวาสปจั จบุ ัน เล็งเหน็ ความสําคญั และตอ้ งการจะเกบ็ รวบรวมความทรงจําเกีย่ วกับหนงั ให ญข่ องวดั พลับพลาชยั ท่านจึงได้ จัดทาํ พิพิธภัณฑ์หนงั ใหญ่วัดพลับพลาชยั ขน้ึ ดว้ ยความรว่ มมือและความอนเุ คราะหข์ องชมรมครูผู้รบั บาํ เหนจ็ บาํ นาญของเพชรบุรี อาคารพิพธิ ภัณฑ์คอื ภายในวหิ ารพระคันธารราฐ อีกฟากของถนนบันไดอิฐ (วดั ถูกแบง่ ออกเปน็ สองฟาก จากการตดั ถนนบนั ไดอิฐ ) ภายในวหิ ารมพี ระพุทธรูปและรูปจําลองของหลวงพอ่ ฤทธิ์ หลวง พอ่ กร อดตี เจา้ อาวาสของวัด และตัวหนังใหญแ่ ขวนอยู่บนผนงั ของวิหารโดยรอบ โดยถกู จดั แสดงจดั ไวใ้ น กรอบ มีไฟสอ่ งสวา่ งให้เห็นลวดลายของตัวหนัง สว่ นใหญ่จะแยกระหวา่ งหนังจับกบั หนังเดย่ี ว เนอื่ งจากหนงั จบั อาจจะมตี วั ละครหรือสถานท่ีประกอบอยใู่ นตัวหนงั ดว้ ย จงึ ทาํ ให้ขนาดของตัวหนังจบั ใหญก่ ว่าหนงั เดย่ี ว ซงึ่ มคี วามสงู ส่วนใหญป่ ระมาณ ๑ เมตรเท่านน้ั การดูแลรกั ษานนั้ แยกออกเปน็ ๒ ส่วน สว่ นท่ีจดั แสดงจะอยูใ่ นกรอบไฟสาํ หรับจดั แสดงในวิหาร ตวั หนังอกี สว่ นหน่ึงจะอยใู่ นอาคารไม้ข้างๆ กบั วิ หาร หนังท้ังหมดน้นั เป็นหนังทแ่ี กะและสรา้ งมาตง้ั แตส่ มยั หลวง พ่อฤทธ์ิ เมื่อเกิดไฟไหม้ที่วดั พลบั พลาชยั ตวั หนงั ใหญเ่ หล่าน้ีถูกย้ายไปเก็บรักษาไว้ทีว่ ดั คงคาราม จังหวัด เพชรบุรี จากน้ันกรมศิลปากรก็ข้นึ ทะเบยี นและเกบ็ รกั ษาไว้ เมอ่ื ทางวดั พลบั พลาชยั ทราบว่า กรมศลิ ปากรไ ด้ ขึน้ ทะเบยี นไวท้ ง้ั หมดแลว้ จึงขอความอนเุ คราะหย์ ืมหนังใหญบ่ างตัว มาเก็บไวท้ ่วี ัดเพ่อื จัดแสดงในพิพธิ ภณั ฑ์ 126หนงั สืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพระครูอาทรวชิรธรรม อดีตเจา้ อาวาสวดั พลบั พลาชยั ,๒๕๓๗. เร่ืองเดยี วกนั

204 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญ่วดั ขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๒ พธิ เ๊ บกิ หน้าพระ : ไหวค้ รกู อ่ นการแสดงหนังใหญ่ ภาพท่ี ๕.๓ พธิ ีเบกิ หนา้ พระ : หัวหน้าคณะดนตรีป่ีพาทยไ์ หวค้ รูกอ่ นบรรเลงโหมโรงหนังใหญ่

205 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญว่ ดั ขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๔ พิธ๊เบกิ หน้าพระ : หนงั ครูหรอื หนงั เจ้าทั้งสามองค์ พระอศิ วร พระฤาษี และพระนารายณ์ ภาพที่ ๕.๕ ชื่อคณะหนงั ใหญว่ ัดขนอน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนจอหนัง

206 สาํ รวจภาคสนาม การแสดงหนงั ใหญว่ ัดขนอน รายการไทยโชว์ ภาพที่ ๕.๖ วงป่ีพาทย์เคร่ืองคู่ นักดนตรีโรงเรียนวัดขนอน กําลังเตรยี มพรอ้ มบรรเลงโหมโรงหนงั ใหญ่ ภาพท่ี ๕.๗ วงปพ่ี าทย์จะหนั หน้าเขา้ จอหนงั ใหญ่ ตามขนบธรรมเนียมเดิม

207 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญว่ ดั ขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๘ สาธติ การเชดิ หนงั ใหญ่หน้าจอหนงั แบบใช้แสงไฟดา้ นหลัง เนน้ แสงเงาทาํ ให้ตวั หนงั ดูโดดเด่น ภาพที่ ๕.๙ สาธติ การเชิดหนงั ใหย่หน้าจอหนงั แบบใช้แสงไฟด้านหน้าและด้านหลัง ทาํ ใหเ้ ห็นลีลาการเตน้ และชดุ แตง่ กายสวยงามของผ้เู ชิดหนังใหญ่

208 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญว่ ัดขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๑๐ การเรียนเชิดหนงั ของเยาวชนวัดขนอน ราชบรุ ี เริม่ ฝกึ จากการเตน้ กับไมค้ าบหนงั ภาพที่ ๕.๑๑ การเรียนเชิดหนงั ของเยาวชนวัดขนอน จะอยใู่ นความดูแลอยา่ งใกล้ชดิ ของท่านเจา้ อาวาส

209 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญ่วดั ขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๑๒ สาธิตการเชิดหนงั ใหญ่ขนึ้ ลอย เปน็ ชว่ งสาํ คญั ท่ีสร้างความต่นื ตาตื่นใจใหก้ ับผ้ชู ม ภาพท่ี ๕.๑๓ สาธิตการเชิดหนังใหญ่ข้ึนลอย ทมี่ าจากศิลปะปอู งกนั ตัวกระบ่ีกระบอง

210 สํารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญว่ ัดขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๑๔ พระครศู รทั ธาสนุ ทร(หลวงปกูุ ล่อม) อดตี เจา้ อาวาสวัดขนอน ผรู้ เิ รม่ิ สรา้ งหนงั ใหญ่ ภาพท่ี ๕.๑๕ พระครพู ิทักษศ์ ลิ ปาคม(นชุ ิต วชิรวฑุ ฺโฒ) เจ้าอาวาสวดั ขนอนรูปป๎จจบุ ัน ผู้สานตอ่ ลมหายใจหนังใหญอ่ ยา่ งเขม้ แข็ง

211 สาํ รวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญว่ ดั ขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๑๖ พิพธิ ภณั ฑห์ นังใหญว่ ัดขนอน ราชบรุ ี ภาพที่ ๕.๑๗ ตัวหนงั ใหญ่ ในพพิ ิธภัณฑ์หนงั ใหญว่ ัดขนอน ราชบรุ ี

212 สาํ รวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญ่วัดขนอน รายการไทยโชว์ ภาพท่ี ๕.๑๘-๑๙ พระฉลาด ถาวรนุกูลพงศ์ คุณพอ่ ของ ครูหมู-จฬรรณ์ ถาวรนกุ ลู พงศ์ นายหนงั อาวุโสวัดขนอน ราชบรุ ี ป๎จจบุ ัน (พ.ศ.๒๕๕๗) ลาสิกขาบทเปน็ มราวาสเพอื่ รกั ษาโรคประจาํ ตวั ภาพที่ ๕.๒๐ ครหู มู-จฬรรณ์ ถาวรนุกลู พงศ์ นายหนังวัดขนอน ราชบุรี ศลิ ปินคนรุ่นใหมท่ ่มี บี ทบาท สําคัญในการขบั เคลอื่ นหนงั ใหญ่วัดขนอน ราชบรุ ีและประเทศไทยใหเ้ ปน็ ทรี่ ู้จักอยา่ งแพร่หลาย

213 สาํ รวจภาคสนาม ออกรา้ นรปู หนงั ใหญ่ งานวันมรดกโลก (๙ กนั ยายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๒๑ แผน่ ปูายใญป่ ระวัติความเปน็ มาหนังใหญ่วัดขนอน ราชบุรี ออกรา้ นรูปหนังใหญ่ งานวันมรดกโลก กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภาพท่ี ๕.๒๒ พน้ื ทใี่ นการเรยี นรู้หนังใหญ่นอกตําราและหอ้ งเรียน ออกร้านรปู หนังใหญ่ งานวนั มรดกโลก กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

214 สํารวจภาคสนาม ออกร้านรูปหนังใหญ่ งานวนั มรดกโลก (๙ กนั ยายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๒๓ ตวั หนงั ใหญ่ ที่ชมุ ชนหนงั ใหญว่ ดั ขนอน นาํ มาให้สมั ผสั อย่างใกลช้ ดิ ออกรา้ นรปู หนังใหญ่ งานวนั มรดกโลก กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภาพที่ ๕.๒๔ ตวั หนงั ใหญท่ ี่กาํ ลงั อยูใ่ นขน้ั ตอนการสลกั ออกร้านรปู หนังใหญ่ งานวนั มรดกโลก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม

215 สํารวจภาคสนาม ออกรา้ นรปู หนงั ใหญ่ งานวันมรดกโลก (๙ กนั ยายน ๒๕๕๗) ภาพที่ ๕.๒๕ ตวั อยา่ งอุปกรณ์.ในการสลกั ตัวหนงั ใหญ่ ออกรา้ นรปู หนังใหญ่ งานวันมรดกโลก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ภาพที่ ๕.๒๖ รอ่ งรอยสกึ หรอของเขยี งไม้ ทรี่ องรบั การตอกสลักหนงั ใหญม่ าอย่างโชกโชน ออกรา้ นรปู หนงั ใหญ่ งานวันมรดกโลก กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม รปู หนงั หรือตวั หนงั ใหญ่ เป็นเคร่ืองประกอบหนงั ใหญ่ทสี่ ําคญั ซึ่งควรรบี ทําการศึกษาลวดลายช่างสกุล ต่างๆ และรวบรวมภาพถ่ายตวั หนงั ใหญ่ ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศใหไ้ ด้มากทส่ี ดุ เพ่อื เปน็ ฐานข้อมูลมรดก วฒั นธรรมทางปญั ญาต่อไป

216 สํารวจภาคสนาม วดั คงคาราม ราชบุรี (๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๒๗ ภาพ จติ รกรรมฝาผนัง มโหรีเคร่ืองส่นี ักดนตรีหญงิ ไม่มีภาพหนังใหญป่ รากฎ วดั คงคารามตั้งอยฝู่ ง๎่ ตรงข้ามเยอ้ื งกับวัดขนอนหนงั ใหญ่ วัคคงคาราม อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี ภาพท่ี ๕.๒๘ ซ้ายมอื พพิ ธิ ภํณฑ์พืน้ บา้ น เปน็ เรือนไทยขนาดใหญ่ ขวามอื ซุ้มประตูเกา่ ทางเขา้ ศาลาการเปรยี ญมีลกั ษณะคลา้ ยวัดขนอนหนงั ใหญ่ วัคคงคาราม อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

217 สํารวจภาคสนาม หนงั ใหญ่วดั บา้ นดอน อ.เมือง จ.ระยอง (๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๒) ภาพที่ ๕.๒๙-๓๐ ปูายช่อื ด้านหนา้ โรงละคร และจอหนังใหญ่ในโรงละครหนงั ใหญ่วัดบา้ นดอน หนงั ใหญว่ ัดบา้ นดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง ภาพที่ ๕.๓๑-๓๒ ตวั หนังใหญข่ องเกา่ ที่เจ้าเมืองระยองท่านแรก ซอ้ื มาจากเมอื งพัทลุง หนงั ใหญ่วัดบา้ นดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง

218 สํารวจภาคสนาม หนงั ใหญว่ ัดบ้านดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง (๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๒) ภาพที่ ๕.๓๓-๓๘ สาธิตการสบื ทอดหนังใหญ่แบบพี่ส่นู อ้ ง หนังใหญ่วัดบา้ นดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง

219 สํารวจภาคสนาม หนังใหญ่วัดบ้านดอน อ.เมือง จ.ระยอง (๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๒) ภาพที่ ๕.๓๙ พระครบู รุ เขตวุฒิกร อดตี เจ้าอาวาสวดั บ้านดอน ผู้อุปถัมภห์ นังใหญ่ หนงั ใหญ่วัดบ้านดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง ภาพท่ี ๕.๔๐ การสาธติ เชดิ หนงั หน้าจอของเยาวชนในชุมชนวัดบ้านดอน หนงั ใหญว่ ดั บา้ นดอน อ.เมือง จ.ระยอง

220 สาํ รวจภาคสนาม พิพธิ ภัณฑห์ นงั ใหญว่ ดั สวา่ งอารมณ์ สิงหบ์ ุรี (๑๘ พฤศจิกายน๒๕๕๗) ภาพที่ ๕.๔๑ หลวงพ่อเรอื ง พระครสู ิงหมนุ ี อดีตเจา้ อาวาสวดั สวา่ งอารมณ์ สงิ หบ์ ุรี ผูร้ ิเรมิ่ และอปุ ถมั ปห์ นงั ใหญ่ ภาพที่ ๕.๔๒ จอหนังใหญ่ ขงึ ไว้ตายตวั เตรยี มพรอ้ มสาํ หรับเปิดการแสดงรอบพเิ ศษ วัดสว่างอารมณ์ สงิ ห์บรุ ี

221 สาํ รวจภาคสนาม พิพิธภัณฑ์หนงั ใหญว่ ัดสวา่ งอารมณ์ สิงหบ์ รุ ี (๑๘ พฤศจกิ ายน๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๔๓ หนงั เจา้ หรือหนงั ครู พิพิธภัณฑห์ นังใหญ่ วดั สว่างอารมณ์ สิงห์บรุ ี ภาพที่ ๕.๔๔ ภายในพิพิธภัณฑ์หนังใหญ่ ตงั้ อยูบ่ นช้นั บนศาลาการเปรยี ญ วดั สว่างอารมณ์ สิงห์บุรี

222 สาํ รวจภาคสนาม พพิ ิธภัณฑห์ นังใหญ่วดั สว่างอารมณ์ สงิ หบ์ ุรี (๑๘ พฤศจกิ ายน๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๔๕ ตวั หนงั ใหญใ่ นพพิ ธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่ วดั สว่างอารมณ์ สิงห์บรุ ี หนังตัวนางดา้ นขาวมอื เรยี กวา่ หนงั หน้าแขวะ ภาพท่ี ๕.๔๖ ตวั หนังใหญใ่ นพพิ ธิ ภณั ฑ์หนงั ใหญ่ วดั สวา่ งอารมณ์ สิงหบ์ รุ ี สองกองหาขา่ ว พวกกองสอดแนม ตัวตลกหรือตัวจาํ อวด

223 สาํ รวจภาคสนาม พพิ ธิ ภณั ฑ์หนงั ใหญ่วัดสว่างอารมณ์ สงิ หบ์ ุรี (๑๘ พฤศจกิ ายน๒๕๕๗) ภาพที่ ๕.๔๗ ตัวหนงั ใหญ่ในพิพธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่ วัดสวา่ งอารมณ์ สิงห์บุรี ภาพท่ี ๕.๔๘ ตวั หนงั ใหญใ่ นพพิ ิธภณั ฑ์หนังใหญ่ วัดสวา่ งอารมณ์ สงิ ห์บุรี

224 สาํ รวจภาคสนาม วัดหนัง อ.พรหมบรุ ี จ.สิงห์บรุ ี (๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๔๙ ศาลเจ้าพอ่ วัดหนัง เดมิ เป็นที่ต้ังของวดั หนงั แตเ่ น่ืองจากถูกน้ํากัดเซาะพนื้ ที่วดั ทง้ั หมดลงแมน่ ้ําเจ้าพระยา ตอ่ มาจึงสรา้ งศาลเจ้าพอ่ หนัง จากการสอบถามคนในชุมชน ไมป่ รากฏเรื่องราวเกย่ี วกบั หนงั ใหญ่ วดั หนงั อ.พรหมบรุ ี จ.สงิ ห์บรุ ี ภาพที่ ๕.๕๐ บริเวณตลง่ิ ทพ่ี น้ื ที่วดั หนงั อ.พรหมบรุ ี จ.สงิ ห์บุรี ท้งั หมดทรุดลงไปในแมน่ ํา้ เจ้าพระยา เปน็ ทีน่ า่ สังเกตว่า ชมุ ชนท่ีเกย่ี วข้องกับหนังใหญเ่ กอื บท้งั หมด ในจังหวดั สงิ หบ์ ุรี จะตัง้ อยใู่ นเขตอินทรบ์ รุ ี

225 สํารวจภาคสนามวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗) ภาพที่ ๕.๕๑ พระพทุ ธเทวปฏมิ ากร พระประธานในพระอุโบสถวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราช วรมหาวิหาร หรอื วัดโพธิ์ ภาพท่ี ๕.๕๒ ยักษ์วดั โพธ์ิ พญาสทั ธาสูร เจา้ เมอื งอสั ดงค์ ในเรือ่ งรามเกยี รติ์ และเป็นยกั ษ์หนึง่ ตนในตาํ นานยกั ษ์วดั โพธ์กิ ับวดั แจ้งสรู้ บกัน

226 สํารวจภาคสนามวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๕๓ เร่อื งรามเกียรต์สิ ลักหนิ ออ่ นต้นแบบตัวหนังใหญ่สมัยอยุธยารอบกาํ แพงระเบียง พระอโุ บสถ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร จํานวน ๑๕๒ ภาพ ภาพที่ ๕.๕๔ เรือ่ งรามเกียรตส์ิ ลกั หนิ ออ่ นตน้ แบบตัวหนังใหญส่ มัยอยธุ ยารอบกาํ แพงระเบียง พระอุโบสถ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร จํานวน ๑๕๒ ภาพ

227 สํารวจภาคสนามวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร (๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๕๕ เร่อื งรามเกียรต์สิ ลักหนิ ออ่ นต้นแบบตัวหนังใหญ่สมยั อยุธยารอบกาํ แพงระเบียง พระอุโบสถ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร จํานวน ๑๕๒ ภาพ ภาพที่ ๕.๕๖ เรือ่ งรามเกียรตส์ิ ลกั หนิ ออ่ นตน้ แบบตัวหนังใหญส่ มยั อยุธยารอบกําแพงระเบยี ง พระอโุ บสถ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร จํานวน ๑๕๒ ภาพ

228 สํารวจภาคสนาม หนงั ใหญ่ มหาวทิ ยาลยั เกษมบัณฑติ (๑๖ กันยายน ๒๕๕๖) ภาพท่ี ๕.๕๗ ตัวหนงั ใหญ่ชุดการแสดงจับนาง หนุมานจบั นางสวุ รรณมจั ฉา ของคณะหนังใหญ่ มหาวทิ ยาลยั เกษมบณั ฑิต ในงานเสวนาวัฒนธรรมร่วมสมัยไทย-ลาว ภาพที่ ๕.๕๘ อาจารยช์ นะ กรํา่ กระโทก อาจารย์ประจําศนู ยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั เกษมบณั ฑติ ผู้รเิ ร่ิมสรา้ งสรรคใ์ หน้ ักศึกษา ได้เรียนรู้และนาํ เสนอการแสดงหนังใหญ่

229 สาํ รวจภาคสนาม หนังใหญค่ รูวน เกดิ ผล อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา (๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๕.๕๙ ผ้ใู หข้ ้อมูลคณุ ครสู ําราญ เกดิ ผลศลิ ปินแหง่ ชาติ หลานปูุครูวน เกดิ ผล หนังใหญ่ครวู น อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา ภาพท่ี ๕.๖๐ ครูวีระ มเี หมือน กบั ครูสาํ ราญ เกิดผล ศลิ ปนิ แห่งชาติ สนทนาเร่อื งหนงั ใหญก่ รุงเก่าในอดีต หนังใหญค่ รูวน อ.บางบาล จ.พระนครศรอี ยุธยา

230 สํารวจภาคสนาม หนังใหญ่วดั ตะกู อ.บางบาล จ.พระนครศรอี ยุธยา (๒๔ ตลุ าคม ๒๕๕๗) ภาพที่ ๕.๖๑ รูปปน้๎ หลวงพอ่ ฤาษีเป็นที่เคารพศรทั ธาของศลิ ปินลิเกปี่พาทย์ สรา้ งโดยหลวงพ่อเกล้ียง หนังใหญ่วดั ตะกู อ.บางบาล จ.พระนครศรอี ยุธยา ภาพที่ ๕.๖๒ ครูวีระ มเี หมอื นกบั บรรดาผใู้ หข้ ้อมูลชาวชมุ ชนวดั ตะกู หนังใหญ่วัดตะกู อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยธุ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook