๑๗๕ ช่ือผ้า : ตนี ซิ่น ลาย “ตนี กระจบั ย้อย” (กระจบั คือ กระจบั ควาย ) มีลายดาวประกอบบน-ลา่ ง เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภมู ิปัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผ้า : พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๗๖ ช่ือผ้า : ผ้าตีนซนิ่ ยกขิด ลายตีนชอ่ “ชอ่ ดอกก้านของ” (ชอ่ ดอกปีบ) เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขิด เสริมเส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภมู ิปัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผ้า : พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๗๗ ช่ือผ้า : กราฟลายผ้า ตนี ซ่นิ (ลายตนี ชอ่ ดอกก้านของ) และตวั ซ่ิน เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสริมเสน้ พุ่งพเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ญั ญา : จังหวดั อบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผา้ : พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี
๑๗๘ จากหลักฐานตัวอย่างผ้าโบราณและข้อมูลสัมภาษณ์ พบว่า เจ้านายเมืองอุบลฯมีการออกแบบ ลวดลายผ้าที่สัมพันธ์กับลายตีนซ่ินของราชสานักล้านช้าง คือ “ลายตีนช่อดอกก้านของ” (ลายช่อดอกปีบ) และ “ลายตีนชอ่ ” ซง่ึ ลวดลายผา้ เปน็ ส่ือสัญลักษณบ์ ง่ บอกความเกี่ยวดองของบรรพชนกับราชสานักล้านชา้ ง ภาพท่ี ๖-๓๒ ภาพรวมเปรียบเทยี บ ตีนซ่ินลาย “ดอกกา้ นของ” กับ “ดอกปีบ” ทเี่ จา้ นายเมืองอบุ ลฯ น่าจะประยกุ ตจ์ ากลาย ที่สมั พนั ธก์ บั ตนี ซิ่นเดิมของราชสานกั ลา้ นชา้ ง แตเ่ รียกขานดว้ ยพชื ทอ้ งถ่ิน ท่มี าภาพ: สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๑๗๙ ชอ่ื ผ้า : ผ้าตีนซิ่น ยกขดิ ลายตีนช่อ เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เสน้ พงุ่ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ญั ญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลงั ผ้า : พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๘๐ ช่ือผ้า : ผา้ ตนี ซ่นิ ยกขดิ ลายตีนชอ่ เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เส้นพุ่งพเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ญั ญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลงั ผ้า : หม่อมหลวงภูมิใจ ชุมพล (มรดกผ้าจาก หม่อมเจา้ หญิงบญุ จิราธร (ชุมพล) จุฑาธชุ )
๑๘๑ ชื่อผ้า : กราฟลายผา้ ตนี ซิ่น แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสรมิ เส้นพ่งุ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สืบทอดภูมิปญั ญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผ้า : พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๘๒ ช่ือผา้ : ผ้าตีนซน่ิ ยกขดิ ลายตีนช่อ เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เสน้ พงุ่ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหล่งสืบทอดภูมปิ ัญญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลงั ผ้า : พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๘๓ ชอ่ื ผ้า : ผา้ ตีนซน่ิ ยกขิด ลายตนี ชอ่ เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสรมิ เสน้ พุ่งพิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภูมปิ ัญญา : จังหวัดอุบลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผา้ : หม่อมหลวงภูมิใจ ชมุ พล (มรดกผ้าจาก หมอ่ มเจา้ หญงิ บญุ จิราธร (ชุมพล) จุฑาธชุ )
๑๘๔ ชอ่ื ผ้า : ผ้าตีนซิ่น ยกขดิ ลายตนี ช่อ เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ญั ญา : จงั หวัดอบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลงั ผ้า : พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี
๑๘๕ จากหลักฐานตัวอย่างผ้าโบราณ ได้ข้อสันนิษฐานว่า ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายราชสานักสยามกับ เจา้ นายเมืองอบุ ลฯ และการที่เจา้ นายสายเมืองอุบลฯเขา้ ไปเรียนร้งู านในกรุงเทพฯ ทาใหเ้ กดิ อทิ ธพิ ลทางศลิ ปะ ส่ิงทอของเมืองอุบลฯ หลักฐานสาคัญคือลวดลายตีนซ่ินท่ีได้มีการออกแบบ “ลายตีนตวย” ท่ีพยายามถอด ลวดลาย “กรวยเชิง” ของผ้าลายอย่างของราชสานักสยามท่ีเป็นผ้าเขียนลายตามแบบสยามซึ่งผลิตที่อินเดีย ด้วยการประยุกต์วิธกี ารผลิตเป็นเทคนิคขิดของท้องถนิ่ อีสาน โดยคงรูปแบบองคป์ ระกอบลวดลายตามต้นฉบับ ไว้ คาว่า “ตวย” ตรงกับคาว่า “กรวย” (ดงั ภาพท่ี ๖-๒๘) ซ่ึงคุณมีชยั แต้สุจรยิ า ศลิ ปินปราชญ์เมืองอุบลฯ ตั้ง ข้อสังเกตว่า คนปัจจุบันจะเรียกช่ือลายสลับกัน ระหว่าง“ลายตีนตวย” และ “ลายตีนกระจับย้อย” (สัมภาษณ์ คุณมีชัย แตส้ จุ รยิ า, ๒๕๕๗) ภาพท่ี ๖-๓๓ ภาพรวมเปรียบเทยี บลวดลาย “กรวยเชิง” กบั “ตีนตวย” ที่เจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ น่าจะประยุกตม์ าจากลายที่ ราชสานักสยามใช้ เปน็ สญั ลักษณ์เพ่ือแบ่งแยกฐานานุศกั ด์ิ โดยนามาใช้ในความหมายเดยี วกนั ท่มี าภาพ: สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๑๘๖ ชือ่ ผา้ : กราฟลายผ้า ตีนซ่ิน “ลายตนี ตวย” (ตวย ตรงกับคาว่า กรวย –กรวยเชงิ ) เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภูมิปญั ญา : จงั หวัดอบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผา้ : พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี
๑๘๗ ช่ือผ้า : “ลายตนี ตวย” (ตวย มาจากคาวา่ กรวย –กรวยเชิง) เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสรมิ เสน้ พงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภูมิปญั ญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลังผ้า : พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ผา้ มรดกจาก นางไสลลกั ษณ์ ราชพติ ร (เชือ้ สายหมอ่ มบุญยืน ชมุ พล ณ อยธุ ยา)
๑๘๘ ชอื่ ผา้ : กราฟลายผ้า ตนี ซิน่ “ลายตนี ตวย” ผสม ลายม้า และลายคน เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสริมเสน้ พุ่งพเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมิปัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี คน้ คว้าจากคลงั ผ้า : พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี
๑๘๙ ชือ่ ผ้า : ลายตนี ซิ่น “ลายตนี ตวย” (ตวย ตรงกบั คาวา่ กรวย –กรวยเชงิ ) ผสม ลายม้า และลายคน เทคนคิ การทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสรมิ เสน้ พ่งุ พเิ ศษ ตลอดหน้าผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมิปัญญา : จังหวดั อุบลราชธานี ค้นควา้ จากคลังผ้า : พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๙๐ ช่อื ผา้ : ลายตีนซิ่น “ลายตีนตวย” (ตวย ตรงกับคาวา่ กรวย –กรวยเชงิ ) เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสริมเส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ัญญา : จังหวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผา้ : พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี
๑๙๑ ชอ่ื ผา้ : กราฟลายผ้า ตนี ซิน่ ลายนาค สลับ ลายช่อ เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสริมเส้นพุ่งพเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหล่งสบื ทอดภูมปิ ัญญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผ้า : พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี
๑๙๒ ชอ่ื ผา้ : ตนี ซนิ่ ลายนาค สลับ ลายชอ่ เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสรมิ เส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหล่งสืบทอดภูมิปัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลังผ้า : พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี
๑๙๓ ช่อื ผา้ : กราฟลายผ้า ตนี ซ่ิน ลายนาค เทคนคิ การทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขดิ เสรมิ เส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหน้าผา้ ) แหล่งสบื ทอดภูมปิ ัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผา้ : นางวณี า ณ อบุ ล (มรดกผา้ จาก ดร.สนุ ยั ณ อุบล เชอื้ สายเจา้ นายเมอื งอุบลฯ)
๑๙๔ ชอ่ื ผา้ : ตีนซ่ิน ลายนาค เทคนคิ การทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหน้าผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภูมปิ ญั ญา : จงั หวัดอบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลงั ผ้า : นางวณี า ณ อบุ ล (มรดกผา้ จาก ดร.สนุ ัย ณ อบุ ล เชื้อสายเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ)
๑๙๕ ชือ่ ผ้า : ตนี ซนิ่ แบบจาปาศักดิ์ ตัวซิ่น ลายหมีผ่ าสาทเผิ่ง สลบั ลายขอนาคน้อน สลบั ขดิ ดอกดาว เทคนคิ การทอ : ขดิ (เสริมเสน้ พงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) มดั หมี่ (มดั กั้นสีเส้นพุง่ ) แหลง่ สบื ทอดภูมิปญั ญา : จังหวัดอบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผ้า : พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๙๖ ช่ือผ้า : ตนี ซนิ่ แบบขิดคนั่ เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสริมเส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภูมิปัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผ้า : พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
๑๙๗ ช่ือผ้า : ตนี ซน่ิ และตวั ซิ่น ลายขิดคน่ั เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภมู ปิ ัญญา : จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลังผ้า : หม่อมหลวงภมู ิใจ ชมุ พล (มรดกผ้าจาก หมอ่ มเจ้าหญิงบญุ จิราธร (ชมุ พล) จฑุ าธชุ )
๑๙๘ ๖.๕ ผา้ “แพรขดิ ” แบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ สาหรับผ้า “แพรขิด” ของเจ้านายเมืองอุบลฯ น่าจะมีต้นกาเนิดมาก่อนท่ีเจ้านายเมืองอุบลฯจะพา ผู้คนมาต้ังถิ่นฐานท่ีเมืองอุบลฯ เน่ืองจากพบหลักฐานภาพถ่ายและผ้าตัวอย่างในถิ่นฐานอ่ืนๆ ที่ทอด้วยเทคนิค เดียวกัน แต่ก็พบข้อสังเกตว่า เจ้านายเมืองอุบลฯ และชุมชนเมืองน้ีได้พยายามที่จะสร้างเอกลักษณ์สีสันและ องค์ประกอบลวดลายในรายละเอียดท่ีแตกต่างจากกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว ในท้องถิ่นอื่นๆ โดยการย้อมสีเส้น ไหมทใ่ี ชท้ อลวดลายหลกั และลายประกอบ ให้มีความแตกต่างไปจากถิน่ อน่ื เจ้านายเมืองอุบลฯ และชุมชนชาวเมืองอุบลฯ ที่สืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้า “แพรขิด” นั้นมีการ ประยุกต์การใช้สอยผ้าชนิดนี้ ที่กลุ่มชาติพันธุ์อื่นที่มีผ้าคล้ายคลึงกัน เช่น ชาวภูไท จังหวัดมุกดาหาร หรือ จังหวัดกาฬสินธุ์ จะใช้ผ้านี้สาหรับเป็นผ้าของฝ่ายชาย เพราะฝ่ายหญิงจะมีผ้าแพรเบี่ยงที่มีรูปแบบเฉพาะของ ตนเอง แต่สาหรับชาวเมืองอุบลฯ จะนาผ้าแพรขิดนี้มาใช้ร่วมกันทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง โดยหากเป็นการใช้ ของฝ่ายหญิงจะเป็นผ้าท่ีไม่ได้เพลาะต่อกันตรงกลางและนาไปใช้เป็นผ้าเบี่ยง ทาให้ไม่พบการพัฒนาผ้าเบ่ียงท่ี เป็นรูปแบบเฉพาะในเมืองอุบลฯ แต่ถ้าเป็นผ้าของฝ่ายชายใช้จะนาผ้าท่ีทอเหมือนกันสองผืนมาเพลาะต่อกัน และเรียกชอ่ื ผ้าทตี่ ่อน้ีตามการใช้งานว่า “แพรตมุ้ ” (การ “ตมุ้ ” คือกริยา “คลุม” ) นามาใชค้ ลุมไหล่คลุมตัวใน ยามฤดหู นาว ดังนั้นหากพิจารณาองค์ประกอบของผ้า “แพรขิด” ที่เป็นชิ้นท่ียังไม่ได้เย็บเพลาะต่อกัน จะพบว่าผ้า แพรขดิ นป้ี ระกอบดว้ ย โครงสร้างลวดลาย ๒ ส่วนคือ ๑) ลวดลาย “ท้องผ้า” ท่ีชาวเมืองอุบลฯ จะทอลายขิด ขนาดเล็ก ที่เรียกว่า “ขิดตาไก่” โดย หลกั ฐานตัวอย่างผ้าโบราณและผ้าที่สบื ทอดการทอผา้ อยู่ในปัจจุบัน นิยมทอด้วยเครอื เส้นยืนดว้ ย ไหมสแี ดงครงั่ ธรรมชาติ ขิดลวดลายด้วยสเี หลือง สขี าว สีคราม แตส่ ีผา้ จะไมเ่ ขม้ เพราะใช้เสน้ พงุ่ สี ขาวคอ่ นขา้ งเยอะ ๒) ลวดลาย “เชิงผ้า” จะเป็นส่วนท่ีเวน้ เป็นสีพน้ื แดงครั่ง ไวป้ ระมาณ ๓๐ เซนติเมตร เพอื่ กาหนดว่า เป็นส่วนของชายผ้า อนั จะมีประโยชน์ในเวลาใชง้ าน นอกจากที่ ผ้า “แพรขิด” จะใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มแล้ว ยังได้ความรู้จากชุมชนว่า ชาวเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะ ชาวบ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จะนาผ้าแพรขิด และผ้าที่สวยงามอ่ืนๆ มา ประดับตกแต่งบั้งไฟ โดยเรียกชื่อผ้าเหล่าน้ีตามประโยชน์การใช้งานว่า “ผ้าเอ้บั้งไฟ” ซึ่งช่างทอผ้าที่มีผ้าทอ สวยๆ ก็จะนาผ้าทอของตนมาร่วมตกแต่งในงานบุญบ้ังไฟด้วยเชื่อว่าจะได้ผลบุญมาก อีกทั้งเป็นโอกาสที่จะได้ อวดฝีมือการทอผ้าของตนให้สมาชิกในชุมชนได้ช่ืนชมร่วมกัน ดังนั้นผ้าแพรขิดนอกจากจะใช้ในวิถี ชีวิตประจาวันแล้ว ยังเป็นผืนผ้าแห่งศรัทธาท่ีใช้ในยามงานบุญ ทาให้ผ้าทอที่สวยงามเหล่าน้ีได้ทาหน้าท่ีและมี บทบาททางวัฒนธรรมในวถิ ชี วี ิตชุมชนชาวเมืองอุบลฯ
๑๙๙ ท้องผ้า เชงิ ผ้า ช่อื ผา้ : กราฟิก ลายเสน้ แสดงโครงสรา้ ง “แพรขิด” ประกอบด้วย ๒ สว่ นคือ ๑) ทอ้ งผา้ และ๒) เชงิ ผ้า เทคนคิ การทอ : ขดิ (ยกตะกอเกบ็ ลายขิด เสริมเสน้ พ่งุ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภมู ิปัญญา: บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผ้า : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี
๒๐๐ ชอื่ ผา้ : แพรขิด (ภาพถา่ ย สมัยรัชกาลที่ ๕ สตรีชาวอีสาน พาดแพรขิดบนไหล่ ) เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผา้ ) แหล่งสืบทอดภมู ิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลัง : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ
๒๐๑ ชื่อผ้า : แพรขดิ (บนไหล่ช่างทอผา้ อาวโุ ส บา้ นหนองบ่อ ) เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเส้นพุ่งพิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สืบทอดภมู ิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผา้ : บ้านหนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี
๒๐๒ ชือ่ ผา้ : แพรขิด (ใช้พาดเป็นแพรเบ่ียง ในการจัดขบวนสักการะ พระธาตุพนม ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ) เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสริมเสน้ พุง่ พเิ ศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สบื ทอดภมู ิปญั ญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี คน้ คว้าจากคลงั ผ้า : Facebook คาลา่ มุสกิ า
๒๐๓ ชอ่ื ผา้ : แพรขดิ เทคนคิ การทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขิด เสรมิ เสน้ พ่งุ พิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหล่งสืบทอดภมู ิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี คน้ คว้าจากคลังผา้ : พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี
๒๐๔ ชอ่ื ผ้า : แพรขิด เทคนิคการทอ : ขดิ (ยกตะกอเก็บลายขิด เสริมเสน้ พงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสบื ทอดภมู ิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผา้ : พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี
๒๐๕ ชือ่ ผา้ : แพรขิด เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสรมิ เส้นพุ่งพเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสืบทอดภูมิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผา้ : บา้ นหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี
๒๐๖ ชื่อผา้ : แพรขิด เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสรมิ เสน้ พงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหลง่ สบื ทอดภูมิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี คน้ คว้าจากคลงั ผ้า : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๒๐๗ ช่ือผา้ : แพรขดิ เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขดิ เสริมเสน้ พุ่งพิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสบื ทอดภูมิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี ค้นคว้าจากคลงั ผา้ : บ้านหนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี
๒๐๘ ชือ่ ผา้ : แพรขิด เทคนคิ การทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสริมเสน้ พุ่งพเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหล่งสบื ทอดภูมิปญั ญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผา้ : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี
๒๐๙ ชื่อผา้ : แพรขิด เทคนิคการทอ : ขิด (ยกตะกอเก็บลายขิด เสรมิ เสน้ พงุ่ พิเศษ ตลอดหน้าผ้า) แหลง่ สบื ทอดภูมิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี คน้ คว้าจากคลงั ผ้า : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๒๑๐ ๖.๗ ผา้ “แพรไสป้ ลาไหล” จากการศึกษาตัวอย่างผ้าโบราณทั้งในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี และในคลังสะสมส่วน บุคคลได้ขอ้ สังเกตว่า เจ้านายเมืองอุบลฯ มีการประยุกตล์ วดลายผ้าของกลมุ่ ชาติพันธอ์ุ ื่นที่อยู่ในพื้นท่ีใกล้เคียง กันมาใช้งาน โดยเฉพาะที่สังเกตได้ชัดเจนคือ “แพรไส้ปลาไหล” ซ่ึงจากการศึกษาตัวอย่างผ้าโบราณ พบว่า เปน็ ส่งิ ทอท่เี ปน็ มรดกส่ิงทอท่ีแพรห่ ลายในกลุม่ “ชาวเขมรถิ่นไทย/เขมรสูง” ทอ่ี าศัยอยู่ในจังหวดั ศรสี ะเกษท่ีมี พนื้ ที่ติดต่อกัน อย่างไรก็ดีก็พบว่า ช่างทอผ้าเมืองอุบลฯ ได้พยายามสร้างสรรค์ลวดลายและสสี ันท่ีเป็นรูปแบบ เฉพาะท่ีตนเองเลือกใช้ จากการจัดเวทีชุมชนเร่ืองการเรียกขานผ้าน้ันจะไม่เรียกว่า “ผ้าแพรไส้เอี่ยน” แม้ว่า “เอยี่ น” แปลวา่ “ปลาไหล” “แพรไสป้ ลาไหล” ทท่ี อเตม็ ผนื ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งลวดลาย ๒ สว่ น คือ ๑) ลวดลาย “ท้องผ้า” ท่ีชาวเมืองอุบลฯ ทอลายริ้วขนาดเล็กมากคล้ายกับลายร้ิวของท้องปลาไหล จึงเป็นท่ีมาของช่ือที่เรียกว่า “แพรไส้ปลาไหล” และในภาษาถ่ิน คาว่า “เอี่ยน” แปลว่า “ปลา ไหล” แต่จะไม่นามาเรียกเป็นชือ่ ผา้ เม่อื พิจารณาหลักฐานตัวอย่างผ้าโบราณและผ้าที่สบื ทอดการ ทอผ้าอยู่ในปัจจุบัน ช่างทอผ้านิยมทอด้วยเครือเส้นยืนโดยใช้แถบสีไหมหลากสี ย้อมด้วยสี ธรรมชาติ ๒) ลวดลาย “เชิงผ้า” จะมีทง้ั ๒ ดา้ นของริมผ้า เป็นส่วนท่เี ว้นทอเส้นพงุ่ ดว้ ยสีพ้นื แดงครั่งไปสานกับ แถบริ้วของเส้นยืน ประมาณ ๓๐ เซนติเมตร เพ่ือกาหนดว่าเป็นส่วนของชายผ้า อันจะมี ประโยชน์ในเวลาใช้งาน จากการศึกษาตัวอย่างผ้าโบราณ พบว่า มีการทอตกแต่งเชิงผ้าด้วย เทคนิค “ขิด” โดยนิยมใชเ้ สน้ ไหมสีขาว ทอเสริมเส้นพุ่งพิเศษ เป็นลวดลายต่างๆ ซ่ึงบางลวดลาย ก็มีความสมั พันธก์ ับลวดลายตนี ซ่นิ สาหรับส่วนเชิงผ้านี้อาจมีการตกแต่งลวดลายขิดที่เชิงผ้า ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตเช่นกันว่า ช่างทอผ้า ชาวเมืองอุบลฯ ได้สร้างลวดลายที่คล้ายกันกับเชิงผ้าซ่ิน โดยเราพบหลักฐานตัวอย่างผ้าว่า มีการใช้ลาย “กระจับย้อย” ท่ีคล้ายกับลายเดียวกันที่ทอบนลวดลายของตีนซ่ิน แต่ลดทอนองค์ประกอบลง นอกจากน้ียัง พบว่า “แพรไส้ปลาไหล” ในบางท้องที่เช่น อาเภอม่วงสามสิบจะเรียกผ้านี้ว่า “แพรอีโป้” (ผ้าขาวม้าเชิงขิด) จากการเปิดเวทีชุมชนทาให้ได้ข้อมูลว่าแต่ละท้องที่ในเมืองอุบลฯ น้ันเรียกขานผ้าชนิดเดียวกันแตกต่างกันไป อาจจะเรียก “แพรไส้ปลาไหล” หรือเรียกว่า “แพรอีโป้” หรือเรียกว่า “ผ้าขาวม้า” หรือ “ผ้าขาวม้าเชิงขิด” ขึ้นอยู่กับพื้นที่ เช่นบ้านหนองบ่อ ค่อนข้างจะใกล้ตัวเมือง ก็จะเรียกผ้าน้ีตามภาษาไทยภาคกลางว่า “ผ้าขาวมา้ ” (ประคอง บญุ ขจร, ๒๕๕๗ สมั ภาษณ)์
๒๑๑ ช่ือผ้า : กราฟลายผา้ แพรไส้ปลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขัด และ ขดิ (เสริมเสน้ พ่งุ พิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหล่งสบื ทอดภูมิปญั ญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี คน้ ควา้ จากคลังผ้า : บา้ นหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี
๒๑๒ ช่อื ผ้า : ผ้าแพรไส้ปลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขัด แหลง่ สืบทอดภูมิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี ค้นควา้ จากคลังผา้ : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี
๒๑๓ ช่ือผ้า : ผา้ แพรไสป้ ลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขดั และ ขดิ (เสรมิ เส้นพงุ่ พเิ ศษ ตลอดหน้าผา้ ) แหลง่ สืบทอดภูมิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลงั ผ้า : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี
๒๑๔ ชอ่ื ผา้ : ผ้าแพรไสป้ ลาไหล เทคนคิ การทอ : ทอขดั และ ขิด (เสรมิ เส้นพ่งุ พเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหลง่ สบื ทอดภูมิปญั ญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ค้นควา้ จากคลังผา้ : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี
๒๑๕ ช่ือผ้า : ผา้ แพรไสป้ ลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขดั และ ขิด (เสริมเส้นพ่งุ พเิ ศษ ตลอดหน้าผ้า) แหลง่ สืบทอดภูมิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี คน้ คว้าจากคลงั ผ้า : บ้านหนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี
๒๑๖ ชอื่ ผา้ : ผ้าแพรไส้ปลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขดั แหล่งสบื ทอดภูมิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี ค้นควา้ จากคลงั ผ้า : บา้ นหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี
๒๑๗ ชอ่ื ผ้า : ผ้าแพรไส้ปลาไหล เทคนิคการทอ : ทอขดั และ ขิด (เสรมิ เสน้ พุ่งพิเศษ ตลอดหนา้ ผ้า) แหลง่ สืบทอดภูมิปัญญา : บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี คน้ ควา้ จากคลงั ผ้า : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี
๒๑๘ ชื่อผา้ : ผา้ แพรไสป้ ลาไหล (ลายเชิง เป็นลาย “กระจับย้อย”) เทคนคิ การทอ : ทอขัด และ ขดิ (เสรมิ เส้นพงุ่ พิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ ) แหลง่ สืบทอดภูมิปัญญา : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ค้นควา้ จากคลงั ผ้า : บ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี
๒๑๙ ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ นับเป็นศิลปะส่ิงทอของช่างฝีมือท่ียังคงสืบทอดอยู่ในปัจจุบัน สิ่งบ่ง บอกมรดกภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อกันมานาน มีพัฒนาการทางศิลปะท่ีแสดงความสัมพันธ์ความเก่ียวดองทาง เครือญาติโดยการแต่งงานระหว่างเจ้านายเมืองอุบลฯ และเชื้อพระวงศ์จากราชสานักสยาม นอกจากนี้แล้ว ลวดลายและเทคนิคการทอผ้าเมืองอุบลฯ ยงั มคี วามสัมพันธก์ ับกลุ่มชาตพิ ันธุ์อื่นๆท่อี ยู่ใกล้เคียงกนั ในลุ่มน้าโขง โดยมีขอ้ สงั เกตทสี่ รปุ ย่อไดด้ งั น้ี (๑) “ผา้ เยยี รบบั ลาว” ทนี่ าลายผา้ ราชสานักสยามมาทอดว้ ยเทคนคิ การทอผ้ายกตะกอขิด และเส้น ไหมทอ้ งถนิ่ อสี านของเมอื งอบุ ลฯ (๒) “ผา้ ซิน่ แบบต่างๆ” ของเจ้านายเมอื งอุบลฯ โดยเฉพาะสว่ นเชงิ ผ้าซน่ิ เป็นการประยกุ ต์ลายสยาม มาใช้เปน็ สญั ลกั ษณ์ส่อื แสดงถงึ ฐานานศุ ักด์ิท่แี ตกต่างจากชนพืน้ เมือง (๓) “ผ้าซ่ินมุก/ซิ่นทิวมุก” เจ้านายเมืองอุบลฯ น่าจะประยุกต์มาจากผ้าซิ่นมุกของชนเผ่ามะกอง แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว แตน่ ามาผสมลวดลายทอ้ งถนิ่ และเปลยี่ นวัสดเุ ปน็ เสน้ ใยไหม (๔) “ผ้าซ่ินทิว/ซิ่นก่วย/ซ่ินเครือก่วย” เป็นมรดกสิ่งทอร่วมกันกับ ชาวภูไท ที่ใช้แบบแผนลวดลาย เดียวกนั ทง้ั น้ชี าวเมอื งอุบลฯ มีหลักฐานบันทึกผ้าชนดิ น้ไี วใ้ นฮูปแต้ม วัดทุ่งศรเี มอื ง จังหวดั อุบลราชธานี (๕) “ผ้าซ่ินไหมก่อม/ซ่ินหมับไม/ซิ่นสีไพล/ซิ่นตาแหล่” ของชาวเมืองอุบลฯ เป็นมรดกสิ่งทอร่วมกัน กบั “ชาวกยู ” ทีเ่ ป็นกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุทีอ่ าศยั อยดู่ ัง้ เดิมในพืน้ ที่ (๖) “แพรไส้ปลาไหล” (ผ้าขาวม้าเชิงขิด) “ผ้าตาโก้ง” (โสร่งไหม) ก็เป็นผ้าทอท่ีชาวเมืองอุบลฯ มี มรดกสงิ่ ทอรว่ มกนั กบั กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุอื่นๆในพนื้ ทคี่ อื “ชาวเขมรถิ่นไทย/เขมรสูง” และ“ชาวภูไท” (๗) “แพรขิด” “ผ้าขี้งา” และ “หมอนขิด” เป็นมรดกสิ่งทอร่วมกันกับ “ชาวภูไท” และ “ชาวไท- ลาว” ท่ีเคยอาศัยอยู่ร่วมกันและมีความสัมพันธ์กันในระหว่างเส้นทางอพยพจากล้านช้าง (สปป. ลาว) ก่อนที่ จะลงมาต้ังถิ่นฐานที่เมืองอุบลฯ อย่างไรก็ดีผ้าทอที่เป็นมรดกร่วมกันนี้ส่วนใหญ่ ช่างทอชาวเมืองอุบลฯ จะมี การปรบั เปลยี่ นองค์ประกอบสสี ันของลายผา้ ทอเพ่ือใหต้ รงกับรสนยิ มเฉพาะตวั ของตนเอง อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยได้ตั้งข้อสังเกตจากหลักฐานลวดลายผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือผ้าทอ เมืองอุบลฯ ว่า มีพัฒนาการที่ประยุกต์ออกแบบจนมีความงดงามตามแบบเฉพาะตัว โดยมีท้ังการออกแบบท่ี เกิดขนึ้ ใหม่และการประยุกต์มรดกส่ิงทอ อนั เปน็ สิ่งบ่งบอกความสมั พนั ธ์กบั กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุอืน่ ๆในพ้ืนท่ี ส่วนผ้าท่มี ชี ่ือเสียงในปัจจุบันคอื “ผา้ กาบบัว” ซ่ึงเป็นผ้าประจาจงั หวัด ท่คี ิดประยุกต์ออกแบบข้ึนใหม่ โดย คุณมีชยั แตส้ ุจรยิ า นั้นเป็นผา้ ท่ีผสม ๔ เทคนคิ คือ มัดหม่ี ขิด หมับไม (ควบเส้น) และเครอื ทิว นิยมทอกัน แพรห่ ลายทัง้ เนื้อผ้าไหมและเน้ือผ้าฝา้ ย ซง่ึ นับเป็นมรดกผ้าทอเมืองอุบลฯ ท่มี ีพัฒนาการสบื เน่ืองมาจากผา้ ทอ แบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ
๒๒๐ บทท่ี ๗ คุณคา่ งานช่างฝีมอื ดั้งเดิม และการสืบทอด การทอผ้าแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ๗.๑ คุณคา่ งานชา่ งฝีมอื ดั้งเดมิ คุณค่ามรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมของงานชา่ งฝมี ือด้ังเดิม คอื คณุ คา่ ของการปฏิบัติ การแสดงออก ซึ่งความรู้ ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ์ และพ้ืนท่ีทางวัฒนธรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับส่ิงเหล่านั้น ซ่ึง ชุมชน กลุ่มชนยอมรับว่า เป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน ที่ถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปยังคนอีก รุ่นหน่ึง เพ่ือตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาท่ีมีต่อธรรมชาติและ ประวัติศาสตร์ของตน และทาให้สมาชิกชุมชนเกิดความภูมิใจในตัวตนและความรู้สึกสืบเนื่องทางวัฒนธรรม สาหรับในกรณีการทอผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือ “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” หากพิจารณาคุณค่างานช่างฝีมือ ด้งั เดมิ อาจจาแนกได้ในหลายมมุ มองดังน้ี ภาพที่ ๗-๑ ภาพที่ ๗-๒ และภาพที่ ๗-๓ ภมู ปิ ญั ญาการสบื ทอด “ผา้ เยยี รบับลาว” โดยคุณมีชีย แตส้ จุ รยิ า บ้านคาปนุ ท่มี าภาพ : มชี ัย แต้สจุ ริยา, ๒๕๕๗. ๑) คุณค่าทางทกั ษะภมู ิปัญญาวธิ ีการทอผ้า การสรา้ งสรรค์และประยุกต์ออกแบบลวดลายผา้ จาก การสัมภาษณ์และการจัดเวทีการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมท้ังการวิเคราะห์หลักฐานตัวอย่างผ้าโบราณของ “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” พบว่า ช่างฝีมือมีความสามารถในการประยุกต์ลวดลายและนามาปรับใหง้ ดงามตามแบบ ของตนเอง ตวั อย่างเชน่ การประยุกต์วิธกี ารใช้ตะกอขิด การจกไหมสแี ละมดั หมี่ในการสรา้ ง “ผ้าเยยี รบบั ลาว” ที่ถอดลายจากผ้าลายอย่างของราชสานักสยาม จนงดงามตามแบบของตน ซ่ึงคุณมีชีย แต้สุจริยา แห่งบ้าน
๒๒๑ คาปุน ผู้ประสบความสาเร็จในการฟื้นฟูผ้าทอชนิดน้ี ได้ให้ข้อสังเกตจากการสืบทอดภูมิปัญญาของตนว่า ความสามารถของช่างทอผ้าเมืองอุบลฯ นั้นเป็นความสามารถในการประยุกต์เทคนิคการทอพื้นถ่ินของตนเอง เพื่อสร้างงานที่งดงามในแบบฉบับของตนเอง เช่น “การเกบ็ ตะกอลายขิดนั้นสามารถเก็บตะกอแบบถอดไม้ค้า ลายท้ิงไปเลย” ก็ยังสามารถจดจาทาใหม่ได้เหมือนเดิม แต่ในปัจจุบันได้ประยุกต์เป็น “การเก็บตะกอแนวด่ิง” ไวเ้ พื่อความสะดวกในการทอผ้าได้เรยี บรอ้ ยและรวดเร็วขึ้น (สัมภาษณ์ มีชยั แต้สุจริยา, ๒๕๕๗) ส่วนการ “จก สอดไหมสี” นั้นก็เป็นภูมิปัญญาที่ช่างทอผ้าสืบทอดกันมาจนเป็นทักษะที่ชานาญ ดังหลักฐานที่ใช้ทักษะ เดียวกันนใ้ี นการทอผ้าอันงดงามอืน่ ๆ เช่น ผา้ ซนิ่ ทิวมุกจกดาว ผ้าจกดาว (หัวซิ่น) เป็นตน้ นอกจากน้ียังมีภูมิปัญญาในการประยุกต์ออกแบบลวดลาย “ตีนซ่ิน” ที่มีเอกลักษณ์ของเมืองอุบลฯ ซ่ึงมีลักษณะแตกต่างจากถิ่นเดิมท่ีเปน็ วัฒนธรรมล้านช้าง (สปป.ลาว) แตก่ ลับมลี ักษณะลวดลายที่เชอื่ มโยงกับ ราชสานกั สยาม คือตีนซ่ินช่ือ “ตีนตวย” เพื่อแสดงแหล่งท่ีมาของลวดลายท่ีประยุกต์จากลวดลาย “กรวยเชิง” ของราชสานักสยาม (คาวา่ “ตวย” ตรงกับคาว่า “กรวย”) และยงั แสดงถงึ ความสัมพันธ์ของการอภเิ ษกสมรส ของเจ้านายเมืองอุบลฯ กับเจ้านายจากราชสานักสยาม ซ่ึงการผสมผสานศิลปะด้วยภูมิปัญญาพื้นถิ่นในการ ถอดรูปแบบ “ลายเขยี น” ผ้าลายอย่างของราชสานักสยาม มาเป็น “ลายทอขิด” ด้วยด้ินเงิน ด้ินทองหรือไหม ในแบบฉบับของตนเอง ทาให้เกิดข้อสันนิษฐานว่า เจ้านายเมืองอุบลฯน่าจะใช้ลวดลายผ้าเป็นตวั บ่งช้ีลวดลาย สญั ลกั ษณแ์ ห่งอานาจบารมีของฐานานุศักด์ิเจา้ นายเมืองอุบลฯ คณุ ค่าในการออกแบบสีสันผ้าซ่ินที่สืบทอดตามแบบซนิ่ ไท-ลาว หากแต่นามาประยุกต์ใหม่ให้สวยงาม ตามแบบฉบับเมืองอุบลฯ ถือเป็นมรดกสาคัญให้ผู้สืบทอดผ้าทอเมืองอุบลฯ อย่างบ้านคาปุน สามารถคง เอกลกั ษณใ์ นการออกแบบองคป์ ระกอบสีสันผ้าทออนั สวยงามน้ีไวไ้ ด้ ภาพท่ี ๗-๔: ภมู ิปญั ญา “ผา้ ตีนตวย” และ “ผ้าซ่ินทวิ มกุ จกดาว” เมอื งอุบลฯ และภาพท่ี ๗-๕:รายละเอยี ดลวดลาย “ตีนตวย” ทมี่ าภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๒๒ ๒) คุณค่าต่อประวัติศาสตร์และโบราณคดีท่ีช่วยส่งเสริมมูลค่าผ้าทอและการท่องเที่ยว การศึกษา ตวั อย่างผ้าโบราณและผ้าที่ยังสืบทอดอยู่ในปัจจุบันของเมืองอุบลฯ ทาให้ผ้วู ิจัยและชุมชนไดเ้ ห็นหลักฐานผ้าที่ บรรพชนชาวเมืองอุบลฯ ได้วาดไว้ใน “ฮูปแต้ม” วัดทุ่งศรีเมือง และวัดบ้านนาควาย โดยได้พบภาพ “ผ้าซ่ิน ทิว” บนฝาผนังด้านข้าง เป็นภาพหญิงสาวนุ่งผ้าซิ่นทิวกาลังทากิจกรรมในวิถีชีวิตประจาวัน เช่น การตาข้าว ด้วยครกกระเด่ือง การผ่าฟืน การนวดแผนโบราณ การรับประทานอาหาร เป็นต้น สีสันของผ้าซ่ินทิวมี องค์ประกอบสีแตกต่างกัน ๒ โทนสี คือ (๑) ซ่ินทิวโทนสีแดง (พบหลักฐานตัวอย่างผ้าเก่าจานวนมากท้ังใน จังหวดั อบุ ลราชธานี และทอ่ี ื่นๆ) และ (๒) ซิ่นทิวโทนสีคราม (ในการสารวจปจั จบุ ัน พบหลักฐานตวั อย่างผา้ เก่า เฉพาะทจี่ งั หวัดอุบลราชธานี) นอกจากนย้ี ังพบหลักฐานโครงสรา้ งผ้าซนิ่ ลวดลายแนวดงิ่ ตามแบบลวดลาย “ซิ่น หมี่ค่ัน” ในฮูปแตม้ ซ่ึงผ้าซนิ่ ลายน้ีทอกันอย่างแพร่หลายในจังหวดั อบุ ลราชธานที ี่สืบทอดมาจากวัฒนธรรมลา้ น ช้าง โดยชา่ งทอผ้าเมอื งอุบลฯ และมเี อกลักษณ์ลวดลายผา้ มัดหม่ีของตนเองคือ “ผาสาดเผิง่ ” (ลายปราสาทผ้งึ ) โดยเฉพาะบ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง ซ่ึงเป็นศูนย์กลางชุมชนดั้งเดิมของเมืองอุบลฯ ความเช่ือมโยงของ ลวดลายผ้ากับหลักฐานทางโบราณคดีเหล่านี้ช่วยส่งเสริมคุณค่าแก่กันและกัน ทั้งด้านมูลค่าเพิ่มของตัวผ้าทอ เองแ ละมูลค่า ทาง การ ท่อง เท่ีย วที่มีเ รื่อง ราว เช่ือมโย งให้ นักท่องเ ท่ียวได้ตร ะหนั กใน มรด กภูมิปัญญ าทา ง วัฒนธรรมของ “ผา้ ทอเมอื งอุบลฯ” นอกจากน้ีรูปทรงลวดลาย “งานแกะไม้” ในงานตกแต่งสถาปัตยกรรมที่พบในสิมโบราณของวัดแจ้ง อาเภอเมือง และวัดใต้ยางขี้นก อาเภอเข่ืองใน ก็มีรูปแบบสัมพันธ์กันกับลวดลายผ้าซิ่นมัดหม่ีคั่น “ลายขอ นาค” อันเป็นสิ่งแสดงคุณคา่ ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ ต่อประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี รวมทงั้ ช่วยส่งเสรมิ มูลค่าผ้าทอ และการทอ่ งเที่ยว ภาพที่ ๗-๖ และภาพท่ี ๗-๗ ภาพบทความในนติ ยสารสกลุ ไทยของผู้วิจัยท่ีแสดงหลกั ฐานความสมั พันธข์ องฮูปแตม้ วดั ทุ่งศรี เมอื งกับผ้าทอเมอื งอุบลฯ ทช่ี ่วยสง่ เสริมคณุ คา่ ผา้ ทอและการท่องเทย่ี ว ท่ีมาภาพ : สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๖.
๒๒๓ ๓) คุณค่าในลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายกับกลุ่มชาวบ้าน ในสมัยก่อนจะมีการใชผ้ ้าไหม และผ้าอื่นๆ ส่งส่วยหลวงโดยผ่านเจ้านายเมืองอุบล ซึ่งนับว่าก่อให้เกิดผลทางด้านการเมืองการปกครอง ลักษณะความสัมพันธ์ดังกล่าวก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด เเรงงาน วัสดุ เทคนิควิธีการทอผ้าตลอดจน ผลผลิตต่าง ๆ ทาให้มีการยอมรับสภาพของกันเเละกัน โดยมีกลุ่มเจ้านายเป็นผู้ประสานงานระหว่างชาวบ้าน กับราชสานักในลักษณะของการเผยเเพร่ฝีมือการทาผ้าทอ เป็นผลให้มีการพัฒนาลวดลายผ้าทอท้ังในระดับ เจ้านายและระดับชาวบ้านทั่วไป กลุ่มเจ้านายก็มีการประยุกต์ลวดลายผ้าทอของชาวบ้านมาใช้สอยใน ชวี ิตประจาวัน สว่ นชาวบ้านเองที่ชน่ื ชมการใชผ้ ้าทอแบบเจา้ นาย ก็สามารถจะทอไดโ้ ดยใช้วัสดุอน่ื ทดแทน เช่น ชาวบ้านจะใช้สีเหลอื งแทนไหมคาของกลุ่มเจ้านาย เปน็ ตน้ ๔) คุณค่าการสืบทอดการทอผ้ากับความสัมพันธ์กันในลักษณะชุมชนด้วยกันเอง คุณค่าลักษณะนี้ จะเห็นได้จากการทอผ้าเพ่ือใช้สอยในครอบครัว โดยมีการทอผ้าพิเศษเพอ่ื ใช้ในงานตามประเพณหี รือพิธีกรรม ความเชื่อต่างๆ ใช้ในพิธขี อขมา ญาติผู้ใหญใ่ นพิธีแต่งงาน(กินดอง) ซึ่งผา้ ท่ีใช้ขอขมานฝ้ี ่ายเจ้าสาวต้องเปน็ ฝ่าย จัดเตรยี ม ทาให้มีการอบรมสั่งสอนทางสังคมในด้านการถ่ายทอดวชิ าการทอผ้า ชว่ ยเหลือกันในด้านภูมิปญั ญา ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทอผ้าจากบรรพชนจนมีเอกลักษณ์ของชุมชน ดังนั้นจะเห็นได้ว่า แต่ ละชุมชนก็มฝี ีมอื ในการทอผา้ ต่างชนิดกัน เชน่ บางชุมชนมีชื่อเสียงด้านการทอผ้าขิด บางชมุ ชนมีความชานาญ ในการทอผา้ ไหมมัดหมี่ เป็นต้น ภาพท่ี ๗-๘ พิพธิ ภณั ฑว์ ัดบา้ นปะอาว จัดแสดงผา้ ทอเมืองอุบลฯ ชว่ ยส่งเสรมิ คณุ คา่ ผ้าทอและการทอ่ งเที่ยวของชมุ ชนและ สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ใหแ้ กผ่ า้ ทอของชมุ ชน ทมี่ าภาพ : สิทธิชัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๗.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343