๒๒๔ ๕) คุณค่าในลักษณะความสัมพันธ์ในด้านเศรษฐกิจ จากการที่ชุมชนในอดีตมีสังคมเเบบพ่ึงตัวเอง หรือบุคคลในสังคมเดียวกันมีการปลูกข้าวไว้กินเอง ทอผ้าไว้ใช้เอง เลี้ยงสัตว์ไว้ทาประโยชน์ให้กับครอบครัว ตนเอง อาจจะมีการแลกเปลี่ยนข้าวของกันบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ภายในชุมชน ต่อมาเม่ือบ้านเมืองมีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงไป การดารงชีวิตในโลกยุคปัจจุบันการทางานทุกอย่างอาจจะต้องคิดถึงเรื่องคุณค่าทาง เศรษฐกจิ เขา้ มาประกอบด้วย ฉะน้ันการทาผ้าทอแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ในปจั จบุ ันก็เช่นเดียวกนั คือ จะตอ้ ง มุ่งในเชิงเศรษฐกิจด้วย จะเห็นได้ว่าในชุมชนต่าง ๆ มักมีการตั้งกลุ่มทอผ้าหรือสหกรณ์ข้ึนเพื่อสนองความ เปล่ียนแปลงทางสังคมดังกล่าว ในจังหวัดอบุ ลราชธานีมีกล่มุ สตรีทอผ้าหลายกลมุ่ โดยสตรีเหล่านีไ้ ด้ใชเ้ วลาว่าง จากการทานาทาไร่มาร่วมกันสร้างผลงานผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ด้วยภูมิปัญญาและความชานาญของ เเต่ละคน ทาใหก้ ลมุ่ สตรเี หล่านี้มีรายได้เพ่ิมข้ึน นอกจากความสัมพันธ์ดังกล่าวมาเเล้ว จะเหน็ ได้ว่า ผ้าทอ เเละผลิตภัณฑ์ทที่ าจากผ้าทอยังมีคณุ คา่ ใน การช่วยกระชับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือสถาบันต่าง ๆ ด้วย เช่น การทูลเกล้าฯ ถวายผ้าไหมแด่องค์ พระประมุขเเละพระราชวงศ์ ตลอดจนผู้นาจากต่างประเทศ การมอบของท่ีระลึกในงานบุญต่าง ๆ (เช่น หมอนขิด ผ้าขาวม้า) การแสดงการต้อนรับและชื่นชมผู้มาเยือนชุมชน (เช่น ชาวบ้านนาผ้าขาวม้ามาคาดเอว รัฐมนตรีหรือผู้นาต่างๆ) ตลอดจนการซ้ือหาผ้าทอเพื่อเป็นของฝากของกานัลให้แด่บุคคลท่ีเคารพนับถือ เป็น ตน้ ในปัจจุบันผู้คนหันมาให้ความสาคัญกับงานศิลปหัตถศิลป์ กันมากข้ึน ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ที่มีประวัติศาสตร์น่าสนใจ และมีลวดลายผ้าท่ีสวยงาม มีเทคนิคการทอผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ ที่แตกต่างจาก ทอ้ งถิ่นอ่ืนในภาคอสี าน อีกท้ังเจา้ นายผ้หู ญิงผ้ใู ช้ผ้าเหล่านีใ้ นอดีต มียศศกั ด์ิทเ่ี รียกว่า “อัญญานาง” ที่เทียบกับ “อัญญาสี่” ของเจ้านายผู้ชาย ทาให้มีกระแสการฟื้นฟูและประชาสัมพันธ์ ผ้าซิ่นแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ให้ เป็น “ผ้าของอัญญานาง” หรือนิยมเรียกส้ันๆว่า “ผ้าอัญญานาง” ช่วยเพิ่มมูลค่าให้ผ้าทอแบบเจ้านายเมือง อุบลฯ ทาให้มีราคาสูงมากข้ึน เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ด้วยเหตุดังกล่าวจึงเป็นแรงจูงใจให้ช่างทอผ้าในอีสานถิ่นอื่น นาผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ไปทอเลียนแบบ เช่น ช่างทอผ้าอาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ช่างทอผ้า จงั หวัดศรีสะเกษ ชา่ งทอผา้ จังหวัดขอนแก่น เป็นตน้ ๗.๒ การถา่ ยทอดและการสืบทอด วิชาชีพการตาหกู ทอผา้ เนื่องจากการตาหูกทอผ้าเป็นเหมือนวิชาชีพของลกู ผู้หญิงท่ีสังคมกาหนดให้เป็นการเตรียมตัวก่อนทา หน้าท่ีแมบ่ ้านต่อไป ฉะน้นั การสืบทอดวิชานี้จึงมีการถ่ายทอดสืบต่อไปยังลูกสาว หรือลูกสะใภ้จนถึงหลานสาว เป็นหลัก ส่วนวิธีการถ่ายทอดจากแม่นั้น ส่วนใหญ่จะอยู่ในลักษณะการอบรมส่ังสอนทางสังคมอย่างไม่เป็น ทางการ อยา่ งกรณีลกู สาว หลานสาวเหน็ แม่ หรอื ยา่ ยาย ทาการตากสมอฝา้ ย อวิ้ ฝ้าย เขน็ ฝา้ ย ย้อมสี และสืบ หกู ทอผ้า ก็จะเรยี นรู้ไปเรือ่ ยๆ อาจจะชว่ ยทาผิดบ้าง ถกู บา้ งตามความตอ้ งการ และเท่าท่ีจะสามารถทาไดต้ าม วัย จนรับรวู้ า่ นัน่ คือ คา่ นยิ มของสงั คมทีผ่ หู้ ญิงจะตอ้ งทาหน้าที่ตาหูกทอผา้ เพ่อื ใช้สอยกันในครอบครวั และอืน่ ๆ บทบาทของเจ้านายผู้หญิงเมืองอุบลฯ ก็ปฏิบัติเช่นเดียวกันกับธรรมเนียมของหญิงสาวสามัญ ที่ให้ ความสาคัญในการทอผ้าวา่ เป็นคุณค่าที่ผู้หญิงทุกคนต้องปฏิบัติเพอื่ ทอผา้ ไว้ใช้สอยในครอบครัวและในโอกาส พิเศษ ประกอบกับเจ้านายผู้หญิงเมืองอุบลฯ บางท่านก็จะได้รับการอบรมสั่งสอนโดยตรงอย่างมีจุดมุ่งหมาย จากญาติผู้ใหญ่ เพ่ือให้รับรู้วัฒนธรรมการตาหูกทอผ้าอันเป็นการเตรียมตัวลูกสาว-หลานสาวให้อยู่ในสังคมได้ อยา่ งมเี กียรติ ได้รับการยอมรบั จากผ้คู นในสังคม
๒๒๕ ชาวบ้านทั่วไปน้ัน เม่ือลูกผู้หญิงเติบโตสู่วัยรุ่นก็อาจได้รับแรงกระตุ้นจากสภาพแวดล้อมทางสังคมอีก ทางหน่ึงด้วย เพราะปกติสังคมท่ัวๆ ไปมักจะมีเกณฑ์มาตรฐานของความคิดและพฤติกรรมที่จะกล่ันกรอง คุณค่าของคนในสังคมในระดับหนึ่ง และเร่ืองการตาหูกทอผ้าก็เป็นสิ่งที่สังคมอีสานใช้แสดงสถานภาพอง ลูกผู้หญิงด้วย จึงเป็นแรงเร้าให้ผู้หญิงคิดแสวงหาวิธีการท่ีจะตาหูกทอผ้าให้ดีงาม และมีคุณภาพตามทัศนะ ค่านิยมของสังคม ทั้งในเรื่องเส้นใย ลวดลายสีสันด้วยการเรียนรู้ฝึกฝนจากแม่ ญาติผู้ใหญ่ จากเพ่ือนบ้าน จา การสังเกตท้ังท่ีคนอ่ืนทาและที่คนอื่นใช้สอยแล้วจดจานาเอามาทดลอง ทาจากการสอบถามพูดคุย จากการขอ ยืมตัวอย่างผ้า หรือยืมต้นแบบลวดลายที่บางแห่งทาเป็นลายขิดไว้ท่ีเรียกว่า “ผ้าแซ่ว” ชาวอีสานใช้ถ่ายทอด ลวดลายผ้าและประสบการณใ์ นวชิ าการตาหูกทอผ้า การสืบทอดวิชาชีพการทอผ้าฝ้ายที่จะแสดงถึงคุณค่าความสามารถของลูกผู้หญิง อีสานนี้จะเห็นได้ ค่อนข้างชัดเจนในการทอผ้าขิดท่ีใช้ทา “หมอนขิด” ทั้งชนิดหมอนเหล่ียม หมอนช่อง หมอนสามเหลี่ยม และ หมอนเก้า ที่มีการเก็บขิดลวดลายต่างๆ และมีการสอดสลับสีสันอย่างซับซ้อนมากพอสมควร เพราะเป็นงาน ฝีมือท่ีนอกจากจะใช้สอยท่ัวไปแล้ว ยังไปเกี่ยวข้องกับศรัทธาความเชื่อโดยนิยมใช้ถวายพระ ร่วมตั้งกองเม็ง ทาบุญในงานบุญบวชญาติของตัวเองและเพื่อนบ้าน และใช้เป็นของท่รี ะลึกกับแขกทมี่ าเยอื นท่ีเคารพนับถือใน โอกาสพเิ ศษด้วย ทจ่ี ะเห็นคุณคา่ รองลงไปกเ็ หน็ จะเปน็ งานทอผ้า “ขิดตีนซ่ิน” ทีส่ ่วนใหญ่นยิ มใช้เส้นฝ้ายย้อม สีทอเป็นลวดลายขนาดเล็กๆ เป็นแผ่นผืนยาวๆ ไม่กว้างมากนัก แต่ก็เป็นงานฝีมือชิ้นหน่ึงท่ีมีความสาคัญอยู่ไม่ นอ้ ย เพราะต้องตัดไปใชต้ อ่ ตีนซ่ินนุ่งในโอกาสใช้ชีวิตประจาวันทเี่ ปน็ ซน่ิ ผา้ ฝา้ ยและใช้งานบุญประเพณพี ธิ กี รรม ทต่ี ่อตนี ซิ่นไหม ส่วน “ขิดหัวซน่ิ ” น้ันส่วนใหญจ่ ะนิยมใชเ้ ส้นใยไหมมากกว่า แต่ก็มีอยู่บา้ งท่ีใช้เส้นใยฝ้าย ซึ่งก็ มักจะไม่เด่นชัดนัก เพราะเป็นส่วนที่ถูกซ่อนอยู่พกเอวและถูกเส้ือปิดบัง และพอมองเห็นเพียงเล็กน้อยก็ตรง ส่วนชายพกเทา่ น้นั (ประไพ ทองเชญิ และคณะ. ๒๕๔๖ : ๖-๘) หลักฐานผ้าโบราณบ่งชี้ว่าเจ้านายฝ่ายหญิงเมืองอุบลฯ นิยมนุ่งซ่ินท่ีต่อ “หัวซิ่นจกดาว” ท่ีเป็นลาย เอกลักษณ์เมืองอุบลฯ คือ “ลายดาว” หรือท่ีเรียกว่า “จกหัวดาว” ซ่ึงเจ้านายเมืองอุบลฯ น่าจะอนุญาตให้ ชาวบ้านช่างทอผ้าบริวารของตนเองได้ทอผ้าลายน้ีและสามารถใช้ลายผ้าน้ีร่วมกับตนได้ ส่วน “ลายดอกแก้ว ทรงเคร่ือง” ที่จกลวดลายละเอียดซับซ้อน ไม่พบในผ้าของชาวบ้าน พบแต่ผ้าของเจ้านายเท่านั้น จึงเกิดข้อ สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นลายหัวซ่ินที่เจ้านายเมืองอุบลฯ ทอขึ้นเพ่ือใช้แสดงสถานภาพเจ้านายของตนเอง ให้ แตกต่างจากชาวบ้านทั่วไป ในปัจจุบันการสืบทอดภูมิปัญญาผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ มีชุมชนหลักที่สืบ ทอดคือ ชมุ ชนบ้านคาปนุ อาเภอวารินชาราบ ท่ีพยายามฟื้นฟูผ้าทอโบราณคือผ้าเยียรบับลาว ผ้าซิ่นทิวมุกจก ดาว ผา้ ซน่ิ ตีนตวย ตามแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ชุมชนบ้านหนองบ่อ และชุมชนบ้านปะอาว อาเภอเมือง เป็นชุมชนท่ีต้งั อยู่ในบรเิ วณศูนย์กลางชุมชน ด้ังเดิมของเมืองอุบลฯ ทาให้มีการสืบทอดมรดกภูมิปัญญาผ้าทอเอกลักษณด์ ั้งเดิมของเมืองอุบลฯ อาทิ ซ่ินหม่ี ลายปราสาทผึง้ หัวซน่ิ จกดาว ผ้าแพรขดิ ผ้าแพรไสป้ ลาไหล ชุมชนบ้านลาดสมดี อาเภอตระการพชื ผล เปน็ ชุมชนทส่ี ืบทอดการทอผ้าซิ่นทวิ มุกจกดาว ผา้ ซิน่ ทิว ชุมชนบ้านบอน อาเภอสาโรง เป็นชุมชนท่ีสืบทอดการทอผ้าซ่ินแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะ ผา้ ซน่ิ ยกดอกเงิน-ดอกคา ผ้าตนี ซน่ิ ลายตีนตวย ผ้าตนี ซ่นิ ลายกระจบั ย้อย ผา้ ตีนซ่ินลายชอ่ นอกจากน้ีมีชุมชนทอผ้าอีกหลายชุมชนที่ยังคงร่วมสืบทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม แบบ พ้ืนบา้ นไวไ้ ด้
๒๒๖ บทท่ี ๘ การสงวนรกั ษา ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ๘.๑ การดาเนินงานของผู้วิจัยกบั ชุมชน (ทาอยา่ งไร) -กิจกรรมสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมแลกเปล่ียนความรู้กับชุมชน (ดูเอกสารส่วน การมีส่วนร่วม ของชุมชน) ความรู้ที่ชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนจะถ่ายทอดโดยตรงสู่สมาชิกชุมชนทาให้แต่ละกลุ่มทราบข้อมูลผ้า ทอและคุณค่าของผ้าทอประเภทต่างๆ ทาให้เกิดความภูมิใจในการที่จะสงวนรักษาและสบื ทอดภูมิปัญญางาน ผา้ ทอเมืองอบุ ลฯ ต่อไป นางประคอง บุญขจร หัวหน้ากลุ่มทอผ้าบ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง กล่าวว่า “ชาวชุมชนทุกๆ คน อยากให้มีการขึ้นทะเบียนเพื่อปกป้องมรดกภูมิปัญญา ผ้าทอเมืองอุบลฯ มานานแล้ว ยินดีร่วมมือเต็มที่” ขณะท่ีนางขนิษฐา ลาพรหมมา หัวหน้ากลุ่มทอผ้าบ้านบอน อาเภอสาโรง กล่าวว่า “ดีใจมากที่จะมีการขึ้น ทะเบียนมรดกภูมิปัญญาผ้าทออันเป็นเอกลักษณ์ของเมืองอุบลฯ” นางเตือนใจ แก้ววงสา หัวหน้ากลุ่มทอผ้า บา้ นปะอาว อาเภอเมอื ง กล่าวเสริมว่า “บ้านปะอาวของเราเคยได้ข้ึนทะเบียน งานทองเหลอื งไปแล้ว ภมู ิใจ ดี ใจที่จะมีการข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าทอเมืองอุบลฯ” ส่วนอาจารย์สุดสวาท สงปรีดา ซึ่ง เปน็ ผู้ร่วมสงั เกตการณ์ ณ บา้ นหนองบ่อ ไดใ้ ห้ข้อสังเกตวา่ แต่ละชุมชนไดส้ ืบทอดงานผ้าทอไวใ้ นแบบหรือชนิด ผ้าต่างๆกัน เป็นการเสริมช่วยเติมเต็มมรดกภูมิปญั ญาที่ผ้าบางชนิดในบางชุมชนหายไป แต่สามารถสืบทอดได้ ในอีกชุมชนหนง่ึ จงึ เปน็ การชว่ ยเตมิ เตม็ ความสมบูรณ์ของกันและกันในการสืบทอดผา้ ทอเมืองอุบลฯ ภาพท่ี ๘-๑ กจิ กรรม การมีสว่ นรว่ มจากชมุ ชน ผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ ณ บ้านหนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ท่ีมาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๒๗ -การมสี ่วนร่วม กจิ กรรม งานนิทรรศการผ้าไหม เปดิ บา้ นคาปุน ชว่ งเทศกาลเขา้ พรรษา ซ่ึงตรงกับ เดอื นกรกฎาคมของทกุ ปี บา้ นคาปนุ ถือเปน็ แหลง่ สืบทอดผ้าทอชนั้ สูง ท่ปี ระยกุ ต์มาจากผ้าแบบเจา้ นายเมือง อบุ ลฯ งานนทิ รรศการผา้ ชัน้ สูงนไี้ ดส้ ร้างแรงบันดาลใจให้บรรดาชา่ งทอผ้าท่ีมาร่วมกิจกรรม นากลับไป ประยกุ ต์ใช้พฒั นาฝีมือในการทอผา้ ของตนเอง และเป็นการเปดิ เวทีให้คนรักผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ ได้มีพื้นที่และ โอกาสในการนาผา้ ทอทีส่ ะสมไว้มานุ่งห่มหรือสวมใสใ่ นการมาชมนิทรรศการผ้าในครัง้ นี้ คณุ มชี ยั แตส้ ุจรยิ า ตวั แทนเจา้ ของบ้านคาปุน กล่าวว่า “เราจัดงานทุกๆปี เพ่ือให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้ให้แก่เยาวชน นักศกึ ษา และคน รกั ผา้ ได้มาเรยี นรกู้ ระบวนการผลติ ผ้าไหมวา่ มีความซบั ซอ้ น อย่างไร มีการสาธติ ต้งั แต่การสาวเสน้ ไหม การมัด ลวดลายหมี่ การควบเสน้ ไหม การทอผ้าเอกลกั ษณเ์ มืองอุบลฯ เชน่ ผา้ ซ่ินทวิ มกุ จกดาว ผา้ เยียรบบั ลาว ฯลฯ ตลอดจนศลิ ปะการแสดงฟ้อนกลองตุ้ม จากชมุ ชนบา้ นหนองบอ่ อันเป็นเอกลักษณข์ องเมอื งอบุ ลฯ ศิลปะการ สรา้ งหอปราสาทผึง้ ของชา่ งฝีมือรนุ่ เยาว์ ศลิ ปะการจัดดอกไม้ การแสดงดนตรีโดยชมรมดนตรไี ทย” สังเกตวา่ มี สือ่ โทรทศั น์ หนงั สือพิมพ์ต่างๆ และกลมุ่ Facebookของคนรักผ้า ให้ความสนใจอยา่ งมาก งานนีจ้ งึ เป็นสว่ น สาคัญทีช่ ว่ ยสง่ เสริมประชาสัมพันธ์ใหส้ ังคมภายนอกจังหวดั อุบลราชธานี ได้รู้จักผา้ ทอของเมอื งอบุ ลฯ อยา่ ง แพร่หลาย ภาพที่ ๘-๒ และภาพท่ี ๘-๓ กจิ กรรม งานเปดิ บา้ นคาปนุ อ. วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี มนี กั ศึกษามาขอความรู้เร่อื งการทอ ผา้ ไปจดั ทารายงาน และมคี นรกั ผา้ จากชมรมอนุรกั ษผ์ า้ ไทยทว่ั ประเทศมาร่วมงานจานวนมาก ที่มาภาพ : Facebook Chai Smanchat, ๒๕๕๘.
๒๒๘ ภาพที่ ๘-๔ ภาพที่ ๘-๕ ภาพท่ี ๘-๖ ภาพท่ี ๘-๗ และภาพท่ี ๘-๘ กจิ กรรม งานเปดิ บา้ นคาปุน อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี มีชุมชนบา้ นหนองบ่อ มาฟอ้ นกลองตมุ้ มีกลมุ่ คนรกั ผ้าไทยมาร่วมงานถ่ายภาพเผยแพรผ่ ่าน Facebook ท่ีมาภาพ : Facebook Chai Smanchat, ๒๕๕๘.
๒๒๙ -ร่วมกิจกรรมจัดเสวนา “การสร้างสรรค์คณุ ค่าผ้าทอเมืองอุบลฯ” และจัดนิทรรศการผา้ ตามแบบ ฉบบั ศูนย์เรยี นรทู้ ากินได้ ดว้ ยความร่วมมอื กับการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) จังหวัด อุบลราชธานี และคณะของ ผศ.ดร.ศักด์ิชาย สิกขา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในช่วงเทศกาลแห่เทียน เข้าพรรษา เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๗ (ดูเอกสารส่วน การมีสว่ นร่วมของชุมชน) ตัวแทนจากชุมชนทอผา้ จากทุก ชุมชนมีความสุขท่ีได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมน้ี เพราะเนื้อหานิทรรศการ อธิบายขั้นตอนต่างๆ ในการผลิตผ้าทอ ตลอดจนเอกลักษณ์ผ้าทอของหมู่เจ้านายเมืองอุบลฯ นอกจากความคิดเห็นท่ีทุกๆ ท่านต้ังใจมามีส่วนร่วมแล้ว สหี น้าและแววตาทเ่ี ป่ียมสุขช่วยยืนยันว่า โครงการข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาผา้ ทอเมืองอุบลฯ นี้มีประโยชน์ ต่อชุมชน นางอุษา ศิลาโชติ ตัวแทนช่างทอผ้าอาวุโสย้าว่า “ปัจจุบันพยายามสืบสานงานผ้าทอให้แก่เยาวชน เน้นทอผ้าเอกลักษณ์ เช่น ผ้ามัดหม่ีลายปราสาทผึ้ง ผ้าหัวซิ่นจกดาว ท่ีทอออกขายไม่ทัน แม่ภูมิใจที่คนไกลๆ จากกรงุ เทพฯ ขับรถมาตามหาแหล่งทอผ้าเอกลักษณ์ด้ังเดิมของเมืองอบุ ลฯ งานโครงการขน้ึ ทะเบียนมรดกภูมิ ปญั ญาผ้าทอเมอื งอบุ ลฯ ส่งผลดีมากๆ” เธอพดู ด้วยรอยย้มิ และแววตาท่เี ปี่ยมด้วยความสุขใจ ภาพที่ ๘-๙ และภาพที่ ๘-๑๐ กจิ กรรม เสวนาและนิทรรศการ “คณุ ค่าผา้ ทอ เมอื งอุบลฯ” โดยความรว่ มมอื กับ กศน. จังหวัด อบุ ลราชธานี โดยมีตวั แทนชมุ ชนมาร่วมทงั้ กลุม่ ทอผ้าไหม กลุ่มทอผา้ ฝ้าย และกลมุ่ แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ท่มี าภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๓๐ -กิจกรรมการนาเสนอ ผลงานวิจัยที่เก่ียวกับผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ในการประชุมวิชาการ ระดับประเทศ “ท้องถ่ินอีสาน ในบริบทอาเซียน” ท่ีจัดโดยเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ณ โรงแรมริมปาว จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้วิจัยได้ไปนาเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง “ผ้าซิ่นทิวมุกจกดาว ผ้าเจ้านาย เมืองอุบลฯ มรดกสิ่งทอในภูมิภาคอาเซียน” ซึ่งคณะกรรมวิชาการได้มอบรางวัลการนาเสนองานวิชาการ ดีเด่น ให้แก่ผู้วิจัย (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิทธิชัย สมานชาติ) ด้วยมีการศึกษาเปรียบเทียบ การค้นพบต้น กาเนิดเทคนิคการทอ และวิเคราะห์ลวดลายผ้าที่แสดงความสัมพันธ์ในภูมิภาคอาเซียน นับเป็นการ ประชาสัมพันธ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ผ้าทอเมืองอุบลฯ อีกทางหนึ่งเพราะได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ บทความวชิ าการนี้ในวารสารวิชาการของการประชมุ ภาพที่ ๘-๑๑ ภาพท่ี ๘-๑๒ ภาพท่ี ๘-๑๓ ภาพท่ี ๘-๑๔ ภาพท่ี ๘-๑๕ และภาพท่ี ๘-๑๖ การนาเสนอ ผลงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วกบั ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ ในการประชุมวิชาการระดบั ประเทศ เร่ือง “ท้องถน่ิ อีสาน ในบริบทอาเซยี น” ที่จัดโดย เครอื ขา่ ยมหาวิทยาลยั ราชภฏั กาฬสนิ ธ์ุ ณ โรงแรมรมิ ปาว จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ทีม่ าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๓๑ -ร่วมกิจกรรมการจัดสัมมนา กบั ทางสานักศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี โดย ดร. กิติรัตน์ สีหบัณฑ์ ได้จัดโครงการสัมมนา เรื่อง “ผ้าทอเมืองอุบลฯ การอนุรักษ์และพัฒนา” ณ ห้องบัวทิพย์ โดยได้เชิญผู้วิจัย (ผศ.ดร.สิทธิชัย สมานชาติ) ไปร่วมแบ่งปันความรู้ในการจัดเตรียมข้อมูลและการมีส่วนร่วม ของชุมชนใน “การเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ผ้าทอเมืองอุบลฯ” โดยมีคุณมีชัย แต้สจุ รยิ า จากบ้านคาปุน นางอมั รา กุก่อง จากบา้ นลาดสมดี ผ้สู บื ทอดภูมปิ ัญญาร่วมเสวนาและนาผ้าทอเมอื ง อุบลฯ มาจาหน่ายให้แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา ในงานนี้มีนักวิชาการ คนรักผ้าทอเข้าร่วมงานเป็นจานวนมากอาทิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กาญจนา ชนิ นาค ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สปุ ิยา ทาปทา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดาพร ตังควนิช ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สมชาย นลิ อาทิ อาจารย์บุญชัย ทองเจริญบัวงาม อาจารย์ศรัญญา ภักดีสวุ รรณ อาจารย์ทวีพฤทธิ์ ศิริศักดิ์บรรจง ร่วมนาเสนอความรู้เรื่องผ้าทอเมืองอุบลฯ ในมิติต่างๆกัน และได้มีการจัด แสดงการเดนิ แบบผ้าพ้นื เมืองอสี าน โดยนักศกึ ษา เพ่ือปลกู ฝังความรกั มรดกภูมิปญั ญาให้แกเ่ ยาวชน ภาพที่ ๘-๑๗ ภาพที่ ๘-๑๘ ภาพท่ี ๘-๑๙ และภาพท่ี ๘-๒๐ กิจกรรมการจัดสัมมนา กับทางสานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี โดย ดร.กิตริ ัตน์ สีหบณั ฑ์ ไดจ้ ดั โครงการสัมมนา เร่ือง “ผา้ ทอเมืองอบุ ลฯ การอนรุ ักษ์และ พัฒนา” ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๘.
๒๓๒ -กิจกรรมประชาสัมพันธ์ นิทรรศการถาวร ผ้าทอเมืองอุบลฯ ในพิพิธภัณฑ์วัดบ้านปะอาว ผ่าน Facebook สื่อออนไลน์ ได้รับการตอบรับจากคนรักผ้า ในการที่จะมาเย่ียมชมนิทรรศการผ้าในชุมชน สร้าง เครือข่ายให้ผ้าทอเมืองอุบลฯได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางมากข้ึน เป็นแหล่งเรียนรู้ตัวอย่างผ้าทอเมืองอุบลฯ แห่งใหม่ที่พระสงฆ์ได้เป็นผู้นา ช่วยชุมชนในการเผยแพร่มรดกภมู ิปญั ญาด้านต่างๆ โดยมผี ้าทอของเมืองอุบลฯ ร่วมจัดแสดงดว้ ย ภาพที่ ๘-๒๑ หน้าสอื่ ออนไลน์ Facebook: Chai Smanchat ประชาสมั พนั ธ์ นิทรรศการถาวร ผา้ ทอเมืองอุบลฯ ใน พิพธิ ภณั ฑว์ ัดบา้ นปะอาว ท่มี าภาพ : สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. -กิจกรรมเผยแพรข่ อ้ มูล ผา่ นสื่อออนไลน์ ท้ัง Facebook และ Line เรอื่ งต่างๆท่เี กยี่ วข้องกบั ผ้าทอ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ และผ้าทอพ้ืนบ้านเมืองอุบลฯ ผ่าน Facebook กลุ่มที่รักผ้าต่างๆ เช่น “กลุ่มชมรม อนุรักษ์ผ้าไทย” “กลุ่มนุ่งซ่ินอินแทรนด์” “กลุ่มคนนุ่งโสร่ง” “กลุ่มขายผ้าพื้นเมือง” เป็นต้น ตลอดจนกลุ่ม ของชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี โดยใช้เป็นเวทีให้เยาวชนที่รักในศิลปวัฒนธรรมได้ช่วยกันลงข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการเผยแพรแ่ ละอนรุ ักษ์ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ ภาพที่ ๘-๒๒ และภาพท่ี ๘-๒๓ เยาวชนชายเผยแพร่การนุ่งโสร่ง คาดผ้าแพรปลาไหล เยาวชนหญิงเผยแพร่การนุ่งซิ่นตาม แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ เบ่ียงผ้าแพรขิด ในส่อื ออนไลน์ Facebook ท่ีมาภาพ : Facebook คนนงุ่ โสรง่ , ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๘.
๒๓๓ -ร่วมจัดกิจกรรม สืบทอดและพัฒนาความรู้ผ้าทอเมืองอุบลฯ การทางานร่วมระหว่างช่างทอผ้ารุ่น แม่ กับเยาวชน โดยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จังหวัดอุบลราชธานี ตัวแทนศูนย์ ความรู้กินได้ (OKMD) เชิญตัวแทนช่างทอผ้าจากชุมชนที่สืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้ามาร่วมสร้างสรรค์ผ้าทอ กบั เยาวชน นักศึกษา โดยจัดให้มกี ิจกรรม ศึกษาผา้ ทอแบบเจ้านายเมืองอุบลราชธานี และลอกลายผา้ โบราณ เพื่อมาประยกุ ต์ออกแบบ นาไปทอผา้ จริงเพื่อสืบสานงานทอผา้ โดยทีมวิจัยได้บูรณาการกบั นักศึกษาท่ีเรียนใน รายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์พ้ืนถิ่น และวิชาส่ิงทออีสานกับเทคโนโลยีพื้นถิ่น มาร่วมกิจกรรมช่วยแม่ๆช่าง ทอผ้า คัดลอกและออกแบบลวดลายผา้ ตัวแทนชุมชนช่างทอผ้า นางอุษา ศิลาโชติ จากบ้านหนองบ่อ กล่าวว่า “ดีใจมากท่ีเด็กๆมาช่วย คดั ลอกลายผ้า ทีไ่ ปศกึ ษาลวดลายผ้าเก่าของเมืองอุบลฯ ท่ีจัดไวท้ ่ีห้องจดั แสดงผ้าของพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี” นางอุษา ย้ิมพลางนง่ั กากบั เยาวชนนักศึกษาให้ช่วยคัดลอกลายผ้าอย่างมคี วามสขุ กิจกรรมน้ีได้ ช่วยเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งการซึมซับความรักในศิลปะผ้าทอเมืองอุบลฯ ให้แก่เยาวชน และช่างทอผ้าได้เรียนรู้ การออกแบบลวดลายโดยใช้กราฟช่วยในการกาหนดแบบในการทอผ้า นางเตือนใจ แก้ววงสา หัวหน้ากลุ่มทอ ผ้าบ้านปะอาว กล่าวอย่างดีใจว่า “จะนาตัวอย่างวิธีการใช้กราฟช่วยกาหนดลายผ้าไปให้หลานสาวช่วย ออกแบบลายผ้าเมื่อกลับไปบ้าน” ชุมชนจะได้มีคนรุ่นใหม่ช่วยสืบทอดงานผ้าทอ ต้องขอกราบขอบพระคุณ ทกุ ๆ ฝ่ายในความร่วมมือจดั กิจกรรมดีๆ ในครง้ั นี้ ภาพท่ี ๘-๒๔ และภาพท่ี ๘-๒๕ เยาวชนและชา่ งทอผ้าเมืองอบุ ลฯ รว่ มกันศกึ ษาผา้ ทอโบราณ ณ พพิ ธิ ภัณฑ์แหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี เยาวชนช่วยแม่ๆช่างทอผา้ คัดลอกลายผา้ ทม่ี าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๘-๒๖ เยาวชนและชา่ งทอผ้าเมืองอุบลฯ ร่วมกนั ศกึ ษาผ้าทอโบราณเพอ่ื หาแนวทางประยกุ ต์ออกแบบลวดลายผ้าของ ตนเอง ณ หอ้ งสมดุ ประชาชน จงั หวัดอบุ ลราชธานี ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๓๔ ๘.๒ แผนงานในการสงวนรกั ษา (การอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู เผยแพร่) ผ้าทอเมืองอุบลน้ันนับว่าเป็นศิลปหัตถกรรมท่ีทรงคุณค่าย่ิง โดยพิสูจน์ได้จากลายพระราชหัตถเลขา ของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ ท่ีมีมาถึงสมเด็จพระน้องยาเธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ดังปรากฏแล้ว จาก เน้ือความในพระราชหัตถเลขาท่ีกล่าวชมเชยความงดงามของผ้าเยียรบับลาวของเมืองอุบลฯ นับเป็นสิ่งที่ ชาวเมืองอุบลฯ ทุกคนควรสานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณ และควรเอาใจใส่อนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษามาตราฐานท่ีดี และเผยแพร่ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ ใหเ้ ป็นทรี่ จู้ กั และนิยมกนั ท่ัวประเทศให้มากขนึ้ ๘.๒.๑ การอนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟแู ละเผยแพร่นั้นควรเป็นกระบวนการที่ต้องนาไปพร้อมๆ กันและต้องทา อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนต้องมีวิธีการท่ีเหมาะสมดว้ ย เพื่อทาให้บุคคลได้มองเห็นคุณค่าและความงามของผ้า ทอ จนกระท่ังเกิดความภาคภมู ิใจ และต้องการมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟูและเผยแพร่ผา้ ทอเมืองอุบลฯ ด้วยการให้ความรู้ เพราะการให้ความรู้เป็นการวางรากฐานท่ีม่ันคงในตัวบุคคล ในที่นี้หมายถึงความรู้ทั่วไป เก่ียวกับผ้าทอเมืองอบุ ลฯในด้านตา่ งๆ เช่น ความงดงาม ประโยชน์ใช้สอย ความทนทาน เป็นสิ่งที่เเสดงถึงของ เอกลกั ษณ์ของชาวเมอื งอุบลฯ ทคี่ วรภาคภูมิใจ การใหค้ วามรู้ดงั กลา่ วอาจทาไดห้ ลายทาง ไดแ้ ก่ ๑) ครอบครัว เป็นสถาบันเเรกท่ีมีความสาคัญมากในการทาให้สมาสมาชิกในครอบครัวค่อยๆเกิด ความชอบ มองเห็นความงดงามของคุณค่าผ้าทอ โดยที่เเม่มบี ทบาทใหค้ วามรู้ ตลอดจนพ่อเเมน่ าผ้าทอมาใชใ้ น ชวี ติ ประจาวันเเละโอกาสพิเศษต่างๆ ผู้วิจัยได้สังเกตแบบมสี ่วนรว่ มในงานเปิดบ้านคาปนุ ว่า พ่อแม่นาลูกๆแต่ง กายดว้ ยผ้าไหมหรือผ้าทอเมอื งอุบลฯ มาถ่ายรูปกันเปน็ หมู่คณะกับญาติๆ และเพ่ือนๆ ที่นัดกันแต่งกายด้วยผ้า ไทยบางคณะมาจากกรงุ เทพฯ ตา่ งภาคภมู ใิ จทไ่ี ด้แตง่ กายด้วยผ้าไทยถ่ายภาพลง Facebook ภาพที่ ๘-๒๗ ครอบครัวบา้ นคาปนุ แต่งกายด้วยผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ อนั งดงามทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ของผา้ ไหมบา้ นคาปุน ท่มี าภาพ : นติ ยสาร LIP, ๒๕๕๖.
๒๓๕ ๒) โรงเรียนหรือสถานศึกษาทุกระดับ ครูนับว่าเป็นอีกบุคคลหนึ่งที่มีส่วนช่วยสนับสนุนให้นักเรียน เกิดความรู้ ความเข้าใจและภาคภูมิใจในศิลปหัตถกรรมของท้องถิ่นโดยอาจจะสอนสอดแทรกเข้าไปในวิชาที่ เกี่ยวกับสังคมศึกษา ศิลปศึกษา ขนบธรรมเนียมประเพณีหรือพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่เป็นต้น คณะ ศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปิดสอนรายวิชา “ส่ิงทออีสานกับ เทคโนโลยีพื้นถิ่น โดยเน้นให้มีการทัศนศึกษาแหล่งทอผ้าเมืองอุบลฯ เพ่ือปลูกฝังแนวคิดในการอนุรักษ์และ พฒั นาผา้ ทอของเมอื งอบุ ลฯ ท่ีชุมชนบ้านหนองบ่อ ช่างทอผ้าได้จัดกิจกรรมเรียนรู้การทอผ้าเอกลักษณ์เมืองอุบลฯ ที่สืบทอดใน ชุมชนแก่เยาวชนในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน ซึ่งผลงานผ้าทอของนักเรียนสามารถจาหน่ายได้นักเรียนย่อมมี กาลังใจท่ีจะสืบสานต่อ และส่วนในโรงเรียนในระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) ใน จังหวัดอุบลราชธานี มีวิชาทอผ้าบรรจุในหลักสูตรของโรงเรียนม่วงสามสิบ โดยให้ช่างทอผ้าอาวุโสมาร่วมเป็น ครูถา่ ยทอดความรู้แก่ใหเ้ ยาวชน ซ่งึ แมๆ่ ชา่ งทอผา้ กลา่ วว่าภมู ใิ จทไ่ี ด้ถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่เด็กนักเรียน ภาพท่ี ๘-๒๘ และภาพท่ี ๘-๒๙ โรงเรียนมว่ งสามสบิ รว่ มกับช่างทออาวุโส จดั หลกั สตู รการเรยี นทอผา้ แกน่ ักเรียน ทีม่ าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๓. ๓) วัดในจงั หวัดอบุ ลราชธานี ให้การส่งเสริมในการจดั กิจกรรมส่งเสริมผ้าทอเมืองอุบลฯ ตัวอย่าง ทสี่ าคัญคือ “งานจลุ กฐนิ ” ของ “วดั ไชยมงคล” ทมี่ โี รงเรียนต่างๆนาโครงงานสีย้อมธรรมชาติมาจดั แสดง และ ช่างทอผา้ จากชมุ ชนต่างๆ มาร่วมมือกันจัดงาน รวมท้ังกรมหม่อนไหม กม็ ารว่ มจดั นทิ รรศการขน้ั ตอนการเลย้ี ง ไหม การสาวไหมดว้ ย นางประคอง บญุ ขจร และนางอุษา ศิลาโชติ จากบา้ นหนองบอ่ กล่าวอย่างภูมิใจและปีติ ในบญุ ว่า ได้พาเยาวชนมาร่วมทอผ้าและแสดงฟ้อนกลองตุ้ม ในการจัดงานได้ท้ังบุญได้ทั้งเผยแพร่ความรู้ความ รักในผา้ ทอใหแ้ ก่เยาวชน บรรยากาศในงานจึงเต็มไปด้วยความย้ิมแยม้ แจ่มใสของชา่ งทอผา้ ทมี่ าพลัดกันทอผ้า เอาบุญในการร่วมงานจุลกฐิน นอกจากนี้ “กลุ่มมูนมัง” โดยคุณมีชัย แต้สุจริยา กับ “วัดศรีอุบลรัตนาราม” โดยความร่วมมือกับทางจังหวัดอุบลราชธานีได้จัด “ขบวนอัญเชิญและพิธีสรงน้าพระแก้วบุษราคัม” ในช่วง เทศกาลสงกรานต์ของทุกปี โดยมีการจัดขบวนแห่ที่ทุกคนพร้อมใจกันแต่งกายด้วยผ้าทอเมืองอุบลฯ จึงทาให้ เกิดภาพประเพณีอันงดงาม
๒๓๖ ภาพท่ี ๘-๓๐ ภาพที่ ๘-๓๑ ภาพที่ ๘-๓๒ ภาพท่ี ๘-๓๓ ภาพท่ี ๘-๓๔ และภาพท่ี ๘-๓๕ วดั ไชยมงคล จัด “งานจลุ กฐนิ ” โดยมีชมุ ชนชา่ งทอผ้า บา้ นหนองบอ่ และอ่ืนๆ เขา้ ร่วมกจิ กรรม ทอผา้ เอาบุญ สาธติ การสาวไหม รวมท้งั การฟอ้ นกลองตุม้ ของ เยาวชนทีแ่ ตง่ กายดว้ ยผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ ท่มี าภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๓๗ ภาพที่ ๘-๓๖ ภาพท่ี ๘-๓๗ ภาพท่ี ๘-๓๘ ภาพท่ี ๘-๓๙ ภาพท่ี ๘-๔๐ และภาพที่ ๘-๔๑ กล่มุ มนู เมอื ง โดยคณุ มชี ัย แตส้ จุ รยิ า ร่วมกบั เทศบาลนครอบุ ลราชธานี จัดขบวนอญั เชิญพระแกว้ บุษราคมั ณ วัดศรีอุบลรัตนาราม และจัดพิธี “สรงน้าพระแกว้ บุษราคมั ” โดยมชี มุ ชนบ้านคาปุนและกลมุ่ คนรกั ผา้ ทอเมืองอุบลฯ รว่ มแตง่ กายผา้ ไทยในงาน ที่มาภาพ : มีชยั แตส้ จุ รยิ า, ๒๕๕๘.
๒๓๘ ๔) สอื่ มวลชน สอ่ื มวลชนได้แก่ หนงั สอื พมิ พ์ นิตยสาร วารสาร ภาพยนตร์โทรทศั น์ วิทยุ มีอทิ ธพิ ล ตอ่ เเนวการคิดและการตัดสินใจของประชาชนในปัจจุบันมาก ฉะนน้ั ส่ือมวลชนสามารถให้ท้ังความรู้ แสดงให้ เห็นถึงความงดงามและประโยชน์ของผา้ ทอได้เป็นอย่างดี และมีบทบาทสาคัญในการอนุรกั ษฟ์ ื้นฟูและเผยเเพร่ ให้ประชาชนท่ัวไปได้รู้จักผ้าทอเมืองอุบล โดยเฉพาะนิตยสาร “คิดฮอด” ที่ได้นาเสนอบทความพิเศษท้ัง ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เกี่ยวกับผา้ ทอเมืองอุบลฯ ของบ้านคาปุน ที่แสดงข้ันตอนตัง้ แต่การย้อมไหมด้วยสี ธรรมชาติ การทอผ้า แนวคิดอุดมการณ์ในการฟื้นฟูและสืบทอดผ้าเยียรบับลาว ของเมืองอุบลฯ โดยคุณมีชัย แต้สุจริยา ช่วยให้ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ได้รู้จักผ้าทอเมืองอุบลฯ อย่างแพร่หลาย สาหรับนิตยสาร ระดับประเทศ ได้แก่ นิตยสารพลอยแกมเพชร นิตยสาร LIP นิตยสารเพื่อนเดินทาง ได้มาช่วยเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ผ้าทอเมอื งอุบลฯ ดว้ ยเช่นกนั โดยมกี ารเผยแพรค่ วามรู้ผ้าทอเมืองอุบลฯ ในบทความเกีย่ วกบั ผ้า อสี าน นอกจากนี้ในปัจจุบันสื่ออินเทอรเ์ น็ต โดยเฉพาะFacebook น้ันเข้าถึงกันง่ายและแพร่หลายมากช่วยใน การประชาสัมพนั ธผ์ า้ ทอเมืองอุบลฯ จนมีชือ่ เสียงเป็นทรี่ ู้จกั อยา่ งแพร่หลาย ภาพที่ ๘-๔๒ ภาพที่ ๘-๔๓ และภาพที่ ๘-๔๔ นิตยสารคดิ ฮอด และหนงั สือพมิ พ์ไทยโพสท์ เผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ การฟื้นฟู ผา้ เยียรบับลาว ผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ ของคณุ มีชัย แต้สุจรยิ า แห่งบ้านคาปนุ ทีม่ าภาพ : นิตยสารคดิ ฮอด และหนงั สือพิมพ์ไทยโพสท,์ ๒๕๕๗. ๘.๒.๒ การขอความสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ เน่ืองจากรัฐบาลมีภารกิจในการบริหาร ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ จานวนมาก ผา้ ทอกน็ ับว่าเป็นสว่ นหนงึ่ ของการสรา้ งเอกลกั ษณป์ ระจาชาตหิ รอื ท้องถ่ินทร่ี ัฐ ควรใหค้ วามสนใจ การสนบั สนนุ จากรฐั อาจทาได้ดังน้ี ๑) การจัดประชมุ สัมมนา โดยการเชิญผู้รู้ประจาทอ้ งถิ่นหรือวิทยากรทม่ี ีความเชย่ี วชาญเรื่องผ้าทอมา ให้ความรู้ต่าง ๆ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จังหวัด อุบลราชธานี และศูนย์ความรู้กินได้ (OKMD) มีการจัดสัมมนาตัวแทนช่างทอผ้า ผู้ผลิตผ้าจากชุมชนต่างๆ มา แลกเปล่ียนความคดิ เห็นแบ่งปนั ประสบการณ์
๒๓๙ ๒) การให้ทุนอุดหนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผ้าทอเมืองอุบลฯ นับว่าเป็นวิธีการหนึ่งที่ก่อให้เกิด การศึกษา ค้นคว้า เเละพัฒนาเรือ่ งผา้ ทออย่างจริงจงั ทางฝ่ายวิจัยเช่น กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม ไดใ้ หท้ นุ อุดหนุน แก่ทีมวิจัย และทางฝ่ายสานักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย (สกว.) ก็ไดใ้ ห้ทุนวิจัยแก่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สปุ ิยา ทาปทา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ในการพัฒนาผ้าทอเมืองอุบลฯ ทาให้เกิดการบูรณาการ ในการทากิจกรรมลงพน้ื ท่ีงานวจิ ัย ๓) การประกวดผ้าทอเมืองอุบลฯ นับว่าเป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ และถือว่าเป็นแนวทางหนึ่งในการ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู เเละเผยเเพร่เกียรติคุณของผ้าทอเมืองอุบลฯ ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงทางกรมหม่อนไหม ได้จัด ประกวดผ้าไหมประเภทต่างๆ ทางพฒั นาชุมชนจงั หวัดไดจ้ ดั การประกวดผลงานผลิตภณั ฑผ์ ้าทอ ๔) การรณรงค์การใช้ผ้าทอในหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชนในจังหวัดอุบลราชธานี หน่วยงาน ของรฐั ต่าง ๆ เชน่ โรงเรยี นเละสถานที่ราชการบางแห่งอาจจะตกลงกันเเต่งกายดว้ ยผ้าทอเมืองอุบลฯ สัปดาห์ ละ ๑ วัน หรือช่วยกันสนับสนุนการใช้ผ้าทอเน่ืองในโอกาสพิเศษต่าง ๆ เพื่อเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ประชาชน ทวั่ ไป นอกจากน้ี ภาคเอกชน คนร่นุ ใหมม่ กี ารรวมตัวกันต้งั กลุ่มการแตง่ กายด้วยผา้ ทอของทอ้ งถิ่น เยาวชนชาย เผยแพร่การแต่งกายแบบชายอีสานในกลุ่ม Facebook คนนุ่งโสร่ง เยาวชนหญิงเผยแพร่การแต่งกายแบบ หญงิ อีสานน่งุ ซ่ินในกล่มุ Facebook นงุ่ ซิ่นอินแทรนด์ รวมท้งั เผยแพร่ในFacebook ส่วนบุคคล ภาพที่ ๘-๔๕ และภาพที่ ๘-๔๕ เผยแพร่ภาพการแต่งกายด้วยผ้าทอเมืองอุบลฯ ในFacebook ส่วนบุคคล ของคุณอนงค์ ปลกู เจริญ และคุณบังอร สวุ รรณลลี า ทง้ั สองท่านเปน็ ผู้ชว่ ยอปุ ถมั ภ์ผ้าทอของเมืองอุบลฯ มายาวนาน ท่มี าภาพ : Facebook Anong Plookcharoen, ๒๕๕๗.
๒๔๐ ๕) การขอให้ภาครฐั จัดงบประมาณสนับสนุน การนาผ้าทอแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ไปเผยแพร่ในงาน ประเพณีสาคัญต่างๆ เช่น งานสักการะท้าวคาผง (๑๐ พฤศจิกายน) งานสักการะหม่อมเจียงคา (๒๐ ตุลาคม) งานนมัสการพระธาตุพนม (วันขึ้น ๑๐ ค่า –แรม๑คา่ เดือน ๓ ) ฯลฯ โดยเฉพาะงานที่ทางจงั หวัดใส่ไว้ในแผน งบประมาณ คอื งานสักการะท้าวคาผง ผกู้ ่อตง้ั เมืองอุบลฯ ในงานกล่มุ ทายาทเจ้านายเมืองอบุ ลฯ ตา่ งเดินทาง กลับมาจากกรุงเทพฯ หน่วยงานการศึกษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี วิทยาลัยอาชีวะศึกษา หน่วยงานภาครัฐทั้งระดับเทศบาล และระดับจังหวัด รวมท้ังสานัก วัฒนธรรมประจาจงั หวัดอุบลราชธานี ต่างร่วมใจกันแต่งกายดว้ ยผ้าทอเมืองอุบลฯ ในการมารว่ มถวายสกั การะ อัญเชิญเครื่องยศเจ้านาย และขันหมากเบ็ง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อเจ้านายเมืองอุบลฯ โดยผู้วิจัยได้ ข้อสังเกตว่า ผู้นาชุมชนทั้งระดับเทศบาล และระดับจังหวัด การกลับมาใช้ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ มาก ขึ้น ตื่นตัวและภาคภมู ิใจในการแต่งกายด้วยผ้าซิ่นตามแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ฝ่ายหญิงหลายๆ ท่านพยายาม แต่งกายย้อนยุคไปใช้เสื้อลูกไม้คู่กับการนุ่งซิ่นตามแบบสมัยในรัชกาลที่ ๕ โดยนาแบบมาจากภาพถ่ายเก่าของ เหลา่ เจ้านายเมืองอบุ ลฯ ซง่ึ ช่วยทาใหเ้ กิดสานกึ รกั ในมรดกภูมิปญั ญาผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ ภาพท่ี ๘-๔๖ และภาพที่ ๘-๔๗ งานสกั การะท้าวคาผง เรม่ิ จัดขบวนจากวัดหลวง อาเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ท่มี าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๘-๔๘ งานสกั การะทา้ วคาผง ท่ี ดร.บาเพญ็ ณ อุบล (เส้ือพระราชทานสีเหลอื ง) ไดเ้ ปน็ ผรู้ เิ รม่ิ ให้ภาครฐั และเอกชน ร่วมมอื กนั จดั งานขนึ้ ท่อี นสุ าวรยี ท์ า้ วคาผง บริเวณทุ่งศรีเมอื ง อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ทมี่ าภาพ : สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๒.
๒๔๑ ภาพที่ ๘-๔๙ และภาพที่ ๘-๕๐ การถวายขนั หมากเบ็ง เพื่อสักการะทา้ วคาผง ณ อนุสาวรีย์ บรเิ วณท่งุ ศรเี มอื ง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่มาภาพ : สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๔๒ ภาพท่ี ๘-๕๑ ผูว้ จิ ัยกับผู้อานวยการสานักวัฒนธรรมจังหวดั อบุ ลราชธานี และคณะฯ มารว่ มถวายขนั หมากเบง็ เพือ่ สกั การะท้าวคาผง ณ อนสุ าวรีย์ บรเิ วณทงุ่ ศรเี มือง อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ท่ีมาภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๘-๕๒ ผวู้ ิจยั กับทายาทเจา้ นายเมืองอุบลฯ มารว่ มถวายขนั หมากเบง็ เพอ่ื สักการะท้าวคาผง ณ อนสุ าวรยี ์ บริเวณทงุ่ ศรเี มือง อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ทม่ี าภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๔๓ ภาพท่ี ๘-๕๓ ภาพที่ ๘-๕๔ ภาพท่ี ๘-๕๕ ภาพที่ ๘-๕๖ ผู้ภาพท่ี ๘-๕๗ ภาพที่ ๘-๕๘ กองทนุ เครอื ขา่ ยแหง่ บุญ หม่อมเจียงคาอนสุ รณ์ ทายาทเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ หนว่ ยราชการ และเอกชน รว่ มถวายขนั หมากเบง็ เพ่อื สักการะ หม่อมเจียงคา ณ วดั สุทศั นาราม อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ที่มาภาพ : เทศบาลจังหวัดอบุ ลราชธานี, ๒๕๕๗.
๒๔๔ ภาพที่ ๘-๕๙, ภาพท่ี ๘-๖๐ และภาพที่ ๘-๖๑ ขบวนการแต่งกายแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ โดยมหาวิทยาลยั อุบลราชธานี ดว้ ย การประสานงานของ อ.คาลา่ มสุ กิ า ในงานสักการะพระธาตพุ นม จดั ขนึ้ ณ พระธาตพุ นม จงั หวัดนครพนม ทีม่ าภาพ : Facebook คาล่า มสุ กิ า, ๒๕๕๗.
๒๔๕ ๘.๒.๓ การขอความสนบั สนนุ จากฝ่ายเอกชน ฝ่ายเอกชนอาจจะมีสว่ นในการอนรุ ักษ์ ฟ้นื ฟู และเผย เเพร่เกี่ยวกับผ้าทอได้ เช่น ห้องอาหาร โรงเเรมควรตกแต่งด้วยผ้าทอ (ผ้าคลุมเตียง ผ้าม่านโคมไฟฟ้า ฯลฯ) การพมิ พห์ รือปาดสี (สกรีน) เปน็ ลวดลายผ้าทอเล็ก ๆ บนเคร่ืองใช้ต่าง ๆ นอกจากนี้ภาคเอกชนที่มอี ทิ ธิพลเช่น นักร้อง นักแสดง ท่ีเป็นลูกหลานคนเมืองอุบลฯ ได้นาผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯไปแต่งกาย ตัวอย่างเช่น ต่าย อรทัย นักรอ้ งดังค่ายแกรมม่ีโกลด์ เป็นต้น ภาพท่ี ๘-๖๒ และภาพท่ี ๘-๖๓ ตา่ ย อรทยั นอ้ งร้องคา่ ยแกรมมโ่ี กลด์ ไดน้ าซนิ่ หวั จกดาว ตอ่ ตีนตวย เอกลักษณผ์ ้าทอแบบ เจ้านายเมอื งอบุ ลฯ มานุ่งในการรบั เสดจ็ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ ณ วัดสปุ ฏั นารามวรวหิ าร พ.ศ. ๒๕๕๗ ที่มาภาพ : Facebook Mongkol Suvonnashote, ๒๕๕๗. ๘.๒.๔ ความร่วมมือจากชุมชน ตามปกติชาวอีสานท่ีเป็นผู้ใหญ่มักจะแต่งกายด้วยผ้าไหมอย่าง สวยงามเนื่องในโอกาสพิเศษต่าง ๆ อยู่เเล้ว ฉะน้ันจึงอาจมีการช้ีชวนให้ใช้ผ้าไหมทอเมืองอุบลให้มากที่สุดใน โอกาสงานบุญหรือประเพณีต่าง ๆ เช่น งานเเห่เทียนพรรษาของจังหวัด งานตรุษสงกรานต์ นอกจากน้ีควรมี การออกร้านในงานประจาปีหรือจัดงานวันผ้าทอเมืองอุบลฯ เพื่อให้ชาวไทยและชาวต่างชาติสามารถไปเลือก ซ้ือและชมได้ นบั วา่ เป็นอกี แนวทางหนึ่งในการอนุรกั ษฟ์ ้นื ฟู และเผยเเพรส่ นิ ค้นพืน้ เมืองท่ัวไป นอกจากน้ีอาจจะมีการเผยเเพร่ให้ประชาชนรู้จักผ้าทอเมืองอุบลในรูปแบบอ่ืน ๆ เช่น การใช้ของ ชาร่วยที่ทาด้วยผ้าทอเป็นท่ีระลึกในงานต่าง ๆ การทาปฎิทิน หรือสมุดบันทึก (ไดอาร่ี) ที่มีลวดลายผ้าทอ ปรากฏอยู่พร้อมกับคาบรรยายพอสังเขป ตลอดจนการขอความร่วมมือในการพิมพ์ลายผ้าทอท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของเมืองอุบลลงบนปกสมุดนักเรียนหรือการพิมพ์ลายผ้าทออย่างมีศิลปะลงบนเสื้อยืดหรือทีเช้ิต เป็นต้น ซ่ึงมี ร้านค้าสินค้าของท่ีระลึกได้ นาผ้าทอและวัสดุงานทองเหลือง ของเมืองอุบลฯ มาผสมผสานออกแบบของที่ ระลึกไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจหลายร้าน เช่น ร้านระหวา่ งทาง รา้ นฝา้ ยเข็น เปน็ ต้น
๒๔๖ ภาพที่ ๘-๖๔ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ ประจาจงั หวดั อุบลราชธานี ทีเ่ ปน็ แหล่งเรียนรูผ้ า้ ทอเมืองอุบลฯ ท่มี าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. สิ่งที่ชาวอุบลราชธานีทุกคนจะลืมเสียมิได้อีกประการหนึ่งคือพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิต์พระบรมราชนีนาถ ที่ทรงนาผ้ายกลายดอกพิกุล ที่ชาวเมืองอุบลฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นของขวัญวัน ราชาภิเษกสมรส ไปตัดเป็นฉลองพระองค์ (เส้ือและซิ่น) ในโอกาสเสด็จเยือนจังหวัออุบลราชธานี (ปัจจุบัน พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ได้ร่วมกับคณะช่างทอผ้า คัดลอกลาย ทอข้ึนจัดแสดงบนกี่ทอผ้า) นาง เตือนใจ แก้ววงศา บ้านปะอาว กล่าวถึงความประทับใจในคร้ังน้ันว่า ดีใจท่ีได้เป็นส่วนหนึ่งของการร่วมแสดง ความจงรักภกั ดี ไดร้ ว่ มเก็บตะกอและรว่ มทอผา้ ผนื ท่ียอ้ นราลึกประวัตศิ าสตร์ การสงวนรักษาผ้าทอเมืองอุบลฯ สามารถดารงอยู่ได้เนื่องจากชุมชนผู้สืบทอดและถือครอง มีความ เข้มแข็งในการรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม รวมถึงความศรัทธา ความภูมิใจในการสืบทอดและความ พร้อมใจกันแต่งกายด้วยผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ในทุกกิจกรรมทางวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวข้อง จุดที่เข้มแข็ง ของเมืองอุบลฯ คือ “การเป็นเมืองนักปราชญ์” ท่ีมีผู้รู้ในชุมชน ให้การส่งเสริมในการอนุรักษ์และสงวนรักษา ผ้าทอเมืองอุบลฯ มาอย่างต่อเนื่อง ปลูกฝังความดีทาให้ชาวเมืองอุบลฯ พร้อมใจในการที่จะอยากสงวนรักษา “ผา้ ทอแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ” หรือ “ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ” เพ่ือข้ึนทะเบียน “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” อยา่ งพร้อมเพรียงกัน
๒๔๗ บทที่ ๙ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๙.๑ สรุปผลการวิจัย “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” (Intangible Cultural Heritage) การทอผ้าและการ ออกแบบลวดลายผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือเรียกย่อๆว่า “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” มีวัตถุประสงค์ เพื่อจะได้มีระบบองค์ความรู้ความเข้าใจเรื่องภูมิปัญญาการทอผ้าและออกแบบลวดลายผ้าแบบ เจ้านายเมืองอุบลฯ และเพ่ือให้กระบวนการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลเก่ียวกับภูมิปัญญาการทอผ้า และออกแบบลวดลายผ้าแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ นช้ี ่วยกระตุน้ “ชุมชน” ชาวเมืองอุบลฯ ให้ตระหนัก ถึงความสาคัญของภูมิปัญญาการทอผ้า และให้เกิดจิตสานึกท่ีจะมีการสร้างกิจกรรม “สงวนรักษา” ภูมิปญั ญาการทอผ้าให้สืบทอดตอ่ ไปในบรบิ ททเี่ หมาะสม เพื่อนาไปสูก่ ารเสนอขอให้ภูมิปัญญาการทอ ผ้าและออกแบบลวดลายแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือผ้าทอเมืองอุบลฯ เป็นมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรมของประเทศไทยและของโลก ภาพท่ี ๙-๑ ป้ายไวนิล โครงการมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม “ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ” ในการเสนอขอประกาศขน้ึ ทะเบียนฯ ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ๙.๑.๑ สรปุ ผลด้านขอ้ มูล การศึกษา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าแบบ เจา้ นายเมืองอบุ ลฯ หรือผ้าทอเมืองอุบลฯ ได้ลงพ้ืนท่ีวิจัยในจังหวดั อุบลราชธานี ซงึ่ เป็นชมุ ชนท่ียงั สืบ ทอดภูมิปัญญาการทอผ้าอยู่ในปัจจุบัน หลังจากการสารวจศึกษาหลักฐานผ้าตัวอย่างผ้าโบราณ จาก ท้ังแหล่งพิพิธภัณฑ์ คลังสะสมส่วนบุคคล รวมทั้งจากชุมชนแหล่งผลิตผ้าทอมือที่ยังสืบทอดอยู่ใน ปัจจุบัน ผู้วิจยั ได้รายการ “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” ที่มาจากงานวิจัยผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯจานวน ๖ ประเภท ซ่ึงรวมกับผ้าทอพื้นบ้านอ่ืนๆ เพื่อท่ีจะขอขึ้นทะเบียน รวมท้ังหมดเป็นจานวน ๑๘ ประเภท ได้แก่ ๑) ผ้าเยียรบับลาว ๒) ผ้าซ่ินยกดอกเงิน-ดอกคา (ลายสร้อยดอกหมาก ลายสร้อยพร้าว ลาย
๒๔๘ ดอกแก้ว) ๓) ผ้าซ่ินมุก/ซิ่นทิวมุก” ๔) ผ้าซิ่นหม่ีค่ัน/ซ่ินหมี่น้อย (ลายปราสาทผ้ึง ลายนาคน้อย ลาย จอนฟอน ลายนาคเอี้ย ลายหมากจับ ลายคองเอ้ยี ) ๕) ผ้าซิ่นมัดหมี่-หมี่รวด (ลายโคมหา้ ลายโคมเจ็ด ลายหมากจับ ลายหมากบก) ๖) ผ้าซิ่นทิว/ซ่ินก่วย/ซิ่นเครือก่วย ๗) ผ้าซิ่นมับไม/ผ้าซิ่นไหมก่อม/ซิ่น ไหมเข็นก้อม/ซ่ินสีไพล/ซ่ินตาแหล่ ๘) ผา้ ซิ่นหม่ีฝ้าย ๑๐) แพรตุ้ม/แพรขิด ๑๑) แพรไส้ปลาไหล ๑๒) แพรอีโป้ (ผ้าขาวม้าเชิงขิด) ๑๓) ผ้าตาโก้ง (โสร่งไหม) ๑๔) ผ้าข้ีงา ๑๕)หมอนขิด ๑๖) ผ้าต่อหัวซิ่น (หวั จกดาว หัวจกดอกแก้วทรงเครอ่ื ง หัวขดิ คั่น) ๑๗) ตีนซิ่นแบบเมืองอบุ ลฯ (ตนี ตวย ตีนกระจับย้อย ตนี ปราสาทผึ้ง ตนี ขิดดอกแกว้ ตีนชอ่ ) ๑๘) ผ้ากาบบวั (ผา้ ประจาจังหวดั พ.ศ. ๒๕๔๒-ปจั จุบนั ) การทอผ้าและการออกแบบลวดลายแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ สามารถวิเคราะห์เอกลักษณ์ จากสีสัน วัสดุเส้นใย การย้อมสี เทคนิคการทอผ้า และลวดลายผ้า โดยพบว่าผ้าที่มีช่ือเสียงมากที่สุด ของชาวเมอื งอบุ ลฯ ในอดีต คือ “ผา้ เยยี รบบั ลาว” ซง่ึ เปน็ ผา้ ยกไหมหลากสี จกลวดลายสลับสีและทอ แทรกด้ินเงินดิ้นทอง ซึ่งคุณมีชัย แต้สุจริยา บ้านคาปุนได้ประสบความสาเร็จในการฟื้นฟูผ้าเยียรบับ ลาวขึ้นมาใหม่จากผ้าโบราณ โดยวิธีการทอแบบดั้งเดิมนั้นจะทอลายยก โดยเก็บตะกอลวดลายแบบ พ้ืนฐานที่ดึงไม้ตะกอออกทิ้ง เพราะช่างทอมีความเชี่ยวชาญในการเก็บตะกอใหม่ได้ตามลวดลาย ใน ปจั จบุ ันใช้วิธเี กบ็ ตะกอแนวด่งิ เพื่อช่วยประหยัดเวลาในการเก็บลายผ้าไว้ทอซ้าใหมไ่ ด้ สาหรับการทอ ผ้าด้วยเทคนิค “มัดหมี่” ของชาวเมืองอุบลฯ จะใช้เทคนิคการ “มัดโอบ” ลาหมี่เพ่ือย้อมสีลวดลาย มัดหม่ีท้ังสีพื้นของลายหลักและสีอ่ืนๆของลายประกอบ โดยลวดลายเอกลักษณ์ของ “ผ้าซิ่นหมี่ค่ัน/ ซนิ่ หม่ีน้อย” ได้แก่ ลายปราสาทผง้ึ ลายจอนฟอน(พังพอน) ลายขอนาค/นาคน้อย ลายหมากจับ ลาย คลองเอี้ย เป็นต้น ส่วนลวดลายเอกลักษณ์ของ ผ้ามัดหมี่ (หมี่รวด) ได้แก่ ลายหม่ีโคมห้า ลายหม่ีโคม เจ็ด ลายหมี่วง หม่ีนาค หม่ีหมากจับ หม่ีหมากบก เป็นต้น สาหรับเอกลักษณ์ “ผ้าซิ่นหมี่ฝ้าย” นั้น นิยมย้อมด้วยสีครามเป็นพ้ืน มัดเว้นลวดลายเป็นสีขาว อันเป็นมรดกร่วมของชาวไท-ลาว และกลุ่ม ชาติพันธ์ุในพื้นที่ลุ่มน้าโขง สาหรับลวดลายผ้าเอกลักษณ์สาคัญของผ้าทอเมืองอุบลฯ อยู่ที่ “หัวซ่ิน” (หัวจกดาว หัวจกดอกแก้วทรงเคร่ือง หัวขิดค่ัน) และ “ตีนซ่ิน” (ตีนกระจับย้อย ตีนตวย ตีนขิด ปราสาทผ้ึง ตีนขิดดอกแก้ว ตีนช่อ ตีนขิดค่ัน) โดยลวดลายตีนซ่ินโดยเฉพาะ “ลายตีนตวย” ที่ได้รับ อิทธิพลทางศิลปะมาจาก “ลายกรวยเชิง” อันเป็นหลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างราชสานักสยาม (กรุงเทพฯ) กับเจ้านายเมืองอุบลฯ สาหรับผ้าซิ่นเอกลักษณ์เด่นของเมืองอุบลฯ คือ“ผ้าซ่ินทิว/ ซ่ินกว่ ย/ซ่นิ เครอื ก่วย” ดงั ปรากฏหลกั ฐานภาพบนั ทึกไวฮ้ ปู แตม้ วดั ทุ่งศรีเมอื ง นอกจากนี้ผ้าทอเมืองอุบลฯ ยังได้บ่งบอกความสัมพันธ์กับกลุ่มชาติพันธ์ุอ่ืนๆ ที่อยู่ใกล้เคียง กนั ในล่มุ นา้ โขง ได้แก่ (๑) “ผ้าซิ่นมกุ /ซ่ินทวิ มกุ ” ท่ีเจ้านายเมืองอบุ ลฯ น่าจะประยุกต์มาจากผ้าซน่ิ มุก ของชนเผ่ามะกอง แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว (๒) “ผ้าซ่ินไหมก่อม/ซ่ินไหมเข็นก้อม/ซิ่นสีไพล/ ซ่ินตาแหล่” ท่ีชาวเมืองอุบลฯ มีมรดกสิ่งทอร่วมกันกับ “ชาวกูย” ที่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุที่อาศัยอยู่ ดงั้ เดมิ ในพ้ืนท่ี (๓) “แพรไสป้ ลาไหล” “แพรอีโป้” (ผ้าขาวม้าเชงิ ขิด) “ผา้ ตาโกง้ ” (โสรง่ ไหม) กเ็ ปน็ ผ้า ทอที่ชาวเมืองอุบลฯ ได้มีมรดกสิ่งทอร่วมกันกับคนในพ้ืนที่อีกกลุ่มคือ “ชาวเขมรถ่ินไทย/เขมรสูง” (๔) “แพรขิด/แพรตุ้ม” “ผ้าขี้งา” และ “หมอนขิด” เป็นมรดกส่ิงทอร่วมกันกับ “ชาวภูไท” และ “ชาวไท-ลาว” ท่ีเคยอาศัยอยู่ร่วมกันในระหว่างเส้นทางอพยพจากล้านช้าง (สปป. ลาว) ลงมาตั้งถิ่น ฐานที่เมืองอุบลฯ อย่างไรก็ดีผ้าทอที่เป็นมรดกร่วมกันน้ีส่วนใหญ่ช่างทอชาวเมืองอุบลฯ จะมีการ ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบสีสันของลายผ้าทอเพื่อให้ตรงกับรสนิยมเฉพาะตัวของตนเอง ส่วนผ้าที่มี ช่ือเสียงในปัจจุบันคือ “ผ้ากาบบัว” ซึ่งเป็นผ้าประจาจังหวัด ที่คุณมีชัย แต้สุจริยาได้คิดค้นออกแบบ
๒๔๙ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นผ้าท่ีใช้วธิ ีการทอผ้าผสม ๔ เทคนิคคือ มัดหมี่ ขิด มับไม (ควบเส้น) และเครือ ทวิ ได้มีความนิยมทอกนั แพรห่ ลายทง้ั เนอ้ื ผ้าไหมและเน้ือผา้ ฝา้ ย ลวดลายผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือผ้าทอเมืองอุบลฯ มีพัฒนาการที่ประยุกต์ ออกแบบจนเกิดเป็นความงดงามตามแบบเฉพาะตัว โดยมีทั้งการออกแบบที่เกิดข้ึนใหม่และการ ประยุกต์มรดกส่ิงทอ อันเป็นส่ิงบ่งบอกความสัมพันธ์กับกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆในพื้นที่ ส่วนเอกลักษณ์ ลวดลายผ้ามัดหม่ีด้ังเดิมคือ “ผาสาทเผ่ิง” (ลายปราสาทผึ้ง) ท่ีสื่อสัญลักษณ์ท่ีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ ความเช่ือในการทาบุญไปให้บรรพบุรุษ ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา นับเปน็ ลวดลายมรดกสิง่ ทอท่ี สาคัญของชาวเมอื งอุบลฯ รักษาสืบทอดไว้ได้ในขณะทก่ี ลุ่มช่างทอผ้าท่ีอ่นื ๆ ในลุ่มน้าโขงไม่ได้สืบทอด ลายผ้านแ้ี ลว้ ภาพท่ี ๙-๒ ภาพการเปรยี บเทยี บ มดั หมีค่ ่ัน ลายปราสาทผ้ึง ทีช่ า่ งทอประยกุ ต์มาจากรูปทรง “ปราสาทผ้ึง” ทช่ี าวเมืองอบุ ลฯ กบั หลักฐานภาพถา่ ยงานบุญนี้ ทีม่ าภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ในขณะเดียวกันด้วยกระแสความนิยมผา้ ทอแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ จึงเกดิ อิทธิพลทางศิลปะ ไปสู่ช่างทอในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เช่น ช่างทอผ้าชาวภูไท อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ช่างทอผ้าจังหวัด ขอนแก่น ช่างทอผ้าจังหวัดศรีสะเกษ ก็ได้นาลายผ้าเอกลักษณ์ของเมืองอุบลฯ คือ “ลายหัวซิ่นจก ดาว” และ “ลายตีนตวย” จากต้นฉบับเมืองอุบลฯ ไปทอผ้าจาหน่าย แต่ปรับสีสันให้อ่อนหวานเพ่ือ ตอบสนองตอ่ รสนิยมผสู้ วมใส่ในสังคมเมอื ง ๙.๑.๒ สรุปผลด้านการสรา้ งจิตสานกึ การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ หรือเรียกสั้นๆว่า ผ้าทอ เมืองอุบลฯ ผู้ถือครองและสืบทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมน้ี คือ ทายาทเชื้อสายเจ้านาย ช่าง ทอผ้า ศิลปินนักออกแบบสิ่งทอ ชาวเมอื งอุบลฯ ผ้นู าชุมชน ในจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการกระตุ้น ให้เกิดความภาคภูมิใจและจิตสานึก ในการที่จะอยากปกป้องคุ้มครองมรดกวัฒนธรรมทางภูมิปัญญา ของตนเอง จากการจัดเวทชี ุมชนในการดาเนินงานวิจยั ชมุ ชนมีความต้องการท่จี ะปกปอ้ งคุ้มครองภูมิ ปัญญาของตนเอง และร้สู ึกดีใจทก่ี รมส่งเสรมิ วัฒนธรรมได้ดาเนนิ การเรอ่ื งน้ี ดงั ทนี่ างประคอง บุญขจร ตัวแทนผู้สืบทอดการทอผ้าเมืองอุบลฯ กล่าวว่า “ชุมชนอยากให้มีการข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญา ดี ใจท่ีหลายหน่วยงานร่วมมือกัน ท้ัง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อุตสาหกรรมจังหวัด และวัฒนธรรมจังหวัด” การดาเนินการวิจัยโดยใช้กระบวนการจัดเวทีชุมชนจึง ช่วยสนองตอบต่อความต้องการของชุมชน และได้ช่วยกระตุ้นจิตสานึกในการรักและหวงแหนมรดก ภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม
๒๕๐ ภาพท่ี ๙-๓ ภาพรวมการจัดเวทชี ุมชน เพือ่ สร้างจิตสานกึ ของชมุ ชน กลมุ่ ชา่ งทอผา้ ชาวเมืองอุบลฯ บา้ นหนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี มชี า่ งทอผา้ เข้าร่วมกิจกรรมเวทชี ุมชน โดยมตี วั แทน กศน. และพฒั นาชมุ ชน มาร่วมกิจกรรมดว้ ย ทีม่ าภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ ๒๕๕๗. ๙.๑.๓ สรปุ ผลด้านการมสี ่วนรว่ มของชุมชน จากการจัดเวทีชุมชนเพื่อการมีส่วนร่วมของชุมชนผู้สืบทอดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมได้ ผลสรปุ อนั ก่อประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนดงั นี้ -ช่างทอผ้ารุ่นใหม่ได้เรียนรู้ข้อมูลจากช่างทอผ้าอาวุโสผ่านการจัดเวทีชุมชน ท้ังเร่ืองชื่อของ ชนิดผา้ ช่อื ลวดลายผา้ และความเช่ือท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการทอผา้ -ช่างทอผ้าอาวุโส บ้านหนองบ่อ ได้จัดโครงการอบรมการทอผ้าให้แก่เยาวชน ใน ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหนองบ่อ ในช่วงหยุดภาคฤดูร้อน นางประคอง บุญขจร และนาง อุษา ศิลาโชติ ได้กล่าวอย่างภาคภูมิใจว่า “ดีใจท่ีได้สร้างช่างทอผ้ารุ่นใหม่ไว้สืบทอดมรดกทางภูมิ ปัญญาการทอผ้าให้คงอยู่ต่อไปในอนาคต โดยมีนักเรียนที่ทอได้ดี ๒ คน สามารถทอหัวจกดาว ตาม แบบเอกลักษณ์เมืองอุบลฯ และมีคนรักผ้าทอมาขอซ้ือ ทาให้เยาวชนเกิดกาลังใจท่ีจะสืบสานการทอ ผา้ ตอ่ ไป” -ปราชญ์ชาวบ้านมีความพึงพอใจ รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ภาคภูมิใจ และให้ความร่วมมือใน การให้ข้อมูลเร่ืองประเพณีความเช่ือของการทอผ้า และข้อมูลลวดลายผ้าโบราณเป็นอย่างดี โดยได้ รายนาม “ปราชญ์ด้านผ้าทอเมืองอุบลฯ” ท่ีสาคัญในปัจจุบันคือ นางคาปุน ศรีใสและคุณมีชัย แต้สุ จริยา (บ้านคาปุน อาเภอวารินชาราบ) นางอัมรา กุก่อง (บ้านลาดสมดี อาเภอตระการพืชผล) นาง ขนิษฐา ลาพรหมา(บ้านบอน อาเภอสาโรง) นางประคอง บุญขจรและนางอุษา ศิลาโชติ (บ้านหนอง บ่อ อาเภอเมือง) นางเตอื นใจ แก้ววงศา (บา้ นปะอาว อาเภอเมอื ง)
๒๕๑ -เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี ได้ให้ความสนใจไปเข้าร่วมกิจกรรมและเข้ามา แลกเปล่ียนความรู้ในการจัดเวทีชุมชน โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอสาโรง ได้เอื้อเฟ้ือ ประสานงานในการลงพื้นที่ โดยผู้วิจัยได้นา “ผ้าภาพเขียนผะเหวด”ไปมอบให้กับวัดของชุมชนซ่ึง กอ่ ใหเ้ กดิ มิตรภาพอันแนน่ แฟน้ ระหว่างผู้วิจยั กบั ชุมชน -การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จังหวัดอุบลราชธานีโดย อาจารย์ สุดสวาท สงปรีดา หัวหน้าบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับผู้วิจัยและ เครือข่าย ประสานงานกับตัวแทนช่างทอผ้าและผู้ผลิตผ้าจากชุมชนต่างๆ ในจังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกันจัดกิจกรรมเสวนา“การสร้างสรรค์คุณค่า ผ้าทอเมืองอุบลฯ” ท่ีห้องสมุดประชาชนจังหวัด อุบลราชธานี ทาให้ตัวแทนจากทุกชุมชนเกิดจิตสานึกในการปกป้อง และตระหนักหวงแหนมรดกภูมิ ปญั ญาการทอผา้ ของตนเอง ภาพที่ ๙-๔ ภาพรวมกจิ กรรมของคณะผู้วจิ ยั กบั ตวั แทนช่างทอผ้าและผผู้ ลติ ผา้ จากชมุ ชนตา่ งๆ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ร่วมกันเสวนาในกจิ กรรม “การสรา้ งสรรคค์ ณุ ค่า ผ้าทอเมืองอุบลฯ” ทห่ี ้องสมดุ ประชาชนจังหวดั อบุ ลราชธานี ทม่ี าภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๙-๕ ภาพรวมกจิ กรรมของผ้วู จิ ยั ในการรว่ มจัดกจิ กรรม “การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และพัฒนาทกั ษะอาชีพ วสั ดุ ท้องถิ่น และความคิดสรา้ งสรรค์ เพ่ิมคุณคา่ ผ้าทอเมืองอบุ ลราชธาน”ี ท่ี หอ้ งสมดุ ประชาชน จงั หวัดอุบลราชธานี ทม่ี าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ ๒๕๕๗.
๒๕๒ -ตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรม “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาทักษะอาชีพ วัสดุ ท้องถ่ิน และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มคุณค่าผ้าทอเมืองอุบลราชธานี” ท่ีห้องสมุดประชาชนจังหวัด อุบลราชธานี โดยตัวแทนชา่ งทอผ้า นางเตอื นใจ แก้ววงศา กล่าวดว้ ยความปล้ืมใจว่า “จะไดน้ าวธิ ีการ ประยุกต์ออกแบบลวดลายผ้าด้วยกราฟไปให้ลูกหลานช่วยในการออกแบบลายผ้า เพื่อนาไปต่อยอด พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าทอร่วมสมยั ” ดงั นนั้ กจิ กรรมต่างๆท่ีชุมชนมีส่วนรว่ มได้สร้างประโยชน์ตอ่ การอนุรักษแ์ ละการตอ่ ยอดมรดก ภูมิปัญญาเร่ืองการทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ช่วยให้เกิดความ ตระหนักในคุณค่าและความภาคภูมิใจในการท่ี “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” จะได้รับการขึ้นทะเบียน Intangible Cultural Heritage และปกปอ้ งคมุ้ ครอง ทัง้ ในระดบั ประเทศและระดับนานาชาตติ ่อไป ๗.๒ ขอ้ เสนอแนะ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ควรบูรณาการเผยแพร่ข้อมูลของโครงการวิจัย ลักษณะน้ีกับโครงการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาทั้งในระดับขั้นพ้ืนฐานกับการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) และระดับอุดมศึกษา เป็นส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ ช่วยสร้างองค์ความรู้ในระบบการศึกษาแก่ลูกหลานชาวเมืองอุบลฯ ให้มีความ เข้าใจและภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง อันจะเป็นสิ่งที่สร้างความย่ังยืนทางวัฒนธรรมการ ทอผ้าของชมุ ชน ภาพที่ ๙-๖ และภาพที่ ๙-๗ ผวู้ จิ ัยและคณะ ต้อนรับหวั หน้าฝ่ายประชาสมั พันธ์ กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม นาคณะ สือ่ มวลชน มาสารวจความพรอ้ มของชุมชนผ้าทอเมืองอบุ ลฯ ณ วดั ทุ่งศรีเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ท่มี าภาพ : สทิ ธิชยั สมานชาติ ๒๕๕๗. ๙.๓ ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ โครงการวจิ ัยมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าทอแบบ เจ้านายเมืองอุบลฯ นสี้ ามารถนาไปส่กู ารเสนอขอให้ “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” ได้ประกาศข้ึนทะเบียนเป็น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของประเทศไทย ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย โดยมีการจัด งานการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขึ้น ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ในวันท่ี ๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยความรว่ มมือกับวฒั นธรรม จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี และนายกสภากาชาดจังหวัดอุบลราชธานี ใน การนาตัวแทนชุมชนผู้สืบทอดการทอผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ คือ คุณมีชัย แต้สุจริยา บ้านคาปุน
๒๕๓ นาคณะช่างทอผ้า ไปสาธิตภูมิปัญญาการทอผ้าและการออกแบบผ้าของเมืองอุบลฯ และเป็นตัวแทน รบั มอบใบประกาศการขนึ้ ทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้จัดส่งใบประกาศขึ้นทะเบียนมาให้แก่ชุมชนท่ีสืบทอดมรดกภูมิ ปัญญาทางวัฒนธรรม ผ่านทางวัฒนธรรมจงั หวัดอุบลราชธานี โดยได้มีการจัดมอบใบประกาศน้ีให้แก่ ชุมชนที่สืบทอดภูมิปัญญาผ้าทอเมืองอุบลฯ ณ ห้องประชุมของ วัฒนธรรมจังหวัดอุบลราชธานี โดย ประธานวัฒนธรรมจังหวัด ได้มอบใบประกาศให้แก่ (๑) คณะตัวแทนชุมชน บ้านหนองบ่อ อาเภอ เมือง (๒) คณะตัวแทนชุมชน บ้านบอน อาเภอสาโรง (๓) คณะตัวแทนชุมชน บ้านลาดสมดี อาเภอ ตระการพืชผล โดยคณุ มีชยั แต้สุจริยา ได้เป็นตวั แทนในการมอบหนังสืองานการประกาศขึ้นทะเบยี น มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประจาปี พ.ศ.๒๕๕๗ แก่ทุกชมชน โดยมีผู้วจิ ัย (ผศ.ดร.สิทธิชัย สมาน ชาติ) ท่านผู้มีเกียรติและนักวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับผ้าทอเมืองอุบลฯ เข้าร่วมแสดงความยินดี เช่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร.อ. วราวุธ ผลานันต์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ กาญจนา ชนิ นาค ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สปุ ยิ า ทาปทา ดร.ทองดี ลาตน้ ฯลฯ นอกจากน้ีผลงานในการวิจัยเพ่ือจัดทาเอกสารประกอบการข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมนี้ ยังสามารถค้นหาเอกลักษณ์สาคัญของการทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าทอเมือง อุบลฯ ตลอดจนได้ผลการจัดเก็บรวบรวมองค์ความรู้เรื่องการทอผ้าและการออกแบบลวดลายผ้าทอ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ไว้เป็นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์อย่างละเอียดตามแบบแผนทางวิชาการ ไว้ ใหแ้ ก่ชมุ ชน เยาวชน และนักวชิ าการไดใ้ ชใ้ นการศึกษาต่อไปในอนาคต ภาพที่ ๙-๘ ผวู้ จิ ยั และคณุ มีชัย แต้สุจรยิ า ในงานขึน้ ทะเบียนมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม เมือ่ วนั ท่ี ๙ กันยายน ๒๕๕๗ ณ กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ทมี่ าภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ ๒๕๕๗.
๒๕๔ ภาพท่ี ๙-๙ ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม ศาสตราจารย์ ดร. อภนิ นั ท์ โปษยานนท์ เย่ียมชมการสาธติ ผา้ ทอเมืองอุบลฯ โดยคณุ มีชัย แตส้ จุ รยิ า ใหก้ ารตอ้ นรบั และมอบ “ผา้ กาบบวั ” เปน็ ตัวอยา่ งผา้ ทอเมอื งอุบลฯให้แด่ท่านปลัด กระทรวงฯ ในโอกาสงานขน้ึ ทะเบียนมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม เมือ่ วันที่ ๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ ณ กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม ทม่ี าภาพ : สมชาย สกลุ คู, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๙-๑๐ ทา่ นปลดั กระทรวงวฒั นธรรม ศาสตราจารย์ ดร. อภินันท์ โปษยานนท์ มอบใบประกาศข้นึ ทะเบียน มรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรมผ้าทอเมืองอุบลฯ ใหแ้ กค่ ณุ มชี ยั แตส้ จุ ริยา ตวั แทนชมุ ชน ท่มี าภาพ: มชี ัย แตส้ ุจริยา ๒๕๕๗.
๒๕๕ ภาพท่ี ๙-๑๑ คณะตัวแทนชมุ ชนผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ และผู้วิจัย ในงานขึ้นทะเบยี นมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ณ ศนู ยว์ ัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวนั ท่ี ๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ ๒๕๕๗. ภาพที่ ๙-๑๒ คณุ มชี ยั แต้สจุ รยิ า สาธติ ภมู ิปัญญาผ้าทอเมอื งอุบลฯ ในงานข้ึนทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทาง วัฒนธรรม เมือ่ วนั ท่ี ๙ กันยายน ๒๕๕๗ ณ กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม ที่มาภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ ๒๕๕๗.
๒๕๖ ภาพท่ี ๙-๑๓ ตวั แทนชมุ ชน (นางอมรา กุก่อง นางขนิษฐา ลาพรหมมา นางอุษา ศลิ าโชติ) รับมอบใบประกาศข้ึน ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม “ผา้ ทอเมืองอบุ ลฯ” จากกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม ผา่ นวฒั นธรรมจังหวดั อบุ ลราชธานี ทีม่ าภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๙-๑๔ ภาพรวมพธิ มี อบใบขน้ึ ทะเบียนมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ผา้ ทอเมืองอุบลฯ จากกรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม ผ่านวัฒนธรรมจังหวดั อบุ ลราชธานี โดยมเี ครอื ข่ายคนรกั ผ้าเมืองอบุ ลฯ มารว่ มแสดงความยินดี อาทิ คุณมีชยั แตส้ ุจรยิ า ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ร.อ. วราวุธ ผลานนั ต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กาญจนา ชนิ นาค ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. สปุ ยิ า ทาปทา พร้อมดว้ ยชมุ ชนและผวู้ ิจัย ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๕๗ ๙.๔ ตวั บง่ ชีด้ า้ นการสง่ เสริมและพฒั นาการวิจยั โครงการวิจัยน้ีประสบความสาเร็จในการนาผลงานวจิ ัยเพ่ือไปใชป้ ระโยชน์ในการสนบั สนุน ขอการขึ้นทะเบียนมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม “ผ้าทอเมอื งอบุ ลฯ” ในระดับประเทศ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ ศนู ย์วฒั นธรรมแห่งประเทศไทย กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม ซ่งึ ตอ่ ไปกจ็ ะไดเ้ ตรียมการ เพื่อขอข้นึ ทะเบียนในระดับนานาชาติต่อ UNESCO ต่อไป การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนชาวเมืองอบุ ลฯทม่ี ี ความภาคภมู ใิ จในมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง ทงั้ กลุ่มผสู้ ืบทอดการทอผ้าเมอื งอุบลฯและผา้ แบบ เจ้านายเมอื งอุบลฯ วฒั นธรรมจงั หวดั อุบลราชธานี มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ตลอดจนกลุ่มเครือขา่ ย คนรกั ผา้ ทอเมืองอุบลฯ รว่ มใจกันดาเนนิ กระบวนการจดั เวทีชมุ ชนถือเป็นส่วนช่วยสง่ เสริมและสร้าง จิตสานกึ ในการร่วมกันปกป้องคุ้มครองมรดกภมู ปิ ญั ญาของตนเองแกช่ ุมชน ภาพท่ี ๙-๑๕ คณะผูว้ ิจยั กบั ชมุ ชน บ้านคาปนุ อาเภอวารินชาราบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี ผสู้ ืบทอดมรดกภูมปิ ญั ญาผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ และผ้าแบบเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ ทีร่ ว่ มกันเสนอขอขน้ึ ทะเบยี น Intangible Cultural Heritage ทมี่ าภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๙-๑๖ ผูว้ จิ ัยกับชุมชน บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ผสู้ บื ทอดมรดกภมู ปิ ญั ญาผ้าทอเมอื ง อุบลฯ และผา้ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ท่ีรว่ มกันเสนอขอขึน้ ทะเบยี น Intangible Cultural Heritage ทม่ี าภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๕๘ (๑๐) การมีสว่ นร่วมของชุมชน ผลการดาเนนิ กิจกรรม ๑. การประชุมปฏิบัตกิ ารทีมวจิ ยั (ดาเนนิ การเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ) ผลที่ไดร้ บั ๑.๑ ทมี วจิ ยั มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และหลักการของโครงการ ๑.๒ ทีมวิจยั ได้แลกเปลยี่ นความรู้และพฒั นาทักษะในการจัดเก็บขอ้ มลู เชน่ การเตรียมการจัดเวที ชมุ ชน การเตรียมต้ังคาถามเพือ่ สรา้ งจิตสานึกหรอื เปิดโลกทัศน์ในเชงิ บวกเพื่อรว่ มกันปกป้องคุ้มครองมรดก วัฒนธรรมทางภูมิปัญญา การศึกษาความรู้พื้นฐานท่ีสาคัญเกี่ยวกับการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของ เจ้านายเมืองอุบลฯ ประวัติที่มาเมืองอุบลฯ จากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยเลือกเอกสารท่ีสาคัญคือ (๑) สุนัย ณ อุบล และคณะ “ผ้ากับวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไท – ลาว สายเมืองอุบล” (๒) เอ่ียมกมล จันทะประเทศ “สถานภาพเจ้านายพื้นเมืองอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๒๕-๒๔๗๖” (๓) ระลึก ธานี “อุบลราชธานีในอดตี ” โดยวิเคราะห์ขอ้ มูลเพอ่ื นาไปใช้สอบทวนกบั ปราชญ์ในชมุ ชนและเพือ่ เพิ่มเติมข้อมูล ให้สมบูรณ์ ๑.๓ ไดจ้ ดั ทาแผนงานทจ่ี ะดาเนินกิจกรรมต่อไป และรบั ทราบบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง ภาพที่ ๑๐-๑ และ ภาพท่ี ๑๐-๒ กจิ กรรม การมีสว่ นร่วม เปิดเวทชี มุ ชน การเตรยี มข้ึนทะเบยี นมรดกภูมปิ ัญญาทาง วฒั นธรรม ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ ณ บา้ นหนองบอ่ อาเภอ เมือง จงั หวัดอุบลราชธานี กับชา่ งทอผา้ ท่มี าภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ ๒๕๕๗.
๒๕๙ ๒. การประสานงานกบั หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง (ดาเนินการเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว) ผลทีไ่ ด้รับ ๒.๑ กลุ่มชุมชนเจ้าของภูมิปัญญาการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯใน จังหวัดอุบลราชธานี ตระหนักในคุณค่าภูมิปัญญาและอยากปกป้องคุ้มครอง และเห็นชอบในแนว ทางการดาเนินงานโครงการที่ให้ชุมชนเจ้าของวัฒนธรรมมีส่วนร่วมและเข้ามาร่วมเรียนรู้ โดยได้ คดั เลือกเป้าหมายกลุ่มประชากรตัวแทนแบบเจาะจง ด้วยหลักเกณฑ์ที่ชุมชนเป็นผู้สืบทอดภูมิปัญญา การทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ อยู่ในปัจจุบัน คือ (๑) บ้านคาปุน อาเภอวาริน ชาราบ (๒) บ้านลาดสมดี อาเภอตระการพชื ผล (๓) บ้านบอน อาเภอสาโรง (๔) บา้ นหนองบ่อ อาเภอ เมือง และ (๕) บา้ นปะอาว อาเภอเมือง ๒.๒ ได้เครือข่ายงานวิจัย กลุ่มผู้มีความสนใจเก่ียวกับภูมิปัญญาการทอผ้าและลวดลายผ้า แบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุปิยา ทาปทา และผู้ช่วยศาสตราจารย์ กาญจนา ชินนาค ที่กาลังทางานวิจัยผ้าพื้นเมืองอุบลฯ กรณีบ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ในการร่วมมือกันช่วยเหลือชุมชนในการสืบทอดและพัฒนาผ้าทอ และนางสาวเชาวนี เหล็กกลา้ ภัณฑารักษ์และเจ้าหน้าท่ี พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอบุ ลราชธานี กาลังศึกษาผา้ ทอ เมืองอุบลฯ ด้วยทุนของกรมศิลปากร จึงมีแผนร่วมมือกันในการเก็บข้อมูลภาพผ้าจากคลังสะสมของ ทายาทเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ๒.๓ ไดเ้ ครอื ข่าย ทายาทเจ้านายเมืองอุบลฯ จากฐานข้อมูลสายเครือญาตเิ จา้ นายเมืองอุบลฯ สกุลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับผ้าโบราณของเจ้านายเมืองอุบลฯ ที่ได้มอบให้แก่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีบุคคลที่ช่วยอนุเคราะห์ข้อมูลสัมภาษณ์และประสานงาน ได้แก่ นาง ปรมาภรณ์ ศรีสินวรากูล (ที่ปรึกษากลุ่มสืบสาน นาฮอย หม่อมเจียงคา ชุมพล ณ อยุธยา) นางสาว สมุ นา ศรีชลาชยั (ประธานกองทุนเครอื ข่ายแห่งบุญหม่อมเจยี งคาอนุสรณ์) นางผลา ณ อบุ ล นางสาว สธุ ดิ า ณ อุบล นายบุญชยั ทองเจรญิ บัวงาม เปน็ ตน้ ๒.๔ ได้รายชื่อหัวหน้าช่างทอผ้าหรือปราชญ์ชาวบ้านท่ีมีความรู้ในเร่ืองการทอผ้าและ ลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ในพื้นทีว่ ิจัยซง่ึ จะช่วยประสานงานในพื้นที่ ได้แก่ คุณมีชยั แต้ สุจริยา (บ้านคาปนุ อาเภอวารินชาราบ) นางประคอง บุญขจร (บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง) นางอัมรา กุก่อง (บ้านลาดสมดี อาเภอตระการพืชผล) นางขนิษฐา ลาพรหมมา (บ้านบอน อาเภอสาโรง) และ นางเตือนใจ แก้ววงศา (บ้านปะอาว อาเภอเมือง) โดยได้รับรายชื่อช่างทอผ้าในการประสานงานจัด เวทีชมุ ชนจากทุกท่าน ๒.๕ จากการประสานงานกับหน่วยงานตา่ งๆ ทาให้ผู้วิจัยได้รบั ทราบแผนของหนว่ ยงาน ทใ่ี ห้ ความสนใจเกี่ยวข้องกับการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ คือ การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) โดยอาจารย์สุดสวาท สงปรดี า หัวหน้าบรรณารักษ์ห้องสมุด ประชาชนจังหวัดอุบลราชธานีประสานงานผ่านเครือข่ายนักวิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผชู้ ่วย ศาสตราจารย์ ดร.ศักด์ิชาย สิกขา ร่วมมือกันจัดทานิทรรศการผ้า และการจัดเสวนาเรื่อง “การ สร้างสรรค์คุณค่า ผ้าทอเมืองอุบลฯ” โดยผู้วิจัยจะเป็นผู้ดาเนินการจัดเสวนาร่วมกับตัวแทนชุมชน ตา่ งๆ ๒.๖ ได้ปรับแผนงานและแบ่งบทบาทหน้าที่ในการดาเนินการในพ้ืนที่โดยพยายามบูรณาการ ในการลงพื้นทร่ี ่วมกับเครือข่ายงานวิจยั เพอ่ื ชว่ ยเหลอื กนั และกัน
๒๖๐ ๓. ลงพ้ืนทเ่ี กบ็ รวบรวมข้อมูล ๓.๑ จัดเวทปี ระชุมกลุ่มย่อย (ดาเนินการเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว) ผลที่ได้รบั -กล่มุ เป้าหมายผ้เู ข้าร่วมเวที ตระหนักถงึ ความเป็นเจา้ ของถอื ครองและสืบทอดภมู ิปัญญาการ ทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ เจ้าของวัฒนธรรมโดยเฉพาะคุณมีชัย แต้สุจริยา บ้านคาปุนและ นางประคอง บุญขจร บ้านหนองบ่อ ได้ให้ความอนุเคราะห์ในการจัดเวทีชุมชนกลุ่ม ย่ อ ย จั ด กิ จ ก รร ม โค ร งก า ร ใน ก าร เต รีย ม ข้ อ มู ล เพ่ื อ ข้ึ น ท ะ เบี ย น ม ร ด ก ภู มิ ปั ญ ญ าท า งวั ฒ น ธ รร ม (intangible cultural heritage) -ได้ข้อมูลความรู้เรื่องภมู ิปัญญาการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจา้ นายเมืองอุบลฯและได้ รายชื่อช่างทอผ้าและปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้เร่ืองการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมือง อุบลฯ อีกทั้งได้เครือข่ายการวิจัยเพิ่มคือ นางอุษา ศิลาโชติ ช่างทอผ้าอาวุโสบ้านหนองบ่อ อาเภอ เมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานีท่ีจะช่วยประสานเครือขา่ ยเยาวชนและผู้ปกครองมาร่วมกจิ กรรมการพัฒนา จิตสานกึ ในการสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาการทอผา้ รุ่นใหม่ ภาพท่ี ๑๐-๓ นางประคอง บุญขจร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กาญจนา ชนิ นาค (ขวา) และนางอษุ า ศิลาโชติ (ซา้ ย) ยนื ข้างผู้วิจยั ในกิจกรรม การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เวทชี ุมชน ผา้ ทอแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ที่บรู ณาการกับงานวิจยั ของ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุปยิ า ทาปทา ทม่ี าภาพ : สิทธชิ ยั สมานชาติ ๒๕๕๗ -ไดข้ ้อมลู จากเสยี งชมุ ชนคือนางประคอง บญุ ขจร หัวหนา้ ชมุ ชนช่างทอผ้าบ้านหนองบ่อ ท่ี สบื สานการทอผ้าซ่ินหมี่ปราสาทผึ้งตอ่ หวั จกดาววา่ ต้องการปกป้องคุ้มครองภมู ปิ ัญญา และอยากใหม้ ี การขน้ึ ทะเบียนอยา่ งเร่งด่วน เนอ่ื งจากประสบปญั หาวา่ “ลวดลายเอกลกั ษณ์ผา้ ซิน่ และหวั ซน่ิ จกดาว ถกู ลอกเลยี นแบบโดยชา่ งทอถิ่นอนื่ ๆ” เช่น จังหวัดกาฬสินธ์ุ จงั หวัดขอนแกน่ จงั หวัดศรีสะเกษ ซงึ่ เป็นการละเมิดมรดกทางภมู ิปัญญาของผ้าทอเมืองอุบลฯ และห่วงวา่ ตอ่ ไปในอนาคตอาจตีวงกวา้ งไป ยังต่างประเทศก็อาจจะมีการละเมดิ ด้วยเชน่ กนั จงึ คดิ ว่าเป็นเร่อื งเร่งด่วนในการขอขน้ึ ทะเบียนมรดก ภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” หรือ ผา้ ทอแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ
๒๖๑ -เป็นเวทีสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่มเป้าหมายกับทีมวิจัย โดยประสานงาน กบั ผศ.ดร.สุปยิ า ทาปทา และ ผศ. กาญจนา ชินนาค ท่ีกาลังทางานวิจัยผ้าพนื้ เมืองอุบลฯ กรณีบ้าน หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ในการลงไปชว่ ยเหลอื การเกบ็ ข้อมูลวจิ ยั รว่ มกนั -ได้แผนงานท่ีทางผชู้ ่วยวิจัยในพื้นที่จะไปสัมภาษณ์เจาะลึกกับช่างทอผ้าและปราชญช์ าวบา้ น รวมทั้งได้แนวทางการทากิจกรรมท่ีจะสร้างจิตสานึกในการสืบทอดภูมิปัญญาแก่ช่างทอผ้ารุ่นใหม่ โดยเฉพาะนางอุษา ศลิ าโชติ ไดอ้ าสาเปน็ ครสู อนทอผ้าให้แก่เยาวชนที่บา้ นหนองบ่อ ๓.๒ สัมภาษณ์เจาะลึกเป็นรายบุคคล (ได้ข้อมูลจากช่างทอผ้าและปราชญ์ชาวบ้าน โดย ดาเนินการเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว) ผลท่ีได้รบั -ได้ข้อมูลระดับลึกเก่ียวกับภูมิปัญญาการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ เช่นช่ือลวดลายผ้า และขั้นตอนกระบวนการทอผ้าอย่างไรบ้าง ชื่อลายผ้าท่ีถูกต้องของลวดลายผ้า ดง้ั เดมิ ความเช่อื ขนบประเพณี ขะลา จารีต การถ่ายทอดและการสบื ทอด -ปราชญ์ชาวบ้านและช่างทอผ้าอาวุโส ชุมชนมีความม่ันใจมากข้ึนในการที่จะให้ข้อมูลและ รว่ มกนั ปกป้องคุม้ ครองภมู ปิ ัญญาการทอผา้ และลวดลายผา้ แบบของเจ้านายเมืองอบุ ลฯ -ได้ข้อมูลตัวอย่างผ้าโบราณจากทายาทเจ้านายเมืองอุบลฯ ที่อยู่ท้ังในและนอกพื้นท่ีคือ ดร บาเพ็ญ ณ อุบล (จงั หวัดยโสธร ปัจจุบนั เสียชีวติ แล้ว) นายบุญชยั ทองเจรญิ บัวงาม (จังหวดั นครปฐม) และ หม่อมหลวงภมู ิใจ ชุมพล (กรงุ เทพฯ) รวมทงั้ ภณั ฑารักษ์ พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี น.ส.เชาวนี เหล็กกล้า ที่กาลังศึกษาผ้าทอเมืองอุบลฯ อาสาร่วมเก็บข้อมูลผ้าโบราณ ท้ังในคลังของ พิพิธภัณฑ์เองและคลังสะสมส่วนบุคคล และคุณมีชัย แต้สุจริยา (บ้านคาปุน) ได้ให้ความอนุเคราะห์ ถา่ ยภาพศึกษาวเิ คราะหต์ วั อย่างผ้าในคลงั สะสมของตนเอง รวมทั้งชว่ ยประสานขอตวั อย่างผ้าจากคลัง สะสมสว่ นบุคคลมาให้ถา่ ยภาพ ภาพที่ ๑๐-๔ กิจกรรม สัมภาษณเ์ จาะลึกรายบคุ คล ดร. บาเพญ็ ณ อุบล เรือ่ งผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ทม่ี าภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ ๒๕๕๒
๒๖๒ ภาพที่ ๑๐-๕ กจิ กรรม สัมภาษณเ์ จาะลกึ รายบคุ คล หม่อมหลวงภมู ใิ จ ชุมพล ทายาทสายหมอ่ มบุญยนื ชุมพล ณ อยธุ ยา ท่ีมาภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๑๐-๖ กจิ กรรม สัมภาษณเ์ จาะลึกรายบคุ คล คณุ มีชยั แตส้ ุจริยา ผสู้ ืบสานผ้าทอแบบเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ ท่มี าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๑๐-๗ กจิ กรรม สมั ภาษณเ์ จาะลึกรายบคุ คล นายบญุ ชัย ทองเจริญบัวงาม ผา้ ทอแบบเจ้านายเมืองอุบล ทีม่ าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๖๓ ภาพท่ี ๑๐-๘ กจิ กรรม สัมภาษณเ์ จาะลกึ รายบคุ คล นางผลา ณ อุบล และทายาท สายหม่อมเจยี งคา ชุมพล ณ อยธุ ยา ทมี่ าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๑๐-๙ กิจกรรม สัมภาษณเ์ จาะลกึ รายบคุ คล นางขนษิ ฐา ลาพรหมมา บ้านบอน อาเภอสาโรง ท่ีมาภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๑๐-๑๐ กิจกรรม สัมภาษณ์เจาะลึกรายบุคคล นางอมั รา กกุ ่อง บา้ นลาดสมดี อาเภอตระการพชื ผล ทม่ี าภาพ : สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๖๔ ภาพท่ี ๑๐-๑๑ กจิ กรรม สัมภาษณ์เจาะลึกรายบคุ คล นางเตือนใจ แกว้ วงศา บา้ นปะอาว ทม่ี าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. -มีผลการสัมภาษณ์ ดร.บาเพ็ญ ณ อุบล ซึ่งเก็บรักษามรดกผ้าทอของเจ้านายเมืองอุบลฯที่ สาคัญเอาไว้ โดยเฉพาะหีบการทอผ้าของสายสกุล ณ อุบล ซึ่งมีหลักฐานสาคัญคือ ผ้าแม่แบบลายขิด ท่ีเป็นต้นแบบลายเชิงผ้า ซ่ึงสามารถเทียบได้กับลายเชิงของผ้าเยียรบับลาวในหีบเดียวกัน ส่วนผ้า โบราณอื่นๆ สว่ นใหญเ่ ป็นผ้าซิ่นได้แก่ ผ้าซ่ินดอกเงนิ -ดอกคา ผ้าซิ่นทวิ มกุ จกดาว ผ้าซ่ินไหมก่อม เป็น ต้น โดยมีผา้ ลายอยา่ งที่เจ้าเมืองอบุ ลฯไดร้ ับพระราชทานมาเปน็ เคร่ืองยศรวมอยดู่ ว้ ย -ได้สัมภาษณ์ หม่อมหลวงภูมิใจ ชุมพล ผู้ถือครองมรดกผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ของ ท่านหญิงบุญจิราธร (ชุมพล) จุฑาธุช ซึ่งได้เก็บรักษาผ้าไว้ที่บ้านชอยสุขุมวิท ๕๑ หลังอาคารบุญจิรา ธร ให้ข้อมูลว่า “มรดกผ้าทอโบราณท่ีตกทอดจากหม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร เก็บรักษาไว้ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นผลงานการทอผ้าของหมอ่ มบุญยืน ชุมพล ณ อยธุ ยา ผูเ้ ป็นหมอ่ มมารดา ซึ่งน่าจะทอทัง้ จาก ทเ่ี มอื งอุบลฯ และทอทีว่ ังเพชรบูรณ์ (ปัจจุบนั คอื บรเิ วณตึก World Trade ราชดาร)ิ โดยได้นาผ้าจาก ในคลงั สะสมทีม่ ีการเก็บรกั ษาในหีบอยา่ งดี มาเปิดให้ศึกษาและถา่ ยภาพ โดยในการถ่ายภาพ นางสาว เชาวนี เหล็กกล้า ภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ท่ีกาลังศึกษาเรื่องผ้าทอเมือง อุบลฯ อาสาไปร่วมช่วยถ่ายภาพ การศึกษาพบว่าตัวอย่างผ้าโบราณส่วนใหญ่เป็นผ้าซิ่น จึงได้ วิเคราะห์เทคนิคการทอ และการออกแบบจัดองค์ประกอบลวดลายผ้า ซึ่งในบรรดาผ้าโบราณนี้ มีผ้า ยกโบราณของจังหวดั เชยี งใหม่ ท่พี ระวรราชชายา เจ้าดารารัศมี ได้ประทานมาให้รวมอยู่ดว้ ย ในการนี้ หมอ่ มหลวงภมู ิใจไดอ้ นเุ คราะห์ภาพถา่ ยของหม่อมเจา้ หญิงบุญจิราธร มาประกอบการอ้างอิงดว้ ย -จากการสัมภาษณ์ คุณมีชัย แต้สุจริยา บ้านคาปุน ผู้สืบทอดและถือครองมรดกผ้าทอแบบ เจ้านายเมืองอุบลฯได้ให้ข้อมูลว่า “คุณแม่คาปุน ศรีใส (ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขา ทัศนศิลป์-ถักทอ พ.ศ.๒๕๓๗) สืบทอดงานทอผ้ามาจากคุณยายน้อย ศรีใส ซึ่งเป็นช่างทอผ้าฝีมือดี สว่ นการฟื้นฟูการทอผ้าเยยี รบับลาวของตนเองนั้น ไดเ้ รยี นรู้การเก็บตะกอลวดลายจากเจา้ สิริบังอร ณ จาปาสัก ช่างทอผ้าระดับเจ้านายเมืองอุบลฯ และตัวอย่างผ้าโบราณของเมืองอุบลฯ ท่ีมีผู้มอบไว้ให้ เกบ็ รักษา ซึง่ ไดน้ าหลักฐานผ้าเยียรบับลาวโบราณมาให้ถ่ายภาพไวเ้ ป็นหลักฐาน โดยได้ใหข้ ้อสังเกตว่า รูปแบบองค์ประกอบลวดลายน้ัน มีแบบแผนมาจากผ้าเยียรบับท่ีราชสานกั สยามจ้างอินเดียผลติ ส่วน เทคนิคการทอนั้นประยุกตใ์ ช้การเกบ็ ตะกอยกลายผ้าขิดอีสานแล้วสอดไหมสลบั สีเสริมดิ้นเงินดิ้นทอง
๒๖๕ เส้นใยทีท่ อก็เป็นเส้นไหมขนาดกลางของไหมสายพนั ธ์ุพ้ืนเมืองอสี านอนั เป็นหลักฐานสอ่ื เอกลักษณ์ภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน นอกจากนี้บ้านคาปุนยังได้ฟื้นฟูผ้าซิ่นทิวมุกจกดาวที่เป็นผ้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของ เจา้ นายเมืองอุบลฯ อีกด้วย โดยอนญุ าตให้ถ่ายภาพขนั้ ตอนต่างๆในการทอผ้า” -จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม ผู้ถือครองมรดกผ้าโบราณแบบ เจ้านายเมืองอุบลฯ ณ บ้านพักในจังหวัดนครปฐม ได้ข้อมูลว่า ตนเองได้เก็บรักษามรดกผ้าจากคุณ ยาย ซึ่งเป็นทายาทสายสกุล สุวรรณกูฏ ด้วยความรักศิลปะอีสานจึงได้เก็บรวบรวมขันหมากไม้แกะ อีสาน เครอื่ งเงนิ และผ้าอีสานอ่ืนๆด้วย โดยนาตัวอย่างผ้าโบราณมาใหถ้ ่ายภาพบางส่วนเพอื่ ประกอบ งานวิจัย นอกจากนี้ยังได้ให้ข้อสังเกตว่า “ผ้าซ่ินเก่าที่พบจะมีลายแนวดิ่งขนานลาตัวหรือท่ีเรียกว่า ลายล่อง ส่วนตีนซ่ินมกี ารรับอิทธพิ ลไปจากลวดลายสยาม เช่น ตนี ตวย ตีนกระจับย้อย สาหรับดิ้นเงิน ดิ้นทองท่ีใช้ทอนั้นได้ต้ังข้อสันนิษฐานว่า มีทั้งท่ีเป็นดิ้นของฝร่ังเศส โดยนาเข้าผ่านทางเครือญาติ เจา้ นายสายราชสานักจาปาสัก และด้นิ ของอนิ เดียและจีน ท่นี าเขา้ ผ่านทางราชสานกั สยาม(กรุงเทพฯ) โดยผ้าซ่ินที่ทอด้วยด้ินเงินดิ้นทองของเจ้านายเมืองอุบลฯนี้ จะเรียกว่า ซิ่นดอกเงิน-ซิ่นดอกคา ซึ่งผ้า คุณภาพสงู จะใชแ้ ล่งเงิน-แลง่ คา ที่มีนา้ หนกั มากมมี ลู ค่าสงู -จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นางผลา ณ อุบล และบุตรสาว ทายาทเจ้านายเมืองอุบล สาย หมอ่ มเจียงคา ชมุ พล ณ อยุธยา ไดใ้ หข้ ้อมูลว่า ตนเองเป็นผู้ชว่ ยคณุ พอ่ คณุ แม่ ดูแลหม่อมเจยี งคา ชว่ ง ท่ีท่านป่วยจนวาระสุดท้ายของชีวิต ณ โฮงพระวิภาคพจนกิจ (เล็ก สิงหัษฐิต) เลขานุการในพระองค์ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ถนนพิชิตรังสรรค์ สาหรับการทอผ้าของเจ้านายในสมัยก่อน มีข้ารับใช้ มาช่วยงานจานวนมาก แต่หลังจากหมอ่ มเจยี งคาท่านสิ้น ก็หยุดทอและแยกยา้ ยกันกลบั ภูมลิ าเนาเดิม -จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นางขนษิ ฐา ลาพรหมมา บ้านบอน อาเภอสาโรง ประธานกลุ่ม ช่างทอผ้า ผู้สืบทอดการทอผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะซิ่นดอกเงิน-ดอกคา ที่มีการทอตีน ซิ่นลายต่างๆ ได้แก่ ตีนตวย ตีนกระจับย้อย ตีนช่อดอกก้านของ(ดอกปีบ) โดยสามารถทอลายขิด ส่วนตัวซิ่นตามแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ได้แก่ ซิ่นลายสร้อยพร้าว ซิ่นลายสร้อยดอกหมาก นาง ขนิษฐาได้ให้ข้อมูลว่า “ช่างทอผ้าท่ีชุมชนมีความเชี่ยวชาญในการเก็บขิดลายผ้า ในปัจจุบันมีคนท่ี สนใจผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ เข้าไปสั่งทอผ้ากันค่อนข้างมากช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน จึง อยากให้มกี ารรบี ขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม เพื่อปกป้องคุ้มครอง ด้วยตระหนักวา่ ช่าง ทอจังหวัดอ่ืนๆไดม้ ีการนาลวดลายผา้ เอกลักษณเ์ มืองอบุ ลฯ ไปลอกเลยี นแบบ” -จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นางอัมรา กุก่อง บ้านลาดสมดี ตาบลกุศกร อาเภอตระการ พชื ผล ผสู้ ืบทอดการทอผ้าแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะ ผ้าซน่ิ ทิวมุกจกดาว ผา้ ซ่ินไหมก่อม/ซ่ิน สีไพล ในอดีตท่ีชุมชนก็ทอ ผ้าซิ่นทิว ด้วยอย่างแพร่หลายทุกครอบครัว แต่ปัจจุบันทอกันน้อยลงมาก นางอัมรากล่าวอย่างภาคภูมิใจว่า การสืบทอดการทอผ้าซ่ินทิวมุกจกดาวแบบเจ้านายนี้ ช่วยให้ตน สามารถส่งเสียลูกๆ เรียนจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีดีๆ กันทุกคน โดยให้ข้อมูลเพ่ิมเติมว่า ครอบครัวของตนในรุ่นคุณแม่นั้นช่วยบ้านคาปุนทอผ้า จึงได้เรียนรู้การทอผ้าที่มีคุณภาพ ตนเอง พยายามรักษามาตราฐานการทอผ้า ให้มีความเรียบร้อยสม่าเสมอ ประณีต แต่คนรุ่นใหม่ในชุมชนยัง ไม่มีใครสนใจสืบทอดเท่าที่ควร แมจ้ ะยนิ ดีสอนการทอให้เพราะตอ้ งใช้เวลาร่วมเดือนเศษในการทอผ้า เสร็จหนง่ึ ผืน แตต่ นกจ็ ะมุง่ ม่ันสืบสานการทอผ้านต้ี ่อไป ภมู ิใจที่มีผูม้ าส่ังทอผา้ อยา่ งตอ่ เน่อื ง -จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นางประคอง บุญขจร ประธานกลุ่มช่างทอผ้าบ้านหนองบ่อ อาเภอเมอื ง ผูส้ ืบทอดการทอผ้าแบบเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ โดยเฉพาะ ซนิ่ หมี่ลายปราสาทผ้ึง หัวซน่ิ ลาย จกดาว แพรขิด แพรไส้ปลาไหล ผ้าซ่ินทิว ได้ให้ข้อมูลว่า “ปู่ย่าตายายจะมอบมูนมัง/มรดกผ้าโบราณ
๒๖๖ ๓ ผืนคอื (๑) ซ่ินหมี่ปราสาทผ้ึง (๒) ซิ่นทิว (๓) ซ่ินแล่/ซ่ินไหมก่อม ให้แก่ลูกสาวเพอ่ื เป็นต้นแบบของ การทอผ้า ในปัจจุบันยังสืบทอดซ่ินหม่ีลายปราสาทผ้ึง และหัวซิ่นจกดาว ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก จนทอไม่ทนั ” โดยผู้วิจยั พบวา่ นางอุษา ศิลาโชติ เป็นชา่ งทอผา้ ทเ่ี ชี่ยวชาญ และมีฝีมือดีกว่าช่างทอผ้า คนอ่ืนๆ นางอุษา ได้ให้ความรู้เรื่องสีย้อมธรรมชาติ ด้วยเช่นกัน ทางชุมชนได้ยืนยันว่า กลุ่มบรรพชน ไดต้ ิดตามพระตา พระวอ เดนิ ทางมาต้ังเมืองอบุ ลฯ ท่ีมีศูนย์กลางเดิมทีด่ งอู่ผ้งึ ซึ่งเป็นบริเวณใกลเ้ คียง กับท่ีชุมชนอยู่อาศัยในปัจจุบัน อีกท้ังชุมชนยังสืบทอดการฟ้อนกลองตุ้มของเมืองอุบลฯ ที่มีหลักฐาน ภาพถ่ายในสมัยรัชกาลท่ี ๕ โดยมีข้อสังเกตว่า ชุดการแต่งกายในการฟ้อนกลองตุ้มนั้น ลวดลายดาว ของจกั สานใบลานทท่ี าสร้อยตัว กม็ ลี ายสัมพนั ธ์กับลายผา้ หวั ซ่นิ จกดาว - จากการเดินทางไปสัมภาษณ์ นางเตือนใจ แก้ววงศา บ้านปะอาว อาเภอเมือง ผู้สืบทอด การทอผ้าเมืองอุบลฯ ซ่ึงชุมชนนี้มีงานช่างฝีมือคือ งานทอเหลืองโบราณ ท่ีได้ประกาศขึ้นทะเบียน มรดกวัฒนธรรมทางภูมปิ ัญญาไปแล้ว นางเตอื นใจ ได้ให้ขอ้ มูลว่า “ชมุ ชนของตนเป็นชุมชนเกา่ แก่ วัด บ้านปะอาวได้มีก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ ซึ่งส่วนหนึ่งได้มีการจัดนิทรรศการผ้าโบราณของชุมชนซึ่งเป็นมรดก ผ้าทอเมืองอุบลฯ จึงเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน และช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวให้แก่ชุมชน หากจะมี การข้นึ ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ผ้าทอเมืองอุบลฯ จะดใี จและภูมใิ จมากในฐานะชา่ งทอ ผ้าท่ีสืบสานภูมิปัญญานี้ให้คงอยู่” นางเตือนใจได้ให้ข้อมูลเร่ืองสีธรรมชาติด้วยแทนนางวิเชียร วิริยะ ศาสตร์ ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นสีธรรมชาติท่ีไดเ้ สียชีวิตไป นบั เป็นการสญู เสียครูภูมิปญั ญาของชมุ ชนคนหนงึ่ ๓.๓ เวทีการพัฒนาแกนนาเยาวชนเพื่อสร้างผู้สืบทอดรุ่นใหม่ และศูนย์การเรียนรู้การทอผ้าและ ลวดลายผ้าแบบของเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ(ดาเนนิ การเสร็จเรียบร้อยแล้ว) ผลท่ีไดร้ ับ -ได้มีการจัดทาแผนและข้อตกลงความร่วมมือการอบรมการทอผ้าในช่วงหยุดภาคเรียนฤดู ร้อนที่บ้านหนองบ่อ โดยอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสุรพล สายพันธ์ ที่มีบ้านเกิดอยู่ที่ หมู่บ้านนี้ รับเป็นเจ้าภาพในการหาทุนจัดอบรมการทอผ้าให้แก่เยาวชน นอกจากนี้ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มณูญพงศ์ ศรีวิรัตน์ อดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ให้ความ ช่วยเหลือในเร่ืองการประสานงานกับภาคเอกชน คือ บริษัทโตโยต้าดีเยี่ยม ในการสนับสนุนโครงการ ถนนสีเขียวเที่ยวหมู่บ้านวัฒนธรรมข้ึนเพ่ือแนะนาเส้นทางมายังบ้านหนองบ่อท่ีเป็นแหล่งสืบทอดภูมิ ปัญญาการทอผ้าของเมืองอุบลฯ โดยนายกองค์การบริหารตาบลหนองบ่อ นายสมบัติ สรรพสาร รับ ชว่ ยประสานงาน ภาพที่ ๑๐-๑๒ ภาพที่ ๑๐-๑๓ กจิ กรรม สร้างแกนนาเยาวชน ผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ โดยอดีตผวู้ ่าราชการจงั หวดั อุบลราชธานี และ นายกองค์การบริหารส่วนตาบล อดตี รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มารว่ มช่วย ประสานงาน ที่มาภาพ : สทิ ธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๖๗ ภาพที่ ๑๐-๑๔ กิจกรรม สรา้ งแกนนาเยาวชน ออกแบบผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ณ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ทม่ี าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๑๐-๑๕ กิจกรรม สรา้ งแกนนาเยาวชน ออกแบบผ้าทอแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ และภาพที่ ๑๐-๑๖ กิจกรรม สรา้ งแกนนาเยาวชน ออกแบบผา้ ทอแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ณ ห้องสมุดประชาชน จงั หวัดอุบลราชธานี ท่มี าภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๑๐-๑๗ กจิ กรรม สร้างแกนนาเยาวชน ออกแบบผา้ ทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ทม่ี าภาพ : สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๖๘ -นอกจากนี้ ทีมวิจัย ได้ร่วมมือกับทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อุบลราชธานี โดยอาจารย์สุดสวาท สงปรีดา หัวหน้าบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนจังหวัด อุบลราชธานีกับศูนย์ความรู้กินได้ (OKMD) โดยประสานงานผ่านเครือข่ายนักวิชาการมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักด์ิชาย สิกขา ทาความร่วมมือในการจัดในการจัดอบรมเชิง ปฏิบัติการให้แก่ช่างทอผ้า มาร่วมกันทางานออกแบบลวดลายผ้าร่วมกับเยาวชน โดยได้มีนักศึกษาที่ เรียนในรายวิชาเทคโนโลยีส่ิงทออีสาน คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย อบุ ลราชธานี เข้าร่วมกิจกรรม คัดลอกลายผา้ โบราณ จากพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี และ นามาร่วมกนั กบั ชา่ งทอผา้ อาวุโสในการฟน้ื ฟูและพฒั นาผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ นางอุษา ศิลาโชติ ตัวแทนช่างทอผ้าบ้านหนองบ่อได้กล่าวว่า “มีความสุขท่ีเด็กรุ่นใหม่ให้ ความร่วมมือในการฟื้นฟูและสืบทอดภูมิปัญญา” และไดช้ ่ืนชมวา่ “การคัดลอกลายผ้าด้วยกราฟ เพื่อ ออกแบบลายผา้ มีประโยชนแ์ ละเหมาะสมกับการออกแบบลวดลายในปัจจุบัน เพราะสะดวกและเห็น ภาพลวดลายล่วงหน้าก่อนการทอผ้า ทงั้ ยังง่ายขน้ึ ที่ไม่ต้องจดจาทุกสิ่งทกุ อยา่ งทุกข้ันตอนแบบรุ่นสมัย ของตนเอง” นางเตือนใจ แก้ววงศา ตัวแทนช่างทอผ้าบ้านปะอาวได้กล่าวว่า “ช่ืนใจท่ีเดก็ รุ่นใหม่ได้มีส่วน ร่วมในการพัฒนาผ้าทอพื้นเมืองอุบลฯ และจะบอกลูกหลานให้ช่วยกันออกแบบผ้าทอมือ ด้วยการใช้ กราฟแบบที่ได้ร่วมอบรมปฏิบัติการนาไปประยุกต์ใช้ และมีความอบอุ่นใจที่หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือ กันช่วยฟื้นฟูผ้าทองามๆ ของเมืองอุบลฯ” การจัดกิจกรรมสร้างผู้สืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าจึงมี ประโยชน์ต่อท้ังตัวแทนช่างทอผ้าที่เข้ารว่ มกิจกรรมและลูกหลานท่ีได้รบั การถ่ายทอดต่อ เพื่อให้ผ้าทอ เมอื งอบุ ลฯไดก้ ลบั มางดงามดงั ท่เี คยรุ่งเรืองในอดตี ๓.๔ จดั เวทีคืนข้อมูลใหแ้ ก่ชุมชน (ดาเนนิ การเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว) ผลท่ีไดร้ ับ -ชมุ ชน ได้ตระหนกั เห็นถึงความสาคัญของมรดกลวดลายผา้ โบราณ ทีต่ ้องปกป้องคุ้มครอง ภาพที่ ๑๐-๑๘ กจิ กรรม คืนข้อมลู เวทีชมุ ชน ผ้าทอแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ทม่ี าภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๖๙ ภาพท่ี ๑๐-๑๙ กจิ กรรม คนื ข้อมลู เวทชี มุ ชน ผ้าทอแบบเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ ทีม่ าภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๑๐-๒๐ กิจกรรม คนื ข้อมลู เวทชี ุมชน ผ้าทอแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ทม่ี าภาพ : สิทธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. -ชุมชนมีความภูมิใจในมรดกภูมิปัญญาร่วมกัน โดยนางประคอง บุญขจรได้ให้ข้อสังเกตว่า “ลวดลายผ้าหัวซิ่นลายจกดาวของเมืองอุบลฯ ท่ีตนเป็นผสู้ ืบทอดและถือครอง มีความสัมพันธก์ ับลาย จกั สานใบลานที่ชุมชนทาขึ้นเพื่อใช้แต่งกายเม่ือจะแสดงการฟ้อนกลองตุ้ม และตั้งข้อสังเกตว่า ชุมชน ของตนน่าจะใกล้ชิดกับเจ้านายเมืองอุบลฯ มากกว่าชุมชนอื่นๆ เพราะสามารถสืบทอดภูมิปัญญา ดงั้ เดิมของเมอื งอุบลฯไว้ได้ ทงั้ ท่ีตั้งหมู่บา้ นกอ็ ยู่ใกล้เคยี งกบั แหลง่ การต้งั บ้านแปลงเมืองดั้งเดิมเมื่อคร้ัง เจ้านายเมืองอุบลฯ ได้ก่อต้ังเมืองอุบลฯ ขึ้น และปู่ย่าตายายก็เล่าสืบต่อกันมาว่า ได้มาต้ังรกรากท่ี เมอื งนี้ พรอ้ มๆ กับการอพยพมาขอพระตา พระวอ ตน้ ตระกลู ของเจ้านายเมืองอุบลฯ” ๓.๕ ร่วมสังเกตการทอผา้ และการออกแบบลวดลายผา้ ของเจ้านายเมืองอบุ ลฯ ผลท่ไี ดร้ บั -ไดข้ อ้ มลู เพมิ่ เติมเกยี่ วกับการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ -ได้รับข้อมูลรายละเอียดการเตรียมเส้นไหมท่ีมีภูมิปัญญาในการพัฒนาคุณภาพเส้นไหมที่ทา ให้ผ้าไหมเมืองอุบลฯมีคุณภาพดีจาก คุณมีชัย แต้สุจริยา (บ้านคาปุน) และการฟ้ืนฟูผ้าทอแบบ เจ้านายเมืองอุบลฯ ที่คุณมีชัย ได้ศึกษาวิเคราะห์เทคนิคการทอผ้า จนสามารถฟ้ืนฟูขึ้นมาใหม่ได้ เช่น ผ้าซ่ินทิวมุก หรือผ้าซ่ินมุก ที่มีรายละเอียดสูงในการทอผ้าด้วยการ “จก” ลายดาวกระจายแทรกท่ัว
๒๗๐ ทั้งผืน ท้ังยังได้ฟ้ืนฟู “ผ้าเยียรบับลาว” หรือท่ีต้ังชื่อใหม่ว่า “ผ้ากาบบัวคา” ท่ีได้แกะลวดลายจากผ้า เยยี รบับลาวโบราณของเมืองอบุ ลฯ และคิดสร้างลายขึ้นใหม่จากลวดลายเดมิ โดยพยายามพฒั นาสสี ัน ให้มีท้ังแบบด้ังเดิมและสีสันที่อ่อนหวานเพ่ือใช้กับเจ้าสาวที่ต้องการใช้ผ้าชั้นสูง เพ่ือนาไปใช้ในงาน แตง่ งาน และงานพธิ กี ารที่สาคัญ -นอกจากนีช้ ่างทออาวุโส นางอษุ า ศลิ าโชติ บา้ นหนองบอ่ และคณะได้อธิบายรายละเอยี ด ขนั้ ตอนการทอผ้า โดยนาชมตวั อยา่ งลวดลายผา้ เอกลักษณ์ที่กรมหม่อนไหมมาชว่ ยจัดทาไว้ให้ ที่โรง ทอผ้าของชมุ ชน โดยได้อธบิ ายรายละเอยี ดการใชง้ านของอุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีใช้ตง้ั แต่ “จ่อ” ที่ใชใ้ น ขนั้ ตอนการเลยี้ งไหม “พวงสาว” และหม้อ ทใ่ี ชใ้ นขั้นตอนการสาวไหม ตลอดจนการทอผ้าในแตล่ ะ ขน้ั ตอน ของเทคนิค “มดั หม่ี” และเทคนคิ การ “จก” ภาพที่ ๑๐-๒๑ กิจกรรม สังเกตการทอผา้ และออกแบบลายผ้า ผ้าทอแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯกบั ช่างทอผา้ อาวุโส ณ บ้านหนองบอ่ ที่มาภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพที่ ๑๐-๒๒ กิจกรรม สงั เกตการทอผ้าและออกแบบลายผ้า ผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ นางอษุ า ศิลาโชติ นา ชมและสาธิตภมู ปิ ัญญาการทอผา้ ท่ีมาภาพ : สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๗.
๒๗๑ ๓.๖ การติดตามงาน (ดาเนินการเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ ) ผลท่ีได้รับ -มีการประชุมร่วมกับทีมผู้ช่วยวิจัย และเครือข่ายงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเป็นระยะ อันจะเป็น กระบวนการที่ช่วยให้สร้างการเรียนรู้งานวิจัยร่วมกัน โดยได้มีการติดตามความคืบหน้าของชุมชน ร่วมกับ ผศ.ดร.สุปิยา ทาปทา ในการลงพ้ืนท่ีจัดเวทีชุมชน เพื่อบูรณาการในการตระตุ้นให้ชุมชนเกิด ความภูมใิ จและตระหนกั ในการปกป้องภูมปิ ญั ญาของตน -ได้รับทราบความก้าวหน้าของการดาเนินการวิจยั ตามแผนการวิจัย ท่ีได้ปรับเปล่ียนไว้ใหเ้ ป็น การบรู ณาการกับงานวิจยั เครอื ข่าย -ได้รับการยืนยันจากคุณมีชัย แต้สุจริยา บ้านคาปุนว่า มีความภมู ิใจมากข้ึนท่ีจะบอกใครๆว่า ตนเองได้เป็นผู้ฟื้นฟู “ผ้าเยียรบับลาว” จากเดิมท่ไี ม่ค่อยม่นั ใจในการเผยแพร่ข้อมลู งานวิจัยท่ีช่วยให้ มีส่วนร่วมในการศึกษาหลักฐานผา้ โบราณ ไดเ้ พ่มิ ความตระหนักในการทจี่ ะปกป้องค้มุ ครองภูมิปัญญา -ได้ร่วมมือกับฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ในการพาคณะส่ือมวลชนลงพ้ืนท่ี ระหว่างการมาติดตามโครงการศิลปินแห่งชาติสัญจรที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยได้ประสานผู้วิจัยใน การเข้าไปติดตามการเตรียมความพร้อมของชุมชนใน “การขอข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม ผ้าทอเมืองอุบลฯ” หรือการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ ณ บ้านคา ปุน และบ้านหนองบ่อ ทาให้เกิดความต่ืนตัวในชุมชนเป็นอย่าง นอกจากนี้ยังมีการเชิญสื่อมวลชนมา ทาข่าวโดย หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้ลงข่าวให้ ทาใหช้ าวเมืองอุบลฯ และหน่วยงานท่ีสนใจเรือ่ งนี้ ติดต่อ ผู้วิจัยในการมีส่วนร่วมกับชุมชนมากย่ิงขึ้น ซึ่งข่าวรายการทีวี ย่ิงสร้างกระแสให้ชุมชนเกิดความ ตระหนักในประโยชน์ท่ีชมุ ชนจะไดร้ บั มากย่งิ ขนึ้ ภาพที่ ๑๐-๒๓ กจิ กรรม ตดิ ตามผลงาน ความพร้อมในการขอขึน้ ทะเบียนICH ผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ณ บา้ นหนองบ่อ โดยมี อาจารยส์ ดุ สวาท สงปรดี า มารว่ มสงั เกตการณแ์ ละชว่ ยต้อนรบั ส่ือมวลชน ท่ีมาภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343