๒๗๒ ภาพที่ ๑๐-๒๔ กิจกรรม ตดิ ตามผลงาน ความพรอ้ มในการขอขึ้นทะเบยี นICH ผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ณ บ้านคาปุน โดยคณุ มชี ยั แตส้ จุ รยิ าและคณะชา่ งทอผ้า ได้ชว่ ยต้อนรับและใหส้ ัมภาษณส์ ่ือมวลชน ขอ้ มูลการ ออกแบบผ้าทอและภมู ปิ ญั ญาในการทอผ้าที่บา้ นคาปุน ไดม้ าฟืน้ ฟู ทั้งผ้าซิน่ ทิวมกุ จกดาว และผา้ เยียรบบั ลาว ทมี่ าภาพ : สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ๓.๗ จดั เวทีเครือข่าย(ดาเนนิ การเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ) ผลทีไ่ ดร้ บั -ได้เครือข่ายหน่วยงานท่ีให้ความสนใจเกี่ยวข้องกับการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบของ เจ้านายเมืองอุบลฯ คอื การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) โดยอาจารยส์ ุดสวาท สงปรีดา หัวหน้าบรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานีโดยประสานงานผ่านเครือข่าย นกั วิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักด์ิชาย สิกขา ทาความรว่ มมอื ในการ จัดนิทรรศการผา้ และการจดั เสวนาเร่ือง “การสร้างสรรค์คุณค่า ผ้าทอเมอื งอุบลฯ” โดยผวู้ ิจยั จะเป็น ผู้ดาเนินการจัดเสวนาร่วมกับตัวแทนชุมชนต่างๆ ณ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี โดย ตัวแทนแต่ละชุมชนได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันท้ังเรื่องคุณค่าผ้าทอจากลวดลายเอกลักษณ์ นาง ประคอง บุญขจร ได้นาเสนอ “ซิ่นหมี่ลายปราสาทผึ้ง ลายเอกลักษณ์บ้านหนองบ่อ” นางเตือนใจ แก้ววงศา ได้เสนอ “คุณค่าผ้าทอท่ีย้อมสีธรรมชาติ” นางขนิษฐา ลาพรหมมา ได้เสนอ “งานผ้าทอ ตีนตวย ด้วยเทคนิคขิด งานเอกลักษณ์ ท่ีสืบทอดของอาเภอสาโรง” โดยมีกลุ่มผู้ประกอบการตัดเย็บ เสื้อผ้ากาบบัวจากบ้านคาขวา้ ง ได้กลา่ วถึงประโยชนข์ องผ้าทอท่ีสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ชมุ ชน และมีตัวแทน ร้านขายของที่ระลึก มาร่วมแสดงความเห็นว่า ได้มีการประยุกต์ใช้ผ้าทอมาเย็บเป็นกระเป๋าเพ่ือช่วย ขยายตลาดไปยงั กลุ่มวัยรุน่ และนักทอ่ งเที่ยว การเสวนาจึงช่วยแบง่ ปันมุมมองประสบการณ์ทแ่ี ตกตา่ ง และเกิดความตระหนักในคุณค่าผ้าทอเมอื งอุบลฯรว่ มกนั
๒๗๓ ภาพท่ี ๑๐-๒๕ กจิ กรรม เวทีเครอื ข่าย ด้วยกจิ กรรมสมั มนา “การสร้างสรรคค์ ณุ ค่าผ้าทอเมอื งอบุ ลฯ” ที่มาภาพ : สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ภาพท่ี ๑๐-๒๖ กิจกรรม เวทเี ครอื ขา่ ย ดว้ ยกิจกรรมสมั มนา ผวู้ จิ ยั นางอุษา ศลิ าโชติ และนางประคอง บญุ ขจร ท่ีมาภาพ : สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๗. ๓.๘ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลที่ได้รบั -ทาให้รับทราบวา่ ผลดาเนินการส่วนใดบ้างที่ยังขาด เพื่อทีมวิจัยจะได้ร่วมกันวางแผนจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เช่น ส่วนเส้นใยไหม ได้ไปเก็บข้อมูลที่ศูนย์หม่อนไหม จังหวัดอุบลราชธานี เพม่ิ เติม ส่วนลวดลายผา้ ได้คุณมชี ยั แตส้ จุ ริยา ชว่ ยตรวจทานข้อมูล -ไดช้ ว่ ยในการปรบั แผนการดาเนินการ เพอ่ื ให้บรรลุผลงานวจิ ยั ตามเป้าประสงค์ -ได้ทราบว่างานวิจัย ได้รับความสนใจจากชุมชนและสื่อมวลชนอย่างกว้างขวาง ทีมนักข่าว จากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์มติชน รายการโทรทัศน์ modern ๙ ทีวี และสถานีวิทยุแห่ง ประเทศไทย ได้มาลงพ้ืนท่ีขอทาข่าวติดตามความก้าวหน้าของการเตรียมความพร้อมของชุมชน โดย ได้เยี่ยมชม ภูมิปัญญาการทอผ้า บ้านคาปุน คุณมีชัย แต้สุจริยา ช่วยนาเสนอข้ันตอนและอธิบาย เอกลักษณ์ผ้าทอเมืองอุบลฯ และไปเย่ียมชมชุมชนช่างทอผ้า บ้านหนองบ่อ ซ่ึงนางประคอง บุญขจร ได้พาชุมชนแสดงพลังความพร้อมในการขอข้ึนทะเบียนอย่างพร้อมเพรียง นาตัวอย่างผ้าโบราณและ ผา้ ทอทสี่ ืบทอดในปัจจุบนั มาจดั แสดง และสาธิตขั้นตอนการทอผา้ ให้ แก่ส่ือมวลชน นางประคอง บุญ ขจร ให้สัมภาษณ์ส่ือมวลชน กล่าวถึงผลประโยชน์ท่ีชุมชนได้รับอย่างภาคภูมิใจ ผู้วิจัยก็ได้ร่วมให้
๒๗๔ สัมภาษณ์งานวิจัยเตรียมการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ผ้าทอเมืองอุบลฯ โดยการมี สว่ นร่วมของชุมชน -นางอุษา ศิลาโชติ ช่างทอผ้าคนสาคัญของบ้านหนองบ่อ กล่าวว่า “ดีใจมากท่ีสื่อมวลชนให้ ความสนใจ ดีใจจนน้าตาไหล มันต้ืนตันมากๆ ฝากขอบคุณทุกๆ คนท่ีมา หลังจากส่ือได้เผยแพร่ข่าว ท้งั ทางหนังสอื พมิ พ์และโทรทัศน์ ทาให้หน่วยงานในพ้นื ท่ี หนั มาให้ความสนใจมากข้นึ ” ภาพที่ ๑๐-๒๗ ขา่ วหนังสอื พิมพไ์ ทยรัฐ การเตรียมความพร้อมของชุมชนผสู้ บื ทอด ผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ท่มี าภาพ : สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๗. ๓.๙ เขยี นรายงาน(ดาเนินการเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว) ผลที่ได้รับ -สรุปผลวิจัยและเขยี นรายงาน เสร็จสมบูรณ์
๒๗๕ บรรณานกุ รม กาญจนา แกว้ เทพ และ รตั ติกาล เจนจดั . การใช้ประโยชน์จากงานวจิ ยั ดา้ นการบรหิ ารจัดการ วฒั นธรรมแบบมีสว่ นร่วม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๓. กาญจนา แกว้ เทพ และ กนกศกั ด์ิ แกว้ เทพ. การพงึ่ ตนเอง : ศกั ยภาพในการพฒั นาของชนบท. กรุงเทพฯ : สานกั เลขาธิการ สภาคาทอลกิ แห่งประเทศไทยเพ่ือการพัฒนา, ๒๕๓๐. กุลจนั ทร์ สงิ หส์ .ุ ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการบ้ารงุ รักษาสระเก็บน้า อนั เน่อื งมาจากโครงการ กสช. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๓๕. กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม. อนุสัญญาว่าดว้ ยการสงวนรกั ษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับตอ้ งไมไ่ ด.้ (เอกสารแปล) จิรา จงกล. ศิลปวัฒนธรรมไทย เลม่ ท่ี 5 ศิลปวัตถุกรงุ รัตนโกสินทร์. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๕. จติ ร ภูมศิ ักด์ิ. ความเปน็ มาของค้าว่าสยาม ไทย ลาว ขอม และลักษณะทางสงั คมของ ช่อื ชนชาต.ิ กรงุ เทพฯ : สยาม, ๒๕๓๕. ณัฏฐภัทร จนั ทวิช และคณะ. ผ้าพืนเมืองอีสาน.กรุงเทพฯ : สานกั โบราณคดแี ละพิพิธภัณฑสถาน แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๐. ดุษฎี อายวุ ัฒน.์ รายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณ์สหกจิ ศกึ ษาของเครอื ขา่ ยอดุ มศึกษาภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน. ขอนแกน่ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๕๓. เติม วิภาคยพ์ จนกิจ. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ : มูลนธิ ิโครงการตารา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๓๐. ทบวงมหาวิทยาลยั , ลวดลายบนผืนผา้ สืบสานภูมปิ ัญญาไทย.กรงุ เทพฯ : หนงั สอื เฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ ในมหามงคลสมยั ทรงเจรญิ พระชนพรรษา ครบ ๕ รอบ, ๒๕๔๑. ทรงคุณ จนั ทรจร และคณะ. ผ้าชาวโส้ ศกึ ษากรณีชาวโส้ อา้ เภอดงหลวง จงั หวัดมุกดาหาร และ อ้าเภอกสุ ุมาลย์ จังหวัดสกลนคร. กรงุ เทพฯ : รายงานการวิจยั สานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๓๖. ทรงพันธ์ วรรณมาศ. ผ้าไทยลายอสี าน. กรงุ เทพฯ: เอกสารนเิ ทศการศึกษา ฉบบั ที่ ๒๒๖ หน่วย ศกึ ษานเิ ทศก์ กรมการฝึกหัดครู, ๒๕๒๓. ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และ แพทรเี ซยี ซีสแมน. ผ้าล้านนา ยวน ลอื ลาว. กรงุ เทพฯ: อมรินทรพ์ รนิ้ ตง้ิ , ๒๕๓๐. ธาดา สุทธธิ รรม. รูปแบบแผนผงั ชมุ ชนอสี านสายวัฒนธรรมไท.ขอนแกน่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น, ๒๕๔๙. ธดิ า สาระยา. เขาพระวหิ าร. พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ, ๒๕๓๖. ธวัช ปณุ โณทก. อสี าน: อดตี ปัจจบุ ัน และอนาคต. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พร้ินตง้ิ , ๒๕๓๒. นรินทร์ พัฒนพงศา. การมสี ่วนรว่ ม : หลักการพนื ฐาน เทคนคิ และกรณตี ัวอย่าง. เชียงใหม่ : ศิริลักษณก์ ารพมิ พ์, ๒๕๔๗.
๒๗๖ บรรจง กนะกาศยั . ปจั จยั ท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การมีส่วนรว่ มของชุมชนในการพฒั นาป่าชายเลน : ศึกษา เฉพาะกรณี จงั หวัดจนั ทบุรี. (วิทยานพิ นธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ สาขาวิชารฐั ศาสตร์, ๒๕๔๐. บงั อร ปิยะพันธ.์ ประวตั ศิ าสตรข์ องชุมชนลาวในหวั เมืองชนั ในสมยั รัตนโกสินทรต์ อนตน้ . (วิทยานิพนธ์ ปริญญาอกั ษรศาสตร์มหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร คณะอักษรศาสตร์, ๒๕๒๙. บาเพญ็ ณ อุบล. เล่าเร่ือง เมืองอุบลราชธานี. อุบลราชธานี : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๗. บาเพ็ญ ณ อบุ ล และคนึงนติ ย์ จนั ทรบุตร. หนงั สืออุบลราชธานี ๒๐๐ ปี. อุบลราชธานี : ศริ ธิ รรม- ออฟเซท, ๒๕๓๕. ประไพ ทองเชิญ และคณะ. นีคือ ผ้าทอพนื บ้าน :โครงการวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการ การก้าหนดมาตรฐาน ผ้าทอพืนบ้านเพือ่ ฯ. กรงุ เทพฯ: สานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย (สกว.), ๒๕๔๖. ประภัสสร โพธศิ์ รที อง. ภูมิปัญญาและเทคโนโลยที อ้ งถ่ิน. กรงุ เทพฯ : หนงั สือประกอบนทิ รรศการ พเิ ศษเนือ่ งในวันอนรุ ักษ์มรดกไทย, สานักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ กรม ศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๒. เพยาว์ อุ่นศริ ิ และคณะ. ผลิตภณั ฑ์หตั ถกรรมไทยท่ีควรอนุรักษ์ ประเภทสงิ่ ทอ. กรุงเทพฯ : จัดพิมพเ์ นอื่ งในปีหตั ถกรรมไทย ๒๕๓๑-๒๕๓๒ คณะอนกุ รรมการอนรุ ักษ์หัตถกรรมไทย กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม, ๒๕๓๑. เพยี งจิตต์ มาประจง และคณะ. ผ้าทอลายขดิ . กรงุ เทพฯ: กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม, ๒๕๒๙. ไพรชั เคนวิเศษ. การเขา้ รว่ มโครงการสง่ เสริมเกษตรกรปลกู ป่าของเกษตรกรจงั หวดั ขอนแกน่ . (วิทยานพิ ันธป์ รญิ ญาศิลปศาสตร์มหาบณั ฑิต) มหาวิยาลยั ขอนแกน่ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ สังคมศาสตร์ สาขาวชิ าสงั คมวทิ ยาและมานุษยวทิ ยา, ๒๕๓๘. มณเฑยี ร ตั้งศริ ิพฒั น์. ผา้ ทอพนื เมอื งอีสาน.นครราชสีมา : ศนู ย์ศลิ ปวัฒนธรรม สถาบันราชภฏั นครราชสีมา, ๒๕๓๗. มหาบุนมี เทบสเี มือง. หนิ ดาวเลา่ นิทานพญาแถน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๕๔. ยุวฒั น์ วุฒเิ มธี. หลกั การพฒั นาชุมชน และการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : อนุเคราะหไ์ ทย, ๒๕๒๖. เยาวนิจ ทองพาหุสัจจะและคณะ. ผา้ มัดหม.่ี กรงุ เทพฯ : คณะกรรมการสง่ เสริมสนิ คา้ ไหมไทย กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, ๒๕๒๖. ระลกึ ธานี. อบุ ลราชธานีในอดีต. กรุงเทพฯ : รุ่งเรอื งสาส์นการพิมพ์, ๒๔๒๕. ระลกึ ธานี และคณะ. อุบลราชธานีเมอื งนักปราชญ์. อุบลราชธานี : สานักวัฒนธรรมจังหวัด อุบลราชธาน,ี ๒๕๕๒. วถิ ี พานชิ พันธ์ุ. ผ้าและสิ่งทอไทย. เชยี งใหม่ : Silkworm Books, ๒๕๔๗. วบิ ลู ย์ ล้สี วุ รรณ และคณะ. ผา้ ไทย : พฒั นาการทางอุตสาหกรรมและสังคม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๓๐.
๒๗๗ วิมลพรรณ ปตี ชวชั ชัย. ผา้ อสี าน. ขอนแก่น : โรงพมิ พพ์ ิฆเณศ, ๒๕๑๖. วลิ าวณั ย์ วรี านวุ ัตต.ิ์ มัดหม่ไี หมไทยสายใยชนบท. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์กรงุ เทพฯ, ๒๕๓๓. สมบรู ณ์ สวุ รรณกูฏ และคณะ. เครือญาติสุวรรณกฏู . อุบลราชธานี : อุบลยงสวัสดิ์ออฟเซท, ๒๕๔๑. สมชาย นิลอาธิ. สมบัตชิ นบทอสี าน เล่ม ๓. มหาสารคาม : ศูนยว์ ัฒนธรรมจังหวดั มหาสารคาม วทิ ยาลยั ครู มหาสารคาม, ๒๕๓๑. สมทรง บรุ ุษพฒั น์. สารานุกรมชนชาติ กูย. นครปฐม : สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลยั มหดิ ล, ๒๕๓๘. สมศรี ชัยวณชิ ยา. (2556). “พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ของเมอื งอุบลราชธานตี ัง้ แต่ สมยั ลานชางจนถึงสมยั ธนบรุ ีและสมัยรัตนโกสินทร.” ABC สญั จร อุบลราชธานี สรางความรูเปดประตูสูโอกาสใหม. เอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการ. อบุ ลราชธานี : มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี. สาวิตรี สวุ รรณสถิตย.์ “ความเป็นมาของอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่จี ับ ต้องไม่ได้” เอกสารการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง การเข้ารว่ มเปน็ ภาคอี นสุ ัญญาว่าด้วย การสงวนรกั ษามรดกทางวัฒนธรรมท่จี บั ต้องไม่ได้ ณ ห้องประชมุ ชนั้ ๑ กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๔. สทิ ธิชัย สมานชาต.ิ ผา้ ไทย สายใยแห่งภูมปิ ัญญาสคู่ ุณคา่ เศรษฐกจิ ไทย. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ฯ, ๒๕๔๕. _________. “ผา้ ซ่ินล่อง เจา้ นายเมืองอุบลฯ จังหวดั อุบลราชธานี”. นิตยสาร SILK. กรุงเทพฯ: Silk Club, ๒๕๔๒. _________. “ผา้ อีสานทบ่ี นั ทึกไว้ในฮูปแต้ม..ผ้าซิ่นหมี่ค่ัน หัวจกดาวในฮูปแต้มวดั ทุ่งศรีเมือง”. นติ ยสารสกลุ ไทย. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ, ๒๕๕๓. _________. “ผ้าอสี านทีบ่ นั ทึกไว้ในฮปู แต้ม..ผา้ ซนิ่ แหล้ ในฮูปแตม้ วัดทงุ่ ศรเี มอื ง”. นติ ยสารสกุลไทย. กรงุ เทพฯ: อกั ษรโสภณ, ๒๕๕๓. _________. “ผา้ อีสานที่บันทึกไว้ในฮปู แต้ม..ผ้าซน่ิ ทวิ ในฮปู แตม้ วดั ทุ่งศรีเมือง”. นติ ยสารสกุลไทย. กรงุ เทพฯ: อักษรโสภณ, ๒๕๕๓. สิทธิชัย สมานชาติและคณะ. “โครงการสารวจและศึกษาภูมปิ ัญญาด้านส่งิ ทอในเขตลุม่ น้าโขง ของ ชาวภไู ท จงั หวดั มกุ ดาหาร ประเทศไทย และชาวภูไท-มะกอง แขวงสะหวันเขต สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว” รายงานโครงการทา้ นบุ ้ารุงศลิ ปวัฒนธรรม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี, ๒๕๕๓. สุนยั ณ อบุ ล และคณะ. ผา้ กบั วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพนั ธ์ุไท – ลาว สายเมืองอบุ ล. กรุงเทพฯ: รายงานการวิจยั . สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๓๗. สุนัย ณ อุบล. “อบุ ลราชธานแี ห่งสุนทร.ี .การสืบสานผ้าเมืองอบุ ล”. Kinnaree. กรุงเทพฯ : Thai Airway, ๒๕๕๑. _________. “ผา้ ซ่นิ ” (ผ้านุง่ ) .สารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคอีสาน เลม่ ๔. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิสารานุกรม วฒั นธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. สพุ รชยั ม่งั มีสิทธ์.ิ การศึกษาการมีสว่ นร่วมของชาวบ้าน ในการจดั การป่าชุมชนในโครงการของ องคก์ รพฒั นาเอกชน : ศกึ ษากรณีโครงการป่าชุมชน ท่รี เิ รม่ิ โดยศูนยพ์ ัฒนาหมบู่ า้ นชนบท ผสมผสาน อา้ เภอบา้ นไผ่ จังหวัดขอนแกน่ . ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ๒๕๓๕.
๒๗๘ โสภณ หมวดทอง. การเฝา้ ระวงั มลพิษแหลง่ นา้ ของเกษตรกรในตา้ บลบางแมน่ า้ อา้ เภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี. วทิ ยานพิ นธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิยาศาสตรส์ ิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๓๓. สมุ าลย์ โทมัส. ผา้ พนื เมอื ง. กรุงเทพฯ: เอกสารวิชาการหมายเลข ๓๔ สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์ ๒๕๒๕. สุรศักด์ิ รอดเพราะบุญ. “วิถไี ทยในผ้าทอ”. ชา่ งทอ ร้อยใจ เทดิ ไท้ ๗๒ พรรษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๘. สุรยี ์ ตันฑ์ศรีสโุ รจน์. การมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาคุณภาพส่ิงแวดล้อม ของผ้นู า้ เยาวชนใน ชมุ ชนคลองจัน่ เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๓๑. สรุ ยิ า สมุทคุปติ์ และคณะ. “แม่หญิงต้องตาหูก” ผ้าไทย. กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๓๗. อรไท ผลด.ี “ลวดลายของผา้ ไท มรดกรว่ มอันเปน็ เอกลักษณ์ของเผ่าไท” ผ้าไทย. กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ ๒๕๓๗. _________. “ลวดลายดั้งเดมิ ของผ้ามัดหม่ีไท” นิตยสาร SILK. ฉบบั ท่ี ๑๙. กรุงเทพฯ: ซลิ ค์คลับ, ๒๕๓๗. อมั วัน ศรวี รมาศและคณะ. สืบคน้ สายตระกูลหม่อมเจียงค้า ชมุ พล ณ อยุธยา. อุบลราชธานี: ศิริ ธรรมออฟเซท็ , ๒๕๕๒. เอ่ยี มกมล จันทะประเทศ. สถานภาพเจา้ นายพืนเมอื งอุบลราชธานี ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๒๕-๒๔๗๖. (วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาประวัติศาสตร์, ๒๕๓๘. อรุ าลักษณ์ สถิ ริ บุตร. มณฑลอสี านและความสา้ คญั ทางประวตั ิศาสตร.์ (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์ มหาบณั ฑติ ). จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คณะอกั ษรศาสตร์, ๒๕๒๖. Erwin, william. Participation Management: Concept Theory, and Implementation. Atlanta : Ga : Georgia State University, ๑๙๗๖. Richard Kurin. Safeguarding intangible cultural heritage in the 2003 UNESCO Convention: a critical appraisal. UK: Blackwell publishing, ๒๐๐๔.
๒๗๙ บรรณานุกรม สัมภาษณ์ บาเพญ็ ณ อบุ ล. (๑๒ มกราคม ๒๕๕๓.). ทายาทและเจ้าของคลงั สะสมผา้ แบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ. สัมภาษณโ์ ดย สิทธชิ ยั สมานชาติ. ยโสธร. บุญชยั ทองเจริญบวั งาม (๑๒ มกราคม ๒๕๕๗).เจา้ ของคลังสะสมผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ. สัมภาษณโ์ ดย สทิ ธิชยั สมานชาต.ิ นครปฐม. ประคอง บุญจร (๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗).ประธานกลุ่มทอผา้ บ้านหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัด อบุ ลราชธานี สัมภาษณ์โดย สทิ ธิชัย สมานชาติ. อุบลราชธานี. มชี ยั แตส้ ุจริยา (๒ มีนาคม ๒๕๕๗.). ผ้สู ืบทอดและถือครองผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ บา้ นคาปนุ สมั ภาษณ์โดย สิทธิชยั สมานชาติ. อุบลราชธานี. สาวติ ี สวุ รรณสถติ ย์ (๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗). ผเู้ ช่ยี วชาญผา้ ไทยและท่ปี รกึ ษากระทรวงวัฒนธรรม. สมั ภาษณ์โดย สทิ ธิชยั สมานชาติ. กรุงเทพฯ. สุวิชช คณู ผล (๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖). ปราชญ์เมืองอบุ ลฯ. สัมภาษณโ์ ดย สทิ ธิชยั สมานชาติ. อบุ ลราชธานี. อมั รม กุก่อง (๑๐ มกราคม ๒๕๕๗.). ช่างทอผ้าผสู้ ืบทอดผ้าซ่นิ ทวิ มกุ จกดาว แบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ. สัมภาษณโ์ ดย สทิ ธิชัย สมานชาติ. อบุ ลราชธานี.
กรวยเชงิ อักขราภธิ านศัพท์ ขดิ = ลายเชงิ ผา้ ท่ีราชสานกั สยามใช้ เปน็ ลายสว่ นเชงิ ผ้า มีลักษณะเป็นกรวยแหลม คลองเอยี้ /คองเอีย้ = การทอเสริมเสน้ ด้ายพุง่ พิเศษ ตลอดหนา้ ผา้ คาวา่ “ขิด” มาจากกรยิ า “สะกิด” เสน้ ด้ายยืนเพ่ือเสรมิ เสน้ พุ่งพเิ ศษ เครอื กว่ ย = ลายผา้ มดั หมอ่ี ีสาน ที่เปน็ คล่ืนหยักคดไปคดมา คาว่า “เอี้ย” หมายถึง “นาค” ใน ภาษาอีสานไม่นิยมออกเสยี งควบกลา้ คาวา่ “คลอง” จงึ ออกเสยี ง “คอง” ตวย = เส้นด้ายยนื ของ “ซ่นิ ทวิ ” จะมขี นาดยาวคลา้ ยเครือไม้ จึงเรียกวา่ “เครือ” ตีนตวย สาหรบั “ก่วย” เปน็ คาท่ีแสดงถงึ ลายเครอื เสน้ ยืนท่ีเป็นริว้ ๆ ตนี ช่อ = ลายผา้ เมอื งอุบลฯ ทีม่ ีลายขิด ที่คล้าย “กรวยเชิง” ของราชสานักสยาม ตนี กระจบั ย้อย = ลายตนี ซ่นิ ที่ทอขดิ มีลวดลายคลา้ ย “กรวยเชิง” ของราชสานกั สยาม = ลายตนี ซ่นิ ที่มลี ายเป็นขีดๆ คลา้ ยช่อดอกไม้ ตีนขดิ คั่น = ลายตีนซิ่นเมืองอบุ ลฯ ท่นี าช่ือมาจากผล “กระจับเขาควาย” นา่ จะประยุกต์ จก ลวดลายมาจากลายเชิงผ้าเบย่ี งของชาวภไู ท = ลายตนี ซ่นิ ที่ทอด้วยการขดิ ค่ันแถบเล็กๆ จอนฟอน = การทอเสรมิ เส้นพงุ่ พเิ ศษไมต่ ่อเน่ือง คาว่า “จก” นา่ จะมาจากกิริยา ซน่ิ กว่ ย ทีค่ ล้ายการ “ฉก”ของงู ท่ีรวดเรว็ แบบกิริยาการทอ ซ่ินยกดอกเงนิ ดอกคา = ชือ่ ลายผา้ มัดหม่ใี นภาษาถน่ิ ท่ีนาแรงบันดาลใจมาจาก “พังพอน” ซิ่นทิว = ผ้านุ่งลายเครอื ขวางลาตัว หรือ “ซน่ิ ทวิ ” กเ็ รียก ซน่ิ ทวิ มกุ = ผ้านงุ่ ทที่ อด้วยเส้นด้ายดน้ิ เงินดนิ้ ทอง ซิน่ มุก = ผ้านงุ่ ลายเครอื ขวางลาตวั “ซิน่ ก่วย” กเ็ รียก ซน่ิ ไหมก่อม = ผา้ นงุ่ ลายเครอื ขวางลาตวั แบบซน่ิ ทิว แต่จะมกี ารเสรมิ เส้นยืนพเิ ศษ หรอื “มุก” ซน่ิ เขน็ ก้อม = อีกชอื่ หนึ่งของ “ซ่นิ ทวิ มุก” ซิน่ สีไพล = ผ้านงุ่ ทท่ี อจากไหมที่ควบเสน้ คาวา่ “กอ่ ม/กอ้ ม” แสดงถึงกรยิ าควบเสน้ ไหม = อีกชอ่ื หนง่ึ ของ “ซ่นิ ไหมก่อม” = อกี ชอ่ื หนึง่ ของ “ซนิ่ ไหมก่อม” ที่ทอด้วยสเี ขียวไพล
ซิน่ แล้ = อกี ช่อื หนึ่งของ “ซนิ่ ไหมก่อม” ท่ที อด้วยสมี ืดๆ หรือ สแี ล้ หรือ แหล้ ซ่นิ หมี่คน่ั = ผา้ น่งุ ที่ทอดว้ ยการมดั หมี่ ท่คี น่ั สลับลายกบั แถบร้ิว ซนิ่ หมี่รวด = ผา้ นุ่งท่ีทอดว้ ยการมดั หม่ี ทลี่ ายตอ่ เน่ืองรวดเดยี ว ดน้ิ เงินดิน้ ทอง = เสน้ ด้ายที่เคลอื บโลหะสเี งินหรือสที อง มแี หลง่ ผลิตที่ อนิ เดีย จนี ฝรั่งเศส ดอกแกว้ = ลายผา้ ท่หี มายถงึ ลาย “ดอกพกิ ุล” ในภาษาภาคกลาง ตัวซ่นิ = สว่ นหลกั ของผืนผา้ นงุ่ ตีนซ่ิน = ส่วนเชงิ ของผา้ นุง่ นาค = เปน็ สัตว์ในตานาน ที่เปน็ งใู หญ่ ผา้ หอ่ คมั ภรี ์ = ผา้ ทอทใี่ ชห้ อ่ เกบ็ รักษาคมั ภรี ์ในพระพุทธศาสนา ผ้าขาวม้า = ผา้ เอนกประสงค์ ทที่ อเปน็ ลายตาราง เว้นเชงิ ไว้ทร่ี มิ ท้งั สองดา้ น ผ้าลายอยา่ ง = ผ้าที่ราชสานักสยามส่งลวดลายต้นแบบอยา่ ง (ลายอยา่ ง) ไปผลติ ทอี่ ินเดยี ด้วยเทคนคิ การยอ้ มสีแบบโบราณ ภาษาอังกฤษเรียกเทคนคิ นีว้ า่ Chintz ผ้าซ่นิ = ผ้านุง่ ผ้ายก = ผ้าท่ีทอด้วยเทคนคิ การยกตะกอ ท่ีสร้างลวดลายผ้า สว่ นใหญ่ทอเพื่อใชใ้ น ราชสานกั ด้วยเสน้ ดนิ้ เงินดิน้ ทอง แพรขดิ = ผ้าห่มไหล่ ที่ทอด้วยเทคนิคการขดิ (เสรมิ เส้นพ่งุ พิเศษ) แพรไส้ปลาไหล = ผ้าขาวมา้ ทีม่ ลี ายร้วิ ขนาดเล็กมองดูคล้ายลายทอ้ งของปลาไหล มัดหม่ี = เทคนิคการมดั ย้อมเส้นใย เพ่ือก้ันสใี หเ้ กิดลวดลาย เป็นเทคนิคโบราณของ มัดหมฝ่ี า้ ย อินเดยี ทแ่ี พร่หลายมาสูเ่ อเชีย เรียกในภาษาอังกฤษว่า ikat มบั ไม = ผ้าทอด้วยการมดั ย้อมเสน้ ใย ทอจากเส้นฝา้ ย เยียรบับลาว = การควบเส้นไหม เปน็ ภาษาถ่นิ เมอื งอบุ ลฯ หางกระรอก = หมายถงึ ผ้ายก ที่คาวา่ “เยียรบับ” มาจากภาษาเปอร์เซีย หวั จกดาว = ลายผ้าทท่ี อจากการควบเส้นไหมต่างสี ทาใหม้ องดูคล้ายขนหางของกระรอก หัวซิ่น = หวั ผ้าซ่นิ ทีท่ อดว้ ยเทคนิคการจก เป็นลวดลายดาว เอกลักษณ์เมอื งอุบลฯ = ส่วนบนสดุ ของผา้ ซนิ่ ท่เี วลานงุ่ จะอยูท่ สี่ ่วนเอว
ภาคผนวก
แบบบันทึกข้อมูลรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๑. การระบอุ ัตลักษณม์ รดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๑.๑ ระบชุ ่อื มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม (ซง่ึ ใช้โดยชมุ ชนหรือกลมุ่ คนที่เกย่ี วข้อง) -ผา้ ทอเมืองอุบลฯ ๑.๒ ระบุช่ือเต็มและชื่อย่อ (รวมทัง้ ระบุสาขาของมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมดงั กลา่ ว) ชอื่ เต็ม: การทอผา้ และลวดลายผ้าแบบของเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ ช่อื ย่อ: ผ้าทอเมืองอบุ ลฯ สาขา: ชา่ งฝมี ือดงั้ เดิม ๑.๓. ระบชุ มุ ชนที่เกี่ยวข้องกับมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมทั้งในความหมายพืน้ ที่ และ กลุ่มผู้ปฏิบัติ -พืน้ ทช่ี มุ ชนท่เี กย่ี วข้อง: จงั หวัดอบุ ลราชธานี บา้ นคาปนุ ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อาเภอวารินชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี บ้านหนองบ่อ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี บ้านลาดสมดี ตาบลกศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี บ้านบอน ตาบลบอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี -กลุม่ ผ้ปู ฏิบตั ิ: ชา่ งทอผ้าชาวจงั หวัดอุบลราชธานี -ช่างทอผา้ บา้ นคาปุน ตาบลในเมอื ง อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี -ช่างทอผา้ บา้ นหนองบอ่ ตาบลหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี -ชา่ งทอผา้ บา้ นลาดสมดี ตาบลกศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี -ช่างทอผา้ บา้ นบอน ตาบลบอน อาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี -ชา่ งทอผ้า บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑.๔. ระบทุ ่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ (หากที่ต้ังทางภมู ิศาสตรข์ องมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมมีมากกว่าหนงึ่ โปรด ระบุทกุ แห่งที่ทราบ) (๑) บา้ นคาปุน ตาบลในเมือง อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี (๒) ช่างทอผา้ บา้ นหนองบ่อ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี (๓) ช่างทอผา้ บา้ นบอน ตาบลบอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอบุ ลราชธานี (๔) ชา่ งทอผ้า บา้ นลาดสมดี ตาบลกศุ กร อาเภอตระการพืชผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี (๕) ช่างทอผา้ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๑.๕ แสดงคุณลักษณะและคุณคา่ ของมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมโดยสังเขป -วัฒนธรรมการทอผ้า: ชา่ งทอผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบล ในอดีตทั้งเจา้ นายฝ่ายผู้หญงิ และบรวิ ารผหู้ ญิง ยึดถือประเพณที หี่ ญงิ สาว จะต้องมฝี ีมือในการทอผ้า จึงจะมีคุณสมบัติพร้อมในการท่ีเปน็ แมเ่ รือนท่ีดี หญงิ สาวที่เรียนรกู้ ารทอผา้ ตั้งแต่ เยาวว์ ัย จนสามารถทอสานลวดลายอันซับซอ้ นของผ้าซนิ่ มัดหมี่ ผ้าซน่ิ ทิวมกุ ผา้ หวั จกดาว ผา้ เยยี รบับลาว ฯลฯ ไดง้ ดงาม จึงจะสามารถมีความภมู ิใจคุณสมบตั ิพรอ้ มในการเป็นผหู้ ญงิ และสมาชกิ เครือญาติลูกหลาน เจ้านายเมอื งอุบลทดี่ ีของตนเอง -คณุ ลกั ษณะเด่นของลวดลายผ้าและเทคนิคการทอผา้ : ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ มเี อกลักษณ์สาคัญทสี่ ่วนเอวซิน่ ที่ทอด้วยเทคนคิ “จก” ทอเสริมเส้นพงุ่ พิเศษ เป็นลาย “ดาว” หรอื “ดอกแก้ว” ลายดาวนี้น่าจะเปน็ สอ่ื สัญลักษณโ์ บราณวตั ถุ “หนิ ดาว” ที่เชอ่ื มโยงกบั ความ เชอ่ื เรอ่ื ง “การบูชา พญาแถน” ซึง่ ทาให้ผ้าหวั ซ่นิ เมืองอบุ ลฯ ทอด้วยการจก แตกต่างจากหวั ซิ่นอสี านทว่ั ไปทใี่ ช้ การขิด และมีผา้ ซ่นิ ท่ีแปลกตาคอื “ซ่ินทิวมกุ ” ท่ีมีการจกลายดาวผสมกับลายยกมุก สาหรบั การออกแบบลาย ผ้าตีนซิ่นกม็ ีเอกลักษณ์ดว้ ย “ลายตนี ตวย” และ “ลายกระจบั ย้อย” ที่สือ่ สัมพนั ธร์ ะหว่างศิลปะสยามกบั เมือง อุบลฯ ทส่ี าคัญผ้าทอทีม่ ชี อ่ื เสียงท่ีสดุ คือ “ผา้ เยยี รบับลาว” ทเี่ ป็นผา้ ยกซง่ึ นาลายสยามมาทอด้วยเทคนิคอสี าน โดยมกี ารฟน้ื ฟขู ้ึนใหม่อย่างสวยงามโดยบ้านคาปุน ใช้การยกตะกอขดิ จกไหมสี สอดดิน้ ทอง ลวดลายอนั วจิ ติ ร ทเ่ี จา้ นายเมืองอุบลฯ ได้สรา้ งสรรค์ขน้ึ น้ี ได้เป็นต้นแบบให้ช่างทอผา้ เมืองอบุ ลฯ สบื สานภูมิปัญญาอนั งดงามถงึ ทุกวันนี้ -คณุ คา่ ผา้ ทอเมืองอบุ ลฯ : ผ้าทอมือแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ มีความเด่นที่ ยงั คงสืบสานมรดกการออกแบบลายผ้าและเทคนิคการทอผา้ ชัน้ สูงตามแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ทาให้สามารถรักษาคุณคา่ “หตั ถศลิ ป์ช้ันสงู ” และยังคงมีคณุ ค่าข้าม กาลเวลา ชา่ งฝมี ือแตล่ ะท้องที่ มีความภาคภูมิใจในศลิ ปะลวดลายผ้าตามแบบของท้องถน่ิ รวมทง้ั กลมุ่ ทายาท เจ้านายเมอื งอุบลฯ หนว่ ยงานราชการ เอกชน และกลุ่มมูนมงั ท่มี บี ทบาทสาคญั ในการรักษาสืบสานวัฒนธรรม อนั ดงี าม โดยเฉพาะผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ให้ยังคงมกี ารสืบทอด และพัฒนาให้ดียิง่ ข้ึนกว่าเดมิ รวมท้ัง ผา้ ทอไดม้ คี ุณค่าและบทบาทต่อประเพณีท่เี กี่ยวข้องกบั เจา้ นายเมอื งอุบลฯ โดยเฉพาะงานสดุดีวีรกรรมเจ้าพระ ประทุมวรราชสรุ ยิ วงศ์ (เจา้ คาผง) และงานเชดิ ชูเกยี รตหิ ม่อมเจยี งคา ชมุ พล ณ อยุธยา ๒. ลักษณะขององคป์ ระกอบมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม ๒.๑ ผ้ปู ฏิบตั /ิ ผู้แสดง ทีเ่ กยี่ วข้องโดยตรงกับรายการมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม (ระบชุ ื่อ อายุ เพศ กลุ่มอาชีพหรอื ความชานาญ ฯลฯ)
(๑) นางคาปนุ ศรีใส (อายุ ๘๐ ปี) ผู้มีผลงานดเี ด่นทางวฒั นธรรม (การทอผา้ ) (๒) นายมีชยั แตส้ ุจรยิ า (อายุ ๕๕ป)ี ศิลปินอสี านดีเด่น ผู้ฟ้นื ฟูผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบล (๓) ช่างทอผา้ บา้ นคาปนุ ตาบลในเมอื ง อาเภอวารินชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี บ้านคาปนุ มีความชานาญในการสืบทอดการทอผา้ ซ่นิ แบบเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ โดยเฉพาะ ผา้ เยียรบับ ลาว ผ้าซิน่ ทิวมกุ จกดาว ผา้ ซิ่นยกดอกเงนิ -ดอกคา (๔) นางประคอง บญุ ขจร (อายุ ๖๐ป)ี หัวหนา้ กล่มุ ช่างทอผ้า และนางอุษา ศิลาโชติ (อายุ ๖๕ปี) ปราชญ์ชา่ งทอผ้าบ้านหนองบ่อ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี มีความชานาญในการสบื ทอดการทอผ้าซ่ินแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ โดยเฉพาะ ซิ่นหมี่ค่นั ลายปราสาท ผง้ึ หัวซ่ินจกดาว ผ้าแพรขดิ ผา้ แพรไสป้ ลาไหล (๕) นางขนิษฐา ลาพรหมมา (อายุ ๔๙ป)ี หัวหนา้ กลมุ่ ช่างทอผ้า บ้านบอน ตาบลบอน อาเภอสาโรง จังหวดั อบุ ลราชธานี มคี วามชานาญในการสบื ทอดการทอผา้ ซ่นิ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะ ผ้าซ่นิ ยกดอกเงนิ -ดอก คา ผ้าซน่ิ ตีนตวย เปน็ ตน้ (๖) นางอมั รา กกุ ่อง (อายุ ๔๖ ป)ี ปราชญ์ช่างทอผา้ บ้านลาดสมดี ตาบลกุศกร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวดั อบุ ลราชธานี มคี วามชานาญในการสบื ทอดการทอผา้ ซ่นิ แบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ โดยเฉพาะ ผ้าซิ่นทวิ มกุ ผา้ ซนิ่ ทวิ (๗) ช่างทอผ้า บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี มีความชานาญในการสบื ทอดการทอผา้ ซน่ิ มัดหม่ี ผ้ากาบบัว ๒.๒ บุคคลในชุมชนซึง่ ถงึ แมจ้ ะเก่ียวข้องกับมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมโดยตรงนอ้ ยแต่เอ้ือประโยชน์ ตอ่ การถือปฏบิ ตั หิ รือเออ้ื อานวยตอ่ ความสะดวกในการถือปฏิบตั ิหรือการสืบทอดฯ (เช่น จดั เตรียมเวที เสื้อผ้า ฝกึ อบรม และ ควบคมุ ดูแล) -คนในชมุ ชนทีม่ ใิ ช่กลุ่มช่างทอผ้า -เทศบาลตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี -พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ จงั หวัดอบุ ลราชธานี -อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสรุ พล สายพันธ์ -อาจารย์สดุ สวาท สงปรดี า หัวหน้าบรรณารกั ษ์ห้องสมุดประชาชน จังหวดั อบุ ลราชธานี ๒.๓ ภาษา ทาเนียบภาษา ระดบั ภาษา ที่เกย่ี วข้อง -ภาษาไท-ลาว -ภาษาสว่ ย/กูย ๒.๔ องค์ประกอบทีจ่ ับตอ้ งได้ (เชน่ อุปกรณเ์ คร่ืองมือ เสื้อผ้า หรอื พ้ืนท่ีพเิ ศษเฉพาะ วัตถุทใ่ี ช้ในพิธกี รรม) (ถา้ ม)ี ซง่ึ เก่ยี วข้องกับการถือปฏิบัติหรอื สืบทอดมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม
-การทอผา้ ไดแ้ ก่ หูก/ก่ี (เครื่องทอผา้ ) ฟืม รอก ตะกอ ไม้คา้ ผงั /ธนู แปรงหวหี กู กระสวย เป็นต้น -การย้อมสี ได้แก่ หม้อย้อมสี เตาถ่าน ครง่ั คราม แกน่ ไมเ้ ข สีเคมผี ง เป็นต้น -การเลีย้ งไหม ได้แก่ จ่อเลี้ยงไหม พวงสาวไหม ไม้ขนื แปรงฟางขา้ ว หม้อดนิ เตาถ่าน กระดง้ กระบุง เขียง มดี เปน็ ตน้ -การเตรยี มเสน้ ใย ได้แก่ หลา ไม้เปยี หลอด กวัก อักและหางเห็น เป็นต้น ๒.๕ องค์ประกอบท่ีจับต้องไม่ได้ (ถา้ ม)ี ซ่ึงเกยี่ วขอ้ งกับการถือปฏิบัติหรือสืบทอดมรดกภูมิปญั ญาทาง วฒั นธรรม -การทอผ้า ไดแ้ ก่ ความรูใ้ นการออกแบบลวดลายผ้า เยียรบับลาว นาความคดิ สรา้ งสรรคล์ วดลายผา้ จากผา้ ราช สานักสยามและการทอยกผสมจก อปุ กรณ์ในการทอผ้า การคิดตะกอแนวดง่ิ ในการยกเส้นยนื เพือ่ สรา้ งลวดลาย ผา้ การจัดองคป์ ระกอบสสี ันที่ซบั ซอ้ นหลายสี เป็นต้น -การย้อมสี ได้แก่ ความรใู้ นการเลือกวสั ดุย้อมสีธรรมชาติ จากครั่ง เข คราม การย้อมครามทับสเี หลืองให้เกดิ สี เขยี ว การย้อมครามทบั สแี ดงให้เกดิ สีมว่ ง ความรใู้ นการใช้สารตดิ สีธรรมชาติท่มี คี า่ เป็นกรดและมีค่าเป็นดา่ ง เป็นต้น -การเล้ยี งไหม ได้แก่ ความร้ใู นการปอ้ งกันมลพษิ และแมลงทีเ่ ป็นอันตรายต่อหนอนไหม ความรใู้ นการย่อยใบ หมอ่ นเปน็ อาหารแก่หนอนไหม ความรู้ในการกระจายสดั สว่ นหนอนไหมในจ่อเพือ่ การสร้างรงั ไหมทสี่ มบูรณ์ ความรู้ในการคัดเลือกรงั ไหมท่ีสมบูรณ์ เป็นต้น -พธิ กี รรม ไดแ้ ก่ ความรู้ในการจดั เครื่องใช้ในพธิ ีราลกึ เจ้าพระประทุมวรราชสรุ ยิ วงศ์ (เจ้าคาผง) ความรู้ในเร่อื ง การแต่งกายแบบด้ังเดมิ ของเจ้านายเมืองอบุ ล ความรใู้ นการอนั เชิญวญิ ญาณบรรพบรุ ุษ เป็นตน้ -ความเช่อื ได้แก่ ความในเรอื่ งการห้ามผูห้ ญิงมคี รรภเ์ ขา้ ใกล้หรือทาการย้อมสีครั่ง ความเช่อื ในการห้ามผู้ชาย แตะเนื้อต้องตวั ผู้หญงิ ระหวา่ งทอผา้ (เสียสมาธิ) เปน็ ตน้ ๒.๖ แนวปฏิบัตติ ามจารีตในการเข้าถึง การใชแ้ ละการมสี ่วนรว่ มในมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม (ถา้ ม)ี เช่น หากมขี อ้ กาหนดบางอยา่ งที่ห้ามบุคคลบางประเภท เช่น ผชู้ าย ไม่ให้เขา้ รว่ ม หรือถือปฏบิ ัติ ควรปฏิบัตติ ามจารตี ดงั กล่าวและระบขุ ้อกาหนดดงั กล่าว -การทอผา้ ตามจารตี ด้ังเดิม จะหา้ มไมใ่ หผ้ ูช้ ายทอผ้า หรอื นงั่ บนหูก/เคร่ืองทอผา้ ถือว่าเปน็ “ขะลา” (ผิดจารีต) และในระหว่างท่ผี ู้หญิงทอผ้าหรอื เข็นฝา้ ย ฝ่ายผชู้ ายจะมาแตะเนื้อต้องตวั ไม่ได้ ถือวา่ เป็น “ขะลา” (ผดิ จารีต) ต้องมีการปรับสนิ ไหม -ประเพณ/ี พิธีกรรม ประเพณีงานราลึก “ทา้ วคาผง” สักการะวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ มขี ้อกาหนดให้แต่งกายดว้ ยผ้าแบบเจา้ นาย เมอื งอุบลฯ -การย้อมผา้ ตามความเช่อื ดัง้ เดมิ นั้นในกรณีการย้อมสีครง่ั จะไม่ให้ผู้หญิงท่มี ีประจาเดือนเข้าใกล้บรเิ วณ หรือเป็นผู้ ย้อม เพราะสจี ะด่างหรือเส้นไหมไม่กนิ สี/ติดสี ส่วนสีย้อมวัสดุอ่ืนๆไมม่ ีข้อหา้ ม
๒.๗ แนวทางการถา่ ยทอดมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม สคู่ นอ่ืน ๆ ในชุมชน -ถา่ ยทอดในครอบครวั ชา่ งทอผ้ารนุ่ ปัจจุบนั อายเุ ฉล่ยี ประมาณหา้ สบิ กวา่ ปี ไดเ้ รยี นรูก้ ารทอผ้าจากแม่หรือยายตามแบบปฏิบัติ ด้งั เดมิ -ถา่ ยทอดในชมุ ชน ชา่ งทอผ้าร่นุ อายุประมาณสามสบิ กวา่ ปี ได้เรยี นการทอผา้ จากหวั หนา้ กลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชนทท่ี าผลติ ภณั ฑ์ ผา้ ทอมือในจงั หวัดอบุ ลราชธานี -ถ่ายทอดในระบบการศึกษา เยาวชนไดเ้ รยี นรกู้ ารทอผา้ ในระบบการศึกษา ดว้ ยการบรู ณาการเรยี นรู้กบั ชุมชน โดยเชิญชา่ งทอผ้าท่ี เชย่ี วชาญในชุมชน ชว่ ยเป็นวทิ ยากร โดยมกี ารจัดการเรียนการสอนทอผ้าท่โี รงเรยี นบา้ นหนองบอ่ อาเภอเมือง และโรงเรียนบ้านมว่ งสามสิบ อาเภอม่วงสามสบิ จงั หวดั อุบลราชธานี ๒.๘ องค์กรต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง (องค์กรชมุ ชน, NGOs, ฯลฯ) (ถ้ามี) -มลู นิธสิ ง่ เสริมศิลปาชีพในสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ -ศูนย์หมอ่ นไหม เฉลมิ พระเกียรตฯิ จงั หวดั อุบลราชธานี -พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อุบลราชธานี กรมศลิ ปากร -การศกึ ษานอกโรงเรยี น จงั หวัดอบุ ลราชธานี -สานักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดอุบลราชธานี -สมาคมชาวเมืองอุบลฯ -กลุม่ ลูกหลานหมอ่ มเจียงคา ชมุ พล ณ อยธุ ยา -กลุ่มลกู หลานหม่อมบญุ ยืน ชุมพล ณ อยธุ ยา -กลมุ่ ทายาทหมอ่ มเจ้าหญงิ บุญจริ าธร (ชมุ พล) จฑุ าธุช -กลมุ่ เครือญาติ สายสวุ รรณกูฏ -กลมุ่ นักศึกษาและเยาวชนทรี่ ักงานวฒั นธรรม ๓. สภาวะของมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม : ความอยรู่ อด ๓.๑ ปจั จัยคุกคาม (ถ้ามี) ท่ีมีผลต่อความอยรู่ อดของมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมภายในชมุ ชนต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง -ปจั จัยภายใน: ระบบอานาจการปกครองของเจ้านายเมอื งอุบล ลดบทบาทลง ทาใหฐ้ านะทางสังคม เปลย่ี นแปลงไป ทาใหเ้ จ้านายเมอื งอบุ ลท่เี คยทอผา้ ลดบทบาทลงเช่นกัน -ครอบครวั ช่างทอผ้าท่ีเคยทอผ้าในโฮงหลวง (คมุ้ เจ้านาย) ท้ังท่ีอยู่ท่เี มืองอบุ ล และเจ้านายท่มี าพานักใน กรุงเทพฯ เมื่อมีการเปลยี่ นแปลงการปกครอง สมาชิกบรวิ ารในครอบครวั ลดลง -คา่ นยิ มในการทอผา้ เปน็ คณุ สมบัติของผู้หญงิ ท่ีดีงามเปล่ยี นแปลงไป ผชู้ ายดูผูห้ ญิงท่ีคุณสมบัติอืน่ แทน -ปัจจยั ภายนอก: ระบบสังคมท่ีเป็นแบบทุนนยิ ม ทาใหผ้ คู้ นตอ้ งย้ายถน่ิ ฐานทากนิ ขาดแคลนแรงงาน การทอผา้ ลดบทบาทในการที่จะเป็นผ้าทอเพ่อื ชีวติ เป็นผ้าทอเพ่ือเศรษฐกิจรายได้
๓.๒. ปจั จยั คุกคาม (ถ้ามี) ท่มี ีผลต่อการสบื ทอดของรายการมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมภายในชมุ ชนตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง -สิ่งอานวยสะดวก และกระแสทุนนยิ ม ทาให้คนร่นุ ใหมไ่ ม่สนใจสืบทอดการทอผ้าแบบประเพณดี ั้งเดมิ เพราะ สามารถซ้ือผ้าโรงงานใชแ้ ทนผ้าทอมือ ๓.๓ ปัจจัยคุกคามท่ีมผี ลตอ่ ความยัง่ ยนื ในการเข้าถึง การใช้ทรัพยากรและองค์ประกอบท่ีจบั ต้องได้ (ถ้าม)ี ซ่งึ เกยี่ วขอ้ งกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม -การละเลยคุณค่า ผ้าทีท่ อเพ่ือความดีแทนคุณค่าของผ้หู ญิงและความหมายแห่งศรทั ธาทางจิตใจ ได้ถูก ปรับเปล่ียนคา่ นิยมใหม่ตามแบบสงั คมเมือง ผ้าทอมือได้ปรับปรงุ พฒั นาเพ่ือเป็นผลิตภัณฑช์ มุ ชนท่สี รา้ งรายได้ ใหช้ า่ งทอ ๓.๔. ความอยูร่ อดของมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมอืน่ ๆ (ถา้ มี) เก่ยี วพันกับมรดกภมู ิปญั ญาทาง วฒั นธรรมทมี่ ีการจัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู -ประเพณีการแต่งกายแบบเจ้านายเมืองอบุ ลในช่วงเทศกาลแหเ่ ทียนพรรษา ณ บ้านคาปนุ -งานไหว้พระธาตุพนม ที่เครอื ข่ายชาวเมอื งอบุ ล ใชก้ ารแต่งกายแบบเจา้ นายเมอื งอุบล -งานแตง่ งาน ทผ่ี มู้ ฐี านะใช้การแต่งกายด้วยผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอบุ ล -การจดั ขบวนแห่ วนั ท้าวคาผง ท่ใี ช้ผา้ แบบเจ้านายเมืองอบุ ล ชว่ ยสรา้ งรายได้ใหช้ า่ งทอผ้า -งานเชดิ ชเู กียรตหิ ม่อมเจียงคา ชมุ พล ณ อยธุ ยา มกี ารมอบรางวัลผูแ้ ต่งกายดว้ ยผ้าทอเมืองอุบลฯ ๓.๕ การปกป้องคุ้มครองหรอื มาตรการอนื่ ๆ ที่มีอยู่ (ถ้าม)ี ซง่ึ ให้ความใส่ใจแกป้ ัญหาปัจจัยคุกคามเหล่านี้ และ ส่งเสริมให้มกี ารถอื ปฏิบตั หิ รือการสบื ทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในอนาคต -ชมุ ชนต้องการแก้ปัญหาการถกู ลอกเลียนแบบลวดลายผา้ โดยเฉพาะ หัวซ่ิน/เอวซ่นิ ลายจกดาว ชุมชนอยากให้ มีมาตราการปกป้องคุ้มครอง -กรมส่งเสริมวฒั นธรรม ดาเนนิ การขน้ึ ทะเบยี นฯ เพ่ือปกป้องมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม -สานักงานการปฐมศกึ ษา ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรยี นในชมุ ชน จดั การเรยี นทอผ้าเพือ่ สบื ทอดภูมิปัญญาการทอผ้า ๔. ขอ้ จากัดและการอนุญาตเก่ยี วกบั การใช้ข้อมลู ๔.๑ การยนิ ยอมจากชมุ ชนและชมุ ชนท่เี กยี่ วข้องในการจดั เกบ็ รวบรวมข้อมูล ชมุ ชนภาคภูมิใจและตระหนักในคุณค่าภูมปิ ญั ญา ยนิ ยอม ร่วมมืออย่างดใี นการจดั เก็บข้อมูล ๔.๒ ขอ้ จากัด (ถ้าม)ี ในการใช้หรือการเข้าถงึ ข้อมูลที่จดั เก็บรวบรวม -ความไว้วางใจ ในคณะผูว้ จิ ัย สามารถแก้ปญั หาโดยการมีอาสาสมัครผู้ร่วมวจิ ัยเปน็ ลกู หลานทม่ี ีเช้อื สายเจา้ นาย เมืองอบุ ลฯ ที่เปน็ บุคคลท่ีชมุ ชนเชอื่ ถอื ไวใ้ จ และใช้ภาษาอีสานในการส่อื สาร -ขอ้ มูลบางส่วน ไมอ่ าจจดั เกบ็ เนอ่ื งจากไมต่ รงช่วงเวลาของพธิ ีกรรม หรอื กิจกรรม
๔.๓ บุคคลทใี่ หข้ อ้ มลู : ชือ่ และสถานภาพ หรอื ความเกีย่ วพัน รายชือ่ กล่มุ คนช่างทอผ้าและผู้เกย่ี วขอ้ งกับผา้ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ที่ให้ข้อมูล ในพ้ืนทีว่ จิ ยั มีดังนี้ (๑) หมอ่ มหลวงภมู ิใจ ชุมพล (ทายาทมรดกหม่อมเจา้ หญิงบุญจิราธร (ชุมพล) จุฑาธชุ (๒) นางผลา ณ อุบล (เครือญาติหม่อมเจียงคา ชุมพล ณ อยธุ ยา) (๓) นางสาวสมุ นา ศรีชลาชยั (ประธานกองทุนเครือข่ายแห่งบุญหมอ่ มเจียงคาอนุสรณ์) (๔) นางปรมาภรณ์ ศรสี นิ วรากูล (ท่ีปรึกษากล่มุ สบื สาน นาฮอย หมอ่ มเจยี งคา ชุมพล ณ อยุธยา) (๕) นายบญุ ชัย ทองเจรญิ บวั งาม (เครือญาตสิ าย สวุ รรณกูฏ) (๖) นางสาวสุธดิ า ณ อบุ ล (เครือญาติหมอ่ มเจยี งคา ชุมพล ณ อยธุ ยา) (๗) นางคาปุน ศรีใส ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี (ปราชญ์ชา่ งทอผา้ ) (๘) นายมีชยั แตส้ จุ รยิ า ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี (ปราชญ์ศลิ ปินผ้าทอ) (๙) ชา่ งทอผา้ บา้ นคาปนุ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี -นางสาวจรี นันท์ สมั พันธ์เพ็ง ๘๒ หมู่ ๑๑ บ้านจั่น ต.โนนผงึ้ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางบุญสี มะยม ๑๕ หมู่ ๑๑ บา้ นจั่น ต.โนนผ้งึ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางอรทยั จาปารตั น์ ๑๔ หมู่ ๒ บา้ นจน่ั ต.โนนผง้ึ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางจฬุ าวรรณ สมั พันธ์เพ็ง ๑๐๒๑ หมู่ ๒ บา้ นจั่น ต.โนนผึ้ง อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางวนั ทอง ศรีพันบญุ ๓๙ หมู่ ๒ บ้านจ่ัน ต.โนนผงึ้ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางสาววราภรณ์ ศรีพันบญุ ๓๙ หมู่ ๒ บ้านจน่ั ต.โนนผงึ้ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางเดือนเพ็ญ ไกรยะวงศ์ ๑๒๐ หมู่ ๒ บา้ นจัน่ ต.โนนผง้ึ อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางดรณุ ี โสโภชน์ ๒๐ หมู่ ๔ บ้านนาสะแบง ต.หนองกนิ เพล อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางสุรนิ ทร์ เค้าโคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านท่าชอ้ งเหลก็ ต.น้าแซบ อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางสุทธนิ า คามงคล ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านทา่ ช้องเหล็ก ต.นา้ แซบ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางรัตนาภรณ์ จันทรโคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านท่าชอ้ งเหลก็ ต.น้าแซบ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางจุฑารตั น์ สมั พันธเ์ พง็ ๑๑๕ หมู่ ๒ ต.โนนผึ้ง อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางกองแพง วงศ์ชมภู ๓๓ หมู่ ๕ ต.โนนผงึ้ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางลาใย สที าบุตร ๑๐๗ หมู่ ๒ ต.โนนผง้ึ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางปราศรยั แสนเริง ๔๒ หมู่ ๒ ต.โนนผ้ึง อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางสมรกั ษ์ ก้อนทรัพย์ ๑๐๑๙ หมู่ ๒ ต.โนนผ้ึง อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางเด่นดวง ดาวทวี บ้านเลขที่ ๙๘ หมู่ ๒ ต.โนนผ้ึง อ.วารนิ ชาราบ จ. อุบลราชธานี -นางมลวิ รรณ แหลง่ เหลา้ ๖๗ หมู่ ๒ ต.โนนผ้ึง อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี -นางเดือนเพ็ญ ผาละพรม ๑๐๐๒ หมู่ ๑๑ ต.โนนผึ้ง อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี -นางละมลู ปญั ญายงค์ ๕๓ หมู่ ๑๐ บ้านโนนสมบูรณ์ ต.ธาตุ อ.วารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี -นางเยาวรตั น์ ศรีศรี ๔๓ หมู่ ๔ ต.คาน้าแซบ อ.วารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี -นางอาพร พามุง ๑๒๒ ต.หนองกินเพล บา้ นนาสะแบง อ.วารนิ ชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี -นางปรีดา ยาณพนั ธ์ุ ๑๒๗ บ้านจั่น ต.โนนผ้ึง อ.วารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี (๑๐) ชา่ งทอผ้า บา้ นหนองบอ่ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี -นางประคอง บุญขจร ๑๕๔ หมู่ ๑ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางสาราญ ทิมา ๖๒ หมู่ ๑๓ บา้ นทา่ สนามชัย ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี
-นางอษุ า ศลิ าโชติ ๑๑๙ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางสมใจ สรรพสาร ๔ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางวลิ ัย สรรพสาร ๖๓ หมู่ ๒ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางเบญ็ จาค์ โพธพ์ิ รม ๔๗ หมู่ ๓ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี -นางสาราญ จันทรพ์ วง ๒๐ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางวรรณ์งาม กองสาร์ ๑๙ หมู่ ๒ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางอุไร ส่งเสริม ๓๙ หมู่ ๔ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางอรุณ วรรณสถิตย์ ๕๐ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสาวจันทรเ์ พญ็ สรรพสาร ๖๘ หมู่ ๓ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสมหมาย ทมิ า ๖๕ หมู่ ๓ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางบุญล้อม ทมิ า ๖๗ หมู่ ๒ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางสกล จันพวง ๓๖ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางนารี แกนไธสง ๔๐ หมู่ ๔ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางวนั เพ็ญ จนั ทรพ์ วง ๒๐ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางนาง สรรพสาร ๕๗ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางบุญมี บัวทอง ๕๓ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางอรทัย ส่งเสริม ๗๘ หมู่ ๑ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางลมัย สง่ เสรมิ ๖ หมู่ ๑ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางวิลารักษ์ อินธแิ สน ๒๕ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางอัมพร จนั ทรพ์ วง ๒๙ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางบังอร ไชยวิชา ๑๙ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางหนูผ่อน สง่ เสรมิ ๖๖ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางสมใจ ช้างสาร ๔๘ หมู่ ๑ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางบวั แก้ว จันทร์พวง ๓๘ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี -นางสาวไข่ษร ส่งเสริม ๓๓ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี -นางพิสมยั สง่ เสรมิ ๗๑ หมู่ ๑ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางสมวงษ์ จนั ทร์พวง ๑๗๔ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสาวจานอง ส่งเสริม ๓๘ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี (๑๑) ชา่ งทอผา้ บา้ นลาดสมดี ตาบลกศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวดั อุบลราชธานี -นางอัมรา กุก่อง บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพชื ผล จ.อุบลราชธานี -นางสาราญ เจริญท้าว บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางทองมี ยะลา บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางฉวีวรรณ อนิ ทรโ์ สม บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางขนษิ ฐา ไหมนอ้ ย บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางวาณี สยุ ะลา บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อุบลราชธานี -นางพิกุล เจริญรอย บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางบัวลาน หลงซิน บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี -นางวงเดอื น หลงชิน บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางบุญชู สาสพุ รรณ บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
-นางจารณา ทา้ วหลอ่ น บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธานี -นางบวั ศร สรุ ีวง บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี -นางอรวรรณ พรรณทา้ ว บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี -นางประงา วรสิ าร บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพชื ผล จ.อุบลราชธานี -นางทองพนู สยุ ะลา บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธานี (๑๒) ชา่ งทอผา้ บา้ นบอน ตาบลบอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี -นางขนิษฐา ลาพรหมมา บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางบดั ปัดดาพิมพ์ บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางนติ ยา บุสดี บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี -นางเสง่ยี ม ปดั ดาพิมพ์ บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางคาปลิว ลาพรหมมา บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางเพ็ญศรี ลาพรหมมา บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางสพุ ิศ บุญมาทน บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี -นางดวงตา ดวงโสดา บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี -นางสาวชลธชิ า ลาพรหมมา บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางหนา่ น พดุ อุดม บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางบุญยานุช บรรมณี บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี -นางผา เลขะสนั ญ์ บ้านบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี -นางบานเยน็ ปัดดาพมิ พ์ บา้ นบอน ต. บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี (๑๓) ชา่ งทอผ้า บ้านปะอาว ตาบลโนนสวา่ ง อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี -นางเตอื นใจ แก้ววงสา ๑๔๔หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางทอง จิตรงาม หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสุดายุ จิตรงาม หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางเพยี ร สทุ สวาทดิ์ หมู่ ๔บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางอุดม สรชาติ หมู่ ๔บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางบษุ บา โพธิศิริ หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางวไิ ล ทองล้วน หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสมหมาย ลอ้ มวงศ์ หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางมาเรียม แกว้ ขวานอ้ ย หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางพชั นี กลั ปพฤกษ์ หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี -นางผมทอง เดชผล หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางลักษณ์ กัลปพฤกษ์ หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางแจน่ ล้อมวงศ์ หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางราตรี วงสุข หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางหลอด โพธิศ์ ิริ หมู่ ๕บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางบุญหลาย เยาวบญุ หมู่ ๔บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางปราณี เยาวบตุ ร หมู่ ๔บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางราตรี ประทุมมาศ หมู่ ๔บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
-นางทุมมา ซ่ือสตั ย์ หมู่ ๔บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางประออน แนวจาปา หมู่ ๓บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางราตี พาชอบ หมู่ ๓บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางสาเนยี ง โพธศิ ิริ หมู่ ๓บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี -นางอุบล ทองลว้ น หมู่ ๓บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี -นางยนื เข็มเพชร หมู่ ๓บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางบุบผา สีตะวัน หมู่ ๓บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางเสวย ทองลว้ น หมู่ ๓บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางดวงมาลา เดชผล หมู่ ๓บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางสมบูรณ์ ทองลว้ น หมู่ ๓บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางเวนิ แนวจาปา หมู่ ๓บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางสมบูรณ์ เยาวบญุ หมู่ ๖บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางมณีวรรณ สุขสาย หมู่ ๖บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางอานาจ พานเงิน หมู่ ๖บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางแดง พนั ธว์ ตั ร หมู่ ๖บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางแกน่ พาชอบ หมู่ ๖บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี -นางวิชติ ปลุกใจ หมู่ ๖บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี -นางถนอมศรี บุญประชม หมู่ ๕บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี (๗) วัดทงุ่ ศรีเมอื ง อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี สรา้ งเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๓๕๖ ซึง่ ถือครองมรดก ศลิ ปวตั ถทุ ีส่ าคญั มากคือ พระพทุ ธสัพพัญญูเจา้ พระพุทธบาทจาลอง และฮูปแต้มอสี านทีแ่ สดงหลักฐาน ลวดลายผ้าทอเมืองอุบลฯ (๘) วดั สุปฏั นารามวรวิหาร อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี สร้างเม่อื ปี พ.ศ. ๒๓๙๔ มคี วาม เก่ียวข้องกบั เจ้านายเมอื งอบุ ลฯ เพราะเป็นสถานท่ีจัดพิธถี อื น้าพิพฒั นส์ ัตยา ซ่ึงทางวัดได้ถือครองมรดก ศิลปวัตถุท่ีสาคญั คอื พระพุทธสัพพัญญเู จ้า และพระแกว้ ขาวเพชรน้าคา้ ง (๙) วดั หลวง อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ต้งั อย่ขู า้ ง “โฮงหลวง” ของเจ้าเมืองอุบลฯ เป็นวดั แรก ท่สี ร้างเม่ือพระปทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคาผง) สรา้ งเมืองอบุ ลฯเสรจ็ ซง่ึ ทางวดั ถือครองมรดกศิลปวัตถทุ ่ี เก่ียวข้องกับเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ที่สาคัญมากคือ พระเจา้ ใหญอ่ งค์หลวง และพระแก้วไพฑรู ย์ (๑๐) วดั ศรีอบุ ลรัตนาราม อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี สรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๙๘ ซงึ่ ถอื ครอง มรดก ผ้าหอ่ คัมภรี ์ ทเี่ จ้านายเมอื งอบุ ลฯ ทอถวายไว้ ที่สมบูรณ์ทส่ี ุดที่สามารถพบหลักฐานได้ ณ เวลาน้ี ในวัด ยงั มีศลิ ปวัตถทุ ี่สาคัญมากคือ ธรรมาสนโ์ บราณ และพระแก้วบุษราคัม ทเี่ จ้านายเมอื งอุบลฯถวายวดั ๔.๔ วันและสถานที่ท่จี ดั เก็บรวบรวมข้อมูล เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ -พฤศจิกายน ๒๕๕๗ พ้นื ที่: จงั หวัดอบุ ลราชธานี ประเทศไทย ๕. การอ้างองิ เกี่ยวกับรายการมรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม (ถา้ ม)ี ๕.๑ เอกสารประกอบตา่ ง ๆ (ถ้ามี)เชน่ รายงานวจิ ยั และ ส่งิ พิมพ์ -หนังสือ “Thai Life: Thai Textiles” สานักงานสรา้ งเสริมเอกลกั ษณ์ของชาติ สานักงานปลดั สานัก นายกรัฐมนตรี
-หนงั สอื “ผ้าพน้ื เมืองอีสาน” กรมศลิ ปากร -หนังสอื “สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เลม่ ๔ เลม่ ๖ เล่ม ๑๐” มูลนธิ ิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณชิ ย์ -หนังสอื “๒๐๐ ปี อบุ ลราชธานี” มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี -หนังสือ “มรดกส่งิ ทออีสาน” มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี -วิทยานิพนธ์ “สถานภาพเจา้ นายพืน้ เมืองอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๒๕-๒๔๗๖” มหาวทิ ยาลัย มหาสารคาม ๕.๒ สื่อวีดิทัศน์ แถบบันทึกเสยี ง/ภาพตา่ งๆ ที่อยู่ในหอจดหมายเหตุ และพพิ ธิ ภัณฑ์ หรอื ของสะสม สว่ นบคุ คล (ถ้ามี) -สอ่ื วดี ทิ ศั น์ในพพิ ิธภณั ฑ์ผ้าของศนู ย์ศลิ ปาชีพระหว่างประเทศ อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา -สอ่ื วดี ทิ ัศนใ์ นรายการโทรทัศน์ ออนไลน์ -ภาพถ่ายเก่า ของหอจดหมายเหตุ กรุงเทพฯ -ภาพถา่ ยผา้ ของพิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๕.๓ เอกสารบนั ทึก และวตั ถุสิ่งของ ท่ีอยใู่ นหอจดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์ หรอื ของสะสมส่วนบคุ คล (ถ้ามี) -ตวั อยา่ งผ้า ในพิพธิ ภณั ฑ์บา้ นคาปุน อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี -ตวั อย่างผ้า ในพิพิธภณั ฑ์วดั ศรอี ุบลรตั นาราม อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี -ตัวอยา่ งผ้า ในพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี -ตวั อย่างผ้า ในพิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร กรุงเทพฯ -ตวั อยา่ งผ้า ในคลังสะสมของ มล.ภมู ิใจ ชุมพล (ผา้ มรดกหมอ่ มเจา้ หญงิ บญุ จริ าธร (ชุมพล) จุฑาธุช) กรงุ เทพฯ -ตวั อย่างผ้า ในคลังสะสมของ นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม จงั หวดั นครปฐม -ตัวอยา่ งผ้า ในสานักพิพิธภณั ฑแ์ ละวฒั นธรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ ๖. ข้อมูลเก่ียวกับการจดั เกบ็ รวบรวมและบนั ทึกข้อมลู ๖.๑ ผเู้ กบ็ ข้อมูล -ผศ.ดร.สทิ ธชิ ยั สมานชาติ ๖.๒ ผู้บันทกึ ข้อมูล -ผศ.ดร.สทิ ธชิ ยั สมานชาติ -อาจารยจ์ ุฑาทิพย์ นามวงษ์ -นายปราโมทย์ จรงุ ทวเี วย์
๖.๓ กระบวนการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน (ระบุประเภท และระดบั ทช่ี ุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม เชน่ การเห็น ความสาคัญของมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม การใหค้ วามยนิ ยอม การรว่ มเก็บข้อมูล) -ชุมชนพร้อมใจยินยอมให้ขึน้ มรดกภูมิปัญญาและให้ความร่วมมือในการดาเนนิ การในทุกๆดา้ น ดังปรากฏใน เอกสารรายงานวจิ ยั ๖.๔ หลักฐานการยนิ ยอมของชุมชนและชุมชนทเ่ี กยี่ วข้องกับ (ก) การจดั เกบ็ รวบรวมข้อมูลรายการมรดก ภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม (ข) ข้อมลู สารสนเทศทใ่ี หจ้ ัดเกบ็ รวบรวมและบนั ทึก -ดูรายละเอียดในเอกสารแนบและวสั ดุที่ส่งมาด้วย ๖.๕ วัน เวลา ในการบนั ทึกข้อมูลเข้าสบู่ ัญชีรายการ -ธนั วาคม ๒๕๕๖ -พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ๗. ข้อเสนอแนะในการสืบทอดมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม ๗.๑ การสงวนรักษาโดยชุมชน -ชุมชนพยามสบื ทอดไวใ้ นระบบเครือญาติ จากรนุ่ สูร่ ุ่น -ชมุ ชนรกั ษาทักษะการทอผ้า ท่ชี ว่ ยสร้างรายได้เสรมิ และอนรุ กั ษ์ลวดลายดงั้ เดมิ โดยเฉพาะที่บา้ นหนองบ่อ -บ้านคาปนุ จดั งาน “นิทรรศการผา้ โบราณและสาธติ การทอผ้า แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ” ชว่ งเดอื นกรกฎาคม ของทกุ ปี ในช่วงเทศกาลงานแห่เทียนเขา้ พรรษา -งานสกั การะท้าวคาผง (๑๐ พฤศจิกายน) ของทุกปี ท่ีทายาทเจ้านายเมืองอุบลฯ หนว่ ยงานราชการและเอกชน ร่วมใจกนั แต่งกายด้วยผา้ พื้นเมอื ง เพื่อราลึกและสักการะเจ้าเมอื งผู้กอ่ ต้ังเมืองอบุ ลฯ ๗.๒ การปกปอ้ งคุ้มครองโดยหนว่ ยงานภาครัฐ -กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จัดขึ้นทะเบียนมรดกวัฒนธรรมทางภมู ปิ ัญญา -มูลนิธสิ ่งเสรมิ ศิลปาชพี ฯ ในสมเด็จพระนางเจา้ ฯ จดั การอบรมพัฒนาทักษะการทอผ้า -ศนู ยห์ มอ่ นไหม เฉลิมพระเกียรตฯิ จงั หวัดอบุ ลราชธานี จัดอบรมพฒั นาทักษะช่างทอผ้าไหม -สานักพฒั นาชมุ ชนจังหวดั กรมพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย จัดการพัฒนาทักษะและคณุ ภาพผ้า -องคก์ ารบรหิ ารจงั หวัด จังหวัดอุบลราชธานี -โรงเรียนบา้ นหนองบ่อ อาเภอเมือง และโรงเรยี นม่วงสามสิบ อาเภอมว่ งสามสิบ จงั หวัดอุบลราชธานี จัด โครงการสืบสานการทอผ้า ในการเรยี นการสอน
ชุมชน กลุ่มคน ที่เกี่ยวข้อง กบั การขอขนึ้ ทะเบียน ICH ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ผู้ให้ข้อมลู ผ้สู บื ทอดภมู ปิ ญั ญาการทอผ้าแบบเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ ๔.๕.๑ บ้านคาปนุ ชมุ ชนทอผา้ บ้านคาปุน อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๑) นางคาปุน ศรีใส ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๒) นายมีชยั แตส้ ุจรยิ า ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๓) นางสมใจ หาวชิ า ๓๕ หมู่ ๒ บา้ นโพธมิ์ ลู ต.คานาแซบ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๔) นางสาวจีรนนั ท์ สัมพนั ธ์เพ็ง ๘๒ หมู่ ๑๑ บา้ นจัน่ ต.โนนผงึ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๕) นางบญุ สี มะยม ๑๕ หมู่ ๑๑ บ้านจัน่ ต.โนนผึง อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๖) นางอรทัย จาปารตั น์ ๑๔ หมู่ ๒ บา้ นจัน่ ต.โนนผงึ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๗) นางจฬุ าวรรณ สัมพนั ธ์เพ็ง ๑๐๒๑ หมู่ ๒ บา้ นจัน่ ต.โนนผงึ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๘) นางวันทอง ศรีพันบุญ ๓๙ หมู่ ๒ บา้ นจั่น ต.โนนผงึ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๙) นางสาววราภรณ์ ศรพี นั บุญ ๓๙ หมู่ ๒ บ้านจน่ั ต.โนนผงึ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๐) นางเดือนเพญ็ ไกรยะวงศ์ ๑๒๐ หมู่ ๒ บ้านจน่ั ต.โนนผึง อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๑) นางดรุณี โสโภชน์ ๒๐ หมู่ ๔ บา้ นนาสะแบง ต.หนองกนิ เพล อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๑๒) นางสรุ นิ ทร์ เค้าโคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านท่าช้องเหลก็ ต.นาแซบ อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๑๓) นางสุทธนิ า คามงคล ๓๓๑ หมู่ ๑ บา้ นท่าช้องเหลก็ ต.นาแซบ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๔) นางรตั นาภรณ์ จนั ทรโคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บา้ นทา่ ช้องเหล็ก อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๕) นางจฑุ ารัตน์ สัมพนั ธเ์ พ็ง ๑๑๕ หมู่ ๒ ต.โนนผงึ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๖) นางกองแพง วงศช์ มภู ๓๓ หมู่ ๕ ต.โนนผึง อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๗) นางลาใย สีทาบตุ ร ๑๐๗ หมู่ ๒ ต.โนนผึง อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๑๘) นางปราศรัย แสนเรงิ ๔๒ หมู่ ๒ ต.โนนผงึ อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๑๙) นางสมรักษ์ ก้อนทรัพย์ ๑๐๑๙ หมู่ ๒ ต.โนนผึง อ.วารนิ ชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๒๐) นางเดน่ ดวง ดาวทวี บ้านเลขที่ ๙๘ หมู่ ๒ ต.โนนผงึ อ.วารินชาราบ จ. อุบลราชธานี ๒๑) นางมลวิ รรณ แหล่งเหล้า ๖๗ หมู่ ๒ ต.โนนผึง อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ๒๒) นางเดอื นเพ็ญ ผาละพรม ๑๐๐๒ หมู่ ๑๑ ต.โนนผึง อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๒๓) นางละมลู ปญั ญายงค์ ๕๓ หมู่ ๑๐ บา้ นโนนสมบรู ณ์ ต.ธาตุ อ.วารินชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี ๒๔) นางเยาวรัตน์ ศรศี รี ๔๓ หมู่ ๔ ต.คานาแซบ อ.วารนิ ชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี ๒๕) นางอาพร พามุง ๑๒๒ ต.หนองกนิ เพล บ้านนาสะแบง อ.วารนิ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒๖) นางปรดี า ยาณพนั ธุ์ ๑๒๗ บา้ นจั่น ต.โนนผึง อ.วารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๔.๕.๒ บ้านหนองบอ่ ชุมชนทอผา้ บ้านหนองบอ่ ตาบลหนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๑). นางประคอง บุญขจร ๑๕๔ หมู่ ๑ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒) นางสาราญ ทิมา ๖๒ หมู่ ๑๓ บา้ นทา่ สนามชัย ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี
๓) นางอุษา ศลิ าโชติ ๑๑๙ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๔) นางสมใจ สรรพสาร ๔ หมู่ ๒ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๕) นางวลิ ยั สรรพสาร ๖๓ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๖) นางเบ็ญจาค์ โพธิพ์ รม ๔๗ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๗) นางสาราญ จันทร์พวง ๒๐ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๘) นางวรรณง์ าม กองสาร์ ๑๙ หมู่ ๒ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๙) นางอไุ ร สง่ เสริม ๓๙ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๐) นางอรุณ วรรณสถิตย์ ๕๐ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๑) นางสาวจันทร์เพญ็ สรรพสาร ๖๘ หมู่ ๓ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๒) นางสมหมาย ทิมา ๖๕ หมู่ ๓ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๓) นางบุญลอ้ ม ทมิ า ๖๗ หมู่ ๒ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๔) นางสกล จันพวง ๓๖ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๕) นางนารี แกนไธสง ๔๐ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๖) นางวนั เพญ็ จนั ทร์พวง ๒๐ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๑๗) นางนาง สรรพสาร ๕๗ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๘) นางบุญมี บัวทอง ๕๓ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๙) นางอรทัย ส่งเสรมิ ๗๘ หมู่ ๑ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๐) นางลมยั ส่งเสริม ๖ หมู่ ๑ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๑) นางวิลารกั ษ์ อินธิแสน ๒๕ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๒) นางอมั พร จันทร์พวง ๒๙ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๓) นางบังอร ไชยวชิ า ๑๙ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๒๔) นางหนูผ่อน ส่งเสริม ๖๖ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๕) นางสมใจ ชา้ งสาร ๔๘ หมู่ ๑ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๖) นางบวั แก้ว จนั ทรพ์ วง ๓๘ หมู่ ๒ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๗) นางสาวไข่ษร ส่งเสรมิ ๓๓ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๒๘) นางพสิ มยั สง่ เสริม ๗๑ หมู่ ๑ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๙) นางสมวงษ์ จนั ทรพ์ วง ๑๗๔ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๓๐) นางสาวจานอง สง่ เสรมิ ๓๘ หมู่ ๔ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๔.๕.๓ บา้ นลาดสมดี ชมุ ชนทอผา้ บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ๑) นางอัมรา กุก่อง บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธานี ๒)นางสาราญ เจรญิ ท้าว บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพชื ผล จ.อุบลราชธษานี ๓) นางทองมี ยะลา บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธษานี ๔) นางฉววี รรณ อินทร์โสม บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อุบลราชธษานี ๕) นางขนษิ ฐา ไหมน้อย บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธษานี ๖) นางวาณี สยุ ะลา บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธษานี ๗) นางพกิ ลุ เจรญิ รอย บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธษานี
๘) นางบัวลาน หลงซิน บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธษานี ๙) นางวงเดอื น หลงชนิ บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธษานี ๑๐) นางบญุ ชู สาสพุ รรณ บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธษานี ๑๑) นางจารณา ท้าวหล่อน บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธษานี ๑๒) นางบัวศร สุรีวง บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธษานี ๑๓) นางอรวรรณ พรรณท้าว บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธษานี ๑๔) นางประงา วริสาร บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธษานี ๑๕) นางทองพนู สยุ ะลา บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อ.ตระการพืชผล จ.อบุ ลราชธษานี ๔.๕.๔ บา้ นบอน ชุมชนทอผา้ บา้ นบอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี ๑) นางขนิษฐา ลาพรหมมา บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๒) นางบัด ปัดถาพิมพ์ บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๓) นางนติ ยา บสุ ดี บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๔) นางเสงยี่ ม ปัดถาพิมพ์ บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี ๕) นางคาปลิว ลาพรหมมา บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๖) นางเพ็ญศรี ลาพรหมมา บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๗) นางสุพิศ บุญมาทน บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๘) นางดวงตา ดวงโสดา บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี ๙) นางสาวชลธชิ า ลาพรหมมา บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๑๐) นางหนา่ น พุดอุดม บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๑๑) นางบญุ ยานุช บรรมณี บ้านบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อุบลราชธานี ๑๒) นางผา เลขะสันข์ บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี ๑๓) นางบานเย็น ปดั ถาพิมพ์ บา้ นบอน ต.บอน อ.สาโรง จ.อบุ ลราชธานี ๔.๕.๕ บา้ นปะอาว ชุมชนทอผา้ บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๑) นางเตอื นใจ แกว้ วงสา ๑๔๔ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒) นางทอง จิตรงาม หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๓) นางสดุ ายุ จิตรงาม หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๔) นางเพยี ร สุทสวาทดิ์ หมู่ ๔ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๕) นางอุดม สรชาติ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๖) นางบษุ บา โพธิศิริ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๗) นางวไิ ล ทองลว้ น หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๘) นางสมหมาย ลอ้ มวงศ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๙) นางมาเรยี ม แกว้ ขวาน้อย หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๐) นางพชั นี กลั ปพฤกษ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๑) นางผมทอง เดชผล หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
๑๒) นางลักษณ์ กลั ปพฤกษ์ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๓) นางแจน่ ล้อมวงศ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๔) นางราตรี วงสขุ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๑๕) นางหลอด โพธิ์ศริ ิ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๖) นางบุญหลาย เยาวบญุ หมู่ ๔ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๗) นางปราณี เยาวบตุ ร หมู่ ๔ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๘) นางราตรี ประทมุ มาศ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๑๙) นางทุมมา ซื่อสัตย์ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๐) นางประออน แนวจาปา หมู่ ๓ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๒๑) นางราตี พาชอบ หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๒) นางสาเนียง โพธิศริ ิ หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๒๓) นางอุบล ทองลว้ น หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๔) นางยนื เขม็ เพชร หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๒๕) นางบบุ ผา สตี ะวัน หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๖) นางเสวย ทองลว้ น หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๗) นางดวงมาลา เดชผล หมู่ ๓ บา้ นปะอาว อ.เมอื ง จ.อุบลราชธานี ๒๘) นางสมบูรณ์ ทองล้วน หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๒๙) นางเวิน แนวจาปา หมู่ ๓ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๓๐) นางสมบูรณ์ เยาวบุญ หมู่ ๖ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๓๑) นางมณวี รรณ สุขสาย หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๓๒) นางอานาจ พานเงิน หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๓๓) นางแดง พนั ธว์ ตั ร หมู่ ๖ บ้านปะอาว อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๓๔) นางแกน่ พาชอบ หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ๓๕) นางวชิ ิต ปลกุ ใจ หมู่ ๖ บ้านปะอาว อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๓๖) นางถนอมศรี บญุ ประชม หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
ประวัติผวู้ ิจัย หัวหน้าโครงการ ช่อื -นามสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิทธชิ ัย สมานชาติ คณะศลิ ปประยกุ ต์และการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี กรรมการมลู นธิ ภิ มู ิปัญญา ส่ิงแวดลอ้ ม วัฒนธรรม และศลิ ปะเอเชยี A-WECA (Asian Wisdom, Environment, Culture and Art Foundation) 864 หมู่ 12 ถ บ้านโนนมว่ ง ตาบลศลิ า อ เมือง จ ขอนแก่น 40000 ที่อยู่ท่ีบา้ น 1 หมู่4 ต.จักราช อ.จักราช จ.นครราชสีมา 30230 โทร. 086-0016868 , ๐๙๕-๖๐๙๘๑๖๕ E-mail: [email protected] Facebook : Chai Smanchat 2. คุณวฒุ ิ (เรียงตามลาดับ) ระดบั ปริญญา สาขาวิชา ปีทีส่ าเรจ็ สถาบันทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา ปริญญาตรี ค.บ.(ศลิ ปศกึ ษา) 2532 จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปรญิ ญาโท M.F.A.(Design) 2545 Visva Bharati University ปรญิ ญาเอก Ph.D. 2550 Visva Bharati University 3. ผลงานทางวิชาการ -หนงั สือ - ผา้ ไทย..สายใยแหง่ ภูมิปญั ญาสคู่ ุณค่าเศรษฐกจิ ไทย สานักงานคณะกรรมวัฒนธรรมแหง่ ชาตแิ ละครุ ุ สภาฯ, 2543. - ผ้าตีนจก..สงิ่ ทอศิลป์แผ่นดินไทย (ไท-ยวน ไท-พวน ไท-ครง่ั ) สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ (Thailand Textile Institute/ THTI) E-Book, 2544. - หนงั สอื “มรดกสิ่งทออีสาน” (Isan Textile Heritage), Khonken, Thailand, 2554 -วารสารวิชาการ - Thai Ikat (Mudmee), Journal of Asian Ikat Conference 2000, Okinawa, JAPAN. - Indian Painted and Block Printed Textiles for The Thailand (Siam) Market, and A Revival of The Art, Journal of World Eco-Fashion & Textile (W.E.F.T.) Forum 2003, Kuching, Sarawak, MALAYSIA.
- งานวิจัย - สิง่ ทอในพระพุทธศาสนา กลุม่ วฒั นธรรมลาวครง่ั สนบั สนนุ ทุนโดยสานักงานคณะกรรมวฒั นธรรม แหง่ ชาติ, 2541. (200,000B) - Kalamkari: A Case Study of Machilipatnam, Andra Pradesh (INDIA) สนับสนนุ ทนุ โดย ICCR [Indian Council for Cultural Relationship], 2000-2001. (120,000B) - Shamuro-Zome [Siamese Chintz in Japan], สนับสนุนทุนโดย The Japan Foundation, 2004. (1,000,000B) - The Design Origin of ‘Suea Senakut’: Indian Dyed Cotton Clothing for Soldiers in Siam, 2007. (20,000B) -‘Bird of Paradise: The Mythical ‘Kinnaree’ to Contemporary Feathery Fashion’, 8th Academic Forum, Urban Culture Research Center, 2009 Chulalongkorn University and Osaka City University (20,000B) -“Naga Motif Depicted on Thai Silk in the Northeastern Thailand” ASEAN Sericulture 2009 (25,000B) -“Thai Alphabets on Thai Silk for Her Majesty the Queen” ASEAN Sericulture 2010 (25,000B) -“Lac Dye of the Lao Khrang, Thailand: Natural Science and Belief” World Eco-Fashion and Textile (WEFT) Forum 2010, Kuching, Malaysia (60,000B) - “Local Wisdom for Handicraft Development: Theories, Best Practices and Sustainable Design Development in Northeast Thailand” (Co-researcher) International Conference and Exhibition 2011: Arts and Design-Integration of the East and the West , Ubonratchathani University (12,000B) - ‘Investigate ‘Shamu-Sarasa’ in Japanese Collections and Textile Evidences in Thailand’ Visiting Researcher, June 2011-Mar 2012 Research Institute of Okinawa Prefectural University of Arts, Japan (600,000B) - บทความ ศลิ ปวัฒนธรรม - ผ้าแพรวา นิตยสาร SILK, 2542 - ผู้ไทย ชนผูส้ รา้ งสรรค์ศลิ ปบ์ นผืนไหมและใยฝา้ ย นิตยสาร SILK, 2542 - เปิดกรุผา้ โบราณ สบื สานภูมิปัญญาไทย นติ ยสารสกลุ ไทย, 2543 ตอน “ผ้าซนิ่ หมร่ี วด กลุ่มไท-ครัง่ ” ตอน “ผา้ ซนิ่ หมี่ตา กลมุ่ ไท-ครง่ั ” ตอน “ผา้ ซิ่นหม่ตี า แดงสลบั คราม กลมุ่ ไท-คร่ัง” ตอน “ผา้ ซ่ินหมี่น้อยตีนแดง และความลบั ของสแี ดง” ตอน “ผา้ ซน่ิ สิบซว่ิ กลมุ่ ไท-คร่งั ” ตอน “ผ้าซ่ินดอก กลมุ่ ไท-คร่ัง” ตอน “ผา้ ซ่ินหม่ีสะเภา กลุ่มไท-คร่งั ” ตอน “ผา้ ซน่ิ จกลายขอเคีย กลมุ่ ไท-ครั่ง” ตอน “ผ้าซิ่นกา่ น ลายมา้ กลุ่มไท-คร่ัง”
ตอน “ผา้ หม่ ลายและหมอนเท้า กลุ่มไท-คร่ัง” ตอน “ผา้ ลอ้ ลีลา ลวดลาย ความหมายท่ฝี ากไวจ้ ดจา” ตอน “คล่ผี นื ผ้าแห่งศรัทธา..ผา้ ม่านตดิ ธรรมาสน์” - เปิดกรุผ้าโบราณ สบื สานภูมิปัญญาไทย นติ ยสารสกุลไทย, 2544 ตอน “ยอดผ้าซิน่ ตนี จกงาม แหง่ เมอื งเชียงแสน” ตอน “ผ้าซน่ิ ตนี จก ลายโคมเชียงแสน กล่มุ ไท-ยวน” ตอน “ผา้ ซ่ินตีนจก ไท-ยวน จังหวดั อตุ รดติ ถ์” ตอน “ผ้าซิ่นตนี จก ไท-ยวน จงั หวดั ราชบุรี” ตอน “ผา้ ซ่นิ ตีนจก ไท-ยวน จงั หวดั เชียงใหม่” ตอน “ผา้ ซิ่นตนี จก ไท-ยวน จงั หวดั อตุ รดิตถ์” ตอน “มรดกผ้าซิน่ ไท-ยวน จงั หวัดสระบรุ ี” ตอน “ผา้ ซ่ินตาตอบ ไท-ยวน จงั หวัดแพร่” ตอน “พญานาคในลวดลายผ้าซ่นิ ตนี จก กลมุ่ ไท-ยวน” ตอน “หนอนไหมในลวดลายผา้ ซ่ิน กลุ่มไท-ยวน” ตอน “หมายซ่ิน กล่มุ ไท-ยวน” ตอน “ผ้าซิน่ ตนี จก ลายโคม-ชอ่ น้อย-ตงุ ชัย กลุม่ ไท-ยวน” ตอน “ไออุน่ หมวกงาม นาม..วอ้ ม” ตอน “ผา้ ซิ่นคาเคบิ จังหวดั น่าน” - คลี่ปมภมู ิปญั ญา ทที่ อสานฝากไวใ้ นผนื ผา้ ไทย วารสารวฒั นธรรมไทย กระทรวงวฒั นธรรม, 2550 - Caring for Art Collection/ ห่วงใยงานศลิ ป์ในคลงั สะสม วารสารศลิ ปกรรม คณะศิลปกรรมศา สาตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 - ชุดอภิเษกสมรส เจ้าหญงิ แห่งรัฐฉาน วารสารวฒั นธรรมไทย กระทรวงวัฒนธรรม, 2551 - หมอนเทา้ ไม่ใช่ หมอนทา้ ว วารสารวฒั นธรรมไทย กระทรวงวฒั นธรรม, 2551 4. เกยี รตปิ ระวตั ิ 2535 รางวัลชนะเลิศ นักออกแบบแฟช่ันไทย กรมสง่ เสรมิ การสง่ ออก เปน็ ตวั แทนเข้ารว่ มงานแฟชัน่ อาเซยี น ที่ประเทศสิงคโปร์ (ใช้ผา้ ไหมไทยและแนวคดิ จากศิลปะงานใบตองบายศรขี องภาคอสี าน) 2543 โลเ่ กยี รติคณุ ผูส้ ง่ เสริมและอนรุ ักษ์ผา้ ไทย สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ 2550 เข็มพระปรมาภไิ ธยย่อ สก พระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิพระบรมราชินนี าถฯ ใน ฐานะอาจารย์พเิ ศษแก่พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จา้ สิริวัณณวรนี ารรี ัตน์ 5.ผลงานดา้ นการบริหาร/การสอนในอดตี (ถา้ ม)ี 5.1 ดา้ นการบรหิ าร 2552-2554 คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา คณะศิลปประยกุ ตแ์ ละการออกแบบ มหาวิทยาลัย อบุ ลราชธานี 2553 ผู้ช่วยคณบดี ฝา่ ยบัณฑิตศกึ ษาและวเิ ทศสมั พันธ์ คณะศิลปประยุกตแ์ ละการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี
2554 ผู้ชว่ ยคณบดี ฝ่ายวิเทศสมั พันธ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี 2553-2554 คณะกรรมการ ดาเนินการจดั การประชุมนานาชาติ เร่ือง Arts and Design: Integration of the East and West ณ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี 5.2 ดา้ นการเปน็ ท่ีปรึกษา กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ในราชการทส่ี าคัญ 2541-ปัจจบุ นั คณะอนุกรรมการ ด้านวัฒนธรรม กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม 2541-ปจั จบุ ัน ทป่ี รึกษาด้านงานหตั ถกรรม กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 2543 คณะกรรมการพิจารณาร่างหลกั สตู ร กลมุ่ วชิ าอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ 2553 คณะกรรมการพจิ ารณาวทิ ยานพิ นธ์ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระ นครเหนือ 2554-ปจั จุบนั คณะอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก หออัครศลิ ปนิ ฯ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2554 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก พิจารณากลั่นกรองบทความวชิ าการ เผยแพร่ตพี ิมพ์ใน งานสมั มนาวิชาการ “ศิลปากร” มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 2554-ปจั จุบัน อปุ นายก APHADA, UNESCO 5.3 ดา้ นการสอน 1. อาจารย์พิเศษ บัณฑติ ศึกษา คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. Guest Lecturer, National Institute of Design (NID), Ahmedabad, INDIA 3. Guest Lecturer for Graduated students (Textile), Okinawa Prefectural University of Arts, JAPAN 4. อาจารย์ประจา คณะศลิ ปประยกุ ต์และการออกแบบ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี 5.4 บริการวิชาการ 1. อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ ด้านการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ แก่กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ภาค 7 แกก่ ลุ่มOTOP จังหวดั ยโสธร 2. อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ ดา้ นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ผ้าฝ้าย แก่กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม ภาค 7 แกก่ ลุ่ม OTOP จังหวัดอุบลราชธานี 3. อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ ด้านการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ไหมยอ้ มสีธรรมชาติ แก่กรมหม่อนไหม กลุ่ม OTOP จังหวดั อุบลราชธานี 4. อบรมเชิงปฏิบตั ิการ ด้านการพฒั นาผลิตภัณฑผ์ า้ แก่กลุ่มSME 5.5 งานทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม 1. โครงการ สารวจหลักฐานผา้ และเครื่องแต่งกายโบราณของชาวอสี านจากฮูปแต้มในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อเปน็ ฐานข้อมลู การวิจยั ระดบั บณั ฑิตศึกษา 2. โครงการสารวจผา้ ซิน่ หม่หี ัวจกดาว เอกลักษณเ์ มืองอุบล เพ่ือสืบสานและเป็นฐานข้อมูลในการ จัดการเรยี นการสอนฯ 3. โครงการสารวจและศกึ ษาภมู ิปัญญาด้านสิง่ ทอในเขตลุม่ นาโขง ของชาวภไู ท (ผไู้ ทย) จงั หวดั มกุ ดาหาร ประเทศไทย และชาวภูไท-มะกอง แขวงสะหวนั เขต สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
๒.๒ ผ้รู ่วมงานวิจยั (ระบุชอ่ื ผรู้ ่วมงานวิจัย หน่วยงาน พร้อมทังสถานทีต่ ิดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ โทรสาร และ E-mail และอธิบายถึงลักษณะ และสัดส่วนของงานทีแ่ ต่ละคนรับผิดชอบ) ๒.๒.๑. ช่ือ – นามสกุล อาจารย์จฑุ าทพิ ย์ นามวงษ์ สดั ส่วนความรบั ผิดชอบในโครงการ ๕ % ช่วยประสานงานโครงการ จดบนั ทกึ ในการจดั เวทีเกบ็ ข้อมลู ภมู ิ ปัญญาทางวฒั นธรรมโดยชมุ ชนมสี ว่ นร่วม และในการจดั ทาประชามติ ตาแหน่ง ผชู้ ่วยวิจยั คณุ วุฒิ ปริญญาโท สถานทต่ี ดิ ต่อ ๗๕ หมู่ ๙ อ.วารนิ ชาราบ จ.อุบลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทร. ๐๘๕-๓๑๒๘๓๒๗ E-mail: [email protected] ๒.๒.๒. ผ้ชู ว่ ยวิจยั ช่ือ – นามสกุล นายปราโมทย์ จรุงทวีเวทย์ สัดสว่ นความรบั ผิดชอบในโครงการ ๕ % ชว่ ยจดบนั ทกึ ในการจดั เวทีเกบ็ ข้อมลู ภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมโดย ชุมชนมีสว่ นรว่ ม และในการจัดทาประชามติ ตาแหน่ง ผูช้ ่วยวจิ ยั คุณวฒุ ิ ปริญญาโท สถานทีต่ ดิ ต่อ ๗๕ หมู่๙ ต.บา้ นท่มุ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร. ๐๘๖-๗๐๓๖๙๖๔ E-mail: [email protected]
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343