๒๗ พระประทมุ สรุ ราช (ท้าวคาผง) ได้พาพรรคพวกไพร่พลมาต้ังอยู่ที่ ตาบลห้วยแจระแม (บริเวณบ้านท่า บ่อ ในปัจจุบัน) ด้วยความปกติสุขเป็นเวลานานหลายปี จนกระท่ัง พ.ศ. ๒๓๓๔ (จุลศักราช ๑๑๕๓ ตรีศก) อ้ายเชยี งแก้ว ซงึ่ ต้งั บ้านอยู่ทตี่ าบลเขาโองแขวง เมอื งโขง คิดก่อการกบฏ พาพรรคพวกไพรพ่ ลเข้ายึดนครจาปา ศกั ดิ์ พระเจ้าองค์หลวง (ไชยกมุ าร) เจา้ เมืองซ่ึงกาลังป่วยอยู่มอี าการทรดุ หนัก และถึงแก่พิราลยั อ้ายเชียงแก้ว จึงยึดเมอื งนครจาปาศกั ด์ไิ วไ้ ด้ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช จงึ โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานครราชสมี า (ทองอิน) เมื่อคร้ังเป็น พระพรหม ยกกระบัตร ยกกองทัพเมอื งนครราชสีมามาปราบ กบฏอ้ายเชียงแก้ว อย่างไรก็ดีขณะที่กองทัพนครราชสีมายกมาไม่ถึงน้ัน พระประทุมสุรราช (ท้าวคาผง) และ ท้าวฝ่ายหน้า ผู้น้อง ที่ตั้งอยู่บ้านสิงห์ท่า (เมืองยโสธร) ได้ยกกาลังไปรบอ้ายเชียงแก้วก่อน ทั้งสองฝ่ายได้สู้รบ กนั ท่ีบริเวณ แก่งตะนะ (อยใู่ นท้องที่ อาเภอโขงเจียม) กองกาลงั อา้ ยเชียงแก้วแตกพ่ายไป อ้ายเชียงแก้วถูกจับ ได้ และถูกประหารชีวิต เม่ือกองทัพเมืองนครราชสีมายกมาถึงเมืองจาปาศักดิ์ เหตุการณ์ก็สงบเรียบร้อยแล้ว จึงพากันยกกองทัพไปตีพวกข่า ซึ่งต้ังอยู่ฝ่ังตะวันออกแม่น้าโขง จับพวกข่าเป็นเชลยได้เป็นจานวนมาก จาก ความดีความชอบในการปราบปรามกบฏอ้ายเชียงแกว้ นี้เอง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช จึงได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ท้าวฝ่ายหน้าเป็น พระวิไชยราชขัตติยวงศา ครองนครจาปาศักด์ิ และโปรดเกลา้ ฯ แต่งตั้งให้ พระประทุมสุรราช เปน็ พระประทุมวรราชสุรยิ วงศ์ ครองเมืองอุบลราชธานี พร้อม กบั ยกฐานะบ้านห้วยแจระแมข้ึนเป็นเมืองอุบลราชธานี เมื่อวนั จันทร์ แรม ๑๓ ค่า เดือน ๘ จลุ ศักราช ๑๑๕๔ (พ.ศ. ๒๓๓๕) ดังปรากฏ ในพระสุพรรณบตั รต้ังเจา้ ประเทศราชในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ า โลกมหาราช ว่า \"….ดว้ ยพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าผู้ผ่านพิภพกรุงเทพมหานครศรีอยธุ ยา มีพระราชโองการ โปรดเกล้า โปรดกระหม่อม ตังให้พระประทุมเป็นพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ครองเมือง อุบลราชธานีศรีวนา ไลยประเทศราช เศกให้ ณ วันจันทร์ ๒ แรม ๑๓ คา่ เดือน ๘ จลุ ศกั ราช ๑๑๕๔ ปีจัตวาศก...\" (เอยี่ มกมล จัน ทะประเทศ, ๒๕๓๘: ๒๕-๓๐) ภาพที่ ๔-๘ พระราชโองการแต่งตังพระประทมุ วรราชสุรยิ วงศ์ เป็นเจา้ เมอื งอุบลฯ ที่มาภาพ: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ
๒๘ ภายหลังการก่อต้ังเมืองอุบลข้ึนแล้ว ได้มีการต้ังเมืองสาคัญในเขตปกครองของเมืองอุบลราชธานี ปจั จบุ นั ข้นึ อีกหลายเมืองดงั นี้ ๑. เมืองยโสธร เดิมทีเดียวมีฐานะเป็นหมู่บ้าน ช่ือบ้านสิงหท์ ่า ท้าวฝ่ายหน้า (บุตรพระตา) เคยอพยพ ครอบครัว และไพร่พล มาต้ังหลักแหล่ง อยู่แล้ว คร้ังหนึ่ง ใน ราวปี พ.ศ. ๒๓๒๙ แตเ่ ม่ือคราวปราบกบฏ อ้าย เชียงแก้ว เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๓๔ ท้าวฝ่ายหน้าก็ได้รับ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวิไชยราชสุริยวงศ์ ขัตติ ยวงศา ครองเมอื งนครจาปาศักด์ติ อ่ จากพระเจา้ องคห์ ลวง (ไชยกุมาร) ทถี่ ึงแก่กรรมลง ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๓๕๗ ราชวงศ์ (สงิ ) เมืองโขง ซึ่งเป็นญาติกบั พระวิไชยราชสุรยิ วงศ์ขัตติยวงศา เจ้าเมืองนครจาปาศกั ดิ์ไม่พอใจ ที่จะ ทาราชการกับเจ้าเมืองนครจาปาศักด์ จึงพาครอบครัวไพร่พลอพยพไปต้ังอยู่ที่บ้านสิงห์ท่า พร้อมมีหนังสือ กราบบังคมทูลขอยกข้ึนเป็นเมือง พระบาทสมเด้จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต้ัง บ้านสิงห์ท่า เป็นเมืองยโสธร เม่ือปี พ.ศ.๒๓๕๗ พร้อมกับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ ราชวงศ์ (สิง) เมืองโขง เป็น พระสุนทรราชวงษาเจา้ เมืองยโสธร พร้อมโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้งใหท้ ้าวสีชา (หรือ สีทา) เปน็ อุปฮาด ท้าวบตุ รเป็น ราชบุตร ข้ึนตรงต่อกรุงเทพฯ โดยให้ผูกส่วย น้ารัก ๒ เลกต่อ เบ้ีย ป่าน ๒ เลกตอ่ ขอด (หม่อมอมรวงศว์ ิจิตร, ๒๕๐๖ อ้างถงึ ใน ระลึก ธานี, ๒๕๕๔: ๒๘) ๒. เมอื งเขมราฐในปี พ.ศ.๒๓๕๗ คอื ปเี ดยี วกบั ทีโ่ ปรดเกลา้ ฯ ตั้งเมืองยโสธรน่ันเอง อปุ ฮาดก่า อุปฮาด เมอื งอุบลราชธานไี ม่พอใจทจ่ี ะทาราชการกบั พระพรหมวรราชสุรยิ วงศ์ (ทา้ วทิดพรหม) เจ้าเมอื งอุบลราชธานี คนท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๓๓๘-๒๓๘๘) จงึ อพยพครอบครัวไพร่พลไปตั้งอย่ทู ่ี บ้านโคกกงพะเนยี ง พร้อมกับขอพระบรม ราชานญุ าตตงั้ ข้นึ เปน็ เมอื ง พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยจงึ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านโคกกง พะเนยี ง เป็นเมือง \"เขมราษฎร์ธาน\"ี ขนึ้ กรงุ เทพฯ พร้อมกันนน้ั ก็ โปรดเกลา้ ฯ ตั้งอุปฮาดกา่ เปน็ พระเทพวงศ์ศาเจา้ เมือง โดยกาหนดให้ ผูกส่วยน้ารัก ๒ เลกตอ่ เบี้ย ป่าน ๒ ขดต่อ ๑๐ บาท เมือง \"เขมราษฎรธ์ านี\" ปัจจบุ ันคืออาเภอ เขมราฐ จังหวดั อบุ ลราชธานี (หมอ่ มอมรวงศ์วิจติ ร, ๒๕๐๖ อา้ งถึงใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๒๘) ๓. เมอื งโขงเจยี ม ต้ังข้นึ ในปี พ.ศ.๒๓๖๔ ท้ังน้เี พราะขุนนกั ราชนาอินทร์ ผรู้ ักษาตาบลโขงเจยี ม มี ความผิด เจ้าเมืองนคร จาปาศกั ด์ิ (โย)่ จงึ จบั มาลงโทษ แล้วขอพระบรมราชานญุ าต ต้ังทา้ วมหาอนิ ทร์ บุตรขุน นักอินทวงษ์เปน็ พระกาแหงสงคราม ยกบ้านนาค้อข้นึ เป็นเมืองโขงเจียม ข้นึ ตรงต่อเมืองนครจาปาศกั ด์ิ (หมอ่ ม อมรวงศว์ ิจิตร, ๒๕๐๖ อา้ งถึงใน ระลึก ธานี, ๒๕๕๔: ๒๙) แต่พอถึง รชั กาลพระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยู่หัว คงดว้ ยเหตุผลทางการเมืองบางประการจึงโปรดเกล้าฯ ใหเ้ มืองโขงเจียมข้นึ ตรงตอ่ เมืองเขมราฐเมื่อ พ.ศ.๒๓๗๑ (ระลึก ธานี, ๒๕๔๖: ๑๗) ๔. เมืองเสนางคนิคม ต้งั ข้นึ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๓๘๘ ทงั้ นเี้ พราะพระพรหมวรราชสุรยิ วงศ์ (ทา้ วทิดพรหม) เจ้าเมอื งอบุ ลราชธานคี นท่ี ๒ ไดน้ า พระศรีสุราช เมืองตะโปน ทา้ วอปุ ฮาด เมืองชมุ พร ทา้ วฝ่าย เมอื งผาปัง ทา้ ว มหาวงศ์ เมืองคาง พาครอบครัวไพร่พล อพยพมาจากฝง่ั ซา้ ยแมน่ า้ โขงมาพึ่งพระบรมโพธสิ มภาร และตั้ง บ้านเรือนอยู่ทีบ่ า้ นช่องนาง แขวงเมอื งอุบลราชธานี เขา้ เฝ้าพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทก่ี รงุ เทพฯ จึงโปรดเกลา้ ฯ ตง้ั บ้านชอ่ งนางเปน็ เมืองเสนางคนิคม ต้ังพระศรีสุราชเป็นพระศรสี ินธสุ งคราม เจา้ เมือง ให้ท้าว ฝ่ายเมืองผาปงั เปน็ อคั รฮาด ท้าวมหาวงส์เมืองคาง เปน็ อัครวงศร์ ักษาเมืองเสนางคนคิ ม ขนึ้ ตรงต่อเมือง อุบลราชธานี แตเ่ มื่อต้ังเมืองจรงิ นั้น เจา้ เมอื งกลับพาพรรคพวกไพร่พลไปตัง้ เมืองทบี่ ้านห้วยปลาแดก หาไดต้ ้ังที่ บา้ นช่องนางดังทีโ่ ปรดเกล้าฯ ไม่ (หมอ่ มอมรวงศ์วิจติ ร, ๒๕๐๖ อ้างถงึ ใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๒๙-๓๐) ๕. เมืองเดชอุดม ในปีเดียวกบั ตง้ั เมืองเสนางคนคิ มน้ีเอง หลวงธิเบศร์ หลวงมหาดไทย หลวงอภัย กรมการเมืองศรสี ะเกษ ไมพ่ อใจท่จี ะทาราชการกับพระยาวิเศษภกั ดีเจา้ เมืองศรสี ะเกษ จึงอพยพครอบครวั ไพร่ พลไปตงั้ อยบู่ ้านนา้ โดมใหญ่ ซึง่ ตงั้ อยู่พรมแดนระหวา่ งเมืองนครจาปาศักดิ์ อุบลราชธานี ขขุ ันธ์ ศรีสะเกษ ติดต่อกนั มีไพร่พลทั้งหมด ๒,๑๕๐ คน และมีเลกฉกรรจ์ ๖๐๖ คน พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว จงึ
๒๙ โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านน้าโดมใหญข่ ึน้ เป็นเมืองเดชอดุ ม เมอื่ วันเสาร์ แรม ๕ คา่ เดอื น ๘ พ.ศ.๒๓๘๘ (จ.ศ. ๑๒๐๗) พร้อมกันน้ันกโ็ ปรดเกลา้ ฯ ตั้งหลวงธิเบศร์เป็นพระศรสี ุระ ใหห้ ลวงมหาดไทยเป็นหลวงปลัด ใหห้ ลวง อภยั เปน็ หลวงยกระบตั ร รักษาเมือง เดชอุดมขน้ึ ตรงต่อกรุงเทพฯ (หมอ่ มอมรวงศว์ ิจติ ร, ๒๕๐๖ อ้างถึงใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๓๐) ๖. เมืองคาเขื่อนแกว้ ต้งั ข้ึนเม่ือปี พ.ศ.๒๓๘๘ ท้ังนเี้ พราะพระสหี นาท พระไชยเชษฐา นายครวั เมือง ตะโปน ไดพ้ าครอบครัว ไพร่พลมาตงั้ อยู่ ท่บี ้าน คาเมืองแก้ว แขวงเมืองเขมราฐ พระเทพวงศา (บญุ จันทร์) เมอื งเขมราฐ จึงกราบบังคมทูลเพื่อขอต้ังเป็นเมือง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า เจา้ อยู่หัว จงึ โปรดเกล้าฯ ให้ ยกฐานะบา้ นเมอื งแก้ว ขน้ึ เป็นเมืองคาเขื่อนแกว้ ขนึ้ กับเขมราฐ (หม่อมอมรวงศ์วิจติ ร, ๒๕๐๖ อา้ งถงึ ใน ระลึก ธานี, ๒๕๕๔: ๓๐-๓๑) ๗. เมอื งบัว (ปจั จบุ ันคือ อาเภอบุณฑริก) ตัง้ ขึ้นเม่ือปี พ.ศ.๒๓๙๐ ท้งั นี้เพราะเจา้ นครจาปาศักดิ์ (นาก) เห็นวา่ การท่ีโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังเมอื ง เดชอุดม ข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๓๘๘ นน้ั เป็นผลกระทบกระเทอื นต่อเขตแดน เมือง นครจาปาศกั ดม์ิ าก เพราะจะเปน็ ผลให้เขตแดน ทางทิศตะวันตก ลดนอ้ ยถอยลง จงึ นาเรอื่ งขน้ึ กราบบังคมทลู ขอยกบา้ นดงกระชู (หรือบา้ นไร)่ ขน้ึ เป็นเมือง เพื่อกนั เขตแดนเมืองเดชอุดมไว้ จึงโปรดเกล้าฯ ใหย้ กบ้านดง กระชู ข้ึนเป็นเมืองบัว ขึน้ ตรงต่อเมืองนครจาปาศักด์ิ และให้ท้าวโสเปน็ พระอภยั ธิเบศร์วเิ ศษสงคราม (หม่อม อมรวงศว์ ิจิตร, ๒๕๐๖ อ้างถงึ ใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๓๑) ๘. เมอื งอานาจเจริญ ตัง้ ข้นึ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๐๑ พระเทพวงศาเจา้ เมืองเขมราฐมใี บบอกกราบบงั คมทูล ขอตง้ั บ้านค้อใหญ่ขนึ้ เป็นเมือง จึงโปรดเกล้าฯ ใหต้ ัง้ บา้ น คอ้ ใหญ่ขน้ึ เป็นเมืองอานาจเจรญิ ขึน้ ตรงต่อเมือง เขมราฐ ผูกส่วยเงินแทนผลเร่วปลี ะ ๑๒ ชงั่ ๑๘ ตาลึง ตัง้ ทา้ วจันทบรม เปน็ พระอมรอานาจ เจา้ เมือง ต้ังท้าว บตุ ตะเปน็ อุปฮาด ตง้ั ทา้ วสิงหราชเป็นราชวงศ์ ตง้ั ทา้ วสรุ โิ ยเป็นราชบุตร (หมอ่ มอมรวงศ์วจิ ิตร, ๒๕๐๖ อา้ งถงึ ใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๓๑-๓๒) ๙. เมืองพิบลู มังสาหารตง้ั ขน้ึ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๐๖ พระพรหมราชวงศา (กุทอง) เจา้ เมืองอุบลราชธานี คน ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๘๘-๒๔๐๙) ไดม้ ีใบบอก กราบเรยี น เจา้ พระยา กาแหงสงคราม เจ้าเมืองนครราชสมี า เพ่ือนา ความ กราบบังคมทลู ขอต้ังบ้านกวา้ งลาชะโด เป็นเมือง และขอตงั้ ทา้ วจมุ มณี เป็นเจ้าเมือง พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ้ังบ้านกวา้ งลาชะโด เป็นเมอื ง \"พบิ ูลย์มังสาหาร\" เมอ่ื วนั อาทติ ย์ แรม ๑๑ คา่ เดือน ๑๒ และ โปรดเกล้าฯ ตงั้ ท้าวธรรมกติ ติกา (จมุ มณ)ี เปน็ พระบารุงราษฎร์เจา้ เมือง ให้ทา้ วโพธิสาร ราช (เสือ) เปน็ อุปฮาด ท้าวสฐี าน (สาง) เป็นราชวงศ์ ทา้ วขตั ตยิ ะเปน็ ราชบุตร โดยกาหนดให้ขนึ้ ตรงต่อเมือง อบุ ลราชธานี (หมอ่ มอมรวงศ์วิจิตร, ๒๕๐๖ อ้างถึงใน ระลกึ ธานี, ๒๕๕๔: ๓๒) ๑๐. เมืองตระการพืชผลตง้ั ข้ึน ในปี พ.ศ.๒๔๐๖ พร้อมๆ กับการขอตัง้ เมือง \"พบิ ลู มงั สาหาร\" พระ พรหมราชวงศา เจ้าเมืองอุบลราชธานี กข็ อตั้ง บ้านสะพอื ข้นึ เปน็ เมืองด้วย และขอให้ท้าวสุริยวงศ์ (อ้ม) เป็น เจา้ เมอื ง จึงโปรดเกล้าฯ ต้งั บ้านสะพือขนึ้ เป็นเมอื งตระการพืชผล ให้ทา้ วสรุ ิยวงศ์ (อม้ ) เปน็ “พระอมรดลใจ” เจ้าเมือง เมือ่ วนั อาทติ ย์แรม ๑๐ คา่ เดอื น ๑๒ โดยกาหนดให้ ขึ้นตรงต่อเมืองอุบลราชธานี ๑๑. เมืองมหาชนะชัย ตัง้ ขนึ้ พร้อมๆ กบั ขอตงั้ เมืองพิบลู ย์มงั สาหาร และเมืองตระการพืชผลนน้ั เอง ก็ ไดข้ อตง้ั บา้ นเวินไชย ขนึ้ เป็นเมืองด้วย ซึ่งก็ไดร้ บั พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ตั้งขึน้ เป็นเมืองมหาชนะไชย ตัง้ ให้ ทา้ วคาพนู เป็นพระเรืองไชยชนะ เจา้ เมือง ท้าวโพธิราช (ผา) เป็นอปุ ฮาด ทา้ ววรกติ ตกิ า (ไชย) เปน็ ราชวงศ์ ทา้ ว อุเทน (หอย) เปน็ ราชบตุ ร ขน้ึ ตรงต่อเมืองอบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๒๒ กราบบงั คมทลู ขอตัง้ บ้านท่ายักขุ เป็นเมือง ชานุมานมณฑล บา้ นพระเหลา เป็นเมอื งพนานิคม ให้เมืองทั้งสอง ขึน้ ตรงต่อเมืองอบุ ลราชธานี (สาหรับรายละเอยี ดของการตั้งเมืองตา่ งๆ ดังกล่าวแล้วดูรายละเอียดได้ใน ระลึก ธานี “อบุ ลราชธานีในอดตี ” (๒๓๓๕-๒๔๗๕), ๒๕๔๖: ๑๖-๗๒)
๓๐ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมืองอุบลราชธานีมีฐานะเป็นเมืองประเทศราชท่ีมีเจ้าปกครอง เชน่ เดียวกันกับเมืองหลวงพระบางและเมืองเวียงจันทน์ คือปกครองด้วยคณะ “อาญาสี่” อนั ประกอบด้วย เจ้า เมือง อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ตามโบราณราชประเพณีล้านช้าง โดยเจ้านายในตระกูลพระตา พระวอ ได้ ปกครองสืบต่อกันมา (เติม วิภาคย์พจนกิจ, ๒๕๓๐: ๓๓๕) คณะอาญาส่ีที่ปกครองเมืองอุบลราชธานี ก่อนที่ ข้าหลวงต่างพระองค์ จะเข้ามาปกครองเมอื งอุบลราชธานี ก่อนปี พ.ศ.๒๔๒๕ นนั้ เจา้ เมอื งอุบลราชธานีในอดีต ทพ่ี ระมหากษัตรยิ ์แหง่ กรงุ รตั นโกสินทรท์ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั มีจานวนทง้ั สิน้ ๔ ทา่ นดงั นี้ ภาพที่ ๔-๙ พระแกว้ สมบตั ขิ องเจ้านายเมืองอบุ ลฯ ภาพที่ ๔-๑๐ พระมาลา หมวกยศของเจา้ เมืองอุบลฯ ท่ีมาภาพ: บญุ ชัย ทองเจริญบัวงาม ๒๕๕๖. ภาพที่ ๔-๑๑ เสอื เขม็ ขาบพระราชทานสาหรับเจา้ เมืองอุบลฯ ภาพท่ี ๔-๑๒ พานหมากพูล เคร่ืองยศของ เจ้าเมืองอุบลฯ ทมี่ าภาพ: บญุ ชัย ทองเจรญิ บัวงาม ๒๕๕๖.
๓๑ ภาพที่ ๔-๑๓ รปู ปั้นหุ่นจาลอง พระประทมุ วรราชสรุ ยิ วงศ์(ท้าวคาผง) ในงานสักการะท้าวคาผง ทม่ี าภาพ: สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๓. ๑. พระประทมุ วรราชสรุ ิยวงศ์ (พ.ศ.๒๓๓๕-๒๓๓๘) นามเดมิ “ท้าวคาผง” บุตรเจ้าพระตา เปน็ บคุ คล สาคัญ ในการสร้างบ้านแปงเมืองอุบล โปรดให้สร้างคู ประตูเมือง หอโฮงเจ้านายต่างๆ สร้างวัดหลวง และ เสนาสนะ ไดแ้ ก่ สมิ อาฮาม หอระฆงั พระพุทธรปู สง่ิ ก่อสรา้ ง ล้วนเลยี นแบบศิลปะแบบหลวงพระบาง ๒. พระพรหมวรราชสรุ ิยวงศ์ (พ.ศ.๒๓๓๘-๒๓๘๘) นามเดิม พรหม น้องชายพระประทุม (คาผง) เป็น บตุ รชายคนเล็กของ เจ้าพระตา เป็นผู้ก่อสร้างวัดป่าหลวง (วัดป่าหลวงมณีโชติ ปัจจุบันคือ วัดมหาวนารามฯ) นาไพร่พลผู้ศรทั ธาสร้างพระพุทธรูป องค์ใหญ่ก่ออิฐถือปูน เป็นท่ี เคารพสักการะของชาวอุบลฯ มีชื่อว่า “พระ เจา้ ใหญ่อนิ ทร์แปลง” ๓. พระพรหมราชวงศา (พ.ศ.๒๓๘๘-๒๔๐๙) นามเดมิ กุทอง สุวรรณกูฏ บุตรพระพรหม (ทิดพรหม) ในสมัยของท่าน พระพุทธศาสนาแบบธรรมยุติกนิกาย ได้แพร่หลายเข้ามาในเมืองอุบลฯ เพ่ือสนองพระราช ประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้สร้างวัดสุปัฏนาราม และบรรดา อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบตุ ร ร่วมกัน สร้างวดั ศรีทอง (วดั ศรีอุบลรตั นาราม) วัดสทุ ศั น์ ในช่วงนเ้ี กดิ เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมัย น้ีคอื การเข้ารว่ มสงคราม ขบั ไล่ญวน ๔. เจา้ พรหมเทวานเุ คราะห์วงศ์ (พ.ศ.๒๔๐๙-๒๔๒๕) เจา้ พรหมเทวา (เจ้าหน่อคา) เป็นพีช่ ายเจ้าจอม มารดาด้วงคาใน รัชกาลที่ ๔ เจ้าราชวงศ์ จาปาศักด์ิ บุตรเจ้าเสือหลานเจ้าอนุวงศ์ ในสมัยของท่านได้สร้างวัด ไชยมงคล ซึง่ เป็นวัดธรรมยุตนิกายแห่งที่สี่ ในจังหวัดอบุ ลราชธานี สิ่งที่พึงสังเกต คอื เกิดความขัดแย้งระหว่าง เจ้าเมืองอุปฮาด ราชวงศ์ รุนแรง เน่ืองจากฝ่ายเจ้านายอุบลฯ ไม่พอใจที่ โปรดเกล้าฯ แต่งต้ังให้ เจ้าหน่อคา เป็นเจ้าเมือง ในสมัยน้ันจึง เกิดการทะเลาะ วิวาทขัดแย้งกัน กลั่นแกล้งกันอยู่เสมอ ท้ายที่สุด ราวปี พ.ศ.
๓๒ ๒๔๑๒ เกิดกรณี เมืองไซแง ได้เกิดความบาดหมาง ทวีความรุนแรง ต่างฝ่ายต่างกล่าวโทษซ่ึงกันและกัน เจ้า พรหม กล่าวหาวา่ อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร ขัดขวางไม่ให้เก็บเงินส่วยจากไพร่ ข้างฝา่ ยอุปฮาด ราชวงศ์ ราช บุตร ก็กล่าวหาว่า เจ้าพรหม ฉ้อราษฎร์บังหลวง ท้ังสองฝ่ายจึงลงมาสู้ความกันท่ีกรุงเทพฯ จนพากันถึงแก่ อสัญกรรม ต่างฝ่ายต่างสูญเสียทรัพย์สินส่วนตัวเป็นจานวนมาก พ.ศ. ๒๔๑๘ เกิดศึกฮ่อ เจ้าพรหมเทวาถูก เกณฑไ์ ปราชการทัพฮอ่ หลังศกึ ฮอ่ ไดอ้ ัญเชิญพระพุทธรูป ๒ องค์คือ พระทองทิพยแ์ ละพระทอง ประดิษฐานไว้ ที่วดั ศรีทอง และวัดไชยมงคล ภาพที่ ๔-๑๔ ตราประทับ เจา้ เมืองอุบลฯ ทม่ี าภาพ: บุญชัย ทองเจริญบวั งาม, ๒๕๕๗. การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก ฝร่ังเศสเริ่มทาสงครามกับเวียดนามในปี พ.ศ. ๒๔๐๑ และ สามารถยึดครองเวียดนามบางส่วนไว้ได้ในปี พ.ศ. ๒๔๐๕ พอปี พ.ศ. ๒๔๐๖ ฝรั่งเศสได้ใช้กาลังบีบบังคับให้ กัมพูชายอมอยู่ในอารักขา เน่ืองจากแผ่นดินกัมพูชาในช่วงนั้นอยู่ใต้การปกครองของรัฐบาลไทย ดังนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๑๐ รฐั บาลฝรัง่ เศสจงึ บีบบังคบั ให้ไทยทาสัญญายอมรบั อานาจของฝร่ังเศสเหนือดินแดนกัมพชู า ยอม ลงนามสนธิสัญญากับฝรั่งเศสในวันท่ี ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๑๐ (เอ่ียมกมล จันทะประเทศ, ๒๕๓๘: ๖๕- ๖๖) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงดาเนินการปรับปรุงประเทศ ท้ังในส่วนกลางและหัว เมือง โดยเฉพาะหัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังข้าหลวงกากับราชการจาก กรุงเทพฯ ไปประจาท่ีเมืองอบุ ลราชธานีและเมอื งจาปาศักดิ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๕ (ระลึก ธาน,ี ๒๔๒๕: ๑๗๑) ดังนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ พระองค์ทรงปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ ด้วยการแต่งต้ังพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงประจกั ษศ์ ลิ ปาคม พระเจา้ นอ้ งยาเธอกรมหลวงพชิ ิตปรีชากร พระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงสรรพสิทธิ ประสงค์ มาเป็นข้าหลวงประทับท่ีหนองคายและอุบลราชธานี ซึ่งเป็นมณฑลที่ติดต่อกับฝร่ังเศส โดยให้ดารง ตาแหน่ง “ข้าหลวงต่างพระองค์” พร้อมจัดแบ่งหัวเมืองต่างๆ ที่ดาเนินการไว้ในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ ใหม่ให้ เหมาะสมยงิ่ ข้ึน โดยแบ่งออกเป็น หัวเมอื งลาวเฉียง ๑ หัวเมอื งลาวพุงขาว ๑ หัวเมืองลาวพวน ๑ หวั เมืองลาว กาว ๑ หวั เมอื งลาวกลาง ๑ หัวเมืองเขมร ๑ (อุราลกั ษณ์ สถิ ิรบุตร, ๒๕๒๖: ๘๖)
๓๓ ภาพท่ี ๔-๑๕ พระรปู พระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงพชิ ติ ปรีชากร ทม่ี าภาพ: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ เมืองอุบลฯ น้ันได้ถูกจัดอยู่ใน “หัวเมืองลาวกาว” ซ่ึงมีหัวเมืองฝ่ายตะวันออกและหัวเมือง ตะวันออกเฉียงเหนือเขา้ ด้วยกัน รวม ๕๕ เมือง ซงึ่ มีหัวเมืองใหญ่ ๒๑ เมอื งอนั ได้แก่ นครจาปาศักด์ิ เชียงแตง แสนปาง สที นั ดร สาละวนั อตั ตะปอื คาทองใหญ่ สรุ นิ ทร์ ขุขันธ์ สังขะ เดชอดุ ม ศรีสะเกษ ยโสธร อุบลราชธานี เขมราฐธานี กมลาสยั กาฬสนิ ธ์ุ ภแู ล่นชา้ ง สวุ รรณภูมิ ร้อยเอ็ด และมหาสารคาม โปรดเกล้าให้ พระเจ้านอ้ งยา เธอกรมหลวงพิชิตปรชี ากร เปน็ ข้าหลวงตา่ งพระองค์ ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๔๓๔-๒๔๓๖ ต่อมาเม่ือกรมหลวงสรรพ สทิ ธิประสงค์ ทรงยา้ ยมารบั มอบอานาจต่อ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๓๖-๒๔๕๓ ภาพที่ ๔-๑๖ พระรูป พระเจา้ นอ้ งยาเธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ทีม่ าภาพ: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ
๓๔ ภาพที่ ๔-๑๗ ภาพถ่าย หมอ่ มเจียงคา ชุมพล ณ อยธุ ยา ท่มี าภาพ: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ เจา้ นายเมอื งอุบลฯ ได้มีการเชื่อมความสัมพนั ธก์ ับเจ้านายจากกรงุ เทพฯ เม่อื กรมหลวงสรรพสทิ ธิ ประสงค์ เสด็จมาประทับที่เมอื งอบุ ลราชธานีแล้วทรงพอพระทยั “นางเจยี งคา” ธดิ าของทา้ วสรุ ินทรช์ มพู (หมัน่ ) บตุ รของราชบุตรสุ่ย ราชบตุ รเมืองอุบลราชธานกี ับนางดวงจนั ทร์ จึงทรงขอมาเป็นชายาต่อญาตผิ ู้ใหญ่ ของนางเจียงคาคือ พระอบุ ลศกั ด์ิประชาบาล (กุคา สุวรรณกูฏ) พระอบุ ลการประชานิตย์ (บุญชู พรหมวงศา นนท)์ พร้อมดว้ ยญาตผิ ใู้ หญ่มคี วามยนิ ดถี วายนางเจยี งคาให้เปน็ ชายา ซึง่ หม่อมเจยี งคา ต่อมาทรงมโี อรส ๒ องค์คอื หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชมุ พล และหม่อมเจา้ กมลีสาน ชุมพล (เติม วภิ าคย์พจนกจิ , ๒๕๓๐: ๔๒๐) นอกจากนน้ั กรมหลวงสรรพสิทธปิ ระสงค์ ไดห้ ม่อมบญุ ยนื (หมอ่ มบญุ ยืน ชุมพล ณ อยุธยา) ญาตหิ ม่อมเจยี งคา มาเป็นชายาอีกคน ได้โอรสธิดา ๔ องคค์ อื หม่อมเจา้ หญงิ บุญจิราธร จุฑาธชุ (จรี บญุ นี ชมุ พล) หมอ่ มเจ้าฐฏิ ศักดิ วบิ ูลย์ หมอ่ มเจ้าธานีเสิกสงดั หมอ่ มเจา้ หญิงนงนติ ย์จาเนยี ร และกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ยังได้ทายาทจาก ชายาคนอ่ืนๆอกี คือ หม่อมเจา้ ชนยิ บตุ ร ชุมพล จากหม่อมเมียง คนเมืองศรีสะเกษ และหม่อมเจา้ ชมปกบตุ ร ชุม พล จากหม่อมปุก คนเมืองอุบลฯ (เอย่ี มกมล จันทะประเทศ, ๒๕๓๘: ๑๒๒-๑๒๔)
๓๕ ภาพท่ี ๔-๑๘ ภาพถา่ ยเขม็ กลดั รปู หมอ่ มบญุ ยืน (บนขวา) ภาพท่ี ๔-๑๙ พระรปู หมอ่ มเจา้ หญงิ บญุ จริ าธร (ชมุ พล) จุฑาธุช ที่มาภาพ: มล. ภมู ใิ จ ชมุ พล, ๒๕๕๖. ๔.๓ สภาพองคค์ วามร้ทู ่ีมอี ยู่ ในวิถีการดาเนินชีวิตของบุคคลในสังคม วัฒนธรรมแต่ละอย่างนั้นทาให้บุคคลมีการติดต่อสัมพันธ์กัน ในหลายด้าน วัฒนธรรมการทอผ้าแบบของเจ้านายเมืองอุบลฯ ซ่ึงนับวา่ เปน็ หนึ่งในหลายๆ ตัวอย่างของสังคม เจ้านายท่ีต้องใช้ผ้าและลวดลายผ้าเป็นสิ่งกาหนดสถานภาพชนช้ันเจ้านาย ทาให้เกิดพัฒนาการศิลปะส่ิงทอท่ี แปรผนั ตามปัจจัยทางสังคม ในขณะเดียวกันความสัมพนั ธ์กนั กบั ชุมชนหรือชนเผา่ ในพืน้ ทต่ี ิดตอ่ กนั กก็ ่อใหเ้ กิด ความสัมพันธ์กันในด้านเทคนิคการทอผ้า หรืออาจเกิดการหยิบยืมผ้าพ้ืนถิ่นของชนเผ่าดั้งเดิมในพื้นท่ีมา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับตนเอง ในขณะเดียวกับการเล่ือนฐานะของเจ้านายเมืองอุบลฯ ที่ได้เสกสมรสกับ เจ้านายเช้ือพระวงศ์จากกรุงเทพฯ ได้ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนและรับอิทธิพลลวดลายสยามมาประยุกต์ใช้ใน ผ้าเจ้านายเมืองอุบลฯ ทาให้การทอผ้าและการออกแบบผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯมีพัฒนาการท่ีแตกต่างจาก เมืองอื่นๆในภูมิภาคเดียวกัน แม้แต่เมืองจาปาศักด์ิ (สปป.ลาว) ท่ีเกี่ยวดองกันทางเครือญาติ แสดงให้เห็นว่า เจ้านายเมอื งอุบลฯ ได้พยายามท่ีจะมีรูปแบบผ้าทอและลวดลายเอกลักษณ์ของตนเอง เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่ง ภูมิปัญญาที่ได้งอกงามข้ึนในเมืองอุบลฯ ไม่ได้ตกอยู่ภายใต้อานาจของอาณาจักรล้านช้าง อันเป็นถิ่นฐานเดิม ก่อนเคล่ือนย้ายลงมาตั้งเมืองอุบลฯข้ึน ในด้านการวิเคราะห์ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ นั้นสามารถ พจิ ารณาสภาพองค์ความรู้ท่ีมีอยู่เดิม ในแง่ความสัมพนั ธข์ องผา้ กับสง่ิ ต่างๆ ทั้งในแง่บทบาทอานาจของสถาบัน เจ้านายเมืองอุบลฯ ในแง่ความสัมพันธ์ของเจ้านายกับชุมชนในพ้ืนที่ ในแง่การใช้ลวดลายผ้าเป็นการกาหนด สถานภาพเจ้านาย ความสัมพันธ์ทางศิลปะลายผ้าระหว่างเจ้านายเมืองอุบลฯ กับลายผ้าของราชสานักสยาม (กรุงเทพฯ) ตลอดจนความสัมพันธ์ทางศิลปะลายผ้าระหว่างเจ้านายเมืองอุบลฯกับลายผ้าของชนเผ่าท่ีเป็น ชมุ ชนพ้ืนเมืองท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณเมืองอุบลฯมาก่อน โดยอาจจาแนกสภาพองค์ความรูท้ ี่มอี ยู่เดิมเปน็ ประเด็น ได้ดงั นี้
๓๖ ๑). บทบาทผา้ ทอกับการกาหนดสถานภาพเจา้ นายกบั กลุ่มชาวบ้าน ในสมัยก่อนจะมีการใชผ้ ้าไหม และผ้าอ่ืน ๆ ส่งส่วยหลวงโดยผ่านเจ้านายเมืองอุบล ซ่ึงนับว่าก่อให้เกิดผลทางด้านการเมืองการปกครอง ลักษณะความสัมพันธ์ดังกล่าวก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด เเรงงาน วัสดุ เทคนิควิธีการทอผ้าตลอดจน ผลผลิตต่าง ๆ ทาให้มีการยอมรับสภาพของกนั เเละกัน โดยมกี ลุ่มเจ้าเมอื งเป็นส่ือกลางระหว่างชาวบ้านกับราช สานักในลักษณะของการเผยเเพร่ฝมี ือการทาผ้าทอ เป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ผ้าทอ ในสังคมสมัยนั้น เกิดขึ้นท้ังในระดับชาวบ้านท่ัวไปและระดับเจ้านาย เช่นกลุ่มเจ้านายยอมรับผ้าทอของชาวบ้านมาใช้สอยใน ชีวิตประจาวันมากขึ้น ส่วนชาวบ้านเองก็ยอมรับการใช้ผ้าทอบางอย่างท่ีแสดงสถานภาพของเจ้านาย เเต่ถ้า อยากจะใช้บา้ งเพื่อความงดงามก็อาจมีการกระทาที่ใช้วัสดุอน่ื ทดแทน เช่น ชาวบ้านจะใช้สีเหลืองแทนไหมคา ทเ่ี ปน็ วสั ดลุ า้ คา่ ช้ันสงู ของกล่มุ เจา้ นาย เปน็ ตน้ ภาพที่ ๔-๒๐ ภาพถา่ ยในรัชสมยั รัชกาลที่๕ การแต่งกายสตรลี กู หลานเจา้ นาย เมอื งอบุ ลฯ ที่มาภาพ: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ๒) บทบาทความสัมพันธท์ างศิลปะลายผา้ ทอระหว่างเจ้านายเมืองอุบลฯกับลายผ้าของราชสานัก สยาม (กรุงเทพฯ) เน่ืองจากมีการเล่ือนฐานะของเจ้านายเมืองอุบลฯ ท่ีได้เสกสมรสกับเจ้านายเช้ือพระวงศ์ จากกรงุ เทพฯ ก็ทาให้เกิดการแลกเปลยี่ นและรับอิทธิพลลวดลายสยามมาประยุกต์ใช้ในผ้าเจ้านายเมืองอุบลฯ ทาให้การทอผ้าและการออกแบบผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ มีพัฒนาการท่ีเกี่ยวข้องกับศิลปะจากราชสานัก สยาม ในเร่ืองสภาพองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิม ในประเด็นน้ียังไม่ได้มีการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่าง ลวดลายผ้าของทัง้ สองวฒั นธรรมว่ามกี ารประยกุ ตล์ วดลายอย่างไรบา้ ง จงึ จาเป็นต้องคน้ ควา้ เพ่ิมเติม ๓) บทบาทผ้าทอกับความสัมพันธ์ทางศิลปะลายผ้าระหว่างเจ้านายเมืองอุบลฯกับลายผ้าของชน เผ่าที่เป็นชุมชนพื้นเมืองท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณเมืองอุบลฯมาก่อน เป็นธรรมดาที่มนุษย์ย่อมมีการแลกเปลี่ยน และประยุกต์ศิลปะของชุมชนท่ีมีการอยู่อาศัยในพื้นท่ีใกล้เคียงหรืออยู่ในพ้ืนที่เดียวกัน ในเร่ืองสภาพองค์ ความรู้ที่มีอยู่เดิม ในประเด็นนี้ยังไม่ได้มีการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างลวดลายผ้าดั้งเดิมของ วัฒนธรรมราชสานักล้านช้างท่ีเจ้านายเมืองอุบลฯ เคยอยู่อาศัยมาก่อนกับวัฒนธรรมพ้ืนถิ่นของพื้นที่เมือง อบุ ลฯ ว่า มีการประยุกตล์ วดลายของชนเผา่ ในพน้ื ถิ่นอย่างไรบา้ ง ในงานวจิ ัยน้ีจะช่วยเตมิ เต็มข้อมลู ดังกล่าว
๓๗ ๔). บทบาทผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯกับผ้าทอพื้นเมืองของชุมชน ประเด็นนี้จะเห็นได้ว่า เจา้ นายเมืองอุบลฯ นอกจากจะมกี ารทอผา้ พิเศษแบบเจ้านายขึ้นใช้สอยแล้ว ยงั มีการเลอื กใช้ผา้ พืน้ เมอื งเพอื่ ใช้ สอยในชีวิตประจาวัน หรือใช้ในงานตามประเพณีหรือพิธีกรรมความเชื่อต่างๆ ใช้ในพิธีขอขมา ญาติผู้ใหญ่ใน พิธีแต่งงาน ซึ่งผ้าที่ใช้ขอขมานี้ฝ่ายเจ้าสาวต้องเป็นฝ่ายจัดหา ทาให้มีการอบรมสั่งสอนทางสังคมในด้านการ ถ่ายทอดวิชาการทอผ้า ช่วยเหลือกันในด้านแรงงาน แลกเปล่ียนประสบการณ์การทอผ้าซึ่งกันและกัน ฉะนั้น จะเห็นได้ว่า แต่ละชมุ ชนก็มีฝมี ือความถนดั ในการทอผ้าต่างชนดิ กัน เช่น บางชุมชนมชี ื่อเสียงด้านการทอผ้าขิด บางชุมชนมีความชานาญในการทอผ้าไหมมัดหมี่ บางชุมชนมีฝมี อื ในการทอผ้าหัวซ่นิ ลายจกดาว เปน็ ตน้ ๕). ผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯกับการฟื้นฟูผ้าโบราณข้ึนใหม่ในปัจจุบัน ในอดีตเจ้านายเมือง อุบลฯ มีข้าทาสบริวารในการทอผ้าขึ้นใช้สอย เเละพอจะเรียกได้ว่าเป็นสังคมเเบบเบ็ดเสร็จ คือต่างคนต่างพึ่ง ตัวเองหรือบุคคลในสังคมเดียวกันมีการปลูกหม่อนเล้ียงไหมและทอผ้าไว้ใช้เอง ทาประโยชน์ให้กับครอบครัว ตนเอง ต่อมาเมื่อบ้านเมืองมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงไป อานาจเจ้านายเมืองอุบลฯ จึงได้เปล่ียนแปลงไป ด้วย การทอผา้ แบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ ได้สูญหายไปช่วงหนงึ่ ต่อมาไดม้ กี ารฟื้นฟูขนึ้ ใหม่โดยชุมชนชา่ งทอผา้ ที่ ชืน่ ชมภูมิใจในผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ โดยเฉพาะบา้ นคาปุน ทม่ี กี ารสืบทอดการทอผ้าแบบเจ้านายเมือง อุบลฯ ที่สาคัญคือ ผ้าเยียรบับลาว ผ้าซ่ินทิวมุกจกดาว ผ้าซิ่นตีนตวย เป็นต้น โดยได้มีการปรับการออกแบบ ลวดลายและสีสันผ้าให้เข้ากับสภาพของสังคมท่ีเปลี่ยนไป เน่ืองจากผู้ใช้สอยส่วนใหญ่ไม่ใช่กลุ่มเจ้านายเมือง อุบลฯ แต่เป็นผู้มีฐานะในสังคม ทั้งในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและกรุงเทพฯ ดังนั้นการออกแบบลวดลายผ้า และการทอผา้ จงึ ต้องคานึงถึงทั้งเร่อื ง “วฒั นธรรมดง้ั เดิม” และ \"รสนิยมใหม่\" ประกอบกัน บ้านคาปนุ พยายาม อนุรักษ์ลวดลายและเทคนิคโบราณ เน้นคุณภาพช้ันสูงเพื่อตอบสนองความมีรสนิยมของผู้ใช้ นอกจากนี้คุณ มีชัย แต่สุจริยา ศิลปินดีเด่นจังหวัดอุบลราชธานีแห่งบ้านคาปุน ยังได้คิดออกแบบลวดลายเอกลักษณ์ผ้าทอ ประจาจังหวัดอุบลราชธานี โดยตั้งชื่อว่า “ผ้ากาบบัว” ซึ่งเน้นการผสมผสานเทคนิคท้องถ่ิน คือ เครือซิ่นทิว ลายมัดหม่ี ลายขิด และเส้นใยเข็นหรือมับไม มาประยุกต์รวมจัดองค์ประกอบ ให้ลวดลายผ้าน้ีสามารถใช้ได้ท้ัง ผชู้ ายและผหู้ ญิง ทาให้ประสบความสาเรจ็ เปน็ อย่างดี สามารถสรา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่ชมุ ชนทอผ้าและผู้ประกอบการ ตัดเยบ็ เสอ้ื สาเรจ็ รูป ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาผ้าทอให้เป็นสินค้า OTOP (หนึ่งตาบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์) เราจะเห็นได้ว่าในชุมชนต่าง ๆ ท่ีมีฝีมือการทอผ้า ได้มีการต้ังกลุ่มหรือสหกรณ์ข้ึนเพ่ือสนอง โครงการของรัฐบาลและความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจดังกล่าว ในจังหวัดอุบลราชธานีมีกลุ่มสตรีทอผ้าอยู่ หลายกลุ่ม กลุ่มทอผ้าของสตรีตามชุมชนต่าง ๆ นั้นได้ใช้เวลาว่างจากการทาไร่ไถนามาร่วมกันสร้างผลงาน เกี่ยวกับผ้าหลากหลายชนิดตามความชานาญของเเต่ละคน พบข้อสังเกตว่าบางชุมชนเท่านั้นที่สามารถทอผ้า แบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯได้ ด้วยเป็นชุมชนทเ่ี คยมีความสมั พันธก์ บั เจ้านายมาตัง้ แต่รนุ่ ปู่ยา่ ตายาย นอกจากน้ีในเร่ืองการฟ้นื ฟูผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯข้ึนใหม่ ก็เป็นองค์ความรู้ที่ต้องจดบันทึก ไว้ โดยเกิดขึ้นทง้ั จากภาครัฐและเอกชน การฟืน้ ฟผู ้าทอช้ันสงู ดังกล่าวมีส่วนช่วยยกระดับภาพลักษณ์ของผ้าทอ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯใหส้ ูงข้ึน และเป็นการกระชับความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล หรือสถาบันตา่ ง ๆ ด้วย เช่น การทูลเกลา้ ฯ ถวายผา้ ไหมแด่องค์พระประมขุ เเละพระราชวงศ์ ตลอดจนผู้นาจากต่างประเทศ การเลือกใช้ผ้า ทอช้ันสูงแบบเจ้านายเมืองอุบลฯในงานแต่งงาน นอกจากนี้ผ้าทอยังมีบทบาทในการใช้ผ้าแสดงการต้อนรับ และชน่ื ชมผมู้ าเยือนเมืองอุบลฯ ตลอดจนใช้เปน็ ของฝากของกานัลทสี่ งู คา่
๓๘ ๔.๔ การกระจายตวั หรือปรากฏตวั ของการทอผ้าและการออกแบบลายผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ การเสนอขอข้ึนทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (Intangible Cultural Heritage) น้ัน จาเป็นต้องแสดงตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่มีการกระจายตัวหรือปรากฏตัวการสืบทอดภูมิปัญญา สาหรับการทอ ผ้าและการออกแบบลายผา้ แบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ นัน้ มีรายละเอยี ดการกระจายตวั หรอื ปรากฏตวั ดงั นี้ ๔.๔.๑ ภูมศิ าสตรแ์ ละขอบเขตเมืองอบุ ลฯ จังหวัด อบุ ลราชธานี เปน็ จงั หวัดท่ตี ้งั อยู่ทางดา้ นตะวันออกสดุ ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและของ ประเทศไทย ทั้งยงั เป็นตาบลทีต่ ้งั ของเส้นเวลาหลักของประเทศ ทีเ่ ส้นแวง ๑๐๕ องศาตะวันออก โดยเปน็ จงั หวดั แรกทไ่ี ดเ้ หน็ ดวงอาทิตย์ขึน้ ก่อนพ้ืนที่อืน่ ๆ ทั่วประเทศ จงั หวดั อบุ ลราชธานมี ีประวัติศาสตรท์ ีย่ าวนาน มีพ้นื ท่ีกว้างใหญ่ ภายหลงั ถูกแบง่ ออกเป็นจงั หวัดใหม่คือจังหวดั ยโสธรในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ และจังหวัด อานาจเจริญในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ซึง่ ถา้ รวมพน้ื ท่ีอีกสองจังหวัดท่ีแยกออกไป จังหวัดอบุ ลราชธานจี ะมพี น้ื ที่เป็น อนั ดบั ๑ ของประเทศไทย จงั หวัดอบุ ลราชธานมี อี าณาเขตติดต่อดงั นี้ ทศิ เหนือ ตดิ กับจังหวัดอานาจเจรญิ ทศิ ใต้ ตดิ กบั ราชอาณาจักรกัมพชู า ตามแนวเทอื กเขาบรรทัด ทิศตะวันออก ตดิ กับสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับจังหวดั ยโสธรและจงั หวดั ศรีสะเกษ ภาพที่ ๔-๒๑ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘ เมอื งอุบลฯ มีพนื ที่ครอบคลุมจังหวดั อุบลราชธานใี นอดีต ซึ่งเดมิ เป็นจงั หวัดท่ีใหญ่ท่ีสุดของ ประเทศไทย ปัจจบุ นั ได้แบง่ พืนท่ีออกเปน็ จังหวัดยโสธรและจังหวัดอานาจเจรญิ ทีม่ าภาพ: : http://www.ubonratchathani.go.th, ๒๕๕๖.
๓๙ ท่ตี ั้งและอาณาเขต ภาพที่ ๔-๒๒ แผนทีจ่ ังหวดั อุบลราชธานี สว่ นสัญลกั ษณ์ แทนการกระจายตวั ของผ้าแบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ ที่มาภาพ: http://www.ubonratchathani.go.th/beta4/map/map_city_main.php, ๒๕๕๖ ลักษณะภมู ิประเทศ จงั หวัดอบุ ลราชธานีมเี น้อื ท่ีประมาณ ๑๖,๑๑๓ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ ๑๐ ลา้ นไร่ เปน็ จงั หวัด ท่ีมีขนาดใหญ่เปน็ อันดับที่ ๕ ของประเทศ ต้ังอยู่ในบริเวณแอ่งโคราช ลักษณะพ้นื ทโี่ ดยทั่วไปเป็นทรี่ าบสูงลาด เอียงไปทางตะวนั ออก มีแม่นา้ มูลไหลผ่านกลางจังหวัดจากทศิ ตะวันตกมายงั ทศิ ตะวันออก มาบรรจบกับแมน่ ้า ชแี ล้วไหลลงสู่แมน่ ้าโขงที่อาเภอโขงเจียม มภี ูเขาสลับซับซ้อนทางตอนใต้ เทือกเขาสาคัญ คือ เทือกเขาบรรทัด และเทือกเขาพนมดงรัก
๔๐ การเมอื งการปกครอง จังหวัดอบุ ลราชธานี มพี ื้นท่ี ทั้งหมด ๑๖,๑๒๑.๖๑ ตารางกิโลเมตร แบง่ การปกครองออกเป็น ๒๕ อาเภอ ๒๑๖ ตาบล และ ๒,๖๙๘ หมบู่ ้าน ตารางท่ี ๔-๑ แสดงเขตการปกครองและพื้นทีจ่ ังหวดั อบุ ลราชธานี อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น พน้ื ที่ (ตร.กม.) เมืองอุบลราชธานี ๑๑ ๑๕๕ ๔๐๖.๓๘๕ ดอนมดแดง ๔ ๔๗ ๒๓๕ เหล่าเสือโกก้ ๔ ๕๕ ๒๘๔ ศรเี มืองใหม่ ๑๑ ๑๒๑ ๑,๓๑๐ โขงเจยี ม ๕ ๕๑ ๙๐๑.๘ เข่ืองใน ๑๘ ๑๘๒ ๗๗๒.๘๑๙ เขมราฐ ๙ ๑๒๓ ๕๒๒.๑๖ นาตาล ๔ ๖๔ ๑๙๔.๘๔ โพธิ์ไทร ๖ ๗๑ ๓๐๑ เดชอดุ ม ๑๖ ๒๔๓ ๑,๔๑๖ นาเยีย ๓ ๓๕ ๒๒๙ ทุ่งศรอี ุดม ๕ ๕๒ ๓๐๗ นาจะหลวย ๖ ๗๘ ๖๓๒ นา้ ยืน ๗ ๑๐๑ ๘๕๔.๕ น้าขนุ่ ๔ ๕๕ ๓๘๖.๕ บุญฑรกิ ๘ ๑๒๖ ๑,๔๐๒ ตระการพชื ผล ๒๓ ๒๓๔ ๑,๓๐๖ กดุ ขา้ วปุ้น ๕ ๗๕ ๓๒๐ ม่วงสามสิบ ๑๔ ๑๕๘ ๙๑๗.๕๓๗ วารินชาราบ ๑๕ ๑๙๒ ๕๘๔
๔๑ อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน พื้นท่ี (ตร.กม.) สวา่ งวีระวงศ์ ๔ ๕๗ ๒๗๐ สาโรง ๙ ๑๐๘ ๔๑๖ พบิ ลู มังสาหาร ๑๓ ๑๘๐ ๑,๒๗๗.๙๕ ตาลสุม ๖ ๕๙ ๕๐๕.๑๑ สิรนิ ธร ๖ ๗๖ ๓๗๐.๐๑๒ รวม ๒๑๖ ๒,๖๙๘ ๑๖,๑๒๑.๖๑ ท่มี า: กรมการปกครอง, ๒๕๕๑ ๔.๔.๒ จดุ ภูมิศาสตร์ของแหล่งสบื ทอดการทอผา้ แบบเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ ตาแหน่งจดุ ภมู ศิ าสตร์ของการกระจายตวั หรือปรากฏตัวการสืบทอดภมู ิปัญญาของการทอผ้าและการ ออกแบบลายผา้ แบบเจ้านายเมืองอุบลฯ ไดแ้ สดงไวใ้ นแผนที่ ซึง่ มีรายละเอียดของชุมชนที่สบื ทอดดังน้ี บา้ นคาปุน อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี บ้านคาปุน ต้งั อยเู่ ลขที่ ๓๓๑ ถนนศรสี ะเกษ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๓๔๑๙๐ หา่ ง จากโรงพยาบาลวารนิ ชาราบประมาณ ๘๐๐ เมตร เปน็ ชุมชนสาคญั ทสี่ บื สานและฟื้นฟผู ้าทอแบบเจ้านายเมือง อุบลฯ และยังเป็นแหลง่ ผลิตท่ีพฒั นาการทอผา้ ไหมทม่ี ีเทคนคิ และเอกลักษณ์เฉพาะตัว กอ่ ตัง้ โดยนางคาปนุ ศรี ใส ผมู้ ผี ลงานดเี ด่นทางวัฒนธรรม สาขาทศั นศลิ ป์-ถักทอ พ.ศ. ๒๕๓๗ และบตุ รชาย คือ คุณมชี ยั แตส้ ุจริยา ศลิ ปนิ ดเี ด่นจงั หวัดอบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๔ ทงั้ ยงั เป็นผู้คดิ คน้ และออกแบบผา้ ลายกาบบวั ภาพที่ ๔-๒๓ บา้ นคาปุน แหลง่ สบื ทอดภูมิปญั ญาผา้ ทอแบบเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ที่มาภาพ: มชี ยั แตส้ จุ ริยา, ๒๕๕๖.
๔๒ บ้านคาปุนเป็นแหล่งผลิตงานหัตถศิลป์ผ้าทอมือ และแหล่งอนุรักษ์ศิลปะพ้ืนเมืองที่มีช่ือเสียงของ จงั หวดั อุบลราชธานี มีลักษณะก่ึงพพิ ิธภณั ฑ์ ดาเนนิ การโดยเอกชน “คาปนุ ” เป็นชื่อเจา้ ของบ้านคือ คณุ คาปุน ศรีใส ซึ่งเป็นผู้มีภูมิปัญญาทางด้านการทอผ้าพื้นบ้านทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ้าไหม บ้านคาปุนประ กอบด้วยเรือนไทยอีสานประยุกต์ที่งดงามและมีเอกลักษณ์ ท้ังในด้านสถาปัตยกรรมและด้านการตกแต่งภูมิ ทศั น์ นอกจากน้ียังมพี พิ ธิ ภัณฑ์ผ้าพ้นื เมืองอีสานทอี่ นรุ ักษ์ผ้าโบราณอันสูงคา่ ภาพท่ี ๔-๒๔ คณุ มชี ยั แตส้ ุจริยา ผอู้ อกแบบและพัฒนาผา้ แบบเจา้ นายเมืองอุบลฯ ไดเ้ ป็นตวั แทนประเทศไทยไปรว่ มงาน ASEAN Textile Exhibition ณ กรงุ จาการต์ า้ ประเทศอนิ โดนิเซยี ท่ีมาภาพ: มีชัย แตส้ ุจริยา, ๒๕๕๖. ปัจจุบันบา้ นคาปุนมีชา่ งทอผา้ มากกว่า ๓๐ คน ผลติ ผา้ ไหมด้วยกีท่ อมอื ตามขัน้ ตอนแบบดั้งเดมิ โดย ใช้เครอื่ งมือแบบโบราณ โดยไม่ใชเ้ ครื่องจักรทนุ่ แรงอืน่ ใด เช่น ในการเตรียมเส้นใย ใช้วธิ ีการตีเกลยี วจากการ ป่นั มือด้วยไน ผ้าทอมือท่ีมชี ่ือเสยี งของบ้านคาปุนคือผา้ ไหมมัดหมีท่ อผสมเทคนิคจก ซึ่งถือวา่ เป็นแหล่งผลิต เพยี งแหล่งเดยี วในประเทศไทย นอกจากนย้ี ังมีการประดิษฐ์คดิ คน้ ผา้ ไหมแบบต่างๆ เชน่ ผ้าไหมมดั หมที่ อสอด เสริมเส้นพงุ่ ดว้ ยลกู ปัดแก้วหินตา่ งๆ และเม็ดเงิน นอกจากนี้ นายมีชยั แตส้ ุจรยิ า แห่งบ้านคาปุนยังเป็นผ้นู าใน การคดิ ค้น \"ผ้ากาบบวั \" ซง่ึ เปน็ ผ้าเอกลกั ษณ์ประจาจังหวัดอุบลฯ และกาลังได้รับความนิยมส่งเสรมิ ใหใ้ ช้กนั อยา่ งแพร่หลาย สาหรับผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ น้ันบา้ นคาปุนได้ฟ้ืนฟแู ละสบื ทอดภมู ปิ ัญญาการทอผ้า ไดแ้ ก่ “ผ้าเยียรบับลาว” “ผ้าซิ่นยกดอกเงินดอกคา” “ผ้าซิ่นทิวมุกจกดาว” “ผา้ ซิน่ ทวิ ” ฯลฯ โดยได้พยายาม ออกแบบประยกุ ต์ให้มสี ีสันสวยงาม และพัฒนาคุณภาพเน้ือผา้ ไหม จนมีชื่อเสียงเปน็ ทีย่ อมรับท้งั ใน ระดบั ประเทศและนานาชาติ
๔๓ บ้านหนองบ่อ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ท่ีต้ังและอาณาเขตบ้านหนองบอ่ ตาบลหนองบอ่ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี ต้ังอยู่ ทางทศิ ตะวันตกของอาเภอเมืองอุบลราชธานี หา่ งจากอาเภอเมืองอุบลราชธานี เป็นระยะทาง ๒๕ กิโลเมตร มี ครวั เรือนอาศัยอยู่ ๑๕๙ ครัวเรือน จานวนประชากร ๕๙๓ คน แบ่งเปน็ ชาย ๒๘๓ คน และหญิง ๓๑๐ คน บ้านหนองบ่อ หมายถึง หมู่บ้านท่ีต้ังอยู่ใกล้บริเวณท่ีมีน้าออกบ่อ (น้าซับ) เป็นหนองน้าออกบ่อขนาด ใหญ่ นอกจากนี้ภายในหมู่บ้านยังมีหนองน้าอยู่อีกหลายแห่ง อาทิ หนองแล้ง หนองตาเอียด และหนองหลวง บรรพบุรุษจึงต้ังช่ือหมู่บ้านนี้ว่า \"บ้านหนองบ่อ\" ไม่มีใครทราบว่าผู้นากลุ่มชนมาตั้งหมู่บ้านแห่งน้ีเป็นใคร เพราะไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน ทราบแต่เพียงว่าแต่เดิมน้ันเปน็ ชาวบ้านตากแดด (ดงบังบ้านเก่า) ซึง่ ย้ายมา จากบ้านแค (บ้านดงบังในปัจจุบัน) ครั้นเม่อื ประมาณ พ.ศ.๒๓๑๑ บ้านตากแดดเกิดโรคห่า (โรคอหิวาตกโรค) ระบาด ผู้คนล้มตายเปน็ จานวนมาก ชาวบ้านจึงพากันอพยพหนี โดยแยกย้ายกนั เป็นสองกลุ่ม กลุ่มหน่ึงอพยพ ไปทางทิศเหนือ และไปตั้งช่ือบ้านใหม่ว่า \"บ้านโพนงาม\" และอีกกลุ่มหนึ่งอพยพไปทางทิศตะวันตก ไปต้ัง หมู่บ้านใหมว่ ่า \"บา้ นหนองบอ่ \" และเรยี กวา่ ขานกนั มาจนถงึ ปัจจบุ ัน ภาพท่ี ๔-๒๕, ๔-๒๖, ๔-๒๗, ๔-๒๘ ศาลาการเปรยี ญวดั บา้ นหนองบอ่ ทางเดินหมู่บา้ น และศูนยเ์ รยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาหมอ่ นไหม ท่ีมา: สิทธิชัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๖.
๔๔ ภาพท่ี ๔-๒๙ การเกบ็ ขอ้ มูลและจัดเวทชี มุ ชน บ้านหนองบอ่ จังหวัดอบุ ลราชธานี และภาพที่ ๔-๓๐ การทอหัวจกดาว ท่ีมาภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. ภาพท่ี ๔-๓๑ การเกบ็ ข้อมลู ผา้ หวั จกดาว ผา้ แพรขดิ ผ้าขาวมา้ เชงิ ขิด ณ กลมุ่ แม่บ้านทอผา้ บ้านหนองบอ่ ตาบลหนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ที่มาภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. กลุ่มสตรที อผา้ บ้านหนองบ่อ กลุ่มอาชีพทอผ้า บ้านหนองบ่อ หมู่ที่ ๑ ตาบลหนองบ่อ อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี เป็นกลุ่มท่ีจัดตั้งขึ้นเมื่อปี ๒๕๔๔ โดยมีสมาชิกแรกเริ่ม ๒๐ คน โดยกลุ่มทอผ้าได้มีการสืบ ทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชนและสตรีในชุมชน เพื่อให้มรี ายได้เสริมนอกจากฤดทู านา ซ่ึงผ้าทอของกลุ่มที่โดดเด่น อาทิ ผา้ หัวซน่ิ จกดาว ผ้าซน่ิ ไหมมัดหม่ีลายปราสาทผง้ึ ซง่ึ เปน็ ผ้าลายเอกลักษณ์ของชาวบ้านหนองบ่อ เดิมเช่ือ กันว่าเม่ือมีผู้ตายในหมู่บ้าน ผู้ชายในหมู่บ้านจะช่วยกันทาปราสาทผึ้ง ซ่ึงทาจากกาบกล้วย ประดับประดา ด้วยข้ผี ้ึงใหส้ วยงามเพ่ืออทุ ิศส่วนกศุ ลให้ผูต้ าย เชื่อว่าผตู้ ายจะไดอ้ ยู่อาศยั ในปราสาทเหมือนปราสาทผึ้ง ต่อมา จงึ ไดน้ าลวดลายปราสาทผึง้ มาทอบนผนื ผา้ จนกลายเป็นผา้ มดั หมล่ี ายปราสาทผงึ้ ทเ่ี ป็นเอกลักษณข์ องหมู่บา้ น สบื ต่อมา
๔๕ ภาพที่ ๔-๓๒, ๔-๓๓, ๔-๓๔, ๔-๓๕, ๔-๓๖, ๔-๓๗ ภาพรวม การจดั เวทชี มุ ชน บ้านหนองบอ่ ตาบลหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี ท่มี าภาพ: สทิ ธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖.
๔๖ บ้านลาดสมดี ตาบลกุศกร อาเภอตระการพืชผล จงั หวดั อบุ ลราชธานี อาเภอตระการพชื ผล เดิมเคยตั้งเป็นเมือง มี “พระอมรดลใจ (สุรยิ วงษ์-อม้ )” เป็นเจ้าเมืองคนแรก ซ่ึง ทา่ นสืบเชื้อสายมาจากเจ้านายเมืองอุบลฯ คือเป็นบุตรของ “พระพรหมราชวงศา-กทุ อง” เจ้าเมืองอุบลฯ องค์ ที่ ๓ ปัจจุบันมกี ารต้งั อนุสาวรียไ์ วใ้ กล้ๆ กบั หอไตรหนองขหุ ลุ ภาพที่ ๔-๓๘ หอไตรหนองขุหลุ (ซา้ ย) ภาพที่ ๔-๓๙ อนสุ าวรีย์พระอมรดลใจ (สรุ ิยวงษ์-อม้ ) (ขวา) ท่มี าภาพ: สทิ ธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. หมู่บ้านลาดสมดีตั้งอยู่ริมถนนตระการพืชผล-ศรีเมืองใหม่ กิโลเมตรท่ี ๙-๑๑ ห่างจากตัวอาเภอ ตระการพืชผลประมาณ ๑๓ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดอุบลราชธานีประมาณ ๕๙ กิโลเมตร จานวน พื้นท่ีทั้งหมดของหมู่บ้านประมาณ ๓,๙๒๗ ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนที่ปลูกข้าวประมาณ ๓,๐๒๗ ไร่ พ้ืนที่ปลูกหม่อน ประมาณ ๓๙ ไร่ จากข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จานวนครัวเรือนท้ังหมดของหมู่บ้านมี ๑๒๕ ครัวเรือน จานวน ประชากรทั้งสน้ิ ๖๐๔ คน แบ่งเปน็ ชาย ๒๙๒ คน และหญิง ๓๑๒ คน บ้านลาดสมดี เดิมชื่อ บ้านตองหมอง เหตุที่เรียกเนื่องจากในหมู่บ้านมีต้นตองหมองข้ึนในพื้นที่ตั้ง หมู่บ้านเป็นจานวนมาก ต้นตองหมองเป็นไม้ทรงพุ่มยืนต้นขนาดความสูงเต็มท่ีไม่เกิน ๒ เมตร เป็นพืชตาม ทอ้ งถ่นิ ตอ่ มาชาวบา้ นเรียกเพ้ียนเปน็ บ้านตองบอง เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ผู้นาในสมัยนนั้ ได้ขอเปล่ยี น ชื่อหมู่บ้านใหมต่ ่อทางราชการเป็น บ้านลาดสมดี โดยมีผู้ใหญ่บ้านคนแรกช่ือ นายงอน สมบุตร ด้านประเพณี วัฒนธรรมสังคมและวิถีชีวิต ประชากรบ้านลาดสมดีมีความเป็นอยู่แบบเรียบง่าย สังคมแบบเครือญาติ ตั้ง บ้านเรือนชิดติดกันตามลักษณะของชนบทอีสาน มีประเพณีเป็นเครื่องกระชับความรักความสามัคคีของคนใน ชมุ ชนส่วนใหญ่เป็นงานบุญทางพระพุทธศาสนา เช่น บญุ เข้าพรรษา ออกพรรษา บุญกฐิน เป็นต้น มีประเพณี ตามความเชื่อร่วมกนั เช่น การแหบ่ ั้งไฟพญานาคเพือ่ ขอฝน การทาบุญนาก่อนลงมอื ทานา เปน็ ตน้
๔๗ กลมุ่ สตรีทอผ้า บา้ นลาดสมดี กลุ่มสตรีทอผ้า บ้านลาดสมดี ตาบลกุศกร อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เป็นกลุ่มที่ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยมีสมาชิกแรกเริ่ม ๓๕ คน กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านลาดสมดีเกิด จากการทอผ้าไหม ฝ้าย ดา้ ยโทเรเปน็ รายได้หลัก ทางกลุ่มมีผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น คือ ผ้าไหม ผ้าฝา้ ยด้าย/โทเร ลายกาบบัว โดยกลุ่มทอผ้าได้มีการสืบทอดภูมิปัญญาสู่เยาวชนและสตรีในชุมชน เพ่ือให้มีรายได้เสริม นอกจากฤดูทานา ซึ่งกลุ่มได้รับการสนับสนุนการดาเนินงานจากส่วนราชการหลายฝ่ายจนเป็นที่รู้จักไปท่ัว ประเทศ พบหลักฐานว่าทางกลุ่มมีการสืบทอดผ้าทอท่ีโดดเด่นและสัมพันธ์กับผ้าทอแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ อาทิ ผา้ ซิน่ ทิวมุกจกดาว ผ้าซนิ่ สไี พล/ซ่นิ แหล้ หวั ซ่ินจกดาว ผา้ ซ่ินทวิ ผา้ แพรปลาไหล เปน็ ต้น ภาพที่ ๔-๔๐, ๔-๔๑, ๔-๔๒, ๔-๔๓ ภาพรวมการมสี ่วนร่วมของชุมชน ศูนยส์ ตรีผา้ ไหม หม่บู า้ นลาดสมดี อาเภอตระการ พืชผล จงั หวดั อุบลราชธานี ทยี่ งั คงสบื ทอดมรดกภมู ิปญั ญาการทอผา้ แบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ท่ีมาภาพ: สทิ ธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๖.
๔๘ บา้ นบอน อาเภอสาโรง จังหวัดอบุ ลราชธานี หมู่บ้านบอน ตั้งอยู่บนเส้นทางถนนวาริน-กันทรลักษ์ ห่างจากถนนใหญ่ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร จานวนพน้ื ท่ีท้ังหมดของหมู่บ้านประมาณ ๒,๕๙๕ ไร่ แบง่ เป็นที่อยู่อาศยั จานวน ๓๒๕ ไร่ เป็นท่ีทาการเกษตร จานวน ๒,๒๗๐ ไร่ ด้านจานวนประชากร จากข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ จานวนครวั เรือนท้ังหมดของหมู่บ้าน ๑๒๒ ครัวเรือน จานวนประชากร ๔๕๐ คน เป็นชาย ๒๘๘ คน และหญิง ๒๒๒ คน ขึ้นกับหมู่ที่ ๒ ซึ่งเป็นชุมชนที่มี การสืบทอดการทอผา้ บ้านบอนเป็นชุมชนท่ีมีความเก่ียวข้องกับเจ้านายเมืองอุบลฯ มีประวัติหมู่บ้านเล่าสืบกันมาว่า พระภิกษุชาวลาว “หลวงปแู่ ดง” ไดพ้ าผู้คนอพยพหนีภัยสงครามมาจากประเทศลาว พร้อมกบั พระตา พระวอ (ซึ่งเป็นสายสกุลต้นกาเนิดของเจ้านายเมืองอุบลฯ) เดิมทีได้พาผู้คนอาศัยอยู่ท่ีบ้านหมัด ปัจจุบันอยู่ในเขต จังหวัดศรีสะเกษ แต่เนื่องจากมีหมัดสุนัขระบาดจานวนมากทาให้ผู้คนเดือดร้อน จึงพาผู้คนอพยพย้ายมาทาง ทิศตะวันออกซึ่งพบแอ่งหนองน้าที่มีต้นบอนขึ้นจานวนมาก เห็นว่าพ้ืนที่อุดมสมบูรณ์จึงได้พากันต้ังบ้านเรือน และสร้าง “วัดบ้านบอน”ขึน้ โดยต้ังชือ่ ชุมชนว่า หมู่บ้านบอน ปัจจุบนั ยังมีหลักฐาน “ศาลหลวงปู่แดง” ท่เี ป็น ศูนย์รวมศรทั ธาชุมชน อยูใ่ นบรเิ วณวัดบา้ นบอน กลุ่มสตรที อผ้า บา้ นบอน อาเภอสาโรง กลุ่มได้รวมกันก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยมีช่างมัดหมี่ ช่างทอขิด ช่างย้อมสี รวมตัวกันโดยมี ประธานกลุ่มคือ นางขนิษฐา ลาพรหมมา มีท้ังการทอผ้ากาบบัวตามแบบจังหวัด เน้นลายหม่ขี อนาค ซึ่งต่อมา มีการลวดลายนามรดกภูมิปัญญาผ้าทอโบราณมาต่อยอด โดยมีลวดลายผ้าโดดเด่นที่ฟ้ืนฟูสืบทอดได้คือ การ ทอขิด “ตนี ตวย” ท่ีเจา้ นายเมืองอุบลฯ ประยกุ ต์จากลาย “กรวยเชิง” ของราชสานักสยาม รวมท้ังสามารถทอ ลายขดิ “ตีนช่อ” และขดิ “ตีนกระจับยอ้ ย” ที่พฒั นามาจากผา้ ราชสานักล้านชา้ งเวียงจนั ทน์ เปน็ ต้น ภาพท่ี ๔-๔๔, ๔-๔๕ ภาพรวมการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน หมบู่ า้ นบอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทีย่ งั คงสืบทอดมรดก ภูมิปัญญาการทอผา้ แบบเจา้ นายเมืองอบุ ลฯ ทีม่ าภาพ: สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๖.
๔๙ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี บ้านปะอาวตั้งอยู่ที่ตาบลปะอาว ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๑๘ กิโลเมตรตามทางหลวงหมาย เลข ๒๓ ทางไปจังหวัดยโสธร ถงึ หลักกม.ท่ี ๒๗๓ เลย้ี วขวาไปอีก ๓ กิโลเมตร ถือเปน็ หมู่บา้ นที่เก่าแกม่ ากแห่งหนึ่ง ของจังหวัดอุบลราชธานี บ้านปะอาว ตาบลปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วย ๘ หมู่ มี ประชากร ๕,๓๕๐ คน ตามประวัติศาสตร์ชมุ ชนปะอาว นัน้ เดมิ เลา่ วา่ ผูก้ อ่ ตง้ั บา้ นปะอาวมีช่ือวา่ ทา้ วแสนนาม (มีศาลท้าว แสนนาม ตั้งอยู่ทางเข้าหมูบ่ า้ น) เปน็ ไพรพ่ ลของพระตา พระวอ ผกู้ ่อตง้ั เมืองอุบลฯ มเี รื่องเล่าวา่ หลังจากก่อตง้ั เมอื งอุบลฯ เสร็จกลุม่ คนท่ตี ดิ ตาม ได้อพยพออกมาทางด้านทศิ ตะวนั ตกเมืองอบุ ลฯ โดยมพี ีน่ อ้ งสองคนเดินทาง มาดว้ ยกัน พอมาถึงสถานทีเ่ หมาะสม ทาเลดี มีหนองบึง ผเู้ ปน็ น้องจึงตดั สนิ ใจก่อตั้งบ้านปะอาวขึ้น หลงั จาก กอ่ ตงั้ บ้านปะอาวเสรจ็ ผู้เปน็ พไ่ี ดเ้ ดนิ ทางออกไปหาทาเลที่มีความเหมาะสม มหี นองนา้ เชน่ เดียวกบั บา้ นปะอาว เลยกอ่ ตง้ั บ้านโพนเมืองมะหัน ตาบลหนองเหล่า อาเภอม่วงสามสิบ จังหวดั อบุ ลราชธานี เดมิ บา้ นปะอาว มชี ่ือ วา่ “บา้ นปา๋ อาก” แปลว่า “ละทงิ้ จากกัน” คาวา่ “อาก” หมายถึง “น้องของพ่อ” ต่อมามีการเรยี กเพื้ยนออก มาวา่ “บา้ นปะอาว”จนถงึ ปัจจุบนั น้ี ภาพท่ี ๔-๔๖, ๔-๔๗ การเกบ็ ข้อมูลชมุ ชน ณ ศูนยส์ ตรผี า้ ไหม หมบู่ า้ นปะอาว ทม่ี าภาพ: สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๖. กลุ่มสตรีทอผ้า บา้ นปะอาว กลมุ่ สตรีทอผา้ บ้านปะอาว ไดร้ วมกันก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยมสี มาชิกทงั้ หมด ๖๕ คน มาจาก ชาวบ้านหมู่ที่ ๓ หมู่ท่ี ๔ หมู่ที่ ๕ และหมทู่ ่ี ๖ ซงึ่ สมาชิกชา่ งทอผา้ ได้สืบทอดมรดกภูมิปัญญาการทอผา้ มาจาก รนุ่ ปยู่ า่ ตายาย ที่อพยพมาพร้อมกบั เจา้ นายเมืองอบุ ลฯ เป็นกล่มุ ทีม่ ชี ่ือเสยี งทัง้ เร่ืองสียอ้ มธรรมชาติ การทอผ้า ไหมมัดหม่ี ผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมมะเกลอื ความพิเศษของชุมชนคือ การเป็นแหล่งช่างฝมี อื ทาเครอื่ ง ทองเหลืองแบบโบราณแหง่ เดียวในประเทศไทย สว่ นด้านผ้าทอนนั้ กลุ่มนม้ี ี นางเตือนใจ แกว้ วงศา ถอื เปน็ ผูน้ า ในการสืบทอดภมู ิปญั ญาการทอผ้าคนหน่งึ ของจงั หวดั อบุ ลราชธานี
๕๐ ๔.๕ ชุมชน กลุ่มคน ทเ่ี กยี่ วข้อง กับผ้าทอแบบเจา้ นายเมอื งอุบลฯ ผสู้ ืบทอดภูมิปัญญาการทอผ้าแบบเจ้านายเมอื งอุบลฯ ท่ีได้ร่วมย่ืนความประสงค์ในการมีส่วนร่วมใน การขอข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “ผ้าทอเมืองอุบลฯ” ประกอบด้วย บ้านคาปุน บ้านหนอง บอ่ บ้านลาดสมดี บ้านบอน และบา้ นปะอาว โดยมีรายนามดังต่อไปน้ี ๔.๕.๑ บา้ นคาปุน ชุมชนทอผ้า บ้านคาปุน อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ท่ีเข้าร่วมในการขอข้ึนทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมได้แก่ ภาพที่ ๔-๔๘ ชุมชนทอผา้ บ้านคาปนุ ทีเ่ ข้ารว่ มในการขอขึนทะเบยี นฯ ทม่ี าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. ๑) นางคาปุน ศรใี ส ๓๓๑ ถ.ศรีสะเกษ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๒) นายมชี ยั แตส้ จุ ริยา ๓๓๑ ถ.ศรสี ะเกษ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี ๓) นางสมใจ หาวชิ า ๓๕ หมู่ ๒ บา้ นโพธ์มิ ลู ต.คานา้ แซบ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวัดอุบลราชธานี ๔) นางสาวจีรนนั ท์ สัมพนั ธ์เพ็ง ๘๒ หมู่ ๑๑ บา้ นจั่น ต.โนนผึ้ง อาเภอวารินชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี ๕) นางบุญสี มะยม ๑๕ หมู่ ๑๑ บา้ นจน่ั ต.โนนผง้ึ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๖) นางอรทยั จาปารัตน์ ๑๔ หมู่ ๒ บา้ นจั่น ต.โนนผง้ึ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๗) นางจฬุ าวรรณ สมั พนั ธเ์ พ็ง ๑๐๒๑ หมู่ ๒ บา้ นจน่ั ต.โนนผ้งึ อาเภอวารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๘) นางวนั ทอง ศรีพันบุญ ๓๙ หมู่ ๒ บ้านจัน่ ต.โนนผงึ้ อาเภอวารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๙) นางสาววราภรณ์ ศรพี ันบุญ ๓๙ หมู่ ๒ บา้ นจน่ั ต.โนนผง้ึ อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี ๑๐) นางเดอื นเพ็ญ ไกรยะวงศ์ ๑๒๐ หมู่ ๒ บ้านจน่ั ต.โนนผึง้ อาเภอวารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ๑๑) นางดรณุ ี โสโภชน์ ๒๐ หมู่ ๔ บา้ นนาสะแบง ต.หนองกินเพล อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัอุบลราชธานี ๑๒) นางสรุ นิ ทร์ เคา้ โคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านทา่ ช้องเหลก็ ต.นา้ แซบ อาเภอวารินชาราบ จงั หวัอุบลราชธานี ๑๓) นางสทุ ธินา คามงคล ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านท่าช้องเหล็ก ต.นา้ แซบ อาเภอวารินชาราบ จังหวัอบุ ลราชธานี ๑๔) นางรตั นาภรณ์ จนั ทรโคตร ๓๓๑ หมู่ ๑ บ้านทา่ ชอ้ งเหลก็ ต.น้าแซบ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑๕) นางจฑุ ารัตน์ สมั พนั ธ์เพ็ง ๑๑๕ หมู่ ๒ ต.โนนผ้งึ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๕๑ ๑๖) นางกองแพง วงศช์ มภู ๓๓ หมู่ ๕ ต.โนนผ้ึง อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๑๗) นางลาใย สีทาบตุ ร ๑๐๗ หมู่ ๒ ต.โนนผง้ึ อาเภอวารินชาราบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๑๘) นางปราศรยั แสนเรงิ ๔๒ หมู่ ๒ ต.โนนผึ้ง อาเภอวารินชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี ๑๙) นางสมรกั ษ์ ก้อนทรัพย์ ๑๐๑๙ หมู่ ๒ ต.โนนผ้ึง อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี ๒๐) นางเด่นดวง ดาวทวี บ้านเลขที่ ๙๘ หมู่ ๒ ต.โนนผึง้ อาเภอวารินชาราบ จังหวัด อุบลราชธานี ๒๑) นางมลวิ รรณ แหลง่ เหล้า ๖๗ หมู่ ๒ ต.โนนผึง้ อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒๒) นางเดอื นเพญ็ ผาละพรม ๑๐๐๒ หมู่ ๑๑ ต.โนนผ้งึ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒๓) นางละมูล ปญั ญายงค์ ๕๓ หมู่ ๑๐ บา้ นโนนสมบูรณ์ ต.ธาตุ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวัดอุบลราชธานี ๒๔) นางเยาวรัตน์ ศรีศรี ๔๓ หมู่ ๔ ตาบลคาน้าแซบ อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๒๕) นางอาพร พามุง ๑๒๒ ต.หนองกินเพล บา้ นนาสะแบง อาเภอวารินชาราบ จงั หวัดอุบลราชธานี ๒๖) นางปรีดา ยาณพนั ธ์ุ ๑๒๗ บ้านจั่น ต.โนนผึ้ง อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๔.๕.๒ บา้ นหนองบ่อ ชมุ ชนทอผ้าบ้านหนองบ่อ ตาบลหนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ทเ่ี ข้ารว่ มในการขอขนึ้ ทะเบียน มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมได้แก่ ภาพที่ ๔-๔๙ ชมุ ชนทอผา้ บ้านหนองบ่อ ท่เี ข้ารว่ มในการขอขึนทะเบียนฯ ท่มี าภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. ๑). นางประคอง บุญขจร ๑๕๔ หมู่ ๑ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒) นางสาราญ ทมิ า ๖๒ หมู่ ๑๓ บา้ นทา่ สนามชยั ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๓) นางอษุ า ศิลาโชติ ๑๑๙ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๔) นางสมใจ สรรพสาร ๔ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๕) นางวิลยั สรรพสาร ๖๓ หมู่ ๒ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๖) นางเบ็ญจาค์ โพธพ์ิ รม ๔๗ หมู่ ๓ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๗) นางสาราญ จนั ทร์พวง ๒๐ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี ๘) นางวรรณ์งาม กองสาร์ ๑๙ หมู่ ๒ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี
๕๒ ๙) นางอุไร ส่งเสรมิ ๓๙ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ๑๐) นางอรุณ วรรณสถิตย์ ๕๐ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี ๑๑) นางสาวจันทรเ์ พญ็ สรรพสาร ๖๘ หมู่ ๓ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวัอุบลราชธานี ๑๒) นางสมหมาย ทมิ า ๖๕ หมู่ ๓ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๓) นางบุญลอ้ ม ทมิ า ๖๗ หมู่ ๒ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๑๔) นางสกล จนั พวง ๓๖ หมู่ ๔ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี ๑๕) นางนารี แกนไธสง ๔๐ หมู่ ๔ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๖) นางวันเพ็ญ จันทร์พวง ๒๐ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๑๗) นางนาง สรรพสาร ๕๗ หมู่ ๓ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๑๘) นางบุญมี บัวทอง ๕๓ หมู่ ๔ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๙) นางอรทยั ส่งเสริม ๗๘ หมู่ ๑ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๒๐) นางลมยั สง่ เสริม ๖ หมู่ ๑ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๒๑) นางวิลารักษ์ อินธแิ สน ๒๕ หมู่ ๑๒ บา้ นสาลาก ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ๒๒) นางอมั พร จนั ทรพ์ วง ๒๙ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๒๓) นางบังอร ไชยวิชา ๑๙ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๒๔) นางหนผู ่อน สง่ เสรมิ ๖๖ หมู่ ๑๒ บ้านสาลาก ต.หนองบอ่ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๒๕) นางสมใจ ชา้ งสาร ๔๘ หมู่ ๑ บา้ นหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒๖) นางบัวแกว้ จนั ทรพ์ วง ๓๘ หมู่ ๒ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี ๒๗) นางสาวไข่ษร ส่งเสริม ๓๓ หมู่ ๒ บา้ นหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี ๒๘) นางพสิ มัย ส่งเสริม ๗๑ หมู่ ๑ บ้านหนองบอ่ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒๙) นางสมวงษ์ จันทร์พวง ๑๗๔ หมู่ ๓ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบ่อ อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๓๐) นางสาวจานอง ส่งเสรมิ ๓๘ หมู่ ๔ บ้านหนองบ่อ ต.หนองบอ่ อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ๔.๕.๓ บ้านลาดสมดี ชุมชนทอผา้ บ้านลาดสมดี ตาบลกศุ กร อาเภอตระการพืชผล จงั หวดั อุบลราชธานี ทเี่ ข้าร่วมในการ ขอขึ้นทะเบยี นมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมไดแ้ ก่ ภาพที่ ๔-๕๐, ๔-๕๑ ตวั แทนชมุ ชนทอผา้ บา้ นลาดสมดี ทเ่ี ข้าร่วมในการขอขึนทะเบียนฯ ทม่ี าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๖.
๕๓ ๑) นางอมั รา กุก่อง บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพืชผล จงั หวัดอุบลราชธานี ๒) นางสาราญ เจรญิ ทา้ ว บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จังหวดั อุบลราชธานี ๓) นางทองมี ยะลา บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพืชผล จังหวดั อุบลราชธานี ๔) นางฉววี รรณ อนิ ทร์โสม บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวัดอุบลราชธานี ๕) นางขนิษฐา ไหมน้อย บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จังหวดั อุบลราชธานี ๖) นางวาณี สุยะลา บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ๗) นางพิกลุ เจริญรอย บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ๘) นางบัวลาน หลงซิน บา้ นลาดสมดี ต.กุศกร อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ๙) นางวงเดือน หลงชิน บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อาเภอตระการพืชผล จงั หวดั อุบลราชธานี ๑๐) นางบุญชู สาสพุ รรณ บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๑) นางจารณา ท้าวหลอ่ น บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อาเภอตระการพชื ผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ๑๒) นางบวั ศร สรุ ีวง บ้านลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพืชผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๑๓) นางอรวรรณ พรรณทา้ ว บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ๑๔) นางประงา วรสิ าร บ้านลาดสมดี ต.กุศกร อาเภอตระการพืชผล จังหวดั อบุ ลราชธานี ๑๕) นางทองพนู สยุ ะลา บา้ นลาดสมดี ต.กศุ กร อาเภอตระการพชื ผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ๔.๕.๔ บา้ นบอน ชมุ ชนทอผ้าบ้านบอน อาเภอสาโรง จังหวดั อบุ ลราชธานี ท่ีเขา้ ร่วมในการขอข้ึนทะเบียนมรดกภูมิ ปญั ญาทางวัฒนธรรมได้แก่ ภาพที่ ๔-๕๒, ๔-๕๓ ชมุ ชนทอผา้ บา้ นบอน ท่เี ข้ารว่ มในการขอขนึ ทะเบียนฯ ทีม่ าภาพ: สิทธชิ ัย สมานชาติ, ๒๕๕๖. ๑) นางขนิษฐา ลาพรหมมา บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จังหวดั อุบลราชธานี ๒) นางบดั ปดั ดาพิมพ์ บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๓) นางนติ ยา บุสดี บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอุบลราชธานี ๔) นางเสงย่ี ม ปัดดาพมิ พ์ บา้ นบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๕) นางคาปลิว ลาพรหมมา บา้ นบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี
๕๔ ๖) นางเพญ็ ศรี ลาพรหมมา บา้ นบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จังหวดั อุบลราชธานี ๗) นางสพุ ิศ บญุ มาทน บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๘) นางดวงตา ดวงโสดา บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๙) นางสาวชลธิชา ลาพรหมมา บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑๐) นางหนา่ น พุดอุดม บา้ นบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๑) นางบุญยานุช บรรมณี บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑๒) นางผา เลขะสนั ญ์ บ้านบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๓) นางบานเย็น ปดั ดาพิมพ์ บา้ นบอน ต. บอน อาเภอสาโรง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๔.๕.๕ บ้านปะอาว ชมุ ชนทอผ้าบา้ นปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ท่ีเข้ารว่ มในการขอข้ึนทะเบียนมรดกภมู ิ ปัญญาทางวัฒนธรรมได้แก่ ภาพท่ี ๔-๕๔, ๔-๕๕ ตัวแทนชุมชนทอผ้า บา้ นปะอาว ท่ีเขา้ รว่ มในการขอขนึ ทะเบยี นฯ ทมี่ าภาพ: สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๖. ๑) นางเตอื นใจ แก้ววงสา ๑๔๔ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี ๒) นางทอง จติ รงาม หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี ๓) นางสดุ ายุ จติ รงาม หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี ๔) นางเพียร สุทสวาทดิ์ หมู่ ๔ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๕) นางอุดม สรชาติ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๖) นางบุษบา โพธิศิริ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๗) นางวิไล ทองลว้ น หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๘) นางสมหมาย ล้อมวงศ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๙) นางเรียม แกว้ ขวาน้อย หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๑๐) นางพัชนี กัลปพฤกษ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี ๑๑) นางผมทอง เดชผล หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ๑๒) นางลักษณ์ กลั ปพฤกษ์ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๑๓) นางแจน่ ล้อมวงศ์ หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี
๕๕ ๑๔) นางราตรี วงสขุ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวัดอบุ ลราชธานี ๑๕) นางหลอด โพธิ์ศิริ หมู่ ๕ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๑๖) นางบญุ หลาย เยาวบุญ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑๗) นางปราณี เยาวบุตร หมู่ ๔ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๑๘) นางราตรี ประทมุ มาศ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๑๙) นางทมุ มา ซ่ือสัตย์ หมู่ ๔ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒๐) นางประออน แนวจาปา หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี ๒๑) นางราตี พาชอบ หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี ๒๒) นางสาเนียง โพธศิ ิริ หมู่ ๓ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ๒๓) นางอบุ ล ทองล้วน หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒๔) นางยืน เข็มเพชร หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๒๕) นางบบุ ผา สีตะวัน หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๒๖) นางเสวย ทองล้วน หมู่ ๓ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๒๗) นางดวงมาลา เดชผล หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ๒๘) นางสมบูรณ์ ทองลว้ น หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี ๒๙) นางเวนิ แนวจาปา หมู่ ๓ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๓๐) นางสมบูรณ์ เยาวบุญ หมู่ ๖ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๓๑) นางมณวี รรณ สขุ สาย หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ๓๒) นางอานาจ พานเงิน หมู่ ๖ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี ๓๓) นางแดง พันธว์ ตั ร หมู่ ๖ บ้านปะอาว อาเภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๓๔) นางแกน่ พาชอบ หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๓๕) นางวิชิต ปลกุ ใจ หมู่ ๖ บา้ นปะอาว อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี ๓๖) นางถนอมศรี บญุ ประชม หมู่ ๕ บา้ นปะอาว อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
๕๖ บทที่ ๕ ภูมิปัญญาการทอผา้ แบบของเจ้านายเมอื งอบุ ลฯ ๕.๑ ช่ือที่ปรากฏในท้องถน่ิ “ผ้าทอเมอื งอุบลฯ” (เรียกตามเสียงสว่ นใหญ่ของเวทีชุมชน ทเี่ รยี กชอ่ื เมืองย่อๆ วา่ “เมืองอบุ ลฯ” และเรียกชอื่ ผ้าทออนั เป็นเอกลักษณข์ องเมืองนีว้ า่ “ผา้ ทอเมอื งอบุ ลฯ” ซง่ึ มีการสืบทอดแบบแผนลวดลายผา้ มาจากการทอผ้าแบบเจ้านายเมืองอุบลฯ) ๕.๒ ภมู ปิ ญั ญากระบวนการผลติ และอุปกรณก์ ารทอผา้ เมอื งอบุ ลฯ ภมู ิปัญญาในการผลิตผ้าทอน้ันมคี วามเกี่ยวข้องต้ังแต่ขน้ั ตอนของการผลิตเส้นใย การย้อมสี ไปจนถึง การเตรียมเครือเสน้ ยืน เทคนิคการทอผา้ ตามแบบวธิ ีการต่างๆ รวมทั้งวิธกี ารใชอ้ ุปกรณก์ ารทอผ้า ดังนี้ ๕.๒.๑ เส้นใย เสน้ ใยไหม ไหม คือเส้นใยจากรังของผีเสื้อชนิด Bombyx mori ในวงศ์ Bombycidae ผีเส้ือชนิดน้ีตัวอ้วนป้อม มขี นสีขาวและสีครีมปกคลุมเตม็ ตัว ปกี มลี ายเสน้ สีน้าตาลอ่อนหลายเสน้ พาดตามขวาง เมอื่ อยใู่ นช่วงตัวออ่ นจะ เป็นตัวหนอนสีขาวหรือสีครีม มีรยางค์เล็ก ๆ ส้ัน ๆ คล้ายขาท่ีปลายหาง หนอนไหมท่ีเล้ียงกันในประเทศไทย กินใบหม่อนเปน็ อาหาร เม่ือหนอนไหมโตเต็มทจ่ี ะถกั ใยหุ้มดกั แด้เพื่อฟกั ตัวเป็นผีเสื้อ ในช่วงน้ีท่ีจะน้ารังไหมมา ต้มเพอื่ สาวเส้นใยไหมออกมาทอเปน็ ผนื ผา้ ภาพท่ี ๕-๑ เส้นใยไหมดิบทส่ี าวแลว้ บา้ นหนองบ่อ อาเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี ภาพที่ ๕-๒ จ่อเล้ียงไหม จงั หวดั อุบลราชธานี ท่มี าภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๓.
๕๗ วงจรชีวติ ไหม ไหมเป็นแมลงที่มีการเปล่ียนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์ (Completely Metamorphosis Insect) แบ่งออกเป็น ๔ ระยะ ได้แก่ ไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และผีเสื้อ (วิโรจน์ แก้วเรือง,๒๕๓๙ :๑๓) วงจรชีวิตไหมจะ เร่มิ ต้นจากไข่ ใช้เวลาฟักตัวประมาณ ๙-๑๐ วัน จนกลายเปน็ หนอนไหม ในระยะนี้หนอนไหมกนิ ใบหม่อนเป็น อาหารและนอนประมาณ ๔-๕ช่วง ใช้เวลาประมาณ ๒๒-๒๖ วัน พอหนอนไหมแก่หรือสุกจะชักใยท้ารังหุ้ม ตวั เอง ตัวไหมจะลอกคราบเป็นตัวดกั แด้อยู่ในรงั ชว่ งเป็นรังไหมใช้เวลาประมาณ ๘-๑๐ วัน จากน้ัน ดักแด้ก็ จะกลายเป็นผีเส้ือ ผีเสื้อไหมจะใช้น้าลายซ่ึงมีฤทธ์ิเป็นด่างละลายใยไหม และเจาะรังไหมออกมาผสมพันธ์ุและ วางไข่ โดยจะมีชีวิตช่วงนีอ้ ยปู่ ระมาณ ๒-๓ วนั กจ็ ะตาย (สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๔๕: ๑๐) การเลีย้ งไหม ผู้เลี้ยงไหมในประเทศไทย ให้ตัวหนอนกินใบหม่อน โดยปลูกต้นหม่อนไว้ก่อนเร่ิมเลี้ยงไหมประมาณ ๔-๕ เดอื นข้นึ ไป ในบรเิ วณสวนครัวทา้ ยบ้านไมไ่ กลจากบริเวณโรงเลีย้ งไหมมากนกั อุปกรณ์เลยี้ งไหม ไดแ้ ก่ ๑. กระดง้ มีลกั ษณะเปน็ ไมไ้ ผส่ านรปู วงกลม ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ๒. จ่อ เป็นท่ีส้าหรับให้หนอนไหมชักเส้นใยท้ารัง มีท้ังแบบที่เป็นก่ิงไม้มัดรวมกัน ฟางข้าวมัดรวมกัน หรือเป็นจ่อท่ีสานด้วยไม้ไผ่เป็นรูปวงกลมใช้ไม้ไผ่สานวนเป็นช้ันขดซ้อนกัน แบ่งเป็นช่องเล็ก ๆ ไว้ให้หนอน ไหมทา้ รัง ๓. ชั้นวางกระด้ง ท้าเป็นไม้ระแนงเรียงต่อกันคล้ายกับชั้นวางของ รูปทรงส่ีเหลี่ยม แต่ละชั้นห่างกัน ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร โดยหลอ่ น้าทีข่ าของชนั้ เพอ่ื กนั มดขึ้น ๔. ผ้าคลมุ กระด้งและจ่อ เป็นผา้ ฝ้ายขาวบางซักสะอาด ใช้ป้องกนั ความสกปรก ป้องกนั นกและแมลง ทจ่ี ะมาทา้ ลายหนอนไหม ๕. ตะกร้าใสใ่ บหม่อน เปน็ ตะกร้าไม้ไผ่ปากกว้างล้างสะอาดไว้ส้าหรับใส่ใบหม่อนโดยเฉพาะ ๖. มีดและเขยี ง มไี ว้เพือ่ สา้ หรับหน่ั ใบหม่อนให้หนอนไหมท่เี ป็นตัวอ่อนกิน การปลูกหม่อน เล้ียงไหมและการสาวไหมเป็นภูมิปัญญาท่ีโดดเด่นในการผลิตผ้าทอที่มีคุณภาพของ ชาวเมืองอุบลราชธานีมาช้านาน และได้สืบทอดภูมิปัญญาน้ี อย่างต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จาก หลักฐานการได้รับรางวัลการประกวดเส้นไหมของกรมหม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เป็นประจ้าทุกๆ ปี ซึ่งภูมิปัญญาน้ีมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการป้องกันมลพิษ และแมลงท่ีเป็นอันตรายต่อหนอนไหม ความรู้ในการย่อยใบหม่อนเพ่ือเป็นอาหารให้แก่หนอนไหม ความรู้ใน การกระจายสัดส่วนจา้ นวนตัวหนอนไหมที่อยู่ในจ่อเพื่อการสร้างรังไหมทส่ี มบูรณ์ ความรู้ในการคัดเลือกรงั ไหม ทส่ี มบูรณ์ ทักษะการสาวไหมตลอดจนการควบคุมอุณหภูมิน้าในหม้อที่สาวเส้นไหมจากรัง จะเห็นได้ว่า กว่าท่ี จะได้เส้นไหมมาทอเป็นผืนผ้าน้ัน มีกระบวนการที่ต้องใช้เวลา ความสามารถและความอดทนเป็นพิเศษ ฉะน้ัน
๕๘ เส้นไหมท่ที อเสร็จเปน็ ผนื ผ้าไหมแล้วจงึ มีความงดงาม เป่ียมคณุ ภาพและมีคุณค่าทางภูมปิ ญั ญา ลา้ ดบั ข้ันตอนมี ดังนี้ ภาพท่ี ๕-๓ แปลงการปลูกต้นหม่อน เพ่ือการเลี้ยงไหม ศูนย์หมอ่ นไหม จงั หวัดอุบลราชธานี ทีม่ าภาพ: สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๖. การปลูกหม่อน หม่อน (mulberry : Morus spp.) หม่อน เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่ม ลา้ ต้นมีสีเขียวแก่หรือสีนา้ ตาล มี ตาข้างจ้านวนมาก ใบมีสีเขียวเข้ม มีรูปร่างหลายแบบ หลายขนาด อาจเป็นแฉกหรือไม่เป็นแฉก หรือมีท้ังใบ แฉกและใบไม่แฉกอยู่ในต้นเดียวกัน ดอกตัวเมียเมื่อได้รับการผสมแล้วจะเปลี่ยนเป็นผล ซึ่งมีลักษณะเป็น ผลรวม (aggregate fruit) หม่อนเป็นพืชก่ึงร้อน (subtropical) ซึ่งมีถ่ินก้าเนิดอยู่ในแถบเอเซีย สามารถปลูก ได้ทั่วไปในประเทศไทย เจรญิ เตบิ โตได้ดีทส่ี ุดในฤดฝู น การเจรญิ เติบโตจะลดนอ้ ยลงไปเรือ่ ย ๆ จนเขา้ หน้าแลง้ หม่อนท่ีปลูกเพ่ือเล้ียงไหม ได้แก่ white mulberry (Morus alba Linn.) หม่อนชนิดนี้มีผลเป็นช่อ ขนาดเล็ก เม่ือสุกแล้วจะมีผลสีแดง มีรสเปรี้ยว ไม่ค่อยเป็นที่นิยมรับประทาน แต่มีใบขนาดใหญ่ ปริมาณใบ มาก ซึ่งสามารถที่จะใช้เป็นอาหารของหนอนไหมได้เป็นอย่างดี พันธ์ุหม่อนที่นิยมปลูกไว้ใช้ส้าหรับการเล้ียง ไหมในประเทศไทยมีหลายสายพนั ธุ์ พันธ์ุหม่อนพน้ื เมืองของไทยมีชื่อเรียกตามสภาพทอ้ งถิ่น หรือบางทีอาจจะ มีการเรียกช่ือซ้ากัน พันธ์ุหม่อนพื้นเมืองของไทยท่ีมีการรวบรวมไว้ ได้แก่ หม่อนน้อย หม่อนสร้อย หม่อนแดง หม่อนแกว้ ชนบท หม่อนไผ่ หม่อนคุณไพ หม่อนแก้วอุบล หมอ่ นใหญ่อบุ ล หมอ่ นตาด้า เป็นตน้ - แปลงหม่อนไม่ควรอยู่ห่างไกลจากโรงเลี้ยงไหมเกินกว่า ๑ กิโลเมตร เพ่ือความสะดวกต่อการขนส่ง ใบหมอ่ นมาโรงเลี้ยงไหม - แปลงหม่อนไม่ควรอยู่ใกล้โรงเลี้ยงไหมจนเกินไป เพราะเมื่อฉีดสารฆ่าแมลงในแปลงหม่อน อาจเป็น อนั ตรายต่อหนอนไหม ระยะห่างที่พอเหมาะแปลงหม่อนควรอยู่ห่างจากโรงเลี้ยงไหมระหว่าง ๕๐-๑๐๐ เมตร
๕๙ นอกจากน้ีต้องค้านึงถึงพ้ืนที่ข้างเคียงด้วยว่าปลูกพืชชนิดใด เช่น สวนผลไม้ นาข้าว ยาสูบ พืชต่าง ๆ เนือ่ งจากการปลกู พืชเหล่าน้มี ีการใชส้ ารฆ่าแมลงมาก อนั อาจเป็นอันตรายตอ่ หนอนไหม การปลูกหม่อน ผู้เลี้ยงไหมต้องวางแผนว่าจะท้าการเลี้ยงไหมมากน้อยเพียงใดเพ่ือลดค่าใช้จ่ายในการ ปลูกหมอ่ น เช่น ถ้าเลยี้ งไหม ๑ กลอ่ ง ตอ้ งปลูกหม่อน ๑ ไร่ ถ้าต้องการเลยี้ งไหม ๗ รุ่นต่อปี จะต้องมีการปลูก หม่อนเพ่ิมขึ้นอย่างน้อย ๒ เท่าของขนาดที่ใช้อยู่เดิม และหากจะท้าการปลูกหม่อนเล้ียงไหมเป็นอาชีพหลัก ควรมแี ปลงหมอ่ นอย่างนอ้ ยท่ีสดุ ไม่ต่า้ กว่า ๖ไร่ โดยจะใช้เลี้ยงรนุ่ ละ ๒ ไร่ การเตรยี มดินปลูกหม่อนนับว่ามคี วามสา้ คัญมาก ถ้าการเตรียมดินไม่ดี หม่อนก็จะเจริญเติบโตไม่ดีไป ด้วย ก่อนปลูกจึงควรท้าการไถ ๑-๒ คร้ังในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ เพื่อเป็นการก้าจัดวัชพืชและปรับ พนื้ ท่ีให้สม่า้ เสมอ ไม่เป็นหลมุ หรือแอ่ง ซึ่งจะทา้ ให้น้าขังและอาจกอ่ ให้เกิดโรคเน่า จากน้ันท้าการไถพรวนใหล้ ึก ประมาณ ๓๐-๕๐ เซนติเมตร อีก ๑-๒ คร้ัง แล้วตากดินทิ้งไว้เพ่ือก้าจัดวัชพืช เช้ือโรค และแมลงอีก ๕-๗ วัน และเพื่อเป็นการปรับค่า pH ให้เหมาะสมควรใส่ปูนขาวประมาณ ๗๐-๑๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ย หมักเพือ่ ใหด้ ินอุดมสมบูรณ์มากยิง่ ข้ึน ภาพที่ ๕-๔ การคัดเลอื กพันธ์ไุ หม ทส่ี มบูรณ์เพอ่ื ไวผ้ สมพันธุ์ จงั หวดั อุบลราชธานี ภาพที่ ๕-๕ ไหมสาวใยรอบตัวเปน็ รงั ใน “จ่อ” อปุ กรณ์ทม่ี ีโครงสร้างจักสานไม้ไผ่ ทช่ี ่วยในการโยงใยช่วยในการทารังของ หนอนไหมได้ดขี ึน้ ทมี่ าภาพ: สทิ ธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๓. การเพาะพันธ์ุไหม ขนั้ ตอนเเรกท่ีจะเอาไหมมาเลี้ยง จะต้องเอาตัวบี้ (ตัวแมลงท่ีเกิดจากตัวไหมสีขาว คล้ายผีเส้ือ) มาประมาณ ๕ หรือ ๑๐๐ ตัว มาปล่อยไว้ในกระด้งให้ตัวผู้กบั ตัวเมียผสมพันธุก์ ัน จากน้ันจับตัวผู้ ท้ิง (ตัวผู้เล็กกว่าตัวเมีย) จับเอาเฉพาะตัวเมียใส่ผ้าแล้วเอาชามครอบไว้ ๑ คืน รุ่งเช้าจะเห็นไข่ติดอยู่ที่ผ้านั้น แล้วจบั ตวั เเมบ่ ้ีทง้ิ เอาผา้ ปดิ ไข่บ้ไี ว้ประมาณ ๘ วนั ตวั หนอนไหมกจ็ ะออกจากไข่
๖๐ ภาพท่ี ๕-๖ การใหใ้ บหมอ่ นเป็นอาหารแกห่ นอนไหม ทีม่ าภาพ: สิทธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๖. ภาพที่ ๕-๗ วงจรชวี ิตไหม ในแต่ช่วงของการเปลย่ี นแปลง จาก ไข่ หนอน ดักแด้ ผีเสอ้ื ท่มี าภาพ : เอกสารวิชาการหมอ่ นไหม. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร การเลี้ยงไหม เม่ือตัวไหมออกจากไข่หมดเเล้ว จะเอาผ้าท่ีรองไข่น้ันใส่กระด้ง เอาใบหม่อนมาห่ันให้ เปน็ ฝอยให้ตัวไหมกินวนั ละ ๓ คร้งั หรืออาจใหก้ ินตอนกลางคืนดว้ ย ถ้าผู้เล้ียงขยันพอ เม่ือเลี้ยงได้ ๗-๘ วัน ตัว ไหมจะมีอาการที่เรียกว่า นอนหน่ึง คือ นอนนิ่ง ๆ ไม่กินใบหม่อนอยปู่ ระมาณ ๑-๒ วัน จากน้ันมันก็เร่ิมกินใบ หม่อนอย่างเดิม ระยะน้ีให้เอาผ้าท่ีรองตัวไหมออกและปล่อยให้มันอยู่ในกระด้ง ๆ ละประมาณ ๒๐๐๐ ตัว พอ ได้ ๗ วัน ตัวไหมก็จะเข้าระยะนอนสอง คือ ไม่กินใบหม่อนอีก เมื่อมันพ้นจากระยะนอนสองเเล้วตัวมันจะโต มากข้ึน จึงสามารถให้กินใบหม่อนเป็นใบ ๆ ก็ได้ ต่อมาอีก ๗ วัน ตัวไหมก็จะอาการสงบนิ่ง เรียกว่า นอนสาม เม่ือฟื้นจากนอนสามต่อไปอีก ๗ วันจะมีอาการเช่นเดิม เรียกว่า นอนส่ี เเละเมื่อฟื้นจากนอนส่ีข้ึนนอนห้า ตัว ไหมก็จะเร่ิมเข้าฝักท้ารังตัวนั้นจะมีสีเหลืองท้ังตัว จะต้องแยกเอาตัวนั้นออกไปใส่จ่อไว้ (ตัวไหมท่ีอยู่ในจ่อจะ ไม่กินใบหม่อนอีกแล้ว) เม่ือตัวไหมเข้าไปอยู่ในฝักในรัง ๓ วัน ตวั ไหมจะยุบตัวเล็กลง เรียกว่า ดักแด้ ถ้า เราจบั ฝกั หรอื รังเขย่าดูจะมีเสยี งดังขลุก ๆ จากน้ันกจ็ ะเอาฝักไหมใส่หม้อต้มเพอ่ื จัดการสาวไหมตอ่ ไป สว่ นฝัก ไหน รงั ไหนจะเกบ็ ไว้ทา้ พันธุ์ก็จะเกบ็ เอาไว้ ๗ วนั ตวั ดักแด้กจ็ ะเกดิ มปี ีกขึ้น เรียกว่า ตัวบ้ีแล้วมันจะกดั ฝัก กัดรงั น้นั ออกมาเอง การสาวไหม จะมีอุปกรณ์รวม เรียกว่า เครื่องพวงสาว ซ่ึงประกอบด้วยหม้อ ขนาดวัดโดยรอบ ประมาณ ๒ ฟุต ปากหมอ้ ใส่ไมโ้ ค้งคลา้ ยงวงครุถังตกั น้า และปากหมอ้ ยงั มีไม้แบน ๆ อีกอันหน่ึงเจาะรูตรง กลาง เหนือไม้อันนี้จะมีรอกเป็นกลม ๆ เม่ือจะสาวไหมให้เอาฝักหรือรังไหมใส่หม้อประมาณ ๓๐-๕๐ ตัว ต้มให้ร้อนแลว้ เอาเส้นไหมลอดรไู ม้แบนท่ีปากหม้อ สาวขึ้นมาพนั รอก นอกจากน้ีจะมีไม้เป็นงา่ มยาวประมาณ ๑ ศอก เรยี กวา่ “ไมข้ นื ” ผู้ท่ที ้าหนา้ ทีส่ าวไหมจะใช้มอื หนงึ่ สาวไหมจากรอกไปลงในภาชนะที่เตรยี มไว้ อีก มือหนึ่งถือไม้ขืนกดและเขย่ารังไหมท่ีอยู่ในหม้อ เพราะรังไหมน้ันจะลอยเป็นแพอยู่บนผิวน้าร้อน ถ้าไม่กด หรือไมเ่ ขยา่ ไหมกจ็ ะแนน่ สาวไม่ออก ถึงแม้จะสาวออกกจ็ ะเปน็ ไหมเสน้ ใหญ่เกินไป
๖๑ ภาพที่ ๕-๘ ภาพถา่ ยเก่าสมัยรชั กาลที่ ๕ หญิงชาวอสี านนั่งสาวไหม ปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ท่มี าภาพ: : หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต,ิ ๒๔๔๙. ภาพท่ี ๕-๙ การสาวไหมจากรังไหมทต่ี ้มน้าอุ่นไว้ในหม้อ ภาพท่ี ๕-๑๐ เสน้ ไหมพื้นเมอื งท่ีกวกั ทาไจแล้ว ที่มาภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. เส้นไหมที่สาวได้น้ันจะมีขนาดต่างๆกัน ซง่ึ แยกไดเ้ ป็น ๔ ชนิด ๑. ไหมน้อย จดั วา่ เป็นไหมทดี่ ีท่ีสดุ เปน็ ไหมช้ันในของฝกั หลอก (รังของตัวไหม) เสน้ ใยมขี นาดเล็ก เน้ือละเอยี ดเรยี บสม่้าเสมอกันตลอด บางคนเรยี ก \"ไหมยอด\" ไหมชนดิ นี้นยิ มใชท้ อผ้าโสร่ง ผ้าซ่นิ ผ้าแพเบ่ียง ท่ีใช้ในงานบุญ พธิ กี รรม หรือกลุ่มเจา้ นายชั้นสงู ของเมืองอุบลฯ
๖๒ ๒. ไหมกลาง เปน็ ไหมชนั้ รองจากไหมน้อย ซึ่งเสน้ ใยมขี าดเสน้ ใหญ่และหยาบกวา่ บางแห่งเรียก ต่างกนั เช่น ไหมรว่ ม ไหมรวด ไหมลวด นิยมใชท้ อผา้ ทัว่ ไป ๓. ไหมลบื หรอื ไหมชั้นนอก เป็นเส้นไหมทใ่ี หญท่ ี่สุดมเี น้ือหยาบ เพราะสาวเอาเส้นใยจากส่วนเปลือก ชน้ั นอกของฝกั หลอก ๔. ไหมยามแลง เปน็ ไหมเหลอื จากการสาวไหมดี ๆ ออกแล้ว จนเหลือใยทีต่ ดิ เยื่อหุ้มตัวไหม จะมี ลักษณะหยาบ มักจะมี \"ขไ้ี หม\" ตดิ เป็นปุ่มเป็นปมอย่มู าก ถอื วา่ เปน็ ไหมคุณภาพต่้าเพราะเสน้ ไหมไมเ่ รียบบาง เส้นไหมมกั จะขาดง่าย ต้องน้ามาผูกต่อกนั อย่างง่าย ๆ และหยาบ ๆ แม้จะเป็นไหมคุณภาพต้่าแต่ก็ยังสามารถ ทอเป็นผ้าผืนไว้ตดั เยบ็ เส้ือซง่ึ ดีกวา่ ผา้ ฝา้ ย ฉะน้ัน ชาวบ้านจึงยอมเสยี เวลาท้าไหมชนดิ นไ้ี วใ้ ช้ โดยใช้เวลาว่าง ตอนเย็นหลงั จากสาวไหมดี ๆ เสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว หรือหลังจากเสร็จงานในครัวเรือน จงึ ได้ชอ่ื ว่า “ไหมยามแลง” การด่องไหม (วธิ ีการฟอกไหม) สีไหมตามธรรมชาตนิ ัน้ จะมีสีเหลอื งอ่อน เหลืองแก่ และสีจะไม่ เสมอกนั ถ้าต้องการจะย้อมไหมให้เป็นสีตา่ ง ๆ ต้องฟอกไหมให้ขาวเสียก่อน การฟอกไหมจะใชน้ ้าดา่ งฟอก น้าดา่ งนี้ทา้ ได้โดยใช้ตน้ ไม้พน้ื เมอื ง เชน่ ผักโขม (หรือผักหม ในภาษาอีสาน) ก้านกล้วยใบกลว้ ย งวงตาล ไม้ เพกา (ตน้ ล้ินฟ้า) หรือไม้ขเี้ หลก็ อย่างใดอยา่ งหน่งึ ก็ได้ น้ามาเผาใหเ้ ป็นถา่ นเถ้าแล้วเอาถา่ นเถา้ นี้ แช่น้าให้เป็น น้าดา่ งเม่ือได้น้าด่างใสดแี ลว้ จึงเอาไหมท่ีฟอกลงไปแช่ จากนั้นน้าไหมไปต้ม แลว้ ลา้ งด้วยน้าเย็น จากน้ันผึง่ ให้ แห้ง ถ้ายงั เห็นวา่ ไหมยังไม่ขาวไดท้ ่กี ใ็ ห้น้าไปแชใ่ นน้าดา่ งแล้วต้มอีกครั้ง ภาพท่ี ๕-๑๑ เส้นไหมทด่ี อ่ ง หรอื ฟอกกาวไหมออกแลว้ เส้นจะน่ิมสัมผสั ลน่ื มือ ทมี่ าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. ๕.๒.๒ สียอ้ มธรรมชาติ การย้อมสีธรรมชาติเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชาวเมืองอุบลฯได้สืบทอดกันมา วิธีการย้อมสีเส้นใยหรือ ยอ้ มผา้ ผนื เป็นความรู้จากประสบการณ์การเรยี นรู้จากธรรมชาติ ในอดตี ไม่มีสีย้อมวิทยาศาสตร์หรือสีส้าเร็จรูป สสี นั ต่างๆล้วนน้ามาจากธรรมชาติ ซึง่ จากการจัดเวทชี ุมชนและสัมภาษณแ์ บบเจาะลึกเราพบว่าชาวเมอื งอุบลฯ นนั้ มกี ารสบื ทอดภมู ิปญั ญาการย้อมสีธรรมชาติแบบดัง้ เดิม ๔ ชนิดคอื
๖๓ (๑) สนี ้าเงิน จากต้นคราม คราม เป็นไม้พุ่มชนิด Indigofera tinctoria Linn. ในวงศ์ Leguminosae มีใบขนาดเล็กคล้ายใบ มะขาม ตน้ ครามทใี่ ช้ท้าสยี ้อมเปน็ พนั ธุ์ครามบา้ น ไม่นยิ มใช้พนั ธ์ุครามปา่ ต้นครามบา้ น มีลา้ ต้นสูงประมาณ ๑- ๑.๕ เมตร ใช้ย้อมได้เมื่อต้นมีอายุประมาณ ๓ เดือน เม่ือต้นครามออกดอกแสดงว่าแก่ได้ที่สามารถน้ามาท้าสี ย้อมผา้ ได้ ภาพท่ี ๕-๑๒ ตน้ คราม ภาพที่ ๕-๑๓ เส้นไหมย้อมคราม ทมี่ าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๖. วธิ ีย้อม ให้คดั เลือกตน้ ครามทมี่ อี ายุแก่ได้ท่ี น้ามาม้วนและมดั เปน็ ฟ่อน แช่น้าทิง้ ไว้ในหมอ้ หรือภาชนะ ทีเ่ ตรยี มไวป้ ระมาณ ๒-๓ วัน จนใบครามเป่ือยจึงแกม้ ดั ออก รูดใบครามเก็บไวแ้ ล้วเอาลา้ ต้นทง้ิ ไป น้าปูนขาวใส่ ในอัตราสว่ นท่ีพอเหมาะกับน้าท่ีแช่คราม จะเกดิ ฟองในน้าย้อม รอใหเ้ นอ้ื ครามตกตะกอนและฟองดับ จึงกรอง เอาตะกอนหยาบทิ้ง เหลือน้าครามละเอยี ดหมักไว้เพ่ือใช้ยอ้ มต่อไป เม่ือจะย้อมก็ตักน้ายอ้ มท่ีหมกั ไว้ใส่หม้อดิน แล้วเติมน้าดา่ งซ่งึ ได้มาจากน้าข้ีเถา้ ตน้ มะขาม ลกู มะกรดู ผ่าซีก มะขามเปียก เหล้าขาวและน้าตาลอ้อย แล้วน้า เส้นใยลงย้อมเย็นในหม้อน้าย้อม จุ่มและบิดนวดเส้นใยจนเส้นใยดูดซึมสีได้ท่ัวถึง หมักแช่เอาไว้ประมาณหนึ่ง คืน แล้วน้าขึ้นล้างน้า ผึ่งให้แห้ง ถ้าต้องการสีน้าเงินเข้มจะตอ้ งย้อมทับเป็นสิบ ๆ คร้ัง ส่วนใหญ่นิยมใช้สีคราม ย้อมเสน้ ใยฝา้ ยมากกว่าเสน้ ใยไหม สีน้าเงินหรือสคี รามธรรมชาติ สวยงามกว่าสีย้อมด้วยสารเคมี ส่วนบางท้องถ่ินจะเรียกว่า สหี ้อม หรือ ฮ่อม แตส่ ีห้อมมาจากต้นห้อมหรอื ฮ่อม ไม่ใชต่ น้ คราม ตน้ ห้อม หรอื ฮ่อม เป็นไม้ล้มลุกชนิดBaphicacanthus cusiaBrem. ในวงศ์ Acanthaceae ใบกลมรี ปลายใบแหลมรอบขอบไม่มีหยักแหลมเล็กๆ สีย้อมจากต้นห้อม หรือฮ่อมจะคล้ายกันกับสีคราม และมีวิธีการย้อมท่ีใกล้เคียงกัน แต่ห้อมเป็นพืชท้องถิ่นของภาคเหนือ ไม่ค่อย พบพชื ชนิดนี้ในเมอื งอบุ ลฯ
๖๔ (๒) สแี ดง จากคร่ัง ครั่ง เป็นเพล้ียหอยชนิด Laccifer lacca ในวงศ์ Lacciferidae ตัวเมียไม่มีปีก เมื่อเป็นตัวอ่อน ระยะแรกน้ัน มีขาและหนวด เคล่ือนไหวได้ เม่ือลอกคราบเวลาต่อมาจะไมม่ ีขา จึงหยุดอยู่กับที่ ดดู กินน้าเลี้ยง จากไม้ยนื ตน้ และผลติ สารทเ่ี รียกวา่ ขคี้ ร่ัง ซง่ึ ใช้ย้อมผ้าใหเ้ ป็นสีแดง ภาพที่ ๕-๑๔ เส้นไหมย้อมสจี ากครั่ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทมี่ าภาพ: สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๓ วธิ ยี อ้ ม เก็บขค้ี รั่งทีเ่ กาะอยู่ตามกิ่งต้นจามจรุ ีหรือต้นพทุ รามาตากแดดให้แหง้ ต้าปน่ ใหล้ ะเอยี ดแลว้ แช่ ในน้ามะขามเปียกซึ่งมีรสเปรี้ยว นานประมาณ ๖ ช่ัวโมง จากนั้นต้ังไฟต้มให้เดือด กรองเอากากออก แล้วน้า เส้นใยลงย้อม เมื่อสีติดเส้นใยทั่วดีแล้วจึงน้าข้ึนล้างน้าตากให้แห้ง สีครั่งจะติดเส้นใยไหมดีกว่าเส้นใยฝ้ายจึง นิยมยอ้ มเส้นใยไหม (๓) สีเหลอื ง จากแก่นเขหรือแกแล ไม้เขหรือแกแล เปน็ ไม้เถาเนอ้ื แขง็ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner ในวงศ์ Moraceae ขน้ึ ในป่าดิบ ลา้ ต้นมหี นาม แก่นสีเหลืองใชย้ ้อมผา้ ได้ ภาพท่ี ๕-๑๕ ไมเ้ ขหรือแกแล และไหมยอ้ มจากไม้เขหรือแกแล ทีม่ าภาพ: สิทธชิ ัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๓.
๖๕ วธิ ียอ้ ม น้าแกน่ ไม้เขหรอื แกแลมาตากให้แหง้ แล้วสับให้เป็นชิ้นเลก็ ๆ ใสใ่ นน้าสะอาดต้มให้เดือดจนน้า เป็นสีเหลืองเข้ม กรองกากออกแล้วรินเอาน้าสีใส่หม้อย้อมไว้เป็นหม้อท่ี ๑ แล้วเอากากแก่นเขลงต้มในน้า สะอาดอีกจนได้น้าสีเหลืองแต่สีอ่อนกว่าครั้งแรก กรองเอากากออกแล้วรินน้าสีใส่หม้อย้อมไว้เป็นหม้อท่ี ๒ แลว้ เอากากแก่นเขลงต้มในน้าสะอาดอีกคร้ัง จนไดน้ ้าสเี หลอื งที่สีอ่อนลงอกี กรองกากออก รินน้าสีใสใ่ นหม้อท่ี ๓จากนั้นน้าเสน้ ใยลงยอ้ มในหม้อท่ี ๓ ก่อน แล้วนา้ ลงย้อมซ้าในหมอ้ ท่ี ๒ แลว้ ยอ้ มในหมอ้ ท่ี ๑ จนเส้นใยเป็นสี เหลืองสนทิ ดี จึงน้าขึ้นลา้ งแลว้ นา้ ไปผ่ึงให้แห้ง การย้อมแต่ละข้นั ตอนให้ใช้เวลาคร้ังละ ๑ ช่ัวโมง และควรจะผ่ึง ให้แห้งทุกขนั้ ตอน แกน่ เขหรอื แกแลนี้ นิยมใช้ยอ้ มท้ังเสน้ ใยฝ้ายและเสน้ ใยไหม (๔) สดี ้า จากมะเกลือ มะเกลือ เป็นไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ Diospyros mollis Griff. ในวงศ์ Ebenaceae ผลดิบใช้ยอ้ มผ้าหรือ เสน้ ใยให้เป็นสดี ้าและยังสามารถใช้ท้าเป็นยาสมุนไพร ภาพที่ ๕-๑๖ มะเกลือใชย้ อ้ ม จะให้สดี า ภาพท่ี ๕-๑๗ การยอ้ มสีไหมจากมะเกลือ บ้านหนองบอ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี ทีม่ าภาพ: สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๓. วธิ ีย้อม น้าลูกมะเกลือสดมาทุบให้แตกแช่น้าไว้ เมื่อจะใช้จึงแบ่งลูกมะเกลือมาต้าให้ละเอียดโดยผสม ใบหญ้าฮ่อมเกี่ยว แช่ในน้าด่าง (จากข้ีเถ้าต้นมะขาม) ให้น้าสีออกจนเป็นสีด้า แล้วกรองกากออก จึงน้าเส้นใย หรือผ้าผืนลงย้อม พลิกกลับไปกลับมาจนเป็นสีด้าเสมอกัน น้าข้ึนล้าง ผึ่งให้แห้ง หากต้องการสีด้ามากข้ึนต้อง ยอ้ มซ้าหลายๆ ครัง้ วิธีย้อมอีกวิธีคือ ใช้รากล้าเจียกหรือต้นแบง (สะแบง) ต้าผสมกับลูกมะเกลือ ค้ันกรองเอากากออก เหลือแต่น้าสีด้า น้าเส้นใยลงย้อมให้สีด้าเสมอกัน น้าข้ึนล้าง ผ่ึงให้แห้ง สจี ากมะเกลือนี้ใช้ยอ้ มได้ท้ังเส้นใยฝ้าย และเสน้ ใยไหม
๖๖ ๕.๒.๓ เทคนคิ การทอผา้ แบบของเจ้านายเมอื งอุบลฯ ๑) เทคนิคการทอ “จก” ค้าว่า “จก” นนั้ ในภาษาไทยทอ้ งถ่ิน หมายถงึ การควัก ลว้ ง ขดุ คุย้ ลักษณะของกระบวนการทอผ้า จก คอื จะต้องใช้การควกั ล้วง ดงึ เสน้ ดา้ ยพงุ่ พเิ ศษขึน้ ลงเพ่ือสรา้ งลวดลาย ชื่อของเทคนิคการทอผา้ จงึ อาจเรยี ก กริ ยิ าทา่ ทางของการทอผา้ ชนิดน้ี “จก” เป็นเทคนิคการท้าลวดลายบนผืนผ้าด้วยวิธีการเพ่ิมด้ายพุ่งพิเศษเข้าไปเป็นช่วง ๆ ไม่ติดต่อกัน ตลอดหน้ากว้างของผ้า โดยใช้ไม้หรือขนเม่นหรือนิ้วมือยกหรือจกด้ายเสน้ ยืนขน้ึ แลว้ สอดใส่ด้ายพุ่งพิเศษเข้า ไป (ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และ แพทรีเชีย ชีสแมน, ๒๕๓๐ : ๒๕) จึงสามารถออกแบบลวดลายและสีสัน ของผา้ จกได้ซบั ซอ้ น และเพ่ิมสีสันในลวดลายไดห้ ลากหลายตลอดหน้ากวา้ งของผา้ แตกตา่ งจากผา้ ลายขิดท่ีมี ขอ้ จา้ กัดในการเพ่มิ สีสนั ของเส้นพ่งุ พิเศษตลอดหนา้ กวา้ งของผ้าได้เพยี งสีเดยี ว ภาพที่ ๕-๑๘ การทอหวั ซิน่ ลายจกดาว ที่ใชก้ ารทอแบบการมัดปมเสน้ พุ่งพิเศษด้านบน ซงึ่ สะดวกในการมัดปม ภาพท่ี ๕-๑๙ เราสามารถสังเกตเทคนิคการจกของ “หัวจกดาว” โดยดูจากเสน้ พงุ่ พิเศษทไี่ มต่ ่อเนอื่ งดา้ นในของผืนผ้า ทมี่ าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๓. วิธีการจกแต่ละแห่งอาจจะไม่เหมือนกัน บางแห่งทอจกลายทางด้านหน้าผ้าโดยใช้ขนเม่นนับเส้นยืน และควักเส้นไหมพุ่งขึ้น เพ่ือให้เกิดลวดลายหรือดึงด้ายจากข้างล่างสอดสลับไปตามความต้องการ ซึ่งการควัก เส้นไหมน้นั ถ้าเป็นผู้ทีม่ ีความช้านาญจะท้าได้รวดเรว็ คลา้ ยอาการฉกของงูดังนน้ั ค้าวา่ “จก” จึงอาจเพยี้ นมา จากค้าว่า “ฉก” ก็ได้ (เพยาว์ อุ่นศิริ และคณะ, ๒๕๓๑ : ๑๘) ส่วนการทอจกของช่างทอผ้าเมืองอุบลฯ จะใช้ การเกบ็ ตะกอลวดลายไว้ชว่ ยในการทอ จะใช้ไมป้ ลายแหลมหรอื เข็มขนาดยาว เปน็ อปุ กรณ์ ในการควักลว้ งเส้น ไหม เพ่อื เสริมเสน้ พุง่ พเิ ศษในการสร้างลวดลาย
๖๗ ภาพท่ี ๕-๒๐ หัวซ่นิ ทที่ อเทคนคิ จก ลวดลาย “ดอกแก้วทรงเครือ่ ง” ภาพท่ี ๕-๒๑ หวั ซนิ่ ทท่ี อเทคนคิ จก ลวดลาย “ดาว” หรือเรียกวา่ “หัวจกดาว” ทมี่ าภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาติ, ๒๕๕๖. หัวซ่ินจกของเจ้านายชั้นสงู มกั จะนิยมทา้ หวั ซน่ิ “จกดอกแก้วทรงเครอ่ื ง” และ “จกดาว” ซึง่ ทอเป็น ลายลักษณะคล้ายลายดอกประจา้ ยาม แตเ่ รียกกันวา่ “จกดาว” หรือ “ลายดาว” ซงึ่ เป็นลายหวั ซิ่นจกที่นา่ จะ ใช้เป็นสิง่ แสดงสถานภาพทางสังคมของเจา้ นายเมอื งอบุ ลฯ เพราะเป็นการทอลวดลายพเิ ศษท่ีทอได้ยาก ส่วน หวั ซน่ิ ของชาวบ้านท่ัวไปส่วนใหญม่ กั จะท้าเปน็ ริว้ สพี ื้นธรรมดาหรอื ไม่ก็จะเกบ็ ขิดเป็นลวดลายขนาดเลก็ ๆ แต่ ทัง้ น้ีเรากส็ ้ารวจพบวา่ ชาวบ้านท่มี ีความเก่ยี วข้องกบั เจา้ นายเมืองอุบลฯ กม็ ีการทอหัวซิน่ ลายจกดาว ใช้ดว้ ย เชน่ กัน ในวิถีชีวิตด้ังเดิมน้ัน ชาวเมืองอุบลฯ นิยมนุ่งผ้าซ่ินต่อหัวซ่ินจกดาวเฉพาะในโอกาสส้าคัญ ๆ อาทิ งานแต่งงาน และงานบุญประเพณี ผู้ทอผา้ จึงนิยมทอลวดลายอย่างสวยงาม ซบั ซ้อน เพ่ืออวดฝมี ือใหผ้ อู้ ่ืนได้ ช่ืนชม การทีห่ ญิงสาวสามารถทอผา้ เทคนคิ “จก” ซ่งึ ย่งุ ยากซบั ซ้อนกว่าการทอผ้าเทคนิคพ้ืนฐานอน่ื ๆ กไ็ ด้รับ การยอมรับวา่ ก้าวผ่านสภาวะของเด็กหญงิ เขา้ สูส่ ภาวะของหญิงสาวท่ีสมบรู ณ์ มคี ุณสมบตั ิของกุลสตรพี ร้อมท่ี จะเป็นแมบ่ ้านแม่เรือนท่ดี ี ๒) เทคนคิ การทอ “ขิด” การทอผ้าขิด เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านท่ีคนไทยได้สืบทอดกันมานาน และแพร่หลายในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในภาคอสี าน ซึ่งทอ ผา้ ขดิ มากกว่าท้องถิ่นอนื่ ๆ คา้ ว่า ขิด เป็นภาษาพ้ืนบ้านของภาคอีสาน มาจากค้าว่า สะกดิ หมายถึงการงัดซอ้ นขึ้น การสะกิดข้ึน (เพยี งจิตต์ มาประจง และคณะ, ๒๕๒๙: ๑)
๖๘ ภาพท่ี ๕-๒๒ ผ้าทอเทคนคิ ขดิ ภาพท่ี ๕-๒๓ ผ้าขดิ ตีนซิน่ ตัวอยา่ งผา้ จากคลังสะสมของ ดร.บาเพญ็ ณ อุบล ท่มี าภาพ: สทิ ธิชัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๑. “ผา้ ขดิ ” จงึ เป็นการเรียกขานช่อื ผ้าตามกระบวนการทอคือผทู้ อใช้ไมเ้ ก็บขดิ สะกิดชอ้ นเครือเส้นยืนขึ้น เป็นจังหวะตามลวดลายตลอดหน้าผ้า และพุ่งกระสวยสอดเส้นพุ่งพิเศษและเส้นพุ่งเข้าไปตลอดแนวเครือเส้น ยืนที่ถูกงัดชอ้ นขึ้น นั้น ช่วงจังหวะของความถ่ีห่างท่ีเครือเส้นยืนถกู ก้าหนดไวด้ ้วยไม้เก็บขิดจึงเกิดเป็นลวดลาย ขิดข้ึน วิธีการทอผ้าแบบ ขิด จึงเป็นรูปแบบการทอผ้าท่ีสร้างลวดลายในขณะก้าลังทอผ้า ตัวอย่างผ้าโบราณ บง่ ชี้ว่าเจ้านายเมืองอบุ ลฯ จะใช้เทคนิคขิดดว้ ยเส้นเงินเส้นทองในการทอทั้งตัวซ่ินและตนี ซิ่น โดยน่าจะน้าเข้า เสน้ ใยล้าคา่ เหลา่ น้จี ากฝรั่งเศส หรืออนิ เดยี “ขิดตีนซน่ิ ” เป็นผ้าที่เก็บลายขดิ เพื่อใช้ต่อ่ชายผา้ ซิน่ เรียกว่าตีนซนิ่ ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ฝา้ ยเปน็ หลกั ชา่ งทอจะใชว้ ิธเี ก็บลวดลายผ้าด้วย “ไมเ้ กบ็ ” แล้วจึงสอดพุง่ เสน้ ตา้ หรือเส้นพุ่งด้วยกระสวย แลว้ ทอใหแ้ น่นโดย การใช้ “กระสวย” ตกี ระทบเสน้ พุ่งแทนการใช้ “ฟมื ” ตกี ระทบแบบการทอผ้าทว่ั ไป ต่อมาภายหลงั จึงหันมาใช้ วธิ กี ารเกบ็ ลายใส่ “เขา” ซ่งึ บางครง้ั กเ็ รียกวา่ “เกบ็ เขา” ทา้ ใหท้ อซ้าลายเดิมได้เรว็ ขนึ้ ประโยชน์หลกั ของทง้ั หวั ซิ่นและตีนซ่ินทมี่ องเหน็ ไดช้ ัดเจนก็คือช่วยท้าให้ผา้ ซ่ินทีท่ อดว้ ยฟมื หน้าแคบ เวลาน่งุ แลว้ จะสัน้ เขินมคี วามยาวมากขน้ึ นอกจากน้หี วั ซิ่นซงึ่ นยิ มใชไ้ หมทอก็จะมคี วามบางและน่ิมดี เหมาะที่ จะนงุ่ โดยวิธกี ารเหน็บพกได้สะดวกเพราะแต่ก่อนไมม่ ีการใช้เขม็ ขดั คาด สว่ นตนี ซ่ินที่นยิ มใช้ฝ้ายน้ันนอกจากจะ ท้าใหส้ วยงามตามคา่ นิยมแล้วยังจะมีน้าหนักถ่วงให้ซ่นิ ไหมทง้ิ ตัวได้สวยงามไม่ปลิวพลวิ้ จนดูไมง่ ามตามคา่ นิยม ของสงั คมดว้ ย
๖๙ ภาพท่ี ๕-๒๔ ตนี ซิน่ ลายปราสาทผงึ้ ฝมี ือแมส่ มหมาย ชา่ งทอบ้านหนองบ่อ ภาพท่ี ๕-๒๕ ตนี ซนิ่ ฝมี ือแม่สมหมาย ชา่ งทอบ้านหนองบ่อ ทมี่ าภาพ: สิทธิชัย สมานชาติ, ๒๕๕๖. ๓) เทคนคิ การทอ “มัดหมี่” ผ้ามัดหม่ี คือ ผา้ ท่ที อจากด้ายหรอื ไหมทผ่ี ูกมดั แลว้ ย้อมโดยการคิดผกู ใหเ้ ปน็ ลวดลายแล้วย้อมสีก่อน ทอ ผา้ มัดหมี่มที ง้ั ทอด้วยด้ายและไหม (จิรา จงกล, ๒๕๒๕: ๒๘๒) ในปัจจุบัน นอกจากจะนิยมทอด้วยวัสดเุ ส้น ใยฝ้าย และเส้นใยไหม ซ่ึงเป็นเส้นใยธรรมชาติในท้องถิ่น แต่ในพ้ืนท่ีท่ีไม่มีวัสดุเส้นใยของตนเองก็นิยมไปซ้ือ เสน้ ใยประดษิ ฐท์ างวิทยาศาสตร์ เสน้ ใยโทเรจากตลาดเพือ่ ทอผา้ การทอผ้ามัดหม่ี เป็นศิลปะการทอผ้าพื้นเมืองชนิดหน่ึงที่นิยมท้ากันมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณอีสานตอนล่างโดยเฉพาะจังหวัดสุรินทร์ จังหวัด ศรีสะเกษ จังหวัดบุรีรมั ย์ สว่ นในจังหวัดอุบลราชธานีก็มกี ารทอเทคนิคนี้เชน่ เดียวกนั แต่จะนิยมทอแบบ “สอง ตะกอ” ซ่ึงแตกตา่ งจากการทอแบบ “สามตะกอ” ของจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ภาพท่ี ๕-๒๖ การมดั ลาหมตี่ ามจงั หวะลวดลาย ฝีมอื ช่างทอบา้ นคาปุน ท่มี าภาพ: มชี ยั แตส้ จุ ริยา, ๒๕๕๖.
๗๐ ภาพท่ี ๕-๒๗ การคน้ ลาหม่ี แยกเป็นลาๆ กอ่ นนาไปมดั ลาย ช่างทอบา้ นหนองบ่อ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ทม่ี าภาพ: สทิ ธชิ ัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๖. ภาพที่ ๕-๒๘ การมดั ลวดลายไหมมัดหม่ี เพอื่ เตรยี มทอเปน็ ผืนผ้า บา้ นคาปนุ จังหวัดอบุ ลราชธานี ท่มี าภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๓.
๗๑ ภาพที่ ๕-๒๙ แม่อษุ า ศลิ าโชติ ช่างฝีมอื บา้ นหนองบอ่ ทอผา้ มัดหมี่ ภาพท่ี ๕-๓๐ การทอผา้ มัดหมคี่ ั่นลายปราสาทผ้ึง ทมี่ าภาพ: สทิ ธิชยั สมานชาติ, ๒๕๕๖. ลักษณะเฉพาะของผ้ามัดหมี่ คือ รอยซึมของสีท่ีว่ิงไปตามบริเวณของลวดลายที่ถูกมัด และการ เหล่ือมล้าในต้าแหน่งของเส้นด้าย เมื่อถูกน้าข้ึนกี่หรือในขณะที่ทอซึ่งจะท้าให้เกิดลักษณะลายท่ีคลาดเคลื่อน ต่างจากผ้าทอชนิดอื่น ๆ การใช้ความแม่นย้าในการมัดย้อมและการข้ึนด้ายบนกี่ ตลอดจนการทอจะช่วยลด ความคลาดเคลื่อนนี้ลง หรืออาจใช้ลักษณะเหลื่อมล้าน้ีเป็นส่วนหน่ึงในการออกแบบ ซ่ึงนับเป็นเอกลักษณ์ ของผา้ มัดหมี่ (เยาวนจิ ทองพาหสุ ัจจะ และคณะ, ๒๕๒๖ : ๑) การออกแบบลวดลายผ้ามัดหม่ี เปน็ การสรา้ งสรรค์ลวดลายจากช่วงจังหวะการมัดเสน้ ใยไหมหรือเส้น ใยฝ้ายเป็นเปลาะ ๆ ด้วยเส้นเชือก แต่เดิมจะใช้เชือกกล้วยซ่ึงหาได้ง่ายเพราะท้าได้เองจากกาบกล้วย ส่วนใน ปัจจบุ ันนิยมใช้เส้นเชือกฟางพลาสติกแทน การมัดด้วยเส้นเชือกน้ีทา้ ให้สซี ึมผา่ นเขา้ ไปบริเวณทถ่ี ูกมัดไมไ่ ด้ เมื่อ น้าเส้นใยไปย้อมสีแล้วแกะเชือกออก จึงเกิดเป็นจังหวะลวดลายตามช่วงของการมัดเส้นเชือก ลวดลายมัดหมี่จะ คมชัดสวยงามหากมัดให้แน่นในแต่ละจุด ถ้าไม่แน่นสีจะซึมเลอะ อีกท้ังในขั้นตอนการย้อมสี ต้องตีและทุบเส้น ใยเพื่อให้สีซึมท่ัวถึงกัน ปมเชือกทุกจุดจึงต้องมัดให้แน่น บางท้องถิ่นท่ีนิยมลวดลายมัดหม่ีหลาย ๆ สีก็ต้องมัด โอบสี ยอ้ มสีหลาย ๆ คร้ัง ลวดลาย มดั หมี่ เมืองอบุ ลฯ จากการศึกษาตัวอย่างผ้าโบราณทั้งในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติและในคลังสะสมส่วนบุคคลส้าหรับ กรณีศึกษา “ลวดลายผ้ามัดหม่ี” นั้นได้ข้อสังเกตว่า เจ้านายเมืองอุบลฯ มีการสร้างสรรค์ลวดลายข้ึนใหม่ บางส่วนและบางส่วนน่าจะเป็นมรดกร่วมท่ีมีมาจากท้ังถ่ินฐานเดิมและจากท้ังลวดลายของชุมชนพื้นเมืองที่ อาศยั อยู่มาก่อนทเี่ จ้านายเมอื งอุบลฯจะมาตั้งถิ่นฐาน
๗๒ การทอผา้ มัดหม่ีในเมืองอุบลฯ จะนยิ มทอลวดลายผ้ามดั หม่แี บบ “หมคี่ ่ัน” (ลายมดั หม่ีสลับค่ันกบั ลาย ริ้ว) ซงึ่ สอดคลอ้ งกับลวดลายผ้าซิ่นทีบ่ ันทึกไวใ้ นฮูปแตม้ วัดทุง่ ศรเี มือง ทผี่ า้ ซนิ่ จะเป็นลายแนวดิ่งแบบ “ซิ่นหม่ี คน่ั ” ซ่ึงสืบทอดกันอย่างแพรห่ ลายจนถึงปัจจุบัน ส่วนลวดลายมัดหม่ีแบบ “หม่ีรวด” (ลายมัดหมี่ท่ีตอ่ เนอื่ งไป รวดเดียว) ก็มีการทอด้วยเช่นกัน แตไ่ ม่คอ่ ยนยิ มนกั โดยลวดลายเอกลักษณ์ของ “ผ้าซิ่นหม่ีค่ัน/ซิ่นหมี่น้อย” ได้แก่ ลายหอผาสาทเผ่ิง (ปราสาทผ้ึง) ลาย จอนฟอน(พังพอน) ลายนาคน้อย ลายหมากจับ ลายคลองเอี้ย เป็นต้น ซึ่งจากลวดลายเหล่านี้ ได้ข้อสังเกตท่ี ค้นพบความสัมพันธ์ของลวดลายผ้ามัดหม่ีกับงานศิลปะช่างฝีมืออ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีเดียวกันท่ีน่าสนใจจ้านวน ๓ ลวดลายคือ ๑. มัดหม่ี ลายหอผาสาทเผ่ิง (ปราสาทผึ้ง) ที่เจ้านายเมืองอุบลฯ น้าแรงบันดาลใจมาจาก “ปราสาท ผึ้ง” ท่ีชุมชนตนเองสร้างสรรค์เพ่ืองานพิธีกรรม ที่เชื่อมโยงกับการท้าบุญให้แก่บรรพชน ปู่ย่าตายายที่ล่วงลับ พบหลักฐานลวดลายผา้ นใ้ี นทอ้ งถิ่นอน่ื เชน่ จังหวัดสกลนคร แต่เปน็ ทีน่ ่าประหลาดใจวา่ มีชา่ งทอผ้าเมอื งอบุ ล ฯ เท่านั้นที่ยังคงสืบทอดการทอผ้าลวดลายน้ีไว้ได้ ในขณะที่ท้องถิ่นอ่ืนๆ ไม่ได้สืบทอดแล้ว ลายผ้ามัดหม่ีลาย ปราสาทผึ้งน้จี ึงกลายเปน็ ลวดลายเอกลักษณข์ องเมอื งอบุ ลฯ ท่โี ดดเด่นท่สี ดุ และสืบทอดอยา่ งแพรห่ ลาย ภาพท่ี ๕-๓๐ ภาพเปรยี บเทยี บ ภาพถา่ ยเก่า ประเพณีแหป่ ราสาทผง้ึ ตัวปราสาทผึ้งและผ้ามัดหมี่คัน่ ลายปราสาทผง้ึ ซงึ่ เปน็ ลวดลายเอกลักษณข์ องผา้ มดั หมเี่ มอื งอุบลฯ ที่มาภาพ: สิทธชิ ยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๗. ๒. มัดหม่ี ลายขอนาค/นาคน้อย ท่ีมีการสร้างสรรค์ข้ึนจากคติความเชื่อของชาวไท-ลาวแห่งลุ่มแม่น้า โขง ซึ่งจากการเทียบเคียงศิลปะในท้องถิ่น พบว่า มีความสัมพันธ์กับรูปทรงคันทวยแกะสลักไม้ ของวัดแจ้ง อ้าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ด้วยรูปทรงท่ีปรากฏเหมือนกัน และเป็นงานช่างฝีมือท้องถิ่นเดียวกัน จึง นบั เป็นเรื่องท่นี ่าสนใจว่าศิลปะงานชา่ งมกี ารแลกเปลี่ยนหรือใหแ้ รงบันดาลใจซึ่งกนั และกันในพื้นท่ี นอกจากน้ี ลาย “นาค” เป็นสื่อสัญลักษณ์ส้าคัญถึง ธาตุน้า ความอุดมสมบูรณ์ ของผู้คนในลุ่มแม่น้าโขง ซึ่งมีการทอผ้า ลวดลายน้ีในหลายกลุม่ ชาติพันธุ์
๗๓ ภาพท่ี ๕-๓๑ ภาพเปรียบเทยี บ ภาพสมิ วดั แจง้ คนั ทวยไม้แกะลายนาค และผา้ มัดหมี่คั่นลายขอนาคหรือนาคน้อย ซึง่ แสดง ความสมั พนั ธก์ นั ทางศิลปะและใชส้ ัญลกั ษณร์ ่วมกัน ที่มาภาพ: สทิ ธชิ ัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๗. ๓. มัดหมี่ ลายจอนฟอน (พังพอน) ที่มีการสรา้ งสรรค์ขน้ึ จากรูปร่างพังพอน ทเ่ี ป็นสัตวท์ ้องถ่นิ ทพี่ บ ทั่วไป ซ่งึ พังพอนเปน็ สัตวท์ ี่มีพลังอ้านาจสู้กับงูได้ จงึ เปน็ ส่ิงที่ยังตอ้ งศึกษาถึงสญั ลักษณ์ทแ่ี ฝงไวใ้ นลวดลายผ้า ต่อไป จากการสา้ รวจผา้ มดั หมี่ในภาคอสี าน เรากพ็ บวา่ ลวดลายนีเ้ ปน็ ลวดลายเอกลักษณ์ลายหนึ่งของเมือง อุบลฯ ดังหลักฐานตัวอยา่ งผา้ โบราณ ภาพท่ี ๕-๓๒ ภาพเปรยี บเทยี บ รปู รา่ งตัวพงั พอน และผ้ามัดหมค่ี ั่นลายจอนฟอน (พงั พอน) ซึ่งเปน็ สตั วท์ อ้ งถิ่น ที่มาภาพ: สทิ ธชิ ัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๗. สว่ นลวดลายเอกลักษณ์ของ ผ้ามัดหมี่ (หมร่ี วด) ได้แก่ ลายหมี่โคมหา้ ลายหมโี่ คมเจ็ด ลายหมี่วง หมี่ นาค หมหี่ มากจบั หมีห่ มากบก ลวดลายเหลา่ น้ไี ดแ้ บ่งปันใช้ร่วมกนั กบั กล่มุ ชาติพนั ธอ์ นื่ ๆในท้องถิ่น
๗๔ ส้าหรับเอกลักษณ์ “ผา้ ซ่ินหมฝ่ี า้ ย” นั้นนยิ มย้อมด้วยสีครามเปน็ พน้ื มดั เวน้ ลวดลายเป็นสีขาว อนั เป็น มรดกร่วมของชาวไท-ลาว และชนเผ่าในพื้นที่ลุ่มน้าโขง ซ่ึงในรายงานคร้ังนี้จะไม่ได้กล่าวถึงในรายละเอียด เน่ืองจากผา้ ชนดิ นี้ ไม่ได้เปน็ ผา้ ทอแบบเจ้านายเมืองอบุ ลฯ แตเ่ ปน็ ผ้าทอของสามญั ชน ๔) เทคนคิ การทอ “ทอขดั ” การทอขัด เป็นวิธีการเบื้องต้นของการทอผ้าทุกชนิด คือมีเส้นพุ่งและเส้นยืน สีเดียวกันและต่างสีกัน ถ้าทอเส้นยืนสลับสกี ็จะเกิดผ้าลายริ้วทางยาวหรอื ท้าเส้นพุ่งสลับสีก็จะได้ผา้ ลายขวาง ถ้าทอเส้นยืนและเส้นพุ่ง สลับสีจะได้ลายตาราง สา้ หรับผ้าซิ่นที่ต่อหัวจกดาวที่ทอดว้ ยเทคนิค “ทอขดั ” คอื “ผา้ ซ่ินทิว” ท่ีใช้การตั้งเส้น ยืนสลับสีกันเป็นริ้วใหญ่ริ้วเล็กสลับสีกัน ซ่ึงหลักฐานฮูปแต้มและตัวอย่างผ้าโบราณจ้านวนมาก บ่งช้ีว่าเมือง อุบลฯ เป็นแหลง่ สืบทอดทสี่ า้ คัญมากกว่าแหล่งอื่นๆ ส้าหรบั ผา้ ชนิดน้ี ภาพท่ี ๕-๓๓ และ ภาพท่ี ๕-๓๔ ผา้ ซ่นิ ทิวหวั จกดาว ทม่ี าภาพ: สทิ ธิชัย สมานชาต,ิ ๒๕๕๗. ๕) เทคนคิ การทอ “ควบเสน้ ” การทอผ้าควบเส้น เป็นศิลปะการทอผ้าพื้นบ้านชนิดหนึ่งที่สืบทอดต่อกันมานานทั่วทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอีสาน ผ้าควบเส้น น้ันเป็นที่รู้จักกันโดยท่ัวไปว่า ผ้าหางกระรอก ซ่ึงในจังหวัด อบุ ลราชธานี ใช้เทคนิค “ควบเส้น” หรือ “หางกระรอก” ทอแทรกสลบั กับผ้าพ้ืนสี ในการทอ “ผ้าโสรง่ ” “ซิ่น แล้” และยังมีการใช้ทอแทรกในลวดลาย “ซน่ิ หมี่คน่ั ” ด้วยเชน่ กัน
๗๕ การควบเสน้ เป็นวิธกี ารที่สร้างลวดลายและเหล่อื มกันของเส้นใยในผนื ผา้ ดว้ ยขัน้ ตอนก่อนการทอ โดย น้าเสน้ ใยไหมหรือเสน้ ใยฝา้ ยสองสี ทม่ี นี ้าหนักสอี ่อนแก่แตกต่างกัน เชน่ สีเขยี วกบั สดี ้า สขี าวกบั สเี ขียว สแี ดง กบั สีเหลอื ง มาปั่นตีเกลียวรวมเปน็ เสน้ เดียวกนั มที ้ัง “การปนั่ ตเี กลียวซ้าย” (Z twist) และ “การปัน่ ตเี กลียว ขวา” (S twist) เส้นดา้ ยทตี่ ีเกลยี วแล้วนใ้ี ช้เป็นเสน้ พุ่งหรอื เสน้ ยนื กไ็ ด้ สา้ หรบั เอกลักษณก์ ารควบเสน้ ของเมือง อบุ ลฯจะใช้เทคนิค “การตีเกลียววนซา้ ย” ภาพที่ ๕-๓๕ ภาพลายเสน้ การตีเกลยี ววนซา้ ย และวนขวา ภาพท่ี ๕-๓๖ เสน้ ไหมที่ควบเกลยี วสอี ่อนและสเี ข้มเข้าดว้ ยกัน ท่ีมาภาพ: สิทธิชยั สมานชาต,ิ ๒๕๕๗. ปกติแล้วเวลาชาวบ้าน “สาวไหม” ให้เป็นเส้นที่ชาวอีสานเรียกกันว่า “สาวหลอก” ออกจาก “ฝัก หลอก” คือ “รังไหม” น้ัน จะได้เส้นไหมเป็นเส้นขนาดต่างๆ ตามลักษณะและวิธีการสาว เช่น ไหมน้อยเป็น ไหมชน้ั ในเส้นเล็กมากเนื้อละเอียด ไหมเลยหรือไหมรวดเป็นไหมเส้นใหญ่ขึน้ กวา่ ไหมน้อย และไหมลึบหรอื ไหม ชั้นนอก เป็นไหมเส้นใหญ่ที่สุดเน้ือหยาบ เป็นต้น ในข้ันตอนท่ีชาวบ้านสาวเส้นไหมหรือเข็นไหมเส้นเดียว ดังกลา่ วนจ้ี ะเรียกกันวา่ “เข็นแกว่ง” เม่ือได้เส้นไหมขนาดตา่ งๆ แลว้ นา้ ไป “ฆ่า” หรอื ฟอกดว้ ยดา่ งจนเป็นเส้น ไหมสีขาวสะอาดและออ่ นน่มุ ก็จะน้าไปยอ้ มสตี ่างๆ ตามที่ตอ้ งการ เม่ือย้อมสีแลว้ บางครง้ั ชาวบ้านก็จะน้าเส้น ไหมไป “เข็นควบ” เข้าด้วยกันเพ่ือให้ได้เส้นไหมท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึน ก่อนท่ีจะน้าไปต้าหูกทอผ้าเป็นลักษณะ รปู แบบต่างๆ ตามต้องการ ถ้าเอาเสน้ ไหมสองเสน้ สีเดยี วกันจะเรยี กวธี ีการนว้ี ่า “คบุ ไหม” เม่ือเขน็ ควบหรือคุบ ไหมเสร็จแล้วจะเรียกเส้นไหมท่ีได้ว่า “ไหมคุบ” แต่ถ้าเอาเส้นไหมสองเส้นแต่ต่างสีกันมาเข็นควบเข้าด้วยกัน จะเรียกวิธีการน้ีว่า “ก่อมไหม” หรือ “เข็นหมับไม”คร้ันเมื่อเข็นมับไมหรือก่อมไหมเสร็จแล้วจะเรียกเส้นไหม น้ันวา่ “ไหมก่อม” หรือบางครั้งกจ็ ะเรยี กวา่ “ควบหมับไม” หรอื “เข็นหมับไม” กม็ ี ( สมชาย นลิ อาธิ และ สุนัย ณ อบุ ล, ๒๕๓๕: ๑๔๒) การทอผ้าซ่ินชนิดนี้ จะตั้งเส้นยืนสีพื้น ส่วนเส้นไหมที่ควบหมับไมจะน้ามาใช้เป็นเส้นพุ่ง เม่ือทอ ออกมาเป็นผืนแล้วจึงเรียกช่ือแตกต่างกันออกไปตามลักษณะวิธีการที่ท้าเส้นไหม เช่น ผ้าหมับไม ซ่ินหมับไม ซ่นิ ไหมกอ่ ม ซนิ่ ไหมควบ เปน็ ตน้ โดยจะนิยมตอ่ ตนี ซ่ินและหัวซน่ิ จกดาว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343