Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-15 08:16:12

Description: สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Search

Read the Text Version

ตวั อย่างข่าว แฟนตายุวทตู เพ่ือเราเพือ่ โลก ใชประกอบการวิเคราะห เร่ือง อปริหานิยธรรม 7 เขา สโู คงสดุ ทายแลว สําหรับโครงการแฟนตา ยุวทตู แหงประเทศไทย คร้ังท่ี 14 ประจําป 2552-2553 จดั โดย สาํ นักงานสง เสริมสวสั ดิภาพและพทิ ักษเ ด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสงู อายุ (สท.) รว มกบั กลุม ธรุ กิจโคคาโคลา ในประเทศไทย ลาสุดไดท มี เยาวชน 10 ทีม จาก 6 ภาค ผานเขา สูรอบตดั เชอื ก เพื่อเฟน หาผทู ีเ่ หมาะสมเปนแฟนตา ยวุ ทูต แหง ประเทศไทย รนุ ท่ี 14 ภายใตห วั ขอ “รว มทาํ สิง่ ดๆี ท่ีแตกตาง เพ่ือเรา...เพื่อโลก” โดยคัดเลือกจาก 180 ทมี ทวั่ ประเทศ จนขณะน้ีเหลอื 60 ทีมตวั เตง็ ในรอบตดั สนิ ภายในแตล ะภาคจะตองมาประชนั ไอเดียกนั อีกครง้ั กับการบานช้ินใหญ นนั่ คอื โครงการที่นํามา ประกวด ซง่ึ แตล ะทีมจะไดแสดงศักยภาพของตน หลังจากนาํ โครงการไปปฏิบตั จิ รงิ เปน รูปธรรม ผานการนําเสนอ และตอบคําถามจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ที่มา : หนงั สือพิมพขาวสด ฉบับวันอังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ผนู าํ ผลิตภณั ฑก อ สรา ง ใชประกอบการวเิ คราะหเรอื่ ง อปรหิ านยิ ธรรม 7 นายกติ ติชยั ไกรกอ กจิ กรรมกรรมผูจดั การ บริษัท โสสุโก แอนด กรปุ (2008) จาํ กดั ผูผลิตและจดั จําหนา ย กระเบื้องปูพื้น และบผุ นงั แบรนด “โสสุโก” ผลิตภัณฑก อสรา งในเครือซีเมนตไทย (เอสซีจี) เปดเผยวา ปน ้ีบริษทั ไดใ ชง บประมาณ 500 ลา นบาท เพ่ือสรา งแบรนด โสสโุ ก และแบรนดในเครือ ซ่ึงถือวาเปน ปแ รกในรอบ 18 ป ที่ กอตั้งบริษทั มา เพื่อปรบั ทศิ ทางการทาํ ตลาดที่จะรุกอยา งตอ เนอื่ งนบั จากนี้ และวางแผนจะใชง บการตลาด 10% ของยอดขายหรือประมาณ 500 ลานบาทข้ึนไป โดยบริษทั ตองการสรา งแบรนดใ หผ ูบริโภคภมู ิใจในการ ใชส ินคา ของบรษิ ทั และมีการบอกตอเพ่อื ปองกันการลอกเลียนแบบสินคา จากจีนท่ีมกั จะนํารปู แบบลวดลาย กระเบ้ืองท่ีไดร ับความนยิ มไปผลิตและจําหนา ย ในแบรนดข องตนเอง นอกจากนี้ บริษัทยังไดล งทนุ เพม่ิ อกี 700 ลา นบาท เพ่ือขยายกาํ ลังการผลติ สินคาอกี 20-30% ภายใน 5 ป นบั จากนี้ สําหรบั รองรับการเตบิ โตของธรุ กิจอสงั หารมิ ทรัพยในไทยที่มีแนวโนมเติบโตอยางตอเน่ือง จะเห็นไดจ าก ในชว งคร่งึ ปหลังของปน ี้มีสญั ญาณการฟน ตัวท่ดี ีแลว พรอมกนั น้กี ารเพิ่มกําลังการผลติ เพอื่ รองรับการสงออกสินคา ไปยังประเทศตา งๆ อาทิ แคนาดา คอสตาริกา และเดนมารก เปน ตน โดยคาดวา สดั สวนการสง ออกจะเพิ่มเปน 25% ภายในส้นิ ปน ี้ จากเดมิ อยูท่ี 20% ในปจจุบนั นายกิตติชัย กลาววา บรษิ ัทต้ังเปา หมายรายไดป น ้ีจะเติบโต 12% หรือกวา 5,000 ลานบาท จากปท ่แี ลว มี รายได 4,600 ลานบาท ในขณะที่ภาพรวมตลาดกระเบื้องปูพ้ืนและบผุ นงั ในประเทศไทยมีมลู คากวา 20,000 ลาน บาท คาดวา จะมีอตั ราการเติบโต 10% บรษิ ทั มสี วนแบงตลาด 24-25% และคาดวา ในอกี 5 ป ขา งหนา หลังจาก เพิ่มกําลังการผลิตเต็มรปู แบบและการสรางแบรนดอ ยางตอเนอื่ ง บรษิ ทั จะมสี วนแบงตลาดดงั กลาว 30% เปน ผนู าํ ตลาดดังกลาวได ที่มา : หนงั สือพมิ พขาวสด ฉบับวนั จนั ทรท่ี 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ใบงานที่ 3.6 อปรหิ านิยธรรม 7 คาํ ช้ีแจง ใหน กั เรยี นสบื คนขอมลู ของกลุมบคุ คล องคกรทง้ั ภาครฐั และเอกชนท่ีมคี วามสามคั คีกนั ซ่งึ นาํ ไปสูความ เจรญิ กาวหนาขององคกรดังกลาว แลว นํามาเปนขอ มูลตอบคําถามในประเด็นทีก่ าํ หนด เร่อื ง (สาระสําคญั โดยยอ) ท่มี า :

คาํ ถาม 1. ช่อื ขาว 2. การปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมอปริหานยิ ธรรม 7 1) หม่ันประชุมกันเนืองนิตย ตวั อยางการกระทํา คือ 2) พรอมเพรียงกันประชมุ ตวั อยางการกระทํา คือ 3) ไมบัญญัตหิ รือเลิกลม ขอบญั ญัติตามอาํ เภอใจ ตัวอยางการกระทาํ คือ 4) เคารพและรับฟงความเหน็ ของผูใหญ ตัวอยา งการกระทาํ คือ 5) ไมขมเหงหรอื ฉดุ คราสตรี ตัวอยา งการกระทาํ หรือการละเวน คอื 6) เคารพสักการะเจดยี  ตัวอยางการกระทาํ คือ 7) ใหก ารอารักขาแกพระอรหนั ต ตัวอยางการกระทํา คือ 3. ผลของการปฏบิ ตั ิเปน ประโยชนอ ยา งไร 4. นกั เรยี นจะนําตวั อยางทดี่ ีไปปฏิบัตไิ ดอยา งไรบาง

เฉลย ใบงานท่ี 3.6 อปรหิ านยิ ธรรม 7 คาํ ชีแ้ จง ใหนักเรียนสืบคนขอมลู ของกลมุ บุคคล องคกรทั้งภาครฐั และเอกชนท่มี คี วามสามัคคีกนั ซงึ่ นาํ ไปสูความ เจริญกา วหนาขององคกรดังกลาว แลว นํามาเปนขอ มูลตอบคําถามในประเด็นทีก่ าํ หนด เรื่อง (สาระสําคัญโดยยอ) ที่มา :

คําถาม 1. ชอ่ื ขา ว 2. การปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมอปริหานิยธรรม 7 1) หม่ันประชุมกนั เนืองนิตย ตวั อยางการกระทํา คือ 2) พรอ มเพรียงกันประชมุ ตัวอยางการกระทํา คอื 3) ไมบ ัญญัติหรือเลิกลม ขอบญั ญัตติ ามอําเภอใจ ตัวอยางการกระทํา คือ 4) เคารพและรบั ฟงความเหน็ ของผูใหญ ตัวอยางการกระทํา คือ 5) ไมขมเหงหรอื ฉุดคราสตรี ตวั อยางการกระทาํ หรือการละเวน คือ 6) เคารพสักการะเจดยี  ตัวอยางการกระทาํ คือ 7) ใหการอารักขาแกพระอรหันต ตวั อยา งการกระทํา คอื 3. ผลของการปฏิบตั ิเปน ประโยชนอยา งไร 4. นกั เรยี นจะนาํ ตัวอยา งทด่ี ีไปปฏบิ ัติไดอยางไรบาง (พจิ ารณาตามคาํ ตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)



แผนการจัดการเรยี นรูที่ 12 ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 5 กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา 2 ช่วั โมง หนวยการเรียนรทู ่ี 3 หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เร่อื ง ปาปณกิ ธรรม 3 และทิฏฐธัมมกิ ตั ถสงั วตั ตนิกธรรม 4 1. สาระสาํ คญั /ความคิดรวบยอด การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมปาปณกิ ธรรม 3 และทิฏฐธมั มิกตั ถสงั วตั ตนิกธรรม 4 ยอมสงผลตอ การอยูรว มกนั ในสงั คมอยางสันติสุข 2. ตัวช้วี ัด/จุดประสงคการเรียนรู 2.1 ตัวช้ีวัด ส 1.1 ม.4-6/13วิเคราะหห ลกั ธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักคาํ สอนของศาสนาทต่ี นนบั ถือ ม.4-6/16เช่อื มั่นตอ ผลของการทาํ ความดี ความช่วั สามารถวเิ คราะหสถานการณที่ตอ งเผชิญและ ตดั สนิ ใจเลอื กดําเนนิ การหรือปฏบิ ตั ติ นไดอ ยางมเี หตุผลถูกตอ งตามหลักธรรม จรยิ ธรรม และกาํ หนดเปาหมาย บทบาทการดําเนินชวี ติ เพื่อการอยูร วมกนั อยางสนั ติสุขและอยู รวมกนั เปน ชาติอยางสมานฉันท 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู - วเิ คราะหผลของการปฏิบัตติ นตามหลกั ปาปณิกธรรม 3 และทฏิ ฐธมั มกิ ัตถสังวัตตนกิ ธรรม 4 พรอมกับสามารถนาํ ไปประยุกตป ฏิบตั ไิ ด 3. สาระการเรียนรู (2) ทิฏฐธัมมิกัตถสังวตั ตนิกธรรม 4 3.1 สาระการเรยี นรูแ กนกลาง • อรยิ สัจ 4 - มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) (1) ปาปณกิ ธรรม 3 3.2 สาระการเรียนรทู องถิ่น (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน 3) ทักษะการสรุปลงความเห็น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4) ทักษะการประยุกตใชความรู 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการสาํ รวจคนหา 2) ทักษะการวิเคราะห 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเรยี นรู

6. กจิ กรรมการเรยี นรู วธิ ีสอนแบบธรรมสากัจฉา (นักเรียนสวดมนตบูชาพระรตั นตรัยและทาํ สมาธกิ อ นเรียนทุกช่วั โมง) ชวั่ โมงท่ี 1 ข้นั นําเขาสบู ทเรยี น 1. ครูนําขอมูลของบุคคลที่ทาํ ธรุ กจิ ประสบความสาํ เรจ็ และบคุ คลท่ีประกอบอาชพี สุจรติ แลว ประสบความสําเรจ็ มาเลา ใหน ักเรยี นฟง แลว ใหนักเรยี นชว ยกันแสดงความคดิ เห็นถึงคุณธรรมสาํ คญั ท่ีพวกเขานําไปเปน หลักปฏบิ ัติ ซ่งึ สงผลใหชวี ติ ของเขาประสบความสําเรจ็ 2. ครอู ธิบายเชอ่ื มโยงใหนักเรยี นเขาใจวา การกระทําของบุคคลดงั กลาวสอดคลอ งกบั หลกั ธรรมปาปณกิ ธรรม 3 และทิฏฐธัมมกิ ตั ถสังวตั ตนิกธรรม 4 3. นกั เรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  ถา นักธุรกจิ หรอื พอคาทํากจิ การตางๆ ในฐานะนักธรุ กจิ หรอื พอคา ทด่ี ี จะสงผลดอี ยางไรบา ง (พจิ ารณาตามคําตอบของนักเรยี น โดยใหอยใู นดุลยพนิ ิจของครูผูส อน) ขั้นสอน 1. แสวงหาความรู ครูใหน ักเรียนแตล ะกลุม (กลุมเดิมจากแผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1) แบง ออกเปน 2 กลุมยอ ย ใหแ ตละกลุม รวมกนั ศึกษาความรูเ ร่ือง ปาปณิกธรรม 3 และทิฏฐธมั มิกัตถสงั วัตต-นกิ ธรรม 4 จากหนังสือเรียน หรอื หนงั สอื คน ควา เพม่ิ เติม หอ งสมุด และแหลง ขอ มลู สารสนเทศ โดยแบง หนาทก่ี ันศึกษากลุม ยอยละ 1 เรื่อง 2. คน พบความรู/สนทนาแลกเปล่ียนความรู สมาชิกกลุมยอยของแตละกลุมนําความรทู ่ีไดศึกษาคน ควา มาอภิปรายสนทนาแลกเปลยี่ นความรูกนั โดย ยกตัวอยางประกอบหลกั ธรรมทไ่ี ดศกึ ษามา หากมขี อสงสยั ใหสอบถามครผู ูสอน ชว่ั โมงท่ี 2 3. วเิ คราะหและประเมินคาความรู 1. สมาชกิ แตล ะกลุม แบง หนาทีก่ ันทําใบงาน ดังน้ี - กลมุ ยอ ยที่ 1 วเิ คราะหภาพแลว ตอบคําถามในใบงานท่ี 3.7 เรื่อง ปาปณกิ ธรรม 3 - กลุมยอยที่ 2 วิเคราะหขา วแลวตอบคาํ ถามในใบงานท่ี 3.8 เรือ่ ง ทฏิ ฐธัมมกิ ัตถสังวัตตนกิ ธรรม 4 2. สมาชกิ แตละกลมุ ยอยผลดั กนั เลาผลงานใหเ พ่อื นในกลมุ ฟง พรอ มทงั้ ผลัดกนั ซักถามขอสงสัย 3. ครใู หต ัวแทนกลุมนําเสนอผลงานหนาชน้ั เรยี น ครูตรวจสอบความถกู ตองและใหขอเสนอแนะ 4. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  ผูทปี่ ฏิบตั ิตนตามหลกั ทฏิ ฐธัมมกิ ตั ถสังวตั ตนิกธรรม 4 นั้น สงผลดีตอตนเองอยา งไร (ไดรับประโยชนจ ากการประกอบกจิ การที่ตนทาํ อยเู หน็ ไดทันตา)  นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ติ นตามหลักทิฏฐธัม-มิกตั ถสังวตั ตนกิ ธรรม 4 อยางไร และผลทค่ี าดวา จะ ไดร ับคอื อะไร (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรยี น โดยใหอ ยูในดลุ ยพนิ จิ ของครูผูส อน)

4. พสิ ูจนค วามรูหรือปฏบิ ัติ 1. ครูใหส มาชิกในแตล ะกลมุ รวมกันวางแผนปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมปาปณิกธรรม 3 และทิฏฐธัมมกิ ัตถ- สังวตั ตนิกธรรม 4 2. สมาชกิ แตล ะคนปฏิบตั ิตนตามแผนทไ่ี ดวางไว พรอมทั้งบนั ทกึ ผลการปฏิบัติ แลว รวบรวมสงครูตาม กําหนดเวลาทไ่ี ดตกลงกัน ขนั้ สรปุ ครูและนักเรยี นรวมกันสรปุ สาระสําคัญของหลักธรรมปาปณิกธรรม 3 และทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 และ แนวทางการปฏบิ ัติตน 7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑ ตรวจใบงานที่ 3.7 ตรวจใบงานที่ 3.8 ใบงานท่ี 3.7 รอยละ 60 ผานเกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล ใบงานที่ 3.8 รอยละ 60 ผานเกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน สังเกตความมีวินัย และใฝเรียนรู รายบุคคล เกณฑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ 8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่อื การเรยี นรู 1) หนงั สอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสอื คนควาเพม่ิ เติม - เสฐยี รพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรุงเทพมหานคร : มติชน. 3) เอกสารประกอบการสอน 4) ตวั อยา งขาว 5) ใบงานที่ 3.7 เรื่อง ปาปณิกธรรม 3 6) ใบงานท่ี 3.8 เร่ือง ทฏิ ฐธัมมิกัตถสงั วตั ตนิกธรรม 4 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) หองสมุด 2) แหลงขอ มูลสารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/wiki/ทฏิ ฐธัมมกิ ตั ถประโยชน - http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=289 - http://ranthong.com/smf/index.php?topic=13063.0;wap2 - http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=232 - http://www.oknation.net/blog/print.php?id=282747

เอกสารประกอบการสอน ตอบ อทิ ธิพทั ธ เจา ของธรุ กจิ พนั ลา น เถาแกนอ ย ตอบ อทิ ธพิ ทั ธ กลุ พงษวณชิ ย เศรษฐรี อ ยลานคนนี้ กอ นหนาน้เี ขาถกู ตราหนาวา เปน คนไมเอาถา น ไมส นใจเรียน จึงเรยี น จบช้นั ระดบั มัธยมมาไดอ ยา งยากลาํ บาก และเรยี นตอ ระดบั อดุ มศึกษา ซ่ึงตอนน้ันน่ันเองเขาก็เรมิ่ กา วเขา สถู นน แหง เสนทาง ธรุ กิจ พรอ มตงั้ ใจจะทาํ ความฝนของตัวเองใหเปน จริงดวยการมีธรุ กจิ เปนของตัวเอง โดยขายเครือ่ งเลนวีซีดี ดูทําเลเปด รา นกาแฟหนามหาวทิ ยาลัย แตก ็ไมเ ปน ทปี่ ระสบความสาํ เรจ็ จนกระท่งั เขาไดไ ปเดนิ งาน แฟรชองทางธรุ กิจ ซง่ึ ในงานนนั้ มเี ฟรนไชสจ ากประเทศญ่ีปุนมาออกบทู ดวยความทเ่ี ขาเปนคนชอบกนิ เกาลดั อยูแ ลว เลยสนใจ ธรุ กิจนีเ้ ปนพเิ ศษ จงึ เขาไปสอบถามคาเฟรนไชสเ กาลัดดังกลา ว แตท วาราคาสงู เกินกาํ ลังท่ีเขามี เลยขอแคเชาตคู วั่ เกาลัดเทา นน้ั แลวมาสรา งเฟรนไชสเ ปนของตัวเอง และเมอื่ วนั ที่เขาตองไปเซน็ สญั ญาซอ้ื ขายเกาลัดท่ีหางแหง หน่งึ กอ นออกจากบานเขาไดย นิ คุณพอ พดู กับเพื่อนวา \"ลูกอว้ั กาํ ลงั จะเปน เถาแกนอ ยแลว \" คาํ วาเถา แกน อยท่ีไดยนิ ตอนนั้นน่ันเอง ที่เปนท่ีมาของชอ่ื \"เถา แกน อย\" สาหรายทอดกรอบในปจ จุบัน เศรษฐรี อยลา น ไดใชเวลาเพียงแคปก วา ๆ ขยายเฟรนไชสเ กาลัดเถา แกนอย ไดกวา 30 สาขา และเมือ่ เขาเหน็ วา เฟรน ไชสข องเขาขายไดหลายแหง แลว เขาจึงคิดจะทาํ สนิ คาอ่ืนเพม่ิ เติม จงึ ลองนาํ อยางอน่ื มาวางขายในราน ไมวาจะเปน เกาลดั ลูก ทอ ลาํ ไยอบแหง และสาหราย แตส ินคา ทีข่ ายดที สี่ ดุ ในตอนนัน้ กลบั ไมใชเ กาลดั แตก ลายเปน สาหรา ยทอดกรอบ ซง่ึ นั่นเปนแรง บนั ดาลใจท่ีทําใหเขาอยากตอ ยอดธุรกจิ ในการทําสาหรายทอดตรา \"เถา แกนอ ย\" อยางจริงจัง หลังจากน้นั เขากพ็ ยายามศึกษา หาความรูเก่ยี วกบั สาหราย และไดลองผดิ ลองถูกอยหู ลายครงั้ โดยเร่ิมจากบรรจุซองพลาสติก ไปฝากตามรา นคาตา ง ๆ แตก็มีอปุ สรรคมากมาย ทง้ั สนิ คาหมดอายุไว รูปแบบแพก็ เกจจําหนายไมส วย จงึ ทาํ ใหเ ขากลบั มานง่ั คิดอีก ครงั้ วา จะทําอยางไรใหส นิ คา เกบ็ ไวไ ดนาน มีแพ็คเกจท่ีนา สนใจ และสามารถขายในรา นสะดวกซือ้ อยา ง 7-11 และเมอื่ เขาได ปรับปรุงสินคาเรยี บรอ ยแลว เขาจงึ นาํ สาหรา ยเถาแกนอ ยไปเสนอแก 7-11 อกี ครั้ง และจากนั้นก็ไดรับการติดตอ กลับมาในทนั ที วา \"ภายใน 3 เดือน สนิ คาคณุ พรอ มจะวางขายในรา น 7-11 จาํ นวน 3,000 สาขาทัว่ ประเทศ หรอื ไม\" หลังจากที่ ตอบ อทิ ธพิ ัทธ ตอบตกลงไปแลว เขากต็ องกบั มาน่งั กุมขมับ กบั ปญหา และสิง่ ท่ีตามมาทง้ั การสรางโรงงาน เงินทนุ แหลงวัตถุดิบ การนาํ เขา เคร่ืองจกั รตางๆ เพ่อื ผลติ สินคาใหไ ดม าตรฐาน พรอ มสงขายแก 7-11 กวา 3,000 สาขา ใน ระยะเวลาเพยี ง 3 เดอื นเทา น้ันเขาจึงเดนิ หนาดว ยการเรมิ่ ตนหาทุนสรา งโรงงาน โดยการไปขอกูย มื จากธนาคารแหงหนึ่ง แตก ็ ไดรบั การปฏเิ สธกลับมา น่ันเปน เพราะวา ในตอนน้นั เขามอี ายเุ พยี ง 20 ป เทาน้นั และเม่ือเขากเู งินไมผ าน เขาจึงยอมตัดใจขาย ธรุ กจิ เฟรนไชสเ กาลดั ทิง้ ซ่ึงเฟรนไชนกวา 30 สาขา ในขณะทธ่ี รุ กิจกําลงั กา วหนา ตอบ อิทธพิ ัทธ ไดตัดสนิ ใจดร็อปเรยี นไวตอนป 1 เพอื่ นําเวลามาทาํ ธุรกิจสวนตัวอยางเต็มตัว โดยการสรา งโรงงานผลติ สาหรา ยทอด และคนงานอกี เพยี งแค 6-7 คนเทา นั้น ทกุ คนทาํ งานอยางหนกั ยิ่งชว งใกลสง สนิ คา ใหก บั ทาง 7-11 ครอบครัวและคนงานของเขา แทบไมไ ดห ลับไดน อน ทอดสาหราย และบรรจุภณั ฑ เขาสามารถบรรทกุ สาหรา ยเถา แก นอยเต็มคันขบั ไปสง ศนู ยจ าํ หนาย 7-11 ไดส าํ เร็จ จากน้ันเปนตนมาสาหรา ย \"เถาแกน อย\" กท็ ะยานสตู ลาดวยั รนุ และผูบริโภคท่ีชืน่ ชอบสาหรายทอดกรอบไดส าํ เร็จ สว นต อบกก็ ลายเปนนกั ธุรกจิ หนมุ ใหมไ ฟแรง เปลยี่ นสถานะจากเศรษฐรี อ ยลา น กลายเปน เศรษฐพี ันลา นไดอ ยา งสาํ เร็จสว นเรื่องการ เรยี นของ ตอ บ อทิ ธิพัทธ นนั้ ตอนนเ้ี ขามีวุฒกิ ารศึกษาสงู สดุ เพียงแคระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 6 เทา นนั้ ซ่ึงตอนนี้เขาก็ไดล งเรียน อกี ครงั้ ท่ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ซงึ่ แมวาเขาจะเชือ่ วา ประสบการณไ มไ ดม าจากทฤษฎีในหอ งเรียน แตม นั มาจากการ ลงมอื ปฏบิ ัตกิ ต็ าม แตท ่เี ขาเรยี นนน่ั กเ็ พ่ืออยากจะใหพ อแมไดภ ูมใิ จ และอยากถา ยรปู รับปริญญารวมกบั ครอบครวั เพยี งเทา น้นั ทีม่ า : http://hilight.kapook.com/view/63170

ตวั อย่างข่าว ธุรกจิ รสี อรต ใชป ระกอบการวเิ คราะหเรอ่ื ง ปาปณกิ ธรรม 3 นายเฟรดดริค อะรลู ผจู ัดการท่วั ไป บรษิ ทั บนั ยันทรี โฮเทล แอนด รีสอรต จํากดั ผบู รหิ าร บตู กิ รสี อรต โรงแรม ที่ พกั อาศัย และสปา เปดเผยวา บรษิ ัทไดเปดใหบ รกิ ารโครงการบนั ยนั ทรี สมุย อยา งเปนทางการต้ังแตว นั ที่ 1 ก.ค. ทผ่ี า นมา หลังจากไดเรมิ่ ทาํ การตลาดต้ังแตป ลายปท ี่แลว ในประเทศแถบยโุ รป อาทิ อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส สวติ เซอรแลนด และรสั เซยี เปนตน รวมทงั้ ประเทศแถบภมู ิภาคเอเชีย อยา งเกาหลี สิงคโปร จนี อินเดีย และออสเตรเลีย โดยขณะนีม้ ลี ูกคาประเทศเกาหลี ในกลมุ ฮนั นมี ูนใหการตอบรับการจองหองพักเขา มามากท่สี ุด พรอ มกนั น้บี รษิ ทั ยังตอ งการดึงตลาดลกู คาคนไทยดว ย จากทผ่ี านมากลมุ บันยันทรจี ะเนนเฉพาะลกู คาตา งชาตเิ ปน หลกั ดงั นนั้ ในชวงเปด ตัวจงึ ไดจ ัดโปรโมชน่ั “อนั บที เอเบิล ไทยแลนด” นําเสนอหองพักราคาพิเศษเรม่ิ ตนท่ี 21,610 บาท หรือต่ํา กวา ราคาจริงประมาณ 30-35% ไปจนถงึ สน้ิ ปน ี้ คาดวาจะมีสดั สวนลูกคาคนไทยเขามาใชบริการ 5% จากเปาหมายยอดพักใน ปน อี้ ยทู ี่ 60% ของจํานวนหอ งพักทั้งหมด ทัง้ น้ี โครงการบนั ยันทรี สมุย ตั้งอยบู นทีด่ ินทงั้ หมด 95 ไร ซ่ึงมีบรษิ ัท ทีซซี แี ลนด กรุป จาํ กดั ของนายเจรญิ สิริ วฒั นภกั ดี เปน เจา ของทด่ี นิ และผลู งทุนพัฒนาโครงการท้งั หมดภายใตงบประมาณกวา 2,000 ลานบาท ในขณะที่บริษัทเปน ผูบริหารโครงการภายใตบรษิ ัท สมยุ โฮเตล็ แอนด รีสอรท จาํ กัด โดยตามนโยบายตองการพฒั นาใหเปน โครงการระดับหรบู น เกาะสมยุ เพื่อรองรบั กลุมลูกคาตา งชาตเิ ปน หลกั รวมท้งั ลูกคาคนไทยท่มี กี ําลังซ้อื แมว า การแขงขนั ธรุ กิจโรงแรมและรสี อรตบน เกาะสมยุ จะมสี ูง แตเ ชอ่ื วา ดวยทาํ เลท่ีตง้ั และรูปแบบของโครงการทโ่ี ดดเดน ตลอดราคาหอ งพกั จะสามารถแขงขันกบั คูแขง ทีม่ ี อยูเดมิ ได ที่มา : หนงั สือพมิ พขา วสด ฉบับวนั องั คารท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ.2553

ใบงานท่ี 3.7 ปาปณิกธรรม 3 คาํ ช้ีแจง ใหนักเรยี นวเิ คราะหภาพ แลวตอบคาํ ถามตอไปนี้ ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 ภาพที่ 3 คําถาม 1. ทําไมการคาขายในภาพท้งั 3 จงึ มคี วามแตกตา งกนั 2. ฐานะของผทู ่ีไปซอ้ื ของในรานทัง้ สามรานมีความแตกตางกันหรือไม อธิบายเหตผุ ล 3. ผปู ระกอบการคาหรือพอคา ท่ีดี ควรมคี ณุ ลกั ษณะอยางไร 4. นกั เรยี นเคยไปซอ้ื สนิ คาทใี่ ด ทีแ่ สดงวา ผูป ระกอบการคา หรอื พอคา มคี ุณลักษณะของพอคาทด่ี ี จงยกตวั อยาง 5. นกั เรียนคิดวา การเปน พอคาทดี่ นี น้ั สง ผลดตี อตนเอง สังคม และประเทศชาติอยางไร

ใบงานที่ 3.8 ทิฏฐธมั มกิ ัตถสังวตั ตนกิ ธรรม 4 คาํ ช้ีแจง ใหนักเรียนวิเคราะหข า ว แลว ตอบคาํ ถามตอไปน้ี ตอ บ อิทธพิ ทั ธ กลุ พงษวณชิ ย กอ นจะเปน เศรษฐรี อยลา นคนนี้ เขาถูกตราหนา วา เปนคนไมเอาถาน เขาเรมิ่ เลน เกม ออนไลนม าตงั้ แต ม.4 ถึงขนาดสะสมแตม จนรวยทส่ี ุดในเซริ ฟเวอร กลายเปน ผทู ี่มชี อ่ื เสยี งอยา งมากในเกมดังกลาว และนน่ั ก็ เปน การเริ่มตน สรา งรายไดใหเขาเปนกอบเปนกาํ ในชว งจงั หวะทีเ่ กมออนไลนเรมิ่ ไมเ ปนท่นี ยิ มเหมือนเคย เขากห็ ารายไดจ ากชองทางอ่นื ท้งั ขายเครอ่ื งเลนวีซดี ี ดทู าํ เล เปด รานกาแฟ แตกไ็ มเ ปน ที่ประสบความสาํ เร็จ จนกระทงั่ เขาไดไ ปเดนิ งานแฟรชองทางธุรกจิ และไดเ ขา ไปขอเชา ตคู ั่วเกาลัด แลวมาสรา งเฟรนไชสเ ปน ของตวั เอง โดยใชเวลาเพียงแคป ก วาๆ ขยายเฟรนไชสเกาลดั เถาแกนอ ย ไดก วา 30 สาขา นอกจากนแ้ี ลว เขายังไดล องนาํ อยา งอน่ื มาวางขายในราน ไมวา จะเปน ลกู ทอ ลําไยอบแหง และสาหรา ย ซึ่งสนิ คา ท่ีขายดีทสี่ ุด ในตอนน้ันกลับไมใ ชเ กาลัด แตก ลายเปนสาหรา ยทอดกรอบ ซงึ่ นน่ั เปน แรงบนั ดาลใจทท่ี าํ ใหเขาอยากตอยอดธุรกจิ ในการทาํ สาหรายทอดตรา \"เถาแกน อย\" อยางจริงจัง โดยการพยายามศกึ ษาหาความรเู กีย่ วกบั สาหราย และไดล องผิดลองถกู อยูหลาย คร้ัง เขาอยากใหผูบ ริโภคจดจําสนิ คา ของเขาไดท ันทที ี่แรกเห็น เขาจึงทําโลโกเ ปนเด็กหนา ยิ้ม ดนู า รักมคี วามสขุ อกี ทงั้ ถือธง เพอื่ ใหรวู า ถงึ จะเปน ของกนิ เลนแตมีคณุ คาทางอาหารสูง รวมไปถึงเพมิ่ รสชาตติ างๆ ใหหลากหลาย และเม่อื เขาไดป รบั ปรุง สนิ คา เรยี บรอยแลว เขาจึงนาํ สาหรายเถา แกน อยไปเสนอแก 7-11 อีกครั้ง และจากนัน้ กไ็ ดรบั การตดิ ตอ กลับมาในทันทีวา \"ภายใน 3 เดือน สนิ คาคณุ พรอ มจะวางขายในราน 7-11 จํานวน 3,000 สาขาทัว่ ประเทศ หรอื ไม\" ทง้ั ๆ ท่ีตอนน้ันมี คาํ ถามอยเู ตม็ หัวไปหมด แตเ ขากต็ อบกลบั 7-11 ไปเกือบจะทันทวี า พรอ มครบั !!! หลงั จากทตี่ อบตกลงไปแลว เขากต็ อ งกบั มานั่งกุมขมับกับปญ หา และสง่ิ ทตี่ ามมา เพือ่ ผลติ สนิ คา ใหไ ดมาตรฐาน พรอม สง ขายแก 7-11 กวา 3,000 สาขา ในระยะเวลาเพียง 3 เดอื นเทานน้ั เขาจึงเดินหนาดวยการเริม่ ตนหาทนุ สรางโรงงาน โดย การไปขอกูยืมจากธนาคารแหง หนงึ่ แตก็ไดรบั การปฏเิ สธ เขาจงึ ยอมตัดใจขายธรุ กิจเฟรนไชสเ กาลัด เขาไดต ัดสินใจพกั การเรียนเพ่ือนําเวลามาทาํ ธรุ กิจสวนตัวอยางเตม็ ตวั นาํ เงินทขี่ ายเฟรนไชสเ กาลดั มาลงทุนกับสาหรา ย ทั้งหมด โดยการสรา งโรงงานผลติ สาหรายทอด ซึ่งมพี นักงานกค็ อื ครอบครัวของเขาทุกคน และคนงานอกี เพยี งแค 6-7 คน เทานนั้ ทกุ คนทาํ งานอยางหนัก แทบไมไ ดห ลบั ไดนอน ทอดสาหราย และบรรจุภณั ฑ แตก็สาํ เร็จ เขาสามารถบรรทุกสาหรา ย เถาแกน อ ยเต็มคัน ขบั ไปสง ศูนยจาํ หนา ย 7-11 ไดท ันเวลา จากน้ันเปน ตนมา สาหรา ย \"เถา แกน อ ย\" ก็ทะยานสูต ลาดวัยรนุ และผบู รโิ ภคทชี่ ่ืนชอบสาหรา ยทอดกรอบไดส ําเรจ็ สว น ตอบ กก็ ลายเปน นักธรุ กจิ หนมุ ใหมไฟแรง เปล่ียนสถานะจากเศรษฐรี อ ยลา น กลายเปนเศรษฐพี นั ลา นไดอ ยาง สงา งาม ท่มี า : http://th.wikipedia.org/wiki/อทิ ธพิ ทั ธ_กุลพงษว ณิช

คาํ ถาม 1. บุคคลในขาวนี้ ประสบความสําเร็จในชวี ติ อยา งไร 2. จากการศึกษาประวัติของเขา ทาํ ใหนกั เรยี นคดิ วาสอดคลองกับหลกั ทฏิ ฐธมั มิกัตถสงั วตั ตนิกธรรม 4 อยา งไร พรอมยกตัวอยา งประกอบใหชัดเจน 3. จากการกระทําของเขา นอกจากจะสงผลดตี อตนเองแลว ยังสง ผลดตี อ สงั คมและประเทศชาตอิ ยา งไร



ตวั อย่างข่าว แฟนตายวุ ทตู เพื่อเราเพือ่ โลก ใชป ระกอบการวิเคราะห เร่อื ง อปรหิ านยิ ธรรม 7 เขา สูโ คงสดุ ทายแลว สําหรับโครงการแฟนตายุวทตู แหงประเทศไทย คร้ังที่ 14 ประจําป 2552-2553 จัด โดยสาํ นกั งานสงเสรมิ สวสั ดิภาพและพทิ ักษเ ด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ (สท.) รว มกับกลุมธุรกิจโค คาโคลา ในประเทศไทย ลา สุดไดท ีมเยาวชน 10 ทีม จาก 6 ภาค ผา นเขาสรู อบตัดเชือก เพื่อเฟนหาผูทเ่ี หมาะสมเปน แฟนตา ยุวทูต แหงประเทศไทย รุนท่ี 14 ภายใตห ัวขอ “รวมทาํ ส่ิงดๆี ทแ่ี ตกตาง เพือ่ เรา...เพอื่ โลก” โดยคัดเลอื กจาก 180 ทมี ท่วั ประเทศ จนขณะน้เี หลือ 60 ทมี ตัวเตง็ ในรอบตัดสนิ ภายในแตล ะภาคจะตองมาประชันไอเดยี กันอีกครัง้ กับการบา นชิ้นใหญ น่นั คือ โครงการที่ นาํ มาประกวด ซ่งึ แตล ะทีมจะไดแสดงศักยภาพของตน หลงั จากนําโครงการไปปฏบิ ตั ิจรงิ เปนรูปธรรม ผานการ นาํ เสนอและตอบคาํ ถามจากกรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ ท่ีมา : หนังสอื พิมพข าวสด ฉบับวนั อังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ผูน าํ ผลติ ภัณฑก อสราง ใชประกอบการวิเคราะหเร่ือง อปรหิ านิยธรรม 7 นายกติ ตชิ ัย ไกรกอกจิ กรรมกรรมผจู ดั การ บริษัท โสสุโก แอนด กรปุ (2008) จาํ กดั ผผู ลิตและจัด จาํ หนา ยกระเบ้ืองปูพนื้ และบุผนงั แบรนด “โสสุโก” ผลติ ภณั ฑก อสรางในเครือซเี มนตไทย (เอสซจี )ี เปดเผย วา ปน ้บี ริษทั ไดใ ชง บประมาณ 500 ลานบาท เพ่อื สรางแบรนด โสสุโก และแบรนดในเครือ ซ่งึ ถือวาเปน ปแรก ในรอบ 18 ป ท่ีกอต้ังบรษิ ทั มา เพ่อื ปรับ ทิศทางการทําตลาดท่ีจะรุกอยางตอ เน่ืองนบั จากนี้ และวางแผนจะใช งบการตลาด 10% ของยอดขายหรอื ประมาณ 500 ลานบาทขนึ้ ไป โดยบริษทั ตองการสรางแบรนด ใหผบู ริโภคภูมใิ จในการใชสนิ คา ของบริษัท และมีการบอกตอเพ่ือปองกันการลอกเลียนแบบสินคาจากจีนที่ มกั จะนํารูปแบบลวดลายกระเบอื้ งที่ไดร ับความนิยมไปผลติ และจาํ หนา ย ในแบรนดข องตนเอง นอกจากนี้ บรษิ ทั ยงั ไดลงทุนเพมิ่ อีก 700 ลา นบาท เพื่อขยายกําลงั การผลิตสนิ คาอีก 20-30% ภายใน 5 ปนับจากน้ี สําหรบั รองรบั การเติบโตของธรุ กจิ อสังหารมิ ทรัพยในไทยท่ีมีแนวโนม เตบิ โตอยางตอเนื่อง จะเห็นได จากในชว งครึง่ ปห ลงั ของปนี้มีสัญญาณการฟน ตวั ทดี่ ีแลว พรอ มกนั นี้การเพิ่มกําลังการผลิตเพอ่ื รองรบั การ สงออกสนิ คาไปยงั ประเทศตางๆ อาทิ แคนาดา คอสตาริกา และเดนมารก เปน ตน โดยคาดวาสัดสว นการ สง ออกจะเพิ่มเปน 25% ภายในสิ้นปนี้ จากเดมิ อยทู ี่ 20% ในปจจุบนั นายกิตตชิ ยั กลาววา บริษัทตั้งเปา หมายรายไดป นจ้ี ะเติบโต 12% หรือกวา 5,000 ลา นบาท จากปท ่แี ลว มรี ายได 4,600 ลา นบาท ในขณะท่ภี าพรวมตลาดกระเบ้ืองปูพ้ืนและบุผนังในประเทศไทยมมี ูลคา กวา 20,000 ลา นบาท คาดวาจะมีอัตราการเตบิ โต 10% บริษัทมสี วนแบงตลาด 24-25% และคาดวา ในอกี 5 ป ขางหนา หลงั จากเพิม่ กาํ ลงั การผลิตเต็มรูปแบบและการสรางแบรนดอ ยางตอเนือ่ ง บริษัทจะมสี ว นแบง ตลาดดงั กลาว 30% เปนผนู าํ ตลาดดงั กลาวได ทมี่ า : หนังสือพิมพข าวสด ฉบับวนั จนั ทรที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553



แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 13 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 1 ช่วั โมง หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เรื่อง โภคอาทิยะ 5 และอริยวัฑฒิ 5 1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมโภคอาทยิ ะ 5 และอริยวฑั ฒิ 5 ยอ มเปน ประโยชนต อตนเอง สงั คม และ ประเทศชาติ 2. ตัวชว้ี ดั /จดุ ประสงคการเรยี นรู 2.1 ตัวชว้ี ัด ส 1.1 ม.4-6/13วิเคราะหห ลกั ธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักคําสอนของศาสนาที่ตนนบั ถือ ม.4-6/16เชอ่ื มนั่ ตอผลของการทาํ ความดี ความชั่ว สามารถวเิ คราะหสถานการณที่ตองเผชญิ และตัดสินใจเลือกดําเนนิ การหรอื ปฏิบัตติ นไดอยางมีเหตผุ ลถูกตอ งตามหลักธรรม จรยิ ธรรม และกาํ หนดเปาหมายบทบาทการดําเนนิ ชีวติ เพื่อการอยรู วมกนั อยางสนั ติ สุขและอยรู วมกนั เปน ชาติอยางสมานฉนั ท 2.2 จุดประสงคการเรยี นรู - วเิ คราะหผลของการปฏบิ ัตติ นตามหลักโภคอาทิยะ 5 และอรยิ วัฑฒิ 5 พรอมกับสามารถนําไป ประยุกตป ฏบิ ตั ิได 3. สาระการเรยี นรู (2) อริยวัฑฒิ 5 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง • อรยิ สัจ 4 - มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ) (1) โภคอาทิยะ 5 3.2 สาระการเรยี นรทู องถิ่น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 3) ทักษะการสรุปลงความเห็น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4) ทักษะการประยุกตใ ชความรู 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการสํารวจคนหา 2) ทกั ษะการวิเคราะห 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรยี นรู 3. มุงมน่ั ในการทํางาน 4. มีความรับผดิ ชอบ

6. กจิ กรรมการเรียนรู วธิ ีสอนโดยใช ทักษะกระบวนการเผชิญสถานการณ (นักเรียนสวดมนตบ ชู าพระรัตนตรัยและทาํ สมาธิกอนเรยี นทกุ ช่ัวโมง) ขน้ั นาํ เขา สบู ทเรยี น 1. ครนู ําภาพมาใหน ักเรียนดู แลวใหนักเรยี นรวมกนั วเิ คราะห ดังนี้ - ภาพลกู ดูแลบิดามารดาซง่ึ ชราภาพ - ภาพคนชว ยเหลือกนั ทํางาน - ภาพการทําบุญ - ภาพการสงเคราะหเ ด็ก คนยากไร 2. ครใู หนกั เรยี นชว ยกนั ตอบคาํ ถาม ดงั น้ี - ภาพนเ้ี ปน การทําความดีอยางไร - ขอคิดที่ไดจากภาพ คืออะไร 3. ครอู ธิบายเชอ่ื มโยงใหนักเรียนเขา ใจวา การกระทําดงั กลา วเปน สว นหนึง่ ของการปฏบิ ัติตามหลักธรรมโภคอาทิ ยะ 5 และอรยิ วฑั ฒิ 5 4. นกั เรียนตอบคาํ ถามกระตุนความคิด  ถา นักเรียนมที รัพยจ าํ นวนมาก นักเรยี นจะใชท รพั ยด ังกลาวทําอะไรบา ง จงยกตวั อยาง (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดลุ ยพินจิ ของครูผูส อน) ขน้ั สอน 1. รวบรวมขาวสาร ขอ มูล ขอเทจ็ จรงิ ความรู และหลกั การ ครใู หน กั เรยี นแตละกลุม (กลุมเดิมจากแผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 1) รวมกันศึกษาความรูเรอ่ื ง โภคอาทิยะ 5 และ อริยวัฑฒิ 5 จากหนงั สือเรยี น หรือหนงั สือคนควา เพิ่มเติม หอ งสมดุ และแหลง ขอมูลสารสนเทศ ตามประเด็น ดังนี้ 1) ความหมาย ความสําคญั 2) องคป ระกอบของหลักธรรมและสาระสาํ คญั 3) ตัวอยางบุคคลท่มี ีการกระทาํ สอดคลองกับหลักธรรม 2. ประเมนิ คณุ คา และประโยชน 1. นกั เรียนแตละกลมุ ชวยกันหาขอ มลู บุคคลตัวอยา งทม่ี ีการกระทําสอดคลอ งกับหลักธรรมโภคอาทยิ ะ 5 และ อริยวัฑฒิ 5 จากหนงั สือคน ควา เพ่มิ เติม หองสมดุ และแหลง ขอ มูลสารสนเทศ แลว นํามาวิเคราะหแ ละ ประเมนิ คุณคาตามประเด็นท่ีกาํ หนดในใบงานที่ 3.9 เร่ืองโภคอาทิยะ 5 และใบงานที่ 3.10 เรอื่ ง อริยวัฑฒิ 5 2. ตัวแทนแตละกลมุ นาํ เสนอคําตอบในใบงานท่ี 3.9-3.10 กลุมละ 1 ใบงาน และใหก ลุมอื่นแสดงความ คิดเหน็ เพ่ิมเติม ครูตรวจสอบความถกู ตอ งและใหขอเสนอแนะ 3. นักเรยี นตอบคําถามกระตนุ ความคิด  ผูที่เปนอารยชนนน้ั ควรมีหลกั ธรรมใดเปนเครื่องยดึ เหน่ียวประจาํ ใจ และคาดวา จะไดผ ลตอบแทนอยา งไร (หลกั ธรรมอริยวฑั ฒิ 5 และคาดวาจะไดรบั ผลตอบแทน คือ มีความสุขทางใจ)  นักเรียนสามารถปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมโภคอาทิยะ 5 ไดอยา งไรบา ง และผลท่ีคาดวา จะไดร ับคืออะไร (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอยใู น ดลุ ยพินจิ ของครูผสู อน) 3. เลือกและตดั สินใจ สมาชิกแตล ะกลุมชวยกนั เลอื กแนวทางการปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมโภคอาทยิ ะ 5 และอรยิ วฑั ฒิ 5

4. ปฏิบตั ิ นักเรียนแตล ะคนปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมโภคอาทิยะ 5 และอรยิ วัฑฒิ 5 พรอ มบนั ทกึ รายงานการ ปฏบิ ตั ติ น แลวนํา สงครตู ามระยะเวลาที่กาํ หนด ขัน้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรวมกนั สรุปความรเู กี่ยวกบั หลักสาํ คัญของหลักธรรมโภคอาทยิ ะ 5 และอริยวัฑฒิ 5 7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เครือ่ งมือ เกณฑ ตรวจใบงานที่ 3.9 ตรวจใบงานท่ี 3.10 ใบงานที่ 3.9 รอยละ 60 ผานเกณฑ ประเมินการนําเสนอผลงาน ใบงานที่ 3.10 รอยละ 60 ผานเกณฑ สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ เกณฑ สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ รยี นรู มุงมั่นในการ ทํางาน และมีความรบั ผิดชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น รายบคุ คล เกณฑ แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ 8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่ือการเรยี นรู 1) หนังสือเรยี น พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสือคน ควาเพมิ่ เติม - เสฐยี รพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรุงเทพมหานคร : มตชิ น. 3) บัตรภาพ 4) ใบงานท่ี 3.9 เรือ่ ง โภคอาทิยะ 5 5) ใบงานที่ 3.10 เรื่อง อริยวฑั ฒิ 5 8.2 แหลง การเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) แหลงขอ มูลสารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/wiki/ทิฏฐธมั มกิ ัตถประโยชน - http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=289 - http://ranthong.com/smf/index.php?topic=13063.0;wap2 - http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=232 - http://www.oknation.net/blog/print.php?id=282747

บตั รภาพ  ภาพลูกดแู ลบิดามารดา ภาพคนชว ยเหลือกนั ทาํ งาน ภาพการทาํ บญุ ภาพการสงเคราะหผปู ระสบภยั ท่ีมา : ภาพท่ี 1 http://www.sarnrak.net 1 2 ภาพท่ี 2 http://www.gotoknow.org 3 4 ภาพท่ี 3 http://www.sukruthai.ac.th ภาพท่ี 4 http://www.prfocus.co.th

ใบงานท่ี 3.9 โภคอาทิยะ 5 คําช้แี จง ใหนักเรยี นหาขอมูล หรือขา ว หรือกรณศี ึกษาของบคุ คลหรอื กลมุ บุคคลที่รูจ ักใชโ ภคทรัพยท ่ี พอเหมาะพอควร แลวนํามาวเิ คราะหในประเดน็ ท่กี าํ หนด เรอ่ื ง (สาระสําคญั โดยยอ ) ท่มี า :

1. ชอื่ ขาว / กรณศี ึกษา 2. การปฏิบตั ิตามหลักธรรมโภคอาทยิ ะ 5 1) เลย้ี งตัวเอง บิดามารดา และคนในความดูแล 2) บํารงุ มิตรสหายและผูรว มงาน 3) ใชป อ งกนั ภยั อนั ตรายท่ีอาจจะเกดิ ข้ึน 4) ทาํ พลี 5 อยา ง 5) อปุ ถัมภบาํ รงุ สมณพราหมณผูประพฤติชอบ 3. ผลของการปฏิบตั เิ ปนประโยชนต อตนเอง สังคม และประเทศชาตอิ ยา งไร 4. นักเรยี นสามารถนําแบบอยางทดี่ ไี ปประยกุ ตปฏบิ ตั ิไดอยา งไร

ใบงานที่ 3.10 อรยิ วฑั ฒิ 5 คําช้แี จง ใหน ักเรียนหาขอมูล หรือขา ว หรือกรณีศึกษาของบคุ คลหรือกลมุ บุคคลที่ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม อริยวัฑฒิ 5 แลวนาํ มาวเิ คราะหในประเด็นทีก่ ําหนด เรอ่ื ง (สาระสาํ คญั โดยยอ ) ทมี่ า :

1.ชอ่ื ขา ว / กรณศี ึกษา 2. การปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมอริยวฑั ฒิ 5 1) ศรัทธา 2) ศลี 3) สตุ ะ 4) จาคะ 5) ปญ ญา 3. ผลของการปฏิบตั เิ ปน ประโยชนตอตนเอง สงั คม และประเทศชาตอิ ยา งไร 4. นักเรียนสามารถนาํ แบบอยางท่ดี ีไปประยุกตปฏิบัติไดอยา งไร

แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ 14 ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5 กลมุ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 1 ช่วั โมง หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เรือ่ ง มงคล 38 1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด การปฏบิ ตั ิตนตามมงคล 38 เกย่ี วกบั ถูกโลกธรรมจติ ไมหว่นั ไหว จิตไมเศรา โศก จิตไมมัวหมอง จิตเกษม ยอมทํา ใหจติ ใจมีความมัน่ คง สงบ จิตบรสิ ุทธิป์ ราศจากกิเลส 2. ตวั ชี้วดั /จุดประสงคก ารเรยี นรู 2.1 ตวั ชว้ี ดั ส 1.1 ม.4-6/13วเิ คราะหห ลกั ธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักคาํ สอนของศาสนาที่ตนนบั ถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรียนรู - วิเคราะหผลของการปฏิบตั ิตนตามมงคล 38 เกี่ยวกับถกู โลกธรรมจติ ไมห ว่นั ไหว จติ ไมเ ศรา โศก จติ ไมม ัวหมอง จิตเกษม ได 3. สาระการเรียนรู  จิตไมเศรา โศก 3.1 สาระการเรยี นรแู กนกลาง  จิตเกษม อรยิ สจั 4 - มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ ) (1) มงคล 38  ถูกโลกธรรมจติ ไมห ว่นั ไหว  จติ ไมมวั หมอง 3.2 สาระการเรียนรทู องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวเิ คราะห 2) ทักษะการสรุปลงความเหน็ 3) ทักษะการประยุกตใชค วามรู 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ รียนรู 3. มุงมัน่ ในการทาํ งาน

6. กิจกรรมการเรยี นรู วิธสี อนโดยใชการแสดงบทบาทสมมติ (นกั เรยี นสวดมนตบ ชู าพระรตั นตรัยและทําสมาธกิ อ นเรยี นทกุ ช่วั โมง) ขั้นที่ 1 เตรยี มการ 1. ครูใหน ักเรียนตอบคําถามดังตอไปน้ี - นักเรยี นรูส ึกอยางไร เม่ือรูวาถูกนนิ ทา - นกั เรียนรูสึกอยางไร เมื่อมีคนพูดชมเชยตอหนา - นักเรียนรสู กึ อยางไร เม่ือผลการสอบตกตํ่ากวา เดิม - นกั เรียนรสู ึกอยางไร เม่ือมีคนพดู วา เราตอ หนาคนอ่ืนหลายคน 2. นักเรียนแตล ะคนจะมีความคิดเหน็ และความรสู ึกแตกตา งกันไป ครอู ธบิ ายเช่ือมโยงใหน ักเรียนเขา ใจวา ความรสู ึกตางๆ ท่ีเราหว่นั ไหว หรือเศรา โศก มัวหมอง หรอื ยินดีนัน้ ยอมทาํ ใหเราไมม คี วามสขุ ดังนั้นเราจงึ ควร ศึกษามงคล 38 ซึ่งเปนสิง่ ท่ีทําใหเ รามีโชค เปนธรรมอันนํามาซึง่ ความสุขความเจริญ มี 38 ขอ ธรรมที่นักเรียนควร ศึกษาในชั้นนมี้ ี 4 ขอ คอื 1) ถูกโลกธรรมจิตไมหวน่ั ไหว 2) จิตไมเ ศรา โศก 3) จติ ไมม วั หมอง 4) จติ เกษม 3. นักเรยี นตอบคําถามกระตุน ความคิด  ถา นกั เรยี นสอบปลายภาคไดเ กรดตาํ่ ทกุ วชิ า นักเรียนจะปฏบิ ตั ิตนอยา งไรจงึ จะเหมาะสม จงอธบิ าย (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอ ยูในดลุ ยพินิจของครูผสู อน)  เมือ่ มเี พื่อนมาพูดจากลาวรายนักเรยี น นกั เรยี นจะนาํ หลักมงคล 38 ในเร่อื งใดมาเปนแนวทางการปฏบิ ตั ิ จงยกตัวอยา ง (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดลุ ยพินิจของครผู สู อน) 4. นกั เรยี นกลมุ เดิม (จากแผนการจดั การเรียนรูท่ี 1) รวมกันศึกษาความรเู ร่อื ง มงคล 38 จากหนังสอื เรียน หนังสอื คนควาเพ่ิมเตมิ หองสมดุ และแหลง ขอมูลสารสนเทศ ตามหวั ขอ ทคี่ รูกาํ หนดใหใ นขอ 2 5. สมาชกิ ของแตละกลุมรว มกันวางแผนจัดทําเคาโครงเรอื่ ง ของบทบาทสมมติ กาํ หนดตัวละครในการแสดง และ ชว ยกันเรยี บเรียงบทพูดของผูแสดงแตละคน ขัน้ ที่ 2 แสดง 1. สมาชกิ แตละกลุมเลอื กผูแสดงใหเหมาะสมกบั บทบาทที่กาํ หนดและมีการฝกซอมการแสดง เพ่อื ใหก ารแสดง เปนไปอยางราบรนื่ ปรกึ ษากันเพอ่ื แบง หนาที่รบั ผดิ ชอบกันทกุ คน เชน ฝา ยแสดง ฝา ยกาํ กบั การแสดง ฝา ยบรรยาย ฝา ยสถานท่ีและอุปกรณก ารแสดง เปน ตน ทกุ ฝายเตรียมการใหพรอมกอนกําหนดวนั แสดง โดยครเู ปนผชู ว ยช้ีแนะ ตามความเหมาะสม 2. สมาชกิ แตละกลุมเตรียมผสู งั เกตการณ เพ่ือสงั เกตและวเิ คราะหป รับปรุงการแสดงใหเ หมาะสม 3. นักเรยี นแตละกลุมซักซอ มบทกอนการแสดงเปน การเตรียมความพรอมและปรบั ปรงุ แกไ ข เม่อื พบปญ หาและ อุปสรรคหรอื ขอ บกพรอง 4. สมาชกิ แตล ะกลุม จบั สลากเพ่ือแสดงบทบาทสมมตติ ามทไ่ี ดเตรียมความพรอมไวโ ดยใหแ สดงกลมุ ละ 5-8 นาที (ตามความเหมาะสม) สมาชิกแตละกลมุ รว มมือกันแสดงตามบทบาทในวนั เวลาท่กี าํ หนด

ข้ันที่ 3 วิเคราะหแ ละอภิปราย เมื่อจบการแสดงของแตล ะกลุมแลว ใหนกั เรยี นรวมกันวเิ คราะห การแสดงบทบาทสมมติในประเด็นตอไปน้ี - การแสดงแตล ะกลมุ มีความคลายคลงึ กนั อยางไร แตกตา งกันอยา งไร - ขอ คิดทีไ่ ดจากการแสดงบทบาทสมมติ เรื่อง มงคล 38 คืออะไร ข้นั ที่ 4 แลกเปลย่ี นประสบการณและสรุปเปน หลกั การ 1. ครใู หนักเรยี นทุกคนแสดงความคิดเห็นถึงวิธีการนําขอคดิ ท่ีไดจากหลกั ธรรมมงคล 38 ในเร่อื ง ถกู โลกธรรมจติ ไม หวั่นไหว จติ ไมเศราโศก จิตไมม ัวหมอง จติ เกษม ไปประยุกตปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ 2. ครใู หน ักเรียนนําขอ คดิ ท่ีไดจากขอ 1 ไปปฏบิ ัติ แลวรายงานผลตอ ครผู สู อนตามขอตกลง 3. นกั เรยี นรวมกันสรุปความสาํ คัญและความจาํ เปนทจ่ี ะตอ งปฏิบัตติ นตามมงคล 38 4. นักเรียนตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  ผูบ รหิ ารองคกรบางคนไมร ับเงินสนิ บนท่มี ีคนนํามาให แสดงวา ผบู ริหารทานนนั้ นําหลกั มงคล 38 ในขอ ใดมาใช อธิบายเหตุผล (ถกู โลกธรรมจิตไมหวัน่ ไหว คือ มคี วามแนว แนม ีจติ มั่นคง ถึงแมว าใครจะนําทรัพยสินเงินทองมาให ก็ไมร ับ) 5. ครมู อบหมายใหนักเรียนแตล ะคนจดั ทํารายงานการปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดยใหค รอบคลุมประเดน็ ตามทกี่ ําหนด ดังน้ี 1) การปฏิบตั ติ นตามหลกั อปรหิ านิยธรรม 7 ปาปณกิ ธรรม 3 ทฏิ ฐธัมมกิ ตั ถสังวัตตนิกธรรม 4 โภคอาทยิ ะ 5 อรยิ วัฑฒิ 5 2) การวิเคราะหผ ลของการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรม 6. นกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน ประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน เกณฑ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน เกณฑ รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สงั เกตความมวี ินยั ใฝเ รยี นรู และมงุ ม่นั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ทาํ งาน รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรยี นรู แบบทดสอบหลงั เรียน หนว ยการเรียนรู ระดับคุณภาพ 2 ผา น ที่ 3 ท่ี 3 เกณฑ สงั เกตการรายงานผลการปฏิบตั ติ นตาม แบบประเมินรายงานผลการปฏิบัตติ น หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

8. ส่อื /แหลงการเรียนรู 8.1 สอื่ การเรยี นรู 1) หนงั สอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนงั สือคน ควาเพม่ิ เติม - เสฐยี รพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรุงเทพมหานคร : มตชิ น. 3) เอกสารประกอบการสอน 8.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุด 2) แหลง ขอมูลสารสนเทศ - http://www.dhammathai.org/treatment/poem/poem00.php

ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบบนั ทกึ การปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรียนแตล ะกลมุ วางแผนการปฏิบัติตนตามขอ ธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ตามที่กาํ หนด เพ่อื ใหสมาชิก แตละคนนาํ ไปปฏิบัติ แลว รายงานผลการปฏิบตั ติ นตามแบบบนั ทึก ขอหลักธรรม ตัวอยา งการกระทําหรอื พฤติกรรม 1. อปริหานยิ ธรรม 7 2. ปาปณกิ ธรรม 3 3. ทิฏฐธมั มิกัตถสังวตั ต- นิกธรรม 4 4. โภคอาทิยะ 5 5. อริยวฑั ฒิ 5 บทวิเคราะห การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมดงั กลา วสงผลดีตอขาพเจา คือ หมายเหตุ : นกั เรียนแตล ะกลมุ อาจจะวางแผนปฏิบตั ติ นนอกเหนือจากตัวอยา งทไ่ี ดร บั ตามความเหมาะสม ใหค รผู สู อนเปน ผตู รวจกอ นนําไปปฏบิ ัตจิ รงิ

การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมนิ รายงานผลการปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 การปฏบิ ัติตนตามหลักอปริหานยิ ธรรม 7 1 ปาปณกิ ธรรม 3 ทิฏฐธัมมกิ ัตถสังวัตตนิกธรรม 4 โภค อาทยิ ะ 5 อริยวัฑฒิ 5 2 การวเิ คราะหผ ลของการปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม รวม ลงชื่อ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าพร อดุ มสุข) ............../.................../................ เกณฑการใหคะแนน = 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดมี าก = 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี = 2 คะแนน 8 ดมี าก พอใช = 1 คะแนน 6 - 7 ดี ปรบั ปรงุ 4 - 5 พอใช้ ต่าํ กว่า 4 ปรบั ปรงุ

เอกสารประกอบการสอน การแสดงบทบาทสมมตปิ ระกอบความรู เรือ่ ง มงคล 38 คาํ ชแ้ี จง 1. ใหน กั เรยี นแตละกลมุ นาํ ความรูเ รอื่ ง มงคล 38 ไปเรยี บเรยี งเปนบทบาทสมมติ โดยใหม สี าระครอบคลุม หวั ขอตอ ไปน้ี 1) ถกู โลกธรรมจติ ไมหวน่ั ไหว แสดงถึงการมีความแนวแน มใี จหนักแนน มัน่ คงท่ีจะกระทาํ ในสิ่งทีด่ งี าม ไม ถกู สน่ั คลอนโดยโลกธรรม 8 2) จิตไมเ ศราโศก มสี ตริ ะลกึ ถึงสัจธรรมวาทกุ อยา งเปลี่ยนแปลงไดเ สมอ อยา ไปยึดมัน่ (อปุ าทาน) 4 อยาง 3) จติ ไมม วั หมอง จิตมัวหมอง คือ จติ ท่ีไมบริสทุ ธ์ิ ไมผองใส ไมสะอาด คนทีจ่ ติ มัวหมองเปนคนท่ีไมม ี ความสุข ไมมคี วามสงบ ส่งิ ที่ทําใหจิตมัวหมอง คือ อุปกิเลส 16 ซ่ึงกิเลสดงั กลา วอาจลดลงหรือขจัดให หมดไปไดโ ดยหลักธรรมท่วี าดวยกศุ ลมลู 3 คอื ความไมโลภ (อโลภะ) ความไมค ิดรา ย (อโทสะ) ความไม หลง (อโมหะ) 4) จิตเกษม คือ จติ ท่ีสงบ พน ภัยทางโลกและทางธรรม คือ พนจากกเิ ลส หลกั ธรรมที่ชว ยใหจติ สงบ พน ภยั ระดับกลางๆ คอื สปั ปรุ ิสธรรม 7 คอื รจู กั เหตุ รูจกั ผล รจู กั ตน รจู กั ประมาณ รจู ักกาล รจู กั ชุมชน รูจัก บุคคล 2. สมาชกิ ในกลุมซักซอมบทบาทการแสดง และออกมาแสดงบทบาทสมมติทหี่ นา ชน้ั เรยี น โดยใชเวลากลมุ ละ 5-8 นาที 3. เมื่อจบการแสดงแลวใหส รปุ ขอคดิ สําคัญของเร่ือง

แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 15 ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 5 กลมุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา 2 ชวั่ โมง หนว ยการเรียนรูที่ 4 พระไตยปฎก และพุทธศาสนสุภาษิต เรอื่ ง พระไตรปฎ ก 1. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด การสงั คายนาพระไตรปฎ กมคี ุณคา และความสําคัญตอพระพุทธศาสนาและการเผยแผพระพุทธศาสนา 2. ตวั ช้วี ดั /จดุ ประสงคการเรียนรู 2.1 ตัวช้วี ัด ส 1.1 ม.4-6/15วเิ คราะหคุณคาและความสําคัญของการสงั คายนาพระไตรปฎก หรอื คมั ภรี ของศาสนาท่ี ตนนับถอื และการเผยแผ 2.2 จดุ ประสงคการเรียนรู 1) วเิ คราะหค ุณคาและความสําคัญของการสงั คายนาพระไตรปฎกได 2) อธบิ ายวธิ ีการศกึ ษาและคน ควาพระไตรปฎกได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง 1) วธิ ีการศกึ ษาและคน ควาพระไตรปฎ กและคัมภีรข องศาสนาอน่ื ๆ การสงั คายนาและการเผยแผ พระไตรปฎ ก 2) ความสําคญั และคุณคาของพระไตรปฎ ก 3.2 สาระการเรยี นรทู องถิ่น (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน 2) ทักษะการสรุปอา งอิง 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการทาํ ใหก ระจาง 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทาํ งาน

6. กจิ กรรมการเรียนรู วธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู (Inquiry Method : 5E) (นกั เรยี นสวดมนตบ ูชาพระรัตนตรยั และทําสมาธกิ อ นเรียนทกุ ชว่ั โมง) ช่ัวโมงท่ี 1 นักเรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรยี นรทู ่ี 4 ขั้นนําเขา สบู ทเรียน ขั้นที่ 1 กระตนุ ความสนใจ 1. ครูต้งั คาํ ถามถามนักเรียนเพื่อเปนการทบทวนความรูเ ดิมของนกั เรยี นเก่ยี วกบั พระไตรปฎก ดังน้ี - พระไตรปฎ ก หมายความวาอยางไร - พระไตรปฎ ก แบงออกเปน กี่ปฎ ก อะไรบาง - เพราะเหตุใด จึงตองมกี ารสังคายนาพระไตรปฎก - วธิ ีการแกไ ขปญหาทีถ่ ูกวธิ ี คืออะไร 2. ครอู ธบิ ายเชอื่ มโยงใหน กั เรียนเขาใจวา ในการสงั คายนาพระไตรปฎกนัน้ ไดมกี ารทํามาจนถึงปจ จุบันน้ี 10 ครัง้ แตละครัง้ นน้ั มีสาเหตหุ รือเหตุผลในการกระทําแตกตา งกันไป ในแตละคร้งั จะมปี ระธานในการทําสังคายนา พระสงฆ ผเู ขารวมประชุม ผูอปุ ถัมภ สถานท่ี และระยะเวลาในการสังคายนาแตกตา งกนั ไป ขั้นสอน ข้นั ที่ 2 สํารวจคนหา 1. ครแู บงนกั เรียนเปน กลุม กลุมละ 5 คน คละกนั ตามความ สามารถ คือ เกง ปานกลางคอนขา งเกง ปานกลาง คอ นขางออน และออน แลว ใหแ ตละกลุมรวมกันศึกษาความรเู ร่ือง พระไตรปฎ ก จากหนังสอื เรียน หนงั สอื คน ควา เพิ่มเติม หองสมุด และแหลงขอ มูลสารสนเทศ 2. นักเรียนนําความรูทีไ่ ดม าบันทึกลงในสมุด 3. นกั เรยี นตอบคําถามกระตุนความคดิ  นักเรียนคดิ วา การสงั คายนาพระไตรปฎ ก มีผลดีอยางไร (พิจารณาตามคําตอบของนักเรยี น โดยใหอยใู น ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูสอน) ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู 1. สมาชกิ แตละกลมุ นาํ ความรทู ไ่ี ดจ ากการศึกษาคน ควา มาอภปิ รายรว มกนั ในประเดน็ สาํ คัญ 2. นักเรยี นแตล ะกลุมรวมกนั ทําใบงานท่ี 4.1 เร่อื ง พระไตรปฎ ก ตอนท่ี 1 โดยแบงหนาที่กนั ตอบคําถามใน แตล ะขอ หรอื ตอบประเด็นในการสังคายนาแตล ะคร้ัง ดงั นี้ - สมาชกิ หมายเลข 1 อา นประเด็นท่จี ะตองตอบประเด็นท่ี 1-4 - สมาชกิ หมายเลข 2 วิเคราะหคาํ ตอบและตอบตามประเด็นท่ี 1-4 - สมาชิกหมายเลข 3 อา นประเดน็ ทจ่ี ะตอ งตอบประเด็นที่ 5-7 - สมาชิกหมายเลข 4 วเิ คราะหคาํ ตอบและตอบตามประเดน็ ที่ 5-7 - สมาชกิ หมายเลข 5 ตรวจสอบความถกู ตองของคําตอบในแตล ะประเด็น หากไมถูกตองให แกไขใหถูกตอ ง

3. สมาชิกแตละกลุม หมุนเวยี นเปลยี่ นหนา ทกี่ ันในการตอบคําถามในประเด็นทีก่ าํ หนดใหจนเสร็จทั้ง 10 ขอ เชน ใน การทาํ สังคายนาครงั้ ท่ี 2 หรือขอ 2 - สมาชกิ หมายเลข 2 เล่อื นขึ้นมาทําหนาที่แทนสมาชิกหมายเลข 1 - สมาชกิ หมายเลข 3 เลื่อนข้ึนมาทําหนาท่ีแทนสมาชิกหมายเลข 2 - สมาชกิ หมายเลข 4 เลอ่ื นข้ึนมาทําหนา ที่แทนสมาชิกหมายเลข 3 - สมาชิกหมายเลข 5 เล่ือนขนึ้ มาทาํ หนา ที่แทนสมาชิกหมายเลข 4 - สมาชกิ หมายเลข 1 เลอ่ื นขนึ้ มาทาํ หนา ที่แทนสมาชกิ หมายเลข 5 4. สมาชกิ ทกุ คนชวยกันตอบคาํ ถามในใบงานท่ี 4.1 ตอนที่ 2 ในหวั ขอตอไปน้ี 1) ในสมัยพุทธกาลมีพระไตรปฎ กหรือไม อธบิ ายเหตผุ ล 2) การทาํ สังคายนา หมายถงึ ทําอยา งไร 5. ครแู ละนกั เรียนชว ยกนั เฉลยคําตอบในใบงานที่ 4.1 และรวมกนั สรปุ ประเดน็ สาํ คัญของการทําสงั คายนา พระไตรปฎกในแตล ะครั้ง ช่วั โมงท่ี 2 ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา ใจ 1. นักเรยี นแตล ะกลุมรวมกันศึกษาความรูเรอื่ ง เร่ืองนา รจู ากพระไตรปฎ ก จากหนงั สือเรียน แลวตอบคาํ ถามใน ใบงานท่ี 4.2 เรื่อง เรอื่ งนารจู ากพระไตรปฎก เสร็จแลว ตรวจสอบความถกู ตอ ง 2. ครสู ุมตวั แทนกลุม 2-3 กลุม นาํ เสนอคาํ ตอบในใบงานที่ 4.2 หนา ชนั้ เรยี น และใหกลุมอืน่ ทีม่ ผี ลงานแตกตา ง นําเสนอเพิ่มเติม 3. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  นักเรียนมีความประทับใจในขอ ความนารจู ากพระไตรปฎกในเร่อื งใด จงยกตัวอยา ง พรอ มอธิบายเหตผุ ล (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอยใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผูส อน) ขั้นสรปุ ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. ครูตรวจสอบความรูความเขาใจของนักเรียนจากการทาํ ใบงานที่ 4.1- 4.2 การนาํ เสนอผลงานหนา ชน้ั เรยี น และจาก การสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานรว มกันเปนกลุม 2. ครูและนกั เรยี นรวมกนั สรุปความรเู รื่อง พระไตรปฎ ก และเร่อื งนารูจากพระไตรปฎก

7. การวดั และประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมือ เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรยี นรู แบบทดสอบกอนเรยี น หนวยการเรยี นรู (ประเมนิ ตามสภาพจริง) ที่ 4 ที่ 4 ตรวจใบงานท่ี 4.1 ใบงานที่ 4.1 รอยละ 60 ผานเกณฑ ตรวจใบงานที่ 4.2 ใบงานท่ี 4.2 รอยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจแบบบันทกึ การอาน แบบบนั ทกึ การอาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ ประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น รายบคุ คล เกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตความมวี ินยั ใฝเรยี นรู และมงุ มน่ั ในการ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น ทํางาน เกณฑ 8. ส่ือ/แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่อื การเรยี นรู 1) หนังสอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนงั สือคนควา เพิม่ เติม (1) ดนยั ไชยโยธา. 2552. พจนานกุ รมคําศพั ทพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทศั น. (2) ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. 2542. ความรเู รอ่ื งพระไตรปฎก. กรุงเทพมหานคร : องคการคา ของครุ ุสภา. (3) สุนทร ณ รงั ส.ี 2541. พุทธปรชั ญาจากพระไตรปฎก. กรุงเทพมหานคร : สํานกั พิมพ แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 3) ใบงานท่ี 4.1 เร่อื ง พระไตรปฎก 4) ใบงานท่ี 4.2 เรอื่ ง เรือ่ งนา รจู ากพระไตรปฎก 8.2 แหลง การเรียนรู 1) หอ งสมุด 2) แหลงขอมลู สารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/wiki/พระไตรปฎ ก - http://www.larndham.net/tipitaka.html

ใบงานท่ี 4.1 พระไตรปฎก ตอนท่ี 1 คําชแี้ จง ใหน ักเรียนสรปุ สาระสาํ คัญของการสงั คายนาพระไตรปฎก 1. การทาํ สงั คายนาคร้ังท่ี 1 สาเหตุ เวลาทีก่ ระทํา และเวลาที่สําเรจ็ ผูเปนประธาน ผูตอบปญหา ผูซกั ถาม พระสงฆผ เู ขา ประชุม สถานท่ี ผอู ุปถัมภ 2. การทําสงั คายนาครง้ั ที่ 2 สาเหตุ เวลาทก่ี ระทํา และเวลาทสี่ ําเร็จ ผูเปนประธาน ผตู อบปญหา ผซู กั ถาม พระสงฆผเู ขาประชุม สถานท่ี ผอู ุปถมั ภ 3. การทาํ สังคายนาคร้ังที่ 3 สาเหตุ เวลาท่ีกระทํา และเวลาทส่ี ําเรจ็ ผเู ปนประธาน ผูต อบปญ หา ผซู กั ถาม พระสงฆผ เู ขาประชุม สถานท่ี ผอู ุปถัมภ

4. การทาํ สังคายนาครง้ั ที่ 4 สาเหตุ เวลาทก่ี ระทาํ และเวลาท่สี ําเร็จ ผูเ ปน ประธาน ผูตอบปญหา ผูซักถาม พระสงฆผ เู ขา ประชมุ สถานท่ี ผูอุปถัมภ 5. การทําสงั คายนาครัง้ ที่ 5 สาเหตุ เวลาที่กระทาํ และเวลาทีส่ ําเร็จ ผเู ปน ประธาน ผตู อบปญหา ผูซกั ถาม พระสงฆผ ูเขาประชมุ สถานท่ี ผอู ุปถัมภ 6. การทาํ สังคายนาครง้ั ท่ี 6 สาเหตุ เวลาทีก่ ระทาํ และเวลาทสี่ ําเรจ็ ผเู ปนประธาน ผูตอบปญ หา ผซู ักถาม พระสงฆผ เู ขาประชมุ สถานท่ี ผอู ปุ ถัมภ 7. การทําสงั คายนาคร้งั ที่ 7 สาเหตุ เวลาที่กระทาํ และเวลาทส่ี ําเร็จ ผูเปนประธาน ผตู อบปญ หา ผูซกั ถาม พระสงฆผ เู ขาประชมุ สถานที่ ผอู ปุ ถัมภ

8. การทําสงั คายนาครง้ั ที่ 8 สาเหตุ เวลาท่กี ระทํา และเวลาทสี่ าํ เร็จ ผูเปน ประธาน ผตู อบปญ หา ผซู ักถาม พระสงฆผ ูเขา ประชุม สถานที่ ผูอุปถัมภ 9. การทําสังคายนาครง้ั ที่ 9 สาเหตุ เวลาท่กี ระทํา และเวลาที่สําเรจ็ ผูเปน ประธาน ผูตอบปญหา ผซู ักถาม พระสงฆผ เู ขาประชมุ สถานที่ ผอู ปุ ถมั ภ 10. การทําสังคายนาครั้งที่ 10 สาเหตุ เวลาทก่ี ระทํา และเวลาทส่ี ําเร็จ ผูเ ปนประธาน ผูตอบปญ หา ผูซ กั ถาม พระสงฆผูเขา ประชมุ สถานท่ี ผูอปุ ถมั ภ

ตอนท่ี 2 คาํ ช้แี จง ใหนักเรยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. ในสมยั พุทธกาลมพี ระไตรปฎ กหรอื ไม อธิบายเหตผุ ล 2. การทาํ สงั คายนา หมายถึงทําอยา งไร

ใบงานที่ 4.1 พระไตรปฎก ตอนท่ี 1 คําชแ้ี จง ใหนกั เรยี นสรปุ สาระสาํ คัญของการสังคายนาพระไตรปฎ ก 1. การทาํ สงั คายนาครงั้ ที่ 1 สาเหตุ พระขรัวตาชอ่ื สภุ ัททะกลา ววาจาดหู มนิ่ พระธรรมวนิ ัย เวลาทกี่ ระทาํ และเวลาท่ีสาํ เร็จ หลังจากพระพุทธเจา ปรินิพพานได 3 เดอื น ใชเวลา 7 เดอื น ผเู ปน ประธาน พระมหากสั สปะ ผตู อบปญหา ผูซ ักถาม พระมหากัสสปะเปนผสู อบถาม พระอบุ าลีตอบดานพระวินัย พระอานนทต อบดานพระธรรม พระสงฆผ ูเขา ประชุม 500 รูป สถานที่ ถ้ําสตั ตบรรณคูหาใกลก รุงราชคฤห เมืองหลวงของแควนมคธ ผูอปุ ถมั ภ พระเจาอชาตศตั รู 2. การทําสงั คายนาครงั้ ที่ 2 สาเหตุ พระวัชชบี ุตรปฏิบัตหิ ยอ นทางวนิ ัย 10 ประการ เวลาท่กี ระทาํ และเวลาทสี่ าํ เรจ็ หลังจากพระพทุ ธเจาปรนิ พิ พานได 100 ป ใชเ วลา 8 เดือน ผเู ปนประธาน พระยสกากณั ฑกบตุ ร ผูตอบปญหา ผูซักถาม พระเรวตะเปน ผูซักถาม พระสพั พกามเี ปน ผูตอบปญหา พระสงฆผูเ ขา ประชุม 700 รปู สถานที่ วาลกิ าราม เมอื งเวสาลี แควนวชั ชี ผูอปุ ถัมภ พระเจา กาฬาโศก 3. การทําสงั คายนาครั้งที่ 3 สาเหตุ พวกนอกศาสนาปลอมเขามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึน้ เวลาที่กระทาํ และเวลาทีส่ าํ เร็จ หลงั จากพระพุทธเจาปรินพิ พานได 234 ป (บางแหงวา 235 ป) ใชเ วลา 9 เดือน ผูเปนประธาน พระโมคคลั ลีบตุ รตสิ สเถระ ผตู อบปญ หา ผูซักถาม – พระสงฆผ เู ขา ประชุม 1,000 รปู สถานที่ อโศการาม เมอื งปาฏลบี ตุ ร ผูอปุ ถมั ภ พระเจา อโศกมหาราช

4. การทําสงั คายนาคร้ังท่ี 4 สาเหตุ ตอ งการวางรากฐานพระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา เวลาทีก่ ระทํา และเวลาท่ีสําเรจ็ หลงั จากพระพุทธเจา ปรินิพพานได 238 ป ระยะเวลาท่ีสําเรจ็ ไมปรากฏ ผูเปนประธาน พระมหินทเถระ ผูตอบปญ หา ผูซักถาม พระอรฎิ ฐะเปน ผสู วดวินยั พระสงฆผ ูเขา ประชุม 68,000 รปู สถานท่ี ถปู าราม เมอื งอนรุ าธบุรี ผอู ปุ ถัมภ พระเจาเทวานมั ปยตสิ สะ 5. การทําสงั คายนาครงั้ ท่ี 5 สาเหตุ พระพทุ ธวจนะทถี่ ายทอดกนั มาโดยระบบทองจํา ตอไปภายภาคหนาอาจขาดตกบกพรอ ง เวลาทีก่ ระทํา และเวลาทส่ี ําเร็จ กระทาํ หลังจากพระพุทธเจา ปรนิ พิ พานได 433 ป ระยะเวลาทส่ี าํ เรจ็ ไมป รากฏ ผูเปน ประธาน – ผูตอบปญหา ผซู ักถาม – พระสงฆผเู ขาประชมุ คณะสงฆชาวลงั กา สถานที่ อาโลกเลณสถาน มตเลณชนบท ผอู ปุ ถมั ภ พระเจา วฏั ฏคามณีอภัย 6. การทําสังคายนาครงั้ ท่ี 6 สาเหตุ ประเทศอนิ เดยี มีเพยี งพระไตรปฎ ก ไมม อี รรถกถา เวลาทีก่ ระทํา และเวลาท่สี าํ เรจ็ พ.ศ. 956 ไมป รากฏระยะเวลา ผูเปน ประธาน พระพุทธโฆษาจารย ผูต อบปญหา ผูซกั ถาม – พระสงฆผูเ ขา ประชุม พระเถระจาํ นวนหนง่ึ สถานที่ วัดมหาวหิ าร ประเทศศรีลงั กา ผอู ุปถมั ภ พระเจามหานาม 7. การทาํ สังคายนาครงั้ ที่ 7 สาเหตุ ลังกาขาดคัมภรี ฎกี า เวลาที่กระทํา และเวลาที่สําเรจ็ พ.ศ. 1587 ไมป รากฏระยะเวลา ผเู ปนประธาน พระกัสสปเถระ ผูต อบปญหา ผูซักถาม – พระสงฆผ เู ขาประชุม คณะสงฆชาวลังกา 1,000 รปู สถานท่ี ประเทศศรีลงั กา ผูอุปถัมภ พระเจา ปรากรมพาหมุ หาราช

8. การทาํ สงั คายนาคร้ังที่ 8 สาเหตุ พระไตรปฎกขาดตกบกพรอ งผดิ เพีย้ นและไมครบ เวลาที่กระทํา และเวลาที่สําเร็จ พ.ศ. 2020 ใชเวลา 1 ป ผเู ปนประธาน พระธรรมทนิ นเถระ ผูต อบปญ หา ผูซกั ถาม – พระสงฆผ ูเขา ประชมุ พระเถระหลายรอ ยรปู สถานที่ วัดโพธาราม ประเทศไทย ผอู ุปถัมภ – 9. การทาํ สังคายนาครั้งที่ 9 สาเหตุ พระผูใหญถ ูกจับศกึ เพราะความประพฤตยิ อ หยอนในพระธรรมวนิ ยั เวลาทก่ี ระทาํ และเวลาทส่ี ําเร็จ พ.ศ. 2331 ใชเวลา 5 เดอื น ผเู ปน ประธาน – ผูตอบปญ หา ผซู ักถาม – พระสงฆผูเขาประชุม พระเถระ 218 รูป และราชบณั ฑิตคฤหัสถ 32 คน สถานที่ ประเทศไทย ผูอปุ ถมั ภ สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช 10. การทําสังคายนาคร้งั ที่ 10 สาเหตุ ฉลองในวโรกาส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เจรญิ พระชนมายคุ รบ 60 พรรษา เวลาทกี่ ระทาํ และเวลาทีส่ ําเร็จ พ.ศ. 2528-2530 2 ป ผูเ ปน ประธาน สมเดจ็ พระสังฆราชสกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (วาสนมหาเถระ) ผตู อบปญหา ผูซกั ถาม – พระสงฆผเู ขา ประชุม พระสงฆท ั้งฝายมหานิกาย และธรรมยตุ สถานท่ี วัดมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ผูอุปถมั ภ รฐั บาล

ตอนท่ี 2 คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. ในสมยั พุทธกาลมีพระไตรปฎ กหรอื ไม อธบิ ายเหตุผล ไมม ีพระไตรปฎ ก แตค าํ สอนของพระพทุ ธเจากม็ ีการแบงหมวดหมูครา วๆ มหี ลกั ฐานวา พระสารบี ตุ ร อัครสาวก ไดรเิ รม่ิ จดั พระพุทธวจนะเปนหมวดๆ เรมิ่ ต้ังแตหมวด 1 ถึง หมวด 10 และหมวดเกนิ 10 ชอื่ วา สังคตี สิ ตู ร และ ทสตุ ตรสูตร 2. การทําสังคายนา หมายถึงทําอยางไร การทาํ สงั คายนา หมายถึง สวดรว มกนั สวดพรอมกนั การทาํ สงั คายนานั้น พระสงฆจะประชุมสวดซักซอมกัน มรี ะบบทอ งจาํ กันเปนหมคู ณะ

ใบงานท่ี 4.2 เรือ่ งนา รูจ ากพระไตรปฎ ก ตอนท่ี 1 ใหน ักเรยี นอา นเรื่องนา รจู ากพระไตรปฎก เรอ่ื ง กามโภคี 10 พวก แลวชว ยกนั วิเคราะหวา ขอ ใดดีท่สี ดุ คําช้ีแจง ควรนําไปปฏิบตั ิ พรอมยกตวั อยา งแนวทางการนําไปปฏิบัติ

ตอนท่ี 2 ใหนักเรยี นศึกษาความรูจากพระไตรปฎ ก แลว เลือกขอความในพระไตรปฎกท่ีนกั เรียนสนใจมา คําชแ้ี จง 10-20 บรรทดั จากนั้นนํามาวิเคราะหตามหวั ขอท่ีกาํ หนด (ขอ ความนา รจู ากพระไตรปฎ ก) ทม่ี า 1.ขอความดงั กลาวใหขอคิดสําคัญในเร่ืองใดบา ง จงอธิบาย 2. นกั เรียนสามารถนําขอคิดจากขอ 1 ไปเปนแนวทางในการปฏบิ ตั ติ นอยา งไรบาง จงยกตัวอยา งการกระทํา

เฉลย ใบงานที่ 4.2 เรอ่ื งนา รูจากพระไตรปฎก ตอนที่ 1 ใหน กั เรียนอานเรื่องนา รจู ากพระไตรปฎ ก เร่อื ง กามโภคี 10 พวก แลวชวยกันวิเคราะหวา ขอ ใดดีท่สี ุด คําชี้แจง ควรนําไปปฏบิ ัติ พรอมยกตัวอยา งแนวทางการนําไปปฏิบตั ิ (ตวั อยา่ ง) ขอ 9 พวกหน่งึ แสวงหาทรพั ยโ ดยชอบธรรม เลย้ี งตนใหเปนสุข ท้ังแจกจา ย แบงปน และทาํ บญุ แนวทางการนําไปปฏิบตั ิ เชน - ประกอบอาชีพสุจรติ - ใชจายอยา งพอสมควร - หาโอกาสบริจาคสงเคราะหผเู ดอื ดรอ นจากภยั พบิ ตั หิ รอื ผูทย่ี ากไร - นาํ ไปทําบญุ ในวดั ตางๆ ขอ 10 พวกหน่งึ แสวงหาทรัพยโ ดยชอบธรรม เล้ียงตนใหเ ปนสขุ ทัง้ แจกจาย แบงปน และทําบุญ ไมสยบมัวเมา หมกมุนในโภคทรัพยเหลานัน้ รเู ทา ทนั เห็นโทษ มปี ญญาทาํ ตนใหเ ปน อสิ ระหรือเปน นายเหนอื โภคทรพั ย แนวทางการนําไปปฏบิ ตั ิ เชน - ไดทรัพยม าจากอาชพี ที่บริสทุ ธิ์ แตไมโ ลภจนทําใหต นเองลาํ บาก - รจู ักทําบญุ ใหเ หมาะสมกบั รายได (พจิ ารณาตามคาํ ตอบของนักเรยี น โดยใหอ ยูในดลุ ยพินจิ ของครผู สู อน)

ตอนที่ 2 ใหนกั เรยี นศึกษาความรูจ ากพระไตรปฎก แลว เลอื กขอความในพระไตรปฎ กทน่ี กั เรียนสนใจมา คําช้ีแจง 10-20 บรรทัด จากนนั้ นํามาวิเคราะหต ามหัวขอท่ีกําหนด (ขอความนารูจากพระไตรปฎก) ทม่ี า 1. ขอ ความดังกลา วใหขอคดิ สําคัญในเร่ืองใดบา ง จงอธบิ าย 2. นักเรยี นสามารถนําขอคิดจากขอ 1 ไปเปน แนวทางในการปฏบิ ัติตนอยา งไรบา ง จงยกตัวอยางการกระทํา (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอ ยใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน)

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 16 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 5 กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา 2 ชั่วโมง หนว ยการเรยี นรทู ่ี 4 พระไตยปฎ ก และพุทธศาสนสภุ าษิต เรือ่ ง พุทธศาสนสภุ าษิต 1. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด พุทธศาสนสภุ าษิตมีขอ คิดซงึ่ เปนคติเตือนใจบุคคลใหป ฏบิ ตั ติ นในทางท่ีถูกตอง 2. ตวั ชวี้ ัด/จุดประสงคการเรยี นรู 2.1 ตัวชีว้ ัด ส 1.1 ม.4-6/13วเิ คราะหหลักธรรมในกรอบอริยสจั 4 หรอื หลกั คําสอนของศาสนาทีต่ นนับถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู 1) วิเคราะหขอคิดทไี่ ดจากการศึกษาพทุ ธศาสนสภุ าษิตในหวั ขอทกี่ ําหนดให 2) วเิ คราะหผลการกระทาํ ของบุคคลทส่ี อดคลอ งกบั พทุ ธศาสนสุภาษติ ทก่ี าํ หนดได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง • พทุ ธศาสนสุภาษิต - ปฏิรูปการี ธรุ วา อุฏ าตา วินทฺ เต ธนํ : คนขยนั เอาการเอางาน กระทําเหมาะสม ยอมหาทรัพยได - วายเมเถว ปรุ โิ ส ยาว อตฺถสฺส นปิ ฺปทา : เกิดเปนคนควรจะพยายามจนกวาจะประสบ ความสาํ เร็จ - สนฺตุฏ ปรมํ ธนํ : ความสนั โดษเปนทรัพยอ ยางยิ่ง - อณิ าทานํ ทุกฺขํ โลเก : การเปน หน้ีเปน ทกุ ขในโลก 3.2 สาระการเรียนรูทองถ่ิน (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 3) ทกั ษะการประยกุ ตใชค วามรู 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวเิ คราะห 2) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค 1. มวี ินัย 2. ใฝเ รยี นรู 3. มุงม่นั ในการทาํ งาน

6. กจิ กรรมการเรยี นรู วิธีสอนโดยใช ทกั ษะกระบวนการเผชิญสถานการณ (นกั เรยี นสวดมนตบ ูชาพระรตั นตรยั และทาํ สมาธิกอ นเรียนทุกชั่วโมง) ช่วั โมงที่ 1 ขนั้ นาํ เขา สูบทเรียน 1. ครูนาํ ตวั อยา งการกระทําของบคุ คลทปี่ ระสบความสาํ เร็จในชวี ติ ดา นตางๆ มาเลาใหน ักเรียนฟง 2. ครใู หนักเรียนชว ยกันวเิ คราะหขอคิดที่ไดจากการกระทาํ ของบุคคลตางๆ ซึ่งนักเรยี นอาจตอบไดห ลากหลาย เชน - มีความเพียร พยายาม - มคี วามขยัน อดทน - มีความพอใจในสง่ิ ทีต่ นมีอยู 3. ครูอธิบายเชื่อมโยงใหนักเรียนเขาใจวา การกระทําของบคุ คลดังกลาวสอดคลอ งกับพุทธศาสนสุภาษิต กลา วไดว า พุทธศาสนสภุ าษิตจะมีขอคิดเตือนใจใหบ ุคคลกระทาํ ดี กระทาํ ถูกตอง ซ่งึ จะสงผลดีตอผูป ฏบิ ัติ ข้ันสอน 1. รวบรวมขาวสาร ขอมูล ขอเท็จจรงิ ความรู และหลักการ 1. นักเรียนกลุม เดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรูท่ี 1) รว มกันศกึ ษาความรูเร่ือง พุทธศาสนสุภาษิต จากหนงั สือเรียน หนังสอื คนควา เพิ่มเติม หอ งสมดุ และแหลงขอ มูลสารสนเทศ 2. ครใู หนกั เรยี นแตละกลมุ ไปสืบคน ประวัติและผลงานของบคุ คลจากหนังสอื พมิ พ วารสาร สงิ่ พมิ พ แหลง ขอมลู สารสนเทศ หรือจากการสมั ภาษณ โดยใหอ ยูในประเด็นท่มี ีความสอดคลองกับพุทธศาสนสภุ าษิตตอไปน้ี 1) ปฏริ ูปการี ธุรวา อฏุ  าตา วินทฺ เต ธนํ : คนขยนั เอาการเอางาน กระทาํ เหมาะสมยอมหาทรัพยได 2) วายเมเถว ปรุ โิ ส ยาว อตฺถสสฺ นปิ ปฺ ทา : เกิดเปน คนควรจะพยายามจนกวาจะประสบความสาํ เร็จ 3) สนฺตุฏ ปรมํ ธนํ : ความสนั โดษเปน ทรพั ยอยางยิ่ง 4) อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก : การเปน หนเี้ ปนทกุ ขในโลก 3. นักเรียนนําความรูทีไ่ ดม าบันทึกลงในสมุด 4. นกั เรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  พุทธศาสนสภุ าษติ ใดบางทท่ี าํ ใหบุคคลเกดิ ความมุมานะในการทาํ กิจกรรมตา งๆ จงยกตัวอยา งพรอม อธิบายเหตผุ ล (วายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสสฺ นปิ ปฺ ทา : เกิดเปน คนควรจะพยายามจนกวาจะประสบความสาํ เร็จ เพราะทาํ ใหไ ด ขอคิดสาํ คัญที่ทําใหเกิดความเพยี รพยายาม ฯลฯ) ชั่วโมงที่ 2 2. ประเมินคณุ คาและประโยชน 1. นักเรยี นแตล ะกลมุ นําความรเู กี่ยวกับประวัติและผลงานของบุคคลทีส่ บื คนมาวิเคราะห แลวตอบคําถามตามหัวขอ ในใบงานที่ 4.3 เรือ่ ง พุทธศาสนสภุ าษิต 2. นักเรยี นแตละกลุมชวยกันตรวจสอบความถกู ตองของคาํ ตอบในใบงานท่ี 4.3 แลว ออกมานําเสนอผลงานหนาชั้น เรยี น จากนน้ั ใหก ลมุ อื่นเสนอแนะหรือชวยแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ ดังนี้ - กลมุ ท่ี 1 นําเสนอผลงาน กลมุ ท่ี 2 เสนอแนะเพ่ิมเตมิ - กลมุ ที่ 2 นาํ เสนอผลงาน กลุมที่ 3 เสนอแนะเพิ่มเติม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook