Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-15 08:16:12

Description: สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 21 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 กลมุ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 ชัว่ โมง หนวยการเรยี นรูท่ี 7 การบรหิ ารจิตและการเจรญิ ปญญา เรอ่ื ง การบริหารจิต 1. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด การสวดมนตแปล แผเมตตา การบรหิ ารจิตตามหลกั สติปฏฐาน ยอมสง ผลดตี อการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และสังคม 2. ตัวช้ีวัด/จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 2.1 ตัวช้ีวัด ส 1.1 ม.4-6/20 สวดมนต แผเ มตตา และบริหารจิต และเจรญิ ปญญาตามหลักสตปิ ฏฐาน หรอื ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนับถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรียนรู - สวดมนต แผเ มตตา และบรหิ ารจติ ตามหลักสตปิ ฏฐานได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรยี นรูแกนกลาง • สวดมนตแ ปลและแผเมตตา รูและเขา ใจวิธปี ฏบิ ัตแิ ละประโยชนข องการบริหารจติ และเจรญิ ปญญา - ฝกการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญญาตามหลักสติปฏฐาน - นาํ วิธีการบริหารจติ และเจริญปญ ญาไปใชในการพัฒนาการเรยี นรู คณุ ภาพชวี ิตและสงั คม 3.2 สาระการเรียนรทู องถน่ิ (พจิ ารณาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผูเ รียน 4) ทักษะกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5) ทกั ษะการนําความรูไปใช 4.2 ความสามารถในการคดิ 6) ทักษะการประยกุ ตใชค วามรู 1) ทกั ษะการหาแบบแผน 2) ทกั ษะการคดิ แบบแยกแยะองคประกอบ 3) ทักษะการคิดแบบวภิ ัชชวาท 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเรียนรู 3. มงุ มน่ั ในการทํางาน 6. กิจกรรมการเรยี นรู วธิ ีสอนแบบกระบวนการปฏิบัติ (นักเรยี นสวดมนตบชู าพระรตั นตรัยและทาํ สมาธิกอ นเรียนทุกชวั่ โมง)

ช่วั โมงท่ี 1 ขน้ั ท่ี 1 สงั เกต รบั รู 1. ครูใหน ักเรียนเลา ประสบการณท ่ีเกยี่ วกบั การทําสมาธใิ นประเดน็ ตอไปน้ี - นกั เรยี นทําสมาธิในเวลาใด ใชเวลานานเทาไร - ขณะที่นกั เรยี นทาํ สมาธิแตละครงั้ นกั เรียนมปี ญหา และอุปสรรคอะไรบาง แลว แกไ ขอยางไร - นักเรยี นไดร บั ประโยชนจ ากการทาํ สมาธิอยางไร 2. ครใู หนกั เรียนดวู ดี ทิ ัศนเกย่ี วกับการบรหิ ารจติ ตามหลักสติปฏฐาน และการฝก ปฏิบัติสติปฏฐาน ซง่ึ เปน การตั้งสติ หรือฝกใหมสี ตอิ ยูกับตัว คอื ฝก ใหมีสติกาํ กับ 4 เรอ่ื ง ไดแก 1) กายและพฤติกรรมของกาย (กายานปุ สสนา) 2) เวทนา คอื ความรสู ึกตางๆ (เวทนานุปส สนา) 3) ภาวะท่ีจติ เปนไปตางๆ เชน จติ กําหนัดยินดี จติ มโี ทสะ โมหะ โลภะ (จิตตานุปส สนา) 4) ความนกึ คิดไตรต รองความจรงิ เชน เร่อื งนิวรณแ ตล ะอยา งๆ มีในใจหรอื ไม (ธัมมานุปส สนา) (ครูอาจนิมนตพระสงฆทมี่ ีความชาํ นาญดา นการฝก ปฏิบัตติ ามหลกั สติปฏฐาน มาฝก ใหนักเรยี นปฏิบตั ิใน การบริหารจติ ตามหลกั สติปฏ ฐาน) 3. ครูใหนักเรียนแตละคนศึกษาความรเู รื่อง การบริหารจิต จากหนงั สือเรียน 4. นกั เรยี นตอบคาํ ถามกระตุน ความคิด - นักเรยี นเคยทําสมาธิในเวลาใดบา ง แลว มีความรูสึกอยางไรในขณะทาํ สมาธิ และหลังจากการทําสมาธิ ข้ันท่ี 2 ทาํ ตามแบบ 1. ครูใหนักเรียนทุกคนเตรยี มการฝกสมาธิ โดยจดุ ธูปเทียนบูชาพระรตั นตรยั สวดมนต และกลาวแผเ มตตา ตามขนั้ ตอน 2. ครใู หน กั เรียนฝกปฏบิ ัติสติปฏ ฐาน คือ ฝกจติ ใหกํากับพิจารณา 4 เร่อื ง ไดแ ก กาย เวทนา จิต และธรรม ใหมีสตกิ าํ หนดรูเทา รูทนั การเคล่อื นไหวอิรยิ าบถท้ัง 4 คือ ยนื เดิน น่ัง นอน รูเ ทาทันเวทนาหรอื ความรูส กึ ที่เกดิ ขึน้ ในขณะนน้ั ๆ รูเ ทาทนั จิตหรอื ความคดิ ท้ังคดิ ดี คดิ ไมดี รูขอธรรมหรือเรือ่ งตา งๆ ตาม ความเปน จรงิ ข้นั ที่ 3 ทําเองโดยไมมีแบบ 1. นักเรียนแตล ะคนฝก บรหิ ารจิตตามหลกั สตปิ ฏ ฐาน คอื ฝก จิตใหก ํากบั พิจารณา 4 เร่อื ง 2. นกั เรยี นตอบคาํ ถามกระตนุ ความคดิ - นกั เรยี นมีปญ หาในขณะบรหิ ารจติ อยา งไรบา ง และไดแกไขอยา งไร ชัว่ โมงท่ี 2 ขั้นที่ 4 ฝก ทําใหชํานาญ 1. ครใู หน กั เรียนทุกคนฝกปฏิบัติการบริหารจิตตามหลกั สติปฏ ฐาน ใหชํานาญในอิริยาบถเดินจงกรม และน่ัง สมาธิ 2. ครใู หน ักเรียนแตล ะคนผลัดกันแสดงความรูส ึกในการบริหารจติ และครชู ว ยเสนอแนะเพ่ิมเติม

3. นกั เรยี นแตล ะคนทาํ ใบงานที่ 7.1 เรอ่ื ง ประโยชนของการบริหารจติ เสรจ็ แลว นําสงครูเพื่อตรวจสอบ ความถกู ตอ ง 4. นกั เรยี นตอบคําถามกระตนุ ความคิด - นกั เรียนสามารถบริหารจติ อยางสมํา่ เสมอในชีวติ ประจาํ วนั ไดโ ดยวธิ ีใด และมผี ลอยา งไร - ครูมอบหมายใหนักเรียนแตล ะคนฝก ปฏบิ ตั ิตนในการบริหารจิต ตามหลกั สติปฏ ฐาน (นอกเวลา เรียน) อยางสมํา่ เสมอทุกวนั แลว บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติ นําสง ครูตามกาํ หนดเวลา เพื่อใหค รปู ระเมินผล โดยใหค รอบคลุมประเด็นตามที่กําหนด ดังน้ี 1) การฝกปฏิบัติตนในการบริหารจติ ตามหลกั สตปิ ฏ ฐาน 2) การวเิ คราะหผ ลการปฏบิ ัติตนในการบริหารจติ ตามหลกั สติปฏฐาน 7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรยี นรู แบบทดสอบกอนเรียน หนว ยการเรยี นรู (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ท่ี 7 ท่ี 7 ตรวจใบงานที่ 7.1 ใบงานที่ 7.1 รอยละ 60 ผานเกณฑ ประเมนิ การนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น รายบุคคล เกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเรยี นรู และมุงมน่ั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น ทํางาน เกณฑ ตรวจบนั ทกึ การฝกปฏบิ ัตติ นในการบรหิ ารจิต แบบประเมินบันทึกการฝกปฏิบตั ิตนใน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น ตามหลกั สตปิ ฏ ฐาน การบรหิ ารจติ ตามหลักสติปฏฐาน เกณฑ 8. สือ่ /แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่ือการเรยี นรู 1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) วดี ิทศั น การบริหารจติ ตามหลักสตปิ ฏฐาน 3) ใบงานที่ 7.1 เรือ่ ง ประโยชนข องการบรหิ ารจิต 8.2 แหลงการเรยี นรู - หองจรยิ ธรรม หรือหอ งพุทธศาสน

ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบบันทกึ การปฏิบัติตนในการบริหารจิตตามหลักสตปิ ฏ ฐาน ระหวา งวันที่ เดอื น……………….. พ.ศ. ถงึ วันที่ เดือน พ.ศ…………………. ชอื่ ชนั้ เลขที่ วนั เดือน ป รายการปฏิบตั ิ ผลท่ไี ดร บั ลายมือชื่อ ผูส งั เกตพฤติกรรม เกณฑการประเมนิ 20 ครัง้ ขึ้นไป = ดีมาก (4) ปฏิบตั ิได 15-19 ครง้ั = ดี (3) ปฏบิ ัตไิ ด 10-14 คร้งั = พอใช (2) ปฏิบตั ไิ ด 10 ครง้ั = ปรบั ปรุง (1) ปฏิบัตไิ ดนอยกวา การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมนิ รายงานการฝกปฏบิ ัติตนในการบรหิ ารจติ ตามหลกั สติปฏ ฐาน (ชิ้นงานที่ 1) ลําดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 4321 2 การฝกปฏบิ ัติตนในการบริหารจิตตามหลกั สติปฏฐาน การวเิ คราะหผ ลการปฏบิ ตั ิตนในการบริหารจิต ตามหลกั สตปิ ฏ ฐาน รวม ลงชื่อ...................................................ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าพร อดุ มสุข) เกณฑการใหค ะแนน = 4 คะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ดีมาก = 3 คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = 2 คะแนน 8 ดมี าก พอใช = 1 คะแนน 6 - 7 ดี ปรบั ปรุง 4 - 5 พอใช ต่าํ กวา 4 ปรบั ปรุง

ใบงานท่ี 7.1 ประโยชนข องการบริหารจติ ตอนท่ี 1 คําช้ีแจง ใหน กั เรียนเขยี นแผนผังความคดิ เร่ือง ประโยชนข องการบริหารจติ ประโยชน์ของการบริหารจิต

ตอนท่ี 2 คาํ ชแี้ จงใหนกั เรียนเขยี นอธิบายหรือตอบคาํ ถามในประเด็นทกี่ าํ หนด 1. ผูทีบ่ ริหารจิตอยางสมาํ่ เสมอ จะสงผลดีตอบุคลิกภาพอยางไร 2. นักเรยี นเลา ประสบการณของตนท่ีเคยบรหิ ารจติ และประโยชนท ี่ไดร บั

ใบงานที่ 7.1 ประโยชนของการบรหิ ารจิต (ตวั อย่าง) ตอนท่ี 1 คาํ ชแ้ี จง ใหนักเรยี นเขยี นแผนผังความคดิ เรอื่ ง ประโยชนข องการบรหิ ารจิต มคี วามว่องไวกระฉบั กระเฉง นอนหลบั งา่ ย สามารถตดั สนิ ใจเหมาะสม จติ ใจสบายหายเครยี ด มคี วามเพยี รพยายามแน่วแน่ รกั ษาโรคบางอย่างได้ สขุ ภาพกายดี ประโยชน์ของการบริหารจิต มสี ตสิ มั ปชญั ญะ มปี ระสทิ ธภิ าพในการทาํ งาน สง่ เสรมิ ความจาํ (พจิ ารณาตามคาํ ตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

ตอนที่ 2 คําชแี้ จงใหนักเรียนเขยี นอธบิ ายหรอื ตอบคาํ ถามในประเด็นท่ีกาํ หนด 1. ผทู ี่บรหิ ารจติ อยางสมาํ่ เสมอ จะสงผลดตี อ บุคลิกภาพอยางไร อารมณเ ยือกเย็น สขุ ุม สภุ าพออ นโยน สดชน่ื เบิกบาน มีอารมณมน่ั คง มีเสนห สงา สามารถแกไข สถานการณ ที่มีปญ หาไดฉบั พลัน 2. นักเรียนเลาประสบการณของตนทเ่ี คยบริหารจิตและประโยชนทไ่ี ดรับ (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอยูในดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู อน)

แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน คาํ ชี้แจง : ให ผูส อน ประเมินการนาํ เสนอผลงานของนักเรยี นตามรายการทีก่ ําหนด แลว ขดี  ลงในชอ ง ทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ลาํ ดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 นําเสนอเนอ้ื หาในผลงานไดถูกตอง 2 การลําดับข้นั ตอนของเน้ือเรอื่ ง 3 การนาํ เสนอมีความนาสนใจ 4 การมีสว นรวมของสมาชกิ ในกลมุ 5 การตรงตอเวลา รวม ลงชอ่ื .................................................... ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าพร อดุ มสุข) เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ เกณฑการใหค ะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณชัดเจน ให 4 คะแนน 18 - 20 ดีมาก ผลงานหรือพฤติกรรมมขี อบกพรอ งบางสว น ให 3 คะแนน 14 - 17 ดี ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี อบกพรองเปน สว นใหญ ให 2 คะแนน 10 - 13 พอใช ผลงานหรือพฤติกรรมมขี อ บกพรอ งมาก ให 1 คะแนน ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ



แผนการจดั การเรียนรูท่ี 22 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 ชว่ั โมง หนวยการเรยี นรูท ่ี 7 การบริหารจิตและการเจรญิ ปญ ญา เรอื่ ง การเจริญปญญาตามหลัก โยนิโสมนสกิ าร 1. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด การเจรญิ ปญ ญาดว ยการคิดแบบแยกแยะองคประกอบ (สว นประกอบ) การคดิ แบบวิภัชชวาท ยอมมี ผลดตี อการปฏิบัติตนในทางท่ีถูกตอง 2. ตัวชวี้ ัด/จดุ ประสงคการเรียนรู 2.1 ตัวชี้วดั ส 1.1 ม.4-6/19 เหน็ คณุ คา เชื่อมัน่ และมุงมั่น พฒั นาชีวติ ดว ยการพัฒนาจติ และพัฒนาการ เรยี นรูด ว ยวธิ ีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถือ 2.2 จุดประสงคการเรียนรู - วิเคราะหการกระทาํ ที่แสดงถึงการใชว ิธคี ิดแบบแยกแยะสว นประกอบ วิธคี ิดแบบวิภชั ชวาท และนาํ ไปประยุกตใชไ ด 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรยี นรแู กนกลาง • พฒั นาการเรียนรูด วยวิธคี ดิ แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธี (เนนวธิ ีคดิ แบบแยกแยะสว นประกอบ และแบบวภิ ัชชวาท) 3.2 สาระการเรียนรูทอ งถิ่น (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน 3) ทกั ษะกระบวนการคิดอยางมวี ิจารณญาณ 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคิดแบบแยกแยะองคประกอบ 2) ทกั ษะการคิดแบบวิภชั ชวาท 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. มวี ินยั 2. ใฝเ รียนรู 3. มุง ม่ันในการทํางาน

6. กิจกรรมการเรียนรู วิธีสอนแบบธรรมสากัจฉา (นักเรียนสวดมนตบ ชู าพระรตั นตรยั และทาํ สมาธิกอ นเรียนทกุ ช่วั โมง) ช่วั โมงที่ 1 ขั้นนาํ เขาสูบทเรียน 1. ครนู ําภาพกจิ กรรมตางๆ มาใหนักเรียนวเิ คราะห เชน - ภาพโรงงานทอผา มีคนทอผา - ภาพบานเรือน - ภาพเครอ่ื งปน ดินเผา - ภาพตนไมห ลายชนิด - ภาพตลาดนํา้ มเี รือขายสนิ คา มนี ักทองเที่ยวไปซ้ือสนิ คา 2. ครตู ้ังคาํ ถามใหน ักเรยี นคดิ เพ่ือนาํ เขาสูการคดิ ตามแนวพุทธธรรมในเรือ่ ง การคิดแยกแยะองคประกอบ และวธิ ีคดิ แบบวิภัชชวาท ดงั น้ี - ภาพนีป้ ระกอบดวยอะไรบา ง (ในแตล ะภาพ) - ภาพใดที่นักเรยี นชอบมากท่สี ุด จงอธิบายเหตผุ ล 3. ครอู ธิบายใหน ักเรยี นเขา ใจวา การตอบคําถามของนักเรียนนัน้ แสดงถงึ วธิ กี ารคิดแบบแยกแยะ องคป ระกอบ และวธิ คี ดิ แบบวิภัชชวาท ขน้ั สอน 1. แสวงหาความรู 1. นักเรียนแบงกลุม กลุม ละ 6 คน ตามความสมัครใจ ใหน ักเรยี นแตล ะกลุมรว มกนั ศึกษาความรูเร่อื ง วธิ ีคดิ แบบแยกแยะองคป ระกอบ (สวนประกอบ) วิธีคิดแบบวิภชั ชวาท จากหนังสอื เรยี น หนงั สือ คน ควา เพิ่มเตมิ หองสมุด หรือแหลง ขอมูลสารสนเทศ 2. นกั เรียนนาํ ความรูท่ีไดจากการศกึ ษามาบันทึกลงในแบบบันทกึ การอา น 2. คน พบความร/ู สนทนาแลกเปล่ยี นความรู 1. สมาชิกในกลมุ นาํ ความรทู ่ีไดจ ากการศกึ ษามาสนทนารว มกัน ในประเดน็ ตอไปน้ี 1) ความหมาย 2) ลกั ษณะสาํ คัญของวธิ ีคิดแบบแยะแยะองคป ระกอบและวิธีคดิ แบบวภิ ัชชวาท 3) ตวั อยา งการกระทํา 2. นักเรียนตอบคําถามกระตุนความคดิ - การคดิ แบบแยกแยะองคประกอบ มคี วามคลายคลงึ หรือแตกตา งจากการคิดแบบวภิ ัชชวาท อยางไร (การคิดแบบวิภชั ชวาทคลา ยกบั การคิดแบบแยกแยะองคป ระกอบ คือ เปน การรจู ักแยกแยะประเดน็ แยกเรอื่ ง แยกชน้ิ สว น)

ชั่วโมงที่ 2 3. วเิ คราะหแ ละประเมินคาความรู 1. สมาชิกแตล ะกลมุ จับคูกันเปน 3 คู ใหแตล ะคูแบงหนาที่กันวิเคราะหขา วในใบงานท่ี 7.2 เรื่อง คิดเปน แลวตอบคําถาม โดยแบง หนาทค่ี วามรับผิดชอบกนั ปฏบิ ัติ ดงั นี้ - คูที่ 1 วิเคราะหขา วท่ี 1 เกมคอมพวิ เตอร - คทู ี่ 2 วเิ คราะหขาวที่ 2 มัคคเุ ทศกนอยพาชมแหเ ทยี นเมืองอบุ ล - คูที่ 3 วเิ คราะหขาวที่ 3 ชงิ ชยั ฟส ิกสโ อลมิ ปก 2. สมาชกิ แตล ะคูผ ลัดกันอธิบายคาํ ตอบในใบงานท่ี 7.2 ทคี่ ูของตนรบั ผดิ ชอบใหส มาชิกคอู น่ื ภายใน กลมุ ฟง สมาชิกในกลุมชวยกันเสนอแนะ ปรบั ปรงุ แกไขผลงาน แลวสรปุ เปน ผลงานของกลุม 3. ตัวแทนกลุม 2-3 กลุม นําเสนอคาํ ตอบในใบงานที่ 7.2 แลว ใหก ลุม ทมี่ ผี ลงานแตกตางออกไป นําเสนอผลงานเพิ่มเตมิ ครตู รวจสอบความถกู ตอง 4. นักเรียนตอบคําถามกระตุนความคิด - นักเรียนสามารถนาํ วธิ คี ิดแบบแยกแยะองคป ระกอบไปใชใ นการดําเนนิ ชวี ิตอยางไรบา ง จงยกตวั อยา ง 4. พสิ ูจนค วามรูหรือปฏบิ ตั ิ สมาชกิ ในกลมุ รวมกนั สืบคนประวัตขิ องบุคคลทมี่ ีการกระทําโดยใชว ธิ ีคิดแบบแยกแยะองคป ระกอบ และวิธีคดิ แบบวิภัชชวาท แลว นาํ มาวเิ คราะหว า บุคคลน้นั ไดร ับผลดีจากการใชว ิธีคิดดังกลาว ขัน้ สรปุ 1. ครแู ละนกั เรยี นรว มกันสรปุ สาระสําคัญและผลดจี ากการนาํ วิธีคิดแบบวภิ ัชชวาทและวธิ คี ดิ แบบแยกแยะ องคประกอบ 2. ครมู อบหมายใหน กั เรียนแตล ะคนทาํ ใบงานเสริมที่ 1-2 นอกเวลาเรียน แลว นําสงครตู รวจ 7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ ตรวจใบงานที่ 7.2 ใบงานที่ 7.2 รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจใบงานเสรมิ ท่ี 1-2 ใบงานเสรมิ ที่ 1-2 รอยละ 60 ผานเกณฑ ตรวจแบบบันทึกการอาน แบบบันทกึ การอา น ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ ประเมนิ การนําเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางาน สงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล รายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา นเกณฑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ สงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ระดับคณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ สงั เกตความมีวินยั ใฝเรยี นรู และมุงม่นั ในการ ระดับคณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ ทํางาน

8. ส่อื /แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่อื การเรียนรู 1) หนังสอื เรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.5 2) หนังสือคน ควา เพมิ่ เติม (1) ญาณสงั วร, สมเดจ็ พระ (เจริญ สวุ ฑฺฒโน). 2526. หลกั พระพุทธศาสนา. กรงุ เทพมหานคร : ประกายพรึก. (2) วศนิ อนิ ทสระ. 2548. หลักธรรมอนั เปน หัวใจพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : บริษทั เอ. ไอ. เอ. จาํ กดั (เครือนาํ ทอง). 3) บตั รภาพ 4) ใบงานท่ี 7.2 เรื่อง คิดเปน 5) ใบงานเสรมิ ท่ี 1 เรื่อง การคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร : การคดิ แบบแยกแยะองคประกอบ 6) ใบงานเสริมท่ี 2 เร่ือง การคิดแบบวิภชั ชวาท 8.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุด 2) แหลง ขอมูลสารสนเทศ - http://www.bp.smakom.org/BP_School/Social/...Ba-ri-Jit.htm - http://www.thaigoodview.com/library/.../st2545/.../sec01p03.html

การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินบทความเชงิ วเิ คราะห เรอ่ื ง การนําวิธีคิดแบบแยกแยะองคป ระกอบ และวิธีคดิ แบบวิภัชชวาทไปใชใ นการดําเนินชวี ิต (ชน้ิ งานท่ี 2) ลาํ ดับที่ รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การคดิ แบบแยกแยะองคป ระกอบ 2 การคิดแบบวิภชั ชวาท การเสนอแนวทางการนําวธิ ีคิดแบบแยกแยะ 3 องคป ระกอบ และวิธีคิดแบบวิภัชชวาทไปใชใ นการ ดาํ เนนิ ชีวิต รวม ลงชื่อ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าพร อดุ มสุข) เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑการใหค ะแนน 11 - 12 ดมี าก ดมี าก = 4 คะแนน 9 - 10 ดี ดี = 3 คะแนน 6 - 8 พอใช้ พอใช = 2 คะแนน ต่าํ กว่า 6 ปรบั ปรงุ ปรบั ปรุง = 1 คะแนน

บตั รภาพ  ภาพโรงงานทอผา้ ภาพบา้ นเรอื น ภาพต้นไม้หลายชนิ ด ภาพเครอ่ื งปัน้ ดินเผา ภาพตลาดน้ํา ที่มา : ภาพท่ี 1 http://viveretaiwan.blogspot.com/ 1 2 ภาพท่ี 2 http://www.jp-house.com/ 3 4 ภาพท่ี 3 http://pusathornmew.blogspot.com/2013/01/5.html 5 ภาพท่ี 4 http://phlearning.com/student/din/marget.html ภาพท่ี 5 http://www.oknation.net/blog/fon1989/2013/03/11/entry-1

ใบงานที่ 7.2 คิดเปน คาํ ชแ้ี จง ใหน กั เรยี นอา นขา ว แลวตอบคาํ ถามตามที่กาํ หนด ขาวท่ี 1 เกมคอมพิวเตอร พอ แมห ลายทานอาจจะรสู ึกเปนกงั วลเวลาเหน็ เดก็ ๆ หมกมุน อยูกบั เกมคอมพวิ เตอร เพราะเกรง วาลูกจะกลายเปน เด็กติดเกมจนเปนปญ หาในอนาคต เร่ืองนี้แกไขได หากวางกฎกติกาในการเลนเกมอยา งชดั เจน และหากเปนไปไดพอแมควรคอย ชี้แนะลูกอยูใกลๆ ความจริงแลว เกมคอมพวิ เตอรม ปี ระโยชนม ากมายสําหรบั เดก็ “นิตยสารมาเธอร & เบบ”้ี ฉบับ เดอื น ก.ค. รวบรวมมาฝาก ดังน้ี 1. ฝกการสงั เกต การตัดสินใจ เนอ้ื หาของเกมจะมกี ารใหเปรียบเทียบ แยกประเภท หรอื ตัดสินใจอยา งรวดเร็ว การจะ เอาชนะหรือผานดานตา งๆ ได ตอ งใชการคิดแกปญ หา การสงั เกต และตดั สนิ ใจอยา งรวดเรว็ แมจะ เปน สถานการณจําลอง 2. ฝก ภาษา เกมในปจจบุ นั มีหลากหลายท่ีสนุกและใหความรเู รื่องศัพทไปพรอมๆ กัน รวมถึงการไดออก เสยี งชดั เจนและถูกตอง คณุ พอคุณแมควรอยูใ กลๆ เพือ่ สอนคําศัพทต า งๆ ไปดว ย 3. เสรมิ สรางจนิ ตนาการ ปจ จุบันมเี กมหลากหลายทใ่ี หเดก็ ๆ ไดเ ลือกเติมแตงสงิ่ ตางๆ ดว ยตัวเอง เชน เกมจดั หอ ง แตง ตวั ตกุ ตา สรา งสวนสนกุ หรอื เกมสรา งเมอื งจําลอง เด็กจะไดสนกุ และคดิ ฝน ตามจนิ ตนาการ 4. เรยี นรกู ติกา เกมในกลุม กีฬา เชน ฟตุ บอล เทนนิส บาสเกตบอล กอลฟ ฯลฯ จะทาํ ใหผ เู ลน เขาใจกฎ กตกิ า จึงจะเลนได เปน การปูพื้นฐานใหเ ด็กทําความรจู กั กบั กีฬาประเภทนน้ั ๆ และหากมโี อกาสคณุ พอคุณแม ก็ควรชวนลูกไปเลนกีฬาทเ่ี ขาชอบจากเกม อาจจะทําใหล กู ลมื กฬี าในจอคอมพิวเตอรไปเลยก็ได ท่มี า : หนังสือพมิ พขา วสด ฉบบั วันจันทรท ี่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. เกมคอมพวิ เตอรมีสวนในการฝก ภาษาอยา งไร (วธิ คี ิดแบบแยกแยะองคประกอบ) 2. เกมคอมพิวเตอรมีผลตอการเลน กฬี าในเร่ืองใด (วธิ ีคดิ แบบแยกแยะองคประกอบ) 3. การเลนเกมคอมพวิ เตอรม ีประโยชนหรอื มโี ทษ แยกตอบทีละประเดน็ และสรปุ (วธิ คี ิดแบบวภิ ชั วาท)

ขา วที่ 2 มัคคเุ ทศกน อยพาชมแหเทียนเมอื งอุบลฯ กลุมเยาวชนโรงเรียนเทศบาลสองหนองบัว จังหวดั อุบลราชธานี เปน กลุมมัคคุเทศกนอ ยนาํ กลุม ชาวตา งชาติทองเทยี่ วชมศลิ ปะและความงดงามของเทียนพรรษา เมอื งอุบลราชธานี และเลา ให นกั ทอ งเทีย่ วชาวญ่ีปุน ใหมีความรเู ร่อื ง งานประเพณีแหเทียนพรรษา ซง่ึ ถอื วา เปนงานบุญที่ย่งิ ใหญทส่ี ดุ ของจังหวัดอุบลราชธานี ชาวอบุ ลราชธานที าํ ตน เทยี นประกวดประชันความงาม ตั้งแตป  พ.ศ. 2470 จนเมอื่ ป พ.ศ. 2520 จงั หวัดอุบลราชธานีจดั งานสัปดาหป ระเพณีแหเ ทยี นพรรษาใหเปนงานประเพณที ยี่ ่ิงใหญ นอกจากจะ แสดงออกถึงความยึดมัน่ สืบสานงานบญุ ทางพระพุทธศาสนาอยางเครง ครดั ของชาวเมืองอบุ ลราชธานี แลว ยงั เปนงานท่แี สดงออกถึงวิวัฒนาการดา นศิลปะของสกุลชา งเมอื งอุบลราชธานอี ีกดวย เนอื่ งจาก บรรดาชางศลิ ปเ มืองอบุ ลราชธานีทม่ี ีอยมู ากมายหลากหลายแขนง และผลติ งานดา นศลิ ปะอยา ง ตอเนอ่ื งตลอดมา ไมว า จะเปน งานศิลปะรว มสมยั งานหัตถกรรมพ้นื บาน และงานกอสรางตกแตง โบสถ วหิ ารตางๆ จะใชโ อกาสในชวงเทศกาลน้ีกลบั มาทดสอบ ทดลองและประลองฝม ือเชิงชา งผา นตนเทียน พรรษา ตน เทียนพรรษาท่ปี ระกวดในงานประเพณีแหเทยี น มี 2 ประเภท ไดแ ก ประเภทแกะสลัก และ ประเภทติดพิมพ ซ่ึงประเภทแกะสลักนัน้ วดั พระธาตหุ นองบวั ถอื วามีชอ่ื ดา นงานฝมือที่ละเอยี ดออ น และไดร ับรางวลั การนั ตีทุกปด วยเชนกนั คุณลุงแกว อาจหาญ ชางฝม ือระดบั ช้ันครูแหงวัดบรู พาเลา วา “เสนหข องตน เทียนพรรษาประเภท ตดิ พิมพแหง วดั บูรพาอยูท่ที ุกคนในชมุ ชนสามารถมีสวนรว มได ทง้ั การตม เทียน และสลักลวดลายตางๆ ไปจนถงึ การติดลวดลายบนเทียน” จึงไมน า แปลกใจท่เี ราไดเหน็ เยาวชนในชุมชนวัดบูรพา ขะมักเขมน กบั การแกะลวดลายจากขี้ผง้ึ ท้งั ลายประจาํ ยาม ลายพนม ลายกระจังรวน ลายกาบบวั ลายรักรอ ย และอีกหลากหลายลวดลาย ท่ี สะทอ นความงามแบบไทยทีห่ าชาติใดเสมอเหมอื น งานนี้แมแตนักทองเทยี่ วชาวตา งชาตทิ ่ีไดมาเยือนชุมชนแหงนีย้ งั อดไมไดที่จะแสดงฝมือและรวม เปน สว นหน่งึ ของตน เทียนพรรษาวัดบูรพา ทีม่ า : หนังสือพมิ พขา วสด เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. การประกวดทาํ ตน เทยี นของชาวอุบลราชธานี ในชุมชนวัดบรู พา มกี ารแกะลวดลายจากขี้ผึ้งเปน ลาย อะไรบาง (วธิ คี ิดแบบแยกแยะองคป ระกอบ) 2. ในขา วน้ี แสดงถึงการมสี วนรว มของบุคลหรอื กลมุ บุคคลใดบาง (วิธีคดิ แบบแยกแยะองคป ระกอบ) 3. ประเพณีแหเ ทียนพรรษา มีผลตอ การดาํ เนินชีวติ ของคนไทยในดานใดบา ง อธิบาย (วิธคี ดิ แบบวภิ ัชชวาท)

ขาวท่ี 3 ชิงชัยฟส กิ สโอลมิ ปก ออกเดนิ ทางเปน ตัวแทนประเทศ เขารวมชิงชัยฟส กิ สโ อลมิ ปก วิชาการกันแลว ณ กรงุ ซาเกรบ็ ประเทศ โครเอเชยี ระหวา งวันที่ 17-25 ก.ค. หลังไดร บั คดั เลือกจากสถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ซ่งึ ผลงานเมือ่ ปที่แลว ทแ่ี มก็ ซิโก เยาวชนไทยควา มาได 1 เหรียญทอง 4 เหรียญเงนิ ปนี้มารว มสง แรงเชียรเ ด็กไทยกันอีกคร้งั เริ่มท่ี วี นายวภี ทั ร พทิ ยครรชิต ช้ัน ม.6 โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา บอกวา ช่นื ชอบฟส กิ ส โดยเฉพาะดานทฤษฏี เพราะเม่อื เห็นอะไรรอบตวั เกิดคําถามหรือขอสงสยั เพยี งแคม ีกระดาษ และปากกากห็ าคําตอบไดท ุกท่ี ทุกเวลา เนื่องจากฟสกิ สชว ยสรางจติ นนาการในการมองส่ิงตางๆ สว นเคลด็ ลับการเรยี น วเี ผยวา หากคน พบวาตัวเองชอบอะไร ฝน จะทําสง่ิ ใด อยา มัวแตค ิดวาจะทาํ ขอใหลงมือ ทําดวยความตั้งใจ เมอื่ ผิดพลาดกค็ วรปลอยวางกบั สิ่งทีผ่ า นไป เกง นายนครินทร โลหติ ศริ ิ ชน้ั ม.5 โรงเรยี นเตรยี มอุดม เลาวา วิชาฟส กิ ส โดยเฉพาะทฤษฎีทําใหเ ราไดเ ห็น ความสวยงามของธรรมชาตผิ านสมการอันเรยี บงายทางคณติ ศาสตร ซึ่งจาํ เปนตองจินตนาการและทาํ ความเขาใจใน ปรากฏการณต างๆ อยา งลกึ ซึง้ จงึ จะวิเคราะหออกมาได คณุ ครูวิทยาศาสตรควรสอนเดก็ ๆ ใหเขา ใจถงึ แกนและ เนอ้ื หาสาระน้นั ๆ โดยอาจมกี ารทดลองหรือนาํ ปรากฏการณท เ่ี หน็ ไดทวั่ ไป หรือนาตน่ื เตนมากระตนุ ความสนใจเดก็ จะ ทําใหเ ขาใจงายขึ้น หรือเปลย่ี นความคิดมาชอบวทิ ยาศาสตรก ไ็ ด ตลุ ย นายชยากร พงษศ ิริ ช้นั ม.5 โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ บอกวา สนุกกบั การเรยี นรูฟส กิ ส โดยเฉพาะ ภาคปฏิบตั ิ เพราะไมน า เบ่ือ ชอบทําการทดลองตางๆ จะพยายามเตรยี มตวั ใหพ รอมดวยการฝกฝนทาํ โจทยบ อ ยๆ รวมทง้ั เตรยี มดานจติ ใจดว ย ตุลยม หี ลักของตวั เองวาตง้ั ใจเรยี นในหอ งเรียนใหดีท่ีสดุ เวลาวางกพ็ ักผอ น ดูโทรทัศน เหมือนเดก็ ทัว่ ไป ปร๊นิ ซ นายอิสระพงศ เอกสนิ ชล ช้ัน ม.6 โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ กลา ววา ในการเรยี นสงิ่ ที่ไมช อบน้ัน ตอ ใหต ้งั ใจมากแคไหนกค็ งไปไดไมไ กลนกั และคงไมม ีความสุข มแี ตจะเครยี ดและฝน ตัวเองเกนิ ไป สาํ หรบั ปริ้นซ วชิ าฟสกิ สค อื วิชาทีเ่ ขารักและสนกุ กบั การเรียน และตอ งการเรยี นรใู นเนอื้ หาท่ลี กึ ซงึ้ ขนึ้ การเขา รว มโครงการโอลิมปกวิชาการทําใหม โี อกาสฝก การปฏบิ ัติการ ฝกการใชเคร่อื งมือตางๆ ทาํ ใหคน พบวา การปฏิบตั ิการ ก็นา สนใจไมน อยกวาทฤษฎี ตอนนจี้ งึ สนใจท้ังสองดานเทาๆ กนั และพฒั นาไปพรอมกันดวย ปริน้ ซเ ผยถึงวธิ ตี ัง้ ใจ เรยี น ที่ไมค วรละเลยเด็ดขาด คอื นอนหลบั พกั ผอ นใหเ พยี งพอ ตอใหอา นหรือเรยี นมากแคไ หนสมองกร็ บั ไมได หมด พลอยทําใหความคิดไมเฉยี บคม ปอ นายสิรภทั ร จงอรามรงุ เรอื ง ชนั้ ม.6 โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ กลา ววา เมื่อไดเรยี นรูฟส กิ สแ ลวรสู ึกสนกุ ไดค ดิ วเิ คราะห ไมตองทอ งจาํ วิชาฟสิกสเปด มุมมองโลกทัศนท ําใหม องสง่ิ ตา งๆ ดว ยมุมมองทีเ่ ปน วทิ ยาศาสตรมากขน้ึ เขา ใจกฎธรรมชาตมิ ากข้ึน นํามาสรา งเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการใหมๆ ได ปอใหค วามเห็นตอ การแขง ขันโอลมิ ปกวชิ าการวา มีสว นชวยสนบั สนุนและกระตุนกลมุ นักเรยี นท่ชี น่ื ชอบและ ถนดั ทางดานนีเ้ ปน อยางดี เพราะไดพ ฒั นาศกั ยภาพในตัว ฝก ความเพียรและอดทน ซึ่งเปน สวนสาํ คญั ที่ชว ยใหเ ด็กรนุ ใหมต อ ยอดความคดิ และความฝนของแตล ะคน ท่มี า : หนังสอื พมิ พขาวสด ฉบับวนั พุธท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. เดก็ นกั เรยี นไทยที่ไปแขง ฟส ิกสโอลมิ ปก คือใครบาง เปนนักเรยี นชน้ั ใด และอยูโรงเรียนใด (วิธีคดิ แบบ แยกแยะองคประกอบ) 2. เดก็ ไทยทเ่ี ปน ตัวแทนแขงฟส ิกสโ อลิมปก นน้ั มีมุมมองหรือมีขอ คิดสําคญั เกย่ี วกับการศึกษาวชิ าฟส กิ ส อยา งไร (วธิ คี ิดแบบวภิ ัชชวาท)

เฉลยใบงานที่ 7.2 คดิ เปน คาํ ช้แี จง ใหนกั เรียนอา นขาว แลวตอบคําถามตามท่ีกําหนด ขา วที่ 1 เกมคอมพวิ เตอร พอแมหลายทานอาจจะรสู ึกเปน กงั วลเวลาเหน็ เด็กๆ หมกมุน อยกู ับเกมคอมพวิ เตอร เพราะเกรงวา ลกู จะ กลายเปน เด็กตดิ เกมจนเปน ปญ หาในอนาคต เร่ืองนแ้ี กไขได หากวางกฎกติกาในการเลนเกมอยางชดั เจน และหากเปนไปไดพอ แมค วรคอยชี้แนะลกู อยูใกลๆ ความจริงแลว เกมคอมพวิ เตอรม ปี ระโยชนมากมายสาํ หรับเด็ก “นิตยสารมาเธอร & เบบี้” ฉบับเดือน ก.ค. รวบรวมมาฝาก ดังนี้ 1. ฝก การสังเกต การตัดสนิ ใจ เน้ือหาของเกมจะมกี ารใหเปรียบเทียบ แยกประเภท หรอื ตดั สินใจอยางรวดเร็ว การจะเอาชนะหรือผาน ดา นตางๆ ได ตองใชก ารคดิ แกปญ หา การสังเกต และตัดสินใจอยางรวดเร็ว แมจะเปน สถานการณจ าํ ลอง 2. ฝกภาษา เกมในปจจุบนั มหี ลากหลายที่สนุกและใหความรเู ร่อื งศัพทไ ปพรอมๆ กนั รวมถงึ การไดออกเสยี งชัดเจนและ ถูกตอ ง คุณพอคณุ แมค วรอยูใ กลๆ เพือ่ สอนคําศัพทต างๆ ไปดวย 3. เสริมสรางจนิ ตนาการ ปจ จุบนั มีเกมหลากหลายทีใ่ หเดก็ ๆ ไดเลอื กเติมแตงส่งิ ตา งๆ ดว ยตวั เอง เชน เกมจัดหอ ง แตงตวั ตุกตา สรา งสวนสนุก หรอื เกมสรางเมืองจําลอง เด็กจะไดส นุกและคิดฝนตามจินตนาการ 4. เรียนรกู ตกิ า เกมในกลุมกีฬา เชน ฟตุ บอล เทนนิส บาสเกตบอล กอลฟ ฯลฯ จะทําใหผเู ลน เขาใจกฎ กติกา จงึ จะเลนได เปนการปูพ้นื ฐานใหเด็กทําความรจู กั กับกีฬาประเภทนนั้ ๆ และหากมีโอกาสคณุ พอ คุณแมก ็ควรชวนลกู ไปเลน กฬี าท่ี เขาชอบจากเกม อาจจะทําใหล กู ลมื กฬี าในจอคอมพวิ เตอรไ ปเลยกไ็ ด ท่ีมา : หนังสอื พิมพข า วสด ฉบับวนั จันทรที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. เกมคอมพิวเตอรมสี วนในการฝก ภาษาอยางไร (วธิ ีคดิ แบบแยกแยะองคป ระกอบ) รคู ําศพั ท ออกเสยี งชัดเจน 2. เกมคอมพวิ เตอรมผี ลตอ การเลน กฬี าในเรื่องใด (วิธคี ดิ แบบแยกแยะองคประกอบ) รจู กั กฎกตกิ า ประเภทของกีฬา 3. การเลนเกมคอมพวิ เตอรม ปี ระโยชนหรือมโี ทษ แยกตอบทีละประเดน็ และสรปุ (วิธีคดิ แบบวภิ ัช ชวาท) เกมคอมพิวเตอรมีทัง้ ประโยชนแ ละโทษ โดยแยกประเด็น ดังนี้ 1) มีประโยชน เชน - เปนการฝก สังเกตและตดั สินใจ - ฝก ภาษาใหร ูเรื่องคาํ ศัพทแ ละการออกเสยี ง - เสรมิ จนิ ตนาการในการสรางเกมสมมติตา งๆ - มีประโยชนตอ การกฬี า ใหรจู กั กฎ ระเบยี บ กติกา 2) มโี ทษ เชน - ถาเลน โดยใชเวลานานมผี ลเสยี ตอ การเรียน คือ มีเวลาอานหนงั สอื นอยลง - เสยี สายตา เมื่อเพง มองจอคอมพิวเตอรนาน ทําใหต าพรา มัว เลนสต าเสอ่ื มเรว็ - ถาเลนเพลนิ ตอนกลางคืนอาจทาํ ใหอ ดนอน เสยี สุขภาพ สรปุ เกมคอมพิวเตอรมีท้ังประโยชนแ ละโทษ ดงั น้ันจึงตองรจู กั เลน อยางเหมาะสม

ขา วที่ 2 มคั คุเทศกนอ ยพาชมแหเ ทยี นเมอื งอุบลฯ กลมุ เยาวชนโรงเรยี นเทศบาลสองหนองบัว จังหวัดอบุ ลราชธานี เปน กลุมมคั คเุ ทศกน อยนาํ กลมุ ชาวตา งชาติ ทอ งเท่ียวชมศิลปะและความงดงามของเทียนพรรษา เมอื งอุบลราชธานี และเลา ใหน กั ทอ งเที่ยวชาวญี่ปุน ใหม คี วามรู เร่อื ง งานประเพณแี หเทยี นพรรษา ซง่ึ ถอื วา เปนงานบญุ ทยี่ ง่ิ ใหญทส่ี ดุ ของจังหวดั อบุ ลราชธานี ชาวอบุ ลราชธานที ําตน เทียนประกวดประชันความงาม ตัง้ แตป  พ.ศ. 2470 จนเมื่อ ป พ.ศ. 2520 จังหวดั อุบลราชธานจี ัดงานสปั ดาหป ระเพณีแหเ ทียนพรรษาใหเ ปนงานประเพณีทย่ี ิ่งใหญ นอกจากจะแสดงออกถึงความยึด มัน่ สบื สานงานบุญทางพระพุทธศาสนาอยา งเครง ครดั ของชาวเมืองอุบลราชธานแี ลว ยังเปน งานท่แี สดงออกถึง วิวัฒนาการดา นศลิ ปะของสกลุ ชา งเมอื งอบุ ลราชธานีอกี ดวย เน่อื งจากบรรดาชา งศลิ ปเ มืองอบุ ลราชธานีทมี่ อี ยู มากมายหลากหลายแขนง และผลติ งานดานศลิ ปะอยา งตอ เนือ่ งตลอดมา ไมวา จะเปน งานศลิ ปะรวมสมยั งาน หตั ถกรรมพน้ื บา น และงานกอสรา งตกแตงโบสถว หิ ารตา งๆ จะใชโอกาสในชวงเทศกาลนกี้ ลับมาทดสอบ ทดลองและ ประลองฝม ือเชงิ ชา งผา นตน เทียนพรรษา ตน เทยี นพรรษาที่ประกวดในงานประเพณีแหเทยี น มี 2 ประเภท ไดแก ประเภทแกะสลกั และประเภทตดิ พมิ พ ซึ่งประเภทแกะสลกั นัน้ วัดพระธาตุหนองบวั ถอื วา มีชื่อดานงานฝม อื ท่ลี ะเอยี ดออ นและไดร บั รางวลั การันตที กุ ปดว ย เชนกัน คณุ ลุงแกว อาจหาญ ชางฝม ือระดบั ชัน้ ครูแหงวดั บูรพาเลา วา “เสนหข องตน เทยี นพรรษาประเภทตดิ พมิ พแหง วัดบูรพาอยทู ่ีทุกคนในชุมชนสามารถมสี วนรวมได ท้ังการตมเทยี น และสลกั ลวดลายตางๆ ไปจนถึงการตดิ ลวดลาย บนเทียน” จึงไมน าแปลกใจทเี่ ราไดเห็นเยาวชนในชุมชนวดั บรู พา ขะมักเขมนกบั การแกะลวดลายจากขผี้ งึ้ ทงั้ ลายประจาํ ยาม ลายพนม ลายกระจังรวน ลายกาบบัว ลายรกั รอย และอกี หลากหลายลวดลาย ที่สะทอนความงามแบบไทยทห่ี า ชาติใดเสมอเหมอื น งานน้ีแมแ ตน ักทองเที่ยวชาวตางชาตทิ ี่ไดม าเยือนชุมชนแหงน้ยี งั อดไมไ ดท ่จี ะแสดงฝม ือและรวมเปนสวนหนงึ่ ของตน เทียนพรรษาวดั บรู พา ทมี่ า : หนงั สอื พมิ พข าวสด เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. การประกวดทําตนเทยี นของชาวอบุ ลราชธานี ในชมุ ชนวัดบรู พา มีการแกะลวดลายจากขี้ผึ้งเปนลาย อะไรบา ง (วธิ ีคดิ แบบแยกแยะองคป ระกอบ) ลายประจาํ ยาม ลายพนม ลายกระจังรวน ลายกาบบวั ลายรักรอ ย 2. ในขา วนี้ แสดงถงึ การมสี วนรวมของบุคลหรอื กลุมบุคคลใดบาง (วธิ ีคิดแบบแยกแยะองคประกอบ) นักเรียน ชาวตา งชาติ วัด ชาวบา นในชุมชน ชา งศลิ ป ชางฝมอื ระดบั ครู ประชาชนชาวอบุ ล 3. ประเพณแี หเ ทียนพรรษา มผี ลตอ การดําเนินชีวติ ของคนไทยในดา นใดบา ง อธิบาย (วิธคี ดิ แบบวภิ ชั ชวาท) 1) ดา นพระพทุ ธศาสนา คอื ชาวไทยทง้ั ในจงั หวัดอบุ ลราชธานี และจังหวัดอนื่ ไดมสี วนรวมในพธิ ีกรรม ในวนั สาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนา 2) ดานการอนรุ ักษ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เปนการสบื ทอดงานดานศิลปวฒั นธรรมไทยใหคงอยตู ลอดไป 3) ดานการศึกษา เดก็ เยาวชนไดศกึ ษาความรูจากวิถชี วี ิตจรงิ 4) ดา นสื่อมวลชน สื่อมวลชนไดเ ผยแพรงานแหเทยี นของชาวจงั หวดั อบุ ลราชธานี ซงึ่ เปน ศลิ ปวัฒนธรรม แกคนทั่วไป ทง้ั ชาวไทยและชาวตา งชาติ 5) ดา นเศรษฐกจิ การที่คนไปทอ งเทยี่ วในชวงเทศกาลแหเ ทยี นพรรษาทาํ ใหรายไดข องชาวอบุ ลราชธานี มีจํานวนมากขึ้น

ขาวที่ 3 ชงิ ชยั ฟสกิ สโ อลิมปก ออกเดินทางเปน ตัวแทนประเทศ เขารว มชงิ ชัยฟส กิ สโอลมิ ปกวชิ าการกันแลว ณ กรุงซาเกรบ็ ประเทศ โครเอเชีย ระหวา งวันท่ี 17-25 ก.ค. หลังไดร ับคดั เลือกจากสถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ซึ่งผลงานเมื่อปท ี่แลวที่แมก็ ซิโก เยาวชนไทยควา มาได 1 เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน ปน ี้มารว มสง แรงเชียรเ ด็กไทยกันอกี ครงั้ เริม่ ที่ วี นายวีภทั ร พทิ ยครรชิต ชั้น ม.6 โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา บอกวา ชนื่ ชอบฟส ิกส โดยเฉพาะดานทฤษฏี เพราะเม่ือเห็นอะไรรอบตัวเกดิ คําถามหรอื ขอสงสัย เพยี งแคม กี ระดาษ และปากกากห็ าคําตอบไดท ุกท่ี ทกุ เวลา เนื่องจากฟส กิ สชว ยสรางจติ นนาการในการมองส่ิงตางๆ สว นเคลด็ ลบั การเรยี น วีเผยวา หากคน พบวา ตัวเองชอบอะไร ฝนจะทําสง่ิ ใด อยามัวแตค ิดวาจะทาํ ขอใหลงมือ ทําดวยความต้งั ใจ เมอ่ื ผดิ พลาดกค็ วรปลอยวางกับส่งิ ท่ีผา นไป เกง นายนครินทร โลหิตศริ ิ ชนั้ ม.5 โรงเรียนเตรยี มอดุ ม เลาวา วิชาฟสกิ ส โดยเฉพาะทฤษฎที ําใหเ ราไดเ ห็น ความสวยงามของธรรมชาตผิ า นสมการอันเรยี บงายทางคณติ ศาสตร ซ่งึ จาํ เปน ตอ งจินตนาการและทาํ ความเขาใจใน ปรากฏการณต างๆ อยา งลกึ ซึง้ จงึ จะวิเคราะหอ อกมาได คณุ ครวู ทิ ยาศาสตรควรสอนเดก็ ๆ ใหเ ขาใจถงึ แกนและ เน้อื หาสาระน้ันๆ โดยอาจมีการทดลองหรอื นําปรากฏการณท ี่เหน็ ไดทวั่ ไป หรือนาต่นื เตนมากระตนุ ความสนใจเด็กจะ ทําใหเ ขา ใจงา ยข้ึน หรือเปลย่ี นความคิดมาชอบวทิ ยาศาสตรก ็ได ตลุ ย นายชยากร พงษศ ิริ ช้นั ม.5 โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ บอกวา สนุกกับการเรยี นรูฟส ิกส โดยเฉพาะ ภาคปฏิบตั ิ เพราะไมนา เบ่ือ ชอบทําการทดลองตา งๆ จะพยายามเตรียมตัวใหพ รอมดวยการฝกฝนทาํ โจทยบ อ ยๆ รวมทง้ั เตรยี มดานจติ ใจดว ย ตุลยม หี ลักของตวั เองวา ต้งั ใจเรยี นในหอ งเรียนใหดีทสี่ ดุ เวลาวา งกพ็ กั ผอ น ดูโทรทศั น เหมือนเดก็ ทว่ั ไป ปริน๊ ซ นายอิสระพงศ เอกสินชล ชั้น ม.6 โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ กลาววา ในการเรียนสง่ิ ที่ไมชอบน้ัน ตอ ใหต้ังใจมากแคไหนก็คงไปไดไมไ กลนกั และคงไมม ีความสขุ มีแตจะเครียดและฝน ตัวเองเกินไป สาํ หรับปริ้นซ วชิ าฟสกิ สค ือวิชาที่เขารักและสนกุ กับการเรียน และตอ งการเรยี นรใู นเนื้อหาทีล่ กึ ซงึ้ ขนึ้ การเขา รวมโครงการโอลมิ ปก วิชาการทําใหม โี อกาสฝก การปฏบิ ัตกิ าร ฝกการใชเครอื่ งมอื ตา งๆ ทาํ ใหคนพบวา การปฏิบตั ิการ ก็นาสนใจไมน อยกวาทฤษฎี ตอนนจี้ ึงสนใจทัง้ สองดานเทา ๆ กนั และพัฒนาไปพรอ มกันดวย ปริน้ ซเ ผยถึงวธิ ตี ัง้ ใจ เรยี น ที่ไมค วรละเลยเดด็ ขาด คอื นอนหลบั พักผอ นใหเ พยี งพอ ตอใหอา นหรอื เรยี นมากแคไ หนสมองก็รบั ไมได หมด พลอยทาํ ใหความคิดไมเ ฉยี บคม ปอ นายสิรภทั ร จงอรามรงุ เรอื ง ชั้น ม.6 โรงเรยี นมหิดลวทิ ยานุสรณ กลาววา เมือ่ ไดเรยี นรูฟส กิ สแ ลวรสู ึกสนกุ ไดค ิดวเิ คราะห ไมต องทองจาํ วชิ าฟสิกสเปด มุมมองโลกทัศนท ําใหมองสิ่งตา งๆ ดว ยมุมมองท่ีเปนวทิ ยาศาสตรม ากขน้ึ เขา ใจกฎธรรมชาตมิ ากข้นึ นาํ มาสรา งเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการใหมๆ ได ปอใหค วามเหน็ ตอ การแขง ขันโอลมิ ปกวชิ าการวา มีสวนชว ยสนบั สนุนและกระตุนกลุม นักเรียนท่ชี ่นื ชอบและ ถนัดทางดา นน้เี ปน อยา งดี เพราะไดพฒั นาศักยภาพในตัว ฝกความเพยี รและอดทน ซึ่งเปนสวนสาํ คญั ที่ชว ยใหเ ด็กรนุ ใหมตอยอดความคิดและความฝนของแตล ะคน ทม่ี า : หนังสอื พมิ พขาวสด ฉบับวนั พุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

คาํ ถาม 1. เดก็ นกั เรียนไทยท่ีไปแขง ฟส ิกสโ อลิมปก คือใครบาง เปนนักเรยี นชัน้ ใด และอยโู รงเรยี นใด (วิธีคดิ แบบ แยกแยะองคประกอบ) 1) นายวีรภัทร พิทยสรรชิต ชั้น ม.6 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา 2) นายนครินทร โลหติ ศริ ิ ช้นั ม.5 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา 3) นายชยากร พงษศ ิริ ช้ัน ม.5 โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ 4) นายอสิ ระพงศ เอกสินชล ชั้น ม.6 โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ 6) นายสริ ภทั ร จงอรา มรงุ เรอื ง ช้ัน ม.6 โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ 2. เด็กไทยทเ่ี ปนตวั แทนแขง ฟสิกสโ อลิมปก น้ันมมี ุมมองหรือมีขอ คิดสําคญั เก่ียวกบั การศึกษาวชิ าฟสกิ ส อยางไร (วธิ ีคิดแบบวภิ ชั ชวาท) 1) นายวีรภัทร พิทยสรรชติ ชน้ั ม.6 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา - ฟสกิ สชวยสรางจินตนาการในการมองส่งิ ตางๆ 2) นายนครนิ ทร โลหติ ศิริ ชน้ั ม.5 โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา - ฟส ิกสจ ะตองจนิ ตนาการและทาํ ความเขา ใจกบั ปรากฏการณต างๆ อยางลกึ ซ้ึงจึงจะวเิ คราะหออกมาได 3) นายชยากร พงษศ ิริ ชั้น ม.5 โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ - มีการเรยี นรฟู ส ิกสภ าคปฏิบตั ิ จะตองมีการทดลอง มกี ารฝกฝนทาํ โจทยบอยๆ 4) นายอิสระพงศ เอกสนิ ชล ชน้ั ม.6 โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ - การเรยี นรฟู ส ิกสน ั้นจะตอ งฝก ปฏบิ ตั ิ ฝก การใชเ ครอ่ื งมอื ตางๆ มีการเรยี นรทู ฤษฎีและปฏบิ ตั คิ วบคกู นั 6) นายสิรภทั ร จงอรามรุงเรอื ง ชั้น ม.6 โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ - การเรยี นฟส ิกสตอ งวเิ คราะห วชิ าฟสิกสเ ปดมมุ มองโลกทศั น ทาํ ใหเ ขาใจกฎธรรมชาติมากขึ้น

ใบงานเสรมิ ที่ 1 การคิดแบบโยนิโสมนสิการ : การคิดแบบแยกแยะ คาํ ชี้แจง ใหน ักเรยี นจบั คูกัน แลว ผลัดกันเลา ประสบการณของนักเรียนท่ีเคยนาํ วธิ คี ดิ แบบแยกแยะ องคประกอบไปประยุกตใช แลว บนั ทกึ ขอ มลู ลงในตาราง ลาํ ดบั ที่ เรอ่ื งทีค่ ดิ /ประเดน็ ท่ีคดิ วธิ คี ดิ ผลท่ไี ดจ ากการคดิ

ใบงานเสริมที่ 1 การคิดแบบโยนิโสมนสิการ : การคิดแบบแยกแยะ คาํ ช้แี จง ใหนกั เรียนจับคูกนั แลว ผลดั กันเลาประสบการณของนกั เรียนที่เคยนําวิธีคิดแบบแยกแยะ องคประกอบไปประยุกตใ ช แลว บันทกึ ขอ มูลลงในตาราง (ตวั อยา่ ง) ลําดบั ท่ี เรื่องทีค่ ดิ /ประเด็นท่ีคดิ วิธีคิด ผลที่ไดจ ากการคิด ตัวอยา ง - ในงานนี้มีการใหความรูทางวิชาการ - ทาํ ใหไ ดคิดวา งาน นทิ รรศการวิชาการของ ของทุกกลมุ สาระการเรยี นรู นิทรรศการวิชาการทาํ ให ไดร ับความรทู ่ีหลากหลาย โรงเรยี น - มกี ารใหน กั เรยี นมสี วนรว มในกิจกรรม เชอ่ื มโยงความรูแ ละ ตา งๆ ประสบการณเดมิ และ ประสบการณใ หม - มีบอรดกจิ กรรมของนกั เรยี น ทกุ ระดับชน้ั - นทิ รรศการวชิ าการของ โรงเรยี นมคี วามสาํ คญั - นักเรยี นรุนพ่ีจะมาเลา ประสบการณ สําหรบั นกั เรียนทกุ คน ใหนองๆ ฟง ดงั น้ันทกุ คนตองไปรว ม กิจกรรม - มกี ารแสดงบนเวทขี องนักเรยี น ทกุ ระดับช้นั ฯลฯ (พจิ ารณาตามคาํ ตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)

ใบงานเสรมิ ที่ 2 การคิดแบบวิภชั ชวาท คาํ ช้ีแจง 1. ใหนักเรียนจับคูกัน และรวมกันตอบคาํ ถาม 2. นักเรียนแตละคูรวมกันเปน 3 คู ตรวจสอบวิธีการคิดรวมกันเปน เอกฉันท คําถาม • ถานักเรียนจะเลือกซอ้ื สินคาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร ซ่ึงมีราคาแพง นักเรียนจะจาํ แนกวธิ กี ารเลอื กซ้ือ สินคาอยางไร ที่จะทาํ ใหผูปกครองยินยอมใหซ้ือ 1. จาํ แนกสภาวะทเ่ี ปนจริงทลี ะดาน ทลี ะประเดน็ 2. จาํ แนกโดยสว นประกอบ 3. จาํ แนกลาํ ดับขณะ 4. จาํ แนกโดยสมั พันธก ับเหตุปจ จัย 5. จาํ แนกโดยเงือ่ นไข 6. จําแนกโดยการตอบปญ หา

ใบงานเสรมิ ที่ 2 การคิดแบบวิภชั ชวาท คําชี้แจง 1. ใหน ักเรยี นจับคูกนั และรวมกันตอบคาํ ถาม 2. นักเรียนแตล ะครู วมกนั เปน 3 คู ตรวจสอบวิธกี ารคดิ รวมกันเปน เอกฉนั ท คําถาม • ถานกั เรียนจะเลือกซือ้ สนิ คา เครอ่ื งคอมพิวเตอร ซึง่ มีราคาแพง นักเรยี นจะจําแนกวิธีการเลอื กซ้ือ สินคาอยา งไร ท่ีจะทําใหผูป กครองยนิ ยอมใหซือ้ 1. จาํ แนกสภาวะท่เี ปน จรงิ ทลี ะดาน ทีละประเดน็ - จาํ แนกสภาวะ ความจาํ เปนของการมีคอมพิวเตอร - คอมพวิ เตอรชว ยสรา งงานการศกึ ษา - คอมพวิ เตอรชวยใหเกิดการเรียนรเู ทคโนโลยขี องโลกท่เี ปลย่ี นแปลง 2. จาํ แนกโดยสวนประกอบ จําแนกสวนประกอบ ดรู ุน (Model) การใชป ระโยชน อะไหล ราคา คุณคา ระยะสัน้ ระยะยาว ความพอใจ 3. จําแนกลําดบั ขณะ จาํ แนกลําดบั ขณะ รนุ ของคอมพวิ เตอร ย่ีหอตา งๆ ทีม่ ีสมรรถนะเหมอื นกัน ตา งกนั ราคาของสนิ คา มือ 2 มอื 1 แตล ะรนุ มจี ดุ เดน จดุ ดอย ทีส่ มั พนั ธก บั กาลเวลาอยางไร 4. จาํ แนกโดยสัมพันธกับเหตุปจ จยั จาํ แนกความสมั พันธเ หตปุ จ จยั (หรือสืบสาวเหตปุ จ จยั ) โดยการสบื สาวหาเหตุทแี่ ทจริงในการตดั สนิ ใจ ซื้อคอมพวิ เตอรในรุนท่ตี อ งการซอ้ื 5. จาํ แนกโดยเง่อื นไข จาํ แนกเง่ือนไข มสี มรรถนะในการใชง านสงู คือ มีโปรแกรมตา งๆ อยางนอย 5 รูปแบบ เชน ถา เรยี นภาษา ควรใชอะไร เรยี นเคมใี ชอยา งไร เรียนวิศวกรรม เรยี นสถาปต ยกรรม เพื่อใหตอบสนองความตองการของเราได 6. จาํ แนกโดยการตอบปญหา วิเคราะหร นุ แยกแยะเหตผุ ลแลว สามารถตอบคาํ ถามผูปกครอง เพือ่ ใหเ ขา ใจถึงประโยชนข องคอมพวิ เตอร รุนทีเ่ ราตองการ

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 23 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 1 ช่ัวโมง หนว ยการเรยี นรทู ี่ 8 พระพุทธศาสนากบั การแกป ญหาและการพัฒนา เรอื่ ง พระพุทธศาสนากับการแกปญ หา 1. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด พระพุทธศาสนามหี ลกั ธรรมคําสอนทม่ี ีความสาํ คัญตอการนําไปใชใ นการแกปญหาและพัฒนาสังคม 2. ตัวช้ีวดั /จดุ ประสงคก ารเรียนรู 2.1 ตวั ช้ีวดั ส 1.1 ม.4-6/22 เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมความรว มมือของทกุ ศาสนาในการแกปญหาและ พฒั นาสังคม 2.2 จุดประสงคการเรียนรู - เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมความรว มมือของศาสนาในการแกป ญ หาและพัฒนาสงั คมไดและ นาํ ไปประยกุ ตใชได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรยี นรูแกนกลาง - สภาพปญ หาในชมุ ชนและสังคม 3.2 สาระการเรยี นรทู อ งถ่ิน (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการรวบรวมขอมลู 2) ทักษะการประยกุ ตใชค วามรู 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินยั 2. ใฝเ รยี นรู 3. มงุ มัน่ ในการทํางาน

6. กิจกรรมการเรยี นรู วธิ ีสอนแบบกระบวนการสรางความตระหนกั (นกั เรยี นสวดมนตบูชาพระรตั นตรัยและทําสมาธกิ อนเรียนทุกช่วั โมง) นักเรยี นทําแบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรยี นรทู ่ี 8 ขัน้ ท่ี 1 สังเกต 1. ครนู ําขาว หรอื ภาพทีแ่ สดงถึงปญ หาสงั คม มาใหนกั เรียนชวยกันวเิ คราะห โดยใหนักเรียนตอบคาํ ถาม ดังน้ี - ปญหา คอื อะไร - สาเหตุของปญหา คืออะไร - ส่งิ ทต่ี อ งการใหหมดปญหา คืออะไร - วิธกี ารแกไ ขปญ หาท่ีเหมาะสมทําอยางไร เพ่อื ใหห มดปญหา 2. ครูอธิบายใหนักเรยี นเขา ใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีสามารถนาํ มาเปน แนวทางในการแกป ญหา คือ 1) พรหมวหิ าร 4 4) อิทธิบาท 4 2) สนั โดษ 3 5) ฆราวาสธรรม 4 3) มิตรแท 6) ธรรมคุมครองโลก 2 3. นกั เรียนแบงกลุม กลมุ ละ 6 คน ตามความสมัครใจ ใหนักเรยี นแตละกลุม รว มกันศึกษาความรูเร่อื ง สภาพปญ หาในชมุ ชนและสงั คมไทย และธรรมะกับการแกปญ หา จากหนังสอื เรียน หนังสือคนควา เพิ่มเติม หองสมดุ หรือแหลง ขอ มูลสารสนเทศ 4. นักเรียนนาํ ความรูท ่ีไดจากการศึกษามาบันทึกลงในแบบบนั ทึกการอาน ขน้ั ที่ 2 วเิ คราะหวจิ ารณ 1. นักเรียนแตล ะกลุมรวมกนั หาขอมูลขา วสารท่ีเปน ปญ หาในสงั คมไทย แลว นํามาวเิ คราะหวจิ ารณตาม หวั ขอในใบงานที่ 8.1 เรื่อง พระพทุ ธศาสนากบั การแกป ญหาและการพัฒนา 2. นกั เรียนแตล ะกลุมนาํ เสนอคําตอบในใบงานท่ี 8.1 และใหก ลุมอืน่ ซึ่งเปนผูฟง แสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ โดยปฏิบัติ ดังนี้ - กลมุ ท่ี 1 นาํ เสนอผลงาน กลุมที่ 2 แสดงความคิดเหน็ - กลมุ ที่ 2 นําเสนอผลงาน กลุมท่ี 3 แสดงความคดิ เห็น - กลมุ ที่ 3 นาํ เสนอผลงาน กลุม ท่ี 4 แสดงความคดิ เหน็ - กลุม ท่ี 4 นําเสนอผลงาน กลมุ ท่ี 5 แสดงความคดิ เหน็ - กลุมท่ี 5 นําเสนอผลงาน กลุมที่ 1 แสดงความคิดเห็น ครูตรวจสอบความถูกตอง 3. นกั เรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ - นักเรยี นเคยพบปญ หาสังคมในเรือ่ งใดบา งและคดิ วาปญหานั้นสามารถแกไขไดโดยนําหลกั ธรรมใดไปปฏบิ ัติ ขน้ั สรปุ นกั เรียนและครูรวมกันสรุปแนวทางการนําหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชในการแกปญ หาสงั คม

7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรยี นรู แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรยี นรู (ประเมินตามสภาพจริง) ที่ 8 ที่ 8 ตรวจใบงานที่ 8.1 ใบงานท่ี 8.1 รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจแบบบนั ทกึ การอาน แบบบนั ทกึ การอาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ ประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน แบบประเมินการนาํ เสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น รายบุคคล เกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเรยี นรู และมงุ มน่ั ในการ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น ทาํ งาน เกณฑ 8. สอื่ /แหลง การเรียนรู 8.1 ส่อื การเรยี นรู 1) หนังสอื เรยี น พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสอื คนควาเพ่ิมเติม (1) วทิ ย วศิ ทเวทย. 2553. อนตั ตาในพทุ ธปรชั ญา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนพิ ธิ วทิ ยา. (2) สชุ พี ปญุ ญานุภาพ. 2540. คุณลักษณะพเิ ศษแหงพระพุทธศาสนา. กรงุ เทพมหานคร : เกษมบรรณากิจ. 3) ตัวอยางขา ว 4) บัตรภาพ 5) ใบงานท่ี 8.1 เรอ่ื ง พระพทุ ธศาสนากับการแกปญหาและการพฒั นา 8.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุด 2) แหลง ขอ มูลสารสนเทศ - http://www.thaidhammajak.com/webboard/detil.php?question...



ตวั อย่างข่าว เกดิ เหตคุ นรา ยใชอ าวุธปน ยิงนกั ศกึ ษาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยามเสยี ชวี ติ ตาํ รวจคาดสาเหตุเกิดจากความ ขัดแยงสว นตวั หรอื ความขัดแยงระหวา งสถาบัน พ.ต.ท. วทิ ยา โมทายนต พนักงานสอบสวน (สบ 3) สน.บางกอกใหญ รบั แจง เหตุนักศกึ ษาถูกยิงเสยี ชีวิตบริเวณ ปากซอยจรญั สนิทวงศ 15 ถนนจรญั สนทิ วงศ แขวงวดั ทาพระ เขตบางกอกใหญ จึงรายงานใหผ บู ังคบั บัญชาทราบ แลว รดุ ไปตรวจสอบท่เี กดิ เหตพุ รอ ม พ.ต.อ. ปย ะพงษ ผลวานชิ ย ผกก.สน.บางกอกใหญ พ.ต.ท. ณพพนธ ธนภัตนนั ท สว.สส.สน.บางกอกใหญ เจา หนา ท่ีฝายสบื สวนสน.บางกอกใหญ และ กก.สส.บก.น.7 เจาหนาทก่ี องพสิ จู นหลักฐาน แพทยนิตเิ วชจากโรงพยาบาลศริ ริ าช และเจาหนาทม่ี ูลนิธปิ อเต็กตงึ๊ ทีเ่ กิดเหตอุ ยบู รเิ วณรมิ ทางเทาหนา ตเู อทเี อม็ ของธนาคารกรุงไทย เจา หนา ทพ่ี บศพนายคุณากร เลศิ ลอย อายุ 22 ป นักศึกษาชน้ั ปท ี่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม สาขาวิชาเทคโนโลยไี ฟฟาและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส สภาพศพนอนหงาย จมกองเลอื ด สวมเสอื้ เช้ิตแขนยาวสขี าว นงุ กางเกงยนี สสีดาํ ใสร องเทา หนงั สีน้ําตาล ตรวจสอบตามรางกายพบ บาดแผลถกู ยิงดว ยอาวธุ ปนลูกซองไมท ราบขนาดเขาตามรางกายท้งั หมด 10 รู ประกอบดวย ใตตาขวา 1 รู ลาํ คอ ดานหนา 2 รู หนา ทองขวา 1 รู ทอนแขนขวาสว นลา ง 2 รู ลาํ ตัวดา นขวา 1 รู รักแรข วา 2 รู และทอ งแขนขวาอกี 1 รู หา งจากศพไปเล็กนอยพบรถจยย.ยหี่ อยามาฮา ฟโน สีดํา หมายเลขทะเบยี น ลธง-395 กทม. จอดอยู และหมวก กนั นอ็ คสีดําของผูต ายตกอยู 1 ใบ จากการสอบสวนนายนนทชัย ไมโ รยรส อายุ 19 ป เพ่อื นนักศึกษารวมชน้ั ปเ ดยี วกับผตู าย ใหการวา หลังเลกิ เรยี นเมอื่ ชว งเย็นทผ่ี า นมา ตนกบั ผูตายขรี่ ถจยย.คนั ดังกลาวไปหาเพือ่ นรนุ พที่ ีว่ ัดเจามลู จนกระท่งั กอ นเกิดเหตกุ ไ็ ดข ่ี รถจยย.ออกมาเพ่อื นกลับบา น แตผ ตู ายเกิดหวิ ขาว เลยขรี่ ถมาจอดที่บรเิ วณปากซอยทเ่ี กิดเหตุ และกาํ ลังจะเขน็ รถ จยย.ข้นึ ไปจอดบนทางเทาเพ่ือเดนิ ไปกดเงนิ ท่ีตูเอทีเอม็ ดังกลา ว นายนนทชัย ใหการตอ วา ระหวางนนั้ ก็มีคนรา ยเปน ชาย 2 คน ข่ีรถจยย.มาจอดอยบู รเิ วณปากซอยท่ีเกิอเหตุ ซ่ึง ตนจาํ ยหี่ อ สี และหมายเลขทะเบยี นไมไ ดเพราะบรเิ วณนั้นมืดมาก จาํ ไดแคว า คนขบั ใสเ สอื้ แจ็กเก็ตสดี ํา สวมหมวก กนั น็อค สวนคนซอ นทายสวมเส้ือสีขาวเทา นนั้ จากน้นั คนรา ยกห็ ันมาตะโกนถามพวกตนวา \"เฮย พวกมงึ เรียนทีไ่ หน วะ\" กอนท่ีคนซอ นทา ยจะชักอาวธุ ปนลูกซองส้ันไทยประดิษฐข นึ้ มายงิ ใสพ วกตน 1 นดั กระสุนถูกผตู ายจนลม ลงไปจน เสยี ชวี ิต แลว รีบเรงเคร่ืองหลบหนไี ป ตนจงึ รีบแจง ตาํ รวจทันที ดาน พ.ต.ท.ณพพนธ กลาววา จากการสอบสวนเบือ้ งตนยังไมท ราบสาเหตทุ ่แี นชดั วา ผูตายถูกยิงเพราะเร่ือง อะไร อยรู ะหวางสืบสวนอยา งละเอียดเพอื่ หาสาเหตทุ ่ีแทจ รงิ ขณะนีย้ งั ไมต ดั ประเดน็ ไหนทิ้งไป สว นเรื่องกลองวงจร ปดทีบ่ รเิ วณแยกจรญั 13 ซ่ึงอยใู กลก บั จดุ เกดิ เหตุนน้ั ไมมที ัง้ ท่เี คยทาํ เรือ่ งขอไปแลวทกุ ป จึงใหเจา หนา ท่ฝี า ยสืบสวน ลงพืน้ ทหี่ ากกลอ งวงปด ในละแวกใกลเ คยี งวา สามารถจบั ภาพรถจยย.ตอ งสงสัยของคนรายเอาไวไ ดบ า งหรอื ไม เพื่อใช เปน แนวทางในการตดิ ตามจับกุมคนรา ยตอไป ที่มา : http://www.zabzaa.com/news/crime/view.php?id=435&นศ.เทคโนสยาย%20ถกู ยิงดับคาต%ู 20ATM# สบื คนเมื่อวันท่ี 20 กันยายน 2553

ป.ช.ป. บินไปสหรัฐ คดั คาํ พิพากษาคดีติดสนิ บนอดตี “ผูวา ททท.-ลูกสาว” ถาผิดจริงตอ งโทษจาํ คุก คนละ 20 ป 21 มกราคม สาํ นกั ขา วเอพีรายงานความคบื หนา คดีท่ีนายเจอรัลด และ นางแพทรเิ ซยี กรีน สองสามภี รรยาชาว อเมรกิ ัน ตกเปนจาํ เลยของสํานกั งานอยั การแหง นครลอสแองเจลิส ในคดที ี่อยั การกลา วหาวาทงั้ คูสมคบกันจา ยเงิน เปนการตดิ สนิ บนใหกับนางจุฑามาศ ศิรวิ รรณ อดีตผวู าการการทอ งเทยี่ วแหงประเทศไทย แลกเปล่ียนกบั การไดส ทิ ธิ เปน ผจู ดั เทศกาลภาพยนตรน านาชาติกรงุ เทพฯระหวา งป 2545-2550 ซ่งึ คณะลกู ขุนชีข้ าดเม่ือเดือน กันยายน 2552 ทผ่ี านมาวาท้ังสองกระทาํ ความผดิ จริงตามฟอ งวา ในเวลา 08.00 น. ตามเวลาทองถนิ่ หรอื ราว 23.00 น. ตามเวลาไทยในวนั เดียวกนั นศ้ี าลมกี าํ หนดจะเริ่มกระบวนการรบั ฟง ขอเท็จจริงเพ่ือกําหนดบทลงโทษใน ความผิดดงั กลาว ซ่ึงทางอัยการระบุวา นายเจอรลั ด กรีน วยั 78 ป อาจตอ งโทษจาํ คุกจากการกระทาํ ผดิ ในขอหา สมคบกนั กระทําความผดิ และฟอกเงินนานกวา 30 ป ในขณะที่นางแพทรเิ ซีย วยั 55 ป อาจถูกลงโทษจําคกุ ระหวา ง 19-24 ป เอพรี ะบดุ ว ยวา ทางสาํ นกั งานอัยการลอสแองเจลสิ ไดเ ผยแพรคาํ ฟอ งรองที่เกีย่ วเนอ่ื งกับคดีดงั กลาวออกมาอีก คดเี ม่อื วนั ท่ี 19 มกราคมทผ่ี านมา โดยคําฟองดงั กลาวเปนการฟอ งรอ ง นางจฑุ ามาศ ศิรวิ รรณ และนางสาวจติ ตโิ สภา ศิรวิ รรณ บตุ รสาวในขอหาสมคบคดิ กันเพ่อื ฟอกเงินและขอหาอ่ืนๆ อกี 8 ขอหา ซ่ึงถา หากถูกตัดสินวา มีความผิดจริง ท้งั คอู าจถูกพิพากษาจาํ คุกนานถงึ คนละ 20 ป ในคาํ บรรยายฟอ งดังกลาวระบุวา นางจุฑามาศ เปนผูรบั เงนิ จากนายและนางกรนี เปน เงนิ สนิ บนรวมแลว ราว 1.8 ลานดอลลาร (ราว 61.2 ลานบาท ท่ีอตั ราแลกเปลี่ยน 34 บาทตอ ดอลลาร) เหตเุ กิดระหวา งป 2545- 2550 ทง้ั น้ีเพอ่ื แลกเปลยี่ นกบั การใหสิทธแิ กนายและนางกรนี เปนผูจดั และบรหิ ารงานเทศกาลภาพยนตรน านาชาติ กรุงเทพฯ ในประเทศไทย และไดส ัญญาอื่นทเี่ กี่ยวเนือ่ งกบั ททท. แกค นทัง้ สอง โดยใชว ธิ กี ารตกลงกนั ใหน ายและนาง กรนี เพมิ่ วงเงินงบประมาณในการจดั การเทศกาลภาพยนตรด ังกลาวใหสงู ขึน้ จากท่ีนาจะเปน คือ 13.5 ลานดอลลาร (ราว 459 ลานบาท) อยั การอเมรกิ ันระบไุ วในคําฟอ งดว ยวา นายและนางกรีนใชวิธกี ารจา ยเงนิ ใหก บั นางจุฑามาศหลายวิธี โดย บางสว นเปน การจา ยเปนเงินสด ในขณะทอี่ กี บางสว นเปน การโอนเงนิ เขาบญั ชีธนาคารให โดยระบุวาเปน คา คอมมชิ ช่นั ทค่ี ิดจากเงนิ งวดท่ีไดร บั ครง้ั ละ 10-12 เปอรเ ซ็นต คําฟอ งยังระบดุ ว ยวา นางจุฑามาศและนางสาว จิตติ โสภา ไดเปดบัญชสี วนตัวเพือ่ รับเงนิ สนิ บนดังกลา วไวทัง้ ที่ สงิ คโปร และ ในสหรฐั อเมริกา ท่ีมา : http://www.tdw.polsci.chula.ac.th/?.../ขาวเกีย่ วกับการทจุ รติ คอรปั ช่ัน สืบคน เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2553

บตั รภาพ  ภาพยาเสพติด ภาพข่าวปลน้ ทรพั ย์ ภาพกล่มุ วยั รนุ่ กวนเมอื ง ภาพคนแย่งกนั ขนึ้ รถเมล์ ท่ีมา : ภาพท่ี 1 http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144855 1 2 ภาพท่ี 2 http://www.tnews.co.th/html/news/21405/allHot_reds.php?group_id=4 3 4 ภาพท่ี 3 http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROd01ERXhPREUyTURFMU5RPT0= ภาพท่ี 4 http://www.learners.in.th/blogs/posts/391967

ใบงานท่ี 8.1 พระพทุ ธศาสนากับการแกปญ หาและการพัฒนา ตอนที่ 1 คําชแ้ี จง ใหน ักเรียนหาขาวทเี่ ปนปญ หาสังคมไทยในปจจบุ ัน มาวิเคราะหต ามประเด็นท่ีกาํ หนด ชือ่ ขา ว (สาระสําคญั ของขาว) ที่มา : 1. ช่อื ขา ว 2. ปญ หาสําคญั ของขาว คืออะไร 3. สาเหตุท่ีทําใหเ กิดปญ หานัน้ ไดแกอะไรบา ง 4. ควรนาํ หลักธรรมใดมาเปน แนวทางการแกปญหา อธิบายพรอมยกตัวอยา งประกอบ 5. ผลที่คาดวา จะไดรบั คืออะไร อธบิ ายพรอมยกตวั อยางประกอบ

ตอนที่ 2 คําชแี้ จง ใหน กั เรยี นแสดงความคดิ เห็นวา การเรยี นพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย มปี ระโยชนอ ยางไร

ตอนท่ี 2 (ตวั อย่าง) คําชี้แจง ใหนกั เรียนแสดงความคดิ เห็นวา การเรยี นพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย มปี ระโยชนอยา งไร 1) ทาํ ใหเ ยาวชนไดเรยี นรแู ละศึกษาพระพุทธศาสนานอกเวลาเรียน จะชวยใหเขาใจหลักธรรมคําสอนของ พระพทุ ธศาสนามากขึน้ 2) เยาวชนสามารถนําหลักธรรมไปประยุกตใ ชในการดาํ เนนิ ชวี ติ 3) ทําใหเยาวชนรจู ักใชว ธิ ีคดิ ตามแนวพระพุทธศาสนาไปใชใ นการแกปญหาคนและสังคม 4) เยาวชนรูจักรบั ผิดชอบตนเองและสังคม 5) เยาวชนเปนพลเมอื งดขี องชาติและพระพทุ ธศาสนา 6) เยาวชนเหน็ คณุ คา ของพระพทุ ธศาสนาทีส่ ง เสรมิ ความกาวหนา ของสังคม (พิจารณาตามคาํ ตอบของนักเรียน โดยใหอ ยใู นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน)

ช่ือหนงั สือ ชือ่ ผแู ตง แบบบนั ทึกการอ่าน สาํ นักพมิ พ สถานทพ่ี มิ พ จาํ นวนหนา ราคา บาท อานวนั ที่ เดือน นามปากกา ปทพ่ี ิมพ พ.ศ. เวลา 1. สาระสาํ คญั ของเรื่อง 2. วเิ คราะหขอคดิ /ประโยชนทีไ่ ดจากเรอ่ื งท่ีอาน 3. ส่งิ ที่สามารถนาํ ไปประยุกตใชในชวี ติ ประจําวนั 4. ขอ เสนอแนะของครู ลงชื่อ นักเรยี น ลงช่ือ ) ผปู กครอง )( ลงชื่อ ( (นางสาวสดุ าพร อดุ มสขุ ) ครูผสู อน เกณฑการใหค ะแนน ให 4 คะแนน ผลงานมขี อบกพรองเปนสว นใหญ ให 2 ผลงานมคี วามสมบรู ณช ัดเจน ให 3 คะแนน ผลงานมขี อบกพรอ งมาก ให 1 คะแนน ผลงานมขี อบกพรอ งเพียงเลก็ นอ ย คะแนน

แบบประเมิน การนาํ เสนอผลงาน คําช้ีแจง : ให ผูสอน ประเมินการนําเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการทีก่ ําหนด แลวขดี  ลงในชอง ท่ตี รงกับระดับคะแนน ลาํ ดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 ความถูกตองของเนือ้ หา 2 ความคิดสรา งสรรค 3 วิธีการนําเสนอผลงาน 4 การนาํ ไปใชประโยชน 5 การตรงตอเวลา รวม ลงช่อื .................................................... ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าพร อุดมสุข) เกณฑก ารใหค ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณช ดั เจน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อ บกพรอ งบางสวน ให 4 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ผลงานหรือพฤติกรรมมขี อบกพรอ งเปน สวนใหญ ให 3 คะแนน 14 - 17 ดี ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี อบกพรอ งมาก ให 2 คะแนน 10 - 13 พอใช้ ให 1 คะแนน ต่าํ กว่า 10 ปรบั ปรุง



แผนการจัดการเรียนรูท ี่ 24 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 กลุม สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 ชั่วโมง หนวยการเรยี นรูท ี่ 8 พระพุทธศาสนากับการแกป ญหาและการพฒั นา เร่ือง การปกปองคุมครองพระพทุ ธศาสนา 1. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด พทุ ธศาสนกิ ชนควรมีสว นรว มในการธํารงรกั ษา ปกปอง คมุ ครองพระพุทธศาสนา 2. ตัวชวี้ ัด/จุดประสงคก ารเรียนรู 2.1 ตวั ชี้วัด ส 1.2 ม.4-6/5 สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาทตี่ นนบั ถอื อันสงผลถงึ การพัฒนาตน พัฒนาชาติ และโลก 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู 1) อธิบายการปกปอง คุมครอง ธาํ รงรกั ษาพระพทุ ธศาสนาของชาวพุทธในสงั คมได 2) อธิบายแนวทางการปลูกจิตสํานึก และการมสี ว นรว มในสงั คมพุทธได 3. สาระการเรยี นรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง 1) การปกปอง คุม ครอง ธํารงรักษาพระพุทธศาสนาของพุทธบริษัทในสังคมไทย 2) การปลูกจติ สาํ นกึ และการมีสวนรวมในสังคมพุทธ 3.2 สาระการเรียนรูท องถิน่ (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน 44.1ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการประยกุ ตใชความรู 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มวี ินยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ มัน่ ในการทํางาน

6. กิจกรรมการเรียนรู วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู (Inquiry Method : 5E) (นกั เรียนสวดมนตบชู าพระรัตนตรยั และทําสมาธกิ อนเรยี นทุกชัว่ โมง) ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ 1. ครใู หน ักเรยี นชวยกนั เลา ประสบการณเก่ยี วกับการเขารวมกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาท่ีแสดงถงึ ความ รว มมอื กันพฒั นาสงั คม ซง่ึ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย เชน - เขา คายพุทธบตุ ร - เขารวมพธิ ีกรรม เชน ทําบุญตักบาตร เวยี นเทยี น พธิ ีปวารณา พธิ ีถวายกฐนิ พธิ ีบรรพชาอปุ สมบท พิธีเขา พรรษา 2. นกั เรยี นชว ยกนั วิเคราะหประโยชนของการเขารวมกจิ กรรมในขอ 1 เชน - สรางความสามัคคีระหวางกนั - รว มมอื กนั แกไขปญ หา - สบื สานประเพณี วัฒนธรรม - มีการแลกเปลยี่ นขอ มูลขา วสาร - มคี วามคิดเห็นเปน มิตรทด่ี ีตอ กนั 3. ครูอธิบายถึงแนวทางการจดั กิจกรรมเพื่อแกป ญหาและพฒั นาสังคม มีหลายประการ เชน 1) การเขา คายพระพุทธบตุ ร 2) การเขารว มพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา 3) การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย ขั้นท่ี 2 สาํ รวจคนหา 1. นักเรยี นแตล ะกลมุ (กลมุ เดมิ จากแผนการจัดการเรียนรทู ี่ 1) รว มกนั ศึกษาความรูเรือ่ ง แนวทางการจัด กิจกรรมเพอ่ื แกป ญหาและพัฒนาสงั คม การสมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการธาํ รงรักษา พระพุทธศาสนา การปกปองคุม ครองพระพทุ ธศาสนาของพุทธบริษัทในสงั คมไทย และการปลูกจิตสํานกึ และการมีสว นรวมในสงั คมพุทธ จากหนงั สือเรยี น หรือหนังสอื คนควา เพิ่มเติม ใบความรู หอ งสมดุ หรอื แหลงขอมลู สารสนเทศ 2. นักเรยี นนาํ ความรทู ่ีไดจ ากการศึกษามาบันทึกลงในแบบบันทกึ การอาน 3. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตนุ ความคิด - กิจกรรมใดของสถานศึกษาทม่ี ีสว นสาํ คญั ในการแกป ญหาและพัฒนาสังคม จงยกตวั อยาง ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู 1. สมาชิกแตละกลุมผลดั กนั อธบิ ายขอมูลความรูที่ไดศึกษาเกี่ยวกบั แนวทางการจัดกจิ กรรมเพ่ือแกปญ หาและ พฒั นาสังคม 2. สมาชิกในแตล ะกลุม รว มกันทําใบงานที่ 8.2 เร่ือง แนวทาง การจดั กจิ กรรมเพ่ือแกป ญหาและพัฒนา สังคม จากน้นั รว มกนั เฉลยคําตอบในใบงาน และสรุปการมีสวนรวมในการจดั กิจกรรมเพ่ือแกปญหาและ พัฒนาสังคม

ชั่วโมงที่ 2 ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขาใจ  ครูมอบหมายใหน กั เรียนแตล ะกลมุ รวมกันอภิปราย เรอื่ ง แนวทางการธาํ รงรักษาและปกปอ งคมุ ครอง พระพุทธศาสนา โดยใหครอบคลุมประเดน็ ตามท่ีกําหนด ดงั นี้ 1) การอภปิ รายแนวทางการธาํ รงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา 2) การอภปิ รายแนวทางการปกปอ งคุมครองพระพุทธศาสนาของพทุ ธบริษัทในสังคมไทย 3) การอภิปรายแนวทางการปลูกจิตสํานึกและการมีสว นรว มในสังคมพุทธ 4) การดําเนนิ การอภิปรายตามขั้นตอนและเราความสนใจ 1. ครูใหนักเรียนแตล ะกลุม รวมกันวางแผนอภปิ รายหนาช้นั เรยี นในเรือ่ ง แนวทางการธํารงรกั ษาและ ปกปอ งคุม ครองพระพทุ ธศาสนา โดยใหค รอบคลุมประเดน็ ตอ ไปนี้ 1) แนวทางการธาํ รงรักษาพระพุทธศาสนา 2) แนวทางการปกปอ งคุมครองพระพทุ ธศาสนาของพุทธบริษัทในสงั คมไทย 3) แนวทางการปลูกจิตสํานกึ และการมีสว นรว มในสังคมพุทธ 4) การดาํ เนินการอภปิ รายตามข้ันตอนและเราความสนใจ นักเรยี นแตละกลมุ ซักซอ มการดาํ เนนิ การอภปิ รายใหไ ดตามประเด็นและเวลาทก่ี ําหนด 2. ครสู นทนากบั นักเรียนถงึ ความพรอ มของการเตรยี มการ อภิปรายตามหวั ขอทกี่ ําหนด และการแบงหนา ที่ความรบั ผิดชอบของสมาชิกภายในกลมุ 3. ครูและนักเรยี นรวมกนั สรปุ ประเดน็ สาํ คัญเกี่ยวกับแนวทาง การธาํ รงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา แนว ทางการปกปอ งคมุ ครองพระพทุ ธศาสนาของพทุ ธบรษิ ัทในสงั คมไทย แนวทางการปลูกจิตสํานึกและการ มสี ว นรวมในสงั คมพุทธ ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. ครตู รวจสอบผลนักเรียนจากการทาํ ใบงานที่ 8.2 และจากการ สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ 2. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตนุ ความคิด - กจิ กรรมใดของสถานศกึ ษาทม่ี ีสวนสําคญั ในการแกป ญหาและพฒั นาสังคม จงยกตัวอยา ง 3. นักเรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรียน หนวยการเรียนรูท ่ี 8

7. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงานท่ี 8.2 ใบงานท่ี 8.2 รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจแบบบนั ทึกการอาน แบบบนั ทึกการอาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ ประเมนิ การนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเรียนรู และมงุ ม่ันในการ แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น ทํางาน เกณฑ ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยการเรียนรู แบบทดสอบหลงั เรียน หนว ยการเรียนรู รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ท่ี 8 ท่ี 8 สงั เกตการอภิปราย เรือ่ ง แนวทางการธาํ รง แบบประเมินการอภิปราย เร่ือง แนวทาง ระดับคุณภาพ 2 ผา น รกั ษาและปกปองคุมครองพระพุทธศาสนา การธาํ รงรกั ษาและปกปองคมุ ครอง เกณฑ พระพุทธศาสนา 8. สอ่ื /แหลง การเรียนรู 8.1 สื่อการเรยี นรู 1) หนังสอื เรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.5 2) หนังสือคน ควาเพ่มิ เติม (1) วิทย วศิ ทเวทย. 2553. อนตั ตาในพทุ ธปรัชญา. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพน ิพธิ วทิ ยา. (2) สุชพี ปญุ ญานุภาพ. 2540. คุณลักษณะพิเศษแหง พระพทุ ธศาสนา. กรงุ เทพมหานคร : เกษมบรรณากิจ. 3) ใบความรู เรอ่ื ง ความรูท่วั ไปเกีย่ วกับการสัมมนาพระพทุ ธศาสนา 4) ใบงานท่ี 8.2 เรื่อง แนวทางการจัดกจิ กรรมเพอ่ื แกป ญหาและพัฒนาสงั คม 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) หอ งจรยิ ธรรม หรือหองพุทธศาสน 3) แหลงขอ มลู สารสนเทศ - http://www.phrabuddhassasana.com/ans/index.php?...id...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook