Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Published by wichakarn.rpk21, 2021-05-15 08:16:12

Description: สุดาพร (แผนการจัดการเรียนรู้)

Search

Read the Text Version

ชั่วโมงที่ 2 6. ครสู นทนาซักถามความพรอมของนักเรยี นแตละกลุมกอนดําเนินการแขงขัน ครูอธบิ ายวธิ กี ารแขงขนั ใหน ักเรียนเขาใจ พรอมท้ังกําชบั ใหท ุกคนปฏบิ ัตติ ามกติกาการแขงขนั 7. ครแู จกซองคาํ ถามใหทุกโตะ (คําถามคัดเลอื กมาจากใบงานที่ 2.2) ซ่งึ มคี าํ ถามเทา กบั จํานวนนกั เรยี น ครชู แี้ จงให นกั เรยี นทราบวา ทุกคนผลัดกันเปน ผูอานคําถาม ขอใหอา นชา ๆ ชัดๆ ผูอา นคาํ ถามมีหนา ทอี่ า นคําเฉลยและใหค ะแนนผทู ่ี ตอบถูกตามลําดับ ดังน้ันครตู องใสใบเฉลยในซองควบคูไปกับคาํ ถาม 8. เร่มิ การแขง ขัน 1) นกั เรียนคนท่ี 1 หยบิ ซองคาํ ถาม 1 ซอง เปด ซองอานคาํ ถาม แลววางลงกลางโตะ 2) นักเรยี นอีก 3 คน แขง ขนั กันตอบคาํ ถาม โดยเขียนคําตอบลงในกระดาษคาํ ตอบของตนสง ใหนักเรยี นคนท่ี 1 3) คนทีอ่ า นคาํ ถามทาํ หนาทีใ่ หคะแนน ถาตอบคําถามถูก ให 2 คะแนน 4) สมาชิกในทีมแขง ขัน ผลดั กนั ทาํ หนาทอ่ี านคําถามจนหมด โดยใหทกุ คนไดต อบคําถามจาํ นวนเทา กนั 5) ใหทุกคนรวมคะแนนของตนเอง โดยมสี มาชกิ ทุกคนในกลุมรบั รองรว มกันวา ถูกตอง อาจจะใหเซน็ ชอ่ื รบั รอง ดว ยกไ็ ด 9. ครปู ระกาศชมเชยกลมุ ที่ไดคะแนนสูงสดุ ตามลําดบั ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนรวมกนั สรปุ คุณธรรมสาํ คญั ของพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอนุรุทธเถระ พระองคลุ มิ าลเถระ พระธัมมทิน นาเถรี จิตตคหบด)ี และแนวทางนาํ ไปประยุกตป ฏิบตั ิ 7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ ตรวจใบงานท่ี 2.2 ใบงานท่ี 2.2 รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ประเมินการนาํ เสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น รายบุคคล เกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝเ รยี นรู และมุงม่นั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผา น ทํางาน เกณฑ 8. สือ่ /แหลงการเรียนรู 8.1 สอื่ การเรียนรู 1) หนงั สอื เรียน พระพทุ ธศาสนา ม.5 2) ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง ประวัตพิ ุทธสาวก พทุ ธสาวิกา 8.2 แหลง การเรียนรู 1) หองสมุด 2) แหลงขอมูลสารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/wiki/พระอนรุ ุทธะเถระ - http://th.wikipedia.org/wiki/พระองคุลมิ าล

ใบงานท่ี 2.2 ประวัตพิ ุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า คําชแี้ จง ใหน กั เรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. เพราะเหตุใด เจา ชายอนุรุทธะจงึ ตัดสินใจบวช 2. เพราะเหตุใด พระอนุรุทธะสามารถปฏบิ ตั มิ หาปริสวิตกขอ ที่ 8 ได 3. เพราะเหตุใด พระอนุรุทธะจงึ มีความเชยี่ วชาญเร่อื ง ทิพพจักขุ 4. พระอนุรุทธะมีสว นสําคญั ในการทาํ ปฐมสงั คายนาอยา งไร 5. คณุ ธรรมท่คี วรถือเปน แบบอยางของพระอนรุ ุทธะ คืออะไร 6. เพราะเหตุใด องคลุ ิมาลจงึ เปนทร่ี ักของอาจารยท ศิ าปาโมกข 7. เพราะเหตุใด องคลุ มิ าลจงึ ฆาคนแลว เอานิ้วมือมารอยเปนพวงแขวนคอไว 8. พระพทุ ธองคต รสั ตอบองคุลิมาลวา “เราหยุดแลว แตเ ธอยงั ไมหยุด” หมายความวา อยางไร 9. เพราะเหตุใด ประชาชนจงึ ไมใสบ าตรและทํารายพระองคลุ มิ าลในระยะแรกของการบวช 10. พระองคุลิมาลไดรับการสรรเสรญิ วา ตนคดปลายตรง หมายความวาอยา งไร 11. คุณธรรมอันเปนแบบอยางของพระองคลุ มิ าล ไดแกอะไรบา ง 12. พระธมั มทนิ นาเถรีมวี ิธกี ารปฏบิ ัติอยางไร จงึ สามารถบรรลุเปน พระอรหันต

13. พระภิกษณุ ธี มั มทนิ นาเถรีไดรับการยกยองจากพระพุทธองควาเปน เอตทัคคะในดา นใด ยกตวั อยา ง ประกอบ 14. พระภกิ ษณุ ธี มั มทินนาเถรีมคี ุณธรรมอันเปนแบบอยา ง อยางไรบาง 15. จิตตคหบดีมีการกระทาํ อยางไรที่แสดงวา เปน ผูม ใี จบญุ 16. เพราะเหตุใด จิตตคหบดีจึงไดรบั การยกยองเปนเอตทัคคะเปนเลศิ กวา ผูอ่นื ในทางธรรมกถกึ 17. คณุ ธรรมที่ควรถือเปน แบบอยางของจิตตคหบดี คอื อะไร

เฉลย ใบงานท่ี 2.2 ประวัติพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า คําช้แี จง ใหน กั เรียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. เพราะเหตุใด เจาชายอนุรุทธะจึงตัดสนิ ใจบวช เพราะไดข อคิดจากพระเชษฐา จงึ นาํ มาเปรยี บเทียบระหวางชีวิตการครองเรือนซึ่งมกี จิ ที่ตองทาํ มากกวา การบวช 2. เพราะเหตุใด พระอนรุ ุทธะสามารถปฏบิ ตั ิมหาปรสิ วิตกขอ ท่ี 8 ได ไดร ับคําแนะนําจากพระพทุ ธองคจงึ เขาใจ 3. เพราะเหตุใด พระอนรุ ุทธะจึงมคี วามเช่ยี วชาญเรอื่ ง ทิพพจักขุ เพราะทา นชอบเจริญอาโลกกสณิ เพงแสงสวา งเปน ประจํา 4. พระอนุรุทธะมีสว นสําคญั ในการทําปฐมสงั คายนาอยา งไร ไดเ ขา รว มเปน พระสงั คีติกาจารยองคหนึง่ 5. คุณธรรมท่คี วรถือเปน แบบอยางของพระอนุรุทธะ คืออะไร 1) มคี วามพากเพยี ร 2) เปน ผสู ํารวมระวังยิง่ 3) เปน หลกั แหง พระธรรมวนิ ัย 6. เพราะเหตุใด องคุลิมาลจงึ เปนท่รี ักของอาจารยท ิศาปาโมกข เพราะเปน ผูทต่ี ้ังใจเรียน วานอนสอนงาย ประพฤตดิ เี รียนเกง 7. เพราะเหตุใด องคุลิมาลจึงฆา คนแลวเอานิว้ มือมารอยเปนพวงแขวนคอไว เพราะเชื่อฟง อาจารยทีไ่ มหวังดี เนือ่ งจากอาจารยถกู ยยุ งจากศษิ ยอื่นที่อิจฉาองคลุ ิมาล 8. พระพทุ ธองคตรัสตอบองคุลิมาลวา “เราหยุดแลว แตเ ธอยังไมหยุด” หมายความวา อยางไร พระพทุ ธเจา หยดุ ทาํ บาป แตองคุลมิ าลยังไมหยดุ 9. เพราะเหตุใด ประชาชนจงึ ไมใสบ าตรและทํารา ยพระองคลุ ิมาลในระยะแรกของการบวช เพราะประชาชนเกลียดและไมช อบพฤตกิ รรมอันโหดรายของพระองคลุ ิมาล เมื่อคร้ังยงั ไมบ วช และฆาคน เปน จํานวนมากเพ่ือเอานว้ิ 10.พระองคลุ ิมาลไดรับการสรรเสริญวา ตน คดปลายตรง หมายความวาอยา งไร ประพฤตติ นพลาดพล้ังไปในระยะตน แตต อมากลับตัวเปน พระสาวกทีด่ ี 11. คุณธรรมอันเปน แบบอยางของพระองคุลมิ าล ไดแ กอะไรบา ง 1) มีขันติธรรมอยา งยิง่ 2) มีสัมมาคารวะอยา งยิ่ง 3) เปน บุคคลประเภทตนคดปลายตรง 4) เปนผมู ีเมตตากรุณามาก 12. พระธมั มทินนาเถรีมีวธิ ีการปฏบิ ตั อิ ยา งไร จึงสามารถบรรลุเปน พระอรหันต พระภกิ ษณุ ธี มั มทนิ นาไดติดตามพวกภิกษณุ ีไปยังชนบทตา งๆ บาํ เพญ็ เพยี รทางจติ จนบรรลุเปน พระอรหนั ต

13. พระภกิ ษณุ ธี ัมมทินนาเถรีไดร ับการยกยองจากพระพุทธองควา เปนเอตทัคคะในดานใด ยกตัวอยาง ประกอบ ดา นแสดงธรรม (เปน พระธรรมกถึก) ตวั อยา งเชน การตอบปญหาธรรมของวิสาขะเศรษฐีไดอ ยา งถกู ตอ ง ชดั เจนทกุ เร่ืองทุกประเดน็ 14. พระภิกษณุ ีธัมมทินนาเถรีมีคุณธรรมอันเปนแบบอยา ง อยางไรบาง 1) มปี ญ ญาและใชปญญาแกปญ หาชีวติ 2) ใฝความรูแ ละความกาวหนา ในความดี 15. จติ ตคหบดมี ีการกระทาํ อยา งไรที่แสดงวา เปนผูมีใจบญุ 1) นมิ นตทานมหานามะไปฉันภัตตาหารท่ีคฤหาสนเปนประจาํ และสรา งท่พี าํ นักช่อื อัมพาฏการาม ใหทาน อยูเปนประจาํ 2) ถวายทานอยา งประณตี มโหฬารติดตอกนั จํานวนมาก 16. เพราะเหตุใด จิตตคหบดีจึงไดรับการยกยองเปน เอตทัคคะเปน เลศิ กวาผอู นื่ ในทางธรรมกถึก เพราะทานมีปฏภิ าณเฉยี บแหลมและมีความสามารถในการแสดงธรรมมาก 17. คณุ ธรรมที่ควรถือเปน แบบอยางของจติ ตคหบดี คอื อะไร 1) เปน คนใจบญุ สนุ ทาน 2) เคารพพระสงฆมาก 3) เปน คนเกงและคนดี

แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 6 ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 5 กลมุ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา 2 ชว่ั โมง หนว ยการเรียนรูที่ 2 พทุ ธประวัติ พระสาวก ศาสนกิ ชนตัวอยา ง และชาดก เร่ือง ศาสนกิ ชนตัวอยาง 1. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด การศึกษาศาสนิกชนตัวอยาง ยอ มทําใหไ ดขอ คดิ เพ่อื นําไปเปนแบบอยางการดาํ เนินชีวิต 2. ตวั ชว้ี ดั /จุดประสงคก ารเรียนรู 2.1 ตัวชว้ี ัด ส 1.1 ม.4-6/14 วเิ คราะหขอคิดและแบบอยา งการดาํ เนนิ ชีวิตจากประวตั สิ าวก ชาดก เรื่องเลา และศา สนิกชนตวั อยา งตามที่กําหนด 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู 1) วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการดาํ เนินชีวติ จากพระราชประวัตสิ มเดจ็ พระนารายณมหาราช ประวัติ พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) พระพรหมมงั คลาจารย (ปญญานันทภิกข)ุ ดร.เอ็มเบคการ ได 2) เสนอแนวทางการนาํ คุณธรรมอันเปนแบบอยางของศาสนกิ ชนตวั อยาง และนําไปประยุกตป ฏบิ ตั ไิ ด 3. สาระการเรียนรู - พระพรหมมงั คลาจารย (ปญ ญานนั ทภิกขุ) 3.1 สาระการเรียนรูแ กนกลาง - ดร.เอม็ เบดการ • ศาสนกิ ชนตวั อยาง - สมเดจ็ พระนารายณมหาราช - พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภกิ ข)ุ 3.2 สาระการเรยี นรทู องถ่ิน (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน 3) ทกั ษะการประยุกตใชความรู 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการวิเคราะห 2) ทักษะการสรุปอา งองิ 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ มั่นในการทาํ งาน

6. กจิ กรรมการเรยี นรู วธิ สี อนตามแนว วฏั จกั รการเรยี นรู (4 MAT) - นกั เรยี นสวดมนตบูชาพระรัตนตรยั และทําสมาธิกอ นเรยี น ช่วั โมงท่ี 1 ขั้นนาํ เขาสบู ทเรยี น ขน้ั ท่ี 1 สรางคณุ คา และประสบการณข องส่ิงทีเ่ รยี น (พัฒนาสมองซกี ขวา) ครตู ้ังคําถามใหน ักเรียนรว มกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ศาสนกิ ชนตัวอยา งทน่ี ักเรยี นประทับใจคือใคร ซ่งึ นักเรยี น อาจตอบ ไดหลากหลาย ข้นั สอน ขน้ั ท่ี 2 วิเคราะหประสบการณ (พฒั นาสมองซีกซาย) ครูใหน ักเรียนวิเคราะหเหตุผลท่ีนกั เรยี นเสนอช่ือศาสนกิ ชนตวั อยา ง โดยการซักถามนักเรียนวา เพราะเหตใุ ด นกั เรยี น จงึ มีความประทับใจในบคุ คลเหลาน้ัน ขั้นที่ 3 ปรบั ประสบการณเ ปนความคดิ รวบยอด (พฒั นาสมองซีกขวา) 1. ครใู หนักเรยี นดภู าพกจิ กรรมตางๆ ที่เปนผลงานของศาสนิกชน ตวั อยา งหลายๆ ทาน แลวใหน กั เรียนชว ยกนั วเิ คราะหและสังเคราะหเปนความคิดรวบยอดถงึ ความสําคัญของศาสนิกชนตัวอยา ง แลวเขียนเปนผังมโนทัศน 2. ครูสมุ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมาแสดงความคิดเหน็ หนาช้ันเรียน ครตู รวจสอบความถูกตอ งแลว ใหขอเสนอแนะ เพมิ่ เติม 3. นักเรียนตอบคําถามกระตุนความคดิ  คุณธรรมอันเปนแบบอยา งของ ดร.เอ็มเบดการ น้ัน ชาวพทุ ธทุกคนสามารถนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดใ นเรอื่ งใด (ความอดทนเปนผูใฝการศกึ ษาอยา งยิ่ง เปนผูมีปณิธานแนวแน) ขนั้ ท่ี 4 พัฒนาความคิดรวบยอด (พัฒนาสมองซกี ซาย) นักเรยี นกลุม เดิม (จากแผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1) รวมกันคนควาหาความรเู กีย่ วกับประวัติและผลงานของศาสนิกชน ตวั อยา ง จากหนงั สือเรยี น หนงั สือคนควาเพ่ิมเติม หองสมุด และแหลงขอมลู สารสนเทศ ในหวั ขอตอ ไปน้ี 1) สมเด็จพระนารายณมหาราช 2) พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภกิ ข)ุ 3) พระพรหมมงั คลาจารย (ปญ ญานันทภิกขุ) 4) ดร.เอ็มเบดการ ช่ัวโมงท่ี 2 ขั้นท่ี 5 ลงมอื ปฏบิ ัตจิ ากกรอบความคดิ ท่กี าํ หนด (พฒั นาสมองซีกซา ย) 1. นกั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ ผลงานทศ่ี ึกษามาวิเคราะห แลวตอบคาํ ถามในใบงานท่ี 2.3 เรอ่ื ง ศาสนกิ ชนตวั อยา ง 2. ตัวแทนกลุมนําเสนอผลงานในใบงานท่ี 2.3 หนาช้นั เรยี น กลมุ ละ 1 ทาน แลว ใหกลุมอ่ืนที่มผี ลงานแตกตา งกันไป ไดน าํ เสนอเพ่มิ เติม เฉพาะสว นที่แตกตางกนั ครูตรวจสอบความถูกตอง 3. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคดิ  ในสังคมปจ จุบัน นักเรยี นมีความช่นื ชมพุทธศาสนิกชนที่ปฏิบัติตนเปนแบบอยางทา นใดบา ง จงยกตัวอยา ง ประกอบ (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรยี น โดยใหอ ยใู น ดุลยพนิ ิจของครผู ูสอน)

ขั้นที่ 6 สรางชนิ้ งานเพ่อื สะทอนความเปนตนเอง (พฒั นาสมองซีกขวา)  ครมู อบหมายใหน ักเรียนแตล ะกลุม จดั ทําหนงั สือเลม เลก็ เรอื่ ง การวเิ คราะหพ ุทธประวัติ พระสาวก ศาสนกิ ชน ตัวอยา ง และชาดก โดยใหค รอบคลมุ ประเดน็ ตามทก่ี ําหนด ดงั นี้ 1) การวเิ คราะหพทุ ธประวตั ใิ นฐานะเปน มนุษยผ ูฝกตนไดอยางสงู สุด วิธกี ารสอน และการเผยแผ พระพทุ ธศาสนา 2) การวเิ คราะหขอ คิดและคณุ ธรรมอนั เปน แบบอยางการดําเนินชวี ติ ของพุทธสาวก พุทธสาวกิ า 3) การวิเคราะหขอคดิ และคุณธรรมอันเปนแบบอยา งการดาํ เนินชีวติ ของศาสนิกชนตัวอยาง 4) การวิเคราะหขอ คดิ และคุณธรรมอนั เปนแบบอยา งการดําเนินชวี ติ จากชาดก ขั้นที่ 7 วิเคราะหคุณคา และประยุกตใ ช (พัฒนาสมองซีกซา ย) สมาชิกในกลมุ นาํ ผลงานมาวเิ คราะหเ พือ่ ปรับปรุงแกไข และพัฒนาใหม คี ุณภาพตามเกณฑท่กี าํ หนด ขน้ั สรปุ ขั้นที่ 8 แลกเปลยี่ นประสบการณเ รียนรกู ับผูอื่น (พัฒนาสมองซีกขวา) นักเรยี นแตละกลมุ ออกมานาํ เสนอผลงานหนา ช้นั เรยี น และนาํ ไปเผยแพรผ ลงานทโ่ี ตะนทิ รรศการ นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 7. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ ตรวจใบงานที่ 2.3 ใบงานท่ี 2.3 รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ ประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น รายบุคคล เกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ รยี นรู และมงุ มน่ั ในการ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผาน ทํางาน เกณฑ ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว ยการเรียนรู แบบทดสอบหลงั เรียน หนวยการเรยี นรู รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ท่ี 2 ท่ี 2 ตรวจหนังสอื เลมเลก็ เร่อื ง การวิเคราะหพ ุทธ- แบบประเมนิ หนังสือเลม เล็ก เรอ่ื ง การ ระดับคุณภาพ 2 ผา น ประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และ วิเคราะหพุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนกิ เกณฑ ชาดก ชนตวั อยาง และชาดก

8. สื่อ/แหลง การเรยี นรู 8.1 ส่อื การเรยี นรู 1) หนังสอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสือคนควา เพิม่ เติม - ดนัย ไชโยธา. 2551. พทุ ธธรรม พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตวั อยาง. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พิมพโอเดียนสโตร. 3) เอกสารประกอบการสอน 4) บตั รภาพ 5) ใบงานที่ 2.3 เร่อื ง ศาสนิกชนตัวอยาง 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) แหลง ขอมลู สารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/.../พระธรรมโกษาจารย_(เงอื่ ม_อนิ ทฺ ปฺโญ) - http://th.wikipedia.org/.../พระพรหมมังคลาจารย_(ปน _ปญฺ านนโฺ ท) - http://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระนารายณมหาราช

การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมนิ หนังสอื เลมเลก็ เรื่อง การวเิ คราะหพุทธประวัติ พระสาวก ศาสนกิ ชนตัวอยา ง และชาดก ลาํ ดับที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 การวเิ คราะหพทุ ธประวตั ิในฐานะเปนมนุษย 1 ผฝู ก ตนไดอยางสงู สดุ วธิ ีการสอน และการเผยแผ พระพุทธศาสนา 2 การวิเคราะหขอ คดิ และคุณธรรมอันเปน แบบอยา งการ ดําเนนิ ชีวติ ของพุทธสาวก พุทธสาวกิ า 3 การวเิ คราะหขอ คิดและคณุ ธรรมอันเปนแบบอยา งการ ดําเนนิ ชีวติ ของศาสนิกชนตัวอยา ง 4 การวิเคราะหขอ คดิ และคณุ ธรรมอันเปน แบบอยางการ ดําเนนิ ชวี ติ จากชาดก รวม ลงช่อื ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าพร อดุ มสขุ ) ............../.................../................ เกณฑการใหคะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดมี าก = 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ดี = 3 คะแนน 14 - 16 ดมี าก พอใช = 2 คะแนน 11 - 13 ดี ปรับปรุง = 1 คะแนน 8 - 10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรุง

เอกสารประกอบการสอน แผนผังการจัดการเรยี นรูตามแนววัฏจกั รการเรยี นรู (4 MAT) เรื่อง ศาสนกิ ชนตัวอยา ง ซีกขวา ซีกขวา นกั เรยี นนําเสนอ นกั เรยี นเล่าความประทบั ใจ ผลงานหน้าชนั้ เรยี น ในศาสนิกชนตวั อยา่ ง นกั เรยี นรว่ มกนั 81 ครอู ภปิ ราย วเิ คราะหผ์ ลงาน 72 รว่ มกบั นกั เรยี น และปรบั ปรุงแกไ้ ข 63 ซีกซ้าย ซีกซ้าย 54 ซีกขวา ซีกขวา นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เป็นความคดิ นกั เรยี นรว่ มกนั สรา้ งสรรคผ์ ลงาน รวบยอดถงึ ความสาํ คญั ของ หนงั สอื เล่มเลก็ ศาสนิกชนตวั อย่าง นกั เรยี น นกั เรยี นศกึ ษาความรเู้ ร่อื ง รว่ มกนั ทาํ ใบงาน ศาสนิกชนตวั อยา่ ง จาก หนงั สอื เรยี น และแหลง่ การเรยี นรู้ ซีกซ้าย ซีกซ้าย

บตั รภาพ  ภาพวดั ในพระพทุ ธศาสนา ภาพผลงานทางพระพุทธศาสนา ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ของทานพุทธทาสภกิ ขุ ภาพผลงานทางพระพุทธศาสนา ภาพผลงานทางพระพุทธศาสนา ของทา นปญญานันทภกิ ขุ ของ ดร.เอ็มเบดการ ท่ีมา : ภาพท่ี 1 http://www.unseentourthailand.com/pgallery/?module=gallery&action=info&cate_id=78&page=2 1 2 ภาพท่ี 2 http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=buginthegarden&mouth=18-07-2008&=5&gblog=5 3 4 ภาพท่ี 3 http://www.trilakbooks.com/product/267644/มรดกธรรม-หลวงพ่อปญั ญานนั ทะ(ชุด-แสงสวา่ งของชวี ติ ).html ภาพท่ี 4 http://mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m5/web/natee/p27.php

ใบงานท่ี 2.3 ศาสนิกชนตวั อยาง คาํ ช้ีแจง ใหนกั เรียนวิเคราะหผลงานและคุณธรรมอนั เปนแบบอยา งของศาสนกิ ชนตวั อยางลงในตาราง ช่ือศาสนกิ ชน ผลงานสาํ คัญ คุณธรรมอันเปน แบบอยา ง ตัวอยา ง ทางดานพระพุทธศาสนา 1. สมเด็จ พระนารายณ มหาราช

ชอ่ื ศาสนิกชน ผลงานสําคญั คุณธรรมอันเปน แบบอยา ง ตัวอยาง ทางดานพระพุทธศาสนา 2. พระธรรมโกศา จารย (พุทธทาส ภิกข)ุ 3. พระพรหม มังคลาจารย (ปญญานนั ทภิกข)ุ

ชอื่ ศาสนิกชน ผลงานสําคญั คณุ ธรรมอนั เปน แบบอยา ง ตวั อยา ง ทางดา นพระพทุ ธศาสนา 4. ดร.เอ็มเบดการ

เฉลย ใบงานท่ี 2.3 ศาสนิกชนตัวอยาง คําชแี้ จง ใหน ักเรียนวิเคราะหผ ลงานและคุณธรรมอันเปนแบบอยา งของศาสนกิ ชนตัวอยา งลงในตาราง ช่ือศาสนิกชน ผลงานสําคัญ คณุ ธรรมอนั เปน แบบอยาง ตัวอยาง ทางดา นพระพุทธศาสนา 1. สมเด็จพระ 1) ทรงสนบั สนุนพระเถรานุเถระ 1) ทรงมน่ั คงในพระรัตนตรยั และ นารายณม หาราช ใหรอบรูแตกฉานในพระไตรปฎ กและ พระพทุ ธศาสนา ตัวอยางเชน ทรงปฏเิ สธในการนบั พระคัมภีรทางพระพทุ ธศาสนา ถือศาสนาคริสต ตามคําเชิญชวนของพระเจา หลยุ ส 2) ทรงศึกษาพระธรรมวินัยและ ท่ี 14 แหงฝรัง่ เศส และทรงยืนยนั วพระพุทธศาสนา หารอื ขอธรรมะเกี่ยวกบั ขอปฏบิ ัติทาง นั้นดที ่ีสดุ พระพุทธศาสนาอยูเสมอ 2) ทรงมปี ฏภิ าณเปนเลศิ ในการแกป ญหา 3) ทรงสนับสนุนกวีใหแ ตงหนงั สือ ตัวอยา งเชน ทรงแกปญ หาเฉพาะหนา เมอ่ื ศาสนา เกย่ี วกบั พระพุทธศาสนา อิสลามและ ศาสนาครสิ ตต องการใหส มเดจ็ พระ นารายณเ ขา ขาง ฝายตน จงึ ทรงวางพระองคเปน กลางดว ยการ พระราชทานท่ีดนิ สําหรบั สรา งโบสถ และมสั ยดิ และใหเสรีภาพในการนบั ถือศาสนาเทา เทียมกนั 3) ทรงเปนอุบาสกตวั อยาง ถวายความอุปถมั ภ แก พระสงฆทีม่ ีความรภู าษาบาลี ทรงสนับสนนุ แก พระเถระ ใหศกึ ษารอบรูแตกฉานในพระไตรปฎ ก ทรงศึกษา พระธรรม 4) ทรงมพี ระปรีชาและเมตตากรุณาอยางย่ิง ตัวอยา งเชน ทรงนาํ หลักธรรมคําสอนของ พระพุทธเจา มาปฏิบัติ พระองคป กครองบานเมอื ง ดวยพระเมตตาและตอนปลายรชั กาลทรงนมิ นต พระสงฆมาประกอบพธิ ีอปุ สมบทขา ราชบริพารซงึ่ จงรักภกั ดี เพ่ือใหพนจากการถกู ฆา จากพระเพท ราชากับขนุ หลวงสรศักดิ์

ชื่อศาสนกิ ชน ผลงานสาํ คญั คณุ ธรรมอนั เปน แบบอยาง ตัวอยาง ทางดา นพระพุทธศาสนา 2. พระธรรมโกศา 1) สรา งสวนโมกขพลารามเปน 1) มีนสิ ัยในการฝก ฝนอบรมดว ยตนเองตลอดมา แดนธรรมของโลก ตวั อยา งเชน เมื่อสอบไดเ ปรียญ 3 ประโยคแลวก็ไป จารย (พทุ ธทาส 2) เผยแผพ ระพทุ ธศาสนาแกช าว ปฏบิ ตั ิรกั ษาศลี อยา งเครงครัด ฉนั มื้อเดยี ว ฉันแต ตางชาติ ผกั เปน ประจํา ฝกสมาธิอยางเขมงวด ถึงแมว าทาน ภกิ ขุ) 3) เผยแผธรรมะในสวนโมกข จะลว งลบั แลวแตค ําสอนของทานยงั เปน ท่ี 4) จดั ตั้งธรรมทานมูลนิธแิ ละ กลาวขวัญของคนทวั่ ไป 3. พระพรหม โรงเรียนพทุ ธนคิ ม 2) เปน นักคดิ ผูยงิ่ ใหญ ทานมีวีธีคิดเพื่อสอน มังคลาจารย 5) จัดทําหนงั สือธรรมะทงั้ รอยแกว ธรรมะไดอยางวเิ ศษ ทานมีคําทกี่ ินใจใชในการเทศน (ปญญานันทภกิ ข)ุ รอยกรองจาํ นวนมาก ประชาชน 3) เปนนกั ปฏิรปู และปฏบิ ตั ิพระศาสนา ตวั อยางเชน ทา นแนะนาํ ใหค นท่ัวไปในการเทศนา อยาเช่ือในสิ่งผิดๆ อยา โลภ อยาเห็นแกตน ทําบุญ ทําทานคือการเสียสละ ฝก ขัดเกลาจติ ใจใหกเิ ลสเบา บาง ปฏริ ปู ใหภ ิกษุมชี วี ิตเรยี บงา ย อยใู กลช ดิ ธรรมชาติ ทา นปฏบิ ตั ติ นเปนแบบอยา ง 1) ไดร บั การคัดเลอื กใหเปนบุคคล 1) เปนธรรมกถกึ เอก พูดจงู ใจคนไดอยางยอด ผทู าํ ประโยชนตอ พระพุทธศาสนา เยี่ยม อธิบายธรรมะดว ยภาษางา ยๆ ทําใหคนช่ัว จากศาสนา เขา ใจ 2) ประกาศคําสอนที่แทจรงิ ของ 2) เปน พทุ ธสาวกที่ดี เปน พระที่เรียบงาย ไมต ดิ พระพทุ ธศาสนา ยศศกั ด์ิ มีศลี าจารวัตรงดงาม ไมด างพรอ ย อทุ ิศ ชวี ติ เพ่อื ส่ังสอนประชาชนตง้ั แตว ยั หนมุ ถึงวยั ชรา 3) เปล่ยี นแปลงรปู แบบการเทศน จากการน่ังบนธรรมาสนม าเปน การ 3) เปน นักปฏิรูปการพระศาสนา ปรับเปล่ยี น แสดงปาฐกถา โดยยนื เทศนแ ละใช วิธีการ เทศนม าเปน แบบยืนปาฐกถาหรือยนื ถอยคาํ งา ย เพื่อสรางความเขาใจแก บรรยาย ปฏิรูปพิธกี รรมทางศาสนา เชน พิธีเผาศพ ประชาชน ใหม กี ารสวดพระอภธิ รรมเพียงจบเดียว มีการฟง เทศนใ นพิธีกอนเผาศพ 4) เขยี นบทความธรรมะลง หนังสอื พมิ พเ ปน ประจาํ และมี หนังสอื ธรรมะจากการแสดงธรรมเปน จํานวนมาก 5) เผยแผพ ระธรรมคําสอนในตา ง ประเทศ และเปนเจาอาวาสวดั พุทธ ธรรม

ชื่อศาสนกิ ชน ผลงานสําคญั คุณธรรมอนั เปนแบบอยา ง ตัวอยา ง ทางดา นพระพทุ ธศาสนา 4. ดร.เอม็ เบดการ 1) ฟน ฟูพระพุทธศาสนาใน 1) เปน ผูมีความอดทนอยา งยิ่ง เขาเกดิ ในวรรณะ ประเทศอนิ เดีย โดยเฉพาะในหมูชน ศทู ร เปน วรรณะตาํ่ ตอย ถูกคนวรรณะสงู ดถู ูก ช้นั ต่าํ ทําใหม ศี ูทรและคนจณั ฑาล ตอ งอดทนตอความเจบ็ ใจ ทุกขเวทนา เพือ่ อนาคต จาํ นวนมากทงิ้ ศาสนาฮินดูมานับถอื อนั สดใสในวันขา งหนา พระพุทธศาสนา 2) เปนผใู ฝการศกึ ษาอยา งยงิ่ ต้งั แตย ังเด็ก 2) สนบั สนนุ ใหเกิดวทิ ยาลัยสทิ ธัต เปนผใู ฝร ชู อบอานหนงั สอื และตาํ ราทุกชนิด ถะ รบั นักศึกษาทุกชั้นวรรณะอยา ง แสวงหาความรจู ากบุคคลทจ่ี ะสง่ั สอนเขาไดและเปน เสมอภาค กัน เปนวิทยาลัยในเครือ แบบอยา งแกเ ขา จนกระทง่ั มีความรหู ลายสาขา ของมหาวิทยาลัยบอมเบย และไดรับการ ยอมรบั ดานกฎหมาย และไดเ ปน รฐั มนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม 3) แตงหนงั สือหลายเลม เชน พทุ ธธรรม ลักษณะพเิ ศษของ 3) เปนผูมีปณิธานแนวแน ปณธิ านของเขาคือ พระพุทธศาสนา การยอมรบั นับถือ ตองตอสเู พื่อความเสมอภาคแหงความเปนมนุษย พระพุทธศาสนา พระพุทธเจาและ จนกระท่ังเขาดาํ เนินตามปณิธานจนสําเรจ็ ศาสนาของพระองคในอนาคต 4) เปน ชาวพุทธตัวอยา ง เปนชาวพุทธทมี่ ีความ ม่ันคงในพระพุทธศาสนา และนําหลกั ธรรมมา ปฏบิ ตั ิจนเกดิ ผลเปนรูปธรรมท่ยี ดึ ถือเปนแบบอยาง

แผนการจัดการเรียนรูท ่ี 7 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 5 กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 1 ชั่วโมง หนว ยการเรียนรูท่ี 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เรอื่ ง พระรัตนตรัย 1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด พระธรรมเปน สวนหนง่ึ ของพระรัตนตรยั มีความสาํ คัญตอพุทธศาสนิกชนและชาวโลก 2. ตวั ชี้วดั /จุดประสงคก ารเรียนรู 2.1 ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ม.4-6/13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลักคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู - อธบิ ายความหมายของพระรัตนตรยั และคุณคา ของธรรมะได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรูแ กนกลาง • พระรัตนตรยั - วิเคราะหค วามหมายและคณุ คาของพุทธะ ธรรมะ สงั ฆะ 3.2 สาระการเรยี นรูท องถ่ิน (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาํ คัญของผูเ รียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห 2) ทักษะการสรุปลงความเห็น 3) ทกั ษะการประยุกตใ ชค วามรู 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเ รียนรู 3. มงุ มัน่ ในการทาํ งาน

6. กิจกรรมการเรียนรู วิธีสอนโดยเนนกระบวนการ : กระบวนการสรางความตระหนัก (นักเรยี นสวดมนตบชู าพระรตั นตรัยและทําสมาธกิ อนเรียนทกุ ช่วั โมง) ขนั้ นําเขา สูบทเรยี น นกั เรียนทําแบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 ข้นั ที่ 1 สังเกต ครนู ําขา วเกยี่ วกบั บุคคลท่ีประสบปญ หาชวี ติ แลวไมสามารถแกไขปญหาได หรอื แกไขปญหาไมถูกตองมาเลาใหน กั เรียนฟง เชน - นกั เรียนสอบเขามหาวทิ ยาลยั ไมไ ดจ ึงตดั สินใจฆา ตัวตาย - หญิงสาวถูกแฟนบอกเลิก เสียใจมาก คมุ คล่ังอาละวาดปนไปบนหลงั คาตึก เพ่ือจะกระโดดตกึ ฆา ตัวตาย - รวบสาวลกู 2 ลกั ทรัพย คายา อา งนาํ เงนิ เล้ยี งลกู ขน้ั สอน ข้ันที่ 2 วิเคราะหว ิจารณ 1. ครใู หนกั เรยี นชวยกันวิเคราะหตัวอยางพาดหวั ขาวในประเด็นตอไปนี้ 1) ปญหาหรอื ทุกข คืออะไร 2) สาเหตขุ องปญหา คอื อะไร 3) ความตอ งการหมดปญ หา คืออะไร 4) วธิ ีการแกไขปญหาที่ถูกวธิ ี คอื อะไร 2. ครูอธบิ ายเช่อื มโยงใหนักเรยี นเขา ใจถงึ พระธรรมซง่ึ เปน องคประกอบของพระรตั นตรัยน้ันมคี ุณคาตอชาวโลก พระ ธรรมเปน หลักปฏบิ ตั ใิ นการดํารงชีวติ เพ่อื ใหเ กิดประโยชนแ กต นเอง สังคม เม่ือผูใดประสบปญ หากส็ ามารถนําหลกั ธรรม เปนพ้นื ฐานในการแกป ญ หา กลา วไดวา “ธรรมะ คือ หลกั ปฏิบตั ิทที่ าํ ใหตนเองและสงั คมสวนรวมดําเนินไปสูความสขุ สวัสดิ์ไดตลอดปลอดภยั ” 3. นักเรยี นแบงกลุม กลมุ ละ 6 คน ตามความสมคั รใจ ใหแตละกลมุ รวมกันศึกษาความรเู รื่อง พระรตั นตรยั จากหนังสือ เรยี น หนงั สอื คน ควาเพิม่ เติม หอ งสมุด และแหลง ขอมลู สารสนเทศ และชว ยกันทําใบงานที่ 3.1 เรื่อง พระธรรมอัน ประเสรฐิ 4. ครูสุมตัวแทนกลุม 2-3 กลมุ นาํ เสนอคําตอบในใบงานที่ 3.1 หนาช้ันเรียน แลวใหก ลมุ ที่มีผลงานแตกตางนําเสนอ เพมิ่ เติม ครูตรวจสอบความถูกตอง 5. นกั เรียนตอบคาํ ถามกระตุนความคิด  นกั เรยี นคดิ วา ปญหาอาชญากรรมในสงั คมปจจบุ ันนั้นมีสาเหตุสาํ คัญในประเดน็ ใด และควรแกป ญ หาโดยวธิ ีใด (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอ ยใู น ดุลยพนิ จิ ของครผู สู อน)  นักเรียนคิดวา ควรจะใชวิธกี ารใดที่จะทําใหสมาชกิ ในสังคมอยูร วมกันอยา งสงบสขุ (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยใหอ ยูใ น ดุลยพนิ ิจของครูผสู อน) ข้ันสรปุ ครแู ละนักเรียนชว ยกนั สรุปความรเู ก่ยี วกับความหมายของพระรตั นตรยั และคุณคา ของธรรมะ

7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรยี นรู แบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยการเรียนรู (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ที่ 3 ที่ 3 ตรวจใบงานที่ 3.1 ใบงานท่ี 3.1 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ประเมนิ การนําเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน รายบคุ คล เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเรยี นรู และมุงมน่ั ในการ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ระดบั คุณภาพ 2 ผาน ทาํ งาน เกณฑ 8. ส่อื /แหลงการเรยี นรู 8.1 ส่ือการเรยี นรู 1) หนงั สือเรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสือคน ควา เพิม่ เติม - เสฐียรพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรงุ เทพมหานคร : มตชิ น. 3) ตวั อยา งพาดหวั ขา ว 4) ตัวอยา งขาว 5) ใบงานที่ 3.1 เรื่อง พระธรรมอันประเสริฐ 8.2 แหลง การเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) แหลง ขอ มลู สารสนเทศ - http://trueplookpanya.com/true/knowledge-detail.php?...



ตวั อย่างข่าว เด็ก ม.6 ผูกคอตายผลแอดมิดชันสไ มติดวศิ วะจฬุ าฯ สลดเดก็ ม.6 คิดสั้น หลงั ทราบผลแอดมิดชันสไมตดิ คณะวิศวะจฬุ าฯ ตามทีต่ ้ังใจไวแตต ิดคณะเดียวกันท่ี ม. เกษตรศาสตรแทน ตัดสนิ ใจผกู คอตายหนีความผิดหวงั ศธ. สงหนังสอื กาํ ชบั ทุกมหาวทิ ยาลัยดูแลกิจกรรมรบั นอ งใหมใหเ ปน กิจกรรมสรางสรรค เมอ่ื เวลา 17.30 น. วันท่ี 13 พฤษภาคม 2550 พ.ต.ต. ธวชั ชยั ระวังศรี สารวัตรเวร สภ.อ. แมส าย จ. เชียงราย ไดร ับแจง จากแพทยเวร โรงพยาบาลแมสาย อ. แมส าย จ. เชยี งราย วา มคี นไขผกู คอตาย และญาติไดนาํ ตวั มารักษาตวั ทโ่ี รงพยาบาลแมส าย แตเ นอ่ื งจากคนไขข าดอากาศไปหลอเล้ยี งสมองเปน เวลานาน ทําให เสยี ชีวติ กอนจะมาถึงมือแพทย หลังรับแจงเหตจุ ึงรดุ ไปสอบสวนทีโ่ รงพยาบาลแมสาย พบศพของนายจิรัฎฐากรณ ศุขเกษมพงศ อายุ 19 ป อยบู านเลขที่ 248 ม. 2 บานหว ยไคร ต. แมส าย อ. แมสาย สภาพศพสวมเสือ้ ยดื แขนสั้นสีขาว กางเกงขาสน้ั สีลาย แดง ทีบ่ ริเวณลําคอมีรอยรัดจากการผกู คอตาย ลนิ้ จุกปาก แพทยลงความเห็นเสียชีวิตแลว ไมเ กิน 1 ชวั่ โมง เนอ่ื งจากขาดอากาศหายใจ สอบสวนญาติของผูตายใหการดวยความเศรา โศกวา นายจิรัฎฐากรณ เพ่ิงเรียนจบชน้ั ม.6 และไดไปสอบแขงขันคะแนนแอดมชิ ชันส โดยนายจริ ฎั ฐากรณไ ดเลือกคณะวศิ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย เปนอนั ดับ ที่ 1 สวนอนั ดบั ที่ 2 ไดเลอื กคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร แต หลงั จากทราบผลการประกาศคะแนนการสอบแอดมิชชนั ส ปรากฏวา นายจริ ฎั ฐากรณ สอบไมต ิดคณะ วศิ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั แตไ ปตดิ ของคณะเดียวกนั ท่มี หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรแทน ทาํ ให นายจิรัฎฐากรณเสียใจเปนอยางมาก เนือ่ งจากหวังที่จะเขาเรยี นตอ ที่จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัยใหไดต ามทต่ี ้งั ความหวังไว แตก ลบั ไปตดิ ของ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรแ ทน จงึ ทําใหนายจิรฎั ฐากรณเ กดิ อาการซึมเศรา ญาติกไ็ ดแตปลอบใจ แตนาย จิรฎั ฐากรณ กลบั เอาแตเกบ็ ตัวอยใู นหอ งนอนทั้งวัน จนญาตไิ ดเ ขา ไปเรียกนายจิรัฎฐากรณ ทหี่ นา ประตหู องนอน แตก ไ็ มม เี สยี งตอบรบั ญาติจงึ เกิดความสงสัย ตัดสินใจพังประตูหองนอนเขาไป พบวานายจริ ัฎฐากรณไดใ ชเขม็ ขัดหนังของตัวเองผกู คอตายทใี่ ตร าวตากผา ภายในบรเิ วณหอ งนอนจนหนาเขียว ญาตคิ ดิ วา ยังไมต ายจงึ รบี นาํ ตวั สง โรงพยาบาลแมสาย แตน ายจิรัฎฐากรณไ ด เสยี ชีวติ กอนถึงโรงพยาบาล ทางญาติก็ไมตดิ ใจสงสัยในการเสยี ชวี ติ ของนายจิรัฎฐากรณ เจาหนา ท่จี ึงมอบศพให ญาตินาํ ไปบาํ เพ็ญกศุ ลตามประเพณีตอไป ท่มี า : http://www.komchadluek.net/2007/05/13/a001_115823.php?news_id=115823 สบื คน เมอ่ื วันที่ 20 กันยายน 2553

ใบงานที่ 3.1 พระธรรมอันประเสรฐิ คาํ ชี้แจง ใหนักเรียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. คาํ กลาวทีว่ า “ความรทู วมหวั เอาตวั ไมรอดน้ัน เน่ืองจากขาดหลกั ธรรมยดึ เหนย่ี วจติ ใจ” มเี หตุผลอะไรสนบั สนนุ 2. นักเรยี นเคยมปี ญหาชวี ิตในเรอื่ งใดบา ง และสามารถแกไขปญหาโดยใชห ลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาอยา งไร บา ง

เฉลย ใบงานที่ 3.1 พระธรรมอันประเสรฐิ คําช้แี จง ใหนักเรียนตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. คํากลาวท่ีวา “ความรูท ว มหวั เอาตัวไมร อดนนั้ เนื่องจากขาดหลักธรรมยึดเหนี่ยวจิตใจ” มีเหตผุ ลอะไรสนบั สนุน คนท่มี คี วามรูแตไมม ธี รรมะยดึ เหน่ยี วแลว อาจนําความรูไปใชในส่งิ ทีผ่ ิด เชน นาํ ความรไู ปทาํ ระเบดิ สงคราม ทาํ ลายลา งชวี ิตมนุษย ผลติ ยาเสพติดใหโทษ ทาํ เครอ่ื งมือโจรกรรมทรัพยสนิ สิ่งของของผูอ่นื ทาํ ลายชวี ติ ของผอู ่ืน ทําเครอ่ื งมือผลติ ธนบัตรปลอม สนิ คาปลอม ฯลฯ สง ผลใหผ ูอ่นื เดอื ดรอ นตลอดนนั้ สงผลกระทบตอ สงั คมและประเทศ 2. นักเรียนเคยมีปญหาชวี ิตในเรื่องใดบาง และสามารถแกไขปญหาโดยใชหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาอยางไร บาง (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอ ยใู นดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูสอน)

แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน คาํ ชแี้ จง : ให ผสู อน ประเมินการนําเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทก่ี ําหนด แลว ขีด  ลงในชอ ง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลําดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 4321 1 นําเสนอเนือ้ หาในผลงานไดถูกตอ ง 2 การลําดับขน้ั ตอนของเนื้อเรอื่ ง 3 การนาํ เสนอมีความนาสนใจ 4 การมสี วนรวมของสมาชิกในกลมุ 5 การตรงตอเวลา รวม ลงชื่อ .................................................... ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าพร อดุ มสุข) ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ให 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบูรณชดั เจน ให 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อ บกพรองบางสวน ให 2 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อ บกพรอ งเปนสว นใหญ ให 1 คะแนน 14 - 17 ดี ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อ บกพรอ งมาก 10 - 13 พอใช้ ต่าํ กว่า 10 ปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 8 ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 5 กลุม สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 1 ช่ัวโมง หนว ยการเรียนรูท ี่ 3 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เร่อื ง ทุกข : โลกธรรม 8 1. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด พระธรรมเปน สวนหนง่ึ ของพระรัตนตรัย มีความสาํ คัญตอพุทธศาสนกิ ชนและชาวโลก การศกึ ษา โลกธรรม 8 ยอมทาํ ใหเขาใจในเรอื่ งทุกข ทุกส่ิงในโลกเปน อนิจจัง เตอื นสตมิ ิใหประมาท 2. ตวั ชีว้ ัด/จุดประสงคก ารเรยี นรู 2.1 ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ม.4-6/13 วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลกั คาํ สอนของศาสนาทต่ี นนบั ถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรียนรู - วเิ คราะหผลของการปฏบิ ัติตนตามขันธ 5 (โลกธรรม 8) ได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง อรยิ สัจ 4 - ทกุ ข (ธรรมท่ีควรร)ู ขันธ 5 โลกธรรม 8 3.2 สาระการเรียนรทู องถิ่น (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการวิเคราะห 2) ทักษะการสรปุ ลงความเหน็ 3) ทกั ษะการประยุกตใ ชความรู 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค 1. มวี ินยั 2. ใฝเรยี นรู 3. มุง มน่ั ในการทํางาน

6. กิจกรรมการเรยี นรู วธิ ีสอนโดยเนน กระบวนการ : กระบวนการสรางความตระหนัก (นักเรยี นสวดมนตบ ูชาพระรตั นตรัยและทาํ สมาธกิ อนเรียนทุกชั่วโมง) ขั้นนาํ เขา สบู ทเรียน ขน้ั ท่ี 1 สงั เกต ครูนําตวั อยางพาดหวั ขา วจากหนงั สือพมิ พที่แสดงถงึ ความไมเ ท่ยี งแทแนน อนในชีวิต มาเลาใหน ักเรียนฟง เชน - คนงานกลายเปน เศรษฐี - นกั ธรุ กจิ ลมละลาย - ดาราสาวถูกซุบซิบนินทา - ยายเฒาถกู ลกู ทอดทง้ิ ข้ันสอน ขน้ั ที่ 2 วิเคราะหวจิ ารณ 1. นักเรยี นนาํ ตัวอยา งพาดหัวขาวมารว มกนั วิเคราะหว า ประเดน็ สาํ คัญของขา วน้ัน คืออะไร และใหข อคิดอะไรบา ง 2. ครอู ธบิ ายเชอ่ื มโยงใหนักเรียนเขาใจวา ในสังคมปจ จุบัน จะพบความทุกขท่ีหลากหลาย ตามขนั ธ 5 (โลกธรรม 8) โลกธรรม 8 ประการ อาจจัดเปน 4 คู คือ 1) ไดล าภ – เสอ่ื มลาภ 3) ตเิ ตยี น - สรรเสรญิ 2) ไดย ศ – เส่ือมยศ 4) สขุ - ทุกข 3. นักเรยี นกลุม เดิม (จากแผนการจัดการเรียนรทู ่ี 1) รวมกนั ศึกษาความรเู รอื่ ง ทุกข (ธรรมท่ีควรร)ู จากหนังสือเรียน หรอื หนงั สือคนควาเพม่ิ เตมิ หอ งสมดุ และแหลงขอมลู สารสนเทศ แลวชว ยกนั วิเคราะหกรณีศึกษาในใบงานที่ 3.2 เร่อื ง โลกธรรม 8 4. ครแู ละนกั เรียนชวยกนั เฉลยคําตอบในใบงานที่ 3.2 ครตู รวจสอบความถูกตอง และอธบิ ายความรเู พ่ิมเติม 5. นกั เรียนตอบคําถามกระตุนความคิด ขอ 1-2 1. ในอดีตชีวินเปน ผูจ ดั การบริษัท แตป จ จุบนั เขาตองลาออกจากงาน ขอความนสี้ อดคลองกบั หลักธรรมใด (ไดย ศ - เส่อื มยศ) 2. นกั เรยี นไดข อคิดสําคัญจากโลกธรรม 8 อยา งไร (พิจารณาตามคําตอบของนักเรยี น โดยใหอยใู น ดลุ ยพินจิ ของครผู ูสอน) ขัน้ สรุป ครูและนกั เรียนชว ยกนั สรุปความรเู ก่ียวกับทุกข (ธรรมที่ควรร)ู และขอคดิ ที่นําไปเปน แนวทางในการปฏิบัติตนในการ ดาํ เนนิ ชีวิตประจาํ วนั

7. การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑ ตรวจใบงานที่ 3.2 ใบงานท่ี 3.2 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน รายบุคคล เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตความมีวินยั ใฝเ รียนรู และมุง มนั่ ในการ แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค ระดบั คุณภาพ 2 ผา น ทํางาน เกณฑ 8. ส่ือ/แหลงการเรียนรู 8.1 สื่อการเรียนรู 1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสอื คน ควาเพิม่ เติม (1) พรหมคุณาภรณ, พระ. (ประยทุ ธ ปยตุ โฺ ต). 2545. หลักการศึกษาในพระพุทธศาสนา. กรงุ เทพมหานคร : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย. (2) สชุ พี ปุญญานภุ าพ. 2540. คุณลกั ษณะพเิ ศษแหง พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : เกษมบรรณกิจ. 3) ตวั อยางพาดหวั ขา ว 4) ใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง โลกธรรม 8 8.2 แหลงการเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) แหลงขอ มูลสารสนเทศ - http://www.learntripitaka.com/scruple/rokatham8.html

เอกสารประกอบการสอน ตัวอยางพาดหัวขาว “เครียด ลม ละลายดงิ่ 8 ชนั้ ดับ” นกั ธุรกิจประสบปญหามรสมุ ชีวติ ถูกพิพากษาเปน คนลม ละลาย เกดิ อาการเครียด ดิ่งชน้ั 8 ลงมาชนั้ 3 จบชีวิต ท้ิงจดหมายลาตาย บอกรบั สภาพตวั เองไมไ ด ทมี่ า : http:tnews.teenee.com/crime/9322.html สืบคนเม่ือวันท่ี 20 กันยายน 2553 สดุ สลด! แมเ ฒาถกู ลกู ไลออกจากบา น อาศัยศาลาซกุ หวั นอน ทม่ี า : news.sanook.com/956635-สดุ สลดแมเฒา ถูกลูกไลอ อกจากบา นตองอาศยั ศาลาซุกหวั นอน สืบคน เมื่อวันท่ี 20 กนั ยายน 2553 ลอื ใหแซดดด !!! ดารา พ.ปอ ง ท่มี า : http://www.rakdara.net/overview.php?id=11418 สบื คน เมื่อวันที่ 20 กนั ยายน 2553 แรงงานชาวพมา สุดเฮง ถูกลอตเตอรี่รางวัลที่ 1 ที่มา : http://www.khaosod.co.th สืบคนเมอ่ื วันท่ี 20 กนั ยายน 2553

ใบงานท่ี 3.2 โลกธรรม 8 คาํ ช้แี จง ใหน กั เรยี นอา นกรณีศกึ ษา แลวตอบคาํ ถาม กรณีศกึ ษา เรื่อง ธรรมะกับชีวติ ในวงสนทนาของสมาชกิ ชมรม “ธรรมะกับชีวติ ” สมาชกิ ตางกม็ เี รื่องตางๆ มาเลาสกู นั ฟง และเมื่อมีปญหา ใดๆ กจ็ ะรวมกันแกไ ขปญ หา โตง : ฉันอานขาวหนงั สอื พิมพฉบับวนั น้ี เขาพาดหัวขา ววา คนขับสามลอ เครื่องท่ีถกู ลอตเตอรี่รางวลั ที่ 1 เมื่อ สองปท ีแ่ ลว กลับมาขบั สามลอเครื่องเหมือนเดมิ เพราะเงินที่ไดจากถกู ลอตเตอรี่น้นั หมดแลว เพราะเขา นําไปลงทุนคาขายกบั เพื่อนแลว ขาดทุนจนตองปดกจิ กรรม ไก : ฉันก็เคยไดย นิ ขา วเรื่องนกั ธุรกิจตอ งถูกฟองลมละลาย จนตองเปล่ยี นอาชีพมาขับรถแท็กซี่เหมอื นกัน เก : ปน้ปี ระธานกรรมการนกั เรยี นของโรงเรียนเราไดร ับการยกยองวาเปน นักเรยี นดเี ดน ของโรงเรยี น แตเขา ก็ถกู พวกรนุ นองแอบนินทาวา พี่ประธานนกั เรยี นชอบประจบครู แตไมคอ ยมีผลงาน โตง : เดอื นกนั ยายนปน ้พี อของฉนั เกษียณอายรุ าชการจากตาํ แหนงนายพลโท การดําเนนิ ชวี ติ ราชการของพอ คงยุตเิ พียงเทา น้ี นก : ปกตแิ ลวครอบครวั ของฉนั เปนครอบครวั ท่ีอบอุน พอแมล ูกอยพู รอมหนากนั ทุกวัน พวกเรามีความสขุ มาก แตเ มอ่ื สัปดาหท่ีแลว พอของฉนั ตอ งเขาโรงพยาบาลอยา งกะทนั หนั เพราะเสน โลหิตในสมองแตก จนเปน อมั พาต คงตองอยโู รงพยาบาลหลายวนั ฉนั และแมมีความทุกขม าก คาํ ถาม 1. บุคคลใดมีชีวิตท่ีสอดคลองกบั โลกธรรม 8 2. ขอคิดสําคญั ท่ีไดจ ากธรรมโลกธรรม คืออะไรบาง 3. นกั เรยี นมีวิธีการปฏบิ ตั ิตนอยางไรจึงจะอยใู นความจริงของโลกธรรมทงั้ 4 คูนน้ั ไดอยางปกติ

เฉลย ใบงานท่ี 3.2 โลกธรรม 8 คําชแ้ี จง ใหน ักเรียนอานกรณีศึกษา แลวตอบคาํ ถาม กรณีศึกษา เรือ่ ง ธรรมะกับชีวิต ในวงสนทนาของสมาชกิ ชมรม “ธรรมะกับชีวิต” สมาชกิ ตางกม็ เี รื่องตา งๆ มาเลา สกู นั ฟง และเม่ือมีปญหา ใดๆ ก็จะรวมกนั แกไ ขปญ หา โตง : ฉันอานขาวหนังสือพิมพฉบบั วนั นี้ เขาพาดหัวขาววา คนขับสามลอเครื่องที่ถูกลอตเตอร่รี างวลั ที่ 1 เม่ือ สองปทแี่ ลว กลบั มาขบั สามลอเคร่ืองเหมือนเดมิ เพราะเงนิ ท่ีไดจากถูกลอตเตอรี่นนั้ หมดแลว เพราะเขา นําไปลงทุนคาขายกบั เพื่อนแลวขาดทนุ จนตองปดกิจกรรม ไก : ฉันกเ็ คยไดย ินขา วเร่ืองนักธรุ กิจตอ งถูกฟองลมละลาย จนตองเปลยี่ นอาชีพมาขับรถแทก็ ซ่เี หมือนกนั เก : ปน้ปี ระธานกรรมการนกั เรยี นของโรงเรียนเราไดรับการยกยองวา เปนนักเรียนดีเดน ของโรงเรียน แตเขา ก็ถูกพวกรุน นองแอบนนิ ทาวา พป่ี ระธานนักเรียนชอบประจบครู แตไ มคอ ยมีผลงาน โตง : เดอื นกนั ยายนปน พ้ี อของฉันเกษียณอายุราชการจากตําแหนงนายพลโท การดาํ เนินชวี ิตราชการของพอ คงยตุ ิเพยี งเทา น้ี นก : ปกติแลว ครอบครวั ของฉันเปนครอบครวั ที่อบอนุ พอแมลูกอยูพรอมหนากนั ทุกวนั พวกเรามีความสขุ มาก แตเ มื่อสัปดาหทแี่ ลว พอ ของฉนั ตองเขาโรงพยาบาลอยางกะทนั หัน เพราะเสน โลหิตในสมองแตก จนเปน อัมพาต คงตองอยโู รงพยาบาลหลายวัน ฉันและแมมีความทุกขมาก คาํ ถาม 1. บุคคลใดมีชีวติ ท่ีสอดคลองกับโลกธรรม 8 1) คนขบั รถสามลอเคร่ืองและนักธรุ กจิ มีชวี ิตทีส่ อดคลองกับ ไดล าภ - เสื่อมลาภ 2) พอ ของโตง มชี ีวิตทสี่ อดคลองกบั ไดยศ - เสือ่ มยศ 3) ประธานกรรมการนกั เรียน มีชีวติ ท่ีสอดคลองกับ ตเิ ตยี น - สรรเสรญิ 4) ชวี ติ ครอบครัวของนก สอดคลองกบั สุข - ทุกข 2. ขอคิดสําคญั ท่ีไดจากธรรมโลกธรรม คืออะไรบาง ขอ คิด คือ ทุกสง่ิ ทุกอยางในโลกเปนอนิจจังไมเท่ียงแท เราไมค วรลมื งานกบั ความสําเรจ็ และความสุขที่ไดร บั ไมทอถอยกบั ความผิดหวงั และความทุกขที่เกิดข้นึ เตอื นสติมใิ หป ระมาท มองส่งิ ตางๆ ตามความเปน จริง 3. นักเรียนมวี ธิ กี ารปฏิบัตติ นอยางไรจึงจะอยูใ นความจรงิ ของโลกธรรมทงั้ 4 คูนนั้ ไดอยางปกติ (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอยใู นดลุ ยพินจิ ของครูผูสอน)

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 9 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 1 ช่ัวโมง หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เรือ่ ง นิยาม 5 กรรม 12 และมจิ ฉาวณิชชา 5 1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด พระธรรมเปนสว นหนึง่ ของพระรัตนตรัย มคี วามสาํ คัญตอพุทธศาสนกิ ชนและชาวโลก กรรมนิยาม (กรรม 12) และมิจฉาวณชิ ชา 5 เปนธรรมะทท่ี ําใหรูเหตุแหงทุกข 2. ตวั ช้ีวัด/จุดประสงคการเรยี นรู 2.1 ตวั ชี้วดั ส 1.1 ม.4-6/13 วิเคราะหห ลกั ธรรมในกรอบอริยสจั 4 หรือหลกั คาํ สอนของศาสนาท่ตี นนับถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรียนรู - วเิ คราะหผลของการปฏิบตั ิตนตามกรรมนิยาม (กรรม 12) และมิจฉาวณชิ ชา 5 ได 3. สาระการเรียนรู  นิยาม 5 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง  กรรม 12 • อริยสจั 4 - สมทุ ัย (ธรรมทค่ี วรละ) (1) หลักกรรม (2) กรรมนยิ าม (3) มิจฉาวณชิ ชา 5 3.2 สาระการเรยี นรทู องถิน่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน 3) ทกั ษะการประยกุ ตใชความรู 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการวเิ คราะห 2) ทักษะการสรุปลงความเหน็ 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ รียนรู

6. กจิ กรรมการเรียนรู วิธสี อนแบบ สบื เสาะหาความรู (Inquiry Method : 5E) (นกั เรียนสวดมนตบชู าพระรตั นตรัยและทาํ สมาธกิ อนเรยี นทกุ ชัว่ โมง) ข้นั นําเขาสูบ ทเรยี น ขน้ั ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ 1. ครใู หนกั เรยี นรองเพลงทม่ี สี าระสาํ คญั เก่ยี วกับกรรม เชน เพลงกฎแหง กรรม เพลงทาํ ดีไดด ี ทาํ ชว่ั ไดช่วั เพลงเกิดมาพ่ึง กัน หรอื เพลงอน่ื ๆ ทีน่ ักเรียนชอบ 2. นกั เรยี นรว มกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ขอคิดสําคญั ที่ไดจากการรองเพลง เชน คนเราทาํ ดหี รือกรรมดียอมไดร ับ ผลดี แตถา ทาํ ช่ัวหรือกรรมชว่ั กต็ อ งไดรบั ผลไมด ีหรอื กรรมช่ัวตอบสนอง ทาํ อยา งไรไดอยางนน้ั เปนตน 3. นกั เรียนตอบคาํ ถามกระตนุ ความคดิ  การทีพ่ ลเมืองดเี กบ็ เงินไดนาํ สงเจาของ แลว ไดรับ การตอบแทนดวยเงนิ จํานวนหน่งึ นั้น สอดคลอ งกับคาํ พงั เพย ใดบาง จงยกตวั อยาง (ทาํ ดีไดดี ทาํ บุญเห็นผลทนั ตา ฯลฯ) 4. ครูอธิบายเช่อื มโยงใหนกั เรยี นเขาใจวา การดําเนนิ ชีวิตของคนเราน้นั มีการกระทาํ หลายประการทีน่ ําไปสูป ญหา เชน นิยาม 5 กรรม 12 และมจิ ฉาวณชิ ชา 5 ข้นั สอน ขน้ั ที่ 2 สํารวจคนหา 1. นกั เรยี นแตละกลุม (กลุม เดิมจากแผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1) จับคูกนั เปน 3 คู ใหแตละครู วมกนั ศึกษาความรเู ร่อื ง นิยาม 5 กรรมนยิ าม และมิจฉาวณชิ ชา 5 จากหนงั สอื เรียน หนังสอื คน ควา เพมิ่ เติม หองสมุด และแหลงขอมูลสารสนเทศ 2. นักเรยี นนําความรทู ีไ่ ดจ ากการศึกษามาบนั ทึกลงในแบบบันทกึ การอา น ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู นกั เรยี นแตล ะคนู าํ ความรูทไ่ี ดจากการศึกษามาผลดั กันอธิบายตามประเดน็ ทก่ี ําหนด 1) ความหมายของนิยาม 5 2) ความหมายของกรรม 12 และมิจฉาวณิชชา 5 3) ประเภทและตัวอยา งของนิยาม 5 กรรม 12 และมิจฉาวณิชชา 5 ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ 1. สมาชิกแตล ะคชู วยกนั ทาํ ใบงาน ดงั น้ี - คทู ่ี 1 ทาํ ใบงานท่ี 3.3 เร่ือง กรรม 12 (1) - คทู ี่ 2 ทําใบงานท่ี 3.4 เรอ่ื ง กรรม 12 (2) - คูท่ี 3 ทําใบงานที่ 3.5 เร่อื ง มจิ ฉาวณชิ ชา 5 2. นกั เรยี นแตละคตู รวจสอบความถกู ตองของใบงานทค่ี ูของตนรับผดิ ชอบ แลว ผลดั กันเลา คําตอบในใบงานใหเ พ่ือนคู อนื่ ๆ ภายในกลุมฟง เรม่ิ ต้ังแตค ทู ี่ 1 จนถึงคูท ี่ 3 จากนน้ั ผลดั กันซกั ถามขอสงสัยจนมคี วามเขา ใจกระจางชดั เจน 3. ครเู ฉลยคาํ ตอบในใบงานที่ 3.3-3.5 โดยใหส มาชิกแตล ะกลมุ ชว ยกนั ตรวจสอบความถูกตองในใบงานที่คูของตน รับผดิ ชอบ จากน้นั ใหทุกคนชว ยกนั สรุปประเด็นสําคญั เก่ียวกบั นิยาม 5 กรรม 12 และมิจฉาวณิชชา 5

4. นักเรยี นตอบคําถามกระตุนความคิด ขอ 1-2 1. นักเรยี นมีวธิ กี ารหลกี เลี่ยงกรรมเคยชนิ (พหลุ กรรม) ไดอ ยางไรบา ง จงยกตัวอยา ง (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอยูใน ดลุ ยพินจิ ของครูผสู อน) 2. นักเรยี นเคยพบหรืออานขา วผทู ม่ี กี ารกระทําท่ีสอดคลองกบั มจิ ฉาวณิชชา 5 แลวมีผลเสยี ตอ การดาํ รงชีวิตของ เขาอยา งไรบาง จงยกตัวอยาง (พจิ ารณาตามคําตอบของนกั เรยี น โดยใหอ ยูใน ดลุ ยพนิ ิจของครูผสู อน) ขนั้ สรปุ ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล ครตู รวจสอบความรคู วามเขาใจของนักเรยี นจากการทําใบงานที่ 3.3 - 3.5 7. การวดั และประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑ วิธกี าร ใบงานท่ี 3.3 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ตรวจใบงานที่ 3.3 ตรวจใบงานที่ 3.4 ใบงานท่ี 3.4 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ตรวจใบงานที่ 3.5 ตรวจแบบบันทกึ การอาน ใบงานที่ 3.5 รอยละ 60 ผานเกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบบันทกึ การอาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ สังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดบั คุณภาพ 2 ผาน สงั เกตความมีวินัย และใฝเ รียนรู รายบุคคล เกณฑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ 8. สือ่ /แหลงการเรยี นรู 8.1 สือ่ การเรยี นรู 1) หนังสอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนังสือคนควาเพิ่มเติม - เสฐียรพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรงุ เทพมหานคร : มตชิ น. 3) เพลงเกดิ มาพึ่งกนั 4) ใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง กรรม 12 (1) 5) ใบงานท่ี 3.4 เรอ่ื ง กรรม 12 (2) 6) ใบงานที่ 3.5 เร่ือง มิชฉาวณิชชา 5 8.2 แหลง การเรียนรู 1) หอ งสมุด 2) แหลงขอ มูลสารสนเทศ - http://th.wikipedia.org/wiki/มิจฉาวณิชา

เอกสารประกอบการสอน เพลงเกิดมาพึ่งกนั คาํ รอง/ทาํ นอง ไสว ไกรเลศิ เกิดเปนคนอยา เหน็ แกตน แหละดี ถงึ จะมรี ่ํารวยสขุ สันต จนหรือมีไมเ ปน ทส่ี ําคัญ แมรกั กันพึ่งพา อยาไปตัดไมตรี เกิดมาพง่ึ กัน ผวิ พรรณใชแ บงศักด์ิศรี วนั นี้เราอยู คดิ ดูใหด ี ถึงจะจนจะมี อยา ไปสรา งเวรกรรม ขนื ทาํ ชว่ั ไป อาจตอ งใชกรรมเวร อยางมงายโลภหลง เพราะคงจะเกดิ ลําเคญ็ สรา งบญุ พระทานคงเห็น รม เยน็ พนความกังวล ถึงวิบัติขดั สนผลบญุ นําให ศลี ธรรมม่ันใจ ไมตองไปกงั วล ถึงจะมีจะจนจะเกิดกุศลดลใจ เกดิ เปนคนอยาเห็นแกตน แหละดี ถงึ จะมีรํ่ารวยสุขสันต จนหรอื มไี มเปนทสี่ ําคัญ แมร ักกันพ่งึ พา อยา ไปตัดไมตรี เกิดมาพึ่งกัน ผวิ พรรณใชแ บงศักด์ศิ รี วันนีเ้ ราอยู คิดดูใหดี ถึงจะจนจะมี อยา ไปสรางเวรกรรม ขนื ทําชัว่ ไป อาจตองใชก รรมเวร อยางมงายโลภหลง เพราะคงจะเกดิ ลาํ เค็ญ สรางบญุ พระทา นคงเหน็ รมเยน็ พนความกงั วล ถึงวบิ ัตขิ ัดสนผลบุญนาํ ให ศีลธรรมมนั่ ใจ ไมตองไปกังวล ถงึ จะมีจะจนจะเกิดกศุ ลดลใจ

ใบงานที่ 3.3 กรรม 12 (1) คาํ ชีแ้ จง ใหน กั เรียนอานเรื่อง คนดนี าํ ทางแทนคุณแผนดิน : นายมานิตย แยม ประยูร แลวตอบคาํ ถาม นายมานติ ย แยมประยรู อายุ 70 ป ทอ่ี ยู 23/20 หมู 3 ต.ชายนา อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา การศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 4 โรงเรยี นบานกระทุมลม จ.นครปฐม นายมานติ ย แยมประยรู หันหลังจากอาชีพชางตัดผม มาเอาดีดา นการเพาะเลย้ี งตน ไมจนปจจบุ ันกลายเปนผู เพาะเลยี้ งเนื้อเยื่อกลวยไมนานาชนิดสงขายตา งประเทศ เชน อเมรกิ า เวียดนาม พมา ฯลฯ และปลูกไมผ ล ไม ดอกไมประดบั บนเนื้อทจี่ ํานวนรอ ยกวาไร สว นลูกๆ รับจัดสวนตามสถานทตี่ างๆ รวมท้ังยงั คิดทําปยุ ชีวภาพ ปยุ หมกั ใชเ องในแตล ะวนั จะมรี ถทัวรนาํ นักทอ งเทย่ี วเขา มาชมสวนและสัง่ ซือ้ กลวยไม พืชผล และไมป ระดบั มากมาย เม่ือป 2549 เกิดอุทกภยั สวนเกษตรกรรมไดร บั ความเสียหายท้งั หมด ลุงมานิตยก็ยังไมทอ ยังมีแนวคดิ ใน การทําสวนเกษตรกรรมตอไป โดยใชว ธิ ปี ลกู ไมผลทีเ่ กบ็ เกยี่ วผลผลิตไดเ รว็ เชน กลว ย มะละกอ และทําสวน กลวยไมควบคูกนั ไป ดังแนวคิดแบบเศรษฐกจิ พอเพียง ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว สวนมานิตยกลายเปน ทรี่ จู กั กันอยางกวางขวางไมเฉพาะกลุมคนนิยมตนไมเ ทานน้ั คนทวั่ ไปทงั้ ในและนอก ประเทศตางก็พากันมาช่นื ชมกลวยไมใ หมหลายพนั ธุทผ่ี สมขน้ึ บนสะพรั่งเรื่อยมา พรอมๆ กับการเตบิ ใหญของ วงการกลวยไมไทยจนมีช่ือเสียงระดับโลก สรางอาชพี ใหค วามรแู กเ กษตรกรใน จ.พระนครศรีอยธุ ยา ในการ ประกอบอาชีพเสริมปลูกกลวยไม ทํานาสวนผสม จนกลว ยไมแ หงน้ีไดเ ปน แหลงการศึกษาเรียนรูของนักเรยี น นักศึกษา จากมหาวิทยาลยั ท่ัวประเทศท่ีเดินทางมาศึกษาดูงาน ผลงานของลุงมานิตย ทําใหมหาวิทยาลัยราชภฎั พระนครศรอี ยธุ ยา ยกใหเ ปนเกษตรกรดีเดนในการทําสวน ผลไม ไมด อกไมประดับประสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ จากการเรยี นรดู วยตนเองอยางมรี ะบบ นําผลการเรียนรูมา ทดลองปฏิบตั จิ นประสบผลสาํ เรจ็ พัฒนาชีวิตเกษตรกรของตนเองจนมัน่ คงแลว เผยแพรภูมิปญญาแกนักเรยี น นักศกึ ษา เกษตรกร ประชาชนและหนวยงานตา งๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนท้ังในประเทศและตางประเทศ เกิด ประโยชนต อ สังคมอยา งกวา งขวาง ลา สุดลงุ มานิตยไดรบั การเชดิ ชเู กียรติ ในโครงการ “76 คนดี นําทางแทนคุณแผน ดิน” ท่ี นสพ. คม ชัด ลึก จดั ข้ึนในฐานะเปนบุคคลตน แบบทส่ี รา งแรงบันดาลในใหแ กสังคม และทําประโยชนใหแกชุมชน ทีม่ า : หนังสอื พมิ พ คม ชดั ลกึ ฉบบั วันองั คารที่ 20 กรกฎาคม 2553 คําถาม • นายมานติ ย แยมประยรู มกี ารกระทําและผลการกระทําที่สอดคลองกบั กรรมนยิ ม (กรรม 12) อยางไร

เฉลย ใบงานที่ 3.3 กรรม 12 (1) คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรียนอา นเร่ือง คนดนี าํ ทางแทนคณุ แผนดิน : นายมานิตย แยม ประยูร แลว ตอบคาํ ถาม นายมานิตย แยม ประยรู อายุ 70 ป ท่ีอยู 23/20 หมู 3 ต.ชายนา อ.เสนา จ.พระนครศรีอยธุ ยา การศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 4 โรงเรยี นบานกระทุม ลม จ.นครปฐม นายมานิตย แยมประยูร หันหลงั จากอาชีพชา งตัดผม มาเอาดีดานการเพาะเล้ียงตน ไมจนปจ จบุ นั กลายเปนผู เพาะเลยี้ งเน้ือเยื่อกลว ยไมนานาชนิดสง ขายตางประเทศ เชน อเมรกิ า เวียดนาม พมา ฯลฯ และปลกู ไมผ ล ไม ดอกไมป ระดับ บนเนื้อทจ่ี าํ นวนรอ ยกวาไร สวนลูกๆ รบั จัดสวนตามสถานท่ีตางๆ รวมท้ังยงั คดิ ทําปุยชวี ภาพ ปยุ หมักใชเองในแตล ะวนั จะมรี ถทัวรน าํ นกั ทองเที่ยวเขามาชมสวนและส่ังซือ้ กลว ยไม พืชผล และไมประดับมากมาย เมือ่ ป 2549 เกิดอทุ กภยั สวนเกษตรกรรมไดร ับความเสยี หายทัง้ หมด ลงุ มานติ ยกย็ งั ไมท อ ยงั มแี นวคิดใน การทาํ สวนเกษตรกรรมตอไป โดยใชวิธีปลกู ไมผลทเ่ี ก็บเกีย่ วผลผลิตไดเรว็ เชน กลว ย มะละกอ และทาํ สวน กลว ยไมค วบคูกนั ไป ดังแนวคิดแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั สวนมานิตยกลายเปน ทีร่ จู ักกันอยา งกวา งขวางไมเ ฉพาะกลุมคนนยิ มตนไมเ ทา นัน้ คนทั่วไปท้งั ในและนอก ประเทศตา งก็พากันมาช่ืนชมกลวยไมใ หมหลายพนั ธุท่ีผสมขึ้นบนสะพร่ังเร่อื ยมา พรอมๆ กบั การเตบิ ใหญข อง วงการกลวยไมไทยจนมชี ื่อเสียงระดบั โลก สรางอาชีพใหค วามรแู กเ กษตรกรใน จ.พระนครศรีอยธุ ยา ในการ ประกอบอาชพี เสริมปลูกกลวยไม ทํานาสวนผสม จนกลวยไมแ หงน้ไี ดเปนแหลง การศึกษาเรียนรูข องนักเรียน นกั ศึกษา จากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศทเ่ี ดินทางมาศกึ ษาดูงาน ผลงานของลุงมานิตย ทําใหมหาวทิ ยาลัยราชภัฎพระนครศรอี ยุธยา ยกใหเ ปนเกษตรกรดีเดนในการทาํ สวน ผลไม ไมด อกไมป ระดับประสบความสาํ เร็จในชวี ติ จากการเรยี นรูด ว ยตนเองอยา งมีระบบ นาํ ผลการเรยี นรูมา ทดลองปฏิบตั ิ จนประสบผลสําเร็จ พัฒนาชวี ิตเกษตรกรของตนเองจนมนั่ คงแลวเผยแพรภ มู ิปญญาแกน ักเรยี น นกั ศกึ ษา เกษตรกร ประชาชนและหนวยงานตา งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและตางประเทศ เกดิ ประโยชนต อ สังคมอยา งกวา งขวาง ลา สดุ ลงุ มานติ ยไ ดรับการเชิดชเู กียรติ ในโครงการ “76 คนดี นําทางแทนคณุ แผน ดนิ ” ที่ นสพ. คม ชดั ลกึ จดั ขึ้นในฐานะเปน บุคคลตน แบบทสี่ รา งแรงบันดาลในใหแ กสงั คม และทําประโยชนใ หแ กชุมชน ทีม่ า : หนงั สือพิมพ คม ชดั ลึก ฉบับวนั อังคารท่ี 20 กรกฎาคม 2553 คําถาม • นายมานิตย แยม ประยรู มกี ารกระทําและผลการกระทําท่ีสอดคลองกบั กรรมนิยม (กรรม 12) อยา งไร 1) กรรมใหผลทนั ตาเหน็ หรือในชาติน้ี (ทฏิ ฐธมั มเวทนียกรรม) เขามีความขยันหมัน่ เพียรในการประกอบ อาชพี เกษตรกรรม จนปจ จุบนั กิจการเจรญิ รุงเรือง รายไดมัน่ คงจากกจิ กรรมกลว ยไม และสวนผลไม 2) กรรมใหผลในระยะเวลานานขา งหนา หรือในชาติตอๆ ไป (อปราปรเวทนียกรรม) ผลจากความสําเร็จใน การทาํ สวนผลไม ไมด อก ทาํ ใหกจิ การมัน่ คง เปน ที่ยอมรับ ไดร ับการยกยอ งวาเปน คนดี ในโครงการ “76 คนดี นําทางแทนคุณแผนดนิ ” และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา ยกยองใหเปนเกษตรกรดเี ดนใน การทําสวนผลไม ไมดอกไมประดับ ยอ มทาํ ใหเปนทรี่ จู ักกนั ท่ัวไป สงผลใหก ิจการของเขามคี วามมั่นคงสืบไป ในภายหนา

ใบงานท่ี 3.4 กรรม 12 (2) คําชแ้ี จง ใหนักเรียนอานเรื่อง คนดนี ําทางแทนคุณแผน ดนิ : นายปรพิ นธ วฒั นขาํ แลวตอบคําถาม นายปรพิ นธ วฒั นขาํ หรอื “ไฝ ทานตะวนั ” หรือ “ไฝ สนั ติภาพ” ครูอาสาดานเกษตร ดนตรเี พื่อชีวิต พืน้ บา น เขาเอาความรปู ระสบการณก ารเลน ดนตรพี นื้ บา นนาํ สกู ารประยุกตเ ขา กบั ภมู ิปญญาพนื้ บา น จนสรู ะดับ ดนตรสี ากล ทาํ งานรองเพลงและแตงเพลง บทบาทหนาท่ีของ ปริพนธ จากอดีตถงึ ปจจบุ นั กค็ ือ ประธานกลุมกิจกรรมเด็กและเยาวชน “หนอ ไมห วาน” จ.เลย และอีกกวา 30 ตําแหนง ข้ึนอยูกับกิจกรรมทางสังคมท่ีภาครัฐและเอกชนจะดึงเขาไปทํางาน เชน ชวยเหลือนกั เรยี น นกั ศึกษา กลมุ เกษตรกร ปราชญช าวบา นตามหมบู าน ปาเขา ชนบทท่ีหางไกลเปน ประจําทกุ เดอื น ในรูปแบบศลิ ปะพ้ืนบา นสือ่ อสี าน ควบคูไปกบั แนวทางอนุรกั ษธ รรมชาติ สิ่งแวดลอ ม ลุมน้ํา จนไดร บั ฉายา “ครอู าสาชนบทไทเลย” ในการผลติ เครอื่ งดนตรี ผลติ สื่อการเรยี นการสอน เครื่องมือ นายปริพนธ เขารวมเปน อาสาสมัครโครงการรว มอนรุ กั ษภ ูหลวง ที่ จ.เลย ดาํ เนินการจัดกจิ กรรมส่งิ แวดลอม ศึกษาคา ย “เดก็ นก ปา และศิลปะ” ในโครงการรว มอนรุ กั ษภ หู ลวง, รณรงคเผยแพรส่ิงแวดลอมและผลกระทบ ตามสถานศึกษาตางๆ ใน จ.เลย ในโครงการ “เพอ่ื นภหู ลวงทานตะวนั สัญจร”, เปนคณะทาํ งานและกรรมการ ตดั สินการประกวดโฟลก ซองเยาวชนตา นยาเสพตดิ จดั โดย อสมท เอ็ฟเอม็ 100 เมกะเฮริ ตซ และศูนยป องกนั ปราบปรามยาเสพติดจังหวดั เลย และมหาวิทยาลัยราชภฏั เลย (ครง้ั ที่ 1) รวมถึงกจิ กรรมคา ย “รักษนํา้ เลยรนุ แรก” ณ บานเลยตาดโนนพัฒนา (ตนนาํ้ เลย) ในโครงการรว มอนรุ ักษภหู ลวง จากการสนบั สนุนโดย องคการ กองทุนสตั วป า โลก (WWF) นายปรพิ นธ ยงั เปนครูอาสา เปน วิทยากรใหแ กภาคเอกชน กลุมประชาชน และราชการ ท้งั ไดรับ คา ตอบแทนและเปน การชว ยเหลอื ญาตๆิ เพ่ือนๆ ชว ยเหลือสังคม ปรพิ นธจะทําเสมอไมเก่ียงวาจะไดร ับหรือไม มาก-นอยเทาไร อีกทัง้ ยังรวมแตงเพลง เขาไปมสี ว นรวมในการแสดงดนตรี และแตง เพลงเกย่ี วกับสงั คมและ ส่งิ แวดลอ มในหลายคายเพลงอกี ดวย และดว ยผลงานการทํางานเพื่อสงั คมของเขา ลาสุดเขาไดร ับเชิดชูเกยี รติใน โครงการ “76 คนดี นาํ ทางแทนคณุ แผน ดนิ ” ที่ นสพ. คม ชัด ลกึ จัดขึ้นในฐานะเปนบุคคลตน แบบทีส่ รางแรง บันดาลใจใหแกส งั คม และทาํ ประโยชนใหแกชมุ ชน ที่มา : หนงั สอื พิมพ คม ชดั ลกึ ฉบับวนั อังคารที่ 22 กรกฎาคม 2553 คาํ ถาม • นายปริพนธ วัฒนขาํ มกี ารกระทาํ และผลการกระทําท่ีสอดคลอ งกับกรรมนยิ ม (กรรม 12) อยา งไร

เฉลย ใบงานท่ี 3.4 กรรม 12 (2) คาํ ชแี้ จง ใหนักเรียนอา นเร่ือง คนดนี าํ ทางแทนคุณแผน ดิน : นายปริพนธ วัฒนขํา แลวตอบคําถาม นายปริพนธ วัฒนขํา หรือ “ไฝ ทานตะวัน” หรือ “ไฝ สนั ติภาพ” ครอู าสาดา นเกษตร ดนตรีเพื่อชีวติ พ้นื บาน เขาเอาความรูประสบการณก ารเลน ดนตรีพนื้ บา นนาํ สกู ารประยุกตเขา กับภมู ปิ ญญาพืน้ บา น จนสูร ะดับ ดนตรีสากล ทาํ งานรองเพลงและแตงเพลง บทบาทหนา ที่ของ ปรพิ นธ จากอดีตถงึ ปจจุบนั กค็ ือ ประธานกลมุ กจิ กรรมเด็กและเยาวชน “หนอไมห วาน” จ.เลย และอีกกวา 30 ตําแหนง ข้ึนอยกู ับกจิ กรรมทางสงั คมทภี่ าครฐั และเอกชนจะดึงเขาไปทํางาน เชน ชว ยเหลือนกั เรียน นักศึกษา กลมุ เกษตรกร ปราชญชาวบานตามหมบู าน ปาเขา ชนบทท่ีหา งไกลเปนประจาํ ทกุ เดือน ในรปู แบบศิลปะพน้ื บานสอ่ื อสี าน ควบคูไปกับแนวทางอนรุ ักษธ รรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม ลมุ นํา้ จนไดร บั ฉายา “ครูอาสาชนบทไทเลย” ในการผลิตเครอ่ื งดนตรี ผลิตสื่อการเรยี นการสอน เครื่องมือ นายปริพนธ เขา รว มเปน อาสาสมคั รโครงการรว มอนุรกั ษภหู ลวง ท่ี จ.เลย ดําเนินการจดั กจิ กรรมสิง่ แวดลอม ศึกษาคาย “เดก็ นก ปา และศิลปะ” ในโครงการรว มอนรุ ักษภ ูหลวง, รณรงคเ ผยแพรส ิง่ แวดลอ มและผลกระทบ ตามสถานศึกษาตา งๆ ใน จ.เลย ในโครงการ “เพือ่ นภูหลวงทานตะวันสัญจร”, เปนคณะทาํ งานและกรรมการ ตัดสินการประกวดโฟลกซองเยาวชนตานยาเสพตดิ จัดโดย อสมท เอ็ฟเอม็ 100 เมกะเฮิรตซ และศนู ยป องกัน ปราบปรามยาเสพติดจงั หวดั เลย และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย (ครง้ั ที่ 1) รวมถึงกจิ กรรมคาย “รักษน ้าํ เลยรุน แรก” ณ บานเลยตาดโนนพัฒนา (ตนนํา้ เลย) ในโครงการรวมอนรุ ักษภหู ลวง จากการสนับสนุนโดย องคก าร กองทนุ สตั วปาโลก (WWF) นายปรพิ นธ ยงั เปน ครูอาสา เปนวทิ ยากรใหแ กภ าคเอกชน กลุมประชาชน และราชการ ทง้ั ไดรับ คา ตอบแทนและเปนการชวยเหลือญาติๆ เพ่ือนๆ ชวยเหลอื สงั คม ปรพิ นธจะทําเสมอไมเ กย่ี งวา จะไดร ับหรอื ไม มาก-นอ ยเทาไร อีกทัง้ ยังรว มแตง เพลง เขาไปมีสว นรวมในการแสดงดนตรี และแตง เพลงเก่ยี วกบั สงั คมและ ส่งิ แวดลอมในหลายคายเพลงอีกดว ย และดว ยผลงานการทํางานเพื่อสังคมของเขา ลา สุดเขาไดร บั เชดิ ชูเกียรติใน โครงการ “76 คนดี นําทางแทนคณุ แผน ดิน” ที่ นสพ. คม ชดั ลึก จัดขนึ้ ในฐานะเปนบุคคลตน แบบทสี่ รางแรง บนั ดาลใจใหแกส งั คม และทําประโยชนใ หแกชุมชน ที่มา : หนงั สอื พมิ พ คม ชดั ลกึ ฉบับวนั อังคารที่ 22 กรกฎาคม 2553 คาํ ถาม • นายปรพิ นธ วฒั นขาํ มีการกระทาํ และผลการกระทําท่สี อดคลอ งกับกรรมนยิ ม (กรรม 12) อยางไร 1) กรรมใหผลทนั ตาเห็นหรือในชาตนิ ้ี (ทฏิ ฐธัมมเวทนียกรรม) เขาทํางานเพ่ือสว นรวม กจิ กรรมทางสังคม ภาครัฐ และเอกชน ทางดา นศิลปะพื้นบา น อนรุ กั ษธ รรมชาติ สง่ิ แวดลอม ลุมนาํ้ จงึ ไดร ับการเชิดชูเกยี รติใน โครงการ “76 คนดี นาํ ทางแทนคุณแผนดิน” แสดงใหเ หน็ วา การกระทําดีของเขาเห็นผลทันตา มีองคกรที่เหน็ ผลงานของเขา 2) กรรมใหผ ลในระยะเวลานานขางหนาหรือในชาติตอ ๆ ไป (อปราปรเวทนียกรรม) การกระทําของเขาทาํ ใหค นในสงั คมยอมรับ ทงั้ ในกลมุ นักเรยี น นกั ศึกษา เกษตรกร ปราชญ ชาวบา นตามหมบู าน ชาวชนบททว่ั ไป ยอ มทาํ ใหทุกคนเปน มิตรกบั เขา และเมื่อเขาจะทํากิจกรรมใดกย็ อมจะมีคนใหความรวมมอื ในภายหนา

ใบงานท่ี 3.5 มิจฉาวณชิ ชา 5 คาํ ชแี้ จง ใหน ักเรยี นวิเคราะหภาพ และตอบคําถามทกี่ ําหนดให ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพท่ี 3 คาํ ถาม • ภาพแตล ะภาพสอดคลอ งกับมจิ ฉาวณชิ ชา 5 ในขอใด จงบอกผลท่ีไดรับ

เฉลย ใบงานท่ี 3.5 มิจฉาวณชิ ชา 5 คาํ ชีแ้ จง ใหนกั เรยี นวิเคราะหภ าพ และตอบคําถามท่กี ําหนดให ภาพท่ี 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 คาํ ถาม • ภาพแตละภาพสอดคลอ งกบั มจิ ฉาวณิชชา 5 ในขอ ใด จงบอกผลที่ไดรับ ภาพที่ 1 สอดคลองกบั การคา ขายอาวธุ (สัตถวณิชชา) การคาอาวุธมผี ลทําใหคนใชอ าวุธทาํ ลายลางกัน ฆา ฟนกันมีผลเสียตอการดาํ เนินชวี ิต และผทู ่ีคาขายอาวธุ ยอมถกู ดําเนนิ คดตี ามกฎหมายอีกดว ย ภาพที่ 2 เปน การคา ขายเน้ือสัตว (มงั สวณชิ ชา) การคาสตั วไ วขายเปนการสนบั สนนุ ใหมีการฆา สตั วหรอื ฆา ผอู ื่น ภาพที่ 3 เปนการคาขายนํ้าเมา (มัชชวณิชชา) การคา ขายของเมายอมทาํ ใหผ ูซื้อไปด่ืมขาดสติ สามารถทําสิ่ง ตางๆโดยขาดความยบั ย้ังชงั่ ใจ และถา เปด บริการใหด มื่ ทรี่ าน เมือ่ ผดู ่มื เมาอาละวาดอาจทําลายทรัพยส นิ ส่งิ ของ ในรา นของผจู ําหนาย

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 10 ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 กลุม สาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา 1 ช่ัวโมง หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เร่ือง วิมตุ ติ 5 1. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด การปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมวิมุตติ 5 ยอมสง ผลตอการหลดุ พน จากกิเลส 2. ตวั ช้วี ดั /จุดประสงคก ารเรียนรู 2.1 ตวั ชวี้ ัด ส 1.1 ม.4-6/13วิเคราะหห ลักธรรมในกรอบอรยิ สจั 4 หรือหลกั คาํ สอนของศาสนาทตี่ นนบั ถือ 2.2 จุดประสงคการเรยี นรู - วิเคราะหผ ลของการปฏิบตั ิตนตามหลักวิมุตติ 5 ได 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง • อรยิ สจั 4 - นิโรธ (ธรรมทค่ี วรบรรลุ) (1) วมิ ุตติ 5 3.2 สาระการเรียนรูทองถน่ิ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห 2) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 3) ทักษะการประยุกตใชความรู 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ รยี นรู

6. กจิ กรรมการเรียนรู วธิ สี อนแบบบรรยาย (นักเรยี นสวดมนตบูชาพระรตั นตรยั และทําสมาธิกอนเรยี นทกุ ช่วั โมง) ขน้ั นาํ เขา สูบทเรยี น ขนั้ ที่ 1 เสนอหลกั การหรือขอเทจ็ จรงิ ครูใหนักเรยี นดูภาพคนบรจิ าคทานใหแ กคนจน คนท่เี ดือดรอนจากภัยพบิ ัติ คนทําบุญตักบาตร คนน่งั สมาธิ เดินจงกรม และใหน กั เรยี นชว ยกนั วเิ คราะหว า ภาพดังกลาวมีความเหมือนและความแตกตา งกนั อยางไร ซงึ่ นักเรยี นสามารถตอบได หลากหลาย เชน - สว นที่เหมือนกนั หรือคลายกัน ก็คือ ทุกคนพยายามทําในสิง่ ที่ดงี าม เปนการกระทาํ ท่ีแสดงถงึ ความพยายามใน การตดั กิเลส - สว นที่แตกตางกนั คอื คนบริจาคทาน ทาํ บุญตักบาตรนัน้ เปนการปฏิบัตดิ ีทางกาย ทางวัตถุ สงิ่ ของ คนที่น่ัง สมาธิ เดนิ จงกลมน้ันเปน การปฏิบตั ิฝกการควบคุมทางดานจิตใหเปน ไปในทางทีด่ ีงาม ข้นั สอน ข้ันที่ 2 ซกั ไซไลเ รียง 1. ครูอธิบายเชอื่ มโยงใหน กั เรยี นเขา ใจวา การกระทาํ ของบคุ คลในขนั้ ที่ 1 นั้น สอดคลองกับวิมุตติ 5 ดังนี้ - ขอที่ 1 วกิ ขมั ภนวิมตุ ติ คือ การหลดุ พนจากกิเลสช่ัวคราวดว ยอาํ นาจของ “ฌาน” ทข่ี มไว - ขอที่ 2 ตทังควิมตุ ติ คือ การดับกิเลสดว ยองคธรรมที่ตรงกนั ขา ม เชน การใหท าน ละกเิ ลส เจริญเมตตา - ขอ ที่ 3 สมจุ เฉทวิมุตติ คือ การหลดุ พนโดยเดด็ ขาดเปน การละกิเลส - ขอที่ 4 ปฏปิ สสัทธิวมิ ุตติ คือ การหลุดพน โดยอาศยั โลกตุ ตรธรรมดบั กเิ ลสโดยเด็ดขาด - ขอที่ 5 นสิ สรณวิมตุ ติ คือ การดับกิเลสไดอยา งถาวร คือ ขั้นปญญานนั่ เอง (สองขอแรกจดั เปน โลกยิ วิมตุ ติ สวนสามขอ หลังจดั เปน โลกตุ ตรวิมตุ ต)ิ 2. นักเรยี นตอบคาํ ถามกระตุนความคิด • นักเรยี นคดิ วา บคุ คลทว่ั ไปสามารถปฏบิ ัตติ นใหหลดุ พนจากกเิ ลสชั่วคราว (วกิ ขัมภนวมิ ุตต)ิ ไดห รือไม จงอธบิ ายเหตุผล (พจิ ารณาตามคําตอบของนักเรยี น โดยใหอ ยใู นดุลยพินิจของครผู สู อน) 3. ครูใหน กั เรียนชว ยกันตอบคําถามตอไปน้ี - ทาํ ไมบุคคลจึงตองพยายามหาหนทางสกู ารหลดุ พน - บุคคลสามารถหลดุ จากกิเลสชั่วคราวไดอ ยางไรบา ง - นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิตนใหหลุดพนจากกิเลสชั่วคราวไดห รือไม 4. ครอู ธิบายเพมิ่ เติมถงึ แนวทางการปฏบิ ัตติ นของบุคคลท่ีจะนําไปสูการหลุดพนจากกเิ ลสช่ัวคราว และการดับกเิ ลสดวย องคธ รรม ข้ันสรปุ ขน้ั ที่ 3 สรุปใจความสําคัญ ครูและนกั เรยี นรว มกันสรุปความรเู ก่ียวกบั วิมตุ ติ 5 ลักษณะสําคญั ของความหลดุ พน จากกิเลส 5 ประการ

7. การวัดและประเมนิ ผล เครอื่ งมือ เกณฑ วิธีการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล รายบุคคล เกณฑ สังเกตความมีวนิ ัย และใฝเรียนรู แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ 8. ส่ือ/แหลงการเรียนรู 8.1 ส่ือการเรียนรู - บัตรภาพ 8.2 แหลงการเรยี นรู —

บตั รภาพ  ภาพคนบริจาคทานให้แก่คนจน ภาพคนท่ีเดอื ดรอ้ นจากภยั พิบตั ิ ภาพคนทาํ บุญตกั บาตร ภาพคนนัง่ สมาธิ ภาพคนเดินจงกรม ท่ีมา : ภาพท่ี 1 http://www.khonmuang.com 1 2 ภาพท่ี 2 http://www.sukhothainews.net 34 ภาพท่ี 3 http://www.koratdailynews.com 5 ภาพท่ี 4 http://www.kroobannok.com/blog/18639 ภาพท่ี 5 http://www.dhammaforlife1.blogspot.com

แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 11 ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 5 กลมุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา 2 ช่ัวโมง หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เรอื่ ง อปรหิ านิยธรรม 7 1. สาระสาํ คัญ/ความคดิ รวบยอด การปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมอปริหายธรรม 7 ยอมเปน ทางทีจ่ ะนําไปสูความดบั ทุกข 2. ตวั ชวี้ ัด/จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 2.1 ตวั ช้ีวัด ส 1.1 ม.4-6/13วเิ คราะหหลักธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักคาํ สอนของศาสนาท่ีตนนับถือ 2.2 จดุ ประสงคการเรยี นรู - วเิ คราะหผ ลของการปฏบิ ตั ิตนตามหลักอปรหิ านยิ ธรรม 7 และสามารถนําไปประยกุ ตป ฏบิ ตั ไิ ด 3. สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรแู กนกลาง • อริยสจั 4 - มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) (1) อปริหานิยธรรม 7 3.2 สาระการเรียนรทู องถิ่น (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการวเิ คราะห 2) ทักษะการสรปุ ลงความเห็น 3) ทักษะการประยกุ ตใชความรู 4.3 ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ รียนรู 3. มุงมน่ั ในการทาํ งาน 4. มีความรบั ผิดชอบ

6. กจิ กรรมการเรยี นรู วธิ ีสอนแบบธรรมสากจั ฉา (นกั เรียนสวดมนตบ ูชาพระรัตนตรยั และทาํ สมาธกิ อนเรยี นทุกช่วั โมง) ช่ัวโมงท่ี 1 ข้นั นาํ เขาสูบ ทเรยี น 1. ครนู าํ ขา วเกยี่ วกบั การทาํ งานรว มกนั ของกลมุ บุคคล สมาคม องคกรตา งๆ ซ่ึงมผี ลงานที่ประสบความสําเรจ็ มาเลาให นักเรียนฟง จากนั้นใหนกั เรยี นแสดงความคิดเห็นวา เพราะเหตุใด การทํากิจกรรมตางๆ ดังกลาวถงึ ประสบความสําเร็จ 2. ครูอธิบายเชือ่ มโยงใหน กั เรยี นเขาใจวา ความสําเร็จของตวั อยางน้นั สอดคลองกบั หลักธรรมอปรหิ านยิ ธรรม 7 3. นักเรียนตอบคาํ ถามกระตนุ ความคดิ  นักเรียนเห็นดว ยหรอื ไมกับคํากลาวทีว่ า “สามคั คี คอื พลัง” (พิจารณาตามคําตอบของนกั เรียน โดยใหอ ยใู นดุลยพินิจของครผู ูส อน) ขน้ั สอน 1. แสวงหาความรู 1. ครใู หนักเรยี นกลุมเดมิ (จากแผนการจัดการเรยี นรูที่ 1) รว มกันศึกษาความรูเร่ือง อปรหิ านยิ ธรรม 7 จาก หนงั สือเรียน หนังสือคนควาเพิม่ เตมิ หองสมดุ และแหลง ขอมูลสารสนเทศ 2. นกั เรียนนําความรูที่ไดจากการศึกษามาบันทึกลงในสมุด 2. คนพบความรู/สนทนาแลกเปล่ยี นความรู 1. สมาชิกแตล ะกลมุ นําความรทู ่ีไดศึกษามาผลดั กนั อธบิ ายแลกเปลยี่ นความรกู นั ในสาระสําคญั ของอปริ หานยิ ธรรม 7 และชวยกนั ยกตวั อยา งการกระทาํ ของกลุมบุคคลทสี่ อดคลอ งกบั หลักธรรมอปรหิ านิยธรรม 7  ในการแขงขันกีฬาสีประจําป ถาคณะสีฟาตองการรบั ชัยชนะการประกวดและแขงขนั ทุกประเภท จะนาํ หลกั ธรรม อปรหิ านิยธรรมมาเปนหลกั ในการปฏิบตั อิ ยา งไร จงยกตัวอยาง (พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยใหอ ยูใ นดุลยพินจิ ของครผู ูสอน) 2. ครูมอบหมายใหสมาชิกแตละกลุม รวบรวมขอ มลู เกีย่ วกับกลมุ บุคคลหรอื องคกรท่ีมกี ารกระทําหรอื กจิ กรรมท่ีสอดคลองกับหลักธรรมอปรหิ านิยธรรม 7 เพือ่ นาํ มาเปน ขอมูลในการทาํ กิจกรรมในช่ัวโมงตอ ไป

ชั่วโมงที่ 2 3. วเิ คราะหแ ละประเมินคาความรู 1. สมาชิกแตล ะกลมุ นาํ ขอมูลมาผลัดกนั เลาเรือ่ งบุคคลทม่ี ีการกระทาํ หรือกิจกรรมท่สี อดคลองกับหลักธรรม อปรหิ านิยธรรม 7 แลวรวมกนั คดั เลือกมา 1 เรือ่ ง จากน้ันนํามาวเิ คราะหเพื่อตอบตามประเด็นที่กาํ หนดในใบงาน ที่ 3.6 เร่ือง อปริหานิยธรรม 7 2. ตัวแทนกลมุ นาํ เสนอคาํ ตอบในใบงานที่ 3.6 หนาช้ันเรยี น สมาชิกกลุมอืน่ ชวยกันแสดงความคิดเห็น เพม่ิ เติมครตู รวจสอบความถกู ตอง 3. นักเรยี นตอบคําถามกระตนุ ความคิด 4. พิสจู นความรหู รือปฏบิ ตั ิ 1. ครใู หสมาชิกแตละกลุม รวมกันวางแผนปฏิบัติตนตามหลักธรรมอปรหิ านยิ ธรรม 7 2. สมาชกิ แตล ะกลุม ดาํ เนนิ กจิ กรรมตามแผนงานทกี่ ําหนดไวแ ลวบนั ทึกผลการปฏิบตั ิสง ครูตามกําหนด ระยะเวลาท่ตี กลงกัน ข้นั สรุป นกั เรียนและครรู ว มกันสรุปประเด็นสาํ คญั ของหลักธรรมอปรหิ านิยธรรม 7 และแนวทางการปฏบิ ตั ติ นอยางเหมาะสม 7. การวัดและประเมินผล เครื่องมอื เกณฑ วิธกี าร ใบงานท่ี 3.6 รอยละ 60 ผา นเกณฑ ตรวจใบงานท่ี 3.6 ตรวจแบบบันทกึ การอา น แบบบันทึกการอาน ระดับคุณภาพ 2 ผา น เกณฑ ประเมนิ การนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา น สงั เกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล เกณฑ สงั เกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทํางาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน สงั เกตความมีวินยั ใฝเ รยี นรู มงุ มั่นในการ รายบุคคล เกณฑ ทํางาน และมคี วามรบั ผิดชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลมุ ระดบั คุณภาพ 2 ผาน เกณฑ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดบั คุณภาพ 2 ผา น เกณฑ

8. ส่อื /แหลงการเรียนรู 8.1 สอ่ื การเรียนรู 1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.5 2) หนงั สือคน ควาเพ่ิมเติม - เสฐียรพงษ วรรณปก. 2545. ธรรมะนอกธรรมาสน. กรุงเทพมหานคร : มตชิ น. 3) ตวั อยางขาว 4) ใบงานท่ี 3.6 เร่อื ง อปรหิ านยิ ธรรม 7 8.2 แหลง การเรยี นรู 1) หอ งสมุด 2) แหลงขอ มูลสารสนเทศ - http://mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m5/web/hungtoom/p8.php


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook