Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พืชไร่เศรษฐกิจ

Description: พืชไร่เศรษฐกิจ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ ดรุณี พวงบตุ ร ปร.ด. (พืชไร่) คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี 2560

คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา พืชไร่เศรษฐกิจ รหัส PT03201 ได้แบ่งเน้ือหาในการเรียน การสอนไว้ 8 หัวข้อเรื่อง แต่ละหัวข้อเร่ืองใช้เวลาในการสอน 1-2 สัปดาห์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในเรื่องการผลิต การตลาด และการแปรรูปพืชไร่เศรษฐกิจที่สาคัญได้ อาทิ ข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง อ้อยปาลม์ น้ามนั ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ และพืชตระกูลถัว่ โดยมีเน้ือหาที่เกี่ยวข้อง กับความสาคัญของพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ วิธีการปลูกและการเก็บเก่ียว สถานการณ์การผลิต และการตลาด การแปรรปู และผลติ ภัณฑ์ทีส่ าคญั ผู้สอนหวังว่าเอกสารประกอบการสอนนี้ คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาพืชไร่ เศรษฐกิจตามสมควร หากท่านท่ีนาไปใช้มีข้อเสนอแนะผู้เขียนยินดีรับฟังและขอขอบคุณในความ อนเุ คราะห์นนั้ ณ โอกาสนีด้ ว้ ย ดรณุ ี พวงบตุ ร สงิ หาคม 2560

สารบัญ คานา หนา้ สารบัญ ก สารบัญภาพ ค สารบญั ตาราง ช แผนบริหารการสอนประจาวชิ า ฐ แผนการสอนประจาบทท่ี 1 ฒ บทที่ 1 พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ 1 3 ความสาคญั ของพืชไร่เศรษฐกิจ 3 ยทุ ธศาสตร์การวจิ ัยดา้ นการเกษตรและอตุ สาหกรรมการเกษตรของไทย 4 ชนดิ ของพืชไรเ่ ศรษฐกจิ 5 สรุป 14 แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 1 15 เอกสารอา้ งอิง 16 แผนการสอนประจาบทท่ี 2 17 บทที่ 2 ข้าว 19 ขา้ วและความสาคัญ 19 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 19 การปลูกและการเก็บเกี่ยว 27 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 30 การแปรรปู และผลิตภัณฑ์ 36 สรุป 39 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 2 40 เอกสารอา้ งอิง 41 แผนการสอนประจาบทที่ 3 43 บทที่ 3 ยางพารา 45 ยางพาราและความสาคัญ 45 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 46 การปลูกและการกรีดยาง 52 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 57 การแปรรปู และผลติ ภัณฑ์ 64 สรปุ 69 แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 3 70 เอกสารอ้างองิ 71

ง| หนา้ 73 สารบัญ (ตอ่ ) 75 75 แผนการสอนประจาบทท่ี 4 75 บทท่ี 4 มนั สาปะหลัง 81 85 มันสาปะหลังและความสาคัญ 94 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 96 การปลูกและการเก็บเกี่ยว 97 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 98 การแปรรูปและผลิตภณั ฑ์ 99 สรปุ 101 แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 4 101 เอกสารอา้ งอิง 102 แผนการสอนประจาบทท่ี 5 108 บทที่ 5 ออ้ ย 112 อ้อยและความสาคัญ 119 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 120 การปลูกและการเกบ็ เกย่ี ว 122 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 123 ผลิตภัณฑ์และผลพลอยจากอ้อย 125 สรปุ 127 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 5 127 เอกสารอ้างองิ 127 แผนการสอนประจาบทที่ 6 132 บทที่ 6 ปาล์มนามัน 135 ปาลม์ น้ามนั และความสาคัญ 143 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 147 การปลกู และการเก็บเกีย่ ว 148 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 149 การแปรรปู และผลิตภณั ฑ์ สรปุ แบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 6 เอกสารอ้างองิ

สารบญั (ต่อ) |จ แผนการสอนประจาบทท่ี 7 151 บทที่ 7 ข้าวโพดเลยี งสัตว์ 153 153 ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์และความสาคญั 154 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 159 การปลูกและการเก็บเกยี่ ว 163 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 172 การแปรรปู และผลิตภัณฑ์ 175 สรปุ 176 แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 7 177 เอกสารอา้ งอิง 179 แผนการสอนประจาบทท่ี 8 181 บทที่ 8 พืชตระกลู ถ่ัว 181 พืชตระกูลถัว่ และความสาคัญ 181 ถว่ั เหลือง 201 ถ่ัวเขียว 214 ถว่ั ลิสง 231 สรปุ 232 แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 8 233 เอกสารอ้างองิ 235 บรรณานุกรม 241 ภาคผนวก

สารบญั ภาพ ภาพที่ 1-1 นาข้าว หน้า ภาพท่ี 1-2 สวนยางพารา ภาพที่ 1-3 หัวมนั สาปะหลัง 6 ภาพที่ 1-4 การเกบ็ เกยี่ วอ้อย 7 ภาพท่ี 1-5 ปาล์มนา้ มนั 8 ภาพที่ 1-6 ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ 8 ภาพที่ 1-7 ถั่วเขยี ว 9 ภาพท่ี 1-8 ถว่ั เหลอื ง 10 ภาพท่ี 1-9 ถ่วั ลิสง 11 ภาพที่ 2-1 ลกั ษณะรากขา้ ว 12 ภาพที่ 2-2 ลกั ษณะลาตน้ ข้าว 13 ภาพท่ี 2-3 ลักษณะใบข้าว 20 ภาพท่ี 2-4 ลักษณะดอกขา้ ว 20 ภาพท่ี 2-5 ลักษณะเมล็ดข้าว 21 ภาพท่ี 2-6 แหลง่ กาเนิดของข้าว 22 ภาพท่ี 2-7 ระยะการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของขา้ ว 22 ภาพที่ 2-8 พนื้ ที่ปลกู ข้าวของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลกในปกี ารผลติ 2010- 23 ภาพที่ 2-9 2014 25 ภาพที่ 2-10 ผลผลิตขา้ วของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปกี ารผลติ 2010-2014 30 ภาพท่ี 2-11 ผลผลิตตอ่ พ้ืนท่ขี ้าวของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต ภาพที่ 2-12 2010-2014 31 ภาพที่ 2-13 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกขา้ วของประเทศ 5 อนั ดับแรกของโลกในปี 31 ภาพที่ 2-14 การผลิต 2010-2013 ภาพที่ 2-15 ปรมิ าณและมลู ค่าการนาเข้าข้าวของประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลกในปี 32 ภาพที่ 3-1 การผลติ 2010-2013 ภาพท่ี 3-2 พน้ื ทเี่ ก็บเกยี่ ว ผลผลิต ผลผลติ ตอ่ ไร่ ของไทย ในปี 2550-59 33 ภาพที่ 3-3 พืน้ ทป่ี ลกู ขา้ วของไทย ภาพท่ี 3-4 ตวั อย่างผลติ ภณั ฑ์แปรรปู จากข้าว 34 ลกั ษณะรากยางพารา 35 ลักษณะลาต้นยางพารา 38 ลักษณะใบยางพารา 46 ลักษณะดอกยางพารา 47 47 48

ซ| สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 3-5 ลกั ษณะผลและเมลด็ ยางพารา 49 ภาพที่ 3-6 นา้ ยางพารา 50 ภาพท่ี 3-7 แหล่งกาเนดิ ของยางพารา 51 ภาพที่ 3-8 ระยะการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของยางพารา 51 ภาพท่ี 3-9 พื้นท่ีเก็บเกยี่ วยางพาราของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลก ในปกี ารผลิต 57 ภาพท่ี 3-10 2555-2559 ภาพที่ 3-11 ผลผลติ ยางพาราของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 2012- 58 ภาพท่ี 3-12 2016 ภาพท่ี 3-13 ผลผลติ ต่อพื้นท่ยี างพาราของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิ 59 ภาพที่ 3-14 2012-2016 ภาพท่ี 3-15 ปรมิ าณการส่งออกยางพาราของประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลก ในปกี าร 61 ภาพท่ี 4-1 ผลิต 2012-2016 ภาพท่ี 4-2 พื้นที่ปลูก ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ ของไทย ในปี 2551-2560 62 ภาพท่ี 4-3 สถานการณ์การตลาดยางพาราของไทย ในปี 2556-2560 63 ภาพที่ 4-4 ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากยางพารา 68 ภาพท่ี 4-5 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์มันสาปะหลงั 76 ภาพที่ 4-6 ลกั ษณะรากและหวั มันสาปะหลงั 76 ภาพที่ 4-7 ลักษณะลาตน้ มันสาปะหลัง 77 ภาพที่ 4-8 ลักษณะใบมันสาปะหลงั 78 ภาพที่ 4-9 ลักษณะดอกมันสาปะหลงั 78 ภาพที่ 4-10 แหล่งกาเนดิ ของมันสาปะหลัง 80 ภาพที่ 4-11 พ้นื ที่เก็บเกี่ยวมนั สาปะหลงั ใน 10 ประเทศผผู้ ลติ สาคัญ ต้ังแต่ปี 2555 ถงึ 85 ภาพท่ี 4-12 2559 ผลผลิตมนั สาปะหลงั ของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปีการผลติ 86 2555-2559 ผลผลิตต่อพน้ื ทมี่ นั สาปะหลังของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลกในปีการ 87 ผลิต 2555-2559 ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังของประเทศผู้ส่งออกสาคัญ 4 88 ประเทศ ในปกี ารผลติ 2555-2559 พนื้ ทป่ี ลกู ผลผลติ ผลผลิตต่อไร่ ของไทย ในปี 2552-61 89 ปรมิ าณการสง่ ออกผลิตภัณฑ์มนั สาปะหลงั ของไทยปีการผลิต 2552- 91 2560

|ฌ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ ภาพที่ 4-13 ราคาทเี่ กษตรกรขายมันสาปะหลังในรูปหวั สด มันเส้น และแปง้ มนั ในปี 93 ภาพที่ 4-14 2550-2559 ภาพที่ 5-1 ตวั อยา่ งผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมนั สาปะหลงั 95 ภาพท่ี 5-2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรข์ องอ้อย 103 ภาพท่ี 5-3 ลักษณะรากออ้ ย 103 ภาพที่ 5-4 ชนดิ ของรากของอ้อย 104 ภาพที่ 5-5 ลักษณะลาตน้ อ้อย 105 ภาพที่ 5-6 ลกั ษณะใบอ้อย 105 ภาพที่ 5-7 ลักษณะดอกอ้อย 106 ภาพที่ 5-8 ระยะการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของอ้อย 108 ภาพท่ี 5-9 วิธีการปลกู อ้อยด้วยเครื่องปลูก และการใช้แรงงานคน 109 ภาพท่ี 5-10 พื้นท่ีปลูกออ้ ยของประเทศ 10 อันดบั แรกของโลกในปกี ารผลติ 2556-59 112 ภาพท่ี 5-11 ผลผลติ อ้อยของประเทศ 10 อนั ดบั แรกของโลกในปกี ารผลิต 2556-59 113 ภาพท่ี 5-12 ผลผลิตต่อพ้ืนที่อ้อยของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 113 ภาพท่ี 5-13 2556-59 ภาพท่ี 6-1 พน้ื ทป่ี ลูกอ้อยของไทย 116 ภาพที่ 6-2 ผลติ ภัณฑแ์ ละผลพลอยจากอ้อย 119 ภาพที่ 6-3 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรป์ าลม์ นา้ มัน 128 ภาพที่ 6-4 ลักษณะรากปาลม์ นา้ มัน 128 ภาพท่ี 6-5 ลกั ษณะลาตน้ ปาลม์ น้ามัน 129 ภาพท่ี 6-6 ลกั ษณะใบปาลม์ นา้ มัน 129 ภาพที่ 6-7 ลักษณะดอกปาลม์ น้ามัน 130 ภาพที่ 6-8 ลกั ษณะผลและเมลด็ ปาล์มน้ามัน 130 ภาพที่ 6-9 วิธกี ารปลูกปาลม์ น้ามันทีเ่ หมาะสม 132 ภาพที่ 6-10 พน้ื ทีเ่ ก็บเก่ียวปาล์มน้ามนั ใน 5 ประเทศผู้ผลิตสาคัญ ตงั้ แต่ปี 2555 ถงึ 135 ภาพท่ี 6-11 2559 ภาพที่ 6-12 ผลผลติ ปาลม์ น้ามนั ของประเทศ 5 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 2555- 136 2559 ผลผลิตต่อพ้นื ที่ปาล์มน้ามันของประเทศ 5 อันดบั แรกของโลกในปีการผลิต 136 2555-59 พื้นทป่ี ลกู ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ปาลม์ น้ามันของไทย ในปี 2551-2559 138 สดั ส่วนความตอ้ งการใช้ปาล์มนา้ มนั ในการบรโิ ภคและผลติ ไบโอดีเซล 139

ญ| สารบัญภาพ (ตอ่ ) หนา้ ภาพท่ี 6-13 พ้ืนท่ีปลูกปาล์มน้ามันของไทย 140 ภาพที่ 6-14 สถานการณ์การตลาดปาลม์ น้ามนั ของไทย ในปี 2556 - 2560 142 ภาพที่ 6-15 ราคาท่ีเกษตรกรขายปาล์มน้ามัน ในปี 2555 - 2560 142 ภาพท่ี 6-16 การแปรรปู และอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งของปาล์มน้ามัน 143 ภาพท่ี 6-17 ตวั อย่างผลิตภัณฑ์แปรรปู จากปาล์มนา้ มัน 146 ภาพที่ 7-1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องขา้ วโพด 154 ภาพที่ 7-2 ลกั ษณะรากขา้ วโพด 154 ภาพที่ 7-3 ลักษณะลาตน้ ขา้ วโพด 155 ภาพที่ 7-4 ลกั ษณะใบข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 155 ภาพที่ 7-5 ลักษณะดอกข้าวโพด 156 ภาพที่ 7-6 ลกั ษณะฝักและเมล็ดข้าวโพด 156 ภาพที่ 7-7 แหลง่ กาเนิดของขา้ วโพด 157 ภาพท่ี 7-8 ระยะการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของข้าวโพด 159 ภาพท่ี 7-9 พ้ืนทเ่ี ก็บเกีย่ วขา้ วโพดใน 10 ประเทศผู้ผลติ สาคัญ ตง้ั แต่ปี 2004 - 2013 163 ภาพท่ี 7-10 ผลผลิตข้าวโพดของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 2004 - 164 ภาพที่ 7-11 2013 ภาพท่ี 7-12 164 ภาพท่ี 7-13 ผลผลิตต่อพืน้ ท่ีข้าวโพดของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปีการผลิต ภาพที่ 7-14 2004-2013 166 ภาพที่ 7-15 ภาพที่ 7-16 ปริมาณการส่งออกข้าวโพดของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปกี าร 167 ภาพท่ี 7-17 ผลติ 2004 - 2013 ภาพที่ 7-18 มูลค่าการส่งออกข้าวโพดของประเทศ 10 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 168 ภาพที่ 7-19 2004-2013 168 ภาพที่ 7-20 169 ภาพที่ 7-21 พื้นท่ปี ลกู ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ ของไทย ในปี 2550-2556 171 ภาพที่ 7-22 พ้นื ที่ปลูกข้าวโพดเล้ียงสตั วข์ องไทย 172 การตลาดข้าวโพดเล้ียงสัตว์ของไทย ในปี 2552 - 2556 172 ราคาทีเ่ กษตรกรขายข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในปี 2550 - 2559 173 การผลติ เปน็ อาหารสตั ว์ 173 การผลติ เปน็ แปง้ 174 การผลติ เปน็ น้ามันพืช การผลติ เป็นน้าเช่อื มข้าวโพด การผลติ เป็นผลิตภัณฑเ์ คร่ืองสาอาง

|ฎ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ ภาพที่ 8-1 ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของลาตน้ ถั่วเหลือง แบบไมท่ อดยอด 182 ภาพท่ี 8-2 ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตของลาตน้ ถั่วเหลือง แบบทอดยอด 183 ภาพที่ 8-3 ลกั ษณะรากถ่วั เหลือง 183 ภาพท่ี 8-4 ลักษณะลาตน้ ถั่วเหลอื ง 184 ภาพท่ี 8-5 ลกั ษณะใบถว่ั เหลือง 185 ภาพที่ 8-6 ลกั ษณะดอกถ่ัวเหลือง 186 ภาพที่ 8-7 ลักษณะฝกั ถัว่ เหลอื ง 187 ภาพท่ี 8-8 ลักษณะเมลด็ ถว่ั เหลือง 187 ภาพท่ี 8-9 แหล่งกาเนดิ ของถั่วเหลอื ง 188 ภาพที่ 8-10 ระยะการเจริญเติบโตทางด้านลาต้น 189 ภาพที่ 8-11 ระยะการเจริญเติบโตทางการเจริญพันธ์ุ 189 ภาพที่ 8-12 พื้นทป่ี ลูกถ่วั เหลอื งใน 5 ประเทศผผู้ ลิตสาคญั ตงั้ แต่ปี 2555 - 2559 193 ภาพที่ 8-13 ผลผลติ ถ่ัวเหลอื งของประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลกในปกี ารผลิต ต้ังแตป่ ี 194 ภาพที่ 8-14 2555- 2559 ภาพท่ี 8-15 ผลผลิตต่อพ้ืนที่ถ่ัวเหลืองของประเทศ 5 อันดับแรกของโลก ตั้งแต่ปี 194 ภาพท่ี 8-16 2555- 2559 ภาพที่ 8-17 พน้ื ที่ปลกู ผลผลติ รวม และผลผลิตต่อไร่ของถ่ัวเหลืองของไทย ในปี 2550 196 ภาพท่ี 8-17 -2559 ภาพท่ี 8-19 พ้นื ทป่ี ลูกถวั่ เหลอื งของไทย 197 ภาพท่ี 8-20 ตวั อย่างผลติ ภัณฑ์จากถวั่ เหลอื ง 200 ภาพที่ 8-21 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของถ่ัวเขียว 201 ภาพที่ 8-22 ลักษณะรากถัว่ เขียว 202 ภาพที่ 8-23 ลักษณะต้นถ่ัวเขียว 202 ภาพท่ี 8-24 ลักษณะใบถว่ั เขยี ว 203 ภาพท่ี 8-25 ลักษณะดอกถวั่ เขียว 203 ภาพที่ 8-26 ลกั ษณะฝกั ละเมล็ดถว่ั เขียว 204 ภาพที่ 8-27 แหล่งกาเนดิ ของถวั่ เขียว 204 พื้นทเ่ี ก็บเก่ียวถ่วั เขยี วใน 7 ประเทศผู้ผลติ สาคัญ ตั้งแตป่ ี 2555 - 2559 208 ผลผลติ ถ่ัวเขยี วใน 7 ประเทศผ้ผู ลิตสาคัญ ตัง้ แตป่ ี 2555 - 2559 209 ผลผลิตตอ่ พน้ื ทถ่ี ว่ั เขียวใน 7 ประเทศผูผ้ ลิตสาคัญ ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 209

ฏ| สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 8-28 ปรมิ าณการส่งออกถว่ั เขยี วใน 5 ประเทศผู้ส่งออกสาคัญ ตั้งแต่ปี 2552 - 210 ภาพที่ 8-29 2556 ภาพท่ี 8-30 ปริมาณการนาเข้าถั่วเขียวใน 5 ประเทศผู้ส่งออกสาคัญ ตั้งแต่ปี 2552 - 210 ภาพท่ี 8-31 2556 ภาพท่ี 8-32 ตวั อย่างผลิตภัณฑจ์ ากถ่ัวเขียว 213 ภาพท่ี 8-33 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของถ่วั ลสิ ง 214 ภาพท่ี 8-34 ลกั ษณะรากถัว่ ลิสง 215 ภาพที่ 8-35 ลักษณะใบถ่ัวลิสง 215 ภาพที่ 8-36 ลักษณะทรงต้นถั่วลิสง 216 ภาพที่ 8-37 ลกั ษณะดอกถัว่ ลสิ ง 216 ภาพที่ 8-38 ลกั ษณะเข็มถ่ัวลสิ ง 217 ภาพที่ 8-39 ลักษณะฝกั และเมล็ดถัว่ ลสิ ง 217 ภาพที่ 8-40 แหลง่ กาเนดิ ของขา้ วโพด 218 ภาพท่ี 8-41 พื้นที่เก็บเกย่ี วและผลผลิตรวมถัว่ ลิสงโลก ตงั้ แตป่ ี 2004 - 2014 224 ภาพที่ 8-42 พื้นทเ่ี ก็บเก่ียวถวั่ ลิสงใน 10 ประเทศผู้ผลติ สาคัญ ในปี 2014 225 ภาพที่ 8-43 ผลผลติ รวม ถัว่ ลสิ งใน 10 ประเทศผู้ผลติ สาคัญ ในปี 2014 225 ภาพท่ี 8-44 ปรมิ าการสง่ ออกถัว่ ลสิ งของ 10 ประเทศผสู้ ่งออกสงู ทส่ี ุด ในปี 2016 226 ภาพที่ 8-45 ปริมาการนาเขา้ ถัว่ ลิสงของ 10 ประเทศผู้ส่งออกสูงทสี่ ุด ในปี 2016 226 พ้ืนทป่ี ลูกถ่ัวลิสงในประเทศไทย 228 ตวั อยา่ งผลิตภัณฑ์จากถว่ั ลสิ ง 230

สารบัญตาราง ตารางที่ 5-1 5-1 ผลผลติ การบริโภค การสง่ ออก และการน้าเข้าของน้าตาลของโลก ปี หนา้ ตารางท่ี 5-2 2555-60 ตารางท่ี 5-3 เนอื ท่เี พาะปลูก ผลผลติ ผลผลิตตอ่ ไร่ และผลผลิตนา้ ตาลของไทย ปี 115 ตารางท่ี 7-1 2555–2560 ตารางที่ 8-1 ปรมิ าณการบริโภคในประเทศและการสง่ ออกนา้ ตาลของไทย ปี 2555– 117 ตารางที่ 8-2 2560 ตารางที่ 8-3 เนอื ท่เี พาะปลูก ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ ของประเทศผผู้ ลิตทส่ี า้ คัญของ 118 ตารางที่ 8-4 โลก 10 อนั ดบั ปี 2558-2560 ตารางท่ี 8-5 ระยะการเจรญิ เติบโตของถั่วเหลอื ง 165 ตารางท่ี 8-6 แสดงปริมาณการผลิต การนา้ เขา้ และสง่ ออกของถัว่ เหลอื งโลก ในปี ตารางที่ 8-7 2555-59 190 ตารางที่ 8-8 แสดงปรมิ าณการผลติ การนา้ เข้า และสง่ ออกถว่ั เหลอื งของไทย ในปี 195 2556-60 พืนทีป่ ลกู ผลผลติ รวม และผลผลิตตอ่ ไร่ของถัว่ เขียวไทย 198 ปริมาณและมูลคา่ การส่งออกและนา้ เขา้ ถ่ัวเขียวของไทย ระยะการเจริญเตบิ โต (growth stage) ของถ่วั ลิสง 211 พืนท่ปี ลกู ผลผลิตรวมและผลผลติ ตอ่ ไร่ของถว่ั ลิสงไทย 211 ปริมาณและมลู คา่ การส่งออกและน้าเขา้ ถวั่ ลสิ งของไทย 220 227 227

แผนบริหารการสอนประจาวิชา รหัสวิชา PT03201 3(2-2-5) รายวชิ า พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ (Economic Field Crop) คาอธบิ ายรายวชิ า ความสาคัญ ประเภทและชนิดของพืชไร่เศรษฐกิจ การปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเก่ียว และการแปรรปู การตลาดและอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง การผลิตพชื ไรเ่ ศรษฐกิจทีค่ วรส่งเสรมิ ในทอ้ งถ่ิน วตั ถปุ ระสงค์ท่ัวไป 1. เพอื่ ให้ผู้ศกึ ษาสามารถอธบิ ายความสาคัญของพืชไร่ที่มตี อ่ เศรษฐกจิ ของประเทศได้ 2. เพอ่ื ให้ผู้ศกึ ษาสามารถบอกประเภทและชนิดของพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ ท่ีสาคญั ได้ 3. เพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของพืชไร่ เศรษฐกิจที่สาคญั ได้ 4. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเก่ียวและการแปร รปู ของพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ ที่สาคญั ได้ 5. เพื่อให้ผู้ศึกษานาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชไร่เศรษฐกิจอย่างถูกต้องและ เหมาะสมได้ 6. เพอ่ื ใหผ้ ู้ศึกษาสามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของพชื ไรเ่ ศรษฐกิจที่ สาคญั ได้ 7. เพื่อใหผ้ ู้ศึกษาสามารถอธบิ ายวธิ กี ารแปรรปู ของพชื ไร่เศรษฐกจิ สาคัญได้ 8. เพื่อใหผ้ ู้ศกึ ษาสามารถแปรรูปผลติ ภัณฑอ์ ย่างง่ายจากพืชไรเ่ ศรษฐกิจบางชนดิ ได้ 9. เพ่ือให้ผู้ศกึ ษาสามารถบอกชนดิ ของผลิตภณั ฑ์ที่ได้จากพืชไรเ่ ศรษฐกิจได้ 10. เพ่ือใหผ้ ู้ศกึ ษาสามารถบอกประโยชน์ของพืชไร่เศรษฐกจิ ที่สาคัญได้ 11. เพอ่ื ให้ผู้ศกึ ษาตระหนักถงึ มลู ค่าทางเศรษฐกิจพชื ไร่ ท่ีสามารถสร้างรายไดใ้ ห้แกป่ ระเทศ 12. เพ่ือให้ผู้ศึกษาเกิดความใฝ่รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่หรือนวัตกรรมที่นามาใช้ในการ ผลติ พชื ไรเ่ ศรษฐกิจทสี่ าคัญ เนื้อหาวชิ า บทที่ 1 พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ 4 ชั่วโมง 1.1 ความหมายของพชื เศรษฐกจิ 1.2 ความสาคญั ของพืชเศรษฐกิจ 1.3 ชนดิ ของพชื ไร่เศรษฐกจิ 1.4 สรุป แบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 1 เอกสารอา้ งอิง

ณ| 8 ช่ัวโมง 8 ชวั่ โมง บทท่ี 2 ขา้ ว 8 ชวั่ โมง 2.1 ข้าวและความสาคญั 8 ช่วั โมง 2.2 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 2.3 การปลกู และการเก็บเก่ียว 2.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 2.5 การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ 2.6 สรปุ แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 2 เอกสารอา้ งอิง บทที่ 3 ยางพารา 3.1 ยางพาราและความสาคัญ 3.2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 3.3 การปลกู และการกรดี ยาง 3.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 3.5 การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ 3.6 สรุป แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 4 มันสาปะหลัง 4.1 มนั สาปะหลงั และความสาคญั 4.2 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 4.3 การปลกู และการเก็บเกยี่ ว 4.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 4.5 การแปรรปู และผลิตภัณฑ์ 4.6 สรุป แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 4 เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 5 อ้อย 5.1 ออ้ ยและความสาคัญ 5.2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 5.3 การปลูกและการเก็บเก่ยี ว 5.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 5.5 การแปรรูปและผลิตภัณฑ์ 5.6 สรปุ แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 5 เอกสารอา้ งอิง

|ด บทท่ี 6 ปาลม์ น้ามนั 8 ช่ัวโมง 6.1 ปาลม์ นา้ มนั และความสาคญั 6.2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 6.3 การปลกู และการเก็บเกย่ี ว 6.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 6.5 การแปรรปู และผลติ ภณั ฑ์ 6.6 สรปุ แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 6 เอกสารอา้ งองิ บทที่ 7 ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ 4 ชวั่ โมง 7.1 ขา้ วโพดเลยี้ งสัตวแ์ ละความสาคญั 7.2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 7.3 การปลกู และการเกบ็ เกีย่ ว 7.4 สถานการณ์การผลิตและการตลาด 7.5 การแปรรูปและผลติ ภัณฑ์ 7.6 สรปุ แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 7 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 8 พืชตระกลู ถั่ว 8 ชั่วโมง 8.1 พชื ตระกลู ถัว่ และความสาคญั 8.2 ถ่วั เหลือง 8.3 ถ่วั เขยี ว 8.4 ถั่วลสิ ง 8.5 สรุป แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 เอกสารอ้างอิง วธิ ีการสอนและกจิ กรรม 1. ศึกษาและทาความเข้าใจเกย่ี วกับเนือ้ หาจากเอกสารประกอบการสอนวิชาพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ 2. บรรยายประกอบการฉายสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) วีทอี าร์ ตารางข้อมูล ข้อมูลภาพ และวิเคราะห์สถานการณ์การผลติ และการตลาดของพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ ที่สาคญั 3. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าขอ้ มลู สถิตทิ างการเกษตรจากเวบ็ ไซด์ท่ีเชื่อถือได้ ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ 4. แบง่ กลมุ่ คน้ คว้าขอ้ มูล นาเสนอ และอภิปรายในชั้นเรียน 5. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบฝึกหดั ท้ายบท 6. สรุปเนือ้ หาประจาบท 7. ซกั ถาม แลกเปลย่ี นข้อมูล และเสนอแนะแนวความคิด

ต| สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพชื ไรเ่ ศรษฐกิจ 2. ภาพฉายสไลด์ (โปรแกรม Power Point) 3. วที อี าร์ท่เี กย่ี วข้อง 4. ตารางข้อมูลที่เก่ยี วข้อง 5. ข้อมลู ภาพที่เกย่ี วข้อง 6. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 7. เคร่ืองฉายภาพ การวดั ผลและประเมนิ ผล การวัดผล 1. การสอบระหว่างภาคการศกึ ษา 30 คะแนน 2. ความตั้งใจศึกษา ความสมา่ เสมอในการเขา้ เรียน และความ 10 คะแนน กระตือรอื รน้ ในการร่วมแลกเปลี่ยนแนวความคดิ 3. การศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู ความถกู ต้องขอ้ มูล จดั ทารายงาน การอา้ งองิ ผลงาน 20 คะแนน 4. การนาเสนอ และตอบคาถาม 10 คะแนน 5. แบบฝึกหัดและแบบทดสอบท้ายบท 10 คะแนน 6. การสอบปลายภาคการศกึ ษา 20 คะแนน การประเมินผล 80 – 100 ไดผ้ ลการเรยี นระดบั A คะแนนระหวา่ ง 75 – 79 ไดผ้ ลการเรยี นระดบั B+ คะแนนระหวา่ ง 70 – 74 ได้ผลการเรียนระดบั B คะแนนระหว่าง 65 – 69 ได้ผลการเรยี นระดับ C+ คะแนนระหวา่ ง 60 – 64 ได้ผลการเรียนระดบั C คะแนนระหว่าง 55 – 59 ไดผ้ ลการเรยี นระดับ D+ คะแนนระหวา่ ง 50 – 54 ได้ผลการเรยี นระดบั D คะแนนระหวา่ ง 0 – 49 ไดผ้ ลการเรียนระดับ F คะแนนระหวา่ ง

แผนการสอนประจาบทที่ 1 พืชไรเ่ ศรษฐกจิ หัวข้อเนื้อหา ความสาคญั และชนิดของพชื ไรเ่ ศรษฐกจิ 1.1 ความสาคัญของพืชไรเ่ ศรษฐกิจ 1.2 ชนิดของพืชไรเ่ ศรษฐกจิ 1.3 สรปุ ประจาบท แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 เอกสารอ้างอิง วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมือ่ เรยี นจบบทน้ีแลว้ ผู้เรยี นสามารถ 1. อธบิ ายความสาคญั ของพืชไร่เศรษฐกจิ ได้ 2. อธิบายบอกชนิดของพืชไร่เศรษฐกจิ ได้ 3. วิเคราะหแ์ ละลาดับสาคญั ของพืชไร่เศรษฐกิจในประเทศไทยได้ถูกต้อง 4. ตระหนักถึงมลู ค่าทางเศรษฐกิจของพชื ไร่แตล่ ะชนดิ ท่ีสร้างรายได้ให้กับประเทศในทกุ ปี 5. เกดิ มงุ่ ม่ันในการผลติ พืชไรเ่ ศรษฐกิจในท้องถิ่น ทสี่ ามารถสรา้ งเปน็ อาชีพได้ วธิ ีการสอนและกจิ กรรมประจาบทท่ี 1 1. ชีแ้ จงคาอธิบายรายวชิ า วตั ถุประสงค์ เน้ือหา และเกณฑ์การใหค้ ะแนนรายวชิ า 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ผู้สอนอธบิ ายเนอ้ื หาเร่ือง ความสาคญั และชนดิ ของพืชไรเ่ ศรษฐกิจตามเอกสารประกอบการ สอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 5. ซกั ถาม และแลกเปล่ยี นแนวคิด และเสนอแนะแนวความคิด 6. สรุปเนอื้ หาประจาบท 7. ใหผ้ ู้เรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบทประจาบทท่ี 1 เรอื่ งพืชไรเ่ ศรษฐกิจ และกาหนดสง่ 8. ชแี้ จงหวั ข้อทจ่ี ะเรียนในครง้ั ต่อไป เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนไปศึกษากอ่ นลว่ งหน้า 9. เสริมสรา้ งคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ บั นักศึกษาก่อนเลกิ เรียน

2 | ดรุณี พวงบตุ ร สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เคร่อื งฉายภาพสไลด์ 5. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (google form) 6. แบบฝึกหดั หลังเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (kahoot) การวัดผลและประเมนิ ผล 1. จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนผา่ นระบบออนไลน์ 2. จากการทาแบบฝกึ หัดท้ายบท 3. จากการการสอบระหว่างภาคการศึกษา

พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 3 บทท่ี 1 พืชไร่เศรษฐกิจ ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีศักยภาพด้านการเกษตร ซ่ึงการเกษตรถือเป็นรากฐานของ ประเทศไทย ด้วยความที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ในด้านของ ทรัพยากรธรรมชาติ เพราะฉะน้ันสิ่งท่ีทาให้เศรษฐกิจของประเทศไทยสามารถเจริญเติบโตก้าวไป ข้างหน้าได้มาจนถึงปัจจุบันนี้ก็คือ พืชต่างๆ ซึ่งจะเห็นได้ว่าพืชพันธ์ุของประเทศไทยนับว่าเป็นสินค้า ส่งออกท่ีค่อนข้างมีช่ือเสียงในระดับโลก ชาวต่างชาติหลายประเทศต่างให้การยอมรับว่าหากต้องการ พืชพันธ์ุที่มีคุณภาพดีต้องนึกถึงประเทศไทย ในปัจจุบัน พืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยมีหลาย ชนดิ แตช่ นิดพชื ทมี่ กี ารสง่ ออกและสามารถสรา้ งรายไดเ้ ขา้ สู่ประเทศเป็นเม็ดเงินจานวนมากในแต่ละปี ส่วนใหญ่เป็นพืชสวนและพืชไร่ โดยเฉพาะพืชไร่จัดเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีมีการส่งออกเป็นอันดับต้นของ โลกและสรา้ งรายได้ใหก้ บั ประเทศเป็นจานวนมาก ดังน้ันจึงถือได้ว่าประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตอาหาร ทส่ี าคญั ของโลกหรอื เรยี กไดว้ า่ ครัวของโลก พืชไร่เศรษฐกิจ หมายถึงพืชท่ีมีความสาคัญต่อการดารงชีวิต มีลักษณะเด่นทางการค้า สามารถนาไปบรโิ ภคโดยเป็นอาหารที่ให้วิตามินแร่ธาตุ และเป็นแหล่งพลังงานของมนุษย์และสัตว์ อีก ทงั้ สามารถสร้างรายได้ใหแ้ กค่ รอบครวั และประกอบเป็นอาชพี ได้ ประเทศไทยถือเป็นประเทศเกษตรกรรม เนื่องจากคนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร โดยมีการ ปลูกพืชและเล้ียงสัตว์ โดยเฉพาะการปลูกพืช ประเทศไทยถือเป็นแหล่งผลิตพืชผลที่สาคัญของเอเชีย ดังนั้นการปลูกพืชเศรษฐกิจจึงเหมาะสาหรับคนไทยอย่างมาก ซ่ึงในปัจจุบัน การปลูกพืชเศรษฐกิจก็ ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ทั้งในด้านความรู้จากนักวิจัยและเงินทุนจากแหล่งเงิน ทาให้การปลูก พืชเศรษฐกิจเรม่ิ เป็นทนี่ ยิ มกันมากข้นึ ความสาคัญพชื ไร่เศรษฐกิจ การปลกู พืชเศรษฐกิจ นอกจากจะไดผ้ ลผลิตเพื่อบรโิ ภคและการสรา้ งรายได้ของครอบครวั แล้วก็ยังมีความสาคัญในระดับภมู ิภาครวมถึงระดบั ประเทศ ดงั น้ี 1. เปน็ อาชีพหลกั ของประชากร เพราะส่วนใหญ่ประชากรมีอาชพี ทางการเกษตร 2. เปน็ วตั ถดุ บิ ปอ้ นโรงงานอตุ สาหกรรมในประเทศ 3. เปน็ ปจั จยั สง่ เสรมิ ธุรกิจ และบริการในประเทศ 4. เปน็ แหลง่ ผลผลติ ของการเกษตรเพม่ิ รายไดใ้ ห้กับประเทศในปัจจบุ นั 5. เปน็ ปจั จัยสร้างความมนั่ คงทางเศรษฐกิจให้ประเทศ 6. เป็นปจั จัย 4 คอื เครื่องนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค อาหาร และท่ีอยูอ่ าศยั

4 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ยทุ ธศาสตร์การวิจยั ดา้ นการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย ภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมการเกษตร นบั เป็นรากฐานท่สี าคัญอย่างย่ิง โดยประเทศไทย มีพ้ืนที่ที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรจานวน 149 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 32.3 ของพ้ืนที่ท้ังหมด (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560a) ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สินค้าเกษตรเป็นสินค้าส่งออกท่ีทา รายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมาก ภาคการเกษตรของไทยเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจที่ สาคัญของประเทศ เป็นรากฐานของการสร้างความมั่นคงทางอาหารของประเทศและของโลก ฉะน้ัน ภาคเกษตรยังคงมีบทบาทสาคัญกับการพัฒนาประเทศในหลายมิติ เน่ืองจากการส่งออกสินค้าเกษตร และผลติ ภัณฑ์สามารถสร้างรายไดท้ ี่เป็นเงินตราต่างประเทศเป็นมูลค่าสูงในแต่ละปี และเมื่อพิจารณา สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ พบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเน่ือง ดังน้ันกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้จัดทายุทธศาสตร์สินค้าเกษตร เพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตท่ีมีปริมาณมากขึ้น และเพ่ือให้สอดรับกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) จึงได้จัดทายุทธศาสตร์สินค้าเกษตร 21 ด้าน 26 สินค้า สร้างเสถียรภาพ การเกษตรไทย ซึ่งยุทธศาสตร์ดังกล่าวมีความมุ่งหวังท่ีจะสร้างประสิทธิภาพ ในด้านการผลิตสินค้าท่ี สอดคล้องกับความต้องการของตลาดท่ีแปรเปลี่ยนไปตามกาลเวลา นอกจากน้ี ยังเป็นการสร้าง เสถยี รภาพด้านราคาสินค้าเกษตรให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน รองรับความเป็นผู้นา ที่จะผลิตอาหารเลี้ยงประชากรโลกในอนาคต โดยมีการกาหนดยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืช เศรษฐกจิ จานวน 13 ชนดิ ประกอบดว้ ยพชื ไร่และพืชสวน ได้แก่ ขาว มันสาปะหลัง ยางพารา ปาล์ม นา้ มัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลย้ี งสัตว สับปะรดโรงงาน ลาไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพราว และกาแฟ รวมท้ังมีการไดจ้ ดั ทาเขตเหมาะสมสาหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ โดยวิเคราะห์ความเหมาะสม ของท่ีดิน กับปัจจัยความต้องการของพืชแต่ละชนิด ตามสภาพที่มีการเพาะปลูกพืช พืชไร่ท่ีจัดพืช เศรษฐกิจและมีการกาหนดยุทธศาสตร์สินค้าเกษตร ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ามัน อ้อยโรงงาน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2559) นอกจากนี้ทางสานักงาน พัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) หรือ สวก. การจัดทา “ยุทธศาสตร์ของประเทศไทย ด้าน ความมน่ั คงและความปลอดภัยทางอาหารในขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถ่ัวลิสง กับการ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” จะช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการพืชทั้ง 4 ชนิด ให้มีเสถียรภาพ และยั่งยืน โดยได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์และข้อเสนอเชิงนโยบายในการเสริมสร้างความม่ันคงทาง อาหารในพืชเศรษฐกิจท่ีครอบคลุมทั้งมิติการเพ่ิมศักยภาพการผลิตในประเทศเพื่อพึ่งพาตนเอง และ มติ ขิ องการใช้ประโยชนจ์ ากการเป็นประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (สานกั งานพัฒนาการวิจัยการเกษตร, 2559)

พืชไรเ่ ศรษฐกิจ | 5 ชนิดของพืชไรเ่ ศรษฐกจิ พืชไร่ของประเทศไทยมีหลายชนิด แต่พืชไร่ที่มีศักยภาพสามารถจัดเป็นพืชไร่เศรษฐกิจนั้น จะตอ้ งเปน็ พืชท่ีมีพื้นการปลูกเป็นพ้ืนท่ีกว้าง มีปริมาณการส่งออกมาก และสามารถสร้างรายได้ให้แก่ ประเทศเปน็ จานวนมากด้วย ซึ่งประกอบไปด้วย ข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ามัน และ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามยังมีพืชไร่เศรษฐกิจท่ีสาคัญที่เคยเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสร้าง รายไดใ้ ห้แกป่ ระเทศเป็นจานวนมาก แต่ในปัจจุบันพบว่าพ้ืนปลูกลดลงเรื่อย ๆ ได้แก่ ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถ่ัวเหลือง ประกอบกับปัจจุบัน พบว่ามีพืชชนิดใหม่ท่ีสามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรเป็นจานวน มาก ดังนั้นชนิดของพืชไร่เศรษฐกิจที่สาคัญ ท่ีจะกล่าวถึงในบทต่อ ๆ ไป ได้แก่ ข้าว ยางพารา มัน สาปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ามัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และถ่ัวลิสง ซึ่งพืชดังกล่าวจัดเป็น พชื ทม่ี คี วามสาคัญต่อเศรษฐกจิ ของประเทศไทย โดยเฉพาะถั่วลสิ ง จัดเปน็ พืชเศรษฐกิจที่มีความสาคัญ ในท้อง และปัจจุบันจัดเป็นพืชท่ีมีศักยภาพท่ีใช้เป็นพืชอาหารสุขภาพ ที่เป็นท่ีนิยมบริโภคกันมากใน ปจั จุบัน ข้าว เปน็ พชื อาหารหลกั ของโลก ประชากรมากกวา่ ครงึ่ หน่งึ ของประชากรโลกบริโภคข้าวเป็น อาหารหลัก แต่ละปีท่ัวโลกต้องการข้าวอย่างน้อย 617 ล้านตัน โดยแหล่งผลิตข้าวมากจากพื้นท่ีปลูก ต่าง ๆ ซึ่งกระจายอยู่ในทุกทวีป โดยมีพ้ืนที่เพาะปลูกข้าวท้ังหมด 958 ล้านไร่ ทั่วโลก ซึ่งแหล่งผลิต ข้าวท่ีสาคัญอยู่ในทวีปเอเชีย คิดเป็นร้อยละ 90 ของพ้ืนที่ปลูกทั้งหมด โดยประเทศท่ีมีพื้นที่ปลูกข้าว มากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ อนิ เดีย จนี อนิ โดนเี ซีย และไทย สาหรับประเทศไทย นับว่าเป็นประเทศท่ีส่งออกข้าวเป็นอันดับหนึ่งของโลกในปัจจุบัน ประเทศไทยไดช้ ื่อวา่ เป็นประเทศทส่ี ง่ ออกขา้ วท่ีสาคญั ประเทศหนง่ึ ของโลก ข้าวไทยมีคุณภาพดี เป็นท่ี ต้องการของตลาดผู้บริโภคท้ังในและต่างประเทศ โดยมีเอกลักษณ์ คือ เมล็ดยาว เนื้อขาวใส ไม่เป็น ท้องไข่ เปลือกบาง ปลอกบาง เน้อื ขา้ วมีมัน เมล็ดงามได้ส่วนไม่บิดเบี้ยว และคุณภาพการสีดี(กรมการ ข้าว, 2550) ดังน้ันข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของไทย โดยในปี 2559 มีพ้ืนที่ปลูก 66 ล้านไร่ มี ผลผลิต 22 ล้านตัน (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) ผลผลิตประมาณ 65% ใช้เพื่อการ บริโภคภายในประเทศ ท่ีเหลือเป็นการส่งออก โดยในแต่ละปีประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้เป็น จานวนมาก คิดเป็นรายได้เข้าประเทศนับแสนล้านบาท และมีแนวโน้มท่ีจะส่งออกเพิ่มขึ้นทุกปี ประเทศที่เป็นคู่ค้าในการส่งออกข้าวมากท่ีสุดก็ได้แก่ จีน ฮ่องกง มาเลเซีย แคนนาดา อิหร่าน อิรัก ฯลฯ โดยข้าวทส่ี ่งออกมที ้งั ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว รวมถึงข้าวเปลือกด้วย พันธ์ุข้าวท่ีนิยมปลูกมากและทา ชื่อเสียงให้กับประเทศไทยไปท่ัวโลก คือ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เป็นข้าวท่ีมีคุณภาพดีมีกลิ่นหอม นอกจากน้ียังมีข้าวพันธ์ุ กข. 15 มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับข้าวหอมมะลิแต่กลิ่นหอมน้อยกว่าข้าวหอม มะลิ

6 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ประเทศไทยถือเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพดีท่ีสุดแห่งหนึ่ง โดยมีแหล่งเพาะปลูก สาคัญอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เขตทุ่งกุลาร้องไห้) และมีพื้นที่เพาะปลูกครอบคลุมกว่า 19 ล้านไร่ท่ัวประเทศ โดยมีแหล่งผลิตสาคัญ คือ จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี รอ้ ยเอ็ด รองลงมาคือภาคเหนือ เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศและพ้ืนท่ีเพาะปลูกของทั้ง สองภาคคลา้ ยคลงึ กนั เหมาะแก่การเจรญิ เตบิ โตของขา้ วหอมมะลิ ภาพท่ี 1-1 นาข้าว ท่ีมา: ผูเ้ ขียน ยางพารา จัดเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยมีการส่งออกยางพาราและผลิตภัณฑ์ พาราเป็นอันดับหนึ่งของโลก และสามารถทารายได้เข้าประเทศได้ปีละหลายแสนล้านบาท โดย ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการนาเข้ายางพาราจากประเทศไทยมากท่ีสุด รองลงมาได้แก่ประเทศ มาเลเซีย ประเทศญี่ปุ่น และประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีการส่งออกเพ่ือเป็นวัตถุดิบใน ภาคอุตสาหกรรมการผลิตยางและผลิตภัณฑ์ยางสาเร็จรูป เช่น ยางรถยนต์ ถุงมือยาง ท่อยาง ถุงยาง อนามยั เป็นต้น ประเทศไทย ในปี 2559 มีพ้ืนกรีดยางประมาณ 19 ล้านไร่ โดยพื้นท่ีปลูกส่วนใหญ่อยู่ในภาค ตะวันออก รองลงมา คือ ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยแหล่งปลูกปาล์มน้ามันท่ีสาคัญอยู่ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช และตรัง มีผลผลิตยางดิบประมาณ 4.4 ล้านตัน มี การส่งออกประมาณ 3.4 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 167,156 ล้านบาท (สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร, 2560b) โดยผลผลิตยางที่ได้มีการส่งออกในรูปของยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน้ายาง ข้น

พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 7 ยางธรรมชาติท่ีผลิตได้ในโลกถูกใช้เป็นผลิตภัณฑ์ยางหลากหลายชนิด ซ่ึงยางธรรมชาติในรูป ยางแผน่ รมควนั และยางแทง่ ร้อยละ 70 ท่ผี ลิตไดใ้ นโลก ใช้ผลติ ยางรถยนต์ โดยยางรถยนต์แต่ละชนิด จะมีปริมาณยางธรรมชาติในสัดส่วนท่ีแตกต่างกัน ซึ่งในการผลิตยางรถยนต์นั้นมีบริษัทขนาดใหญ่ 3 บรษิ ัท คอื บรดิ จสโตน มิชลิน และกู๊ดเยียร์ ท่มี อี ิทธิพลในการกาหนดราคาขายยางธรรมชาติ ภาพที่ 1-2 สวนยางพารา ทีม่ า: ณรรธราวธุ (2559) มันสาปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่สาคัญของประเทศ และยังเป็นพืชเศรษฐกิจตาม ยุทธศาสตร์ประเทศ (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน และอ้อย) เนื่องจากสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ทั้งอุตสาหกรรมแปรรูปมันสาปะหลัง ได้แก่ มันเส้น มันอัดเม็ด แป้ง มันสาปะหลังดิบ หรืออุตสาหกรรมต่อเน่ือง ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและยา อุตสาหกรรมส่ิงพิมพ์ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ พลังงานทดแทน เป็นต้น มันสาปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกง่าย ทนทาน ต่อสภาพดินฟ้าอากาศ และเป็นอาหารที่สาคัญของประเทศในเขตร้อน เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา และทวปี อเมรกิ าใต้ รวมถึงทวีปเอเชียดว้ ย การสง่ ออกมันสาปะหลังจึงสามารถสร้างรายได้เข้าประเทศ เปน็ จานวนมากในแต่ละปี นับเปน็ พืชเศรษฐกิจทสี่ าคญั ไมแ่ พ้ขา้ ว ประเทศไทยมีพื้นท่ีเพาะปลูกทั้งประเทศกว่า 8.5 ล้านไร่ ครอบคลุม 45 จังหวัด ซึ่งสามารถ ผลิตหัวมันสดได้ประมาณปีละ 29 - 30 ล้านตัน แต่มีความต้องการใช้มันสาปะหลัง (หัวมันสด) ใน ประเทศเพียงปีละไม่เกิน 10 ล้านตันเท่านั้น (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2559) มันสาปะหลัง ส่วนเกินอีกประมาณ 19-20 ล้านตันต่อปี สามารถส่งออกและนารายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมาก โดยไทยสง่ ออกผลติ ภัณฑม์ นั สาปะหลังหลายรูปแบบ เช่นมันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสาปะหลังท้ังใน รูปของแป้งดบิ และแป้งแปรรปู เปน็ ต้น ปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังรายใหญ่ท่ีสุด ของโลก โดยมีส่วนแบ่งตลาดสูงถึงร้อยละ 65 สาหรับตลาดในภูมิภาคอาเซียน ไทยก็ยังสามารถครอง อันดับ 1 ในการสง่ ออกมาเปน็ เวลานานกว่า 10 ปี

8 | ดรุณี พวงบุตร ภาพที่ 1-3 หัวมันสาปะหลัง ที่มา: ศนู ย์วิจยั พืชไร่ขอนแกน่ อ้อย เป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของประเทศไทย เพราะใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตน้าตาลและ อุตสาหกรรมต่อเน่ืองหลายชนิด ประเทศไทยสามารถผลผลิตอ้อยได้ปีละประมาณ 100 ล้านตัน คิด เป็นมูลค่าที่เกษตรกรชาวไรไ่ ดร้ ับปลี ะประมาณ 120,000 ล้านบาท (สานักงานคณะกรรมการอ้อยและ น้าตาลทราย, 2559) อ้อยจานวนน้ีใช้ในการผลผิตเป็นน้าตาลทรายขาว เพ่ือใช้ในประเทศปีละ ประมาณ 25 ล้านตัน ส่วนที่เหลือจะผลิตเป็นน้าตาลทรายเพื่อส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ คิด เป็นมูลค่าปีละ 130,000 ล้านบาท ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตและส่งออกน้าตาลท่ีทามาจากอ้อย ที่ จดั ว่าเป็นรายใหญ่ของอาเซียน ซึ่งไทยสามารถผลิตได้มากกว่าคร่ึง และมีการส่งออกน้าตาลได้มากถึง ร้อยละ 85 ของประเทศในอาเซยี นทง้ั หมด นอกจากน้ยี ังมอี ุตสาหกรรมต่อเนื่องท่ีนาผลพลอยได้จากการผลิตน้าตาลทรายท่ีสาคัญ ได้แก่ ชานออ้ ยและโมลาส ซงึ่ ชานออ้ ย มีการนาไปใช้ในการผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า และปาติเกิลบอร์ด ส่วน โมลาส นาไปใช้ในการผลิตเอทานอล เพื่อนาไปใช้เป็นส่วนผสมกับน้ามันเช้ือเพลิง ในการผลิตเป็น น้ามันก๊าซโซฮอล์ ภาพท่ี 1-4 การเก็บเกย่ี วอ้อย ทมี่ า: ผเู้ ขยี น

พืชไร่เศรษฐกจิ | 9 ปาล์มน้ามัน จัดเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยที่มีการปลูกกันมากในภาคใต้ มีการนา ผลผลิตมาใช้ในการผลิตน้ามันเพื่อใช้ในการบริโภค และใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมนมข้นหวานและนมจดื อตุ สาหกรรมอปุ โภคอ่ืน ๆ เชน่ พลาสติก เครือ่ งสาอาง ปัจจุบัน ประเทศไทยมีพื้นท่ีปลูกปาล์มน้ามันที่สามารถให้ผลผลิตประมาณ 4.5 ล้านไร่ ให้ ผลผลิต 10.9 ล้านตัน ซึ่งมีการนามาใช้ภายในประเทศ 1.7 ล้านตัน โดยใช้เพื่อการบริโภค 0.99 ล้าน ตัน และใช้เป็นไบโอดีเซล 0.82 ล้านตัน และมีการส่งออก 117,538 ตัน คิดเป็นมูลค่า 4,611 ล้าน บาท บาท (สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560c) โดยมปี ระเทศคู้ค้าทสี่ าคญั ได้แก่ มาเลเซีย อินเดีย อติ าลี เมยี นมา และกมั พชู า โดยผลผลิตปาล์มน้ามันที่ได้ จะนามาใช้ในการสกัดน้ามัน เพื่อใช้ในการบริโภคและ อุตสาหกรรมอาหาร นอกจากนี้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อเน่ืองต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมนมข้นหวานและนมจืด อุตสาหกรรมบะหมี่สาเร็จภาพ อุตสาหกรรมเนยขาวและเนย เทยี ม อตุ สาหกรรมครมี เทียม อุตสาหกรรมของว่างและขบเคย้ี ว และอตุ สาหกรรมสบู่ เปน็ ต้น ภาพท่ี 1-5 ปาล์มนา้ มัน ทมี่ า: ผูเ้ ขียน

10 | ดรุณี พวงบตุ ร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นพืชท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง สาหรับประเทศไทย มี แนวโน้มในการใช้ข้าวโพดเล้ียงสัตว์เพ่ิมข้ึน เนื่องจากมีความต้องการใช้ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในประเทศ เพิม่ ขึน้ อยา่ งต่อเน่ืองตามการขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรมการเล้ียงสัตว์ โดยคิดเป็นร้อยละ 93.1ของ ผลผลิตท้งั หมดภายในประเทศ และมีการส่งออกในส่วนที่เหลือ (สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร, 2559) ประเทศไทย มีพื้นทป่ี ลูกขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ประมาณ 6.9 ลา้ นไร่ ให้ผลผลติ 4.1 ลา้ นตัน โดยมี แหล่งผลิตท่ีสาคัญอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ น่าน นครราชสีมา เป็นต้น ผลผลิตท่ีได้มีการนามาใช้ ภายในประเทศ 5.8 ล้านตัน ทาให้มีการนาเข้าสูงถึง 124,459 ตัน (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) แสดงให้เห็นวา่ ประเทศไทยมีผลผลิตไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการใช้ โดยประเทศที่เป็นผู้นาใน การสง่ ออกมากทีส่ ดุ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา และอาร์เจนตินา ภาพที่ 1-6 ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ ท่มี า: ผูเ้ ขียน

พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 11 ถว่ั เขยี ว เป็นพืชเศรษฐกจิ ที่สาคญั พืชหนึ่งของประเทศไทย สามารถนามาใช้ประโยชน์ไดทัง้ เปน็ อาหารโดยตรงหรอื นาไปแปรรูปเปน็ ผลติ ภณั ฑต์ ่าง เช่น วนุ้ เสน้ แป้ง นอกจากนสี้ ว่ นเปลอื กยังใช้ เป็นอาหารสัตวด์ ว้ ย เน่ืองจากมีโปรตนี สงู การปลูกถ่ัวเขียวในประเทศไทย พบว่ามีพ้ืนที่ลดลงเช่นเดียวกับถ่ัวเหลือง ในปี 2558/59 มี พ้ืนที่ปลูกลดลงเหลือประมาณ 0.8 ล้านไร่ เนื่องจากเกษตรกรมีการหันไปปลูกข้าวเช่นเดิม ในขณะที่ ปรมิ าณความต้องการใช้ภายในประเทศยังคงเพ่ิมขึ้น ส่งผลทาให้มีการนาเข้าถั่วเขียวจากต่างประเทศ เป็นจานวนมาก โดยประเทศไทยมีการนาเข้าถ่ัวเขียวจากประเทศท่ีสาคัญ ได้แก่ เมียนมาร์และ ออสเตรเลยี และยังพบวา่ ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้เพิ่มสงู ขึ้นทุกปี ภาพท่ี 1-7 ถว่ั เขียว ที่มา: ผ้เู ขยี น

12 | ดรณุ ี พวงบตุ ร ถว่ั เหลือง จดั เป็นพชื น้ามันท่ีมีความสาคัญพืชหน่ึง ที่มีปริมาณความต้องการใช้ในการบริโภค ภายในประเทศสูง มีการนาไปใช้ประโยชน์ท้ังเป็นอาหารโดยตรง นาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ รวมถึงใช้เป็นอาหารสัตว์ ซงึ่ ปัจจุบันประเทศไทยผลติ ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการใช้จึงมีการนาเข้าจาก ตา่ งประเทศในปรมิ าณมากในแตล่ ะปี ในปี 2559 พบวา่ ประเทศไทยมพี ืน้ ท่เี พาะปลูกลดลงเมื่อเทียบกับจากปี 2558 ปัจจุบันมีพ้ืนท่ี ปลูก 161,147 ไร่ ใหผ้ ลผลติ 42,080 ตัน ในขณะท่ีมีความต้องการใช้สูงถึง 3.01 ล้านตัน ส่งผลทาให้ มีการนาเข้าจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ประมาณ 2.9 ล้านตัน ตัน (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) โดยประเทศไทยมีการนาเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริกาและอาร์เจนตินา เป็นหลัก ช้ีให้เห็นว่า ประเทศไทยมคี วามตอ้ งใช้ในปริมาณเพมิ่ ขน้ึ ทุกปี ในขณะท่พี ้ืนที่ปลกู ลดลงอยา่ งตอ่ เนื่องทุกปี ภาพที่ 1-8 ถัว่ เหลอื ง ท่ีมา: ผู้เขียน

พืชไรเ่ ศรษฐกิจ | 13 ถ่ัวลิสง เป็นพืชท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจพืชหน่ึงของประเทศไทย เป็นแหล่งของโปรตีน และน้ามัน ผลผลิตถวั่ ลสิ งใชบ้ รโิ ภคทั้งฝักสด และฝักแห้ง เมล็ดนามาแปรรูปเป็นอาหารประเภทต่างๆ และนามาสกดั น้ามนั กากทไ่ี ดน้ ามาใชเ้ ป็นอาหารสัตว์ ปจั จุบนั พ้ืนทปี่ ลูกถวั่ ลสิ งมีเพียง 135,902 ไร่ ใหผ้ ลผลิต 36,337 ตนั ในขณะทคี่ วามต้องการ ใช้ภายในประเทศเพ่ิมขนึ้ ทุกปีสงู ถึง 164,595 ตนั ส่งผลทาให้มกี ารนาเข้าจากตา่ งประเทศเป็นหลัก ประมาณ 79,784 ตนั คดิ เป็นร้อยละ 60 (สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560a) โดยประเทศไทยมี การนาเขา้ จากประเทศเวยี ดนาม จีน อินเดยี และลาว ชใี้ ห้เห็นวา่ ประเทศไทยมีความต้องการใช้ถ่วั ลิสงเปน็ จานวนมากในแตล่ ะปี แตม่ พี นื้ ท่ีการผลผลิตลดลงเร่อื ย ๆ ส่งผลทาให้มีแนวโนม้ การนาเขา้ ถวั่ ลิสงจากต่างประเทศเพ่มิ ขึ้นทุกปี ภาพท่ี 1-9 ถวั่ ลสิ ง ทม่ี า: ผเู้ ขยี น

14 | ดรณุ ี พวงบตุ ร สรุป ประเทศไทยถือเป็นแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของโลก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศที่ เหมาะสมและมีปัจจัยการผลิตที่มีความอุดมสมบูรณ์ เช่น ดิน น้า เป็นต้น ในปัจจุบัน การปลูกพืช เศรษฐกิจได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ท้ังในด้านความรู้จากนักวิจัยและเงินทุนจากแหล่งเงิน ทาให้ การปลูกพืชเศรษฐกิจเริ่มเป็นท่ีนิยมกันมากขึ้น โดยพืชไร่ ถือเป็นพืชที่มีการปลูกเป็นพื้นท่ีจานวนมาก มีการส่งออกในปริมาณท่ีสูง และสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นจานวนมากในแต่ละปี พืชไร่ ของประเทศไทยมีหลายชนดิ แตพ่ ืชไรท่ ีม่ ศี กั ยภาพสามารถจดั เปน็ พืชไร่เศรษฐกิจประกอบไปด้วย ข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง ออ้ ย ปาล์มน้ามนั และขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ เป็นต้น จากการสถิติการส่งออกของ ไทยในปี 2560 พบว่าพืชไร่ที่มีการส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลก ได้แก่ ข้าว และมันสาปะหลัง ส่วน อ้อย มีปริมาณการส่งออกเป็นอันดับสองของโลก และยางพารา เป็นพืชที่สร้างรายได้เป็นอันดับต้น ของสินคา้ ทางเกษตร

พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 15 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1. จงบอกความหมายของพืชไร่เศรษฐกิจ 2. จงบอกความสาคัญของพืชไรเ่ ศรษฐกิจ 3. จงบอกชนดิ ของของพืชไร่เศรษฐกิจท่สี าคัญในประเทศไทย 4. จงบอกชนิดของของพืชไรใ่ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ท่มี ีศักยภาพจัดเป็นพชื ไร่เศรษฐกิจ 5. จงบอกชนิดของพชื ไร่เศรษฐกิจทีม่ กี ารสง่ ออกมากท่ีสดุ 3 อันดบั แรก

16 | ดรุณี พวงบตุ ร เอกสารอ้างอิง กรมการข้าว. (2550). สุดยอดข้าวไทย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ณรรธราวธุ เมืองสขุ . (2559). ยางพารา กบั คนใต้ และวัฒนธรรมการเมอื งแบบใต้. มติชนออนไลน์. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. (2559). รายงานพื้นท่ีปลูกอ้อยปีการผลิต 2558/59. กระทรวงอุตสาหกรรม. 124 หน้า. สานักงานพัฒนาการวจิ ัยการเกษตร. (2559). ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ ถ่ัวเหลือง ถั่วเขียว และถวั่ ลสิ ง ทศิ ทาง พชื เศรษฐกิจไทยในอาเซียน. พรทรัพย์การพิมพ์. กรงุ เทพฯ. 160 หนา้ . สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2559). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2558. กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560a). สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสนิ ค้า ปี 2559. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2560b). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2559. กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560c). สถานการณ์สินคา้ เกษตรท่สี าคัญและแนวโน้ม ปี 2559. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์

แผนการสอนประจาบทที่ 2 ขา้ ว หวั ข้อเน้ือหา ความสําคัญ สถานการณ์การผลติ และการตลาด การแปรรูปและผลิตภณั ฑ์ 1.1 ข้าวและความสาํ คัญ 1.2 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.3 การปลูกและการเก็บเก่ยี ว 1.4 สถานการณ์การผลติ และการตลาด 1.5 ผลิตภณั ฑ์จากการแปรรูป 1.6 สรปุ ประจําบท แบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 2 เอกสารอา้ งองิ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมอ่ื เรยี นจบบทน้ีแลว้ ผู้เรยี นสามารถ 1. อธิบายความสําคัญและลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ขา้ วได้ 2. วเิ คราะห์สถานการณ์การเปล่ียนแปลงการผลติ และการตลาดขา้ ว ในปจั จุบันได้ 3. อธิบายเก่ยี วกับวิธีการปลูก การดูแลรกั ษา และเก็บเก่ียวข้าวได้ 4. นาํ ความรเู้ กีย่ วกับการผลติ ขา้ ว ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปลูกขา้ วได้อย่างถูกวธิ ี 4. สรปุ สาระเกย่ี วกับเทคโนโลยีการผลิต การแปรรูปขา้ ว และผลติ ภัณฑ์ 5. ตระหนักถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจของข้าว ทส่ี รา้ งรายได้ให้กบั ประเทศ วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมประจาบทท่ี 2 1. ช้ีแจงคาํ อธบิ ายรายวชิ า วตั ถุประสงค์ เนือ้ หา และเกณฑ์การให้คะแนนรายวชิ า 2. ทาํ แบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ผูส้ อนอธิบายเน้ือหาเร่อื ง ความสาํ คัญของข้าว สถานการณ์การผลติ และการตลาด รวมถึงการ แปรรปู และผลติ ภณั ฑจ์ ากข้าว ตามเอกสารประกอบการสอน 4. บรรยายประกอบการฉายภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 5. ซกั ถาม และแลกเปลี่ยนแนวคิด และเสนอแนะแนวความคิด 6. สรุปเน้ือหาประจาํ บท 7. ใหผ้ ้เู รียนทาํ แบบฝกึ หัดทา้ ยบทประจาํ บทท่ี 2 เร่อื งสถานการณก์ ารผลติ และการตลาด การแปร รปู และผลติ ภัณฑจ์ ากขา้ ว และกําหนดสง่ 8. ชี้แจงหัวข้อท่ีจะเรียนในคร้งั ต่อไป เพ่อื ให้ผูเ้ รียนไปศึกษาก่อนลว่ งหน้า 9. เสรมิ สร้างคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ ับนกั ศกึ ษาก่อนเลิกเรียน

18 |ดรุณี พวงบตุ ร สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 3. ภาพสไลด์ (โปรแกรม PowerPoint) 4. เคร่อื งฉายภาพสไลด์ 5. แบบทดสอบก่อนเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (google form) 6. แบบฝึกหดั หลังเรยี นผ่านระบบออนไลน์ (kahoot) การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. จากการทาํ แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนผ่านระบบออนไลน์ 2. จากการทําแบบฝึกหัดท้ายบท 3. จากการการสอบระหว่างภาคการศึกษา

พืชไร่เศรษฐกจิ | 19 บทท่ี 2 ขา้ ว ข้าว ถอื เปน็ อีกหนึ่งพืชที่มีความสาํ คญั กับคนไทยเป็นอยา่ งมากเลย การปลกู ขา้ วในประเทศ ไทยน้ันก็ถือเป็นพืชหนึง่ ชนดิ ทไ่ี ด้รับความนยิ มเป็นอย่างสูง การส่งออกข้าวนน้ั กถ็ ือเปน็ สินค้าอันดบั ต้นๆ ของประเทศ และเป็นสินค้าสง่ิ ทีส่ รา้ งรายได้หลักให้กับประเทศไทย อกี ทง้ั ขา้ วของประเทศไทย น้นั ถอื เปน็ ขา้ วท่มี ีคุณภาพดีและมีรสชาตทิ ่อี ร่อยเป็นเอกลักษณ์ ทาํ ให้ข้าวของประเทศไทยคอ่ นข้างที่ จะมชี อื่ เสียงเปน็ อย่างมากในกลมุ่ ชาวตา่ งชาติ โดยเฉพาะข้าวหอมมะลิของประเทศไทย จดั วา่ เป็นขา้ ว ทคี่ นไทยภมู ใิ จกนั เปน็ อย่างมาก เป็นข้าวช้ันดี ที่ไม่วา่ คนไทยหรือชาวตา่ งชาติหลายๆ คนนยิ ม รับประทาน ส่งผลทาํ ใหต้ ่างประเทศมกี ารนาํ เข้าข้าวจากประเทศไทยเปน็ จาํ นวนมากในแตล่ ะปี สรา้ ง รายไดเ้ ป็นจาํ นวนมากใหก้ บั ประเทศ โดยในปหี นงึ่ ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวไดเ้ ปน็ จาํ นวนมาก คดิ เป็นรายได้เข้าประเทศนับแสนล้านบาท และมีแนวโน้มท่จี ะส่งออกเพ่ิมขึน้ ทุกปี ดังน้ันข้าวจดั เปน็ พืชเศรษฐกิจทส่ี าํ คญั ของไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ข้าวและความสาคัญ ข้าว (rice) มีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Oryza sativar จัดเป็นธัญพืชท่ีประชากรโลกมีการบริโภค เป็นอาหารหลักท่ีสําคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชท่ีมีการปลูกมากเป็นอันดับ สามของโลกรองจากขา้ วสาลีและข้าวโพด สําหรับประเทศไทย ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ เนื่องจากเป็นทั้งอาหารหลักและสินค้า ส่งออกท่ีสําคัญ ประเทศไทยเปน็ ผู้ส่งออกขา้ วเป็นลาํ ดับตน้ ๆ ของโลก ในแต่ละปีมีการส่งออกข้าวเป็น จํานวนหลายล้านตัน สามารถนํารายได้เป็นจํานวนมากเข้าสู่ประเทศ ประกอบกับภูมิภาคของไทยมี สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการปลูกข้าว ทําให้มีประชากรท่ีมีอาชีพทํานามีจํานวนมาก ดังนั้น ประเทศไทยถือเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สําคัญของภูมิภาคอาเซียนและของโลก ในปัจจุบันประเทศไทยมี พ้ืนปลูกข้าวประมาณ 70 ล้านไร่ (สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ข้าว เป็นพชื ตระกลู หญ้า (Gramineae) จัดเปน็ พชื ปเี ดียว มีความสูง 80-130 เซนติเมตร อาจมี ความสูงได้ถึง 5 เมตร ในพันธุ์ข้าวขึ้นนํ้า ซึ่งสามารถเจริญเติบโตในสภาพน้ําท่วม ข้าวมีลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ทสี่ าํ คัญดังนี้ 1. ราก (root) ระบบรากเปน็ แบบรากฝอย (fibrous root system) ประกอบดว้ ยรากทพี่ ัฒนามาจากส่วนแรดิ เคิล (radicle) เรียกว่า primary root หรือ first seedling root และรากที่แตกแขนงออกมาเรียกว่า

20 |ดรุณี พวงบตุ ร secondary root หรือ lateral root รากที่เกิดจาก scutellar node เรียกว่า seminal root ส่วน รากทเี่ กิดจากข้อใต้ดนิ ต้งั แต่ coleoptilar node ข้ึนไป เรียกวา่ adventitious root (ภาพท่ี 2-1) ภาพที่ 2-1 ลักษณะรากข้าว ท่มี า: Sparks (2017) 2. ลาตน้ ลําต้น (haulm หรือ culm) ประกอบด้วยข้อ (node) และปล้อง (internode) ข้อ ประกอบด้วย วงเจริญ (growth ring) ปุ่มกําเนิดราก (root primordia) ตา (bud) และรอยกาบใบ (leaf scar) ข้าวมีการแตกหน่อ (tillering) ลําต้นหลัก เรียกว่า main culm หน่อที่เจริญจาก main culm เรียกว่า primary tiller หน่อที่เจริญจาก primary tiller เรียกว่า secondary tiller และหน่อ ท่เี จรญิ จาก secondary tiller เรยี กว่า tertiary tiller ตามลําดับ (ภาพที่ 2-2) ภาพที่ 2-2 ลกั ษณะลาํ ตน้ ข้าว ทมี่ า: ผ้เู ขียน

พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 21 3. ใบ ใบเป็นใบเด่ียว (simple leaf) ประกอบด้วย กาบใบ (leaf sheath) และแผ่นใบ (leaf blade) บริเวณรอยต่อระหว่างกาบใบและแผ่นใบ (leaf collar) มีเย่ือกันน้ําหรือลิ้นใบ (ligule) หูใบ หรือเข้ียวใบ (auricle) ส่วนท่ีมีลักษณะคล้ายใบแต่ไม่มีเส้นกลางใบ เป็นสัน 2 สัน พบระหว่างหน่อ หรือแขนงที่แตกจากลําต้นเรยี กวา่ prophyllum (ภาพท่ี 2-3) ภาพที่ 2-3 ลกั ษณะใบข้าว ท่ีมา: FAO (2015) 4. ชอ่ ดอกและดอก ช่อดอกเป็นแบบ panicle ปล้องสุดท้ายของลําต้น (uppermost internode) เป็นก้านช่อ ดอก (peduncle) แกนกลางช่อดอกเรียกว่า rachis หรือ panicle axis กิ่งที่แตกจาก rachis เรียกว่า primary branch และกิ่งทแ่ี ตกจาก primary branch เรียกวา่ secondary branch (ภาพท่ี 3-4) ดอกข้าวเกิดเป็นกลุ่มเรียกว่า spikelet ประกอบด้วย กลีบดอกท่ีหุ้ม spikelet 2 กลีบ ได้แก่ กลีบด้านนอก (outer glume) และกลีบด้านใน (inner glume) แต่มองเห็นไม่ชัด (rudimentary glume) ดอกประกอบด้วยดอกย่อย (floret) 3 ดอก มีดอกย่อยเพียงดอกเดียวที่มีการเจริญ เรียกว่า flowering glume ส่วนดอกย่อยที่ไม่เจริญเหลือเฉพาะส่วน lemma เรียกว่า sterile lemma หรือ non-flowering glume หรอื empty glume ดอกย่อยที่มีการเจรญิ ประกอบด้วยกลีบดอกยอ่ ยดา้ นนอก (lemma) ที่มีเส้นตามความยาว 5 เส้น และกลีบดอกยอ่ ยด้านใน (palea) ที่มเี ส้นตามความยาว 3 เส้น ดอกย่อยประกอบด้วย เกสรตัวผู้ (stamen) ที่มีก้านชูละอองเกสรตัวผู้ (filament) และอับละอองเกสรตัวผู้ (anther) ส่วนเกสรตัวเมีย (pistil) ประกอบด้วยรังไข่ (ovary) ก้านชูเกสรตัวเมีย (style) ส้ัน ปลายเกสรตัวเมีย (stigma) แยก

22 |ดรุณี พวงบตุ ร เปน็ 2 แฉก มีลกั ษณะคล้ายขนนกเรียกว่า plumose stigma และเยื่อรองรังไข่ (lodicule) อยู่ท่ีส่วน ฐานของรงั ไข่ (ภาพท่ี 2-4) ภาพท่ี 2-4 ลักษณะดอกขา้ ว ท่ีมา: นราพิมล (2014) 5. เมลด็ เมล็ดเปน็ แบบ caryopsis ประกอบด้วยเยอื่ หุ้มผล (pericarp) ตดิ อย่กู บั ส่วนของเยื่อหุ้มเมล็ด (seed coat หรือ testa) มีเปลือกหุ้มซ่ึงเป็นส่วนของ lemma และ palea เรียกว่า hull ผลของข้าว ที่เก็บเกี่ยวมาเรียกว่า ข้าวเปลือก (hulled grain) เม่ือแกะส่วนของเปลือกหุ้มออก เห็นเยื่อหุ้มผล และเยอื่ หมุ้ เมล็ดท่ีมีสีน้ําตาล เรียกว่า ข้าวกล้อง (brown rice grain) เม่ือขัดส่วนของเยื่อหุ้มสีน้ําตาล ออกจะเป็น ขา้ วสาร (kernel) ส่วนหัวของข้าวสารมีสีขาวขุ่น เรียกว่า จมูกข้าวหรือคัพภะ (embryo) ที่เหลือเป็นเอนโดสเปิร์ม (endosperm) คัพภะประกอบด้วยแรดิเคิล (radicle) พลูมูล (plumule) ใบเลี้ยงท่ีไม่มีการพัฒนา (epiblast) และเน้ือเยื่อท่ีก้ันระหว่างคัพภะกับเอนโดสเปิร์ม (scutellum) บริเวณรอบนอกของเอนโดสเปิร์มมีชั้น aleurone layer และส่วนสีขาวขุ่นที่ด้านท้อง ของเมล็ดด้านเดยี วกับคัพภะ เรยี กวา่ ทอ้ งปลาซิวหรอื ทอ้ งไข่ (abdominal white) (ภาพที่ 2-5) ภาพที่ 2-5 ลักษณะเมลด็ ข้าว ที่มา: FAO (2015)

พืชไรเ่ ศรษฐกจิ | 23 ถ่ินกาเนดิ และสภาพแวดล้อม จากการตรวจสอบหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าข้าวมีการปลูกมานานมากกว่า 2800 ปี ก่อน คริสตกาลในอินเดียและจีน จากการค้นพบล่าสุดของนักโบราณคดี Donn T. Bayard และ Richard S. Macheish นักโบราณคดีชาวอเมริกัน ผู้ซ่ึงทําการศึกษาสถานท่ีทางประวัติศาสตร์ของจีน แผ่นดินใหญ่ ในปี 2536 มีหลักฐานที่ยืนยันได้ว่าประเทศจีน คือแหล่งกําเนิดของการปลูกข้าว เพราะ ได้พบร่องรอยของข้าวป่าที่มีอายุถึง 16,000 ปี และข้าวที่ปลูกอายุกว่า 9,000 ปี จึงเช่ือว่าถ่ินกําเนิด ของขา้ วน้ันอยใู่ นเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียใต้ และตะวันออกเฉียงใต้ เน่ืองจากมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ ราบลุ่มซ่งึ เป็นพื้นทท่ี ่ขี า้ วสว่ นใหญป่ รับตวั ได้ดี สภาพนิเวศน์วทิ ยาของข้าวนัน้ พบวา่ ข้าวสามารถปรับตัวได้ดีต้ังแต่เส้นรุ้งท่ี 49˚เหนือ (ประเทศ เชคโกสโลวาเกีย) จนถึง 35˚ ใต้ (รัฐนิวเซาท์เวลประเทศออสเตรเลีย) แต่ส่วนใหญ่จะพบว่าอยู่ในเขต ร้อนระหว่างเส้น tropic of cancer (23˚ 27' เหนือ) และ tropic of capricorn (23˚ 27' ใต้) ซ่ึง ได้แก่ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ แอฟริกาตะวันตก อเมริกากลาง และ อเมริกาใต้ (ภาพท่ี 2-6) ภาพท่ี 2-6 แหล่งกาํ เนิดของขา้ ว ที่มา: Jayasinghe (2014) ลักษณะทางสณั ฐานวิทยาของขา้ ว การศึกษาลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาของพืช มคี วามสําคญั ต่อการจัดการพืชด้านต่าง ๆ เพื่อให้ พืชมีการเจรญิ เติบโตไดเ้ ต็มที่และใหผ้ ลผลิตได้ โดยการศกึ ษาลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาจะเกี่ยวข้องกับ การเจริญเติบโตของข้าว เพ่ือนําข้อมูลที่ได้มาใช้ในการจัดการปลูกข้าว โดย กิ่งแก้ว (2551) ได้แบ่ง ระยะการเจรญิ เติบโตออกเป็น 3 ชว่ ง ดงั ภาพที่ 2-7 ได้แก่

24 |ดรณุ ี พวงบตุ ร 1. การเจริญเตบิ โตทางลําต้นและใบ (vegetative growth) โดยมี 2 ระยะ คือ 1.1 ระยะต้นกล้า (seedling stage) เป็นระยะจากข้าวงอกจนกระทั่งถึงข้าวแตกกอ ใช้ ระยะเวลาประมาณ 20 วนั (ขึน้ อยูก่ ับพันธ)์ุ ส้นิ สดุ ระยะนตี้ น้ ข้าวจะมใี บประมาณ 5-6 ใบ 1.2 ระยะแตกกอ (tillering stage) นับจากข้าวเรมิ่ แตกกอดงั กลา่ วจนถึงข้าวเริ่มสร้างช่อดอก อ่อน (panicle initiation) ใช้เวลาประมาณ 30-50 หลังจากระยะต้นกล้าขึ้นอยู่กับการตอบสนองต่อ ช่วงแสงของพนั ธ์ขุ ้าว 2. การเจริญเติบโตทางด้านการสืบพันธ์ุ (reproductive growth) เริ่มจากข้าวเริ่มสร้างช่อ ดอกอ่อน ผ่านระยะตั้งท้อง (booting stage) จนถึงโผล่ช่อดอกและผสมเกสร (heading, flowering, fertilization) โดยจะใชร้ ะยะเวลาช่วงนีป้ ระมาณ 30-35 วนั ลักษณะของระยะตา่ ง ๆ มดี งั น้ี 2.1 ระยะเร่ิมสร้างช่อรวงอ่อน หลังจากแตกกอเต็มท่ีแล้วก็จะเข้าสู่ระยะสร้างช่อรวงอ่อน (พนั ธ์ทุ ่ไี วแสงจะต้องได้รับชว่ งแสงที่เหมาะสมก่อน จึงจะก่อให้เกิดระยะน้ีได้) ระยะนี้ต้นข้าวจะเปล่ียน จากต้นที่มีลักษณะแบนเป็นต้นกลม และจะมีการยืดปล้อง (stem elongation) ในอัตรารวดเร็ว หลังจากนัน้ จะเจริญเตบิ โตเรื่อย ๆ เปน็ ชอ่ ดอกทมี่ ีดอกเรยี กวา่ spikelets 2.2 ระยะตั้งท้อง เป็นระยะท่ีดอกอ่อนของข้าวขยายตัวใหญ่ขึ้นจนเป็นช่อดอกที่สมบูรณ์ ตรง กาบใบธงจะอ้วนพองขนึ้ 2.3 ระยะออกดอกและผสมเกสร ระยะที่ช่อดอกโผล่จากกาบใบ (heading) ดอกข้าวบาน (flowering) และผสมเกสร (fertilization) ซึ่งจะเกิดพร้อมกนั หรอื เหล่ือมกันบางเพยี งเลก็ นอ้ ย 3. การพัฒนาการของเมล็ด (grain development) ได้แก่ระยะภายหลังการผสมเกสร ซึ่งรัง ไข่ท่ีได้รับการผสมจะเจริญเติบโต อาหารที่ได้รับการสังเคราะห์แสงจะถูกสะสมในเมล็ดเป็นลําดับ ใน หลายแห่งจึงเรียกระยะน้ีว่าระยะสะสมในเมล็ด (grain filling period) ในระยะแรกจะอยู่ในระยะ นํ้านม (milky) เปล่ียนเป็นแป้งอ่อน (dough) จนกระทั่งเมล็ดสุก (ripening) เป็นแป้งแข็งเป็นระยะ สุกแก่หรือเก็บเก่ียว (harvest maturity) จะใช้เวลาการพัฒนาการของเมล็ดท้ังหมดประมาณ 25-30 วัน ดงั นนั้ เมื่อรวมระยะต่าง ๆ แลว้ ขา้ วจะมอี ายใุ นระหวา่ ง 110-120 วัน สําหรับข้าวไม่ไวแสงและ ประมาณ 120-140 วันสาํ หรบั ข้าวไวแสง

พืชไร่เศรษฐกิจ| 25 ภาพท่ี 2-7 ระยะการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของข้าว ท่มี า: สํานักวิจยั และพัฒนาข้าว (2560) การจาแนกชนดิ ของขา้ ว พันธ์ุข้าวที่นํามาปลูกสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ Oryza Savita ที่นิยมเพาะปลูกใน ทวปี เอเชยี และ Oryza glaberrina ทีน่ ยิ มเพาะปลูกในทวีปแอฟริกา แต่ข้าวที่ปลูกและซื้อขายกันใน ตลาดโลกเกือบท้ังหมดจะเป็นขา้ วจากทวีปเอเชีย แบ่งเป็น 3 กล่มุ แบ่งตามพื้นท่ปี ลูกไดด้ ังน้ี 1. ขา้ วอินดกิ า (indica rice) มลี กั ษณะเมล็ดยาวรี ต้นสงู เปน็ ข้าวทป่ี ลกู ในเอเชยี เขตมรสุม ตัง้ แต่ จีน เวยี ดนาม ฟิลปิ ปินส์ ไทย อินโดนีเซีย อินเดยี และศรีลงั กา 2. ข้าวจาปอนิกา (japonica rice) เป็นข้าวท่ีปลูกในเขตอบอุ่น เช่น จีน ญ่ีปุ่น เกาหลี มี ลักษณะเมลด็ ปอ้ มกลมรี ตน้ เต้ีย 3. ข้าวจาวานกิ า (javanica rice) ปลกู ในอนิ โดนีเซยี และฟิลิปปินส์ มีเมล็ดป้อมใหญ่ แต่ไม่ได้ รบั ความนยิ มเพราะใหผ้ ลผลติ ต่าํ ส่วนการจําแนกประเภทของข้าวนั้นมีหลายแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หรือเกณฑ์ของการ จําแนก ซึ่งแบง่ ออกได้ดังนี้ 1. แบ่งตามประเภทของเนอื้ แขง็ ในเมล็ดขา้ วสาร แบง่ ได้ 2 ชนดิ คอื ข้าวเจ้าและขา้ วเหนียว ซึ่งมีต้นและลักษณะอยา่ งอ่ืนเหมือนกันทกุ อยา่ ง แตกต่างกันท่ีประเภทของเน้ือแขง็ ในเมลด็ คอื 1.1 เมลด็ ข้าวเจา้ ประกอบด้วยแปง้ อมิเลส (amylase) ประมาณรอ้ ยละ 15-30 1.2 เมลด็ ข้าวเหนยี วประกอบดว้ ยแป้งอมโิ ลเพคติน (amylopectin) เป็นส่วนใหญ่และมี แปง้ อมโิ ลสเพียงเลก็ น้อยประมาณร้อยละ 5-7 เทา่ น้นั

26 |ดรุณี พวงบตุ ร 2. แบง่ ตามสภาพพ้ืนท่ีเพาะปลกู แบง่ ได้ 3 ชนดิ 2.1 ข้าวไร่ (upland rice) เป็นข้าวที่ปลูกได้ทั้งบนที่ราบและท่ีลาดชันไม่ต้องทําคันนา เก็บกักนํ้า นิยมปลูกกันมากใบบริเวณท่ีราบสูงตามไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกและ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศ 2.2 ข้าวนาสวนหรือนาดํา (lowland rice) ปลูกในพื้นที่ลุ่มท่ัวๆ ไปมีนํ้าขังระดับตั้งแต่ 5-10 เซนติเมตร จนถึง 70-80 เซนติเมตร เพื่อให้มีน้ําหล่อเลี้ยงต้นข้าวต้ังแต่ปลูกจนกระท่ังก่อนเก็บ เกี่ยว โดยทสี่ ามารถรักษาระดบั นํา้ ได้และระดบั นา้ํ ต้องไม่สูงเกนิ 1 เมตร 2.3 ข้าวขึ้นน้ําหรือข้าวนาเมือง (floating rice) เป็นข้าวท่ีปลูกในแหล่งที่ไม่สามารถ รกั ษาระดบั นาํ้ ได้ บางครั้งระดบั น้ําในบริเวณทป่ี ลกู อาจสูงกว่า 80 เซนติเมตร จนถึง 3-4 เมตร ต้องใช้ ขา้ วพันธ์พุ ิเศษท่เี รยี กวา่ ขา้ วลอยหรอื ขา้ วฟา่ งลอย 3. แบ่งตามฤดูปลูก 3.1 ข้าวนาปี เป็นข้าวท่ีปลูกได้เฉพาะในฤดูฝนเท่าน้ัน เป็นฤดูการทํานาปกติ เริ่มต้ังแต่ เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมและเก็บเก่ียวเสร็จส้ินล่าสุดไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์ พันธ์ุข้าวพื้นเมืองส่วน ใหญ่จะเป็นขา้ วไวต่อชว่ งแสง 3.2 ข้าวนาปรงั เปน็ นาขา้ วทีต่ ้องทํานอกฤดูทาํ นา ซึง่ ขา้ วทใ่ี ช้ทํานาปรังจะเป็นข้าวท่ีแสง ไม่มีอิทธิพลต่อการออกดอก เป็นข้าวท่ีออกตามอายุ ไม่ว่าจะปลูกเม่ือใดพอครบอายุก็จะเก็บเกี่ยวได้ เรม่ิ ตั้งแต่เดือนมกราคม ในบางท้องที่จะเกบ็ เกย่ี วอยา่ งช้าท่สี ุดไมเ่ กนิ เดือนเมษายน 4. แบ่งตามอายุการเก็บเก่ียว แบ่งได้เป็นข้าวเบา ข้าวกลางและข้าวหนัก โดยอายุการเก็บ เกีย่ วจะนบั ตัง้ แตว่ นั เพาะกล้าหรือหวา่ นข้าวในนาจนถึงเกบ็ เก่ียว 4.1 ข้าวเบา (early variety) คอื ขา้ วทีม่ ีอายเุ ก็บเกย่ี ว 90 –100 วนั 4.2 ขา้ วกลาง (medium variety) คอื ข้าวท่ีมีอายุเก็บเกย่ี ว 100-120 วัน 4.3 ข้าวหนัก (late variety) คอื ข้าวที่มอี ายเุ กบ็ เกี่ยว 120 วนั ขึ้นไป 5. แบง่ ตามรปู รา่ งของเมลด็ ขา้ วสาร 5.1 ขา้ วเมลด็ สน้ั (short grain) ความยาวของเมล็ดไมเ่ กนิ 5.50 มิลลเิ มตร 5.2 ข้าวเมล็ดยาวปานกลาง (medium grain) ความยาวของเมล็ดตั้งแต่ 5.51-6.60 มิลลิเมตร 5.3 ขา้ วเมล็ดยาว (long grain) ความยาวของเมล็ดตง้ั แต่ 6.61-7.50 มลิ ลิเมตร 5.4 ขา้ วเมลด็ ยาวมาก (extra-long grain) ความยาวของเมล็ดต้ังแต่ 7.51 มิลลิเมตรข้ึน ไป

พืชไร่เศรษฐกจิ | 27 6. แบ่งตามลกั ษณะความไวต่อชว่ งแสง 6.1 ข้าวไวต่อชว่ งแสง เป็นข้าวที่ออกดอกเฉพาะเม่ือช่วงเวลากลางวันส้ันกว่า 12 ช่ัวโมง มีอายุการเก็บเกี่ยวท่ีไม่แน่นอน เพราะจะออกดอกในช่วงเดือนที่มีความยาวของกลางวันส้ันกว่า กลางคืน ฉะนนั้ ข้าวพวกน้ตี อ้ งปลกู ในฤดนู าปี (ฤดฝู น) เท่านน้ั 6.2 ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง เป็นข้าวท่ีออกดอกเมื่อข้าวมีระยะเวลาการเจริญเติบโตและ ให้ผลผลิตตามอายุ จงึ ใชป้ ลกู และให้ผลผลิตได้ตลอดท้ังปี หรือปลูกได้ในฤดูนาปรัง บางคร้ังจึงเรียกว่า ข้าวนาปรงั การปลูกข้าวและการเกบ็ เก่ยี ว 1. วธิ กี ารปลกู การปลูกข้าวในปจั จบุ นั แบง่ ออกไดเ้ ป็น 6 วธิ ีด้วยกัน 1. การทํานาดํา (transplanting rice culture) แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ การตกกล้า (เพาะกล้า) ในแปลงขนาดเล็ก และการถอนต้นกล้าหรือย้ายกล้าไปปักดําในนาท่ีได้เตรียมพื้นที่ไว้แล้ว ขั้นตอนต่าง ๆ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ ขน้ั การตกกล้า การตกกลา้ หมายถงึ การเอาเมล็ดไปหว่านให้งอกและเจริญเติบโตข้ึนมาเป็น ต้นกลา้ สามารถจะทําไดโ้ ดยเอาเมล็ดพนั ธ์ทุ ตี่ ้องการใส่ถุงผ้าไปแช่ในนํ้านาน 12-24 ชั่วโมง แล้วนํามา ผ่ึงบนกระดานท่ีมีลมถ่ายเทสะดวก เอาผ้าหรือกระสอบเปียกน้ําคลุมไว้ 36-48 ช่ัวโมง หลังจากนั้น เมล็ดข้าวจะงอก จึงเอาไปหวา่ นบนแปลงกล้าเปียกท่ีได้เตรียมไว้ สาํ หรับตกกล้าในดินแห้งนั้นจะใช้การ หว่านเมล็ดบนแปลงกล้าที่เปิดเป็นร่องเป็นแถวแล้วกลบ อาจจะมีการรดนํ้าช่วยให้ข้าวงอกเร็วขึ้นผ้า ฝนไม่ตก โดยปกติใช้เมล็ดพันธ์ุจํานวน 40-50 กก. ต่อเน้ือที่แปลงกล้าหน่ึงไร่ เม่ือกล้ามีอายุครบ 25- 30 วนั นับจากวนั หวา่ นเมลด็ จะถอนตน้ กล้าไปปกั ดาํ ขั้นการปักดํา ใช้ต้นกล้าอายุ 25-30 วัน โดยถอนต้นกล้าจากแปลงแล้วมัดรวมกันเป็นมัด ๆ เข้าต้นกล้าสูงมากก็ให้ตัดปลายใบทิ้ง นําไปปักดําในที่นาที่เตรียมไว้ ซึ่งควรมีน้ําขังอยู่ประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร เพราะช่วยค้าํ ตน้ ขา้ วไม่ให้ลม้ ได้เม่อื มีลมพดั ทําการปักดาํ เปน็ แถวโดยใช้กล้า 3-4 ต้นต่อกอ ปลูกใหม้ ีระยะห่างระหวา่ งกอ 25 x 25 เซนติเมตร 2. การทํานาหว่านน้ําตม (broadcasting rice culture) การหว่านแบบนี้นิยมใช้ในพื้นที่ท่ีมี นํ้าขังประมาณ 3-5 เซนติเมตร การเตรียมดินเหมือนการเตรียมดินทํานาดําดังกล่าวแล้ว หลังจากดิน ตกตะกอนเปน็ น้าํ ใสแลว้ จงึ เอาเมลด็ พนั ธจ์ุ ํานวน 7-8 กิโลกรัมต่อไร่ เพาะให้งอกแล้วหว่านลงไป แล้ว ไขนํ้าออกเมล็ดจะเจริญเติบโตเป็นต้นข้าว การหว่านข้าวแบบนี้จะต้องมีการปรับพ้ืนที่ให้สมํ่าเสมอ และมกี ารควบคุมนํา้ ได้ 3. การทํานาหวา่ นขา้ วแหง้ (broadcasting rice culture) หลังจากเตรยี มดินโดยการไถดะไถ แปรแล้วนําเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ได้เพาะให้งอกหว่านลงไปโดยตรง ปกติใช้เมล็ดพันธุ์ 16-20 กิโลกรัมต่อไร่

28 |ดรุณี พวงบตุ ร เมล็ดพันธ์ุที่หว่านจะตกอยู่ตามซอกก้อนดินและรอยไถ เม่ือฝนตกลงมา เมล็ดได้รับความช้ืนก็จะงอก การหวา่ นแบบนใี้ ช้กับดนิ ทม่ี ีความชืน้ เพยี งพออย่แู ล้ว 4. การทํานาโยนกล้า เป็นการทํานาแบบใหม่ท่ีเป็นการผสมผสานกันระหว่างนาดํากับนา หว่านนํ้าตม เป็นการโยนตุ้มกล้าท่ีเพาะไว้แล้วลงในแปลง ซึ่งสามารถนํามาใช้แทนการถอนต้นกล้าปัก ดําด้วยแรงงานคน แตใ่ ช้แรงงานน้อยกวา่ และใหผ้ ลผลติ ไม่แตกต่างจากการปกั ดํา 5. การปลูกข้าวแบบประณีต เป็นวิธีการผสมผสานของการจัดการพืช การจัดการน้ําและการ จัดการดินแนวทางใหม่ โดยใช้ต้นกล้าอ่อนที่มีอายุ 2 - 3 ใบปักดําหลุมละ 1 ต้น ใช้ระยะปักดําห่าง เปน็ วิธกี ารปลกู ขา้ วโดยไมม่ ีน้าํ ท่วมขังชว่ งระยะการเจริญเติบโตทางลําต้น (vegetative Stage) และมี นํ้าขังเล็กน้อยในระยะการเจริญเติบโตให้ดอกผล (reproductive Stage) แต่จะมีการจัดการนํ้าโดย การปล่อยนํ้าเข้า-ออก เปียกสลับแห้งตลอดจนใช้อินทรียวัตถุในการปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพ ของดนิ 6. การปลกู ขา้ วไร่ (upland rice planting) เป็นการปลูกข้าวบนท่ีดอนและไม่มีน้ําขังในพื้นที่ ปลูก พ้ืนที่ดังกล่าวมักเป็นพื้นที่เชิงเขามีระดับสูง ๆ ต่ํา ๆ จึงไม่สามารถไถเตรียมดินเหมือนการปลูก พืชไร่อื่น ๆ เกษตรกรมักจะปลูกแบบหยอดโดยจะทําการตัดไม้เล็กและหญ้าออก ใช้ไม้ปลายแหลม เจาะดินเป็นหลุมเล็ก ๆ ลึกประมาณ 3 เซนติเมตร ปากหลุมมีขนาดกว้างประมาณ 1 นิ้ว ระยะ ระหว่างหลุมประมาณ 25 x 25 เซนติเมตร มักจะหยอดเมล็ดทันทีที่ทําหลุมโดยหลอดหลุมละ 5-8 เมล็ด หยอดเสร็จแล้วใช้เท้าเกลี่ยดินกลบ ข้าวจะงอกหลังจากได้รับความช้ืนจากฝน วัชพืชเป็นปัญหา สาํ คญั ตอ้ งหมั่นกาํ จัดถา้ ต้องการผลผลติ ส่วนใหญป่ ลกู ขา้ วไร่ไวบ้ ริโภคในครัวเรือน 2. การเก็บเกยี่ วข้าว การเก็บเกี่ยวข้าวจะกระทําเมื่อผลแก่จัดเต็มท่ีอายประมาณ 30 วันหลังดอกบาน มีความชื้น ภายในผลหรือเมล็ดประมาณ 21-24 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นระยะท่ีเมล็ดบริเวณโคนรวงมีสีเหลืองทั่วกัน ทั้งหมด อาจเก็บเกี่ยวในระยะที่เมล็ดข้าวสุกเหลืองเกือบท้ังรวง ประมาณร้อยละ 80 ถ้าเก็บเกี่ยวข้าว ช้าเกินไปจะทําให้คอรวงหักและเมล็ดร่วงเสยี หาย โรคและแมลงท่ีสาคัญของข้าว ในการปลูกข้าว เกษตรกรมักจะประสบปัญหาภัยธรรมชาติอยู่เสมอ นอกจากน้ีในการปลูก ข้าวยังมีปัญหาที่สําคัญท่ีส่งผลต่อการลดลงของผลผลิตข้าวในทุกปี ก็คือการเกิดโรคและแมลง ซึ่งถือ เป็นศตั รขู า้ วท่ีสาํ คัญ ซงึ่ แบง่ ออกเป็นหลายชนิด (สํานกั งานวจิ ัยและพฒั นาขา้ ว, 2550) ดังนี้ 1. โรคที่สําคัญของข้าว 1.1 โรคไหม้ เกิดจากเช้ือรา ลักษณะอาการ กาบใบข้อต่อของใบและข้อต่อของลํา ต้น ขนาดของแผลใหญก่ ว่าระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ แผลบริเวณข้อต่อใบมีลักษณะแผลช้ําสี นาํ้ ตาลดาํ และใบมักหลดุ จากข้อต่อใบ

พชื ไร่เศรษฐกิจ| 29 1.2 โรคขอบใบแห้ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ลักษณะอาการ มีจุดเล็กลักษณะฉ่ํานํ้าที่ ขอบใบล่าง ต่อมา 7-10 วัน จุดขยายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบ ใบแห้งเร็วส่วนท่ียังมีสีเขียว เปลี่ยนเป็นสีเทา ถ้าอาการรุนแรงต้นข้าวอาจเห่ียวตายท้ังต้น หากนําต้นกล้าที่ได้รับเช้ือไปปักดําต้น กล้าจะเหยี่ วตายในเวลาอนั รวดเร็ว 1.3 โรคกาบใบแห้ง เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ แผลเกิดท่ีกาบใบใกล้ระดับน้ํา มีสีเขียว ปนเทา ขอบแผลมีสีน้ําตาลขนาด 1-4 x 2-10 ม.ม. แผลอาจขยายใหญ่มากข้ึนและลุกลามข้ึนไปตาม กาบใบ ใบข้าว และกาบใบธง ใบและกาบใบเห่ียวและแห้งตาย ถ้าข้าวแตกกอมาก ต้นเบียดกันแน่น โรคจะระบาดรุนแรงมากขึน้ 1.4 โรคถอดฝักดาบ เกิดจากเช้ือรา ลักษณะอาการ ระยะกล้า ต้นกล้าจะแห้งตายหลังจาก ปลกู ไดไ้ มเ่ กนิ 7 วันแต่มักพบกับข้าวอายุเกิน 15 วัน ข้าวเป็นโรคจะผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าวโดยท่ัว ๆ ไป ต้นขา้ วผอมมีสีเขียวอ่อนซีดมักย่างปล้อง มีรากเกิดข้ึนท่ีข้อต่อของลําต้นส่วนท่ีย่างปล้อง บางกรณี ขา้ วจะไม่ย่างปล้องแต่รากจะเน่าช้ําเวลาถอนกล้ามักจะขาดตรงบริเวณโคนต้น ถ้าเป็นรุนแรงกล้าข้าว จะแห้งตาย หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดําได้ 15-45 วัน โดยท่ีต้นเป็นโรคจะสูง กว่าต้นข้าวปกติ ใบมีสีเขียวซีด เกิดรากแขนงท่ีข้อลําต้นตรงระดับน้ํา บางคร้ังพบกลุ่มเส้นใยสีชมพู บริเวณขอ้ ท่ยี ่างปล้องข้นึ มา 1.5 เพล้ียไฟ เป็นแมลงขนาดเล็กยาว 1-2 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีสีดําทําลายข้าวโดยดูดกินนํ้า เลย้ี งจากใบขา้ วทําให้ปลายใบแห้ง ขอบใบม้วนเขา้ หากนั ถ้าระบาดมากทาํ ให้ขา้ วตายทง้ั แปลง 1.6 หนอนกอข้าว ตัวหนอนกัดกินภายในลําต้นข้าว ในข้าวท่ียังเล็กหรือข้าวที่กําลังแตกกอ จะเกิดอาการ “ยอดเห่ียว” และแห้งตาย หากหนอนกอทําลายระยะข้าวต้ังท้อง หรือหลังจากนั้น ทํา ให้รวงข้าวมีสีขาว เมล็ดลีบทั้งรวง เรียกกว่า “ข้าวหัวหงอก” รวงข้าวท่ีมีอาการดังกล่าวจะดึงหลุด ออกมาไดง้ า่ ย 1.7 เพล้ียกระโดดหลังขาว ตัวอ่อนและตวั เต็มวัยดดู กินนํา้ เล้ียงบรเิ วณโคนกอข้าว ถ้ามีแมลง จาํ นวนมากทาํ ให้ตน้ ขา้ วแห้งตาย นอกจากน้เี พล้ยี กระโดดสนี า้ํ ตาลยงั เป็นพาหะนาํ โรคใบหงิกมาส่ขู ้าว อกี ด้วย 1.8 แมลงบ่ัว ทาํ ลายขา้ วโดยตัวหนอนแทรกตวั เข้าไปอย่รู ะหวา่ งลาํ ต้นกับกาบใบ และทําลาย สว่ นทีเ่ ปน็ จุดเจริญของหน่อข้าว ตน้ ข้าวจะสรา้ งเน้อื เย่ือหมุ้ ตวั หนอน และเจริญเปน็ หลอดคล้ายหลอด หอม ต้นทเ่ี ป็นหลอดจะไม่ออกรวง ถ้าการระบาดรุนแรง ต้นขา้ วจะแตกกอมากแตแ่ คระแกร็น 1.9 เพลยี้ จักจน่ั สเี ขยี ว เป็นแมลงปากดูด ทาํ ลายขา้ วทัง้ ทางตรงและทางอ้อมทางตรง คือ ทงั้ ตัวอ่อนและตัวเต็มวยั ดดู กินน้ําเลีย้ งจากใบขา้ ว ทางอ้อม คือ เปน็ แมลงพาหะนาํ โรคใบสีส้มมาส่ขู ้าว แมลงชนดิ นีม้ ักพบในนาขา้ วอย่เู สมอ โดยเฉพาะฤดฝู น

30 |ดรุณี พวงบตุ ร สถานการณก์ ารผลติ และการตลาดของขา้ ว 1. สถานการณก์ ารผลิตขา้ วของโลก จากการวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตข้าวของโลก ในช่วงปี 2553-2557 พบว่าพื้นที่เก็บเกี่ยว มีแนวโน้มลดลง โดยประเทศที่มีพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยวข้าว 10 อันดับแรกของโลก ได้แก่ อินเดีย จีน อินโดนีเซีย ไทย บังกะลาเทศ เวียดนาม เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และไนจีเรีย (ภาพท่ี 2-8) โดย ประเทศอินเดีย มีพื้นท่ีเก็บเกี่ยวข้าวสูงท่ีสุด ประมาณ 260 ล้านไร่ รองลงมา คือ จีน (190 ล้านไร่) สว่ นประเทศไทยมีพื้นทีเ่ ก็บเก่ยี วอยู่ในอันดบั ที่ 4 โดยมพี ื้นที่เก็บเกีย่ ว 65 ลา้ นไร่ (FAO, 2017) ภาพท่ี 2-8 พ้ืนท่ีปลูกขา้ วของประเทศ 10 อนั ดับแรกของโลกในปกี ารผลิต 2010-2014 ท่ีมา: FAO (2017) เมื่อพิจารณาผลผลิตขา้ วในชว่ งปี 2553-2557 กลับพบว่าประเทศจีน มีผลผลิตข้าวรวมสูงสุด คือ 200 ล้านตัน รองลงมา คือ อินเดีย (155 ล้านตัน) ซ่ึงเป็นประเทศที่มีพ้ืนที่ผลิตข้าวมากที่สุด แต่มี ผลผลิตเป็นอันดับสอง ในขณะท่ีประเทศไทย มีผลผลิตรวมเพียง 37 ล้านตัน (ภาพท่ี2-9) นอกจากน้ี ยังพบว่าประเทศจีนยังผลผลิตต่อพื้นท่ีสูงสุด คือ 1072 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา คือ เวียดนามและ อินโดนีเซีย ส่วนประเทศไทยมีผลผลิตอยู่ท่ี 490 กิโลกรัมต่อไร่ (ภาพท่ี 2-10) จากข้อมูลช้ีให้เห็นว่า ประเทศจีนท่มี ผี ลผลติ รวมสูงทีส่ ุด อาจจะเกดิ การทมี่ ีผลผลิตตอ่ พ้นื ที่สูงสุด ถึงแม้ว่าจะมีพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยว เป็นอันดบั สองกต็ าม

พชื ไรเ่ ศรษฐกจิ | 31 ภาพท่ี 2-9 ผลผลิตข้าวของประเทศ 10 อันดบั แรกของโลกในปกี ารผลติ 2010-2014 ทมี่ า: FAO (2017) ภาพท่ี 2-10 ผลผลติ ตอ่ พืน้ ที่ข้าวของประเทศ 10 อันดบั แรกของโลกในปีการผลติ 2010-2014 ทีม่ า: FAO (2017)

32 |ดรณุ ี พวงบุตร จากการวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้น ในปี 2555/56 ช้ีให้เห็นว่าพื้นที่ผลิตข้าวของโลก มีแนวโน้ม ลดลงจากปี 2554/55 ร้อยละ 1.27 ในขณะท่ีผลผลิตรวมที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.68 และผลผลิตเฉลีย่ ต่อพน้ื มแี นวโน้มเพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.01 อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดว่าปี 2559/60 จะมีเน้ือที่เก็บเกี่ยว 1,014.12 ล้านไร่ ผลผลิต 721.30 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 712 กิโลกรัม เพ่ิมขึ้นจากปี 2558/59 ท่ีมี เนือ้ ท่เี กบ็ เก่ยี ว 994.81 ลา้ นไร่ ผลผลิต 703.80 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 707 กิโลกรัม หรือเพ่ิมขึ้น รอ้ ยละ 1.94 ร้อยละ 2.48 และรอ้ ยละ 0.71 ตามลําดบั (สาํ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560a) 2. สถานการณก์ ารตลาดข้าวของโลก ในการวเิ คราะห์สถานการณ์การตลาดข้าวของโลก ในปี 2552-2556 แสดงให้เห็นว่าประเทศ ท่ีมีแนวโน้มส่งออกข้าวลดลง (ภาพท่ี 2-11) ในปี 2555/56 ประเทศท่ีส่งออกเพ่ิมข้ึน ได้แก่ อินเดีย ไทยปากีสถาน และสหรัฐอเมริกา สวนประเทศท่ีส่งออกลดลง เช่น เมียนมาร์ และเวียดนาม โดย อินเดียส่งออกไดมากเป็นอันดับ 1 ของโลก รองลงมา ไดแก เวียดนาม สําหรับไทย สามารถส่งออก ข้าวไดเป็นอันดบั 3 ของโลก อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรสหรฐั อเมริกา คาดว่าปี 2559/60 จะมีปริมาณการส่งออกข้าว เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 1.98 จากปี 2558/59 โดยประเทศที่คาดว่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น ออสเตรเลีย เมียนมาร์ กมั พูชา จีน อียปิ ต์ สหภาพยุโรป เวียดนาม สหรัฐอเมรกิ า และไทย ส่วนประเทศที่คาดว่าส่งออกลดลง เช่น อาร์เจนตนิ า บราซิล อนิ เดยี ปารากวัย และอรุ กุ วยั (สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) ภาพท่ี 2-11 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกขา้ วของประเทศ 5 อันดับแรกของโลกในปีการผลิต 2010- 2013 ทม่ี า: FAO (2017)

พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ| 33 ในปี 2555/56 พบว่าประเทศท่ีคาดว่านําเข้าเพิ่มขึ้น เช่น บราซิล อิหร่าน อิรัก ซาอุดิอาระเบีย และเบนิน ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนําเข้าลดลง ได้แก่ จีน ไอเวอรีโคสต์ กานา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย และเซเนกัล (ภาพที่ 2-12) ในปี 2559/60 ประเทศท่ีคาดว่านําเข้า เพิ่มขึ้น เช่น เบนิน จีน เฮติ อินโดนีเซีย อิรัก เคนยา มาเลเซีย เม็กซิโก โมแซมบิค เนปาล ฟิลิปปินส์ เซเนกลั สหรฐั อาหรับเอมเิ รส และสหรัฐอเมรกิ า สว่ นประเทศที่คาดว่าจะนําเข้าลดลง เช่น บราซิล ไอ เวอรีโ่ คสต์ ควิ บา อิหร่าน ไนจเี รยี และแอฟรกิ าใต้ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560b) ภาพที่ 2-12 ปริมาณและมลู คา่ การนาํ เข้าข้าวของประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลกในปีการผลติ 2010- 2013 ท่มี า: FAO (2017) 3. สถานการณ์การผลติ ขา้ วของไทย ในปี 2559/60 พบว่าประเทศไทยมีพ้ืนที่เพาะปลูก 68 ล้านไร่ ผลผลิตรวม 31.8 ล้านตัน และมีผลผลิตต่อไร่ 544 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2558/59 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.64 ร้อยละ 4.50 และร้อยละ 3.82 ตามลําดับ (ภาพท่ี 2-13) โดยเนื้อท่ีเพาะปลูกเพ่ิมข้ึน เนื่องจากมีปริมาณนํ้าฝนและ ฝนตกกระจายในพ้ืนที่เพ่ิมข้ึน ทําให้เกษตรกรบางพื้นที่ท่ีเคยปล่อยพ้ืนที่นาว่างเม่ือปี 2558 สามารถ ปลูกข้าวได้ตามปกติ ประกอบกับราคาข้าวท่ีเกษตรกรขายได้ในช่วงต้นปี 2559 ปรับตัวสูงข้ึนจากปี 2558 จึงจูงใจให้เกษตรกรทําการเพาะปลูก สําหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพ่ิมขึ้น ส่งผลให้ภาพรวม ผลผลิตทงั้ ประเทศเพิ่มขึน้ (สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560b)