Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Published by chirtsaksri, 2023-07-02 04:15:36

Description: หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Search

Read the Text Version

หลักสตู ร พัฒนาศกั ยภาพเจา หนา ท่ีสาธารณสขุ เพอ� รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โครงการการเสริมสรา งขดี ความสามารถ ของระบบสุขภาพทยี่ ืดหยนุ รองรับ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กองประเมินผลกระทบตอ สขุ ภาพ กรมอนามยั สนบั สนนุ งบประมาณโดยองคการอนามยั โลก



หลักสตู ร โครงการการเสริมสร้างขดี ความสามารถของระบบสขุ ภาพที่ยดื หย่นุ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กองประเมนิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ กรมอนามยั สนบั สนนุ งบประมาณโดยองค์การอนามยั โลก

หลกั สูตร เพพฒั อ่ื รนอาศงักรยับภราะพบเบจส้าหขุ นภ้าาทพสี่ ทาธยี่ าืดรหณยสุน่ ขุ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ISBN 978-616-11-5094-5 พิมพ์ครัง้ ที่ 1 มิถนุ ายน 2566 จ�ำนวนพมิ พ์ 100 เลม่ จัดทำ� โดย กองประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข ถนนตวิ านนท์ ต�ำบลตลาดขวญั อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนนทบุรี โทร. 02-590-4362, 02-590-4951 ออกแบบและผลติ โดย บรษิ ทั แอด ไทม์ไลน์ เน็ทเวริ ค์ จำ� กดั

ค�ำนำ� การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาที่ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ ถึงแม้ว่าท่ัวโลกจะพยายามไม่ให้ อณุ หภมู สิ งู กวา่ 1.5 องศาเซลเซยี ส แตเ่ มอื่ ไมน่ านมาน้ี องคก์ ารอตุ นุ ยิ มวทิ ยาโลก (WMO) ไดร้ ะบใุ นรายงานประจำ� ปี วา่ มโี อกาสรอ้ ยละ 50 ทอี่ ณุ หภมู โิ ลกจะสงู ขนึ้ 1.5 องศาเซลเซยี สเหนอื ระดบั กอ่ นยคุ อตุ สาหกรรมภายในปี ค.ศ. 2026 ซงึ่ คาดการณว์ า่ อณุ หภมู ทิ ส่ี งู ขน้ึ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางสง่ิ แวดลอ้ มรนุ แรง ไมว่ า่ จะเปน็ ธารนำ�้ แขง็ ทล่ี ะลาย นำ้� ทะเลหนนุ สงู ขน้ึ ภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ ซงึ่ สง่ ผลตอ่ แนวปะการงั ซงึ่ มผี ลตอ่ ระบบนเิ วศทว่ั โลก และสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ ของประชาชน ซ่ึงภาคสาธารณสุขมีบทบาทหน้าท่ีหลักในการดูแลและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ แต่สร้างความเสียหายต่อระบบสุขภาพ ไม่ว่า จะเปน็ โครงสรา้ งสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เวชภณั ฑ์ อปุ กรณท์ างการแพทย์ ระบบสาธารณปู โภคภายในสถานบรกิ าร สาธารณสุข ซึ่งหากภาคสาธารณสุขไม่มีการเตรียมการรองรับมือกับภัยที่จะเกิดข้ึนในอนาคต นั่นหมายถึงอาจไม่มี ความสามารถเพียงพอต่อการให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชนได้ การจัดท�ำหลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขเพ่ือรองรับระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงมีความส�ำคัญอย่างย่ิง เพอื่ เป็นองคค์ วามรู้สำ� หรับการพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าท่สี าธารณสุข ใหม้ คี วามรู้ มที กั ษะในการจัดการสถานบรกิ าร สาธารณสขุ ของประเทศไทยรองรับกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตได้ คณะผจู้ ัดท�ำ 2566

กติ ตกิ รรมประกาศ หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพ่ือรองรับระบบสุขภาพที่ยืดหยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศฉบับนี้ จะเกิดข้ึนไม่ได้เลยหากไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ขอขอบคุณวิทยากรจากองค์การอนามัยโลกประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (WHO SEARO) ส�ำหรับ องคค์ วามรรู้ ะบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ขอขอบพระคณุ เจา้ หนา้ ที่ ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมอนามัย และกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือ ในการประสานงาน จนทำ� ใหส้ ำ� เร็จลุล่วงได้ดว้ ยดี

สารบัญ ค�ำน�ำ 2 กติ ตกิ รรมประกาศ อภิธานศัพท์ 9 ภาพรวมหลกั สูตร...................................................................................................................................................................................................................................................... บทนำ� ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... .. Module 1 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศในบรบิ ทภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแผนงานโครงการ ทเ่ี ก่ยี วข้องของ WHO 11................................................................................................................................................................................................................................... Module 2 ท่ีมาและความส�ำคัญของสถานบรกิ ารสาธารณสุขทีม่ ีสิง่ แวดล้อมยัง่ ยืนและยืดหยุ่น รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 31.................................................................................................................................................................................... ... Module 3 บทบาทของบคุ ลากรด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กบั การปรับตัวตอ่ การเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ 49........................................................................................................................................................................................................................................................ Module 4 การสขุ าภบิ าล การจดั การน�้ำ และของเสยี ทางการแพทย์................................................................................................................................................ 59 Module 5 การจัดการพลังงานและการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ............................................................................................................................................. 77 Module 6 ระบบสาธารณูปโภค เทคโนโลยี และผลิตภัณฑ์ท่ีใชใ้ นสถานบริการสาธารณสขุ .................................................................................... 91 Module 7 การพัฒนาสถานบริการสาธารณสขุ ให้มีความยืดหยนุ่ พร้อมรับการเปลยี่ นแปลง สภาพภมู ิอากาศ 105........................................................................................................................................................................................................................................................ Module 8 แนวทางการประเมินสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ท่เี ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม...................................................................................................... 123 ใบงานท่ี 1 การประเมนิ สถานพยาบาลทีย่ ืดหยุน่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ......................................................... 141 แบบทดสอบท่ี 1 145...................................................................................................................................................................................................................................................... Module 9 การเฝ้าระวงั โรคจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 147...................................................................................................................................................... Module 10 การบูรณาการเฝ้าระวงั โรคและระบบเตอื นภัยลว่ งหน้าจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ................................................... 167 ใบงานท่ี 2 การบูรณาการเฝ้าระวังโรคและส่อื สารเตอื นภยั โรคทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ 198........................................................................................................................................................................................................... แบบทดสอบท่ี 2 199...................................................................................................................................................................................................................................................... แบบประเมินความพึงพอใจ 201................................................................................................................................................................................................................................. สง่ิ สนับสนนุ 203...................................................................................................................................................................................................................................................................... คณะผู้จัดทำ� 204.......................................................................................................................................................................................................................................................................

อภธิ านศพั ท์ คำ�ศัพท์ ความหมาย Climate Resilient and Environmental Sustainable Health Care Facilities สถานบริการสาธารณสุขท่ีมีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและ Climate Change ยดื หยนุ่ พรอ้ มรับมอื ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ คอื การเปลย่ี นแปลงลกั ษณะ Weather อากาศเฉลยี่ (average weather) ในพนื้ ทห่ี นง่ึ ลกั ษณะอากาศ เฉลย่ี หมายความรวมถงึ ลกั ษณะทง้ั หมดทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อากาศ Healthcare services เชน่ อุณหภูมิ ฝน ลม เปน็ ตน้ สภาพอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในช่วง Infrastructure ระยะเวลาหนงึ่ ซงึ่ เปลยี่ นแปลงไปตาม วนั เวลาและสถานที่ เชน่ ลมฟ้าอากาศที่กรุงเทพมหานครในวันนี้ อุณหภูมิสูงถึง 40 Resilience องศาเซลเซยี ส เป็นต้น Environmental Sustainability การบริการด้านสาธารณสุข คือ การดูแลและสนับสนุนด้าน Adaptation การสงเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและ Health Care Facilities การฟื้นฟสู ภาพของประชาชน Public Health Professionals ระบบสาธารณูปโภคในสถานบริการสาธารณสุข เช่น ระบบ Health Workforce ประปา ไฟฟ้า การระบายน�้ำ การป้องกันน้�ำท่วม การบ�ำบัด Water, Sanitation and Hygiene (WASH) นำ้� เสยี การกำ� จดั ขยะทวั่ ไป มลู ฝอยตดิ เชอ้ื การปอ้ งกนั อคั คภี ยั Healthcare waste เปน็ ตน้ ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื กบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Climate Smart ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม เช่น การใช้พลังงานหมุนเวียน การใช้ทรพั ยากรอยา่ งยั่งยนื เปน็ ตน้ Procuring goods การปรบั ตัวจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สถานบริการสาธารณสุข คือ หน่วยงานในการให้บริการทาง สุขภาพท้งั การดแู ล ปอ้ งกัน และรักษา แก่ประชาชน เจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ บุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ การสขุ าภิบาล การจดั การน้�ำสะอาด และสขุ ลักษณะ ของเสียทางการแพทย์มีจุลินทรีย์ท่ีอาจเปน็ อนั ตรายทีส่ ามารถ ติดเชื้อผู้ป่วยในโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ ประชาชนทวั่ ไป อัจฉริยะด้านสภาพภูมิอากาศ ท่ีช่วยให้เกิดการบริการจัดการ ทางสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แมจ้ ะเกดิ การเปลย่ี นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ การจัดซอ้ื จัดจ้างจัดหาพสั ดุ

คำ�ศัพท์ ความหมาย Acute climatic events เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเฉียบพลัน เช่น Interventions ภัยแล้ง นำ�้ ท่วม เป็นต้น Climate variability มาตรการ/วิธีการในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพจาก การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Monitoring and assessment ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เป็นความผันแปร Risk management ในสภาวะเฉลี่ยและลักษณะอื่นๆ ของภูมอิ ากาศ (เชน่ โอกาส Health and Safety regulation หรือความเปน็ ไปไดข้ องสภาพอากาศที่รนุ แรง เป็นต้น) Rainwater harvesting การประเมินและติดตามเฝา้ ระวัง การจัดการความเสี่ยงทางสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง Water safety plan (WSP) สภาพภูมิอากาศ Energy efficiency ข้อก�ำหนดด้านสาธารณสุขและความปลอดภัยเพื่อป้องกัน electrification อันตรายต่อสขุ ภาพจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ staff retention ระบบเก็บน้�ำฝน เป็นกระบวนการหรือเทคโนโลยีง่ายๆ ท่ีใช้ ในการอนรุ กั ษน์ ำ้� ฝน โดยการรวบรวม จดั เกบ็ ลำ� เลยี ง เพอื่ นำ� ไปใช้ equipment functionality ประโยชน์ในภายหลงั Delivery service แผนการจดั การน�้ำสะอาดเพือ่ ให้เกิดความปลอดภยั In-patient service การประหยดั พลังงาน เปน็ การใชพ้ ลังงานอย่างคุ้มค่า Out-patient service กระแสไฟฟ้า National care การรักษาเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขหรือบุคลากรทางการแพทย์ Laboratory services ให้มีคุณภาพ สามารถดูแล ป้องกันสุขภาพของประชาชนได้ Immunization services ภายใตส้ ถานการณ์การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Carbon footprint การทำ� งานของอุปกรณต์ ่างๆ ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข Electrical grid การบริการทางการแพทย์ในการดแู ลสุขภาพของประชาชน Photovoltaic cell การบรกิ ารรกั ษาผปู้ ว่ ยใน(ผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ รบั การรกั ษาในสถานพยาบาล) การบรกิ ารรกั ษาผปู้ ว่ ยนอก (ผปู้ ว่ ยทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษา โดยไมต่ อ้ ง พกั รกั ษาตัวในโรงพยาบาล) การบรกิ ารรกั ษาคนในประเทศ การบรกิ ารตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ บริการฉีดวัคซีนเพอ่ื การรกั ษาและการปอ้ งกันโรค ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีปล่อยออกมาจากกระบวนการ ทั้งหมดในสถานบริการสาธารณสขุ โครงข่ายไฟฟ้า หรือเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันส�ำหรับการจ่าย ไฟฟ้าจากผู้ผลติ ต่างๆ ไปยงั ผบู้ ริโภค เซลล์แสงอาทิตย์ (ที่สามารถเปล่ียนพลังงานแสงเป็นพลังงาน ไฟฟา้ ได)้

2 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพ่อื รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภาพรวมหลักสูตร 1.1 หลักการและเหตุผล การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อปัจจัยกําหนดด้านสุขภาพและปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อมต่างๆ ทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นเมือง สิ่งปฏิกูลมูลฝอย มลพิษอากาศ และอื่นๆ ซ่ึงผลท่ีตามมาจะทวีความ รุนแรงของผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศมากข้ึน โดยมนษุ ยไ์ ด้รับผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลง สภาพภูมิอากาศท้ังทางตรงและทางอ้อม ตั้งแต่อาการเล็กน้อยจนอาจถึงขั้นเสียชีวิตเน่ืองจากอุณหภูมิท่ีเพ่ิมสูงข้ึน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรคต่างๆ ระบบสาธารณสุข เป็นด่านหน้าของการป้องกันโรคและจําเป็นต้องมีทรัพยากรท่ีสําคัญในการรับมือเหตุฉุกเฉินจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในระดับประเทศ ดังเช่นการระบาดใหญ่ท่ัวโลกของ COVID-19 ได้แสดงให้เห็นว่าสถานบริการ สาธารณสุขต้องรับมือกับกับการเจ็บป่วยล้มตายจํานวนมากท่ีเก่ียวข้องกับเหตุการณ์ขนาดใหญ่ จึงมีความจําเป็น ท่ีสถานบริการสาธารณสุขต้องมีการเตรียมการรองรับผู้ป่วยอย่างเพียงพอและมีแผนการฟื้นฟูอย่างมีประสิทธิภาพ ดว้ ยเชน่ กนั เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ จะดาํ เนนิ งานใหบ้ รกิ ารรกั ษาไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งวกิ ฤต ในขณะทก่ี ารเปลยี่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศเป็นวิกฤตระดับโลกที่ยังเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบทางลบต่อส่ิงแวดล้อมและระบบสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานบริการสาธารณสุข จึงจําเป็นท่ีต้องมีการจัดระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานรองรับที่ พร้อมรบั มอื และมีบุคลากรดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ ทไ่ี ดร้ บั การฝกึ อบรม มีทักษะ การจัดการดา้ นอนามัย ส่ิงแวดลอ้ ม ท้ังการสขุ าภิบาลอาหารและน�ำ้ พลงั งาน และการจัดการของเสีย หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อรองรับระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ จึงเป็นหลักสูตรส�ำหรับการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขให้มีความรู้ความเข้าใจ เรอ่ื งการปรบั ตวั ดา้ นสขุ ภาพ และการจดั การสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทง้ั ดา้ นระบบสาธารณปู โภคโครงสรา้ งพนื้ ฐาน และดา้ นการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพ ตามแนวทางการพฒั นาขององคก์ าร อนามัยโลก ช่วยเพิ่มขีดความสามารถของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขและสถานบริการสาธารณสุขให้สามารถดําเนินงาน ให้บริการด้านสขุ ภาพได้ภายใตก้ ารเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ เพ่อื พัฒนาระบบสุขภาพทยี่ ืดหยนุ่ พร้อมรบั มือตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเหมาะสม และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในระดับ พื้นที่ต่อได้ นําไปสู่การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างขีดความสามารถของระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของประเทศไทยต่อไป

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 3 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 1.2 วตั ถุประสงค์หลกั สูตร พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขระดับส่วนกลาง ระดับเขต และระดับจังหวัด ให้มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการสถานบริการสาธารณสุขที่ยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ สามารถน�ำไปพัฒนาการดำ� เนนิ งานในระดับพ้นื ที่ต่อได้ 1.3 กล่มุ เป้าหมาย เจา้ หน้าทสี่ าธารณสุขระดบั สว่ นกลาง ระดบั เขต ระดบั จงั หวัด และสถานบรกิ ารสาธารณสุขในพ้นื ที่ 1.4 รปู แบบกระบวนเรยี นการสอน การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งน้ี ประกอบด้วยการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม และการนําเสนอผลการอภิปราย กลุ่ม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ถึงตัวอย่างกรณีศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในระดับภูมิภาค และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากพ้ืนท่ีต่างๆ เก่ียวกับสถานบริการสาธารณสุขที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและมีความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 1. อุปกรณป์ ระกอบการเรยี นการสอน : คอมพวิ เตอรโ์ น้ตบคุ๊ ฟลิปชาร์จ ปากกาเมจกิ 2. รปู แบบการจดั โตะ๊ : จดั โตะ๊ แบบกลมุ่ ภายในกลมุ่ ประกอบดว้ ยเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ในระดบั เขต ระดบั จงั หวดั หรอื สถานบรกิ ารสาธารณสุขที่อยใู่ นพ้ืนท่ีเขตเดียวกัน 3. กระบวนการเรียนการสอน : เป็นการเรียนรู้โดยให้ความรู้ด้านวิชาการ ประกอบกับการแลกเปลี่ยน ประสบการณร์ ะหวา่ งผเู้ ขา้ รว่ มอบรมและผสู้ อน การทำ� กจิ กรรมกลมุ่ ใหอ้ สิ ระแกผ่ เู้ ขา้ รว่ มอบรม ในการคดิ วิเคราะห์ โดยใช้ประสบการณ์จริงหรือเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมภายในกลุ่ม เพ่ือให้เกดิ กระบวนการคิด เพอื่ นำ� ไปสูก่ ารแกไ้ ขปัญหาในพนื้ ท่ขี องผเู้ ข้ารว่ มอบรมต่อไป 1.5 ระยะเวลา ระยะเวลาทั้งหมด 3 วัน (1,320 นาท)ี เวลา กจิ กรรม รวมระยะเวลา วนั ที่ 1 09.30 – 10.00 น. แนะน�ำตัว 30 นาที 10.00 – 10.30 น. การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในบริบทภูมิภาคเอเชียตะวันออก 30 นาที เฉียงใตแ้ ละแผนงาน/โครงการท่เี กย่ี วขอ้ งของ WHO 10.30 – 11.30 น. ทีม่ าและความสำ�คัญของสถานบริการสาธารณสขุ ทม่ี สี งิ่ แวดลอ้ ม 60 นาที ยง่ั ยนื และยดื หยุ่นรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 11.30 – 12.00 น. 30 นาที 12.00 – 13.00 น. ซักถาม - แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 60 นาที 13.00 – 13.45 น. พักรับประทานอาหารกลางวนั 45 นาที บทบาทของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขกับการปรับตัว ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

4 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุน่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ เวลา กิจกรรม รวมระยะเวลา 13.45 – 14.45 น. 14.45 – 15.45 น. การสขุ าภิบาล การจัดการนำ้� และของเสยี ทางการแพทย์ 60 นาที 15.45 – 16.30 น. การจัดการพลงั งานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 60 นาที ระบบสาธารณปู โภค เทคโนโลยี และผลิตภัณฑ์ที่ใชใ้ นสถานบรกิ าร 45 นาที วันที่ 2 สาธารณสขุ 09.00 – 09.15 น. 09.15 – 10.15 น. ทบทวนความรูจ้ ากส่ิงเรียนมาในวนั ที่ 1 15 นาที การพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขให้มคี วามยดื หยนุ่ พร้อมรับ 60 นาที 10.15 – 11.30 น. การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ แนวทางการประเมินสถานบรกิ ารสาธารณสุขทีเ่ ป็นมติ รตอ่ 75 นาที 11.30 – 12.00 น. สิ่งแวดล้อม 12.00 – 13.00 น. ซักถาม - แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ 30 นาที 13.00 – 15.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 60 นาที ท�ำกิจกรรมกลุ่ม: การประเมินสถานบริการสาธารณสุขท่ียืดหยุ่น 120 นาที 15.00 – 16.00 น. รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 16.00 – 16.30 น. ทดสอบความรู้ – เฉลย 60 นาที วันที่ 3 เปิดเวทอี ภปิ ราย ซักถาม และแลกเปลยี่ น 30 นาที 09.00 – 09.15 น. 09.15 – 10.15 น. ทบทวนความรูจ้ ากสง่ิ เรียนมาในวันที่ 2 15 นาที 10.15 – 11.30 น. การเฝา้ ระวงั โรคจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 60 นาที การบูรณาการเฝา้ ระวงั โรคและระบบเตือนภยั ล่วงหนา้ 75 นาที 11.30 – 12.00 น. จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 12.00 – 13.00 น. ซกั ถาม - แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ 30 นาที 13.00 – 15.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 60 นาที ทำ� กจิ กรรมกลุม่ : การบรู ณาการเฝา้ ระวังโรคและส่อื สารเตอื นภัย 120 นาที 15.00 – 16.00 น. โรคทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 16.00 – 16.30 น. ทดสอบความรู้ – เฉลย 60 นาที ท�ำแบบประเมนิ การอบรม 30 นาที

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ 5 เพ่ือรองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 1.6 ภาพรวมของหลักสตู ร เนอ้ื หาหลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ประกอบดว้ ย 2 สว่ น ได้แก่ ส่วนท่ี 1 Module 1-8 สถานบริการสาธารณสุขที่มสี ิง่ แวดลอ้ มท่ยี ังยืนและยดื หยุน่ รองรบั การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ส่วนท่ี 2 Module 9-10 การเฝ้าระวังโรคจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มรี ายละเอียดดงั ตารางด้านล่างนี้ ส ว่ น ท ่ี 1 Mสภoาdพuภleูม1ิอ-า8กาสศถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี สี ่ิงแวดลอ้ มที่ยงั ยืนและยืดหยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลง Module 1 1. สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศและ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในบริบท ผลกระทบต่อสุขภาพ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตแ้ ละแผนงาน/ โครงการท่ีเกี่ยวขอ้ งของ WHO 2. การขบั เคลอื่ นงานดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และสขุ ภาพขององค์การอนามยั โลก 3. การขบั เคลอื่ นงานดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และสุขภาพของประเทศไทย Module 2 1. ที่มาและความส�ำคัญของสถานบริการสาธารณสุขท่ีมี ท่ีมาและความส�ำคัญของสถานบริการ สงิ่ แวดลอ้ มที่ย่ังยืนและยืดหยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลง สาธารณสุขที่มีส่ิงแวดล้อมย่ังยืนและยืดหยุ่น สภาพภูมอิ ากาศ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 2. ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กับภาคสาธารณสุข 3. กรอบแนวคิดสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีสิ่งแวดล้อม ยงั่ ยนื และยดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ขององคก์ ารอนามัยโลก 4. แนวทางขององคก์ ารอนามยั โลกเกย่ี วกบั การจดั สถานบรกิ าร สาธารณสขุ ทม่ี สี ง่ิ แวดลอ้ มยง่ั ยนื และยดื หยนุ่ พร้อมรับมอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5. กรณศี ึกษา Kerala, India สถานบรกิ ารสาธารณสุขทีม่ ี สง่ิ แวดลอ้ มยงั่ ยนื และยดื หยนุ่ Kerala Public Healthcare Facility (HCFs)

6 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หย่นุ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ส ว่ น ท ี่ 1 Mสภoาdพuภleมู 1ิอ-า8กาสศถานบริการสาธารณสขุ ท่ีมสี งิ่ แวดล้อมทีย่ ังยนื และยดื หย่นุ รองรบั การเปลี่ยนแปลง 1. ความเสย่ี งและความเปราะบางของสถานบรกิ าร สาธารณสขุ อนั เนอ่ื งมาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ 2. ทรพั ยากรบคุ คลและการเตรยี มพรอ้ มรบั มอื กบั ภาระโรค ท่เี พ่ิมข้นึ 3. การพฒั นาขดี ความสามารถของบคุ ลากรดา้ นการแพทย์ และสาธารณสขุ เพอ่ื รบั มอื กบั ความเสย่ี งดา้ น สภาพภมู อิ ากาศและลดภยั คุกคามตอ่ สิ่งแวดล้อม 4. การสรา้ งจติ สำ� นกึ ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นสาธารณสขุ ผปู้ ว่ ย และชุมชน 5. ตวั อย่างเฉพาะด้านมาตรการที่เกีย่ วข้องกบั บคุ ลากร ดา้ นการแพทย์และการสาธารณสขุ Module 4 1. บทบาทในการจัดการน�้ำและของเสยี อย่างยั่งยนื ใน การสุขาภิบาล การจัดการน้�ำ และของเสีย สถานบริการสาธารณสุข ทางการแพทย์ 2. การจัดการน้�ำที่เหมาะสมในเหตุการณ์สภาพภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงเฉยี บพลนั ท้ังภัยแลง้ และนำ�้ ทว่ ม 3. มาตรการระดบั องค์กรของสถานบริการสาธารณสุข เพือ่ ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ และการจดั การนำ้� และของเสยี ทเ่ี ปน็ มติ ร ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 4. หลักการการดำ� เนนิ งานทเี่ ปน็ ปจั จัยความสำ� เร็จ ทง้ั การตดิ ตามและการประเมนิ ผลการจดั การความเสยี่ งและ การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภยั 5. ตัวอย่างมาตรการเฉพาะดา้ นการสขุ าภบิ าล การจดั การ น้ำ� สะอาดและสุขลักษณะ (WASH)

หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข 7 เพ่อื รองรับระบบสุขภาพที่ยืดหยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ส ่ว น ท ี่ 1 Mสภoาdพuภleมู 1ิอ-า8กาสศถานบริการสาธารณสุขทม่ี สี ง่ิ แวดล้อมที่ยงั ยนื และยดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลง Module 5 1. รูปแบบการใชพ้ ลงั งานในสถานบริการสาธารณสขุ การจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลง 2. ผลกระทบของเหตุการณ์การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ สภาพภูมอิ ากาศเฉยี บพลันที่ทำ� ใหก้ ารบรกิ ารตอ้ ง หยดุ ชะงัก 3. มาตรการของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั การจดั การ พลังงานที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและยืดหยุ่น พรอ้ มรับมือต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 4. วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการดำ� เนนิ งานทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ประกอบดว้ ย การประเมนิ และตดิ ตามเฝา้ ระวงั การจดั การ ความเสยี่ งและการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนดดา้ นสาธารณสขุ และความปลอดภัย 5. ตวั อยา่ งมาตรการเฉพาะด้านพลงั งาน Module 6 1. รูปแบบการใช้พลังงานในสถานบริการสาธารณสขุ ระบบสาธารณปู โภค เทคโนโลยี 2. ผลกระทบของเหตกุ ารณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และผลติ ภัณฑ์ทใ่ี ช้ในสถานบรกิ าร สาธารณสุข เฉยี บพลันทีท่ �ำใหก้ ารบริการตอ้ งหยุดชะงัก 3. มาตรการของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ สำ� หรบั การจดั การ พลงั งานทมี่ คี วามยงั่ ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 4. วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการดำ� เนนิ งานทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ประกอบดว้ ย การประเมนิ และตดิ ตามเฝา้ ระวงั การจดั การ ความเสย่ี ง และการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำ� หนดดา้ นสาธารณสขุ และความปลอดภัย 5. ตวั อยา่ งมาตรการเฉพาะด้านพลังงาน Module 7 1. แนวทางการดำ� เนนิ งานพฒั นาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ การพัฒนาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ ี ทม่ี คี วามยดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพ ภมู ิอากาศ 2. ตัวอย่างการด�ำเนินงานในสถานบริการสาธารณสุขของ ประเทศไทยในการรบั มอื กบั ภยั ทเี่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ

8 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข เพือ่ รองรับระบบสุขภาพที่ยืดหยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ส ่ว น ท ่ี 1 Mสภoาdพuภleูม1อิ -า8กาสศถานบริการสาธารณสขุ ที่มีสิ่งแวดล้อมท่ยี งั ยนื และยืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลง Module 8 1. แนวทางการประเมนิ เพอ่ื จดั ระดบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ แนวทางการประเมนิ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทเ่ี ปน็ มิตรต่อสิง่ แวดลอ้ ม ท่ีเป็นมติ รต่อสิ่งแวดล้อม 2. ตวั ชีว้ ดั ทีส่ ำ� คญั 3. ความส�ำคัญของการประเมินเพ่ือจัดระดับสถานบริการ สาธารณสขุ ทเ่ี ปน็ มติ รต่อสง่ิ แวดลอ้ ม สว่ นท่ี 2 Module 9-10 การเฝา้ ระวังโรคจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Module 9 1. พน้ื ฐานของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการเจบ็ การเฝา้ ระวังโรคจากการเปลี่ยนแปลง ป่วยของมนุษย์ สภาพภูมิอากาศ 2. ปจั จัยท่สี ง่ ผลให้รูปแบบการเกิดโรคเปล่ยี นแปลงไป 3. ประเภทการเฝา้ ระวงั โรคจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิ อากาศ Module 10 1. บทบาทของระบบเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning การบรู ณาการเฝา้ ระวงั โรคและระบบเตอื นภยั System: EWS) ในการจดั การโรคทไี่ วตอ่ สภาพภมู อิ ากาศ ลว่ งหนา้ จากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 2. การบรู ณาการเฝา้ ระวงั โรค (integrated Disease Surveil- lance:IDS) และระบบเตอื นภยั ล่วงหนา้ (EWS) ส�ำหรบั การจดั การสาธารณสขุ ภายใตส้ ถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลง สภาพภมู ิอากาศทั่วโลก 3. กรณีศึกษาการเฝ้าระวังโรคแบบบรู ณาการและ การแจ้งเตอื นลว่ งหน้า 1.7 การประเมินผล วธิ ีการประเมนิ ผลผู้เขา้ รว่ มอบรม ใช้วธิ ีประเมนิ ประเมินความรู้และทกั ษะของผ้เู ข้าร่วมอบรม ดังนี้ 1) ประเมินผลจากแบบทดสอบ 2) ประเมนิ ผลจากการเขา้ รว่ มทำ� กิจกรรมในระหวา่ งการเรียนการสอน 3) ประเมินผลจากการสนทนา ถาม-ตอบ การอภิปราย และการทำ� กจิ กรรมรว่ มกันระหวา่ งผสู้ อนและผู้เรียน 4) ประเมนิ ผลจากผู้เขา้ รว่ มอบรมตอ้ งเขา้ ร่วมอบตลอดหลกั สูตรอยา่ งน้อย 80 %

หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ 9 เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพท่ยี ืดหยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ บทน�ำ 2.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม 1) เพือ่ ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมอบรมเขา้ ใจถึงวตั ถุประสงค์ รปู แบบการอบรม ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั หลังการอบรม 2) กระตุ้นใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มการอบรมตน่ื ตัวและใหค้ วามส�ำคัญกับการอบรม 2.2 ระยะเวลา 30 นาที 2.3 กิจกรรม 1) ใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ มอบรมนั่งตามกลุ่มท่กี �ำหนด 2) ผู้เข้าร่วมแนะน�ำตัว หน่วยงานที่สังกัด และปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เคยพบหรือ ส่งผลกระทบตอ่ หนว่ ยสถานบรกิ ารสาธารณสุขในพ้นื ที่ 3) แนะนำ� ภาพรวมหลกั สูตร วัตถุประสงค์ กำ� หนดการ และการเข้าถึงไฟล์หรือเอกสารประกอบการอบรม 2.4 อธบิ ายภาพรวมหลกั สูตร วัตถุประสงค์ของการอบรม เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื ง ดา้ นการปรบั ตวั จากการเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข เพ่ือรองรับระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยตลอดหลักสตู ร ผู้เข้ารับการอบรมจะได้รบั ความรู้ ดังน้ี 1. การนาํ เสนอแนวทางระดบั โลกและเครอื่ งมอื การประเมนิ เกยี่ วกบั ระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การ เปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ท่ีปรบั ให้เขา้ กบั บริบทของระดับภมู ภิ าค 2. การฝกึ อบรมเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข เพื่อประเมนิ สถานบริการสาธารณสุข ให้มคี วามยืดหยุ่นพร้อมรบั มือตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมทั้งการเฝ้าระวังโรคที่ไวต่อ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศอยา่ งบูรณาการ

10 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 3. การอภิปรายกลุ่มแลกเปล่ียนกรณีศึกษา ตัวอย่างแนวทางปฏิบัติที่ดีในระดับภูมิภาค และแนวทางในการ พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขให้มีความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและเป็นมิตร ต่อส่งิ แวดลอ้ ม 4. นําเสนอผลและส่ิงท่ีพบจากการประเมินสถานการณ์ของสถานบริการสาธารณสุขที่มีอยู่ในประเทศไทย ตามกรอบแนวทางขององคก์ ารอนามยั โลกเรอื่ งสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ คี วามยง่ั ยนื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และยดื หยนุ่ พรอ้ มรับมือตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5. ให้ค�ำแนะนํา แนวทางในการบูรณาการการดําเนินงานด้านความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ เข้ากับการดําเนินงานของสถานบริการสาธารณสุขในระดับชาติ ภูมภิ าค และระดบั จังหวดั เนื้อหาหลักสูตร เนอ้ื หาหลกั สตู ร “พฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ” ประกอบด้วย 10 Modules โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ดังน้ี สว่ นท่ี 1 Module 1 – 8 สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ที่มสี งิ่ แวดลอ้ มทยี่ ังยืนและยืดหย่นุ รองรับการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ Module 1: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในบริบทภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแผนงาน/ โครงการทเี่ กยี่ วข้องของ WHO Module 2: ท่ีมาและความส�ำคัญของสถานบริการสาธารณสุขที่มีสิ่งแวดล้อมที่ย่ังยืนและยืดหยุ่นรองรับ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Module 3: บทบาทของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขกับการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ Module 4: การสุขาภิบาล การจดั การน�ำ้ สะอาด และของเสียทางการแพทย์ Module 5: การจัดการพลงั งานและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Module 6: ระบบสาธารณูปโภค เทคโนโลยี และผลิตภณั ฑ์ทใี่ ชใ้ นสถานบรกิ ารสาธารณสุข Module 7: การพฒั นาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 8: แนวทางการประเมินสถานบริการสาธารณสุขทเ่ี ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม สว่ นท่ี 2 Module 9 – 10 การเฝ้าระวงั โรคจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 9: การเฝ้าระวงั โรคจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Module 10: การบรู ณาการเฝา้ ระวงั โรคและระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยเน้ือหาทั้งหมดจะเป็นการบรรยายประกอบกับการแลกเปล่ียนเรียนรู้ อภิปรายความคิดเห็นร่วมกัน ผ้เู รยี นสามารถแลกเปลี่ยน ซักถามได้ตลอดการบรรยาย สำ� หรบั การประเมนิ ผลการอบรม ในแตล่ ะสว่ นของเนอื้ หา จะมกี ารทำ� กจิ กรรมกลมุ่ รว่ มกบั การทดสอบ ผสู้ อนจะเปน็ ผปู้ ระเมนิ ซงึ่ ผเู้ รยี นจะตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมตลอดการอบรม อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 80 โดยในท้ายสุดหลงั จบหลักสตู ร จะมปี ระกาศนียบัตรรองรับการอบรม

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข 11 เพ่อื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1Module การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ในบรบิ ทภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ และแผนงาน/โครงการที่เกี่ยวขอ้ ง ขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO)

12 หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุน่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 1 การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศในบรบิ ทภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแผนงาน/โครงการทเ่ี กย่ี วข้องขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ขอบเขตเน้อื หา 1. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและผลกระทบตอ่ สุขภาพ 2. การขบั เคลื่อนงานด้านการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศและสุขภาพขององคก์ ารอนามัยโลก 3. การขบั เคล่อื นงานดา้ นการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและสุขภาพของประเทศไทย ระยะเวลา 30 นาที กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. เรียนรผู้ า่ นการบรรยาย 2. แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ะหว่างผู้สอนและผเู้ รียน เนอ้ื หา ความรับผดิ ชอบดา้ นสขุ ภาพจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศขององค์การอนามยั โลก ประจำ� ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกและเอเชยี ใต้ (WHO SEARO)

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 13 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทย่ี ืดหยนุ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Regional & Global Scenario • Globally, over 90% of people breathe unhealthy air, resulting in around 7 million deaths every year, including around 2.4 million in the Region • WHO estimates that more than 13 million deaths around the world each year are due to avoidable environmental causes • Diseases caused by lack of access to food, or consumption of unhealthy, high calorie diets, is a major contributor to NCDs, which in our Region kill around 9.2 million people annually • Between 2030 and 2050, climate change is expected to cause approximately 250,000 additional deaths per year, from malnutrition, malaria, diarrhoea and heat stress. Among WHO regions, South-East Asia has the highest estimated deaths due to climate change. สถานการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศระดบั โลกและภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ประชาชนมากกว่า 90% บนโลกต้องหายใจจากอากาศท่ีไม่สะอาด ส่งผลให้ประชาชนท่ัวโลกเสียชีวิต จำ� นวน 7 ล้านคนทุกๆ ปี รวมถงึ ประชาชนประมาณ 2.4 ล้านคนในภมู ิเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ WHO คาดว่าจะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 13 ล้านคนทั่วโลกในแต่ละปี เน่ืองจากส่ิงแวดล้อมที่ไม่สามารถ หลกี ลี่ยงได้ โรคที่มีสาเหตุจากขาดการเข้าถึงอาหารหรือภาวะทุพโภชนาการจากการได้ปริมาณแคลอรีท่ีสูงเกินไป ซึ่งเป็นสาเหตหุ ลักของโรค NCDs (non-communicable diseases) ซ่งึ ไดค้ ร่าชวี ิตประชาชนประมาณ 9.2 ล้านคนตอ่ ปี ระหว่างปี ค.ศ.2030 – 2050 (พ.ศ.2573 - พ.ศ.2593) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นสาเหตุ ของการเสียชีวิตประมาณ 250,000 คนต่อปี จากภาวะทุพโภชนาการโรคมาลาเรีย โรคอุจจาระร่วง และโรคจากความร้อน ท่ามกลางภูมิของ WHO พบว่าภูมิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการเสียชีวิต เนอื่ งจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศสูงท่สี ดุ

14 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยุน่ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อผลลพั ธท์ างสขุ ภาพได้อยา่ งไร? การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศสง่ ผลกระทบต่อสุขภาพในขั้นแรก ได้แก่ มลพิษอากาศ โรคจากความร้อน การเข้าถึงน้�ำสะอาดและโรคท่ีมาจากน�้ำเป็นส่ือ โครงสร้างด้านสุขภาพและระบบบริการสาธารณสุขภัยพิบัติ โรคทเี่ กิดจากพาหะนำ� โรค เชน่ ไขเ้ ลือดออก มาลาเรีย

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข 15 เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มลพิษอากาศ คุณภาพอากาศมีความออ่ นไหวจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศมาก การเพม่ิ ขน้ึ ของมลพิษอากาศสง่ ผลกระทบต่อปอด หัวใจ และโรคระบบทางเดนิ หายใจอย่างมนี ัยส�ำคญั สง่ ผลใหม้ ีจำ� นวนผเู้ สียชีวติ มากกว่า 2 ลา้ นคนต่อปี ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ใครคือกลุ่มเสย่ี ง ? ทารกในครรภ์มารดา ทารกแรกเกิดและเดก็ เล็ก ผ้ทู เี่ ป็นโรคหอบหืดหรือผูป้ ว่ ยโรคระบบทางเดินหายใจ ประชาชนในเขตเมือง โดยเฉพาะผู้มีฐานะยากจน และกลุ่มผู้ทท่ี ำ� งานกลางแจง้ ผมู้ โี รคประจำ� ตัว โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งโรคหวั ใจและปอด ผู้สบู บุหรี่

16 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ความร้อน การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศสง่ ผลใหอ้ ณุ หภมู สิ ูงขึ้น อณุ หภมู ิทีส่ ูงขึ้นน�ำไปสกู่ ารเกดิ คลืน่ ความรอ้ นและการเปลี่ยนแปลงของคา่ ความชื้นสัมพทั ธ์ เพ่ิมความเสี่ยงของอาการเครียดจากความร้อนทางร่างกาย และโรคฮีทสโตรก เช่น การท�ำงาน ของหัวใจ ไต และระบบทางเดนิ หายใจลม้ เหลว ผลกระทบทางเศรษฐกิจ: ประสทิ ธิภาพของการทำ� งานของลูกจ้างหรอื ผใู้ ช้แรงงานลดลง และสง่ ผล ตอ่ รายได้ ใครคอื กลมุ่ เส่ยี ง? ผู้มโี รคประจ�ำตวั เชน่ โรคหวั ใจ โรคปอด และผูท้ ่เี ปน็ โรคอว้ น ผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่ร่างกายอาจไม่สามารถขับเหง่ือออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ร่างกายปรับตัว จากความร้อนหรือกลไกการขับความรอ้ นออกทางร่างกายทำ� ได้ยากขนึ้ เด็กเล็ก เป็นผู้ที่ร่างกายยังเจริญเติบโตไม่เต็มท่ี ส่งผลให้ร่างกายยังไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ใน ภาวะปกติได้ หญงิ ตั้งครรภ์ เปน็ ผู้ทร่ี ่างกายมแี นวโนม้ อณุ หภูมิสูงกว่าคนปกติ กลุม่ คนรายได้นอ้ ย/ยากจน เปน็ ผูท้ เี่ ข้าถึงอุปกรณ์ท�ำความเย็นไดย้ าก ผู้ที่ทำ� งานกลางแจง้ หรือผู้ทอี่ อกแรงกลางแจ้งอยา่ งหนกั

หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ 17 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ การเขา้ ถงึ น้ำ� สะอาดและโรคที่มีนำ�้ เปน็ ส่อื การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามการเสียชีวิตท่ีเกิดจากโรคอุจจาระร่วงซ่ึงมีสาเหตุ จากน้ำ� เปน็ สอ่ื ประเดน็ หลักทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความรนุ แรงจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ: - ความสามารถเขา้ ถึงแหล่งนำ�้ - คุณภาพน�้ำ - โรคท่เี กิดจากพาหะนำ� โรค - โรคอุจจาระรว่ ง - การปนเปื้อนเชือ้ โรคอนื่ ๆ ในนำ้� - โรคจติ เภท - การเพม่ิ ขนึ้ ของโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดการรุกล้�ำของน้�ำเค็ม บริเวณชายฝงั่ ใครคอื กล่มุ เสย่ี ง? เดก็ เล็ก เป็นผู้ทม่ี ีรา่ งกายอ่อนแอเส่ยี งตอ่ การเปน็ โรคอจุ จาระร่วงและพยาธิในล�ำไส้ ผ้ทู อี่ าศยั ในพ้ืนที่เสี่ยงน้ำ� ท่วม ผทู้ ไ่ี มส่ ามารถเข้าถึงแหล่งน้ำ� ทสี่ ะอาดได้ ผู้ใหญ่ทม่ี คี วามเสีย่ งเป็นโรคความดันโลหติ สูงและโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด

18 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สาธารณูปโภคขน้ั พ้ืนฐานและระบบขนสง่ ระบบสุขภาพจ�ำเปน็ ตอ้ งมีการเตรียมการและปรับตัวต่อผลกระทบจากสภาพภูมอิ ากาศ - ผลกระทบทันทีทนั ใด (ภัยพบิ ัต)ิ : สร้างความเสียหายต่อสิ่งปลกู สรา้ งและสาธารณูปโภคขน้ั พืน้ ฐาน ทำ� ให้เกดิ ชอ่ งวา่ งหรอื ขาดการขนส่งยาและการเขา้ ถงึ บริการสาธารณสุข - การเปล่ียนแปลงอย่างช้าๆ (Slow – onset) จากการเปล่ียนแปลงของปริมาณน้�ำฝนและรูปแบบ ของอุณหภมู :ิ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์โรคและความต้องการของประชาชนสำ� หรับการดูแลสุขภาพ โอกาสตอ่ ผนู้ �ำการเปลยี่ นแปลงบนการปรับตวั โดยการลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก ใครคือกลมุ่ เสย่ี ง? ผทู้ ่อี าศยั ในพนื้ ทีเ่ ส่ียงจากนำ�้ ท่วม พายุ และเหตกุ ารณ์รนุ แรงสุดข้วั เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ ที่ต้องการเดินทางในระหวา่ งเกิดเหตุการณ์รนุ แรงสุดข้ัว ผู้ที่ตอ้ งการดแู ลสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในช่วงเกดิ เหตุการณ์รนุ แรงสดุ ขวั้ ผู้ที่มีอาการเรือ้ รงั อาจได้รับผลกระทบจากระบบขนส่งยาหรอื อปุ กรณท์ างการแพทยท์ ่ตี ้องหยดุ ชะงัก

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข 19 เพอื่ รองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ภัยพิบัติ ความถี่ของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทีเ่ กย่ี วข้องกับภยั พิบตั ิ เพิ่มขน้ึ 46% ตง้ั แตป่ ี ค.ศ.2000 ผลกระทบโดยตรง เชน่ การบาดเจบ็ การเสียชีวติ ความเสยี หายของอาคารบา้ นเรอื น ผลกระทบทางออ้ ม เชน่ การรบั สมั ผสั เชอ้ื โรคทางนำ�้ ปญั หาความเครยี ด/สขุ ภาพจติ ขาดการเขา้ ถงึ ระบบ ดูและสขุ ภาพชั่วคราว เปน็ ตน้ ใครคอื กลุม่ เส่ียง? ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งหรือริมแม่น�้ำท่ีอาจเกิดน้�ำท่วม (พ้ืนที่น�้ำท่วมซ้�ำซาก) โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ ในพืน้ ท่ตี ่ำ� เด็กทม่ี อี ายุต่ำ� กวา่ 5 ปี เปน็ ผู้ทม่ี รี า่ งกายอ่อนแอเสย่ี งตอ่ การเปน็ โรคอุจจาระรว่ งและโรคอ่ืน ๆ ผู้ทีม่ ีรายไดต้ ่ำ� /ยากจน เป็นผู้ท่ตี อ้ งอาศยั อยใู่ นสถานท่พี ักพิงที่เปราะบาง ไมแ่ ขง็ แรง และยากต่อการดูแล เอาใจใส่ ผสู้ งู อายุ ผทู้ ่ไี มส่ ามารถเคลื่อนไหวรา่ งกายได้สะดวก ผู้ที่ประสบอุบตั ิเหตุ โดยเฉพาะผู้ท่มี คี วามเส่ยี งทางสุขภาพจติ

20 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โรคทเ่ี กดิ จากพาหะน�ำโรค การเปลย่ี นแปลงในวงจรชวี ติ ของแมลง ปรสติ ไวรัส และกลไกอ่นื ๆ ทท่ี �ำให้เกดิ โรค การเปลี่ยนแปลงชว่ งระยะเวลาของฤดกู าลและลกั ษณะทางภูมิศาสตร์ สง่ ผลตอ่ การติดเช้ือโรคทีม่ ากข้ึน เข่น โรคไขเ้ ลอื ดออก มาลาเรีย การเปลี่ยนแปลงทีเ่ ชือ่ มโยงอ่นื ๆ เชน่ - การเขา้ ถงึ แหลง่ นำ�้ และอาหารทส่ี ะอาด - คุณภาพของระบบบริการสาธารณสขุ - การเคลื่อนย้ายของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ - การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ และทรัพยากรนำ�้ - การดำ� เนินการป้องกนั โรคดว้ ยวคั ซนี ใครคอื กล่มุ เส่ียง? ประชาชนท้งั หมดมีความเสี่ยง แตเ่ ดก็ เล็กและผสู้ ูงอายุมีผ้ทู ี่แนวโน้มเสียชีวิตหรอื เจ็บปว่ ยรุนแรงกว่า คนปกติ

หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข 21 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพทย่ี ืดหย่นุ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ สุขภาพจิต ผลกระทบของสขุ ภาพจิตจากภัยพบิ ตั ิ อาจมากกวา่ การบาดเจบ็ ทางกายภาพในอตั รา 40:1 ผลกระทบทางอ้อม เช่น - ความเสยี หายทางกายภาพและทางสงั คม สาธารณปู โภค - ผลกระทบทางรา่ งกาย - ขาดแคลนอาหารและน้�ำ - ความขดั แย้งและการถกู ขับไล่ (ท�ำให้ขาดทอี่ ยอู่ าศัย) การรักษาสขุ ภาพจิตและการตอบโตจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งบูรณาการในแผนการปรบั ตัวและการจัดการภยั พิบตั ิ ใครคอื กลุ่มเสีย่ ง? วัยรุ่น เป็นผู้ที่มีความเส่ียงสูงต่อการเป็นโรค PTSD (Post-traumatic Stress Disorder) หรือ ความผิดปกติท่ีเกิดหลังความเครียดท่ีสะเทือนใจ เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ท่ีเกิดขึ้นภายหลัง พบเหตกุ ารณค์ วามรุนแรง ผหู้ ญงิ เพราะมโี อกาสทางสงั คมตำ�่ ลดการเขา้ ถงึ บรกิ ารความคาดหวงั ของความรับผิดชอบในครัวเรือน การเปน็ หมา้ ยและการล่วงละเมดิ ทางเพศ ผทู้ ม่ี ีรายได้น้อยหรอื กล่มุ ชนกลุ่มน้อย กลุ่มชาติพันธ์ุ เป็นผู้ทีม่ ีสถานะทางสังคมต�่ำ

22 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยืดหยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โภชนาการ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีอิทธิพลต่อผลผลิตและห่วงโซ่ทางโภชนาการของทรัพยากร ทางอาหารหลกั เช่น - พชื หลัก - การจับปลา - ประสิทธิภาพของการท�ำปศุสัตว์ ระบบนิเวศท่ีซพั พอร์ทผลผลติ อาหารจะขาดหายไป ความเส่ียงของภาวะทพุ โภชนาการ รวมถึงขอ้ บกพรอ่ งธาตอุ าหารรอง ใครคอื กลุ่มเสย่ี ง? เด็กทีอ่ ายตุ �ำ่ กว่า 5 ปี เปน็ ผู้มีความเสย่ี งต่อการขาดวติ ามิน ธาตอุ าหารรอง และบกพรอ่ งการพฒั นาทาง สขุ ภาพจติ เดก็ และผู้ใหญ่ดน้ิ รนกับภาวะโภชนาการต�ำ่ ผใู้ หญ่ ผทู้ มี่ คี วามเสย่ี งเพมิ่ ดว้ ยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เบาหวาน โรคมะเรง็ ดงั เชน่ การลดลงของการไดร้ บั สารอาหารจากผลไม้ ผกั ถว่ั และเมลด็ พชื

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ 23 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพท่ยี ืดหยนุ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศสง่ ผลทัง้ ดา้ นพลงั งานและคณุ ค่าสารอาหารของพืชหลัก คาดว่าจะมีผู้คนนับร้อยล้านได้รับความเสี่ยงจากสังกะสีและเหล็ก และ/หรือข้อบกพร่องทางโปรตีน ดงั เชน่ ผลลพั ธค์ วามเข้มข้นของก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ท่เี พม่ิ ขนึ้ 7 – 15 % โปรตีนลดลง (ขา้ ว วีท ขา้ วบารเ์ ลย์ มันฝรง่ั เทศ) 3 – 11 % ความเข้มขน้ ของสงั กะสแี ละเหล็กลดลง (ซเี รียล ธัญพชื และพชื ตะกูลถั่ว) 5 – 10 % ฟอสฟอรสั โพรแทสเซยี ม แคลเซยี ม คลั เฟอร์ แมกนเี ซยี ม เหลก็ สงั กะสี ทองแดง และแมงกานสี ลดลง (พชื ผลทห่ี ลากหลาย)

24 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ BuWildHhineOgaclRtlhiEmSsayPtsetOe-rmNesSsilEie:nt การรบั มอื ของ WHO : การสรา้ งระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุ่น - WHO ได้จัดท�ำปฏิญญามาเล (Malé Declaration) เพ่ือสร้างระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - กรอบการด�ำเนินงานส�ำหรับการด�ำเนินงานสร้างระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ใน WHO ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ค.ศ. 2017 – 2022 - WHO Global Strategy on Health Environment and Climate Change: เป็นยทุ ธศาสตร์ด้าน อนามัยสิ่งแวดลอ้ มเพื่อให้ประชาชนมสี ขุ ภาพดขี ึน้ - น�ำไปสู่การจัดท�ำแผนปฏิบัติการส�ำหรับการด�ำเนินงาน WHO Global Strategy for Health, Environment and Climate Change

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ 25 เพอื่ รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หย่นุ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Other responses and guidance คู่มอื และแนวทางการด�ำเนินงานอื่นๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งของ WHO สามารถดาวนโ์ หลดไดจ้ าก https://www.who.int/teams/environment-climate-change-and-health/climate-change-and- health/capacity-building/toolkit-on-climate-change-and-health

26 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพ่ือรองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ การขับเคล่อื นงานด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและสุขภาพของประเทศไทย สถานการณค์ วามเสยี่ งที่ส�ำคัญ ภัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท�ำให้เกิดเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วหลายอย่าง เช่น คลื่นความร้อน ฝนตกหนัก และความแห้งแล้ง อาจเกิดขึ้นบ่อยคร้ังและรุนแรงข้ึนในหลายส่วนของโลก โดย German watch ไดแ้ สดงแผนทโ่ี ลกของดชั นคี วามเสยี่ งระดบั โลก: ดชั นคี วามเสย่ี งประเมนิ จากจำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ และคา่ ความเสยี หาย โดยแสดงการจดั อนั ดบั 10 ประเทศของโลกทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณส์ ภาพอากาศสดุ ขว้ั มากทส่ี ดุ (ระหวา่ ง พ.ศ. 2543 - 2562) โดยทป่ี ระเทศไทยตดิ อนั ดบั 9 ของประเทศทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ และสถานพยาบาล ในประเทศไทยไดร้ บั ผลกระทบจากความเสยี่ งจากภยั พบิ ตั ริ นุ แรงเชน่ กนั เชน่ อทุ กภยั ภยั แลง้ ซงึ่ สรา้ งความเสยี หาย ท้งั ตวั อาคาร และมผี ลกระทบต่อการให้บรกิ าร การรักษาพยาบาล เปน็ ต้น

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ 27 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กรอบแนวคิดการจัดท�ำแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (Health National Adaptation Plan ; HNAP) กระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดท�ำแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขนี้ เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มของภาคสาธารณสขุ ในการรบั มอื และปรบั ตวั จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยบรู ณาการ กบั หนว่ ยงานทง้ั ในและนอกกระทรวงสาธารณสขุ เพอ่ื คมุ้ ครองปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพประชาชน ดว้ ยยทุ ธศาสตร์ ส�ำคัญ 4 ดา้ น ทีม่ ่งุ เน้น ยทุ ธศาสตร์ท ่ี 1 H : Health Literacy of the community การเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 N : Networking for multisectoral capacity building การบรู ณาการศกั ยภาพทกุ ภาคสว่ น ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 A : Advocacy for commitment การเสรมิ สรา้ งความพรอ้ มของประเทศดา้ นการสาธารณสขุ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 P : Public health preparedness การพฒั นาระบบการสาธารณสขุ รบั มอื การเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยการจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารฯ ในครงั้ นี้ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การบรู ณาการศกั ยภาพทกุ ภาคสว่ น ร่วมขับเคล่ือนการสาธารณสุขจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาระบบ การสาธารณสขุ ของประเทศรบั มือการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

28 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานดา้ นการปรับตัวจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย การขับเคลื่อนการด�ำเนินงานด้านการปรับตัวจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข ในประเทศไทยมีการด�ำเนนิ งาน ได้แก่ (1) MOU ระหว่างกรมอนามัยกับส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการสนับสนุนจาก GIZ เพือ่ รว่ มกนั ด�ำเนนิ งานดา้ นการปรับตัวจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (2) กรมอนามัยร่วมกับ GIZ พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข ประเมนิ ความเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ซงึ่ มกี ารตดิ ตามและประเมนิ ผล และการบรู ณาการ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในสาขาสาธารณสขุ (3) การพฒั นาโครงการ GREEN and CLEAN Hospital ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2554 และปจั จุบนั ก�ำลงั จะยกระดับ สถานพยาบาลสู่ GREEN and CLEAN Hospital Challenge เพอ่ื เปน็ สถานพยาบาลทล่ี ดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก และยืดหยุ่นพรอ้ มรับมอื ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ

หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ 29 เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ บทบาทของภาคสาธารณสุขตอ่ การับมอื Climate Change สง่ เสริมระบบสุขภาพที่ยืดหยนุ่ ประเมินผลกระทบทางบวกและ จาก Climate Change ทางลบ ทีเ่ ก่ียวข้องกับการลด การปล่อย GHG สนับสนนุ และส่งเสรมิ นโยบาย เปน็ ผนู้ ำ� ในการขับเคลอื่ น ด้านสขุ ภาพที่เกยี่ วของกบั เชน่ GREEN & CLEAN hospitals Climate Change บทบาทของภาคสาธารณสขุ ต่อการบั มือจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) บทบาทของภาคสาธารณสขุ ตอ่ การบั มือจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประกอบดว้ ย 4 ข้อ ดงั นี้ (1) สง่ เสริมระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุน่ ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2) ประเมนิ ผลกระทบทางบวกและทางลบที่เก่ียวข้องกบั การลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก (GHG) (3) สนับสนนุ และส่งเสริมนโยบายด้านสขุ ภาพท่เี ก่ยี วของกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (4) เปน็ ผนู้ ำ� ในการขบั เคลอ่ื นงานดา้ นการปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เชน่ GREEN & CLEAN hospitals ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั จากการพัฒนาศักยภาพ มีดังน้ี (1) เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ระดบั สว่ นกลาง ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั จงั หวดั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเรอ่ื งการปรบั ตวั ด้านสขุ ภาพ การประเมินระบบสุขภาพ เฝา้ ระวงั โรคทีไ่ วต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศอย่างบูรณาการ (2) ไดแ้ ลกเปลยี่ นเรยี นรปู ระสบการณ์ และไดแ้ นวทางในการพฒั นาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรับมอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (3) เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุขมีเครอื ขา่ ยในการขบั เคลื่อนงานร่วมกัน (4) น�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีอยู่ในประเทศไทยตามกรอบแนวทาง ขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) เรอื่ งสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ คี วามยงั่ ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศในระดบั ประเทศ ภมู ภิ าค และระดับจังหวดั

30 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

กองประเมินผลกระทบต่อสขุ ภาพ กรมอนามัย 31 2Module ของสถานบริการทสีม่ าาแธละาครวาณมส�ำสคัญขุ ท่ีมสี งิ่ แวดลอ้ มยั่งยนื และยืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

32 หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหย่นุ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 2 ท่ีมาและความสำ� คญั ของสถานบรกิ ารสาธารณสุขท่มี สี ่งิ แวดลอ้ มยง่ั ยืนและยดื หยุ่น รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ขอบเขตเนื้อหา 1. ทมี่ าและความสำ� คญั ของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี สี ง่ิ แวดลอ้ มทยี่ งั่ ยนื และยดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ 2. ความเช่ือมโยงระหวา่ งการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศกับภาคสาธารณสขุ 3. กรอบแนวคิดสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีสิ่งแวดล้อมท่ีย่ังยืนและยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศขององคก์ ารอนามัยโลก 4. แนวทางขององคก์ ารอนามยั โลกเกยี่ วกบั การจดั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี สี งิ่ แวดลอ้ มทยี่ ง่ั ยนื และยดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 5. กรณศี กึ ษาเมอื ง Kerala, India ความยดื หยนุ่ ของสถานพยาบาล Kerala Public Healthcare Facility (HCFs) ระยะเวลา 60 นาที กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. เรยี นร้ผู า่ นการบรรยาย 2. แลกเปลยี่ นเรียนรรู้ ะหว่างผู้สอนและผเู้ รียน เนื้อหา ทม่ี าและความสำ� คัญของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีมีส่งิ แวดลอ้ มทีย่ งั ยืนและยืดหย่นุ รองรับ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Climate Resilient & Environmentally Sustainable Healthcare facilities Introduction to Climate Resilience & Environmentally Sustainability in Healthcare ทมี่ าและความส�ำคัญของสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีส่ิงแวดล้อมที่ย่ังยืนและยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศภายใตห้ ลกั สตู รสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี คี วามยงั่ ยนื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มและยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

หลักสตู รพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ 33 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยนุ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Climate Change and Weather Climate change is a change in the pattern of weather, and related changes in oceans, land surfaces and ice sheets, occurring over time scales of decades or longer, while Weather is the state of the atmosphere—its temperature, humidity, wind, rainfall and so on over hours to weeks. การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Climate Change) และสภาพอากาศ (Weather) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) คือ การเปล่ียนแปลงรูปแบบของสภาพอากาศ เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างช้า ๆ และใช้เวลานานกว่าท่ีจะสังเกตพบได้ เป็นระยะเวลามากกว่า 10 ปีข้ึนไป เชน่ เกดิ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระดบั อณุ หภมู ขิ องนำ้� ในมหาสมทุ ร อณุ หภมู พิ น้ื ผวิ แผน่ ดนิ และอณุ หภมู พิ น้ื ท่ี ทถ่ี ูกน้�ำแข็งปกคลมุ ในขณะทส่ี ภาพอากาศ (Weather) คือ สถานะปัจจุบนั ของบรรยากาศ หมายความรวมถึง ระดับ อุณหภูมิ ความชื้น ความเรว็ ลม ปรมิ าณฝน และอนื่ ๆท่ีเกิดขน้ึ ในขณะน้นั ในชว่ั โมงน้นั จนถึงสปั ดาห์

34 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Climate Change and Impacts on Human Health Acute climatic events can have devastating impacts on human health through multiple pathways การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาสและผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบเฉียบพลันก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสุขภาพได้หลายทาง โดย National Center for Environmental Health, 2021 ได้อธบิ ายความเชื่อมโยงผลกระทบตอ่ สุขภาพจาก การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศดงั ภาพ ในวงกลมช้ันในของภาพได้แสดงถึงผลท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ การเพ่ิมขึ้น ของอุณหภูมิ การเกิดสถานการณ์สภาพอากาศรุนแรงสุดข้ัวมากข้ึน ระดับทะเลท่ีเพิ่มสูงข้ึน การเพ่ิมข้ึนของ กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซตใ์ นชนั้ บรรยากาศ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกของมนษุ ย์ ซง่ึ สถานการณต์ า่ งๆ เหล่านจ้ี ะเชอ่ื มโยงกบั สภาพอากาศทเี่ ปล่ยี นแปลงไป และสง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพของมนษุ ย์ เชน่ - มลพษิ อากาศส่งผลใหเ้ กดิ โรคหอบหืด โรคระบบหัวใจและหลอดเลอื ด - การเปล่ียนแปลงของวงจรพาหะน�ำโรค เช่น วงจรชีวิตของยุงที่ผันแปรตามลักษณะของสภาพอากาศ ซึ่งจะผลตอ่ ประชากรยงุ ในพืน้ ท่นี นั้ ๆ ดว้ ย ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ องโรคมาลาเรีย ไข้เลือดออก ไขส้ มองอักเสบ ชิคุน-กุนยา และโรคทเี่ กดิ จากพาหะนำ� โรคต่างๆ - การเพิม่ ข้ึนของสารก่อภูมิแพ้ สง่ ผลตอ่ โรคระบบทางเดนิ หายใจ ภมู แิ พ้ โรคหอบหดื - ผลกระทบคุณภาพน�้ำ ส่งผลให้เกิดโรคจากน�้ำเป็นส่ือ เช่น อหิวาตกโรค โรคอุจจาระร่วง การติดเช้ือ แคมไพโลแบคเตอร์ รวมทั้งปรากฎการณ์เพิ่มข้ึนของสาหร่ายท่ีเป็นอันตราย หรือการเกิดปรากฎการณ์น้�ำทะเล เปลี่ยนสี ซ่งึ ปรากฏการณน์ สี้ ง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศทางทะเล การท�ำประมง การทอ่ งเที่ยวชายฝัง่ และอาจเกิดผลเสยี โรคทางผิวหนงั ต่อผู้ที่สัมผัสแหลง่ นำ้� น้นั ทำ� ใหเ้ กดิ อาการคนั และระคายเคอื ง - ผลกระทบจากผลผลติ ทั้งนำ�้ และอาหาร ส่งผลตอ่ ภาวะทุพโภชนาการ ทอ้ งเสีย - ภาวะสง่ิ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรม สง่ ผลใหเ้ กดิ การอพยพยา้ ยถน่ิ ความขดั แยง้ ทางสงั คม ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจติ - ภาวะความร้อนรุนแรง ส่งผลต่อการเจ็บป่วยและตายจากความร้อน ท�ำให้ระบบหัวใจและหลอดเลือด ลม้ เหลว - สภาพอากาศรุนแรงสุดข้ัว ส่งผลต่อการเกิดภัยพิบัติรุนแรง เช่น พายุ น้�ำท่วม ฯลฯ ท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ สรา้ งความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือน ระบบสาธารณูปโภค ผลกระทบตอ่ สุขภาพจติ เป็นตน้

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ 35 เพื่อรองรับระบบสุขภาพท่ยี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ tWhehahteiasltthheselicntkorb?etween climate change and ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศกับภาคสาธารณสขุ - ผลกระทบต่อสุขภาพจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ได้รับความส�ำคัญมากข้ึน: บุคลากร ด้านสาธารณสุขจึงจ�ำเป็นต้องมีความรู้เรื่องผลกระทบต่อสุขภาพและโรคท่ีเกี่ยวข้องจากการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศ - การเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขท่ีเพ่ิมขึ้น:ความต้องการของการพ่ึงบริการด้านสาธารณสุขท่ีเพิ่มข้ึน ของชุมชนทไ่ี ด้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ - ระบบโครงสร้างพ้ืนฐานที่จ�ำเป็น: ความต้องการใช้ทรัพยากรเพ่ือจัดการกับภาระโรคท่ีเพ่ิมขึ้น ทั้งด้าน บุคลากร ยาและเวชภัณฑ์ อุปกรณ์เคร่ืองมือการวินิจฉัยรักษา พลังงานและน้�ำใช้ รวมถึงการจัดการของเสียท่ีมี ประสทิ ธิภาพ - การบูรณาการข้ามภาคส่วน: เพ่ือให้เกิดการบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

36 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสุขภาพที่ยดื หย่นุ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ eWnHviOroFnrmaemnetwalolyrksufosrtacinlimabaletehreeaslitlihecnatreanfdacilities • WHO resolution 2019 Lancet Countdown on Health & envisaged – Climate Change– • “all health care facilities and “Health systems are vulnerable to the services are environmentally worsening impacts of climate change. sustainable: using safely managed Around two thirds of the 814 cities water and sanitation services and surveyed in 2019 expect climate clean energy; sustainably change to seriously compromise their managing their waste and public health assets and services, a procuring goods in a sustainable manner; are resilient to extreme substantial increase from 2018”. weather events; and capable of protecting the health, safety and security of the health workforce”. กรอบแนวคิดสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีความย่ังยืนด้านส่ิงแวดล้อมและยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ขององคก์ ารอนามยั โลก - มติขององค์การอนามัยโลก 2019 การคาดการณ์ สถานบริการด้านสาธารณสุขทุกแห่งและบริการ ดา้ นการดแู ลสขุ ภาพทง้ั หมดจะตอ้ งมคี วามยงั่ ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มคอื :ใชร้ ะบบการจดั การสขุ าภบิ าลและการจดั การนำ้� ที่ปลอดภัยใช้พลังงานสะอาดมีการจัดการของเสียและการจัดซ้ือจัดจ้างจัดหาพัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืนและยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรง และสามารถคุ้มครองสุขภาพความปลอดภัย และความมัน่ คงของกำ� ลังคนด้านสุขภาพได้ - Lancet Countdown เกี่ยวกับสุขภาพและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ระบบสุขภาพมีความเสี่ยง ตอ่ การเกดิ ผลกระทบทเ่ี ลวรา้ ยจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยประมาณสองในสามของ 814 เมอื งทส่ี ำ� รวจ ในปี ค.ศ. 2019 คาดการณว์ า่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะสง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยส์ นิ และบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ อย่างรนุ แรง ซ่งึ เพ่ิมขึ้นอยา่ งมากจากปี ค.ศ. 2018

หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ 37 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ดื หย่นุ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ WenHviOroFnrmaemnetwalolyrksufosrtacinlimabaletehreeaslitlihecnatreanfdacilities IPCC – Resilience is the “capacity of a social-ecological system to cope with a hazardous event or disturbance, responding or reorganizing in ways that maintain its essential function, identity, and structure, while also maintaining the capacity for adaptation, learning and transformation.” WHO working definition of a climate resilient health system A climate resilient health system is one that is capable to anticipate, respond to, cope with, recover from and adapt to climate-related shocks and stress, so as to bring sustained improvements in population health, despite an unstable climate. กรอบแนวคิดสถานบริการสาธารณสุขที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู ิอากาศ ขององคก์ ารอนามยั โลก (ตอ่ ) - IPCC – ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื (Resilience) คอื “ความสามารถของระบบสงั คม-นเิ วศวทิ ยาในการรบั มอื กบั เหตกุ ารณห์ รอื การรบกวนทเี่ ปน็ อนั ตรายการตอบสนองหรอื จดั ระเบยี บใหมข่ ององคก์ รในลกั ษณะทค่ี งไวซ้ งึ่ หนา้ ท่ี เอกลักษณ์ และโครงสรา้ งที่สำ� คญั ในขณะทย่ี ังคงความสามารถในการปรบั ตวั การเรียนรู้ และการเปลยี่ นแปลง” - WHO ได้ให้ค�ำนิยามปฏิบัติการของระบบสาธารณสุขที่ยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ว่า ระบบสาธารณสุขท่ียืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือระบบที่สามารถ คาดการณ์ ตอบสนอง รบั มอื ฟน้ื ตวั และปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ภาวะทมี่ เี หตกุ ารณผ์ ดิ ปกติ และความเครยี ดทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สภาพภมู อิ ากาศได้ เพอ่ื ทจ่ี ะนำ� มาซง่ึ การพฒั นาสขุ ภาพของประชาชนอยา่ งยงั่ ยนื แมจ้ ะมสี ภาพภมู อิ ากาศทไ่ี มแ่ นน่ อน

38 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ Conceptual framework for resilience เพือ่ รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กรอบแนวคดิ สำ� หรบั ระบบสาธารณสขุ ท่ยี ดื หยุ่นพร้อมรบั มือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ การสร้างระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่น คือ สร้างความสามารถในระบบบริการสาธารณสุขในการรับมือ จัดการ ความเสย่ี งตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยระบบบรกิ ารสาธารณสขุ สามารถดำ� เนนิ การตอ่ ไปได้ ทงั้ บทบาทหนา้ ท่ี ในการให้บริการดูแลรักษาและโครงสร้างของสถานบริการสาธารณสุขท่ีจ�ำเป็น ในขณะท่ีการปรับตัวด้านสุขภาพ คือ ความพยายามจัดการอันตรายหรอื การรักษาคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ เมอ่ื นำ� 2 สิ่งน้มี ารวมกนั จะช่วยเสริมสร้าง ประสทิ ธิภาพของระบบสุขภาพใหส้ ามารถดำ� เนินการตอ่ ไปได้ภายใตก้ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Dcayrneamfaiccislitiaefsfecting Climate resilience in health พลวตั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ สภาพภมู อิ ากาศของสถานบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ ความสามารถ หรือศกั ยภาพของสถานบรกิ ารสาธารณสุข และความพรอ้ มรบั มือและปรับตวั ของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 39 เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ hSeuamltmhcaaryreoffaecnilvitiireosnamnedntcaolmsumsutaniintiaebsility in สรุปความย่งั ยืนดา้ นส่ิงแวดลอ้ มของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ และชมุ ชน - การแกไ้ ขปญั หาส�ำหรับสถานบริการสาธารณสุข เพ่อื ลดความเส่ียง (สงิ่ คกุ คาม (Hazard) การรบั สัมผสั (Exposure) และความเปราะบาง (Vulnerability)) ทเ่ี กดิ จากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เชน่ มลู ฝอยทว่ั ไปและมลู ฝอย ตดิ เช้อื ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข สารเคมี สารกมั มนั ตภาพรังสี น�้ำเสีย มลพิษอากาศ ก๊าซเรอื นกระจก ฯลฯ - การแกไ้ ขปญั หาสำ� หรบั ผปู้ ว่ ย บคุ ลากรสาธารณสขุ และชมุ ชน เพอ่ื ลดการสมั ผสั สง่ิ คกุ คาม ลดความเปราะบาง โดยเปน็ การแกไ้ ขปญั หาภายในชมุ ชน สำ� หรบั การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทย่ี ง่ั ยนื เชน่ การดำ� เนนิ การใหเ้ กดิ ความปลอดภยั และมีทักษะในการปรับตัวฯ การใช้น้�ำและพลังงานอย่างเหมาะสม การใช้เทคโนโลยีให้แก้ไขปัญหาสาธารณูปโภค ในสถานบริการสาธารณสุขอยา่ งยงั่ ยนื - โดยการแกไ้ ขปญั หาทงั้ 2 ส่วนน้ี จะนำ� ไปสู่การลดความเสีย่ งผา่ นการลดสิ่งคุกคาม ควบคมุ ให้ การสัมผัส สงิ่ คกุ คามหรอื ความเปน็ อันตรายนอ้ ยลง เสรมิ ทักษะและมีการจดั การปรบั ตวั ฯ ใหเ้ พ่มิ ข้ึน เพอื่ ลดความเปราะบาง

40 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Sentevpirsontomeancthaiel vseusctlaiminaatbeilirteysilience and ข้ันตอนในการบรรลุสถานบริการสาธารณสุขที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ กระบวนการแกไ้ ขปญั หาหรอื การกำ� หนดมาตรการตา่ งๆ เพอ่ื รบั มอื ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจากการเปลยี่ นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ ตอ้ งมกี ารเพม่ิ ความตระหนกั นโยบาย และบรู ณาการกบั ภาคสว่ นตา่ งๆ รวมทง้ั ชมุ ชน ประกอบดว้ ย 5 ขั้นตอน คอื 1. การรวมทมี และฝึกอบรมแบบบรู ณาการหลายภาคส่วนในทมี ปฏิบตั ิการ 2. สร้างแนวทางการดำ� เนินงานทอี่ ิงกับแนวทางอ่ืนๆ ทเี่ ชื่อถือได้ 3. คน้ หาความเสี่ยงและจัดล�ำดบั ความส�ำคัญการแกไ้ ขปัญหาในระยะส้นั และระยะยาว 4. พัฒนาและด�ำเนินการ และปรบั ปรงุ แผน 5. เฝ้าระวังและประเมินผล เพือ่ การปรบั ปรงุ ทีด่ ขี ้ึน โดยกระบวนการต่างๆ จะน�ำไปสู่การสร้างสถานบริการสาธารณสุขที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและ พรอ้ มรบั มือต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข 41 เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ OrepseilrieantitonhaelalFthrasmyeswteomrks for building climate • Objective – To provide guidance for health systems and public health programming to increase their capacity for protecting health in an unstable and changing climate. • Who is it intended for? hccTTerreeaflehhifslmnaaeeeiltlciatebe1Ohttine0evptstoeeucvylhrysoastaehetrmtaeaiediaodmlptbsnhdaoiialrsxnisetleyysa“Fnssbartftiausrnneamigdmlomdefsticenwh,thwgehooaeorunbckrtghlokloifeapnocf.leeolkresrrsabn”s1tguiyo0eiolsdnsftciaeanpolmngmrferaecapstflmeioifcmennaectealwetlntyidevotesarbkntydhat • Public health professionals and health managers • Decision-makers in other health-determining sectors, such as nutrition, water and sanitation, and emergency management • International development and funding agencies could use this framework to focus investments and country support for public health, health system strengthening and climate change adaptation กรอบการด�ำเนนิ งานเพอื่ สรา้ งระบบสาธารณสุขทยี่ ดื หยนุ่ พร้อมรบั มือต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ มีองค์ประกอบ 10 ประการที่สามารถใช้เป็นกรอบการท�ำงานส�ำหรับการจัดการกับความท้าทาย จากความแปรปรวนและการเปลย่ี นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศอยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยองคป์ ระกอบ 10 ประการของกรอบการดำ� เนนิ งานนี้ มีความเก่ียวขอ้ งกบั “องคป์ ระกอบพน้ื ฐาน 6 ประการ (The six building blocks) ของระบบสขุ ภาพที่มปี ระสิทธิภาพ” วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับระบบสาธารณสุขและแผนงานด้านสาธารณสุขในการเพิ่มขีด ความสามารถในการป้องกันสุขภาพในสภาพภมู ิอากาศท่เี ปล่ียนแปลงไป เหมาะส�ำหรับ - เจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุขและผจู้ ดั การดา้ นสขุ ภาพ - ผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจในภาคสว่ นตา่ งๆ ทตี่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ดา้ นสขุ ภาพ เชน่ โภชนาการ นำ้� และสขุ าภบิ าล และการจดั การเหตุฉุกเฉนิ เปน็ ต้น - หน่วยงานพัฒนาและระดมทุนระหว่างประเทศสามารถใช้กรอบการท�ำงานน้ีเพื่อมุ่งเน้นการลงทุนและ สนบั สนนุ ประเทศในดา้ นสาธารณสขุ การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ระบบสาธารณสขุ ในการปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ

42 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เพ่ือรองรับระบบสุขภาพทีย่ ดื หยุน่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ WHO Framework-Leadership & Governance • Example from the framework: • The framework provides: • Component -Leadership and governance* • Objectives – Governance, policy and cross-sectoral • a flexible approach to be adapted for collaboration national and local context • Indicators of implementation – main polices and programs reflect climate change and health • proposed objectives and measurable outputs and indicators of • Measurable outputs – Climate change and health implementation for each of the 10 focal points designated, within the health ministry components with specific program of action and budget allocated; national adaptation plan developed for the country/region กรอบการดำ� เนนิ งานเพอ่ื สรา้ งระบบสาธารณสุขท่ียดื หยุ่นพรอ้ มรับมือต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ กรอบการดำ� เนินงานน้ี ช่วยให้มีแนวทางท่ียืดหยุ่นในการปรับใช้ให้เข้ากับบริบทระดับชาติและระดับท้องถ่ิน โดยมกี ารระบวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละผลลพั ธท์ วี่ ดั ได้ รวมทง้ั ตวั ชวี้ ดั ของการดำ� เนนิ การสำ� หรบั แตล่ ะองคป์ ระกอบทง้ั 10 ขอ้ ตัวอยา่ งองคป์ ระกอบ ภายใตก้ รอบการด�ำเนินงาน ฯ ประเดน็ ภาวะผนู้ �ำและธรรมาภบิ าล วัตถปุ ระสงค์ – เพอื่ การก�ำกบั ดแู ล การก�ำหนดนโยบาย และความร่วมมือข้ามภาคส่วน ตัวชี้วัดการน�ำไปปฏิบัติ – มีนโยบายและแผนงานหลักที่สะท้อนให้เห็นถึงงานด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและสขุ ภาพ ผลลัพธ์ที่วัดได้ – มีการก�ำหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลักด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและสุขภาพ ภายในกระทรวงสาธารณสุขพร้อมมีแผนงานเฉพาะในการดำ� เนินการและได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมท้ังมี การพฒั นาแผนด้านการปรับตัวระดบั ชาติ สำ� หรับประเทศ/ภมู ภิ าค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook