Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore # e-book คู่มือ-ok

# e-book คู่มือ-ok

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2022-06-26 08:30:03

Description: # e-book คู่มือ-ok

Search

Read the Text Version

ก คานา เอกสารประกอบการเรยี น ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นวัดสมณานัมบริหาร จัดทาข้ึนเพอื่ ใหค้ รูผู้สอนสามารถนาสอ่ื การสอนไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการเตรียมตัวให้พร้อม ก่อนสอน มีแนวการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนตามลาดับขั้น เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 แบง่ เนือ้ หาเปน็ 5 เลม่ เวลาเรียน 15 ชั่วโมง ดงั นี้ เล่มที่ 1 เรื่อง พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม เลม่ ท่ี 2 เรอ่ื ง พระบรมศาสดาของเรา เล่มท่ี 3 เรอ่ื ง พระธรรมนาชวี ติ เล่มท่ี 4 เรื่อง ใจสงบพบความสขุ เล่มท่ี 5 เร่ือง วิถชี าวพุทธ รายละเอียดในแผนการจดั การเรยี นรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรยี น แต่ละเล่มประกอบด้วย สาระ/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนท่ีต้องการเน้น สาระสาคัญ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การสอน และการวัดผลประเมินผล ข้อเสนอแนะในการใชค้ ่มู ือควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ก่อนสอนครูผู้สอนควรศึกษาเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรร ม) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กบั คมู่ ือการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน ควบคูก่ นั ไป 2. ก่อนเรียนตอ้ งทดสอบดว้ ยแบบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรยี น 3. การจดั เวลาในการสอนอาจจัดสอนในชั่วโมงซอ่ มเสรมิ หรอื ช่วั โมงเรียนตามปกติ 4. เม่ือสอนจบแล้วต้องนาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนชุดเดิมมาทดสอบ หลังเรียน นาคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบกันก็จะทราบถึงความก้าวหน้า ในการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ผูจ้ ดั ทาหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่าคู่มอื การใช้กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เล่มน้ี จะเปน็ ประโยชนส์ าหรับครูผู้สอนและ ผู้ทีม่ คี วามสนใจเปน็ อย่างดี และเป็นแนวทางในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนเพือ่ ให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นสงู ข้ึนตอ่ ไป ราตรี อิงมั่น

ข สารบญั เรื่อง หนา้ คานา ก สารบญั ข ค่มู อื การใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 1 ความเปน็ มาของการสรา้ งนวัตกรรม 1 จดุ มงุ่ หมายของการสรา้ งเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 1 เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 2 เวลาที่ใชใ้ นการเรยี นรู้ 2 ส่วนประกอบของนวตั กรรม 2 คาชแ้ี จงสาหรบั ครูผ้สู อนในการใช้เอกสารประกอบการเรยี น ชุด พระพทุ ธศาสนาน่ารู้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 3 คาชี้แจงสาหรบั นักเรียน 4 หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 6 คุณภาพผู้เรียน 7 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 8 โครงสร้างรายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 11 คาอธิบายรายวิชา 20 กาหนดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 22 แผนการจดั การเรียนรู้ เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรม แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรม 23 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม 32 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม 41

สารบญั (ต่อ) ค เรื่อง หน้า เล่มที่ 2 เรอื่ ง พระบรมศาสดาของเรา แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง พระบรมศาสดาของเรา 50 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง พระบรมศาสดาของเรา 59 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 เร่ือง พระบรมศาสดาของเรา 67 เล่มท่ี 3 เรื่อง พระธรรมนาชีวิต แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 เรอื่ ง พระธรรมนาชวี ติ 76 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 8 เรอ่ื ง พระธรรมนาชวี ิต 85 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 9 เรอ่ื ง พระธรรมนาชีวิต 94 เลม่ ท่ี 4 เร่ือง ใจสงบพบความสขุ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 เรอ่ื ง ใจสงบพบความสุข 104 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 11 เรอ่ื ง ใจสงบพบความสุข 113 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 เรอ่ื ง ใจสงบพบความสขุ 122 เลม่ ท่ี 5 เรอ่ื ง วถิ ชี าวพทุ ธ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 13 เรือ่ ง วถิ ชี าวพทุ ธ 131 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 เรื่อง วถิ ชี าวพทุ ธ 140 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 15 เรอ่ื ง วิถชี าวพทุ ธ 149 157 บรรณานกุ รม ภาคผนวก 159 167 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (ก่อนเรยี น) 168 เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (ก่อนเรียน) 176 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (หลงั เรียน) เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น (หลังเรียน)

1 คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 1. ความเป็นมาของการสรา้ งนวัตกรรม เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จัดทาข้ึนเพื่อใช้ พัฒนาความรู้ความเข้าใจของนักเรียน โดยให้ฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการพัฒนา ความรู้ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมตามมาตรฐาน การเรียนรู้มากขึ้น เพื่อฝึกทักษะกระบวนการคิด ให้นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มี 5 เลม่ ประกอบด้วย เลม่ ที่ 1 เรอ่ื ง พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม เล่มที่ 2 เรอ่ื ง พระบรมศาสดาของเรา เลม่ ที่ 3 เรอื่ ง พระธรรมนาชวี ติ เลม่ ท่ี 4 เร่อื ง ใจสงบพบความสขุ เล่มที่ 5 เรอื่ ง วถิ ชี าวพุทธ หวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่า เอกสารประกอบการเรยี น ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3จะเป็น ประโยชน์สาหรบั นักเรียน และเปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนตอ่ ไป 2. จดุ มุ่งหมายของการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพทุ ธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ขา้ พเจ้าได้สร้างเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมจี ดุ มุ่งหมายดงั นี้ 1. เพื่อใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

2 2. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระ การเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ของนกั เรียนให้สงู ขึ้น 3. เพือ่ พัฒนานกั เรียนใหม้ ีความรแู้ ละทักษะการคดิ 3. เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ ในการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มเี นอื้ หาที่นาไปใชก้ ับนกั เรยี น ดังน้ี เล่มท่ี 1 เรื่อง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม เลม่ ที่ 2 เรอ่ื ง พระบรมศาสดาของเรา เลม่ ที่ 3 เรื่อง พระธรรมนาชวี ิต เล่มที่ 4 เรอื่ ง ใจสงบพบความสุข เล่มที่ 5 เรอื่ ง วถิ ีชาวพุทธ 4. เวลาที่ใชใ้ นการเรียนรู้ จานวน 3 ชว่ั โมง เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรม จานวน 3 ชัว่ โมง เลม่ ที่ 2 เรื่อง พระบรมศาสดาของเรา จานวน 3 ช่วั โมง เล่มท่ี 3 เรอ่ื ง พระธรรมนาชวี ิต จานวน 3 ชว่ั โมง เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง ใจสงบพบความสขุ จานวน 3 ชว่ั โมง เล่มท่ี 5 เรือ่ ง วถิ ชี าวพทุ ธ 5. ส่วนประกอบของนวตั กรรม เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีท้ังหมด 5 เล่ม ดงั น้ี เล่มท่ี 1 เร่อื ง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม เล่มที่ 2 เร่อื ง พระบรมศาสดาของเรา เลม่ ท่ี 3 เรื่อง พระธรรมนาชวี ติ เล่มที่ 4 เรอ่ื ง ใจสงบพบความสุข เลม่ ที่ 5 เรื่อง วิถีชาวพทุ ธ

3 ในแต่ละเล่มมีสว่ นประกอบดงั น้ี 1. คานา 2. สารบัญ 3. คาชี้แจง 4. คาแนะนาการใช้สาหรบั ครู 5. คาแนะนาการใชส้ าหรับนกั เรียน 6. สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด สาระสาคญั 7. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 8. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 9. ใบความรู้ 10. กิจกรรมการเรยี นรู้ 11. แบบทดสอบหลงั เรียน 12. ศพั ท์นา่ รู้ 13. ภาคผนวก 14. บรรณานกุ รม 6. คาช้ีแจงสาหรับครูผู้สอนในการใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ครผู ู้สอนควรศึกษาคาชีแ้ จงในการใช้เอกสารประกอบการเรยี น ซ่ึงมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. ศึกษาคมู่ ือการใช้เอกสารประกอบการเรยี นนใี้ หเ้ ข้าใจ 2. ชี้แจงขัน้ ตอนการเรียนในการใช้เอกสารประกอบการเรียนนี้ให้นกั เรียนเขา้ ใจ 3. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรยี นกอ่ นศกึ ษา เนือ้ หาจากใบความรู้ 4. ทาเอกสารประกอบการเรียน และใหค้ รเู ปน็ ผูต้ รวจคาตอบจากเฉลยทีละกิจกรรม การเรียนรู้ 5. ดูแลให้นักเรียนปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน และใหค้ าแนะนา เมอ่ื นกั เรยี นพบปัญหา 6. การประเมินผลการเรียนรู้ของนกั เรยี นอย่างต่อเนอื่ ง และใหเ้ สรมิ แรงในการปฏบิ ัติ กิจกรรมของนักเรียน

4 7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหลังการใช้เอกสารประกอบการเรยี น เมื่อศึกษา ใบความรู้ และทากิจกรรมการเรียนรู้เสรจ็ ส้ิน 8. บนั ทึกผลการประเมนิ หลังการจดั การเรียนรู้ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนทุกครง้ั 7. คาชแี้ จงสาหรับนกั เรยี น ข้นั ตอนการปฏบิ ตั สิ าหรบั นักเรียนก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียนฉบับน้ี 1. ศึกษาขน้ั ตอนการใช้เอกสารประกอบการเรียนใหเ้ ข้าใจชดั เจน 2. ศึกษาสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด จุดประสงค์ การเรยี นรู้ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 3. ทาแบบทดสอบก่อนการใช้เอกสารประกอบการเรียน โดยครูตรวจคาตอบจากเฉลย แลว้ บันทึกคะแนนลงในแบบบันทกึ คะแนน 4. ศึกษาทาความเข้าใจเน้ือหาจากใบความรู้ ทากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองและ ตรวจคาตอบจากเฉลยไปทีละกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับ เม่ือพบปัญหา ใหข้ อคาแนะนาหรอื คาปรึกษาจากครทู ันที 5. ทาแบบทดสอบหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน โดยครูตรวจคาตอบ จากเฉลย แล้วบนั ทกึ คะแนนลงในแบบบนั ทกึ คะแนน 6. ประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบกบั เกณฑ์ - ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ให้ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรียนเลม่ ต่อไป - ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินใหย้ อ้ นกลับไปศึกษาและทาความเข้าใจเนอื้ หาจาก ใบความรแู้ ละทากจิ กรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองใหม่อีกครัง้

5 หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ เข้าใจการดารงชีวิตของมนุษย์ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตาม สภาพแวดล้อม การจดั การทรัพยากรทมี่ อี ยู่อย่างจากัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจยั ต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับใน ความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของ ประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรอู้ ะไรในสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความเชือ่ มสมั พนั ธก์ ัน และมีความแตกต่างกนั อย่างหลากหลาย เพอ่ื ช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ บริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยม ที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระตา่ ง ๆ ไว้ ดังน้ี ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชนต์ ่อสงั คมและส่วนรวม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและ ความสาคญั การเป็นพลเมืองที่ดี ความแตกตา่ งและความหลากหลายทางวฒั นธรรม คา่ นิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพ การดาเนินชวี ิตอย่างสนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทยและสงั คมโลก เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนา หลักเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพของโลก การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทาง กายภาพและภัยพิบัติ ความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ การใช้ภูมิสารสนเทศ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับการสร้างสรรค์

6 วิถีการดาเนินชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ความร่วมมือด้านทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ในประเทศและระหวา่ งประเทศ และการจดั การทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาทยี่ ั่งยืน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่อื อยู่ร่วมกันอยา่ งสันตสิ ุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษา พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมอื งดี มคี า่ นิยมท่ีดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลก อยา่ งสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรกั ษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพือ่ การดารงชีวิตอยา่ งมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใชวิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตาง ๆ อยางเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึน มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจและธารงความเป็นไทย

7 สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง ซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกในการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาท่ียงั่ ยืน คณุ ภาพผเู้ รียน จบชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 1. มีความรู้เร่ืองเก่ียวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ท่ีอย่อู าศัย และเชือ่ งโยงประสบการณ์ไปสโู่ ลกกว้าง 2. มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการพฒั นาให้เปน็ ผมู้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทางานกับผู้อ่ืน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหัด ในการตัดสินใจ 3. มีความรเู้ รอ่ื งราวเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ได้ข้อคิดเกี่ยวกับ รายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการ เศรษฐกจิ พอเพียง 4. รู้และเข้าใจในแนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภูมิศาสตร์ เพ่ือเป็นพน้ื ฐานในการทาความเขา้ ใจในขน้ั ที่สูงต่อไป 5. มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางภายภาพของส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวและชุมชน และ สามารถปรับตัวเท่าทันการเปล่ียนแปลงทางภายภาพ และมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพอ่ื พัฒนาทยี่ ง่ั ยนื

8 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาทต่ี นนับถือและศาสนาอ่ืน มศี รทั ธาท่ถี กู ตอ้ ง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกัน อยา่ งสันตสิ ุข ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรอื - ความสัมพนั ธข์ องพระพุทธศาสนากบั การดาเนินชวี ติ ประจาวัน เชน่ การสวดมนต์ ศาสนาที่ตนนับถอื ในฐานะท่ีเป็นรากฐาน การทาบญุ ตักบาตร การแสดงความเคารพ สาคญั ของวัฒนธรรมไทย การใช้ภาษา - พระพทุ ธศาสนามีอิทธิพลตอ่ การสร้างสรรค์ 2. สรุปพทุ ธประวตั ติ ัง้ แตก่ ารบาเพ็ญเพียรจนถงึ ผลงานทางวฒั นธรรมไทยอนั เกดิ จาก ปรนิ พิ พาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถอื ความศรัทธา เช่น วัด ภาพวาด พระพุทธรปู ตามท่ีกาหนด วรรณคดี สถาปตั ยกรรมไทย 3. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดาเนนิ ชีวติ และ - สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน) ข้อคดิ จากประวัติสาวก ชาดก/เร่อื งเล่าและ - การบาเพ็ญเพยี ร ศาสนิกชนตัวอยา่ งตามท่ีกาหนด - ผจญมาร - ตรสั รู้ - ปฐมเทศนา - ปรินพิ พาน - สามเณรสงั กจิ จะ - อารามทูสกชาดก - มหาวาณชิ ชาดก - สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (โต พฺรหมฺ รส)ี - สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช

9 ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 4. บอกความหมาย ความสาคัญของพระไตรปิฎก - ความสาคัญของพระไตรปฎิ ก เช่น เปน็ แหลง่ หรอื คมั ภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ อ้างองิ ของหลักธรรมคาสอน 5. แสดงความเคารพพระรตั นตรยั และปฏิบตั ิ - พระรตั นตรยั ตามหลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนา - ศรทั ธา หรือหลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนับถอื - โอวาท 3 ตามทกี่ าหนด - ไมท่ าชว่ั - เบญจศีล - ทาความดี - เบญจธรรม - สติ-สมั ปชัญญะ - สงั คหวตั ถุ 4 - ฆราวาสธรรม 4 - อตั ถะ 3 (อตั ตตั ถะ, ปรตั ถะ, อุภยตั ถะ) - กตญั ญูกตเวทตี อ่ ชุมชน, สงิ่ แวดล้อม - มงคล 38 - รูจ้ กั ให้ - พูดไพเราะ - อยูใ่ นสง่ิ แวดล้อมท่ดี ี - ทาจติ ให้บริสุทธ์ิ (บรหิ ารจิตและเจริญ ปญั ญา) - พุทธศาสนสภุ าษติ - ททมาโน ปิโย โหติ ผูใ้ ห้ย่อมเป็นทรี่ ัก - โมกโฺ ข กลฺยาณิยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้ สาเร็จประโยชน์ 6. เห็นคณุ ค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มสี ติทีเ่ ป็น - ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสรญิ คุณ พน้ื ฐานของสมาธิในพระพทุ ธศาสนา พระรตั นตรัยและแผ่เมตตา หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา - รคู้ วามหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ ที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด - รู้ประโยชน์ของการฝกึ สติ - ฝกึ สมาธเิ บอ้ื งตน้ ดว้ ยการนับลมหายใจ

10 ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ฝึกการยืน การเดิน การนัง่ และการนอน 7. บอกช่ือ ความสาคญั และปฏิบัติตนไดอ้ ย่าง อยา่ งมีสติ เหมาะสมตอ่ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และ - ฝึกให้มีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคิด ศาสนบุคคลของศาสนาอ่นื ๆ การถาม และการเขียน - ชอื่ และความสาคัญของศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และ ศาสนบุคคล ในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาอิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาฮินดู - การปฏิบัติตนทเ่ี หมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่น ๆ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถาน - ฝกึ ปฏบิ ัติมรรยาทชาวพุทธ ศาสนวัตถขุ องศาสนาที่ตนนบั ถือตาม - การลุกข้นึ ยืนรับ ทกี่ าหนดไดถ้ กู ต้อง - การต้อนรบั - การรบั – สง่ สง่ิ ของแกพ่ ระภิกษุ - มรรยาทในการสนทนา - การสารวมกิริยามารยาทการแตง่ กาย ทเ่ี หมาะสม เมื่ออย่ใู นวดั และพุทธสถาน - การดแู ลรกั ษาศาสนวตั ถุและศาสนสถาน 2. เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธพี ิธกี รรม - การอาราธนาศลี และวันสาคัญทางศาสนาตามทกี่ าหนด - การสมาทานศีล ได้ถกู ต้อง - เครอ่ื งประกอบโตะ๊ หมู่บชู า การจดั โตะ๊ หมู่บูชา 3. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเปน็ - ความเปน็ มาของการแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ- ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนบั ถือ - การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ - ข้ันเตรียมการ - ข้นั พธิ ีการ

11 โครงสรา้ งรายวิชา สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รหสั วชิ า ส 13101 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 80 ชัว่ โมง หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ท่ี ตัวชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน 1 ความสาคัญของ ส1.1 ป.3/1 1. พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐาน 6 6 ศาสนาพุทธและ ส1.1 ป.3/2 สาคัญของวัฒนธรรมไทย และ พทุ ธประวตั ิ กอ่ ให้เกดิ วัฒนธรรมทด่ี ีงาม ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะ ของสังคมไทยในดา้ นตา่ ง ๆ 2. พระพุทธประวัติเป็นประวตั ิ ของพระพุทธเจา้ ทพ่ี ทุ ธศาสนิกชน ควรศึกษา เพ่อื ใหท้ ราบถึงประวัติ ความเปน็ มาของพระองค์ ท่ีทรงบาเพ็ญเพยี รจนตรสั รู้ และเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา 2 พทุ ธสาวก ส1.1 ป.3/3 การศกึ ษาพทุ ธสาวก ชาดก และ 3 3 ชาดกและ พทุ ธศาสนกิ ชนตวั อย่างจะทาให้ พุทธศาสนกิ ชน ไดแ้ บบอย่างและข้อคดิ ท่ีดมี า ตวั อย่าง ปฏิบัตใิ นชีวติ ประจาวนั เพื่อให้ ดาเนินชีวติ ไดอ้ ย่างมีความสขุ 3 พระไตรปฎิ กและ ส1.1 ป.3/4 1. พระไตรปิฎกเป็นคมั ภรี ์ใน 34 หลกั ธรรมทาง ส1.1 ป.3/5 พระพุทธศาสนา ที่รวบรวม พระพุทธศาสนา หลกั ธรรมคาสอนของ พระพทุ ธเจา้ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนได้นาไปปฏิบตั ิ ในการดารงชวี ติ

12 หน่วย ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก ท่ี ตัวชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน 2. หลกั ธรรมคาสอนท่ีเป็นหวั ใจ 3 ส1.2 ป.3/1 สาคญั ของพระพุทธศาสนา คือ 34 ส1.2 ป.3/2 โอวาท 3 ไดแ้ ก่ การไมท่ าความ 4 การบรหิ ารจติ และ ช่ัว การทาความดี และการทา 36 เจริญปญั ญา ส1.1 ป.3/6 จติ ใจใหบ้ ริสุทธิ์ 3. พทุ ธศาสนสุภาษิตเปน็ คติ 5 หน้าท่ีชาวพทุ ธ และ ธรรมทางพระพุทธศาสนาเพ่อื มรรยาทชาวพทุ ธ เป็นคตสิ อนใจใหพ้ ุทธศาสนกิ ชน นาไปปฏิบัติ 1. หนา้ ท่ชี าวพทุ ธ คอื การแสดง ตนเป็นพทุ ธมามกะซ่งึ เป็นส่ิงท่ี ชาวพทุ ธทุกคนควรปฏบิ ัตเิ พ่อื สบื ทอด พระพุทธศาสนาให้คง อยู่สบื ตอ่ ไป 2. มารยาทชาวพุทธ เปน็ สิง่ ที่ ชาวพุทธทุกคนควรศกึ ษาและ ปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้อง เพือ่ ใหเ้ กิด ความเปน็ สิริมงคลแก่ตนเอง 1. การสวดมนต์ไหว้พระ เป็นการแสดงถงึ ความเคารพ ในพระรตั นตรัยและเป็นการฝึก บริหารจติ และเจริญปัญญาเพอ่ื ให้จิตใจสงบ 2. การฝกึ ใหม้ สี ติและสมาธิเป็น การบรหิ ารจติ และเจริญปัญญาท่ี สามารถปฏิบตั ไิ ดเ้ ป็นประจาทุก วนั และชว่ ยใหผ้ ้ปู ฏิบตั ิมีสตแิ ละ สมาธใิ นการดาเนินชวี ิต

13 หน่วย ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก ท่ี ตวั ชี้วัด (ชว่ั โมง) คะแนน ส1.2 ป.3/2 การอาราธนาศีล การสมาทานศีล 6 ศาสนพธิ ี ส1.1 ป.3/7 และการจัดโตะ๊ หม่บู ชู าเปน็ 23 พธิ ีกรรมทางศาสนา 54 7 ศาสนาต่าง ๆ ใน รวม ทพ่ี ุทธศาสนกิ ชนควรปฏิบัติ ประเทศไทย ให้ถกู ต้องเม่อื เขา้ รว่ มในศาสนพิธี 25 30 ตา่ ง ๆ ศาสนาที่สาคัญในประเทศไทย ไดแ้ ก่ พระพุทธศาสนา ศาสนา อิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสกิ ข์ ทกุ ศาสนาสอนให้ศาสนิกชน ปฏิบัตติ นเป็นคนดี ประเทศไทย ใหเ้ สรภี าพแกป่ ระชาชน ในการนบั ถือศาสนา ทกุ คน จึงอยู่ร่วมกันในสังคมอ ย่างมีความสุขและในฐานะ ศาสนกิ ชนทด่ี ีทกุ คนควรปฏบิ ตั ิ ตนต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลด้วยความเคารพ

14 หน่วย ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั ท่ี ตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน ส2.1 ป.3/1 ประเพณีและวัฒนธรรมไทย 1 ประเพณีและ เป็นสิง่ ท่ปี ฏิบตั ิสบื ตอ่ กนั มา 34 ส2.1 ป.3/3 แสดงให้เหน็ ถึงความเจรญิ วฒั นธรรมไทย ส2.1 ป.3/4 งอกงาม และเปน็ เอกลกั ษณ์ 34 ของชาตไิ ทยที่ทุกคนควรรว่ มกัน 23 2 วนั สาคญั ของไทย ส2.1 ป.3/1 อนรุ ักษ์และสบื ทอดให้คงอยู่ ส2.1 ป.3/2 ต่อไป 45 3 บุคคลสาคญั วันสาคญั ของไทยเป็นวนั ท่ีมี ของท้องถิน่ เหตุการณ์สาคญั ตา่ ง ๆ เกิดขนึ้ ควรค่าแกก่ ารจดจาและระลึกถึง 4 ประชาธปิ ไตย บคุ คลสาคัญของทอ้ งถิน่ เปน็ ในชั้นเรียน โรงเรียน บคุ คลท่ที าประโยชน์ให้แก่ และชุมชน ท้องถนิ่ หรอื สว่ นรวม และเป็น แบบอย่างทดี่ ี ทค่ี วรนามา ปฏบิ ัตติ าม 1. การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมตาม กระบวนการประชาธิปไตยเป็น บทบาทหนา้ ทข่ี องสมาชิกทุกคน ในสงั คม การมสี ว่ นร่วมตาม กระบวนการประชาธปิ ไตยจะ ชว่ ยให้สงั คมเจรญิ กา้ วหน้าและ พัฒนาได้ 2. การออกเสียงโดยตรงและ การเลอื กตวั แทนออกเสียง เป็นการมสี ว่ นร่วมตาม กระบวนการประชาธปิ ไตย

15 หน่วย ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ท่ี ตวั ชวี้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน ส2.1 ป.3/3 การเปลย่ี นแปลงในชน้ั เรียน 5 การเปล่ียนแปลง โรงเรยี นและชมุ ชนเปน็ ผลมาจาก 34 รวม การตดั สินใจของสมาชิก ในชั้นเรยี น โรงเรียน ในชั้นเรียน โรงเรียน และชมุ ชน 15 20 ทต่ี อ้ งการให้เกิดการเปลีย่ นแปลง และชมุ ชน ไปในทางที่ดีขนึ้

16 หน่วย ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั ท่ี ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน 1 สนิ คา้ และบรกิ าร ส3.1 ป.3/1 สินค้าและบริการเปน็ สงิ่ ที่จาเปน็ 4 5 ในชวี ิตประจาวัน ตอ่ การดารงชีวติ ของมนุษย์ เพราะทาใหม้ นษุ ย์สามารถ ดารงชีวติ อย่ไู ดน้ อกจากนี้มนุษย์ ยังต้องการการบรกิ ารเพอื่ ทาให้ เกดิ ความสะดวกสบาย ในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั 2 การวางแผนใช้ ส3.1 ป.3/2 การวางแผนการใชจ้ า่ ยของ 55 จา่ ยเงนิ ตนเอง เปน็ สิง่ จาเปน็ ทจี่ ะตอ้ ง ปฏิบตั เิ พอื่ ให้มเี งนิ เหลอื เก็บออม และมีเงินใชจ้ ่าย ในยามจาเปน็ 3 การบรหิ ารจัดการ ส3.1 ป.3/3 การใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยจู่ ากดั 45 ทรพั ยากร อยา่ งคุ้มคา่ และเกิดประโยชน์ มากท่ีสดุ จะทาให้มีทรัพยากร ใช้ได้ยาวนาน 4 ภาษแี ละการแข่งขนั ส3.2 ป.3/1 1. การเสียภาษีเป็นหน้าทข่ี องผทู้ ่ี 4 5 ทางการค้า ส3.2 ป.3/3 มีรายได้ เงนิ ภาษีจะนาไปใชเ้ พื่อ พฒั นาประเทศให้เจริญกา้ วหนา้ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของ ประชาชนในประเทศให้ดีขน้ึ 2. การแข่งขนั ทางการค้าทาให้ สนิ ค้ามรี าคาถกู ลง และเกดิ การ พัฒนาสนิ ค้าใหม้ ีคณุ ภาพ รวม 17 20

17 หนว่ ย ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ท่ี ตัวชีว้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ส5.1 ป.3/1 1. ขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ในชมุ ชน 1 แผนผงั แผนท่ี และ ส5.1 ป.3/2 2. แผนท่ี แผนผงั และรปู ถา่ ย 56 ส5.1 ป.3/3 3. ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ภาพถา่ ยในชุมชน ระยะ และทศิ ทาง 56 ส5.1 ป.3/3 4. ตาแหน่งท่ีต้ังของสถานท่ี 2 ภูมปิ ระเทศและ สาคญั ในบรเิ วณโรงเรียนและ ภมู ิอากาศทมี่ ีผลต่อ ชมุ ชน สภาพสงั คมในชุมชน 1. กลุ่มคนทอ่ี ยรู่ ่วมกันเปน็ สงั คม มสี ภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ จานวนผูค้ น และมีวฒั นธรรม ประเพณที ปี่ ฏบิ ตั ิร่วมกนั เรยี กวา่ ชมุ ชน 2. ลักษณะทางกายภาพในชุมชน ประกอบดว้ ยลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะภมู ิอากาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและ ภูมอิ ากาศของแตล่ ะพนื้ ที่ มีความแตกต่างกนั มีผลต่อ การดาเนินชวี ิตของคนในชมุ ชน 4. ลักษณะทางภูมปิ ระเทศ และ ภมู อิ ากาศมีผลตอ่ การตัง้ ถน่ิ ฐาน การประกอบอาชพี และการเกดิ วัฒนธรรมต่าง ๆ ในชุมชน

18 หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั ท่ี ตวั ชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ส5.2 ป.3/1 3 สภาพแวดลอ้ ม ส5.2 ป.3/5 1. ส่ิงแวดลอ้ มของชุมชนในอดีต 4 6 ในชมุ ชน ส5.2 ป.3/2 กับปัจจุบัน ส5.2 ป.3/3 2. การใช้ประโยน์จากสิง่ แวดลอ้ ม ส5.1 ป.3/4 ในการดาเนนิ ชวี ิตของมนุษย์ เชน่ การคมนาคม บา้ นเรอื น และการประกอบอาชพี ในชุมชน 4 มนุษยก์ ับสงิ่ แวดล้อม 1. การใชป้ ระโยชนจ์ าก 56 และทรัพยากร ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ มในการดาเนินชวี ิต ของมนษุ ย์ เชน่ การคมนาคม บา้ นเรอื นและการประกอบอาชีพ 2. การประกอบอาชีพ ทเ่ี ปน็ ผลมาจากสง่ิ แวดลอ้ ม ในชุมชน 3. ความหมายแลแประเภท ของมลพษิ โดยมนษุ ย์ 4. สาเหตขุ องการเกิดมลพิษจาก การกรกระทาของมนษุ ย์ 5 เมอื งและชนบท 1. ลักษณะของเมอื งและชนบท 4 6 เช่น สิ่งปลกู สรา้ ง การใช้ทด่ี ิน การประกอบอาชพี 2. ภมู ิประเทศและภูมิอากาศ ที่มผี ลต่อการดาเนนิ ชีวติ ของคน ในชุมชน 3. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง สิง่ แวดลอ้ มทมี่ ตี ่อชมุ ชน 4. การจัดการสิง่ แวดลอ้ ม ในชุมชนชนบท เปน็ ชมุ ชน เกษตรกรรม ประชากร มคี วามหนาแน่นน้อย ยึดถอื และ

19 หน่วย ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก ท่ี ตัวชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน 5 สบื ทอดวฒั นธรรมประเพณี 23 30 80 100 แบบดง้ั เดิม มีความสมั พนั ธ์ ทางสังคมลกั ษณะของเครอื ญาติ พ่งึ พาชว่ ยเหลือกนั รวม รวมตลอดทั้งปี

20 รหัสวิชา ส 13101 คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลาเรยี น 80 ช่ัวโมง ศกึ ษาความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย ประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เร่ืองเล่าและ ศาสนกชนตัวอย่าง คัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือ หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เห็นคุณค่า ของการสวดมนต์ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตตนอย่างเหมาะสมต่อ ศาสนสถาน ศาสนวตั ถุ ศาสนพธิ ี พิธกี รรม และวนั สาคญั ทางศาสนาและการแสดงตนเป็นศาสนิกชนของ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ เข้าใจ ยอมรับ และเห็นคุณค่าการที่ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะ เป็นสมาชดิ ของตนเองและชมุ ชน ปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเองและผ้อู ่นื เคารพความคิดความเชื่อ การปฏิบัติตนตามวิถีชีวิตของบุคคลที่มีผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมในท้องถ่ิน เข้าใจโครงสร้าง การบริการระดับตาบล มีส่วนร่วมประเพณีวัฒนธรรม ต่อโรงเรียน ครอบครัว ท้องถ่ิน และปฏิบัติ ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญสงู สดุ ของประเทศ เขา้ ใจ การกระจายรายได้ รายรบั รายจ่าย ของครอบครัวตนเอง ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ ของตนเองในฐานะผู้ผลิต ผู้บริโภคตามหลักคุณธรรม ตามหลักเศรษฐศาสตร์ เข้าใจวิธีการเศรษฐกิจ แบบพอเพียง เพ่ือนาไปประยุกต็ใช้ในชวี ิตประจาวัน เข้าใจการแลกเปลี่ยนสินคา้ และบรกิ าร สารวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในโณงเรียนและชุมชนโดยใช้แผนผัง แผนที่ และรูปถ่าย เพอื่ แสดงความสมั พันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศทาง วาดภาพแผนผังเพื่อแสดงตาแหน่งที่ตั้งของสถานที่ สาคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน อธิบายลักษณะทางกายภาพของประเทศสมาชิกอาเซียน เปรียบเทียบและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน อธิบายการใช้ ประโยชน์ของส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาตสิ นองความตอ้ งการขั้นพน้ื ฐาน และการประกอบอาชีพ ของมนุษยแ์ ละการประกอบอาชพี อธบิ ายความแตกต่างของแมอื งและชนบท ความสัมพันธ์ทางกายภาพ ในการดาเนินชีวิตของคนในชุมชน อธิบายสาเหตุท่ีทาให้เกิดมลพิษและมีส่วนร่วมในการจัดการ ส่ิงแวดล้อม โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนกลุ่ม กระบวนสืบค้น กระบวนการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางประชาธิปไตย

21 เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการสื่อสาร และเห็นคุณค่าของการนา ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเนินชีวิตประจาวัน มีความซ่ือสัตย์สุจริต รักความเป็นไทย และ มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7 ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5 รวมทัง้ หมด 31 ตัวชี้วัด

22 กาหนดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนานา่ รู้ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 วนั เดอื น ปี เร่ือง แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา (ชัว่ โมง) 1 ก.ค. 63 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น -1 กอ่ นเรยี น 3 ก.ค. 63 พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม 11 8 ก.ค. 63 พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม 21 10 ก.ค. 63 พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรม 31 15 ก.ค. 63 พระบรมศาสดาของเรา 41 17 ก.ค. 63 พระบรมศาสดาของเรา 51 22 ก.ค. 63 พระบรมศาสดาของเรา 61 24 ก.ค. 63 พระธรรมนาชวี ติ 71 29 ก.ค. 63 พระธรรมนาชวี ติ 81 31 ก.ค. 63 พระธรรมนาชีวิต 91 5 ส.ค. 63 ใจสงบพบความสุข 10 1 7 ส.ค. 63 ใจสงบพบความสุข 11 1 14 ส.ค. 63 ใจสงบพบความสุข 12 1 19 ส.ค. 63 วิถชี าวพทุ ธ 13 1 21 ส.ค. 63 วถิ ชี าวพทุ ธ 14 1 26 ส.ค. 63 วิถชี าวพทุ ธ 15 1 28 ส.ค. 63 การทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น -1 หลงั เรียน 17 รวม

23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นวัดสมณานัมบรหิ าร ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เวลา 1 ช่วั โมง วนั ท่ี 3 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ผ้สู อน นางสาวราตรี องิ ม่นั ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระ/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 1.1 รู้ และ เข้าใจปร ะ วั ติคว ามสาคัญ ศ าสดา หลัก ธ ร ร ม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพ่ืออยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติสุข ตวั ชีว้ ัด ส 1.1 ป.3/1 อธิบายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็น รากฐานสาคญั ของวฒั นธรรมไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) นักเรียนอธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของ วัฒนธรรมไทยได้ถูกตอ้ ง ดา้ นทกั ษะ (P) นักเรียนวิเคราะห์อิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อการสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรม ได้ถกู ต้อง ด้านคณุ ลักษณะ (A) นกั เรียนมีความสนใจ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นท่ีตอ้ งการเนน้ - ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

24 สาระสาคัญ พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและ ปฏิบตั ติ ามหลักคาสอนของพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงมอี ิทธิพลต่อวถิ ีชวี ิตคนไทยต้งั แต่อดตี จนถงึ ปจั จุบนั สาระการเรยี นรู้ พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานของวฒั นธรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูสรา้ งบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมในการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนเกิดความศรัทธาเลื่อมใส ในพระรตั นตรัยที่เหมาะสม เช่น กอ่ นเรยี นใหน้ กั เรยี นนัง่ สมาธิ 2-3 นาที และแผเ่ มตตา 2. ครูช้ีแจงตวั ชว้ี ดั ชั้นปีและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ใหน้ กั เรียนทราบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นในเอกสารประกอบการเรยี น ชุด พระพุทธศาสนา น่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เลม่ ที่ 1 เร่ือง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม จากนั้นตรวจให้คะแนน แต่ยังไมต่ ้องเฉลยคาตอบ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนศึกษา เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จากใบความรู้ เร่อื ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรมจากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มท่ี 1 เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม ซ่ึงประกอบด้วย ความหมายวัฒนธรรม ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรม ไทย 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากการศึกษาใบความรู้ โดยครูตอบ ข้อสงสัยและอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นสนทนาซักถามนักเรียนถึงความรู้ท่ีเกี่ยวกับความสาคัญ ของพระพทุ ธศาสนาทีม่ ีต่อสังคมไทยในด้านต่าง ๆ เช่น เป็นศาสนาประจาชาติไทย เป็นสถาบันหลัก ของสงั คมไทย จากนัน้ ใหน้ ักเรยี นดูภาพเกี่ยวกับกจิ กรรมของชาวพุทธที่ทาในแตล่ ะวัน เช่น การทาบุญ ตักบาตรในตอนเช้า การสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียนก่อนเข้าห้องเรียน ภาพวัด ภาพพระพุทธรูป แลว้ สนทนาซกั ถามนกั เรียนในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่ - ภาพนีเ้ ปน็ ภาพเก่ียวกับอะไร - ภาพนี้สาคัญอย่างไร

25 - นกั เรียนเคยปฏบิ ตั ิเหมือนบคุ คลในภาพหรือไม่ ถา้ เคยปฏบิ ตั ิ ได้ปฏบิ ัตอิ ย่างไร 3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระและกล่าวชมเชยนักเรียนท่ีได้ช่วยกันแสดง ความคดิ เหน็ ฝกึ ฝนผูเ้ รยี น 1. นักเรยี นทากจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 1 จากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เลม่ ที่ 1 เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม การนาไปใช้ 1. ครูแนะนาให้นักเรียนนาความรู้ เร่ือง ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ีเป็น รากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย ไปบอกกบั คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือคนในชมุ ชน 2. ครใู หน้ กั เรียนนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน สรปุ ความคิดรวบยอด 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้ เร่ือง ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ีเป็น รากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปเป็นแผนที่ความคิด พร้อมตกแต่ง ให้สวยงาม สือ่ การสอน 1. ภาพเกีย่ วกบั กจิ กรรมของชาวพทุ ธ 2. เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มที่ 1 เร่ือง พระพุทธศาสนา เป็นรากฐานวัฒนธรรม การวดั ผลประเมนิ ผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เล่มที่ 1 เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จานวน 10 ข้อ 1.2 สงั เกตพฤติกรรมจากการซกั ถาม การแสดงความคิดเห็น การใหข้ ้อเสนอแนะ การอภิปรายรว่ มกัน และการเข้ารว่ มกิจกรรมของนักเรยี น 1.3 ทากิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 1

26 2. เครื่องมือวดั และประเมินผล 2.1 แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มท่ี 1 เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จานวน 10 ข้อ 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 2.3 แบบบันทกึ การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 2.4 แบบบันทึกผลการเรยี นรู้ 3. เกณฑ์การประเมนิ 3.1 การประเมนิ แบบทดสอบก่อนเรียนและกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 9-10 คะแนน หมายถงึ ดีมาก 7-8 คะแนน หมายถึง ดี 5-6 คะแนน หมายถึง พอใช้ 0-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ 3.2 การประเมนิ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 หมายถงึ ดีมาก ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 70 หมายถงึ ดี ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 60 หมายถงึ พอใช้ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50 หมายถงึ ปรับปรุง

27 แบบบันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ 1.1 การประเมนิ ด้านความรู้ (K) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 การประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการ (P) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 การประเมินด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ (A) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปญั หา/อปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผ้สู อน (นางสาวราตรี อิงมน่ั ) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ ....…...…../................…......./..............

28 ความเห็นของหวั หน้าสถานศึกษาหรอื ผูท้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………..…..ผู้รับรอง (นายกติ ติเชษฐ์ จารเุ กษม) ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั สมณานมั บรหิ าร

29 แบบบันทกึ คะแนน แบบทดสอบก่อนเรยี น เล่มท่ี 1 เรอื่ ง พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เลขที่ ชอื่ -นามสกลุ คะแนน ระดบั คุณภาพ (10) ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 ด.ช. เชน ไชยะสกั 5 6  2 ด.ช. โบนนั ซ่า ใจอดทน 5  6 3 ด.ช. อคิ ิว หกั ทอง 6  5  4 ด.ช. โภควินท์ ชุ่มเจรญิ 6  5 5 ด.ช. ณัฐชนน ฉิวเฉ่อื ย 6  6  6 ด.ช. สิทธนิ นท์ คามวน 5 6  7 ด.ช. เอม็ ม่ี สกุ สาลาน 6  5  8 ด.ช. สิรภัทร พว่ งประทุม 6 5  9 ด.ญ. จนิ ตนา แสนโครต 6  6  10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เตน็ รัมย์ 101 5.61  11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจ่างรตั น์ 56.11  12 ด.ญ. เยาวลักษณ์ กระจ่างรตั น์   13 ด.ญ. เรืองรนิ สมคั กจิ  14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แก้ว 15 ด.ญ. ฮาซนี า 16 ด.ญ. ปาลติ า ลม่ ศิริ 17 ด.ญ. บปุ ผวรรณ ตระวงิ 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดุริยะปราณีต รวม เฉลีย่ รอ้ ยละ

30 แบบบนั ทึกคะแนน กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เล่มที่ 1 เรือ่ ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 เลขที่ ชอ่ื -นามสกุล คะแนน ระดับคณุ ภาพ (10) ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 ด.ช. เชน ไชยะสัก 9  8  2 ด.ช. โบนนั ซ่า ใจอดทน 8  9  3 ด.ช. อิคิว หักทอง 8  9  4 ด.ช. โภควนิ ท์ ช่มุ เจริญ 8  9  5 ด.ช. ณัฐชนน ฉวิ เฉ่ือย 8  9  6 ด.ช. สิทธินนท์ คามวน 8  8  7 ด.ช. เอ็มมี่ สุกสาลาน 9  8  8 ด.ช. สิรภัทร พว่ งประทุม 8  8  9 ด.ญ. จินตนา แสนโครต 9  8  10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เต็นรัมย์ 151 8.39 11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจา่ งรตั น์ 83.89 12 ด.ญ. เยาวลกั ษณ์ กระจา่ งรตั น์ 13 ด.ญ. เรอื งรนิ สมัคกิจ 14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แกว้ 15 ด.ญ. ฮาซนี า 16 ด.ญ. ปาลติ า ล่มศริ ิ 17 ด.ญ. บปุ ผวรรณ ตระวิง 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดรุ ยิ ะปราณีต รวม เฉล่ยี ร้อยละ

31 แบบบันทึกการประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ี ชอื่ – สกลุ มคี วามสนใจ ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มัน่ ใน รวม  ผ่าน การทางาน  ไมผ่ า่ น 432143214321 1 ด.ช. เชน ไชยะสกั / / / 10  2 ด.ช. โบนันซ่า ใจอดทน / / / 9 3 ด.ช. อคิ วิ หกั ทอง // / 10  4 ด.ช. โภควินท์ ชมุ่ เจรญิ // / 10  5 ด.ช. ณัฐชนน ฉวิ เฉ่ือย / / / 9 6 ด.ช. สิทธนิ นท์ คามวน / / / 9 7 ด.ช. เอม็ ม่ี สกุ สาลาน / / / 9 8 ด.ช. สริ ภัทร พ่วงประทมุ / / / 9 9 ด.ญ. จินตนา แสนโครต / / / 9 10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เต็นรมั ย์ / / / 12  11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจ่างรัตน์ // / 10  12 ด.ญ. เยาวลกั ษณ์ กระจา่ งรตั น์ // / 10  13 ด.ญ. เรอื งริน สมคั กจิ / / / 9 14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แก้ว / / / 9 15 ด.ญ. ฮาซนี า / / / 9 16 ด.ญ. ปาลติ า ลม่ ศิริ / / / 9 17 ด.ญ. บปุ ผวรรณ ตระวิง / / / 9 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดุรยิ ะปราณตี / / / 12  รวม 56 60 57 เฉลย่ี 3.11 3.33 3.17 ร้อยละ 77.78 83.33 79.17

32 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นวัดสมณานัมบรหิ าร ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เวลา 1 ชวั่ โมง วนั ท่ี 8 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ผ้สู อน นางสาวราตรี อิงมนั่ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระ/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 1.1 รู้ และ เข้าใจปร ะ วั ติคว ามสาคัญ ศ าสดา หลัก ธ ร ร ม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพ่ืออยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติสุข ตวั ชีว้ ัด ส 1.1 ป.3/1 อธิบายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะท่ีเป็น รากฐานสาคญั ของวฒั นธรรมไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) นักเรียนอธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะท่ีเป็นรากฐานสาคัญของ วัฒนธรรมไทยได้ถูกตอ้ ง ดา้ นทกั ษะ (P) นักเรียนวิเคราะห์อิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อการสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรม ได้ถกู ต้อง ด้านคณุ ลักษณะ (A) นกั เรียนมีความสนใจ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นท่ีตอ้ งการเนน้ - ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

33 สาระสาคญั พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและ ปฏบิ ัติตามหลกั คาสอนของพระพุทธศาสนา ซง่ึ มีอทิ ธิพลต่อวถิ ีชีวิตคนไทยต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั สาระการเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานของวัฒนธรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครเู ลา่ เร่อื งราวตา่ ง ๆ ให้นักเรยี นฟงั เชน่ ลักษณะนิสยั ของคนไทยทไ่ี ด้ชื่อว่าสยามเมืองยิ้ม การไหว้เมื่อพบปะกัน การทาบุญตักบาตรของชาวพุทธในตอนเช้า การสวดมนต์ไหว้พระ ก่อนเข้าห้องเรียนและก่อนนอนของนักเรียน ภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถตามวัดสาคัญ ๆ ภาพวดั ท่ีสรา้ งอยา่ งวิจติ รงดงาม พรอ้ มซักถามนกั เรยี นประกอบการเลา่ เรอ่ื ง 2. ครูสรุปให้นักเรียนฟังว่า จากที่กล่าวมาทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนา มีความสมั พันธ์กับการดาเนนิ ชีวิตประจาวันและมีอิทธิพลต่อการสรา้ งสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทย กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนศึกษา เร่ือง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จากใบความรู้ เรื่อง พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรมจากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 เล่มที่ 1 เรอื่ ง พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม ซ่ึงประกอบด้วย ภาษา วรรณคดี ประเพณี ศิลปะ มารยาท และวิถีชีวิต 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ จากการศึกษาใบความรู้ โดยครูตอบ ข้อสงสัยและอธิบายเพ่ิมเติม จากนั้นสนทนาซักถามนักเรียนถึงความรู้ท่ีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา มีความสมั พันธ์กับการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั และมอี ิทธพิ ลตอ่ การสร้างสรรคผ์ ลงานทางวัฒนธรรมไทย 3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระและกล่าวชมเชยนักเรียนที่ได้ช่วยกัน แสดงความคิดเหน็ ฝกึ ฝนผู้เรยี น 1. นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี 2 และ 3 จากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เล่มที่ 1 เร่อื ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม

34 การนาไปใช้ 1. ครูแนะนาให้นักเรียนนาความรู้ เรื่อง พระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กับการดาเนิน ชวี ิตประจาวันและมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทย ไปบอกกับคนในครอบครัว เพอื่ นบา้ น หรือคนในชุมชน 2. ครูให้นกั เรียนนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั สรปุ ความคดิ รวบยอด 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง พระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กับการดาเนิน ชวี ติ ประจาวันและมอี ิทธพิ ลตอ่ การสร้างสรรค์ผลงานทางวฒั นธรรมไทย โดยให้นกั เรียนบันทึกข้อสรุป เปน็ แผนทีค่ วามคิด พรอ้ มตกแต่งใหส้ วยงาม สือ่ การสอน 1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เล่มท่ี 1 เร่ือง พระพุทธศาสนา เปน็ รากฐานวฒั นธรรม การวดั ผลประเมนิ ผล 1. วธิ ีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤตกิ รรมจากการซักถาม การแสดงความคิดเห็น การใหข้ ้อเสนอแนะ การอภปิ รายรว่ มกัน และการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนกั เรียน 1.2 ทากิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 2 และ 3 2. เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 และ 3 2.2 แบบบนั ทกึ การประเมินดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 2.3 แบบบันทึกผลการเรยี นรู้ 3. เกณฑก์ ารประเมนิ 3.1 การประเมนิ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 และ 3 9-10 คะแนน หมายถงึ ดมี าก 7-8 คะแนน หมายถงึ ดี 5-6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 0-4 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง

35 3.2 การประเมนิ ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 80 หมายถึง ดมี าก ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 หมายถงึ ดี ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 หมายถึง พอใช้ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 50 หมายถึง ปรับปรุง

36 แบบบันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ 1.1 การประเมนิ ด้านความรู้ (K) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 การประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการ (P) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 การประเมินด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ (A) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปญั หา/อปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผ้สู อน (นางสาวราตรี อิงมน่ั ) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ ....…...…../................…......./..............

37 ความเห็นของหวั หน้าสถานศึกษาหรอื ผูท้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………..…..ผู้รับรอง (นายกติ ติเชษฐ์ จารเุ กษม) ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนวดั สมณานมั บรหิ าร

38 แบบบนั ทึกคะแนน กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 เล่มที่ 1 เรือ่ ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 เลขที่ ชอ่ื -นามสกุล คะแนน ระดบั คุณภาพ (10) ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 ด.ช. เชน ไชยะสกั 9  8  2 ด.ช. โบนนั ซ่า ใจอดทน 7 9  3 ด.ช. อิคิว หักทอง 7  9 4 ด.ช. โภควนิ ท์ ช่มุ เจรญิ 9  9  5 ด.ช. ณัฐชนน ฉวิ เฉ่ือย 7  9  6 ด.ช. สิทธินนท์ คามวน 9 8  7 ด.ช. เอ็มมี่ สุกสาลาน 7  9  8 ด.ช. สิรภัทร พว่ งประทุม 7  8 9 ด.ญ. จินตนา แสนโครต 8  9  10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เต็นรัมย์ 148 8.22  11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจ่างรตั น์ 82.22   12 ด.ญ. เยาวลกั ษณ์ กระจา่ งรตั น์  13 ด.ญ. เรอื งรนิ สมัคกิจ 14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แก้ว 15 ด.ญ. ฮาซนี า 16 ด.ญ. ปาลติ า ล่มศริ ิ 17 ด.ญ. บปุ ผวรรณ ตระวงิ 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดรุ ยิ ะปราณีต รวม เฉล่ยี ร้อยละ

39 แบบบนั ทึกคะแนน กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 3 เล่มที่ 1 เรือ่ ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 เลขที่ ชอ่ื -นามสกุล คะแนน ระดบั คณุ ภาพ (10) ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 ด.ช. เชน ไชยะสกั 8  7 2 ด.ช. โบนนั ซ่า ใจอดทน 8  8  3 ด.ช. อิคิว หักทอง 8  8  4 ด.ช. โภควนิ ท์ ช่มุ เจรญิ 7  9 5 ด.ช. ณัฐชนน ฉวิ เฉ่ือย 9  8  6 ด.ช. สิทธินนท์ คามวน 8  8  7 ด.ช. เอ็มมี่ สุกสาลาน 8  7  8 ด.ช. สิรภัทร พว่ งประทุม 9  9 9 ด.ญ. จินตนา แสนโครต 8  9  10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เต็นรัมย์ 146  8.11  11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจ่างรตั น์ 81.11  12 ด.ญ. เยาวลกั ษณ์ กระจา่ งรตั น์ 13 ด.ญ. เรอื งรนิ สมัคกิจ 14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แก้ว 15 ด.ญ. ฮาซนี า 16 ด.ญ. ปาลติ า ล่มศริ ิ 17 ด.ญ. บปุ ผวรรณ ตระวงิ 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดรุ ยิ ะปราณีต รวม เฉล่ยี ร้อยละ

40 แบบบันทึกการประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ท่ี ชอื่ – สกุล มคี วามสนใจ ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมนั่ ใน รวม  ผ่าน การทางาน  ไมผ่ า่ น 432143214321 1 ด.ช. เชน ไชยะสกั / / / 10  2 ด.ช. โบนนั ซ่า ใจอดทน / / / 9 3 ด.ช. อคิ ิว หักทอง / / / 9 4 ด.ช. โภควนิ ท์ ชุม่ เจริญ / / / 9 5 ด.ช. ณัฐชนน ฉวิ เฉ่ือย / / / 9 6 ด.ช. สิทธินนท์ คามวน / / / 9 7 ด.ช. เอ็มมี่ สกุ สาลาน / / / 9 8 ด.ช. สิรภัทร พว่ งประทุม / / / 9 9 ด.ญ. จินตนา แสนโครต / / / 9 10 ด.ญ. มณจี ันทร์ เตน็ รมั ย์ / / / 12  11 ด.ญ. เยาวเรศ กระจา่ งรตั น์ / / / 9 12 ด.ญ. เยาวลักษณ์ กระจา่ งรัตน์ / / / 9 13 ด.ญ. เรอื งริน สมัคกิจ / / / 9 14 ด.ญ. วรานนั ท์ บวั แกว้ / / / 12  15 ด.ญ. ฮาซีนา / / / 9 16 ด.ญ. ปาลติ า ล่มศริ ิ / / / 9 17 ด.ญ. บุปผวรรณ ตระวิง / / / 9 18 ด.ญ. มาลณิ ี ดุริยะปราณีต / / / 12  รวม 57 57 58 เฉลี่ย 3.17 3.17 3.22 รอ้ ยละ 79.17 79.17 80.56

41 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนวัดสมณานัมบรหิ าร ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เวลา 1 ช่วั โมง วนั ที่ 10 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ผ้สู อน นางสาวราตรี องิ ม่นั ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 รู้ และ เข้าใจปร ะ วั ติคว ามสาคัญ ศ าสดา หลัก ธ ร ร ม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติ ตามหลกั ธรรม เพื่ออยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ตวั ชว้ี ัด ส 1.1 ป.3/1 อธบิ ายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็น รากฐานสาคญั ของวฒั นธรรมไทย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) นักเรียนอธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะท่ีเป็นรากฐานสาคัญของ วฒั นธรรมไทยได้ถกู ต้อง ด้านทกั ษะ (P) นักเรียนวิเคราะห์อิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อการสร้างสรรค์ผลงานทางวัฒนธรรม ได้ถูกต้อง ด้านคณุ ลักษณะ (A) นกั เรียนมีความสนใจ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการทางาน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนท่ีต้องการเน้น - ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปญั หา - ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

42 สาระสาคญั พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม คนไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและ ปฏิบตั ติ ามหลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนา ซึง่ มอี ิทธิพลต่อวถิ ชี ีวติ คนไทยตง้ั แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบัน สาระการเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครูนาภาพการแสดงความเคารพ ภาพการทาบุญตักบาตร หรือวีดิทัศน์ มาแสดง ใหน้ กั เรียนดู แล้วรว่ มพดู คยุ กับนกั เรยี นว่า นักเรยี นเคยทากิจกรรมเหลา่ นั้นหรือไม่ และนักเรียนทราบ หรือไมว่ ่าสิ่งทนี่ กั เรยี นหรือคนไทยปฏบิ ตั นิ ้ันคือ “วฒั นธรรม” กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในเร่ืองพระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จากใบความรู้ เรือ่ ง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรมจากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เล่มท่ี 1 เรอื่ ง พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานวฒั นธรรม 2. ครใู ห้นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4-6 คน แตล่ ะกลุ่มแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับความสาคัญ ของพระพทุ ธศาสนาตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 2.1 พระพทุ ธศาสนามีความสมั พนั ธ์กบั การดาเนินชวี ติ ประจาวนั ของคนไทยอยา่ งไร 2.2 พระพุทธศาสนามีอทิ ธพิ ลตอ่ การสร้างสรรค์ผลงานทางวัมนธรรมไทยอยา่ งไร 3. นักเรียนสรุปและบันทึกผล แล้วผลัดกันส่งตัวแทนกลุ่ม นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน พร้อมเปดิ โอกาสใหเ้ พื่อน ๆ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็น 4. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนแต่ละกลุ่ม และเม่ือนักเรียนนาเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครูเสริม ความรู้ในส่วนทีข่ าดหรือนกั เรียนยังไมเ่ ข้าใจและสงสยั อยู่ ฝกึ ฝนผู้เรียน 1. นกั เรยี นทากิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 4 จากเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เลม่ ท่ี 1 เรื่อง พระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม 2. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนในเอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนา น่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม)

43 ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่มที่ 1 เรื่อง พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จากน้ันตรวจให้คะแนน พรอ้ มเฉลยคาตอบของแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น เพ่อื ประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน การนาไปใช้ 1. ครูแนะนาให้นักเรียนนาความรู้ เรื่อง ความสัมพันธ์กับการดาเนินชีวิตประจาวัน ของคนไทย ไปบอกกับคนในครอบครัว เพื่อนบ้าน หรอื คนในชุมชน 2. ครูให้นักเรียนนาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน สรุปความคิดรวบยอด 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เร่ือง พระพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กับการดาเนิน ชวี ิตประจาวันและมอี ิทธิพลตอ่ การสร้างสรรคผ์ ลงานทางวัมนธรรมไทย โดยให้นักเรียนบันทึกข้อสรุป เปน็ แผนทคี่ วามคดิ พร้อมตกแต่งใหส้ วยงาม สือ่ การสอน 1. ภาพการแสดงความเคารพ ภาพการทาบุญตักบาตร หรือวีดทิ ัศน์ 2. เอกสารประกอบการเรียน ชุด พระพุทธศาสนาน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มที่ 1 เรื่อง พระพุทธศาสนา เปน็ รากฐานวัฒนธรรม การวัดผลประเมินผล 1. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมจากการซกั ถาม การแสดงความคิดเหน็ การให้ข้อเสนอแนะ การอภิปรายร่วมกัน และการเข้าร่วมกิจกรรมของนกั เรียน 1.2 ทากจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 4 1.3 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง พระพทุ ธศาสนาเปน็ รากฐานวฒั นธรรม จานวน 10 ขอ้ 2. เครอื่ งมอื วดั และประเมินผล 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 4 2.2 แบบทดสอบหลังเรยี น เล่มที่ 1 เรื่อง พระพทุ ธศาสนาเป็นรากฐานวัฒนธรรม จานวน 10 ขอ้ 2.3 แบบบันทกึ การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 2.4 แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้

44 3. เกณฑ์การประเมนิ 3.1 การประเมนิ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 4 และแบบทดสอบหลงั เรียน 9-10 คะแนน หมายถงึ ดมี าก 7-8 คะแนน หมายถึง ดี 5-6 คะแนน หมายถึง พอใช้ 0-4 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง 3.2 การประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80 หมายถงึ ดีมาก ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 หมายถงึ ดี ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 60 หมายถงึ พอใช้ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 50 หมายถงึ ปรับปรุง

45 แบบบนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ 1.1 การประเมนิ ด้านความรู้ (K) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 การประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการ (P) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ (A) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………..ผสู้ อน (นางสาวราตรี อิงม่นั ) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ ....…...…../................…......./..............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook